เอกสารประกอบการสอน th 4363

Page 1

เอกสารประกอบการเรียน TC 4363 วรรณกรรมสําหรับเด็ก


1. ความรูทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมสําหรับเด็ก เยาวชน คือบุคคลสําคัญทีจ่ ะเปนผูร ับผิดชอบประเทศชาติในอนาคต ดังคํากลาวที่วา “เด็กวันนี้คือผูใหญในวันหนา” เด็กจึงเปนทรัพยากรบุคคลที่เราควรดูแลและเอาใจใสรกั ษาใหอยูในสภาพที่ดี ที่สุด แตกอนเราเคยไดยินคํากลาวที่วา “เด็กเปรียบเสมือนผาขาว” เด็กคือผูบริสุทธิ์ ถาเราตองการปลูกฝง สิ่งใด ควรเริ่มตัง้ แตวัยเด็ก คํากลาวนี้เปนความจริง ดังนัน้ สิ่งอันดีงาม ความถูกตองทั้งหลาย เราจึงควรสั่ง สมใหเขาทันทีเมื่อมีโอกาส ความรู ความคิด คุณธรรม ประสบการณทงั้ หลายที่จะเปนประโยชน เรา สามารถหลอหลอมใหเด็กไดงายดาย ถาเรามีการวางแผนที่ดี ดังนั้นเราควรปลูกฝงนิสัยการใฝหาความรูให เขาตั้งแตวัยเด็กเพือ่ เขาจะไดเปนเยาวชนที่ดีของชาติในอนาคต การอานหนังสือเปนหนทางสําคัญในการใฝหาความรูของเด็ก เพราะหนังสือคือขุมทรัพยทางปญญา การปลูกฝงใหเยาวชนมีนิสัยรักการอาน จะเปนหนทางสําคัญที่ชวยใหเยาวชนคนควาหาความรูในวิชาอื่น ๆ ไดดีอีกดวย หนังสือเปนแหลงถายทอดความรูไดอยางสมบูรณแบบ ใหทั้งความรู ความบันเทิง และ เสริมสรางภูมปิ ญญาแกผอู านทุก ๆ คน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ไดทรงนิพนธ เรื่อง “ฉันชอบหนังสือ” (2530, หนา 9) ซึ่งชี้ใหเห็นความสําคัญของหนังสือ ไววา “หนังสือนี้ มีมากมาย หลายชนิด นําดวงจิต เริงรื่น ชื่นสดใส ใหความรู สําเริง บันเทิงใจ ฉันจึงใฝ ใจสมาน อานทุกวัน มีวิชา หลายอยาง ตางจําพวก ลวนสะดวก คนได ใหสุขสันต วิชาการ สรรมา สารพัน ชั่วชีวัน ฉันอานได ไมเบื่อเลย” หนังสือจึงเปนแหลงรวมของวิทยาการตาง ๆ อันหลากหลายสาขา เมื่อเปดหนังสือจึงเหมือนกับการ เปดโลกทีม่ ากมายไปดวยสรรพความรูและจินตนาการอันกวางไกล รวมทั้งไดประสบการณใหมที่อาจ นอกเหนือไปจากสิง่ แวดลอมใกลตัว ซึ่งชวยพัฒนาความรู ความคิด ใหโลดแลนไปกับ เนื้อหาในหนังสือนั้น นอกจากการไดรบั ความรู ความคิด คําแนะนํา การสั่งสอนจากพอแม ผูปกครองและครูอาจารยแลว เด็กยัง ควรไดรับการพัฒนาความรูความคิดดวยการอานหนังสือดวย เมื่อเด็กไดอานหนังสือที่เหมาะสมกับเพศวัยและ ความสนใจของเขา เด็กจะมีความคิด มีวิจารณญาณในการเรียนรู และยังไดรับการปลูกฝงที่ดงี ามอีกดวย (2)


ในขณะเดียวกันอาจมีผูแยงวา ปจจุบันนี้เรามีสื่อแหงความรูอื่น ๆ อีกมากมายที่ไมใชหนังสือ เชน เราอาจหาความรูไดจากวิทยุ โทรทัศน ภาพยนตร รวมทั้งทางอินเทอรเน็ต โดยที่ไมจําเปนตองอานหนังสือก็ สามารถรับรูขาวสารตาง ๆ ได แตเราควรคิดอยางรอบคอบวาการรับสารจากสือ่ เหลานั้นยอมแตกตางจาก การรับสารจากหนังสือ เพราะมีรายละเอียดของสารหลายอยางที่ไมสามารถถายทอดไดดีเทาหนังสือ เพราะ การอานหนังสือ ผูอานสามารถควบคุมตัวเองไดวาเราจะอานเรื่องอะไร อานอยางไร และวินิจฉัยอยางไร หนังสือจึงยังคงมีคาและมีความสําคัญอยูตลอดเวลา

ความหมายของวรรณกรรมสําหรับเด็ก(Children’s literature, Literature for children) “หนังสือ คือสิง่ สนองความตองการของเด็ก” โดยธรรมชาติของเด็ก เด็กชอบคิด ชอบ ซักถาม มีความสนใจในสิ่งตาง ๆ รอบตัว อยากรูอยากเห็น อยากไดคําตอบในสิ่งที่ตนสงสัย หนังสือคือสิ่ง ที่สามารถตอบสนองขอของใจเหลานี้ของเด็กได อีกทั้งชวยเสริมสรางความรูความคิดทางสติปญ  ญา วรรณกรรม (Literature) หมายถึง ทรัพยากรสารนิเทศที่แตงขึ้นผลิตขึ้นมา ทั้งแตงดีหรือไมดี พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 1 ใหความหมายของวรรณกรรมวา “วรรณกรรม งานหนังสือ, งานประพันธ, บทประพันธทกุ ชนิดทั้งที่เปนรอยแกวและรอยกรอง” วรรณกรรมสําหรับเด็ก หมายถึง ทรัพยากรสารนิเทศที่มจี ดุ มุงหมายในการจัดทําขึ้นเพือ่ ใหเด็กอาน โดยเฉพาะ หรืออาจใหผูใหญอานใหฟงก็ได ถาเปนเด็กเล็ก ๆ อาจเปนวรรณกรรมประเภทหนังสือ เชน หนังสือภาพลวน ๆ (Picture book) หรือหนังสือที่มีทงั้ เนื้อเรื่องและรูปภาพหรือหนังสือการตูน วรรณกรรม สําหรับเด็กจะตองจัดทําขึ้นใหเนือ้ หาสาระ ภาษา รูปเลม และตัวอักษรทีเ่ หมาะกับวัย ความรูและ ความสามารถของเด็กดวย รูปแบบหรือลักษณะของหนังสือเด็ก จะมีหลายลักษณะ โดยเฉพาะหนังสือ สําหรับเด็กเล็ก ๆ จะมีลักษณะรูปเลมตาง ๆ ไมเล็กหรือใหญจนเกินไป จับถือไดสะดวก จํานวนหนาตั้งแต 1 หนาขึ้นไป จนถึงลักษณะฉบับกระเปาสําหรับเด็กโต ขึ้นอยูกับระดับอายุของผูอานตัง้ แตกอนเขาโรงเรียน จนกระทั่งวัยรุน นอกจากนี้ยงั มีผูรูอกี หลายทานไดใหความความหมายเกี่ยวกับเรือ่ งวรรณกรรมเด็กไวมากมาย ดังนี้ จินตนา ใบกาซูยี2 อธิบายไววา "หนังสือสําหรับเด็ก คือ หนังสือทีจ่ ัดทําขึ้นเพือ่ ใหเด็กใชในการฟง อานและเรียนรู ดวยเนื้อหาสาระที่มงุ ใหความรูห รือเพลิดเพลินอยางหนึง่ อยางใด หรือใหทงั้ ความรูและ ความเพลิดเพลินรวมกันไป ในรูปแบบที่เรียกวาสาระบันเทิง"

1

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : นานมีบุคส พับลิเคชั่นส. หนา 1100. 2 จินตนา ใบกาซูยี. (2534) การจัดทําหนังสือสําหรับเด็ก.(3)กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. หนา 26.


บันลือ พฤกษะวัน3 กลาววา "วรรณกรรมสําหรับเด็กเปนผลงานเกี่ยวกับหนังสือที่มรี ูปแบบตาง ๆ กัน ที่มุงใชภาษา เนื้อหาสาระใหงาย เหมาะกับวัยเด็กทีจ่ ะเขาใจไดดี ทั้งนี้เพื่อใหเด็กผูอานไดรบั ประโยชน" บุญศรี ไพรัตน 4 กลาววา "หนังสือสําหรับเด็ก หมายถึง หนังสือทีเ่ ด็กอานไดดวยความสนุกสนาน เพลิดเพลิน โดยไมตองบังคับใหอานเพราะเนื้อหาสาระตรงกับความสนใจ" ปราณี เชียงทอง5 ใหความหมายวา “วรรณกรรมสําหรับเด็ก หมายถึง หนังสือทีเ่ ขียนใหเด็กอาน อยางเหมาะสมกับวัยของเด็ก และเปนที่สนใจของเด็กวัยตาง ๆ ตั้งแตวัยกอนเขาโรงเรียนไปจนถึงวัยรุน ซึ่ง เด็กสามารถเลือกอานไดตามความพอใจ โดยไมมีการบังคับ” เปลื้อง ณ นคร6 (2516, หนา 42) กลาวไวในหัวขอวาดวยเรื่องการทําหนังสืออานสําหรับ เยาวชนวา “หนังสืออานสําหรับเยาวชนตามทีเ่ ขาใจกันนัน้ ไมไดหมายถึงหนังสือประเภทแบบเรียน แต หมายถึงหนังสือทีป่ ระดิษฐ คิดเขียนขึ้น เพื่อใหเยาวชนอานเปนทางเพลิดเพลิน” มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช7 กลาวไววา "หนังสือสําหรับเด็ก หมายถึง หนังสือซึง่ เขียนขึ้น หรือแปลใหเด็ก ๆ ไดเลือกอาน เพื่อความเพลิดเพลิน เพื่อใหความรูและเพื่อใชประกอบการศึกษา" สวัสดิ์ เรืองวิเศษ8 กลาววา “วรรณกรรมสําหรับเด็ก หมายถึง หนังสือทีส่ งเสริมความรู ความคิด สติปญญา และสงเสริมการใชเวลาวางใหเปนประโยชน ชวยใหเกิดความเพลิดเพลินสนุกสนาน สนองความ อยากรูอยากเห็น ซึง่ เด็ก ๆ สามารถเลือกอานเองไดตามความสนใจและ ความตองการ” หทัย ตันหยง 9 ในทัศนะทางศึกษาศาสตร โดยกลาววา "หนังสือสําหรับเด็ก หมายถึง วัสดุการ อานอันเปนปจจัยในการพัฒนาชีวิตเด็กทัง้ ดานพุทธิพสิ ัย จิตพิสัย ทั้งนี้เพือ่ สงเสริมการเรียนรูของเด็กใหเกิด ประสิทธิผลยิ่งขึ้น" เห็นไดวา วรรณกรรมสําหรับเด็กนั้น มุง ใหเด็กไดรับความสนุกสนานเพลิดเพลินจากการอานเปน หลัก สวนสาระและความรูก็เปนสิง่ ที่ควรไดรบั ดวยเชนกัน แตเปนเรื่องรอง ดังนั้นจึงกลาวไดวา วรรณกรรมสําหรับเด็ก หมายถึง หนังสือทีเ่ ขียนขึ้นสําหรับเด็กโดยเฉพาะ เพื่อใหไดรับความเพลิดเพลินจาก การอานและการฟง รวมทัง้ ไดรับความรูดวย ซึ่งมีทงั้ เขียนขึ้นเองและจากการแปล ทั้งนี้ตองสนองตอบตอ ความตองการและความสนใจเพื่อเสริมสรางนิสัยรักการอาน

3

บันลือ พฤกษะวัน. (2533) วรรณกรรมเด็ก. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. หนา 1. บุญศรี ไพรัตน. (2530) อาชีพที่ปรากฏในหนังสือสําหรับเด็ก. วารสารบรรศาสตร. ปที่ 10(1), หนา 26. 5 ปราณี เชียงทอง. (2526) วรรณกรรมสําหรับเด็ก. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. หนา 2. 6 เปลื้อง ณ นคร. (2516). การทําหนังสืออานสําหรับเด็ก ใน เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องหนังสือสําหรับเด็ก. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร. หนา 42. 7 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2537) วรรณกรรมและลีลาคดี ระดับปฐมวัยศึกษา หนวยที่ 1-7. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. หนา 6. 8 สวัสดิ์ เรืองวิเศษ. (2527) หนังสือสําหรับเด็ก. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน. หนา 1. 9 หทัย ตันหยง. (ม.ป.ป.) การสรางสรรควรรณกรรมและหนั (4) งสือสําหรับเด็ก. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน. หนา 12. 4


ความสําคัญของวรรณกรรมสําหรับเด็ก หนังสือสําหรับเด็กมีประโยชนในการเสริมสรางความรูความเขาใจใหแกเด็ก เนือ่ งจากหนังสือสําหรับ เด็กเปนหนังสือที่เขียนพิเศษเพื่อเด็ก ผูเขียนตองมีความเขาใจในธรรมชาติของเด็ก จึงจะสามารถถายทอดสิ่ง ตาง ๆ ที่อยูใกลตัวหรืออยูในแวดวงของเด็ก และเขียนเรือ่ งที่เด็กสนใจออกมาได ซึ่งในปจจุบันมีหนังสือ สําหรับเด็กออกมามากขึ้น สุนทรี คุณจักร ไดกลาวถึงความสําคัญของวรรณกรรมสําหรับเด็กไวดังนี้ 1. วรรณกรรมเด็กเปนเครื่องมือสื่อความบันเทิงใหแกเด็ก ชีวิตในวัยเด็กนั้นเปนชวงชีวิตที่มี ความสุขแจมใส บริสทุ ธิ์และสนุกสนาน สิ่งที่ทําใหชีวิตของเด็กสนุกสนานมีมากมาย แตสิ่งหนึ่งที่พอ แมทุก คนคงจะปฏิเสธไมไดก็คือ นิทาน การที่เด็กไดฟงการเลานิทานจากผูใหญ หรือแมแตเด็กไดอานหนังสือ นิทานดวยตัวของเขาเอง จะทําใหเด็กมีความสุข ไดรับความเพลิดเพลินไปในโลกแหงจินตนาการของเด็ก หรือหนังสือสําหรับเด็กที่มเี รือ่ งราว มีตัวละคร มีบทสนทนาโตตอบกัน จะชวยใหเด็กใชความคิด สติปญญา นึกคิดติดตามและรับรูร สอารมณที่ปรากฏในเรือ่ ง บางเรื่องอาจสนุกสนาน ตื่นเตน โลดโผน ทําใหเด็ก เพลิดเพลินแจมใสเบิกบาน บางเรื่องอาจชวนสงสัย นาติดตามมีปริศนาใหขบคิด ทัง้ หมดนีล้ วนแลวแตทําให เด็กมีความเพลิดเพลินใจและเปนสุข ซึ่งบางครั้งอานไปอาจยิ้มไปหัวเราะไปหรือเก็บเรื่องราวเหลานั้นไป ถายทอดสูเพื่อนคนอื่นๆ ใหไดฟง ดวยความเพลิดเพลิน ดังนั้นเรื่องราวตาง ๆ ในหนังสือจึงเปนอาหารใจที่ดที ี่ สรางความบันเทิงใหแกเด็ก 2. วรรณกรรมเด็กเปนสิ่งตอบสนองความตองการของเด็ก สิ่งที่ตอบสนองความตองการของเด็ก นั้นมีหลายประการดวยกัน เชน การไดรับความรัก ความเขาใจ ความอบอุนจาก พอแมและผูป กครอง การไดรับการเอาใจใสดูแลจากครู การไดรับการยอมรับจากเพื่อน ๆ ฯลฯ สิ่งเหลานี้เด็กตองแสวงหาจาก บุคคลตาง ๆ ดังที่กลาว แตหนังสือนับเปนสิ่งสําคัญอีกสิ่งหนึ่ง ที่จะตอบสนองความตองการตาง ๆ ของเด็ก ได เพราะหนังสือเปนสิ่งทีห่ าไดไมยาก หนังสือเปนสิง่ ทีส่ ามารถเราความสนใจของเด็กได ถาเด็กตองการ ความปลอดภัย อบอุน มีความมั่นคงในชีวิต หนังสือทีส่ นองความตองการของเด็กทางดานนี้ ไดแก พวก เทพนิยาย ที่กลาวถึงเจาชายเจาหญิง ประทับในวังอยางสงบสุข หรืออาจเปนเรือ่ งเกี่ยวกับครอบครัวที่มี ความสุข ถาเด็กตองการใหเปนที่ยอมรับของสังคม หนังสือที่ควรอานคือ เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว โรงเรียนและเพื่อนบาน หรือถาเด็กตองการดานความสําเร็จในชีวิต หนังสือที่สนองความตองการ ไดแก หนังสือประเภทชีวประวัติของบุคคล อาจกลาวไดวา ความตองการขั้นพื้นฐานของเด็กมีสวนสําคัญอยางยิ่ง ตอการสรางเด็กใหเปนผูใหญที่มปี ระสิทธิภาพ ผูที่เกี่ยวของกับเด็กจึงจําเปนที่จะตองคํานึงถึงการตอบสนอง ความตองการดังกลาว เพื่อใหความตองการของเด็กเหลานัน้ บรรลุสมความตั้งใจ (สุขุม เฉลยทรัพย10, 2524, หนา 78)

10

สุขุม เฉลยทรัพย. (2524) หนังสือกับการสนองความตอ(5)งการของเด็ก. แมและเด็ก. ป 4(55), หนา 78.


3. วรรณกรรมเด็กชวยพัฒนารากฐานทางภาษาของเด็ก จากการศึกษาวิจัยของหนวยงานตาง ๆ ระบุวา เด็กที่อานหนังสือสําหรับเด็กอยูเ สมอ ๆ หรือมีพอ แมอานใหฟง เด็กจะมีความรูความเขาใจ ในเรื่อง คําศัพทและความหมายตาง ๆ ไดถูกตอง รวมทัง้ สามารถนําไปใชประโยชนในสถานการณตาง ๆ ได นอกจากนีเ้ ด็กยังจะไดรบั การเรียนรูเ กี่ยวกับเรื่องโครงสรางของประโยค รูจักประธาน กริยา กรรม การใชคําชนิดตาง ๆ ไดอยางถูกตองตามหลักภาษา ซึ่งเปนผลใหเด็กมีทักษะทางภาษาที่ดี อริยา ไพฑูรย11 (2541, หนา 93) ไดกลาวไววา เราไมควรเรงรัดใหเด็กเรียนรูคําหรือประโยคที่ยากเกินไป แตก็ไมควร ประเมินความรูท างภาษาของเด็กต่ําเกินไป พรอมทั้งยกตัวอยางใหฟง วา คุณแมอานหนังสือเรื่อง “อาหาร ของใคร” ใหลูกฟง พอถึงรูปปลา คุณแมถามวา อาหารของใครเอย พรอมทัง้ เฉลยวา อาหารของเมี้ยว เหมียว เจาหนูวัยไมถึง 2 ขวบ รีบแยงเสียงดังวา แมวตางหากไมใชเมี้ยวเหมียว สิ่งนี้คือขอยืนยันใหเห็นวา เด็กมีความเขาใจในเรื่องภาษาจากการอานหนังสือเด็กอยูเสมอ ๆ 4. วรรณกรรมเด็กชวยสรางจินตนาการและความคิดสรางสรรคแกเด็ก เรื่องราวตาง ๆ ที่ปรากฏ ในวรรณกรรมสําหรับเด็ก ผูเขียนมักกลั่นกรองมาจากความตองการ ความสนใจของเด็กเปนสวนใหญ นพ.พร พันธุโอสถ12 (2538, หนา 100) กลาวไววา หากเราสังเกตดูสีหนาของเด็กยามที่ฟง นิทาน เราจะ พบบางสิ่งบางอยางที่อยากจะบอกออกมาเปนคําพูดปรากฏอยูในสีหนาพวกเขา สิ่งนั้นไมใชเพียงแคสมาธิหรือ แคความสนุกสนานตื่นเตน แตมันคือชีวิตจิตใจของเด็ก คือความมหัศจรรยใจผสานไปกับความซาบซึ้ง ประทับใจ นิทานไมไดใหแคจินตนาการกับเด็กเทานั้น แตยังใหจิตวิญญาณแกเด็กดวย แมเมื่อเด็กอาน หนังสือ นอกจากเขาไดรับรูเนือ้ หาของเรือ่ งทีอ่ านแลว เขายังไดพิจารณาสรางจินตนาการและสรางสรรคสิ่ง ตาง ๆ ดวยตัวของเขาเอง ภาพตาง ๆ ในหนังสือทีม่ ีสสี ันสวยงามหลากหลาย ก็มสี วนทําใหเด็กเกิดความคิด สรางสรรค ประทับใจในความประณีตงดงามนั้น และอาจมีผลเมื่อเด็กโตขึ้น เขาสามารถใชความคิด จินตนาการเหลานั้นสรางงานโดยอิสระของตัวเองได 5. วรรณกรรมเด็กเปนเครื่องมือสรางพื้นฐานความรูความคิดแกเด็ก หนังสือทุกประเภทลวน แลวแตใหคุณคาแกผูอานแตกตางกันไป วรรณกรรมสําหรับเด็กแตละเลมก็ใหสาระ ความรู และ ประสบการณทหี่ ลากหลาย เมื่อเด็กอานมาก เด็กก็ยิ่งรูข อมูล ขาวสาร และสถานการณมากตามไปดวย ซึ่งสงผลตอการพัฒนาสติปญญาการเรียนรู และทัศนคติในดานตาง ๆ การไดรับการพอกพูนความรูจ าก การอานหนังสือ จะชวยใหเด็กมีมมุ มองและรูจ ักคิด สามารถวิเคราะหขอมูล ปญหาตาง ๆ ไดอยางลึกซึ้ง และแจมชัดขึ้น เพราะหนังสือเด็กจะชวยใหเด็กเกิดการเรียนรูดวยตนเอง จากการเรียนรูนั้น คือหนทางที่ เด็กไดคนพบแนวคิด การตัดสินใจดวยตัวของเด็กเอง ซึ่งเปนประโยชนทเี่ กิดกับเด็กเมือ่ เขาไดอานหนังสือ 6. วรรณกรรมเด็กสงเสริมความสัมพันธภายในครอบครัวและโรงเรียน การที่พอแมหรือครู หา เวลาและโอกาสอานหนังสือรวมกับเด็กบอย ๆ จะเปนการสรางความสัมพันธอันดีตอกัน เพราะเหมือนกับวา บุคคลเหลานี้ไดใหความรัก ความอบอุนแกเด็ก ๆ โดยผานการอานหรือเลานิทานใหเด็ก ๆ ฟง ความใกลชิด 11 12

อริยา ไพฑูรย. (2541) เลือกหนังสือสําหรับเด็ก. สรรสาระ. หนา 91-96. พร พันธุโอสถ. (2538) นิทานจินตนาการและจิตวิญญาณ. (6) รักลูก. ป 13(154), หนา 99-100.


การพูดคุย การสัมผัส การโอบกอดกันขณะอานหนังสือ จะชวยเสริมสรางความผูกพันของบุคคลใน ครอบครัวใหคงทนถาวร ซึ่งจะทําใหเด็กเกิดความเชื่อมั่น ไววางใจ พอแม อันทําใหเด็กมีพฒ ั นาการดาน มนุษยสัมพันธที่ดีและมีชีวิตที่เปนสุขในสังคม นอกจากการเลานิทานจะทําใหเกิดความใกลชิดและเกิดความ เชื่อมั่นแลว เด็กยังไดรับความสนุกสนานบันเทิงใจ ที่ไมมีพษิ ภัย และรูสึกวาไดรับความรัก ความอบอุนจาก พอแม ในที่สุดก็จะเปนความอบอุนทางใจในจิตใจเด็ก ซึ่งจะทําใหเด็กเหลานี้มีความรูสกึ เปนสุข นอกเหนือไปจากพอแมแลว ญาติพี่นองบุคคลผูใกลชิดในครอบครัวก็สามารถสรางสัมพันธอันดีกบั เด็กได โดยใชหนังสือเปนสื่อ เชน คุณนาอาจซื้อหนังสือเด็กที่มีภาพสวยเปนรางวัลใหหลานเมื่อหลานสอบ ไดคะแนนดี คุณลุงอาจเลานิทานในหนังสือใหหลานฟงหลังจากรับประทานอาหารมื้อเย็นหรือคุณยายอาจให หลานคนใดคนหนึ่งอานหนังสือใหคุณยายฟงกอนเขานอน การมีกิจกรรมรวมกันโดยใชหนังสือเปนสื่อ จะทําใหทุกคนในครอบครัวมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน รักใครกลมเกลียว อันกอใหเกิดความสามัคคี ในครอบครัว การอานหนังสือเด็กดวยกันกับบุคคลในครอบครัว นอกจากจะไดใกลชิดกันมากขึ้นแลว ที่ สําคัญคือผูใหญจะไดรูพฒ ั นาการทางความคิด อารมณ ความรูสึกของเด็กเมื่อไดพูดคุยกันหลังจากการอาน หนังสือเสร็จสิ้นลง รวมทั้งผูใหญเองก็จะไดกาวทันความคิดของเด็กไดอีกดวย 7. วรรณกรรมเด็กเปนสังคมจําลองที่ใหเด็กไดเรียนรูและเลียนแบบ เนื้อเรื่องที่ปรากฏใน วรรณกรรมสําหรับเด็กเปนเรื่องทีผ่ านการกลั่นกรองมาแลวเปนอยางดี ทั้งในดานโครงเรื่อง แนวคิด และ สํานวนภาษา เมื่อเด็กไดอาน เขาก็จะไดรับสิง่ ดี ๆ เหลานัน้ การที่เด็กไดเรียนรูจ าก เรื่องราวที่ดงี ามและ ถูกตอง จึงเปนการปลูกฝงสิง่ ดี ๆ ทั้งหลายแกเขาในทางออม เขาจะเรียนรูและจดจําไดตลอดไป นอกจากเด็กจะไดเรียนรูจากเรื่องราวในวรรณกรรมสําหรับเด็ก เด็กยังสามารถเลียนแบบสิง่ ที่ ปรากฏในหนังสืออีกดวย เพราะในหนังสือสําหรับเด็กมักจะมีเนื้อหาอันเกี่ยวของกับสภาพชีวิตโดยทั่วไป อาจ เปนเรื่องการดําเนินชีวิตในบานหรือที่โรงเรียน ในหนังสือสําหรับเด็กมักจะจําลองชีวิต อันแสนงามไวใน เนื้อหาเหลานั้น เด็กที่อานเรื่องราวเกี่ยวกับวีรบุรุษ เขาอาจอยากเกง อยากมีความสามารถเชนนั้น หรือใน หนังสือไดกลาวถึงบทบาทของบุคคลในครอบครัว คนเปนพอ เปนแม เปนลูก มีบทบาทหนาที่อยางไร เด็ก ไดเรียนรูและอาจเลียนแบบพฤติกรรมอันดีงามทีป่ รากฏในหนังสือ เหลานั้นดวยเชนกัน หนังสือเด็กที่ดจี ึง เปนสื่ออันทรงคุณคา 8. วรรณกรรมเด็กเปนเพื่อนที่แสนดีของเด็ก เรื่องราวในหนังสือสําหรับเด็ก ทําใหเด็กไดรับความ สนุกสนานเพลิดเพลินและเปนสุข ยามเหงาเขาก็สามารถใชหนังสือเปนเพื่อนแทนเพื่อนเลนได เพราะ หนังสือทีเ่ ปนเพื่อนนี้จะพาเด็กไปสูโ ลกแหงจินตนาการและความคิดสรางสรรค ยามเบื่อหนายบรรยากาศ รอบตัว เด็กก็สามารถอานหนังสือได เมือ่ อานแลวรูส ึกเบือ่ เขาก็จะเลิกอานได เมือ่ รูส ึกอยากอานหนังสือ เมื่อใดก็พรอมจะหยิบมาอานได ระยะเวลาที่อานจะนอยจะมากหรือนานเพียงใด หนังสือก็ไมแสดงอาการ เบื่อหนาย ไมมีเสียงบนวาหรือแสดงความไมพอใจ หนังสือสําหรับเด็กจึงเปนเพือ่ นที่ดีของเด็กไดตลอดไป

(7)


9. วรรณกรรมเด็กชวยฝกใหเด็กมีสมาธิ การทีเ่ ด็กอานหนังสือหรือฟงเรื่องราวจากหนังสือ เด็ก จะมีความตั้งใจแนวแนในการับรูเนื้อหานั้น ๆ เด็กจะใชความคิดในการติดตามความเปนไปของเรื่อง ซึง่ จะ ฝกใหเด็กมีสมาธิ สามารถที่จะอยูนิ่งเพื่อฟงหรืออานหนังสืออยางสงบไดเปนเวลานาน หรืออยางนอยคือชวง ที่อานหนังสือเรื่องนั้นเสร็จสิ้น เด็กที่มีโอกาสไดฟงนิทานบอย ๆ จะทําใหมีทักษะในการฟงดีขึ้น มีสมาธิใน การฟงดีขึ้น จะดีกวาเด็กที่ไมไดฝกหัดรับฟง ผลจากการฝกใหเด็กไดมสี มาธิในเรือ่ งดังกลาว จะสงผลดีตอ เด็กในดานอื่นดวย คือ เปนการฝกเด็กใหมีการเตรียมพรอมในเรื่องของการเรียน เด็กจะมีสมาธิในการนั่งฟง ครูอธิบายเปนระยะเวลานาน รวมทัง้ ทําใหเด็กรูจักใชสมาธิในการกระทําเรื่องอื่น ๆ อีกตอไป วัตถุประสงคในการทําวรรณกรรมสําหรับเด็ก 1. เพื่อใหเกิดความเพลิดเพลิน สนุก ผอนคลายอารมณ 2. เพื่อใหอานหนังสือไดคลองแคลว แตกฉาน ซึ่งชวยพัฒนาการเรียนรูดานภาษาของเด็ก 3. เพื่อเปนการลับสมอง สงเสริมจินตนาการ ใหเกิดความคิดสรางสรรคและสงเสริมเชาวนปญญา ใหกับเด็ก 4. ใหความรู ตอบสนองความอยากรูอยากเห็นของเด็กใหเขาใจสิ่งแวดลอม เขาใจตนเองและ ความรูอื่น ๆ 5. ปลูกฝงคุณธรรมใหแกเด็ก ซึ่งเปนสิ่งจําเปนมาก เพราะเด็กเปนสมาชิกรุนใหมของสังคม และเปนความหวังของสังคมที่จะตองรับผิดชอบตอสังคมตอไป 6. เพื่อใหเด็กรักการอานมากขึ้น เหตุที่ตองมีการทําวรรณกรรมสําหรับเด็กโดยเฉพาะ 1. เด็กมีประสบการณในชีวิตนอย 2. เด็กมีพฒ ั นาการทางจิตใจและสติปญญาไมมากพอที่จะเขาใจเรื่องผูใหญได 3. ความรูทางภาษาของเด็กมีนอย 4. ความตองการของเด็กไมเหมือนผูใหญ และความตองการของเด็กแตละวัยก็ไมเหมือนกัน ดังนั้นการทําวรรณกรรมสําหรับเด็ก เชน การทําหนังสือสําหรับเด็กแตละวัยจึงไมเหมือนกันดวย ความแตกตางของวรรณกรรมสําหรับเด็กกับผูใหญ 1. วรรณกรรมสําหรับเด็ก เชน หนังสือสําหรับเด็กเขียนเนื้อเรื่องงาย ๆ ทีอ่ ยูรอบ ๆ ตัวเด็ก มี การดําเนินเรื่องไมสลับซับซอน 2. ระดับภาษางาย ๆ เด็กยิ่งเล็กยิง่ เขาใจภาษางาย ๆ สวนของผูใหญตองใชภาษาใหเหมาะกับ ทองเรื่อง ฉากและบรรยากาศ 3. แกนของเรื่อง (Theme) หรือแนวคิดของเรื่องที่แตกตางกัน ของเด็กมุง ใหแนวความคิดดาน พฤติกรรมที่ดี มุงความเพลิดเพลิน สงเสริมจินตนาการ สนุกสนาน การดําเนินชีวิตประจําวันอยางมีความสุข สวนของผูใหญมงุ ในดานการครองรักครองเรือน การดําเนินชีวิต ปญหาชีวิต ปญหาสังคมและการเมือง เปนตน (8)


4. ตัวละครมุง เปนแบบอยางของเยาวชน ทั้งความประพฤติและการศึกษาเลาเรียน 5. มุง สอนใหแนวความคิดตาง ๆ ไมเปนไปทางตรงก็ทางออม สวนของผูใหญมุงความ สมเหตุสมผล การตัดสินใจ ใหแนวความคิด แฝงคุณธรรมคอนขางลึกซึง้

วรรณกรรมเด็กกับการสรางนิสัยรักการอาน ความสําคัญและประโยชนของการอาน การพัฒนาเด็กเปนเรื่องสําคัญ เพราะเด็กเปนทรัพยากรมนุษยที่เปนอนาคตของชาติ การอานมี ความสําคัญและมีประโยชน ชวยใหเด็กเติบโตเปนทรัพยากรบุคคลที่มีคุณคา เปนพลเมืองดีและเปนกําลัง สําคัญของประเทศชาติ การรูจ ักใชเวลาวางใหเปนประโยชนโดยการอานจะทําใหเด็กเจริญงอกงาม ทั้งทาง สติปญญาและรางกายที่แข็งแรง มีจิตใจดี มีวิสัยทัศนกวางไกล มีความคิดริเริ่มสรางสรรค สามารถนํา ความรูที่ไดจากการอานมาประยุกตใชในการดําเนินชีวิตประจําวันอยางมีความสุข ตลอดจนการเกิดแรง บันดาลใจจากการอาน ทําใหสามารถสรางผลงานใหม ๆ ขึ้นมาเปนประโยชนทงั้ กับตนเอง ครอบครัวและ ประเทศชาติ ความสําคัญของการสรางนิสัยรักการอาน การรักการอานเปนสิ่งจําเปนและสําคัญ เด็กทุกเพศทุกวัยจะตองไดรับการฝกฝนใหมีนสิ ัยรักการอาน นิสัยรักการอานนีจ้ ะตองฝกฝนตั้งแตเด็กเล็ก ๆ ตามคํากลาวที่วา “ไมออนดัดงาย ไมแกดัดยาก” การฝกให มีนิสัยรักการอานนั้น ผูท ี่จะทําการฝก ไดแก พอแม ผูป กครอง ครูผูสอน และบรรณารักษ พอแมซงึ่ เปน ครูคนแรกของลูกและผูป กครองจะตองเปนนักอาน รูจ ักชี้แนะหรือแนะนําการอาน เลานิทาน เลาเรื่องตาง ๆ จากหนังสือ และอานหนังสือใหฟง เปนตน ครูมีวิธีการสอนที่มงุ ใหเด็กรูจ ักคนควาเพิ่มเติม บรรณารักษมีวิธีการแนะนําวรรณกรรมและสือ่ ประเภทตาง ๆ จัดกิจกรรมตาง ๆ อันเปนการปลูกฝงนิสัยใหเด็กรักการอาน เมื่อเด็กรักการอานตัง้ แตเล็ก ๆ แลว ครั้นเมื่อเจริญเติบโตขึ้น นิสัยรักการอานนี้กจ็ ะติดตัวเด็กไป เรื่อย ๆ ซึ่งจะเปนผลดีตอการเรียน ตอการปรับตัวใหเขากับสังคมและสิ่งแวดลอมของเด็กไดเปนอยางดี แต อยางไรก็ตาม เมื่อปลูกฝงนิสัยรักการอานใหกับเด็กแลว ควรจะแนะแนวทางใหเด็กมีรสนิยมในการเลือก อานหนังสือและสื่อตาง ๆ ใหกบั เด็กดวย เพราะในปจจุบันนี้มีหนังสือสําหรับเด็กและสื่อตาง ๆ จัดทําขึ้น มากมายในทองตลาด ทั้งเหมาะสมและไมเหมาะสมกับเด็ก ดังนั้นการมีรสนิยมในการเลือกอานหนังสือและ สื่อตาง ๆ ของเด็ก จึงเปนสิง่ จําเปนมากสําหรับภาวะการณปจจุบันนี้ และเพื่อจะชวยสงเสริมรสนิยมในการ อานของเด็ก และมุงสงเสริมจินตนาการและความคิดสรางสรรคของเด็กใหกวางขวาง ผูจัดทําหนังสือ และสื่อตาง ๆ สําหรับเด็กจึงควรมีความรู ความสามารถและศึกษาการจัดทําหนังสือและสื่อตาง ๆ สําหรับ เด็กใหเหมาะกับวัยของเด็กดวย จึงจะสามารถจําทําหนังสือหรือผลิตสื่อที่ดีสําหรับเด็กได

(9)


สาเหตุที่เด็กไมรักการอาน 1. ผูปกครองไมรักการอาน จึงไมเห็นคุณคาของการอานหรืออาจจะเนื่องมาจากเศรษฐกิจ แตก็มี ขอขัดแยงไดวาของบางอยางซึง่ ไมสําคัญและไมจําเปน ผูปกครองยังซื้อได เชน เหลา บุหรี่ เปนตน แตไม อาจลงทุนซือ้ หนังสือใหเด็กได 2. ผูปกครองเห็นคุณคาของอยางอื่นมากกวา เชน ของเลนราคาแพง ๆ เปนตน แตไมซื้อหนังสือ ใหกับเด็ก 3. ผูปกครองไมมีเวลาฝกใหเด็กรักการอาน อาจเปนเพราะขีเ้ กียจหรือไมมเี วลา 4. โรงเรียนไมมีหองสมุดหรือมีแตไมดี ไมมีบรรณารักษ ครูใหญหรือผูอํานวยการไมสนับสนุน หองสมุด แตสนับสนุนอยางอื่นมากกวา 5. วิธีการสอนของครู มุงการอานแบบเรียนอยางเดียว ครูไมมีโอกาสสอนใหนักเรียนคนควาใน หองสมุด และไมมกี ิจกรรมเกี่ยวกับการอานที่ใหเด็กเปนศูนยกลางการเรียนการสอน 6. บรรณารักษไมมกี ิจกรรมสนับสนุนสงเสริมแนะนําการอาน อาจเนื่องจากตองไปสอนหนังสือ ดวยก็ได หรือโรงเรียนไมสนับสนุนหองสมุดใหซื้อหนังสือใหม ๆ และไมมีชั่วโมงใหนักเรียนมาใชหอ งสมุด 7. วรรณกรรมสําหรับเด็กที่ไมมีคุณภาพออกมามาก เชน หนังสือและภาพยนตร การตูนญี่ปุน เด็ก ๆ ชอบอานมาก แตบางเรื่องไมดี เนื้อหาไมสรางสรรค ลามก หยาบคาย รายการโทรทัศนและเว็บ ไซดในอินเทอรเน็ตไมเหมาะสม 8. เนื้อเรื่องของหนังสือสําหรับเด็กมีนอย ยิ่งเรื่องไทย ๆ ยังมีอยูอีกมากที่จะนํามาเขียนและควร จะเขียนเรื่องทีส่ นองความอยากรูอยากเห็นของเด็กมากกวานี้ เชน เรื่องที่เปนความรู เรื่องทีส่ ราง จินตนาการ และกอใหเกิดความคิดสรางสรรค ยังขาดอยูอกี มาก 9. ขาดแหลงซื้อสําหรับเด็กชนบท ไมมรี านขายหนังสือ มีแตเมืองใหญ ๆ เทานั้น เชน เชียงใหม นครราชสีมา ขอนแกน เปนตน 10. ขาดหองสมุดประชาชน ถึงมีหองสมุดประชาชนก็ยังมีหนังสือเด็กไมมากนัก 11. มีสื่อตาง ๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งดึงความสนใจจากการอาน เชน เกม คอมพิวเตอร โทรทัศน อินเทอรเน็ต ฯลฯ ที่ดึงดูดความสนใจมากกวาการอานหนังสือ อาจสรุปไดวาสาเหตุหลัก ๆ ทีท่ ําใหเด็กไมอานหนังสือเกิดมาจากผูป กครอง โรงเรียน เนื้อหาของ หนังสือ และสิง่ แวดลอมอื่น ๆ นั่นเอง

(10)


ปญหาการขาดแคลนหนังสือเด็กที่มีคุณภาพดี 1. ขาดผูอาน เพราะเด็กไมมีนิสัยรักการอาน ตามหลักของ demand and supply ไมมีคนอานก็ ไมมีคนผลิต ปจจุบันมีสื่ออื่น ๆ ทีเ่ ด็กใหความสนใจมากกวา เชน โทรทัศน แถบบันทึกภาพ และ อินเทอรเน็ต เปนตน 2. ปจจุบันยังขาดผูเขียนหนังสือสําหรับเด็กโดยแทจริง และยังขาดผูวาดภาพประกอบหนังสือ สําหรับเด็กอยูมาก 3. นักเขียนสวนมากมักจะผลิตหนังสือเด็กวัยเดียวกัน เรือ่ งทํานองเดียวกันมาก ควรจะมุงผลิต หนังสือบางประเภทที่ขาดแคลน เชน หนังสือเด็กเล็ก ๆ และวัยรุน 4. ภาวะเศรษฐกิจไมดี กระดาษแพง การพิมพหนังสือเด็กตองลงทุนสูง 5. สวนใหญการใหคาลิขสิทธิ์ยังนอย ไมมากเทาหนังสือผูใหญ 6. ขาดผูแปลหนังสือเด็กดี ๆ โดยตรง โดยเฉพาะหนังสือเด็กวัยรุน 7. ขาดการสงเสริมสนับสนุนจากสถาบัน หนวยงานตาง ๆ สถาบันตาง ๆ มูลนิธิตาง ๆ จัดประกวด ใหรางวัลหรือสงเสริมการเขียนหนังสือสําหรับเด็ก ทั้ง ๆ ทีส่ ํานักพิมพก็สนับสนุนใหรางวัลผูเขียนหนังสือเด็ก ดีเดน และตนฉบับหนังสือดีเดนทุกปรวมกับสมาคมองคกรตาง ๆ จัดประชุมการทําหนังสือเด็ก สงเสริมการ อานของเด็ก แตหนังสือเด็กก็ยังไมมากเทาที่ควร 8. ขาดผูชี้แนะ การรูจกั เลือกอานหนังสือที่ดี ๆ มีความรูเสริมสรางจินตนาการและกอใหเกิด ความคิดสรางสรรค เชน ขาดบรรณารักษ ครู และผูป กครองทีเ่ ห็นคุณคาของการอานและรูห ลักการเลือก หนังสืออานใหกับเด็ก ดังนั้นหนังสือทีม่ ีเนื้อหาสาระที่ใหความรูตาง ๆ เด็กจึงมองขามไป มักจะสนใจหนังสือ ที่ใหความเพลิดเพลินอยางเดียว หนังสือทีเ่ ปนพวกสารคดีทั้งหลายสําหรับเด็กจึงผลิตไดนอยมาก การชี้แนะ ใหเด็กรูจักเลือกอานหนังสือ จึงเปนสิ่งจําเปนและสําคัญที่จะขจัดหนังสือเด็กที่ไมมีคุณภาออกไปจากหองสมุด โรงเรียนหรือจากทองตลาดได

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เอกสารประกอบการสอน ฉวีวรรณ คูหาภินันทน. (2545). วรรณกรรมสําหรับเด็ก. กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร. หนา 1-14. สุนทรี คุณจักร. (มปป). หนังสือสําหรับเด็ก. ชลบุรี : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา. หนา 1-14.

(11)


2. ความรูพื้นฐานทางดานจิตวิทยาที่เอื้อตอ การเขียนวรรณกรรมสําหรับเด็ก ผูที่จะเขียนวรรณกรรมสําหรับเด็ก จําเปนจะตองมีความรูพื้นฐานทางดานจิตวิทยาทีเ่ อื้อตอการ เขียนวรรณกรรมสําหรับเด็ก กลาวคือ ในการเขียนวรรณกรรมสําหรับเด็ก ผูเ ขียนจะตองรูวาเด็กแตละวัย ตองการสิ่งใดและมีความสนใจอะไรบาง เพราะเด็กแตละวัยมีความตองการและมีความสนใจที่แตกตางกัน หนังสือทีจ่ ะดึงดูดใหเด็กสนใจจึงมีความแตกตางกันดวยถาผูเ ขียนทราบสิง่ เหลานีจ้ ะทําใหสรางวรรณกรรม ไดอยางมีประสิทธิภาพ

ความตองการของเด็ก ความตองการ คือสิง่ ทีเ่ กิดขึ้นจากแรงผลักดันภายใน กระตุนใหเกิดการแสดงพฤติกรรมตาง ๆ เมื่อยังเด็ก เด็กจะมีความตองการอยูในวงจํากัด แตเมื่อเติบโตขึ้น ความตองการของเด็กก็จะขยายกวางตาม ไปดวย ซึ่ง Arbuthnot และ Sutherland (อางถึงใน ) สรุปความตองการของเด็กไวดังนี้ 1. ตองการความมั่นคงและความปลอดภัย (The need for physical well being) การไดรับ ความอบอุนจากพอแม ความเอาใจใส ความมั่นคง ความปลอดภัย ความสุขสบายตาง ๆ เห็นโลกสวย ตองการความหรูหราตาง ๆ ดังนั้นหนังสือที่มเี นื้อเรื่องเกี่ยวกับความสุขสบาย มีเสื้อผาสวย ๆ สวมใส มีงาน เลี้ยงหรูหรา มีแกวแหวนเงินทอง อยูในประสาทราชวัง จึงเปนเรื่องที่เด็ก ๆ ชอบ เรื่องแนวนีป้ ระเภทเทพ นิยาย ซึ่งเด็กผูหญิงจะชอบอานมากกวาเด็กผูชาย 2. ตองการความรักและไดรับความรักจากผูอื่น (The need to love and to be loved) เชน รักพอแม ญาติพี่นอง เพื่อนฝูง สัตว สิ่งของ และยังตองการไดรับความรักจากสิง่ เหลานี้ดวย ดังนั้นหนังสือ ที่มีเนื้อเรือ่ งเกี่ยวกับครอบครัว เพือ่ น เด็กในวัยเดียวกันและสัตว เด็กจะชอบอานเปนพิเศษ ซึ่งโดยสวน ใหญนิทานสําหรับเด็กจะเนนเรื่องความรักอยูแลว 3. ตองการแสดงความเปนเจาของ (The need to belong) ความตองการแสดงความเปน เจาของในสิ่งตาง ๆ เชน พอ แม สิ่งของ เพื่อน สัตวเลี้ยง ฯลฯ เด็กจะอวดดวยความภาคภูมิใจวา นี่พอฉัน นี่แมฉัน นี่โรงเรียนฉัน นี่ของเลนฉัน ฯลฯ หนังสือที่มเี รือ่ งเกี่ยวกับครอบครัวและสิ่งเหลานี้ เด็กจะชอบมาก แตผูเขียนควรแทรกเรื่องของการดูและเอาใจใสสงิ่ ของเหลานี้ใหแกเด็กดวย 4. ตองการความสําเร็จ (The need to achieve) เมื่อทําอะไรก็ตาม ถาประสบผลสําเร็จ เด็กจะ รูสึกภาคภูมิใจ เพราะฉะนั้นหนังสือที่มีเนือ้ หาเกี่ยวกับความสามารถ การทําอะไรทีป่ ระสบผลสําเร็จ เรื่อง วีรบุรุษ วีรสตรี เด็กจะชอบมาก

(12)


5. ตองการความเปลี่ยนแปลง (The need for change) หนังสือที่มีเรื่องแปลก ๆ ใหม ๆ การ ผจญภัย เนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องการผจญภัย ลึกลับ การเปลี่ยนแปลงของรางกายก็เปนสิ่งทีเ่ ด็กชอบ 6. ตองการที่จะรู (The need to know) กลาวคือ เด็กมีความอยากรูอยากเห็นในสิ่งแปลก ๆ ใหม ๆ สิ่งรอบ ๆ ตัว ธรรมชาติตาง ๆ การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ หนังสือที่มเี นื้อหาเกี่ยวกับทวีปตาง ๆ ประเทศตาง ๆ ทะเล ทะเลทราย พืช กอนหิน ดวงดาว โลกใหม เครื่องบิน ยานอวกาศ ทองฟา พระอาทิตย ฝนตก พระจันทร ฯลฯ หรือเรื่องแนวประดิษฐคิดคน เด็กจะชอบมาก หนังสือประเภทพจนานุกรมหรือ สารานุกรมเด็ก จะเปนที่ถูกอกถูกใจเด็กมาก เพราะจะชวยในการคนควาหาคําตอบในเรื่องที่เด็กสงสัยและ อยากรูอยากเห็น 7. ตองการความสวยงาม ความเปนระเบียบ จังหวะตาง ๆ บทเพลงตาง ๆ (The need for beauty and order) ดังนั้นเด็กจะชอบอานหนังสือศิลปะ หนังสือเพลง บทรอง ดนตรี หนังสือเกี่ยวกับ ความงาม โคลง ฉันท กาพยกลอนตาง ๆ หนังสือปรับปรุงบุคลิก เสริมความงามทั้งหลาย หนังสือรูปศิลปะ วาดเขียน แกะสลัก บทละคร

ความสนใจของเด็ก ความสนใจ คือ ความรูสึกอยางหนึง่ ที่ถูกเราใหเกิดขึ้น โดยวัตถุภายนอก ซึ่งความสนใจของเด็กนั้น อาจเกิดขึ้นมาจาก 2 ทาง คือ 1. ความสนใจที่เกิดขึ้นจากภายใน กลาวคือ ความสนใจที่เกิดขึ้นเอง ความสนใจชนิดนี้เกิดมาก จากลักษณะเฉพาะของบุคคลหรือความถนัดของบุคคล เชน ชอบวาดรูป ชอบรองเพลง 2. ความสนใจที่เกิดขึ้นจากภายนอก ไมวาจะเปน โดยการแนะนําจากผูอ ื่น หรือทีเ่ กิดขึ้นจากการ ทําตามผูอื่น หรือเกิดขึ้นจากสิ่งแวดลอมบังคับ ความสนใจเหลานีเ้ ปนสิ่งทีเ่ กิดขึ้นไดเชนกัน ทวีศักดิ์ ญาณประทีป (2537, 39-52)ไดสรุปองคประกอบที่สําคัญซึ่งมีอิทธิพลตอความสนใจในการ อานของเด็กไว 4 ประการ คือ 1. อายุและเพศ ไดมีการสํารวจความพอใจในการอานหนังสือของเด็ก พบวา เด็กแตละวัยและตาง เพศกันมีความสนใจในการอานแตกตางกัน กลาวคือ - เด็กที่อายุตางกัน มีความสนใจแตกตางกัน เชน เด็กเล็ก จะสนใจภาพวาด สัตว ดอกไม ภาพสี ฉูดฉาด เด็กวัยหัดอาน (3-6 ขวบ) ชอบเรือ่ งเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมรอบ ๆ ตัว เด็กวัย 6-8 ขวบ ชอบเรียนรูศัพทใหม ๆ อานเรื่องตลกแลวเขาใจ สวนเด็กวัย 8-11 ขวบ เริ่มสนใจเรื่องจริงมาก ขึ้น เนนรูปและเนื้อเรื่องเทา ๆ กัน - ความสนใจของเด็กหญิงและเด็กชายตางกันเล็กนอย ซึ่งปรากฏชัดในชวงกอนอายุ 9 ป - เด็กหญิงจะชอบอานหนังสือมากกวาเด็กชาย แตเด็กชายจะชอบอานหนังสือไดหลายชนิดกวา - เด็กหญิงจะชอบเรื่องแนวนิยายรักโศก สวนเด็กชายจะชอบแนวลึกลับผจญภัย (13)


จะเห็นไดวา อายุและเพศมีอิทธิพลตอความสนใจในการอานของเด็กอยางมาก เพราะทําใหผเู ขียน ทราบความพอใจในการอานหนังสือของเด็กและสวนประกอบตาง ๆ ที่ดึงดูดใจใหเด็กอานหนังสือ และ สามารถสรางสรรคงานเขียนไดตรงความสนใจของเด็ก 2. อายุสมอง ความสนใจในการอานของเด็ก เกี่ยวโยงกับอายุสมองดวย เดวิด รัสเซลล (David Russell) ไดศึกษาเปรียบเทียบความสนใจในการอานของเด็กกับสติปญญา และสรุปหลักใหญ ๆ ไว 3 ประการ คือ - เด็กฉลาดจะชอบอานหนังสือทีเ่ ด็กสติปญญาดอยซึง่ แกกวาตน 2-3 ป - เด็กฉลาด จะอานหนังสือเปนจํานวน 3-4 เทาของเด็กที่มสี ติปญญาปานกลาง - เด็กที่ฉลาดจะมีความสนใจในการอานนานกวา 3. รูปรางและขนาดของหนังสือ ประกอบดวย ภาพ สี ขนาดของหนังสือ ชนิดของการพิมพ และ รูปรางลักษณะ สิง่ เหลานี้มอี ิทธิพลตอความสนใจของเด็กในการเลือกหนังสือ แดน แคปปา (Dan Cappa) ไดศึกษาเด็กอนุบาลจํานวน 2,500 คน พบวา รูปภาพเปนสิ่งสําคัญทีส่ ุด (34%) ทีจ่ ะชักจูงใจเด็กใหเลือก หนังสือ เนือ้ เรื่อง (30%) มีความสําคัญรองลงมา สวนอืน่ ๆ มีความสําคัญลดหลั่นลงมาตามลําดับ เชน ความรูที่มีในเนือ้ เรื่อง ความตลกขบขัน ความตื่นเตน และเรื่องทีเ่ คยอานมาแลว 4. สิ่งแวดลอม เชน การมีเงินซื้อหา การหาแหลงหนังสือ มีผลกกระทบตอความสนใจในการอาน ของเด็กบาง แตความแตกตางในเรื่องที่ตงั้ ทางภูมิศาสตร เด็กชนบท เด็กชานเมือง และเด็กในเมือง ไมมีผล ตอรสนิยมในการอานของเด็ก

ลักษณะแหงวัย ความตองการ และความสนใจ ที่มีผลตอการอานของเด็ก บันลือ พฤกษะวัน (2536, 14-17)ไดกลาวถึงลักษณะของวัย ความตองการ ความสนใจ และ หนังสือทีเ่ ด็กแตละวัยควรจะอานไวดังนี้ 1. วัยอนุบาลหรือวัยกอนเขาเรียน (3-6 ป) ลักษณะแหงวัย - ยึดเอาตนเองเปนศูนยกลาง สนใจตนเองมากกวาสิง่ อื่น ไมคอยคิดถึงผูอื่น เรียกไดวาเปนวัยที่ เห็นแกตัวมากไป - ชวงความสนใจสั้น และมักเปลี่ยนความสนใจบอย ๆ - เปนระยะที่ความเจริญทางภาษาเปนไปอยางรวดเร็ว ตองการที่จะไดพบเห็นสิ่งแปลก ๆ ใหม ๆ - การเลียนแบบเปนทางสําคัญแหงการเรียนรูส ําหรับเด็กวัยนีม้ าก ทั้งในดานภาษาและลักษณะทาทาง (14)


ความสนใจและความตองการของเด็ก - สนใจในสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ เชน สัตว ตนไม ดอกไม และเด็กในวัยเดียวกัน - ตองการที่จะพูด ฟง ซ้ํา ๆ เปนจังหวะ เพื่อจะไดเลียนแบบเปนครั้งคราว - สนใจทีจ่ ะซักถามโดยใชคําถามตรง ๆ บางทีก็ถามซ้ําซากจนผูใหญเกิดความรําคาญก็มี แตก็ยัง ไมมุงถามถึงเหตุผลอยางจริงจัง - สนใจในการทองจําคําคลองจองงาย ๆ บทเลนเด็ก และเพลงสั้น ๆ งาย ๆ ได - สนใจและมักรบเราที่จะฟงนิทานจากผูใหญ การอานนิทานงาย ๆ สั้น ๆ ใหฟง จะเปนการ สนองความตองการแหงวัยนี้ไดอยางมาก - สนใจทีจ่ ะฝกอานภาพจากสมุดภาพหรือหนังสือเอง - เริ่มสนใจที่จะอานเองบาง แตชอบใกลชิดผูใหญละชอบการชมเชยจากผูใหญ หนังสือทีเ่ หมาะกับเด็กวัยนี้ - สมุดภาพ พจนานุกรมภาพ-เสียง - หนังสือที่ใชภาพกับคํา เชน สมุดภาพสัตว และสิ่งของเครือ่ งใชตาง ๆ 2. วัยประถมตอนตน (ป.1-2) ลักษณะแหงวัย - ชวงความสนใจยาวขึ้น ประมาณ 15-20 นาที - เด็กวัยนี้จะถือเอาการเลนเปนชีวิตจิตใจ เด็กจะเลนเพลินจนลืมเรื่องอาหารการกินเสมอ ๆ - ชอบเลนรวมกลุม ไมแยกเพศ ชอบแขงขันทุกประเภท ชอบการเอาชนะ - สามารถพูดเปนประโยค โดยใชคํา 6-8 คํา และใชภาษาพูดสื่อความหมายในชีวิตไดดีขึ้น ความสนใจและความตองการของเด็ก - ตองการแสดงออกซึง่ ความสามารถหรือความสําเร็จในการเรียน การเลน เพื่อใหผูอื่นยอมรับ - สนใจทีจ่ ะทดลอง เลียนแบบสิ่งตาง ๆ ตามความคิดเห็นของตน - ตองการการยอมรับจากลุมของตน - ตองการมีสวนรวมในทุกกิจกรรม - ตองการฟงนิทาน เรื่องราวสนุก ๆ ชวนเพอฝน เรือ่ งราวที่เต็มไปดวยความอบอุน หนังสือทีเ่ หมาะกับเด็กวัยนี้ - หนังสือเกีย่ วกับกิจวัตรประจําวัน เชน เรื่องความรักของแม มายิ้มกันเถอะ มาแปรงฟนกันดีกวา - นิทานที่มีเรื่องราวสนุกสนาน อาจจะเปนนิทานอีสปก็ได - หนังสือแนวเพอฝน ทํานองเทพนิยายตาง ๆ (15)


3. วัยประถมตนตอนปลาย (ป.3-4) ลักษณะแหงวัย - ชวงความสนใจยาวขึ้น 30-40 นาที - มีการสังเกตรายละเอียดของสิ่งตาง ๆ มากขึ้น - เรียนรูที่จะทํางานเปนกลุมไดดี - สามารถจะอานตามลําพังไดเอง และพอจะเขาใจเรื่องทีเ่ ปนนามธรรมไดบาง - มีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายมากขึ้น ความสนใจและความตองการของเด็ก - ความสนใจในตนเองเริ่มลดลง หันมาสนใจเพื่อน สิ่งแวดลอมรอบ ๆ ตัวมากขึ้น - สนใจเรื่องราวความเปนมาของสิ่งตาง ๆ - ตองการที่จะมีสวนรวมมากขึ้น - สนใจนิทาน เรื่องราว และนํามาถายทอดเลาสูเพื่อนไดบาง - ความสนใจในการอานเริ่มขยายตัวกวางมากขึ้น หนังสือทีเ่ หมาะกับเด็กวัยนี้ - นิทานสุภาษิต นิทานคํากลอน ที่ใหคติสอนใจและมีแนวคิดในการประพฤติปฏิบัติ - นิทานที่มีประวัติความเปนมาของสิ่งตาง ๆ เชน นิทานพื้นบาน นิทานอธิบายเหตุ - นิทานที่ตลกขบขัน แสดงถึงความกลาหาญ แนวผจญภัยตาง ๆ - นิทานที่มีคุณธรรมแฝงในเรือ่ ง 4. วัยประถามศึกษาตอนปลาย (ป.5-6) ลักษณะแหงวัย - มีชวงความสนใจตอสิ่งใดสิง่ หนึง่ ยาวนานขึ้น 50-60 นาที หรือนานกวานั้น - เริ่มเรียนรูเกี่ยวกับนามธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมใกลตัว - สามารถทีจ่ ะอานและใชความเปนอิสระไดดีขึ้น - รูจักวิเคราะห และมีความรูส ึกนึกคิด - เริ่มมีความเขาใจ ชางสังเกตสิ่งตาง ๆ - เริ่มรูจกั เลือกคบเพื่อน มีความสนใจเพื่อนฝูงมากขึ้น ความสนใจและความตองการของเด็ก - ตองการความเปนตัวเองมากขึ้น ชวยเหลือตัวเองไดเอง ตองการความชวยเหลือจากผูใหญลดลง - เริ่มมีความเพอฝน - ความสนใจของเพศหญิงและชายตางกันชัดเจน หญิงจะสนใจเรือ่ งครอบครัว การเรือน สวนชาย (16)


จะสนใจเรื่องเครื่องยนตกลไก เกษตรกรรม - ตองการความเพลิดเพลินจากการอาน หนังสือทีเ่ หมาะกับเด็กวัยนี้ - หนังสือประเภทสารคดีเด็ก การทองเที่ยว ตาง ๆ - หนังสือแนวชีวประวัติบุคคลสําคัญ ๆ - หนังสือวรรณคดี - หนังสือเริงรมยที่ใหแนวคิดตาง ๆ - หนังสือประเภทเรือ่ งสั้น พวกวรรณกรรมเยาวชนตาง ๆ

(17)


3. หลักเกณฑการเขียนวรรณกรรมสําหรับเด็ก แมวาการเขียนวรรณกรรมเด็กจะสามารถเขียนไดอยางอิสระ ตรงกับความตองการของเด็ก แต การจะเขียนเรื่องสักเรื่องหนึง่ นั้น ไมใชเรื่องงายเลย จึงมีนักวิชาการจํานวนมากเสนอแนวทางการเขียนไว หลากหลาย ทั้งนี้ ผูเขียนเห็นวาควรศึกษาหาความรูทั่วไปเกี่ยวกับการจัดทําวรรณกรรมสําหรับเด็ก ศึกษา ความเปนมาของหนังสือเด็ก มีความรูความเขาใจความตองการของเด็กในวัยตาง ๆ และเลือกประเภทของ วรรณกรรมเด็กทีจ่ ะเขียน ซึ่งกลาวถึงมากอนหนานี้แลว สิ่งตาง ๆ เหลานี้เปนสวนเริ่มตน เพื่อปูพื้นฐาน ของผูเขียนวรรณกรรมเด็ก แตการลงมือเขียนนั้นมีหลักเกณฑที่ควรทราบดังตอไปนี้ 1. สวนประกอบของวรรณกรรมสําหรับเด็ก 2. คุณธรรมที่ควรสอดแทรกในวรรณกรรมสําหรับเด็ก 3. เคาโครงการเขียน 4. เทคนิคในการนําเสนอเรื่อง 5. การใชภาษาในการเขียน 1. สวนประกอบของวรรณกรรมสําหรับเด็ก วรรณกรรมสําหรับเด็กมีองคประกอบดังนี้ 1.1 เนื้อเรื่อง คือเหตุการณตาง ๆ หลายเหตุการณทผี่ ูแตงนํามาแตงใหเปนเรื่องราวตอเนื่องกัน ตั้งแตตนจนจบ มีรายละเอียดสมบูรณ ผูอานไดรับรูวามีเหตุการณใดเกิดขึ้นกับตัวละครบาง เรือ่ ง ดําเนินไปอยางไร ตัวละครมีพฤติกรรมอยางไร มีการบรรยายและพรรณนาความประกอบเพื่อใหผอู าน เขาใจเรื่องราวไดอยางชัดเจน 1.2 โครงเรื่อง คือลําดับเหตุการณและเรือ่ งราวที่เกิดขึ้นตั้งแตตนจนจบ เกี่ยวโยงถึงกันอยาง สมเหตุสมผล มีทั้งสวนที่คลายและแตกตางจากเนื้อเรื่อง สวนที่คลายกันคือ ทั้งเนือ้ เรื่องและโครงเรื่อง ตางก็เปนการเลาเหตุการณดวยกัน สวนที่ตางกันก็คือ เนื้อเรื่องคือรายละเอียดทั้งหมดของเรื่องราวที่ เกิดขึ้น แตโครงเรือ่ งเปนเพียงการวางลําดับของสวนเปดเรือ่ ง สวนดําเนินเรื่อง และสวนปดเรือ่ ง อยาง เปนลําดับขั้นตอน ไมแจกแจงรายละเอียด เพียงแตบอกใหรูถึงความเปนไปคราว ๆ ของเนื้อหาเทานั้น 1.3 ตัวละคร ผูที่ทําใหเรื่องราวดําเนินไปไดเราเรียกวา “ตัวละคร” ตัวละครอาจเปนมนุษย สัตว หรือสิ่งไมมีชีวิตก็ได เปนผูมีสวนทําใหเรื่องราวสนุกสนาน ตื่นเตน นาติดตาม เราสามารถแบงได เปน 2 ลักษณะ ดังนี้ - ตัวละครเอก เปนตัวหลักในการดําเนินเรื่อง - ตัวประกอบ เปนตัวรองในการชวยใหเนื้อเรื่องสนุกสนาน เปนผูสนับสนุนใหบทบาท ของตัวละครเอกเดนมากขึ้น (18)


1.4 ฉาก คือ เวลาและสถานที่ที่เกิดเหตุการณนั้น ๆ รวมถึงสภาวะแวดลอมตาง ๆ ที่เกิดขึ้นใน เรื่อง ฉากมีสวนสัมพันธกบั บรรยากาศของเรื่อง เชน ฉากในบานรางเกา ๆ เต็มไปดวยบรรยากาศที่มีแต ความวังเวง เยือกเย็น จนกอใหเกิดความนาหวาดกลัว เปนตน การสรางฉากอาจอาศัยกลวิธีหลายอยาง เชน คําบรรยายของผูเ ขียน การใชภาษาถิ่น ของตัว ละคร หรือการกลาวถึงประเพณีของทองถิ่นเพื่อใหทราบวาเรื่องนั้น ๆ เกิดขึ้นในสมัยใด และที่ไหน หรือ อาจใชภูมิหลังทางประวัติศาสตรก็ได 1.5 บทสนทนา หมายถึง บทเจรจาของตัวละคร มีความสําคัญมากโดยเฉพาะงานเขียนแนว บันเทิงคดี พอสรุปขอดีของบทสนทนาไดดังนี้ - ชวยใหผูอานรูจ ักบุคลิกลักษณะนิสัยและความรูส ึกของตัวละคร โดยไมตองใชการ บรรยาย - ชวยใหมีวิธีการไมซ้ําซาก แทนทีจ่ ะอานแตคําบรรยายเพียงอยางเดียว - ชวยสรางความสมจริงแกเรื่อง - ชวยใหเรื่องนาอาน นาสนใจ โดยเฉพาะการแทรกมุขตลก ชวยใหเรื่องมีชีวิตชีวา ยิ่งขึ้น ลักษณะของบทสนทนาที่ดีนั้น จะตองเหมาะสมกับตัวละครและสถานการณในเรือ่ ง ปจจุบันจะ เขียนบทสนทนาโดยมีเครื่องหมายอัญประกาศกํากับ และมักแยกบทโตตอบระหวางตัวละครไวชัดเจน แตผูเขียนบางคนอาจจะเขียนบทสนทนารวมกับการบรรยาย ไมมีการแยกแยะคําพูดบางก็มี 1.6 การใชภาษา ลักษณะภาษาของผูเขียนแตละคน จะบงบอกเอกลักษณของผูเขียนนั้น ๆ แต ทั้งนี้ตองคํานึงอยูเสมอวา การใชภาษาในงานเขียนสําหรับเด็ก ควรเปนภาษาที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก ผูเขียนจึงควรเลือกสรรคํามาใชอยางระมัดระวัง เพื่อใหเด็กเขาใจเรื่องราวและจดจําคําที่ถูกตอง 2. คุณธรรมที่ควรสอดแทรกในวรรณกรรมสําหรับเด็ก วรรณกรรมเด็กเปนหนังสือที่มีอทิ ธิพลตอเด็กมาก สงผลตอความคิดและพฤติกรรมของเด็กใน อนาคต สังเกตไดวาเมื่อเด็กไดฟงหรืออานนิทานสักเรื่องหนึง่ เด็กจะเลียนแบบพฤติกรรมของตัวละครที่ เด็กพึงพอใจจากในเรื่อง เด็กจะใชตัวละครที่เด็กรูจกั เลียนแบบพฤติกรรมและความคิดนั้น ดังนั้น ผูเขียนวรรณกรรมสําหรับเด็กจึงตองคํานึงถึงการสรางตัวละครใหมาก หากแตมองในดานดี การใชตัว ละครใหเปนตนแบบแกเด็ก จะเปนวิธีการกลอมเกลานิสัยของเด็กได ซึ่งผูเขียนสามารถปลูกฝงคุณธรรม อันดีงามไวในตนแบบเหลานี้ จริยธรรมที่ควรสอดแทรกไวในวรรณกรรมสําหรับเด็กนั้น พอสรุปไดดังนี้ 1. สอนใหรูวาอะไรดี อะไรชั่ว นิทานที่เขียนใหเด็กอานสวนใหญมักจะสอนใหเด็กทําแตความดี ทําดีแลวไดรับผลตอบแทนที่ดี ขณะที่อะไรก็ตามทีท่ ําแลวสงผลใหผูอื่นเดือนรอนเปนการกระทําที่ไมควร กระทําและไดรบั ผลตอบแทนที่ไมดี ควรเนนใหเด็กเห็นคุณคาของการทําดี และละอายตอการทําชั่ว (19)


2. สอนใหเด็กมีความเปนระเบียบวินัย 3. สอนใหเด็กมีความกลาที่จะทําความดี เด็กบางคนกลัวทีจ่ ะทําความดี เพราะถือเปนเรื่องหนา อาย ผูเขียนตองพยายามเสนอใหเห็นวา การทําความดีนั้นเปนเรือ่ งที่นายกยอง เพื่อใหเด็กรูส ึก ภาคภูมิใจ 4. สอนใหเด็กรูจ ักการใหอภัย เรื่องบางเรื่องตัวเอกอาจตองเผชิญชะตากรรมที่โหดราย โดนกลั่น แกลงจากตัวราย ผูเขียนตองเสนอใหเด็กเห็นวาการแกแคนและการตอสูนั้นไมใชหนทางแกปญหาเสมอ ไป ควรแสดงใหเห็นวา เขาเปนผูชนะไดโดยไมตองตอสู และรูจ ักใหอภัยในความผิดพลาดของผูอ ื่น 5. สอนใหเด็กมีความรับผิดชอบ อันเปนหนาที่ของพลเมืองดี 6. สอนใหเด็กรูจ ักความสามัคคี 7. สอนใหเด็กรูจ ักความรัก ความเมตตา เอื้อเฟอเผือ่ แผ 8. ปลูกพื้นฐานการศึกษาใหแกเด็ก 9. ใหขอคิดในการแกปญหาในชีวิตดวยตนเอง เด็กบางคนไมกลาคิดไมกลาตัดสินใจ ตองคอยฟง คําแนะนําของคนอื่น การที่เขาเห็นแบบอยางในหนังสือ เห็นแนวทางการแกปญหาที่ถูกตอง จะทําใหพวก เขาตัดสินใจไดดวยตนเอง สงผลตอความมั่นใจและการดําเนินชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุข 3. เคาโครงการเขียน การเขียนเคาโครงเรื่อง คือการกําหนดลําดับขั้นตอนในการเขียนใหเหมาะสม เพื่อชวยให ดําเนินเรือ่ งไดอยางสมเหตุสมผล สอดคลองกันตลอดทัง้ เรื่อง ซึ่งมีขั้นตอนดังตอไปนี้ 3.1 กําหนดขอบเขตของงานเขียน ผูเขียนตองกําหนดของเขตใหชัดเจนวาเรือ่ งที่ตนจะเขียนนั้น จะเปนเรื่องแนวไหน ทวีศักดิ์ ญาณประทีป (2537, 27-28) กลาวถึงขอบเขตของเรื่องที่จะเขียน ตาม ประเภทของวรรณกรรมสําหรับเด็กไวดังนี้ - เรื่องจากประสบการณชีวิตประจําวัน (Everyday Life Experience) - นิทานคติสอนใจ ทํานองนิทานอีสป (Near Fable Story) - นิทานเกี่ยวกับสัตว (An Animal Story) - นิทานเกี่ยวกับสัตว แตใหสัตวมีพฤติกรรมเหมือนคน (Personified Animal Story) - เรื่องเหนือวิสัย (Simple Fantasy) 3.2 กําหนดแกนเรือ่ งหรือสารัตถะของเรื่อง คือการกําหนดแนวคิดวาตองการใหผอู านไดรับ แนวคิดใด หรือกลาวงาย ๆ คือ มุงเสนอความรูหรือขอคิดใดแกผูอาน หรือพฤติกรรมใดทีผ่ ูเขียน ตองการใหเกิดขึ้นกับเด็กเมือ่ เด็กอานเรือ่ งที่ตนเขียนจบ ซึ่งแกนเรื่องในหนังสือเด็กมักจะมีเพียงประการ เดียว เชน ใหเปนคนซื่อสัตย ใหมีความกตัญู ใหรูจกั การอภัย ใหมีความกลาหาญ ใหมีน้ําใจแก ผูอื่น เปนตน (20)


3.3 ตั้งชื่อเรื่อง เมื่อกําหนดแนวคิดและรูวากลุม เปาหมายเปนเด็กวัยใดแลว ผูเขียนควร กําหนดชื่อเรื่องใหดึงดูดความสนใจของเด็ก วิธีการตั้งชื่อเรื่องมีหลายแบบ - ตั้งชื่อเรื่องโดยเนนตัวละครเอก เปนวิธีที่งายที่สุด เชน หนูนอยหมวกเด็ก แกวจอมแกน - ตั้งชื่อเรื่องโดยเนนแนวคิด เชน วิลลี่ผูกลาหาญ หนูแดงแบงของ - ตั้งชื่อเรื่องโดยเนนฉาก เชน ชีวิตในบานปา - ตั้งชื่อเรื่องโดยการเนนจินตนาการจากการผูกเรื่อง ไมตรงกับ 3 แบบขางตน เปนการมอง ภาพรวมของเรื่องแลวประมวลความคิดมาเปนชื่อเรื่อง เชน ชีวิตใหม 3.4 กําหนดตัวละคร งานเขียนประเภทบันเทิงคดีสวนใหญจะมีตัวละครเกี่ยวของ ผูเขียนจําเปนจะตองวางตัวละครใหสอดคลองกับกลุมผูอาน และตองเหมาะกับเนือ้ เรื่องที่วางไว เพื่อให เกิดความสมจริง อีกทัง้ ควรคํานึงไววา ตัวละครที่ตนสรางขึ้นมานั้น จะมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของเด็ก ฉะนั้น ผูเขียนความใหความสําคัญและวางบุคลิกของตัวละครใหเปนแบบอยางที่ดีแกเด็กเปนสําคัญ ทั้งนี้การตั้งชื่อใหตัวละครก็เปนสิง่ สําคัญ ควรตั้งใหเหมาะสมกับบทบาทของตัวละครที่ ผูเขียนวางไว เชน เด็กสาวบานนา ควรชื่อ “ลําดวน” มากกวาที่จะใหชื่อ “สาวิตรี” เปนตน 3.5 วางโครงเรื่อง โครงเรื่องที่ดี คือการลําดับเหตุการณและเรื่องราวทีเ่ กิดขึ้นตั้งแตตนจนจบ เกี่ยวโยงถึงกันอยางสมเหตุสมผล โครงเรื่องมีลักษณะคลายเรื่องยอ แตไมมีรายละเอียดมากมายนัก เปนเรื่องการลําดับเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในเรือ่ ง แบงเปน 3 ตอน คือ ตอนเริ่มตน ตอนดําเนินเรื่อง และตอนจบเรื่อง เชน ตอนเริ่มเรือ่ ง 1) หนูแดงเปนเด็กดื้อรั้นและเห็นแกตัว ตอนดําเนินเรื่อง 2) หนูแดงไมเคยแบงปนสิ่งของใหเพื่อน 3) หนูแดงไมเคยชวยเพื่อนทําเวรหอง 4) เพื่อน ๆ ไมพูดกับหนูแดง 5) หนูแดงรองไหเสียใจเพราะตองอยูตัวคนเดียว 6) คุณครูสอนใหหนูแดงรูจ ักมีน้ําใจกับเพื่อน ตอนจบเรื่อง 7) หนูแดงแบงขนมใหเพื่อนและชวยเพือ่ นทําเวรหอง 8) หนูแดงมีความสุขเพราะหนูแดงมีเพื่อนรักมากมาย (21)


4. การใชภาษาในการเขียน ผูเขียนวรรณกรรมสําหรับเด็ก จําเปนตองรูจ ักใชภาษาใหเหมาะสมกับวัยและศักยภาพของเด็ก เนื่องจากเด็กแตละวัยมีความสามารถในการรับรูท างภาษาแตกตางกัน ผูเขียนจึงควรตระหนักใหถองแท ถาเปนเด็กเล็ก ควรเนนรูปภาพมากกวาถอยคํา เนนคําเปนคํา ๆ เพื่อใหเด็กจดจําคําตาง ๆ ถาเปนเด็กวัยประถมตน ควรเปนภาษาที่เขาใจงาย รูปคําสัน้ กะทัดรัด และเวนระยะ ตัวอักษร ตัวโต มีรูปภาพมากกวาถอยคํา ถาเปนเด็กวัยประถมปลาย ควรมีคําและประโยคที่ยาวขึ้น ตัวหนังสือเริม่ เล็กลงกวาเดิม ผูเขียนวรรณกรรมเด็กจําเปนตองรูจ ักใชภาษาใหเหมาะกับวัยและศักยภาพของเด็ก สิ่งทีผ่ ูเขียน ควรคํานึงถึงเกี่ยวกับการใชภาษาในงานเขียนสําหรับเด็ก มีดงั นี้ 1). ใชภาษาที่ถูกตอง ไมควรใชภาษาที่แปรรูปจากภาษาเขียน เชน เคา ปูโธ ซะ เนี่ย เมื่อไหร เฮย ฯลฯ คําเหลานีส้ ําหรับเด็กเล็กไมควรใชอยางเด็ดขาด แตสําหรับเด็กโตอนุโลมใหใชไดบาง ในกรณีที่ เปนสนทนาเพื่อใหเกิดความสมจริง ซึ่งขอความตองอยูในรูปของบทสนทนา เชน “เคาไมไปหรอก เคา เบื่อ” เจี๊ยบบอก หรือ “เฮย จอย ใหฉันชวยแบกไหมละ” สํารวยทําเสียงลอ เปนตน 2). ใชภาษาที่กระชับ กลาวคือ ใชคํานอยแตไดใจความชัดเจน มีน้ําหนัก ซึ่งความกระชับของ ภาษาเกิดมาจากสิ่งตอไปนี้ - รูจักเลือกสรรคํามาใช โดยเลือกคําที่ตรงความหมาย ทั้งนีผ้ ูเขียนตองระมัดระวังเปน พิเศษ เพราะในภาษาไทยมีคําจํานวนมากที่มรี ูปคําและการเขียนคลายกัน อีกทั้งบางคํามีความหมาย คลายกัน ผูเขียนตองมั่นใจวาคําที่เลือกมาใชในขอความและบริบทนั้นถูกตองตรงความหมายทีส่ ุด เชน “ดูซิ เทาบวมเบงเชียวลูก” แมวา คําวา “เบง” หมายถึงการทําใหหลุดออกมา ในที่นี้ควรใชคําวา “เปง” ซึ่งหมายถึง พองหรือนูนออกมา หรือ “แดงแยมประตูมองไปดานใน” คําวา “แยม” มี ความหมายวาเปดออกแตนอย ๆ ใชกับดอกไม ในที่นี้ควรใชคําวา “แงม” จึงจะถูกตองทีส่ ุด - เลือกใชคําแทนวลีหรือประโยค เพื่อใหกะทัดรัดแทนการอธิบายที่ยืดยาว เชน บาน ที่ปลูกลอยอยูในแมน้ําเรียงรายไปตามลําน้ํายาวเหยียดทัง้ สองฝง ควรใชคําวา “เรือนแพ” หรือ ผูที่ทํานา เปนอาชีพเฝารอฝนที่จะตกลงมาหลอเลี้ยงตนขาว ควรใชคําวา “ชาวนา” แทน ซึ่งจะชวยใหขอความ กระชับมากขึ้น - ใชคําขยายใหถูกที่ จําไวเสมอวาคําขยายตองอยูใกลกับคําที่จะขยายอยูเ สมอ เชน “สมใจมีบทบาทสําคัญในการแสดงละครครัง้ นีท้ ี่สุด” คําวา “ที่สุด” ควรขยายคําวา สําคัญ จึงจะ ถูกตอง หรือ “เด็กไทยตายดวยโรคขาดอาหารเปนจํานวนมาก” คําวา “เปนจํานวนมาก” ควรขยายคํา วาเด็กไทย เปนตน - ไมใชคําฟุมเฟอย เพราะการใชคําฟุมเฟอยทําใหประโยคนัน้ ๆ ขาดน้ําหนัก เชน “แกวตะโกนดวยเสียงอันดังเรียกจิม๋ ใหลงไปหา” การ “ตะโกน” ก็บอกอยูแลววาตองใชเสียงอันดัง ฉะนั้นไมจําเปนตองเติมคําวา “ดวยเสียงอันดัง” ลงไปอีก หรือ “มะมวงออกชอเปนพวงระยาอยู (22)


เต็มตน” มะมวงที่ออกชอเต็มตนยอมเปนระยาอยูแลว ไมจําเปนตองเติมคําวา “เปนพวงระยา” เขาไป อีก 3). ใชภาษาที่มีความสละสลวย ความสละสลวย หมายถึงการเลือกสรรใชคําเรียบงาย แตมีเสียง ราบรื่น ไพเราะ ความสละสลวยของการใชภาษาแบงไดดังนี้ ลักษณะหนังสือหรืองานที่เหมาะสมสําหรับเด็ก จาก Early Childhood Language Arts โดย Mary Renek Jalongo 1. ทําใหทั้งเด็กและผูใหญเกิดความสนุกสนาน 2. กระตุนจินตนาการของเด็ก 3. ชวยใหเด็กเขาใจตัวเองและรูส ึกวาไมไดอยูอยางโดดเดี่ยว 4. ทําใหเด็กไดพบเห็นสิง่ ตาง ๆ ที่ไมจําเปนตองเหมือนกับตัวเขา 5. ใหโอกาสเด็กในการคนหาและใชภาษาในหลาย ๆ ทาง 6. เปดโอกาสใหเด็ก ๆ ไดสํารวจ คนหาความเปนไปของสิง่ ทีอ่ าจไมไดเกิดขึ้นใน space และ time ที่เขา รูจักมากอน 7. ใหขอมูลขาวสารแกเด็ก ๆ 8. เปนชองทางใหเด็ก ๆ ไดหลีกหนีความซ้ําซากจําเจในชีวิตประจําวัน 9. ถาเรื่องเนนความจริงและเหตุการณจริง ควรวาดภาพความเปนจริงและประวัติศาสตรไดอยางถูกตอง 10. ดึงความสนใจของเด็กลงไปสูร ายละเอียด เชน มีภาพวาดคูกับ text มีคํารองคูกับดนตรี เปนตน 11. เปนวรรณกรรมที่ดี ทั้งโครงเรื่อง ลักษณะที่เดนชัดของตัวละคร การใชภาษาที่สรางสรรค และมี ลักษณะเปนเรื่องที่ไมตาย (timelessness) 12. ดึงดูดใจดวยความงดงาม 13. กลาวถึงอารมณของมนุษยอยางระมัดระวัง เสนอแนะวิธีการทีส่ รางสรรคแกเด็กในการเผชิญกับความ ยากลําบากตาง ๆ 14. ไมควรสรางความขบขันบนความเจ็บปวดของคนอื่น 15. อยาใชภาษาหรือปฏิบัติตอเด็กในเชิงตําหนิติเตียนหรือดูหมิน่

(23)


4. สารคดีสําหรับเด็ก สารคดีสําหรับเด็ก เปนงานเขียนที่แตงขึ้นเพือ่ ใหผูอานไดความรับความรูเ ปนหลัก มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับความรูในโลก อาจเปนความรูเกี่ยวกับวิชาการในสาขาตาง ๆ เชน ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร วิทยาศาสตร หรืออาจเปนความรูเกี่ยวกับบุคคล สถานที่ และเหตุการณ ที่มีอยูจริง ๆ เกิดขึ้นจริง ใชภาษาตรงไปตรงมา กะทัดรัด ตรงตามความเปนจริง เพื่อใหผูอานเขาใจความหมาย และรับรูตามความเปนจริง

องคประกอบของสารคดีสําหรับเด็ก สวนประกอบของงานเขียนประเภทนี้ ประกอบไปดวย 3 สวน ไดแก 1. สวนนําเรื่อง เปนสวนที่เกริ่นนําเพื่อเปดเรือ่ งใหผอู านรูวาเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร มี ความสําคัญอยางไร เชื่อมโยงไปสูสวนเนือ้ เรื่อง ฉะนั้นจึงตองเราความสนใจเปนพิเศษ 2. สวนเนื้อเรื่อง เปนสวนที่กลาวถึงสาระสําคัญตาง ๆ ของเลม เนื้อหาทีเ่ ลือกมาเขียนควรมี ประโยชน ถูกตอง ชัดเจน และมีขอบเขตทีเ่ หมาะสมกับหนังสือเลมนั้น ๆ 3. สวนสรุป เปนสวนปดเรื่อง อาจเนนย้ําสาระสําคัญ โนมนาวใจ หรือกระตุนผูฟง ใหเห็น ความสําคัญกับเรื่องนั้น ๆ

ประเภทของสารคดีสําหรับเด็ก มานพ ถนอมศรี ( 2546: 30-31)หนังสือสารคดีสําหรับเด็ก แบงได 3 ประเภท ไดแก 1. สารคดีทองเที่ยว เปนสารคดีที่เขียนขึ้นโดยมีจดุ มุงหมายเพื่อชักชวนหรือนําผูอ านไป ทองเที่ยวยังสถานที่ตาง ๆ ซึ่งมีทงั้ ที่พักผอนหยอนใจ โบราณสถาน แหลงวัฒนธรรม ศูนยรวมภูมิปญญา และอื่น ๆ ลักษณะการเขียนเปนการใหความรูเกี่ยวกับสิง่ ที่นาสนใจของสถานที่ตาง ๆ มุงโนมนาวใจให ผูอานเกิดความรูสกึ รวมและคลอยตามการทองเที่ยวนั้นได นิยมเขียนทั้งแบบรอยแกวและรอยกรอง มี ภาพประกอบทีเ่ ปนภาพถายชัดเจน 2. สารคดีชีวประวัติ เปนสารคดีทเี่ ขียนขึ้นเพื่อนําเสนอประวัติและเรื่องราวของบุคคลที่สราง คุณงามความดีแกสังคมและประเทศชาติ เพื่อเปนอนุสรณและตัวอยางแกคนรุนหลัง โดยที่เจาของ ประวัติอาจเสียชีวิตไปแลวหรือยังมีชีวิตอยูก็ได ลักษณะหนังสือประเภทนี้ ผูเ ขียนตองศึกษาขอมูลและ เรื่องราวของเจาของชีวประวัติอยางละเอียด นิยมเขียนเปนรอยแกว เพราะสามารถแสดงรายละเอียดได ชัดเจนกวารอยกรอง

(24)


3. สารคดีทั่วไป เปนสารคดีที่แสดงเนื้อหาเรื่องราวที่เปนความรูในดานตาง ๆ เชน วัฒนธรรม ประวัติศาสตร โบราณคดี อาชีพ สังคม การเมืองการปกครอง รวมไปถึงสารคดีกงึ่ วิชาการตาง ๆ ดวย สารคดีประเภทนี้มีเสรีภาพในการนําเสนอ นิยมเขียนรอยแกวมากกวารอยกรอง และนําเสนอ ภาพประกอบทีเ่ ปนภาพถายมากกวาภาพวาด ดวยใหความรูสึกจริง ใหม และทันสมัย

โครงสรางของงานเขียนสารคดี 1. โครงสรางภายนอก หมายถึงรูปแบบการเขียนเรือ่ งราวตาง ๆ มีลักษณะการเขียนหลาย รูปแบบ ไดแก 1.1 บรรยาย เปนลักษณะการเขียนทีเ่ ลาเรือ่ งวาใครทําอะไร เกิดอะไรขึ้น เชน เลาเรื่อง ประวัติศาสตร เลาชีวประวัติ เปนตน โลกยุคหลายรอยป มีภูเขาและพืชพันธุที่แปลกตา ตอมาไดโนเสารก็ไดถือ กําเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 250 ลานปมาแลว ในสมัยนั้นยังไมมีมนุษยอยูเลย จนประมาณ 50 ลานปกอน ไดโนเสารกส็ ูญพันธุไปจากโลกนี้ คงเหลือแตซากฟอสซิล (ซากดึกดําบรรพ) ทําใหเรารูวาเคยมีไดโนเสารอยูในโลกนี้มากอน 1.2 พรรณนา เปนลักษณะการเขียนถายทอดใหผูอานเห็นภาพ เกิดความรูสึก รูรส ได กลิ่น ไดยินเสียง เหมือนสัมผัสดวยตนเอง รูปรางของมันบึกบึน ล่ําสัน ขนสั้นเกรียน เปนสีแดงเขมจนเกือบดํา โดยทั่วไปแลวกระทิงจะมีขนสีขาวอมเทา ตั้งแตขอเขาลงไปจนถึงเทาทั้งสี่ของมัน 1.3 อธิบาย เปนลักษณะการเขียนขยายความ, ชี้แจงใหทราบวาอะไรเปนอะไร นิยมใชใน การใหความรูเ กี่ยวกับวิทยาการตาง ๆ มีหลายลักษณะ ไดแก - แบบใหคําจํากัดความ ทางชางเผือก คือดาราจักรทีเ่ ราอาศัยอยู ประกอบดวยดวงดาวระยิบระยับที่ เรามองเห็นกลางทองฟายามค่ําคืน และอีกมากมายที่เรามองไมเห็น - แบบแสดงเหตุผล โลกโคจรรอบดวงอาทิตยเชนเดียวกับดาวเคราะหอีก 7 ดวง เพราะทั้งโลกและ ดาวเคราะหตางไดรับอิทธิพลจากแรงดึงดูดของดวงอาทิตยใหโคจรไปพรอม ๆ กัน - แบบเปรียบเทียบ ออรนิโธไมมัส กับ ยูโอโพลเซฟาลัส อาศัยอยูในยุคครีเทเชียสตอนปลาย เหมือนกัน ขุดคนพบซากที่เขตอเมริกาเหนือ ออรนิโธไมมัส เปนไดโดเสารกินเนื้อ ความ ยาว รางกายประมาณ 4 เมตร แตยูโอโพลเซฟาลัส เปนสัตวกินพืช มีความยาวรางกาย 6 เมตร (25)


- แบบเลากระบวนการ ขั้นตอน นองพลอยชวนจุกและเปยมาเลนกระโดดยาง... เวลาเลนจะตองมีผูเลน 2 คน ถือยางคนละขาง ดึงใหตึงพอสมควร แลวใหผเู ลนทีเ่ หลือกระโดดขาม แตละเกมการเลน จะแบงเปนระดับความสูงของการถือยาง คือ จากต่ําไปจนถึงสูง หากผูกระโดดไมสามารถ กระโดดขามไดในความสูงระดับใด ถือวาแพ ตองหยุดเลนแลวนั่งดู ผูทเี่ หลือเลนจนจบ เกม 1.4 โนมนาว เปนลักษณะการเขียนที่ทําใหผูอานคลอยตาม โดยการเสนอขอเท็จจริง ขอสนับสนุนใหผูอานทราบ อาจใชรูปแบบการเขียนหลาย ๆ แบบ นกเงือกเปนสัตวทสี่ ะทอนความอุดมสมบูรณของธรรมชาติ แตทุกวันนี้นกเงือก กลับมีจํานวนนอยลงเรื่อย ๆ จนอดเปนกังวลแทนสภาพปาไมได เพราะหากมนุษยยังไม หยุดไลลานกเงือก ผืนปาอาจหมดไปในไมชาดวยเชนกัน 2. โครงสรางภายใน เปนโครงเรื่องของการเขียนสาครดีนนั้ ๆ ผูเขียนตองกําหนดความคิดรวบ ยอดใหญ และความคิดรวบยอดยอย เพื่อใชเปนแนวทางในการนําเสนอเนือ้ หา เชน ความคิดรวบยอดใหญ – ศาลพระภูมิ ความคิดรวบยอดยอย – ตํานาน สถานที่ วันและฤกษ รูปแบบ เครื่องตกแตง เครือ่ งสักการะ ฯลฯ ความคิดรวบยอดยอยตองเปนลําดับตอเนื่องและสอดคลองกัน ตั้งแตตนจนจบ เพื่อใหผูอาน เขาใจงายและไดรับความกระจางแจงจากการอานเรือ่ งดังกลาว

---------------------เอกสารอางอิง : มานพ ถนอมศรี. (2546) การเขียนหนังสือ สารคดี บันเทิงคดี สําหรับเด็กและเยาวชน. กรุงเทพ : สิปประภา. (26)


5. บันเทิงคดีสําหรับเด็ก บันเทิงคดี คือ เรื่องที่เขียนใหเด็กอานหรือฟงเพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน อาจมีคติสอนใจ หรือใหทรรศนะดานจริยธรรม สรางสรรคทางดานอารมณและความรูส ึก เพื่อใชเปนสิ่งประกอบในการ จําแนกแยกแยะ ความถูกผิดทางศีลธรรม อันอาจนําไป เปนประโยชนในการดําเนินชีวิตในภายหนา

องคประกอบของบันเทิงคดีสําหรับเด็ก ในหนังสือบันเทิงคดีสําหรับเด็กทุกเรือ่ งทีเ่ ขียน ผูเขียนจะตองคํานึงถึงองคประกอบสําคัญตาง ๆ ดังนี้ 1. แกนเรื่อง คือ สาระสําคัญหรือหัวใจของเรือ่ ง ที่ผูเขียนตองการแสดงใหผูอานเห็น และเขาใจ ในการเริ่มตนเขียนจะตองกําหนดแกนเรื่องวาคืออะไร และควรมีเพียงประเด็นเดียว ซึ่ง ลักษณะของแกนเรื่องควรมีลักษณะตอไปนี้ - มีความหมายซึง่ คนสวนใหญเห็นพองดวย - สงเสริมใหเด็กรูจักเขาใจตนเองและสิง่ รอบตัว - สะทอนใหเห็นธรรมชาติของคนและสังคม 2. โครงเรื่อง คือ การลําดับเหตุการณและเรื่องราวตั้งแตตนจนจบเรื่อง โดยมีความสัมพันธ เกี่ยวโยงถึงกันอยางสมเหตุสมผล ไมซบั ซอน สอดคลองกับแกนเรื่อง มีความสมจริง สนุกสนาน และ ควรมีจินตนาการ ประกอบไปดวย 3 สวน คือ ตอนเริ่มเรื่อง ตอนดําเนินเรื่อง มักจะมีเหตุการณขั้นวิกฤต (Climax) เกิดขึ้น ตอนจบเรื่อง 3. ตัวละคร คือ ตัวละครเปนตัวที่ดําเนินเรื่องใหเปนไปตามโครงเรื่องที่วางไว ซึ่งตัวละครอาจ เปนคน สัตว สิ่งของ หรือสิ่งอื่น ๆ ก็ได นอกจากจะมีบทบาทในการดําเนินเรื่องแลว ตัวละครยังทํา หนาที่เปนสือ่ อารมณ ความรูสึก และความเพลิดเพลินใหแกผูอาน โดยทั่วไปมีอยู 3 ตัว คือ ตัวเอก ตัว ขัดแยง และตัวประกอบ ตัวละครเอก ทําหนาที่ดําเนินเรือ่ งตามโครงเรื่อง ตัวขัดแยง ทําหนาที่ขัดขวาง ขัดแยง และเปนอุปสรรคของตัวเอก เพื่อใหการดําเนินเรือ่ งมี ความเขมขน นาติดตาม ตัวประกอบ ทําหนาทีเ่ สริมเรือ่ งราว ทําใหการแกปญหาดําเนินไปสูจ ุดจบ (27)


4. ฉากและบรรยากาศ คือ เวลาและสถานที่ทเี่ กิดเหตุการณตาง ๆ อาจเกิดขึ้นในโลกปจจุบัน หรือ ในจินตนาการก็ได ซึ่งบางเรื่องมีความสําคัญมาก แตบางเรื่องเปนเพียงสวนประกอบเทานั้น ลักษณะของฉากควรมีความสอดคลองกับโครงเรื่อง และมีความสมจริง 5. สํานวนภาษา ตองเปนภาษาที่เด็กเขาใจงาย มีความเหมาะสมกับระดับสติปญญาเด็ก การ ใชคําถูกตอง ชัดเจน เชน เรื่อง “กระตายจัดบาน” ของ ประชุมพร สุวรรณตรา กระตายอยูไหม อยูจะ บานรกจัง ทําอยางไรดี เก็บของใหเปนสิจะ เอา...ชวยกัน นี่ ตู เตียง โตะ ตองปดฝุน ตบหมอนใหนุมนุม ดี พับผาเก็บไวเปนที่ จัด แกว จาน สอม ชอน ใหดี เช็ด ถู พื้นบาน มันวาว บานสวยเรียบรอยสะอาดตา เพื่อนชวยกันนี้หนา ชางดีจริง ลักษณะการใชภาษา มี 2 แบบ คือ การใชภาษาแบบเลาเรื่อง และการใชภาษาแบบสนทนา - การใชภาษาแบบเลาเรื่อง เปนการถายทอดเรื่องราวแบบความเรียง มีผูเลาเรื่องราว ที่เกิดขึ้น โดยไมตองมีบทสนทนาเปนสวนประกอบ เปนการเลาเรื่องตัง้ แตตนจนจบ ผูอ านตอง จินตนาการผูกเรื่องราวเอง ตัวอยางเชน สุนัขจิ้งจอกตัวหนึง่ ลื่นไถลตกลงไปในแองน้ําและไมสามารถปนขึ้นมาได บังเอิญมีแพะตัวหนึ่งผานมาพอดี และกระหายน้ํา จึงตะโกนสุนัขจิง้ จอกวาน้ําสะอาด พอกินไดไหม สุนัขจิ้งจอกเห็นชองทางจะขึ้นจากน้ําไดจึงรีบชักชวนแพะใหลงมากินน้ํา เมื่อแพะหลงเชื่อกระโดดลงมา สุนัขจิ้งจอกจึงใชเทาเหยียบเขาของแพะกระโดดขึ้นฝง ไดสําเร็จ และกลาวเยาะเยยที่เจาแพะไมรูจกั ใชความคิดกอนจะทําอะไร จนตอง ไดรับความเดือดรอน - การใชภาษาแบบบทสนทนา เปนการถายทอดเรื่องราวดวยการใชบทพูดของตัวละคร แต อาจมีการดําเนินเรื่องแบบบรรยายแทรกบางในตอนทีจ่ ําเปน ตัวอยางเชน สุนัขจิ้งจอกลื่นไถลตกลงไปในน้ํา มันตะโกนรองเรียกใหคนชวย “ชวยดวย ชวยดวย” (28)


บังเอิญมีแพะตัวหนึ่งผานมาพอดี และกระหายน้ํา จึงตะโกนถามสุนัขจิ้งจอกวา “น้ําสะอาดไหม พอจะใหขากินไดหรือไม” “สะอาด เย็นสบาย รีบมากินเร็ว ๆ เถอะทาน” สุนัขจิ้งจอกตอบไมอยางไม รีรอ และแสรงทําเปนวายน้ําเลนอยางมีความสุข แพะไดยินดังนั้นจึงรีบกระโดดลงไปทันที สุนัขจิ้งจอกจึงไดโอกาสกระโดด ขึ้นจากฝง สําเร็จ “เจามันโง ไมรูจักคิดใหมาก ไมเชนนั้นคงไมตองอยูในแองน้ําเชนนีห้ รอก” สุนัขจิ้งจอกกลาวทิง้ ทายกอนเดินจากไป 6. ชื่อเรื่อง เปนชื่อเรื่องที่ดึงดูดความสนใจ นิยมใชคําวิเศษณประกอบ เชน ใหญ นอย วิเศษ มหัศจรรย เปนตน ตัวอยางเชน ตนไมมหัศจรรย ยักษใหญใจดี ฯลฯ ซึ่งมีแนวทางการตัง้ ชื่อ ดังนี้ ตั้งชื่อตามเนื้อเรื่อง เชน ฉันเปนตนไม สวนสัตว เกิดเปนหมอ ตั้งชื่อตามแกนเรื่อง เชน มดจอมขยัน ตั้งชื่อตามสัตวที่นํามาเขียน เชน ชางแสนรู ลูกเปดแสนสวย เจาหนอนนอย ตั้งชื่อตามตัวเอกของเรือ่ ง เชน กระตายกับเตา ลิงกับสิงโต ตั้งชื่อตามสถานที่ เชน เที่ยวเขาดิน เขาใหญ ตั้งชื่อตามจํานวนนับ เชน ลูกหมูสามตัว 7. ภาพประกอบ เปนสวนสําคัญมากทีจ่ ะดึงดูดความสนใจใหเด็กอยากอาน ภาพจะชวยปรุง แตงหนังสือใหมีรสชาตินาอาน เด็กเล็ก ๆ จะสนใจรูปภาพมากกวาเนื้อหา จึงอาจกลาวไดวา ภาพเปน หัวใจของหนังสือสําหรับเด็กเลยทีเดียว ลักษณะของภาพประกอบที่ดีตองถูกตอง ชัดเจน มีชีวิตชีวา มี ความเคลื่อนไหว อาจแฝงอารมณขันดวยก็ได แตตองไมเปนภาพที่แสดงความกาวราว หรือเปนภาพที่ รุนแรง โหดรายทารุณ 8. คติสอนใจ การนําเสนอนิทานตาง ๆ มักจะสอดแทรกสิง่ ทีผ่ ูเขียนตองการสื่อไปยังผูอ าน มักจะเปนคุณธรรมจริยธรรมทีม่ ุงสอน ใหขอคิด เตือนสติ

--------------ขอมูลจาก : มานพ ถนอมศรี.(2546) เทคนิคการเขียนหนังสือสารคดี บันเทิงคดี สําหรับเด็กและเยาวชน. กรุงเทพฯ : สิปประภา. สุนทรี คุณจักร (ม.ป.ป.) หนังสือสําหรับเด็ก. ชลบุรี : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา. (29)


6. การเขียนนิทานสําหรับเด็ก บันเทิงคดีสําหรับเด็ก คือเรื่องที่เขียนขึ้นเพื่อใหเด็กอาน หรืออานใหเด็กฟง มีความสนุกสนาน เพลิดเพลิน สอดแทรกคติสอนใจ เด็ก ๆ จะรูจักวาคือ นิทาน นั่นเอง การเขียนนิทานสําหรับเด็ก การเริ่มตนเขียนนิทานสําหรับเด็ก จะตองเริม่ จากการทําความเขาใจพื้นฐานและความตองการ ของเด็กเปนอันดับแรก แลวจึงกําหนดเรื่องราวทีเ่ ปนความรู และเสริมจินตนาการ เพื่อพัฒนาสติปญญา ของเด็ก

องคประกอบของการเขียนนิทานสําหรับเด็ก ในการเขียนนิทานสําหรับเด็กจะตองคํานึงถึงสิง่ ตาง ๆ ตอไปนี้ 1. การกําหนดประเด็นหรือแกนเรื่อง เปนสิ่งที่ผเู ขียนตองการใหเกิดขึ้นกับเด็ก เชน ความ สามัคคี ความกตัญู ความขยัน ฯลฯ ประเด็นในนิทานเด็กมักเปนคุณธรรมจริยธรรมทีผ่ ูเขียนตองการ ใหเกิดขึ้นกับเด็ก หรืออาจเปนปญหาทีเ่ กิดขึ้นกับเด็ก เชน ความไมเปนระเบียบ ความไมตั้งใจเรียน ฯลฯ สิ่งสําคัญคือ ในนิทานหนึ่งเรือ่ งควรมีประเด็นเดียวเทานั้น เชน ความสามัคคี 2. การวางโครงเรื่อง เปนการนําประเด็นที่ตงั้ ไวมากําหนดเปนพฤติกรรม ซึ่งนิยมใชความ ขัดแยง เพราะจําทะใหเรื่องสนุก และเปนเสนหของงานเขียน เชน เด็กสองคนทะเลาะกัน 3. การสรางฉาก เปนสถานทีเ่ กิดเรื่องราวของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นของตัวละคร จะตองกําหนดใหสอดคลองกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้น เชน เด็กสองคนทะเลาะกัน ในหองเรียน

ซึ่งผูเ ขียน

4. การสรางตัวละคร คือ สิ่งที่แสดงพฤติกรรม อาจะเปนคน สัตว หรือสิง่ ของ ที่มีลักษณะไม ซับซอน เปนการใหรายละเอียดใหชัดเจน เชน ในหองเรียน เด็กชายหัวโตทะเลาะกับเด็กหญิงนิ้วกอย 5. การกําหนดกิริยาอาการ คือ ภาพของพฤติกรรมที่ตัวละครแสดงออกมา ผูเขียนตองกําหนด ภาพวาเปนอาการแบบใด ในที่นี้พฤติกรรมคือการทะเลาะกัน สิ่งทีท่ ําใหภาพของการทะเลาะกับชัดเจน อาจจะเปนการทุบตี ถกเถียง ก็ได ผูเขียนตองเลือกใชใหเหมาะกับเรื่อง เชน ในหองเรียน เด็กชายหัวโตแยงดินสอจากเด็กหญิงนิ้วกอย เด็กหญิงนิ้วกอยตอ วาเด็กชายหัวโต เด็กชายหัวโตเถียงเด็กหญิงนิ้วกอย และยกมือผลักไหลเด็กหญิงนิ้วกอย จนลมลง (30)


6. การสรางบทสนทนา คือบทเจรจาของตัวละคร เพราะในเรื่องจะมีตัวละคร จึงจําเปนตองใส บทพูดใหสมจริง ผูเขียนตองกําหนดวาจะใหตัวละครพูดอะไรเกี่ยวกับเหตุการณทเี่ กิดขึ้น เชน ในหองเรียน เด็กชายหัวโตแยงดินสอจากเด็กหญิงนิ้วกอยแลวพูดวา “ขอยืม ดินสอหนอย” เด็กหญิงนิ้วกอยตอวาเด็กชายหัวโตวา “ ทําไมไมเตรียมมาเองละ เที่ยวมา ยืมของคนอื่น” เด็กสมภพไมพอใจจึงยกมือผลักไลเด็กหญิงมาลีแลวพูดวา “นี่แนะ พูด มากนัก” เด็กหญิงหัวกอยลมลงกับพื้น รองไหและพูดวา “จะไปฟองคุณครู” 7. การสรางจินตนาการ คือ สิ่งทีเ่ หนือความคาดหมาย ชวยใหเรื่องดําเนินไปไดจนจบ การ แทรกจินตนาการใหพิจารณาวาคนเสริมในเหตุการณชวงไหนของเรือ่ งจึงจะเหมาะสมทีส่ ุดและเปน ประโยชนทสี่ ุด เชน ในหองเรียน เด็กชายหัวโตแยงดินสอจากเด็กหญิงนิ้วกอยแลวพูดวา “ขอยืม ดินสอหนอย” เด็กหญิงนิ้วกอยตอวาเด็กชายหัวโตวา “ ทําไมไมเตรียมมาเองละ เที่ยวมา ยืมของคนอื่น” เด็กสมภพไมพอใจจึงยกมือผลักไลเด็กหญิงมาลีแลวพูดวา “นี่แนะ พูด มากนัก” เด็กหญิงหัวกอยลมลงกับพื้น รองไหและพูดวา “จะไปฟองคุณครู” ทันใดนั้นก็ ปรากฏรางนางฟาแสนสวยขึ้นเบื้องหนาของเด็กทัง้ สอง และเนรมิตใหดินสอสีหนักจนยก ไมไหว จนเด็กชายหัวโตตองคืนดินสอใหเด็กหญิงนิ้วกอย 8. ความสะเทือนใจหรือคติสอนใจ มักอยูตอนจบเรื่อง ทําหนาที่ใหขอคิดแกผูอาน ผูเขียน ตองเพิม่ สวนทีส่ ะเทือนใจลงไป เชน เด็กชายหัวโตกลับใจคืนดินสอสีใหเด็กหญิงนิ้วกอยแลวยังแบงยางลบให เด็กหญิงนิ้วกอยไวใชดวยความเต็มใจ

(31)


7. การเขียนรอยกรองสําหรับเด็ก ธรรมชาติของเด็กสวนใหญ มักจะชอบฟงถอยคําที่มีความไพเราะ มีจงั หวะคลองจอง ซึง่ จะชวย ใหเด็กจดจําเรื่องราวไดแมนยํายิ่งขึ้น สุนทรี คุณจักร (ม.ป.ป.) กลาวถึงสิง่ ที่ตองคํานึงในการเขียนรอย รองสําหรับเด็ก ไวดังนี้ 1. ดานรูปแบบ รูปแบบคําประพันธทเี่ ลือกมาใชควรเปนรูปแบบที่เด็กรูจกั และไมยากเกินกวาที่ เด็กจะเรียนรูได รูปแบบที่เหมาะสมกับเด็กคือ กาพย และกลอน ตัวอยาง กาพยยานี 11 ครั้งหนึง่ สวนตางตาง ในรางกายของเรานี่ มือปาบรรดามี ฟนและทองโตเถียงกัน วาทองไมทํางาน แสนสําราญเฉยอยูนั่น มือตีนปากและฟน ทํางานหนักเหนือ่ ยจนอาน ตัวอยาง กลอน 4

นิทานเรื่องสุนัข กับเงา สุนัขเดินมา ผานมาหมูบาน เดินถึงตลาด แอบลักเนื้อควาย มองไปในน้ํา จิตใจเบิกบาน ในน้ําเห็นเงา วาตนโชคดี รีบคายชิ้นเนื้อ หวังที่จะได ฉับพลันนั้นเอง อดเนื้อกอนโต เหตุการณครั้งนี้ นําเรื่องมาฝาก

ออกหาอาหาร ยานคนมากมาย เห็นถาดเนื้อขาย วิ่งขามสะพาน เย็นฉ่ําสําราญ อาหารรสดี สุดเขลาเต็มที่ มีเนื้อกอนใหญ เพื่อกระโจนไป ในเนื้อชิ้นโต สุนัขตัวโง ทั้งชิ้นในปาก อยามีโลภมาก เตือนจิตสอนใจ

อาจารยลักษณา สังฆมาศ

(ที่มา : http://www.gotoknow.org/posts/69475) (32)


ตัวอยาง กลอน 6 ครั้นแลวตนไมในสวน ลูกดกหอยยอยนอนกลิง้ ตางคนชวยกันเก็บผล ขายแลวไดทรัพยมากมาย

ดินรวนแตกใบแตกกิ่ง ชาวสวนไมนิ่งดูดาย ลูกดกเก็บจนเหลือหลาย รวยกวาปกลายทวีคูณ

ตัวอยางกลอน 8 (กลอนสุภาพ) นิทานเรื่องเทวดากับคนตัดฟน ณ ชายปาลําธารใสไหลผาน สุขสําราญรมเย็นเปนไฉน คนตัดฟนยืนตัดไมอยูไมไกล ในทันใดทําขวานตกน้ําพลัน กระโดดลงงมหาขวานในน้ํา แสนชอกช้ําระกําจิตคิดโศกศัลย นั่งเศราสรอยหงอยเหงาในใจครัน สุดจาบัลยรันทดหดหูใจ จะกลาวถึงรุกขเทวา ผูรกั ษาปาไมทกี่ วางใหญ เห็นชายตัดฟนยืนรองรําพันไป มีจิตใครเมตตาและปรานี จึงปรากฏแปลงตัวออกมาชวย ไมใหมวยมรณาหมดราศี งมหาขวานขึ้นมาใหลวนดีดี มีขวานเงินขวานทองใหมองดู

อาจารยลักษณา สังฆมาศ

(ที่มา : http://www.gotoknow.org/posts/69475) 2. ดานเนื้อเรื่อง ควรเปนเนื้อเรื่องที่เกี่ยวกับชีวิตทั่ว ๆ ไปของคนเรา ถาเนนใหเกี่ยวกับตัวเด็ก จะเปนการดี สวนดานรายละเอียดในเรื่องควรเปนเรือ่ งที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันของเด็ก เปนเรื่อง เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมรอบตัว เชน สัตวเลี้ยง เพื่อน ของกิน ฯลฯ นอกจากนี้อาจเปนเรื่องราวที่มีความ สนุกสนาน มีการผจญภัย แสดงวัฒนธรรมอันดี และสอดแทรกความรูคติสอนใจเพื่อเปนการอบรมดาน จิตใจแกเด็กดวย ตัวอยางเรื่อง “มือนอยทําเอง” ของอิทธิพล วาทะวัฒนะ กลาวถึงของเลนเด็กในสมัยกอนที่ทํา จากมือ ไดแก มากานกลวย รถลาก ตะกรอ ปลาตะเพียนและอื่น ๆ ดังความวา ใตเงารมพุทรา ลมโชยมาทายทุงใหญ เด็กเด็กทําอะไร ออ...ปนควายวัวนั่นเอง ปนชางปนไอเข เสือเกเรหมาเองเอง ปนลิงใสกางเกง รองฮัมเพลงพรอมกันไป ปนเสร็จแลวตากแดด ที่รอนแผดนอกรมไม แหงแลวอวดโชวได ไปฝากนองที่บานเรา (33)


3. ตัวละคร ควรเปนตัวละครที่มีวัยใกลเคียงกับเด็ก ชีวิตเรื่องราวของตัวละครตองมีเหตุผล สมจริง และทําใหเด็กยอมรับได เรือ่ งราวที่แตงดวยคําประพันธรอยกรอง บางเรือ่ งอาจไมไดกําหนดตัว ละครหรือพฤติกรรมตัวละครไวชัดเจน แตก็มีเหตุการณอื่น ๆ ซึ่งทําใหมีสวนเกี่ยวของกับตัวเด็กได ตัวอยางเรื่อง “หนูแพงรวยเพื่อน” ของพีระพล ธนะพานิช ผูเขียนแนะนําใหรจู ักตัวละครใน เรื่อง ความวา เด็กหญิงแพง มีเพื่อนมากมาย ทั้งหญิงและชาย สัตวนอยนานา หนูตัวนิด แมลงปอตัวนอย เจากบเล็กจอย จิ้งโกรงเพื่อนยา สี่สหาย รักใครกันดี เพราะแพงใจดี มีความเมตตา 4. ดานการใชภาษา ใชถอยคํางาย ๆ แตมีความไพเราะ มีความหมายชัด กอใหเกิดความ กระจางแจงและใหความรูส ึกกันเอง อาจเปนคําคลองจองที่มเี สียงเสนาะ อานแลวมีทวงทํานองและ จังหวะที่นาฟง เด็กรับรูความหมายไดชัดเจน อยาใชคําศัพทยากเกินไป ตัวอยางเชน บานจั๊มอยูไหน อยูไกลหรือใกล แมหมาตัวใหญ บอกวาไมรู บานจั๊มอยูไหน อยูไกลหรือใกล กระรอกในโพรงไม บอกวาไมรู บานจั๊มอยูไหน อยูไกลหรือใกล ปลาวายผานไป บอกวาไมรู (พรจันทร จันทวิมล, 2539) ----------------ขอมูลจาก : สุนทรี คุณจักร. (ม.ป.ป.) หนังสือสําหรับเด็ก. ชลบุรี : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา.หนา 127-134.

(34)


8. การทําตนฉบับหนังสือเด็ก หลังจากที่วางโครงเรื่อง ตอไปนี้คือการขยายความและแจกแจงรายละเอียดของโครงเรื่องให กระจางแจง ชัดเจน ตัวอยางเชน ตนฉบับเรื่อง “อสูรนอยกับแมมด” ของ ดวงพร หนา 2

หนา 3

หนา 4

หนา 5

หนา 6

หนา 7

ทอมเปนอสูรนอยที่มีนสิ ัยซุกซนและราเริง อาศัยอยูกับครอบครัว บนยอดเขาสูง วันหนึ่งอสูรนอยทอมออกมายืนบนหนาผาและพูดวา “ฉันอยากมี เพื่อนเหลือเกิน” แตเมื่อมองไปรอบ ๆ ที่มีแตตอนไมและทองฟา อสูรนอยก็ทรุดลง นั่งรองไห “เจาอยากเขาไปในเมืองอีกใชไหม” เสียงพออสูรนอยดังขึ้น “ใชจะ” อสูรนอยตอบ“ลูกอยากมีเพือ่ นเลน อยูบนนี้มีแตความเหงา” “เอาละ พอจะตามใจเจา” พออสูรพูดดวยความเมตตา “แตเจาตอง สัญญากับพอวา เจาจะไมเสียใจ ไมวาจะพบปญหาอะไร เจาจะใชสติปญญา แกไขใหดีที่สุด” “จะพอ” อสูรนอยเดินทางลงมาดวยความดีใจ จนมาถึงหมูบ านเล็ก ๆ ที่เชิงเขา อสูรนอยทอมพบเด็ก ๆ กําลังเลนกันอยู จึงรีบเดินทรงไปหา “ใหฉันเลนกับเธอดวยนะ” แตเด็ก ๆ แตกฮือ และพากันวิ่งหนี อสูรนอยแปลกใจมาก เพราะไมรูวาเด็ก ๆ วิ่งหนีเพราะอะไร จึงเดิน ตอไปในหมูบ าน พบชาวบานคนหนึ่งกําลังตัดฟนอยู ก็ตรงเขาไปหา แตทันทีที่ชายผูนั้นหันมาเห็น ก็โยนขวานทิ้งและวิ่งหนี “ผีหลอก” เขาตะโกนเสียงดังลั่น อสูรนอยเดินมานัง่ ทีร่ ิมลําธาร พอกมหนามองลงไป อสูรนอยก็รําพึง ออกมา “ฉันเขาใจแลว ทําไมพวกเขาจึงไมชอบฉัน” ทันใดนั้นอสูรนอยก็นึกขึ้นมาได (35)


หนา 8

หนา 9

หนา 10

หนา 11

หนา 12

หนา 13

หนา 14

หนา 15

พลันรางอันนาเกลียดนากลัวของอสูรนอยหายวับไปกลายเปนเจาชาย นอยหนาตางดงาม “ทีนี้ละ ใคร ๆ ก็ตองชอบเรา” อสูรนอยพูดพรอมกับออกเดินกลับไปหมูบ าน เมื่อเดินมาถึงกระทอมหลังหนึ่ง เจาชายนอยก็รสู ึกแปลกใจ มองเขาไป ก็เห็นหญิงชราคนหนึง่ นั่งอยู นึกอยากจะทอดสอบดูวา พวกเขายังเกรงกลัวเขาอยูหรือไม จึงเดิน เขาไป ทันทีที่กาวไปในกระทอม เสียงกังวานก็ดังมาจากหญิงชรา “แปลงกายเชนนี้ เจาคงนึกวา จะปกปดรางกายแทจริงของเจาไดรึ” อสูรนอยแปลกใจมาก “ทําไมยายรูล ะ” หญิงชราสงเสียงหัวเราะนากลัว “ก็เพราะขาเปนแมมดนะซิ เมื่อกอนนี้ขาก็เหมือนเจา ไปไหนมีแต คนกลัว แตตอนนี้ไมมีใครกลาหนีขาอีกแลว” “ยายทําอะไรหรือ” อสูรนอยถามดวยความสงสัย “ขาก็สาบมันนะซิ” แมมดพูดแลวหัวเราะอีก “พอมันกลัวขา ก็ไมใคร กลาหนีขาสักคน แมมดยกมือชีห้ นาอสูรนอย “ไมตองแปลงตัวเปนเจาชายหรอก ทําอยางขาซิ ใครที่วิ่งหนี เจาก็ สาบมันใหเปนหิน” อสูรนอยนึกขึ้นไดวา ตนเองก็มีอํานาจพิเศษเชนเดียวกับแมมด “จริงซิ ทําไมฉันไมสาบพวกที่ทําใหฉันเสียใจละ” “ถูกตอง เจาควรทําอยางนั้น เพราะมันจะทําใหไมใครไมยอมเปน เพื่อนกับเจาเลย” อสูรนอยแปลงกลับเปนรางเดิมและเดินออกจากกระทอมแมมดตรงไป ยังหมูบ าน “ทีนี้คงไมมีใครกลาวิ่งหนีเราอีก” อสูรนอยรําพึง ทันใดนั้นก็มีเสียงหนึ่งดังออกมาจากกระทอมทีอ่ สูรนอยเดินผาน “แมครับ ผมหนาวเหลือเกิน” ดวยความสงสาร อสูรนอยนึกถึงคําของพออสูร และลืมคํายุยงของ แมมดสนิท รีบกาวเขาไปในกระทอม “ไมตองกลัว ฉันจะชวยใหเธอหายหนาว” อสูรนอยพูด (36)


หนา 16

พลันก็เนรมิตผานวมหนาหมคลุมรางเด็กคนนั้นไว เมื่อรางของเด็กชายหายหนาวสะทาน เขาก็ลุกขึ้นนั่ง ยื่นมือออกมา จับมืออสูรนอยไว “ฉันขอโทษที่วิ่งหนีเธอเมื่อตอนกลางวัน” อสูรนอยยิ้มอยางมีความสุข บีบมือเด็กคนนั้นไวดวยความปลื้มปติ

กอนที่จะนําไปทําเลนจริง ตองทํารูปเลมจําลอง หรือทีเ่ รียกวา “ดัมมี่” คือการทําหนังสือจําลอง ที่คลายเลมทีจ่ ะจัดพิมพ เริ่มตั้งแตหนาปกจึงถึงหนาสุดทาย อาจทําเทาขนาดของจริงหรือจะทําเปนเลม เล็ก ๆ ก็ได จัดทําโดยนํารายละเอียดในตนฉบับมาเขียนและรางรูปลงตามหนาที่กําหนดไว เวนระยะ ตัวอักษรและภาพใหเหมาะสมกับหนากระดาษ ภาพที่อยูในรูปเลมจําลองอาจจะวาดหยาบ ๆ แตถาผูเขียนวาดไมเปน อาจจะเขียนอธิบายภาพ ไววาคือภาพอะไร เพื่อสงใหนักวาดภาพประกอบเปนผูวาดภาพตามรายละเอียดของภาพทีเ่ ขียนไวตอไป ตัวอยางรูปเลมจําลอง

(37)


การจัดทํารูปเลม สุนทรี คุณจักร(ม.ป.ป., หนา 155-158) ไดกลาวถึงการจัดทํารูปเลมไววา การจัดรูปเลมเปนงาน ละเอียดที่ตองอาศัยความรอบคอบและความพิถีพิถัน รวมทั้งใชหลักเกณฑในทางศิลปะมาชวยเสริม เพื่อใหทุกสิ่งทุกอยางดูดี ไมวาจะเปนรูปแบบ ขนาด ภาพ ตัวอักษร สี ผูเขียนตองนํามาจัดใหเหมาะสม ซึ่งรายละเอียดตาง ๆ ในการจัดทํารูปเลม มีดังนี้ 1. สวนหนา ประกอบดวย 1.1 หนาปก มีทั้งหนาปกหนาและปกหลัง หนาปกเปนสิ่งแรกที่เราใจเด็กใหอยากรับรู เรื่องราวในหนังสือ เพราะฉะนั้นรูปภาพ ตัวหนังสือ และสีสันของปกควรเปนที่สะดุดตา อีกทัง้ การ เลือกใชปกแข็งจะชวยใหมีความมั่นคงแข็งแรงมากกวาปกออน สิ่งที่ตองเขียนในสวนหนาปก คือ ชื่อ เรื่อง ตองตัวใหญ ชัดเจน นาสนใจ นิยมไวสวนบนของหนา และชื่อผูเขียนหรือผูวาดภาพประกอบ อาจวางไวมุมใดมุมหนึ่งของหนาปก สวนปกหลังจะปลอยวางหรืออาจทําใหมีความเกี่ยวเนือ่ งกับปก หนาก็ได อาจมีภาพ หรือขอคิด บางครั้งอาจระบุสํานักพิมพหรือราคาของหนังสือ แลวแตวาจะจัดไวมุม ใด 1.2 หลังปกหนา มักเปนหนากระดาษวางเปลา มีบางครั้งที่ทางสํานักพิมพจะระบุ รายละเอียดเกี่ยวกับสํานักพิมพ โรงพิมพ และปที่พมิ พ 1.3 ใบรองปก เปนหนาที่ตอจากปก ถาหนังสือเปนเลมบาง ๆ หรือเปนปกออน หนา นี้ไมจําเปนตองมีก็ได แตถาเปนหนังสือปกแข็ง หนานีจ้ ะชวยยึดระหวางปกกับตัวหนังสือไวตามกรรมวิธี การเขาปกหนังสือ 1.4 ดานหลังใบรองปก สวนใหญจะเวนวาง แตบางเลมอาจใสชื่อชุดหรือชื่อหนังสือ อื่น ๆ ที่ผูแตงหนังสือเลมนี้แตงขึ้น 1.5 หนาชื่อเรื่อง เปนหนาทีบ่ อกแตเพียงชื่อเรื่อง หนังสือเด็กของไทยจะไมมหี นานี้ ถาเปนหนังสือปกออนมักไมมีหนานีเ้ ชนกัน ดานหลังของหนาชื่อเรื่องนีบ้ างเลมปลอยวางไว บางเลมอาจ มีภาพผูแตงหรือภาพที่นาสนใจ 1.6 หนาปกใน หนานี้จะมีขอมูลหนังสือตาง ๆ ของหนังสือ มีชื่อเรื่อง ชื่อผูแตง ชื่อผู วาดภาพประกอบ ชื่อผูจัดทํา ชื่อผูร วบรวม ชื่อผูจ ัดพิมพ สํานักพิมพ ปที่พมิ พ และถาหากมีชื่อชุดก็ตองมี ชื่อชุดระบุไวที่หนานี้ดวย บางกรณีอาจมีภาพเล็ก ๆ แทรกไวก็ได 1.7 หนาลิขสิทธิ์ อยูดานหลังหนาปกใน ซึ่งระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ ชื่อผูเ ขียน ผูวาด ภาพ ผูถายภาพ ผูออกแบบรูปเลม บรรณาธิการ ครั้งที่พมิ พ สํานักพิมพ ผูจ ัดพิมพและจําหนาย ราคา หนังสือ ชื่อเจาของลิขสิทธิ์และรหัส ISBN ซึ่งเปนเลขสากลประจําหนังสือแตละเลม 1.8 หนาคําอุทิศ เปนคํากลาวทีผ่ ูเขียนตองการบอกใหรูวา จะอุทิศความดีของหนังสือ นั้นใหแกใคร หนานี้อยูตอจากหนาลิขสิทธิห์ รืออาจอยูในหนาเดียวกันก็ได (38)


1.9 หนาคํานํา เปนหนาทีผ่ ูเขียนตองการบอกวัตถุประสงคหรือเจตนาในการเขียน หนังสือเลมนั้นวาตองการใหผูอานไดรบั ประโยชนในเรื่องใด รวมทั้งอาจบอกลักษณะเนื้อหาโดยรวมของ เรื่องใหผูอานรับรูในเบื้องแรก นอกจากนั้นอาจขอบคุณผูที่ใหความชวยเหลือและมีสวนรวมในการจัดทํา 1.10 หนาคําชี้แจง หนังสือเด็กบางเลมจะมีคําชี้แจงเพื่อแนะนําใหผูอานไดรับประโยชน จากการอานอยางเต็มที่ 1.11 หนาสารบัญ เปนหนาที่บอกชื่อบท ชื่อตอน ชื่อหัวเรื่อง ภาพ ตาราง แผนภูมิ และเลขหนาของบทหรือตอนนั้น ๆ ตามที่ปรากฏในหนังสือ ควรอยูตอจากหนาคํานํา มักภาพในสารคดี สําหรับเด็ก แตถาเปนบันเทิงคดีสั้น ๆ มักจะไมปรากฏหนาสารบัญ สวนตาง ๆ ที่กลาวมาทัง้ หมดนี้ ผูเขียนอาจกําหนดใหมีครบทุกหัวขอหรือไมครบก็ได ขึ้นอยูกับ ความเหมาะสม 2. สวนกลาง คือสวนที่เปนเนือ้ เรื่อง การเริม่ ตนเนื้อเรือ่ งมักจะอยูดานขวามือเสมอ ในหนานี้ ไมควรบรรจุขอความใหเต็มหนา ควรเวนสวนบนใหมีเนื้อทีว่ าง โลง เพื่อเปนการเชิญชวนใหเด็กเริ่มอาน ดวยความปลอดโปรงใจ สวนเนื้อเรือ่ งนี้จะเรียงลําดับตามที่จัดทําตนฉบับไว โดยเริม่ จากหนาแรกไป จนถึงหนาสุดทาย สวนนี้ตองเขียนใหถูกตองตามลําดับหนา ลักษณะตัวอักษร การวางรูปสระ พยัญชนะ วรรณยุกต การเวนวรรคตอน ชองไฟ ชองหางระหวางบรรทัด ตองถูกตองและเหมาะสม 3. สวนทาย คือ สวนเสริมซึง่ บอกใหทราบรายละเอียดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับสวนกลาง ถาเปน หนังสือสารคดี สวนนี้จะเปนสิ่งสําคัญทีจ่ ะชวยเพิ่มความรูความเขาใจในเรื่องตาง ๆ มากขึ้น เชิงอรรถ คือ ขอความสั้น ๆ ที่อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนือ้ หาที่กลาวถึงหรือบอกแหลงที่มาอง ขอความที่ยกมากลาวในเนื้อเรื่อง อาจพิมพไวทายหนาของขอความที่กลาวถึงหรือนําไปพิมพรวมไวทาย บทหรือทายเลมก็ได บรรณานุกรม คือ รายชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพที่ผเู ขียนไดศึกษาคนควาใชประกอบการเขียน หนังสือหรืออางอิงในหนังสือนั้น ภาคผนวก คือ เนื้อหาที่นํามาเพิ่มในตอนทาย เพื่อเพิ่มพูนความรูแกผูอานและชวยใหผอู าน เขาใจเรื่องราวแจมแจงยิ่งขึ้น ซึ่งอาจมีหรือไมมีก็ได ศัพทานุกรมหรืออภิธานศัพท คือ คําอธิบายความหมายของคํายากในหนังสือ เพื่อชวยให ผูอานเขาใจชัดเจนขึ้น โดยจัดเรียงตามตัวอักษรและพิมพไวทายบทหรือทายเรื่องตอจากเชิงอรรถ แตถา คําที่ตองอธิบายมีจํานวนนอย อาจเขียนอธิบายไวในเชิงอรรถในหนาที่ตองใชคํานั้น โดยไมตองจัดใหมี หนาอภิธานศัพทก็ได ดรรชนี คือ รายการของเรื่องยอย ๆ หรือคําหรือขอความสั้น ๆ ที่เปนชื่อบุคคล สถานที่ โดย เขียนเรียงลําดับตัวอักษรพรอมเลขหนาที่คําหรือขอความนั้นปรากฏในหนังสือ สวนนี้จะชวยใหผูอานคน เรื่องยอย ๆ ในหนังสือไดรวดเร็ว (39)


หนากิจกรรม ในหนานี้ผูเขียนอาจตั้งคําถามใหผูอานตอบ อาจกําหนดกิจกรรมเพือ่ แนะนําให ผูอานไดกระทําเพือ่ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน หรืออาจตั้งปริศนาคําทายทีเ่ กี่ยวของกับเรื่องราวเหลานั้น ใหผูอานไดตอบ ซึ่งเปนการทดสอบความเขาใจอีกทางหนึ่งก็ได สวนประกอบเหลานี้ ผูเขียนไมจําเปนตองบรรจุไวทุกรายการ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความจําเปนและ เหมาะสม แตถาหนังสือนั้นเปนบันเทิงคดี บางครัง้ ก็อาจจบแตสิ้นสุดเนือ้ เรื่องก็ได ไมจําเปนตองบอก แหลงคนควาหรือธิบายความรูเ พิ่มเติม ทั้งนี้ขึ้นอยูกบั จุดมุงหมายของผูเขียนเปนสําคัญ

--------------------ขอมูลจาก : สุนทรี คุณจักร. (ม.ป.ป.) หนังสือสําหรับเด็ก. ชลบุรี : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา. หนา 140-161.

(40)


9.

การเลานิทาน

1

เด็กเปนวัยที่มากดวยโลกของจินตนาการอันกวางไกล ผูใหญมกั จะเปนผูถายทอดเรื่องราวที่ หลากหลาย ไมวาจะเปนเรื่องที่ตื่นเตน เรื่องสนุกสนาน เรื่องเศราโศกเสียใจ เรื่องราวสะเทือนขวัญ เรื่องที่เกี่ยวของกับชีวิตหรือสิ่งแวดลอม เราจึงควรทําความเขาใจกับการจินตนาการของเด็ก เพื่อจะ สามารถเลาหรือแตงนิทานเพื่อถายทอดเรื่องราวตาง ๆ อยางสอดคลองกับจินตนาการและความตองการ ของเด็ก การจินตนาการของเด็ก พอจะแบงออกไดดังนี้ 1. จินตนาการแบบอิสระ คือจินตนาการที่เด็กไมมีประสบการณรองรับเลย เด็กจะใช ความคิดคํานึงเฉพาะตัวเปนหลักในการตัดสิน และสงผลตออารมณของตนเอง 2. จินตนาการแบบมิตสิ ัมพันธ เปนจินตนาการของเด็กทีส่ ามารถเชื่อมโยงสิง่ ทีเ่ ห็นหรือไดฟง กับของทีเ่ คยเห็นเคยฟงมาแลว แบงได 3 ขั้นตอนคือ ขั้นที่ 1 คือเมือ่ เด็กไดฟงสิ่งใด หรือเห็นสิ่งใดแลวนึกถึงสิ่งที่เคยเห็นมากอนหรือ จินตนาการสิ่งที่เคยเห็นมากอน ขั้นที่ 2 นอกจากเด็กจะเชื่อมโยงสิ่งที่ตนเห็นหรือไดฟงกับอีกสิ่งหนึ่งแลวเด็กยัง จินตนาการไปถึงอารมณหรือความมีชีวิตชีวาของสิ่งนั้น ๆ ดวย ขั้นที่ 3 เปนการจินตนาการไปถึงสิง่ เหนือจริง ของวิเศษ สิ่งมหัศจรรย จินตนาการขั้นนี้ เปนขั้นทีเ่ ด็กๆใฝฝนอยากจะมีกันทุกคน จะสังเกตไดวา ถาเราบอกวา "มีกบอยูตัวหนึง่ " เด็ก ๆ ก็จะฟง เฉย ๆ แตถาบอกวา "มีกบวิเศษอยูตัวหนึ่งสามารถพนไฟไดดวย" เด็ก ๆ ก็จะทําตาโตทีเดียว 2

นิทานกับความตองการของเด็ก สาเหตุทเี่ ด็ก ๆ ชอบฟงนิทานนั้น ไมใชเพราะนิทานมีโลกจินตนาการเทานั้น แตนิทานหลาย เรื่องมีการสนองความตองการของเด็ก ๆ แฝงอยูดวย เด็ก ๆ มีความตองการมากมาย เปนตนวา ตองการความรัก ตองการใหคนอื่นสนใจ ตองการใหความรักแกคนอื่น ตองการเลน ตองการกิน ตองการสิง่ วิเศษ มหัศจรรย ตองการสิ่งสวยงาม ตองการสิง่ ลึกลับ ตองการความขบขัน ฯลฯ จากความตองการดังกลาว ทําใหเราสามารถเลือกนิทานทีเ่ หมาะสมและควรเลาใหเด็กฟงได นิทานที่เหมาะสมและควรเลาใหเด็กฟงนั้น ควรเปนนิทานที่เปยมดวยคุณคาทางเนื้อหาไดอรรถรส รูปแบบการใชถอยคํา สํานวนภาษา ความคิดสรางสรรค สงเสริมคุณภาพ ยกระดับสติปญญาและจิตใจ

1

1

(41)


ผูเลาหรืออานนิทานใหเด็กฟง จะตองเลือกนิทานใหเปน เพราะนิทานที่มีอยูท ั้งหมด ไมใชวาเด็กจะ ชอบทุกเรื่อง การเลือกนิทานควรพิจารณาสิง่ ตางๆดังตอไปนี้ 1. นิทานเรื่องนั้นสนองความตองการของเด็กไดมากนอยเพียงไร 2. เรือ่ งเลาควรจะเลือกใหเหมาะกับวัยตาง ๆ ของเด็ก 3. เวลาที่ใชในการเลาควรจะเหมาะสมกับชวงระยะเวลาความสนใจและสมาธิในการฟงของเด็กวัย ตาง ๆ 4. เนื้อหาจะตองมีสาระ คานิยม ความคิดสรางสรรค สงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม 5. มีเนื้อเรือ่ งสนุกสนานชวนติดตาม กระตุนจินตนาการของเด็ก 6. เปนวรรณกรรมที่ดีทงั้ โครงเรือ่ ง ลักษณะที่เดนของตัวละคร การใชภาษาที่สรางสรรค เปนเรื่องที่ ไมเคยตาย (Timelessness) 7. ไมควรสรางความขบขันบนความเจ็บปวดของคนอื่น และไมใชภาษาหรือปฏิบัติตอเด็กในเชิง ตําหนิ ติเตียนหรือดูหมิ่น 8. กลาวถึงอารมณมนุษยอยางระมัดระวัง เสนอแนะวิธีการที่สรางสรรคแกเด็กในการเผชิญกับ ความยากลําบากตาง ๆ การเตรียมตัวกอนเลานิทาน ผูเลานิทานเมื่อเลือกเรือ่ งของนิทานใหเหมาะสมกับกลุมผูฟงและพอใจกับเนื้อเรื่องแลว ผู เลาจะตองนํานิทานที่จะเลามาจัดเตรียมใหพรอมกอนจะดําเนินการเลา ดังนี้ 1. ผูเลาจะตองอานทบทวนเรื่องราวทีผ่ ูเลาเลือกมา ใหเกิดความคุนเคย เขาใจ และรูจ ัก เรืองที่เลือกมาไดเปนอยางดี เพื่อจะไดเกิดความราบรื่นตลอดขณะดําเนินการเลา 2. ขั้นตอนการเลา ผูเลาจะตองพิจารณาในการนําเสนอการขึ้นตนเรื่อง การเลาเรื่อง ตอเนื่องจนถึงกลางเรื่อง และการจบเรื่องใหชัดเจน และนาสนใจตามลักษณะเฉพาะของผูเลา 3. สื่อวัสดุอปุ กรณที่ใชในการเลา ผูเลาจะตองเตรียม และทดลองใชใหเกิดความชํานาญ และจัดระบบการใชตามลําดับกอนหลัง 4. กิจกรรมประกอบการเลานิทาน ผูเลาจะตองเตรียมใหพรอมและจะตองเหมาะสมกับ กลุมผูฟง เชน การรองเพลงซ้ํา ๆ และงาย คําพูดซ้ํา ๆ และงาย การรองขอใหผูฟงมาชวยรวมแสดงหรือ ทํากิจกรรมดวยขณะดําเนินการเลา 5. สถานที่เลา ผูเลาจะตองพิจารณาตามความเหมาะสมใหพอดีกับกลุมผูฟง เพราะผูเลา จะตองจัดเตรียมสื่อใหพอเหมาะกับการมองเห็น และการฟงของผูเลา นอกจากนีผ้ ูเลานิทานจําเปนอยางยิง่ ที่จะตองอานนิทานซ้ําแลวซ้ําอีก โดยออกเสียงดัง ๆ และจะตองอานจนขึ้นใจในเรื่องราว ถอยคํา และการดําเนินเรื่อง ถากลัวติดขัดขณะทําการเลา ผูเ ลา จะตองบันทึกยอเพื่อกันลืม

1

1

(42)


วิธีเลานิทาน

1

จะอยูที่

1. เลาปากเปลา ผูเลาตองเตรียมตัวใหพรอมเสมอ เพราะจุดสนใจของเด็กทีก่ ําลังฟงนิทาน ผูเลาเทานั้น วิธีเตรียมตัวในการเลานิทานมีดังนี้ 1.1 เตรียมตัวดานเนื้อหาของนิทาน - อานนิทานที่จะเลาและทําความเขาใจกับนิทานเสียกอน - จับประเด็นนิทานใหไดวา นิทานที่จะเลาใหอะไรแกเด็กทีฟ่ ง - แบงขั้นตอนของนิทานใหดี - การนําเสนอขั้นตอนของนิทานในขณะที่เลา ไมจําเปนตองเหมือนกับทีอ่ าน

เสมอไป - เพิ่มหรือลดตัวละครเพื่อความเหมาะสมในการเลา ที่สําคัญผูเ ลาตองสามารถปรับนิทานใหสอดคลองกับความสนใจของเด็กไดดวย เพราะถา เห็นวาเด็กกําลังสนุกสนานก็เพิ่มเนื้อหาเขาไปได 1.2 น้ําเสียงที่จะเลา ผูเลาตองมีน้ําเสียงที่นาฟง ซึ่งไมจําเปนตองเปนเสียงที่ไพเราะ และที่สําคัญ ที่สุดคือ การเวนจังหวะ การเนนเสียงใหดูนาสนใจ ไมควรใหน้ําเสียงราบเรียบมากเกินไป เสียงเบาเสียงหนัก พูดเร็ว-พูดชา ก็เปนการบงบอกอารมณของนิทานไดเชนกัน 1.3 บุคลิกของผูเลานิทานตอหนาเด็กจํานวนมาก ตองมีบุคลิกที่นาสนใจสําหรับ เด็กคือ -ไมนิ่งจนเกินไป -ไมหลุกหลิกจนเกินไป - ตองมีการเคลื่อนไหวทีเ่ หมาะสมกับเนื้อหาของนิทาน - มีการแสดงทาทางทีเ่ หมาะสมกับเนื้อหาของนิทานอยางพอเหมาะพอเจาะ - มีทาที่ผอนคลายและดูเปนกันเองกับเด็ก ๆ 1.4 เสื้อผาที่สวมใส ตองเปนเสื้อผาที่มั่นใจในการเคลื่อนไหว 1.5 บรรยากาศในการฟงนิทาน ตองไมวุนวายจนเกินไป อยูในสถานที่ทสี่ ามารถ สรางสมาธิสําหรับคนฟงและคนเลาไดเปนอยางดี 1

1

2. เลาโดยใชหนังสือประกอบการเลา การใชหนังสือประกอบการเลานี้ หมายถึงการใช หนังสือที่มีภาพประกอบ ผูที่จะใชหนังสือภาพตองมีการเตรียมตัวดังนี้ 2.1 อานนิทานใหขึ้นใจ เวลาเลาจะไดเปดหนังสือภาพใหสมั พันธกับเรือ่ งทีเ่ ลา 2.2 ศึกษาความหมายของสีที่ใชประกอบภาพ เพราะหนังสือสําหรับเด็กมักจะใช สีเปนสื่ออารมณของเรื่องดวย 2.3 ศึกษาภาพประกอบที่เปนปกหนาปกหลัง เพราะบางเรือ่ งตอนเริม่ เรื่องอยูท ี่ 1

1

1

1

(43)


หนาปก และตอนจบอยูทปี่ กหลังก็มี 2.4 การถือหนังสือ ตองอยูในตําแหนงที่ผฟู งสามารถมองเห็นภาพประกอบไดอยาง ทั่วถึง ถาผูฟงนั่งเปนรูปครึง่ วงกลม ตองมีการยกภาพใหมองเห็นทั่วทั้งหมด การจัดที่นงั่ ใหเปนกลุม เดียว จะทําใหผูเลาสามารถยกภาพใหดูในตําแหนงเดียวและครั้งเดียวไดเลย เพราะผูฟ งสามารถมองเห็น ภาพไดพรอมกันหมด 2.5 นิ้วมือตองสอดเตรียมพรอมที่จะเปดหนาตอไป การใชหนังสือประกอบการ เลานิทาน ไมจําเปนตองถือหนังสืออยูนิ่งตลอดเวลา อาจจะโยกหนังสือหรือขยับหนังสือตามเหตุการณใน นิทานก็ได เชน เมื่อผูเลากําลังเลานิทานกระตายกับเตา ตอนที่พูดถึงกระตายวิ่งก็ควรขยับหนังสือให เหมือนกับกระตายวิ่งหรือกระโดด พอพูดถึงเตาคลานก็ใชนวิ้ ไตบนหนังสือแสดงการเดินชาๆ ของเตา เปน ตน 3. เลาโดยใชภาพประกอบ ภาพประกอบที่ใชในการเลานิทานนี้ ไมใชภาพประกอบจาก หนังสือนิทาน เราอาจเปดภาพจากหนังสือใหเด็กดูพรอมกับเลาหรืออานก็ได 1

4. เลาโดยใชสื่อใกลตัวหรืออุปกรณประกอบการเลา 4.1 การเลาโดยใชสื่อใกลตัว สื่อใกลตัวในที่นี้หมายถึง สื่อหรืออุปกรณประกอบการ เลานิทาน 4.2 การเลานิทานโดยใชอุปกรณประกอบ ผูเลานิทานสามารถนําเอาวัสดุมา สรางสรรค สรางสื่อหรือหรือผูเลาจัดหาสื่อสําเร็จมาประกอบการเลา เกิดเปนนิทานเลาประกอบสื่อ การเลา นิทานโดยมีอุปกรณประกอบจะมีทั้งน้ําเสียงของผูเ ลา ลีลา ทาทางของผูเลา และสื่อประกอบการเลา สื่อที่ใช ประกอบการเลานิทานมีหลากหลาย เชน - การเลานิทานประกอบสื่อหุนกระดาษ นิทานหุนกระดาษ หมายถึง นิทานที่เลา ประกอบสื่อทีจ่ ัดสรางขึ้น โดยสรางสรรคจากกระดาษแลวระบายสี ทั้งฉากและตัวละครหุนกระดาษของ เรื่องทีผ่ ูเลาเลือกนํามาเลาแกผูฟง การเลานิทานประกอบสื่อนิทานเชือก เปนนิทานทีผ่ ูเลาจะเลาแบบปากเปลา ประกอบกับการสรางสรรคเชือกใหมีความสัมพันธกับการเลาอยางตอเนื่อง ผูดูหรือผูฟงจะตื่นเตนกับการ สรางสรรคเชือกจากผูเลาเปนรูปรางตาง ๆ ประกอบกับการเลาเรื่อง การเลานิทานพับกระดาษและฉีกกระดาษ เปนนิทานทีผ่ เู ลาจะตองเลานิทานพรอม ๆ กับการพับกระดาษและฉีกกระดาษ การเลาและการพับกระดาษฉีกกระดาษจะตองพอดีกบั เหตุการณ ๆ หรือสัมพันธกันอยางพอดีพอเหมาะตลอดทัง้ เรื่อง การเลานิทานทั้งหมดนั้นจะนาสนใจหรือไม อยูที่วิธีการเลา น้ําเสียง การเวน จังหวะและระยะเวลาในการนําเสนอนิทานของผูเลา วิธีการดังที่กลาวมาไมใชวิธีการที่มีอยูทงั้ หมด ผูเลา นิทานบางคนอาจมีวิธีการนําเสนอนิทานที่นาสนใจไดหลายรูปแบบ ขอสําคัญอยูที่วา ผูเลานั้นเปน"นักเลา นิทานที่มีหัวใจเด็ก"หรือเปลา เทานั้นเอง (44)


10. การประเมินคาวรรณกรรมสําหรับเด็ก วรรณกรรมที่ดีสําหรับเด็ก หมายถึง วรรณกรรมหรือหนังสือทีเ่ ด็กอานแลวสนุกสนาน เพลิดเพลิน มีเนื้อหาสาระตรงกับใจทีเ่ ด็กอยากจะอาน มีรูปเลมสีสันสวยสะดุดตา ผูสรางหนังสือ สําหรับเด็กจําเปนที่จะตองทําความเขาใจถึงลักษณะวรรณกรรมที่ดีสําหรับเด็กกอนทีจ่ ะลงมือสราง เพราะเมื่อเขาใจแลวยอมจะสรางวรรณกรรมสําหรับเด็กไดอยางมีคุณภาพในทุกดาน วรรณกรรมที่ดี สําหรับเด็กควรมีลักษณะดังนี้ 1. สนองความตองการและความสนใจของเด็ก 2. สงเสริมจินตนาการ ชวยใหเด็กไดคิดกาวไปไกลกวาสภาพที่เคยพบเห็น 3. สงเสริมใหเกิดความมั่นใจ อบอุนใจ 4. สนองอารมณทปี่ รารถนา 5. สงเสริมความรู คุณคาของวรรณกรรมสําหรับเด็ก สามารถพิจารณาไดจาก 1. เคาโครงเรื่อง สําหรับเด็กตองไมซบั ซอน มีแนวคิดหรือแกนของเรื่อง (Theme) ที่เดนชัด จับไดงาย ไมเกินกําลังปญญาของเด็ก ตัวละครควรอยูในวัยใกลเคียงกับผูอ าน การวางโครงเรื่องตอง ติดตอสืบเนื่องเปนเรื่องเปนราว มีเหตุผลเปนไปตามธรรมชาติ มีความสัมพันธกับพื้นฐานประสบการณ ของเด็ก มีเงือ่ นปมบางตอนที่ตลกขบขัน แสดงถึงความสําเร็จ ความสุข สมหวัง มีชื่อเรื่องกะทัดรัด เขาใจ งาย และมีการดําเนินเรื่องที่กระตุนอารมณ สรางความสนุกสนาน 2. วิธีการเขียน นักเขียนตองมีความสามารถในการเขียนใหสนุก ใชถอยคําสละสลวย อาน เขาใจงาย เปนภาษาที่นิยมใชกันในสังคม ตรงกับลักษณะบุคลิกตัวละคร คงเสนคงวา ตรงตามสมัยของ เรื่อง และเรียบเรียงไดเหมาะสม สะกดการันตถูกตองตามหลักภาษา ทั้งการใชภาษาในรอยแกวและรอย กรอง อาจใชการดําเนินเรื่องแบบเลาเรื่อง หรือใหตัวละครสนทนากัน แตตองเปนบทสนทนาสั้นๆ อาจมี การพรรณนาสลับบางก็ได แตตองดําเนินเรื่องรวดเร็ว ขอที่สําคัญ คือ ตองมีภาพประกอบเรื่อง โดยภาพ และเรื่องตองอยูในหนาเดียวกัน 3. ภาพประกอบ ภาพประกอบที่ดจี ะตอง เปนภาพที่ตรงเรื่อง สามารถเลาเรือ่ งไดดี ทําให ผูอานเกิดอารมณคลอยตามได เปนภาพไมซับซอน ดูแลวเขาใจงาย เปนภาพทีเ่ ขียนไดสวยงามตรงตาม ลักษณะของตัวละคร ตรงตามฉาก ตรงตามสถานที่และทองเรื่อง ถูกตองในเรื่องขนาดและสัดสวนของ ภาพ และเปนภาพที่ใหชีวิต มีความรูสึกและความเคลื่อนไหว

(45)


4. รูปเลมและเทคนิคการพิมพ เด็กชอบหนังสือที่มีปกสีสวยสด ชอบปกแข็งมากกวาปกออน และชอบปกมันๆ ที่เคลือบน้ํายาเงา มากกวาปกหนังสือพิมพสเี ดียว หรือพิมพหลายสีแตไมเคลือบเงา การจัดหนาหนังสือดูโปรงตา ภาพกับตัวอักษรไมทบั กัน และชื่อเรื่องดึงดูดความสนใจของเด็กกอนทีจ่ ะ เย็บเลม จะตองมีการตรวจสอบตัวสะกดของตนฉบับใหถูกตอง พิมพตัวอักษรและภาพประกอบไดชัดเจน มีสสี ันไดงดงาม และดึงดูดความสนใจ ขนาดและรูปรางของหนังสือควรขึ้นอยูกบั ความสนใจและความ งายในการหยิบฉวยของเด็ก เด็กชอบหนังสือที่พมิ พดวยกระดาษที่มีคุณภาพดี คอนขางแข็ง และเปน กระดาษสีขาว วัสดุที่ใชในการเย็บเลมตองทนทานและตองเย็บดวยความประณีต เพื่อจะไดทนทานตอ การหยิบถือของเด็ก 5. ราคา ราคาของหนังสือสําหรับเด็กไมใชปญหาของเด็ก แตเปนปญหาของผูซ ื้อ (ผูปกครอง) เด็กชอบหนังสือทุกราคา แตผูใหญจะตองเลือกหนังสือที่มคี ุณภาพคุมกับราคา หรือหนังสือที่มรี าคาไม แพงเกินไป สิ่งที่ควรระลึกเพิ่มเติมในการประเมินคุณคาของวรรณกรรมหรือหนังสือสําหรับเด็ก ไดแก โครงเรื่องที่เหมาะสม สอดคลองกับวัตถุประสงคของสภาพแวดลอม สนองความตองการของเด็กสวนใหญ เรื่องราวกระตุนอารมณ ปลูกฝงทัศนคติที่ดีแกผอู าน ควรเปนเรื่องราวที่มีความตลก สอดแทรกอารมณขัน ภาพและเนื้อเรื่องมีความสอดคลองตองกัน พยายามใชภาษาที่เขาใจงาย มีการซ้ําคําและจังหวะเพียงพอ จะชวยเสริมใหเด็กอยากอาน ลักษณะตัวละคร ตองมีบุคลิกประจํา ใหเปนจุดสนใจแกเด็ก ใชบทสนทนา ไดอยางเหมาะสม และอานแลวจัดกิจกรรมประกอบงาย

(46)


การประเมินหนังสือเด็กของ ............................................................................................... ลําดับ

ประเด็นการประเมิน 5

1.

2.

3.

4.

5.

คะแนนการประเมิน 4 3 2

1

คะแนน (ดานละ 2 คะแนน)

ลักษณะรูปเลม 1.1 ขนาดเลม ความหนา และความคงทน 1.2 สีปกและการออกแบบปก 1.3 คุณภาพของกระดาษและการจัดหนา 1.4 ขนาดตัวอักษรและความชัดเจนของตัวพิมพ 1.5 การเขารูปเลมและเย็บเลม เนื้อเรื่อง-สาระ 2.1 การวางโครงเรื่องเปนลําดับเหตุการณ 2.2 ความมีเอกภาพและความกลมกลืนของเนื้อเรื่อง 2.3 ความสอดคลอง สมจริง ถูกตองกับเหตุการณ 2.4 สารัตถะที่รับจากเรื่องมีประโยชนตอผูอาน 2.5 ความเหมาะสมที่จะนําไปประกอบการเลานิทาน การใชภาษา 3.1 การสะกดการันตถูกตองตามหลักไวยากรณ 3.2 การใชคําศัพทเหมาะสมกับกลุมผูอาน 3.3 การเรียบเรียงประโยค 3.4 การยอหนาและเวนวรรคตอน 3.5 ความชัดเจนของการใชภาษา ภาพประกอบ 4.1 ความชัดเจนของภาพและสี 4.2 การจัดวางตําแหนงภาพเหมาะสม 4.3 ความสอดคลองของภาพกับคําบรรยาย 4.4 ความตอเนื่องของภาพแตละหนา 4.5 ขนาดของภาพและความสมจริง ความคิดสรางสรรค 5.1 ความสนุกสนาน อารมณขัน 5.2 ความแปลกใหมนาสนใจ คะแนนที่ไดรับ

ขอเสนอแนะ : ................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................. (47)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.