Th 2333 ก่ารเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 1

Page 1 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

เอกสารประกอบการสอน TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

รวบรวมโดย อาจารยวิไล ธรรมวาจา

สาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย คณะศิลปะศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ


Page 2 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

ความรูพื้นฐานทางการเขียน การเขียนเปนหนึ่งในทักษะการสื่อสารที่ตองอาศัยการเรียนรูและการฝกฝนเพื่อใหสามารถสื่อ ความหมายไปยังผูอื่นไดและพัฒนาขึ้นอยางมีลําดับ หลายคนเห็นวาการเขียนเปนเรื่องยาก เมื่อจะตองเขียน ก็คิดไมออก ไมรูจะเริ่มตนการเขียนอยางไร จึงทําใหเกียจการเขียน บางคนคิดวาตนไมมีพรสวรรคดานการ เขียนก็ไมอยากเขียน เพราะรูสึกวาเขียนไปก็ไมดี แตปญหาและความรูสึกดังกลาวจะลดนอยลงหากมีการ ฝกเขียนบอย ๆ และตระหนักวา ไมมีใครสามารถเขียนไดและเขียนดีมาตั้งแตเกิด แตถายิ่งฝกยิ่งเกิดความ ชํานาญ ประกอบกับหากรูจักการสังเกตงานเขียนของผูอื่นก็จะทําใหทักษะการเขียนดีขึ้นได ความหมายของการเขียน การเขียน คือ การฝกใหรูจักใชความคิดและความรูของผูเขียนแลวถายทอดความคิดและความรู ออกเปนตัวหนังสือ โดยมีอุปกรณและเครื่องชวยตาง ๆ ในการถายทอดความรูและความคิดนี้ อุปกรณที่ สําคัญ คือ ภาษา อันหมายรวมถึง คํา ประโยค สํานวน โวหารและระดับภาษา ผูเขียนตองศึกษาหา ความรูเรื่องลักษณะและการใชคําเหลานี้ เพื่อใหง านเขียนของตนมีคุณภาพดี สามารถถายทอดสื่อสาร ความคิด ความรู ฯลฯ ของผูเขียนไดถูกตองครบถวนตามความตองการของผูเขียน (มณีปน พรหมสุทธิ รักษ. 2529 : 126-127 อางถึงใน นิภาพรรณ ศรีพงษ. ม.ป.ป. : 133) การเขียน คือ การสื่อสารชนิดหนึ่งของมนุษยที่ตองอาศัยความพยายามและฝกฝน การเขียนเปนการ แสดงความรู ความคิด ความรูสึก ความตองการ เปนลายลักษณอักษร เพื่อใหผูรับสารสามารถอานไดเขาใจ ไดทราบความรู ความคิด ความรูสึก ความตองการ แลวสามารถนํามาบอกบอกตอกับบุคคลอื่นใหไดความรู ที่ผูรับสารไดรับ เครื่องมือในการเขียน ดินสอ ปากกา สี พูกันจีน กระดาษ กระดาน ฯลฯ การเขียนจะตอง เขียนเปนภาษาตางๆ หรือ อาจเขียนเปนภาษาเดียวหรือหลายภาษาก็ได ตามแลวแตถนัด กลาวอยางสรุป การเขียน คือ การสื่อสาร (สงสาร) รูปแบบหนึ่งที่ถายทอดความรู ความรูสึกนึก คิด อารมณ หรือความตองการตาง ๆ ของตนออกมาเปนตัวอักษร เครื่องหมาย หรือสัญลักษณตาง ๆ ให ผูอื่นทราบ โดยผูอื่นจะทราบไดก็ตองอาศัยการรับสารดวยวิธีการดู และ/หรือการอาน


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 3 of 46

ความสําคัญของการเขียน การเขี ย นเป น การสื่ อ สารที่ มี ค วามสํ า คั ญ และจํ า เป น ไม น อ ยไปกว า การสื่ อ สารด ว ยการพู ด โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ในวั ย ของการศึ ก ษาเล า เรี ย น ผูเรีย นตองจดคํา บรรยายของผูส อน ตอ งทํา การบา น เขีย นรายงาน และเขียนขอสอบ เปนตน อยา งไรก็ตามไมเฉพาะผูเรียนเทานั้นแตในวงการอื่น ๆ เชน วงการแพทย วงการสื่อสารมวลชน วงการศิลปะและบันเทิง ฯลฯ การเขียนก็มีความสําคัญไมยิ่งหยอนไป กวากัน ซึ่งพอจะสรุปเปนขอ ๆ ไดดังนี้ 1.

การเขียนใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน เชน การจดบันทึก การทําตารางนัดหมาย การ

เขียนไดอารี่ การเขียนการดอวยพร เปนตน 2.

การเขียนเปนสื่อที่ชวยแพรกระจายความรู ความคิดใหกวางไกลและรวดเร็ว เชน การ

เขียน (ตีพิมพ) หนังสือ การเขียนประกาศ และใบปลิวตาง ๆ 3.

การเขียนชวยในดานการติดตอสื่อสาร ทั้งในอดีต ปจจุบัน อนาคต กลาวคือ การเขียน

เปนการสื่อสารที่คงทนถาวร ผูรับสารสามารถยอนกลับไปอานหรือดูไดแมผูสงสารจะสงสารหรือเขียนไว นานแลวหรืออยูกันคนละชวงสมัยกับผูรับสารก็ตาม แตผูอานและผูเขียนก็ยังสามารถติดตอสื่อสารกันผาน ตัวหนังสือได โดยไมมีขอบเขตของเวลามาจํากัด 4.

การเขียนเปนการบันทึกความรู ความจํา กลาวคือ ความรูตาง ๆ มีมากมายในโลก แต

มนุษยไมสามารถที่จะจดจําหรือพูดสื่อสารใหผูอื่นทราบในเวลาเดียวกันไดทั้งหมด ดังนั้นจึงตองอาศัยการ เขียนชวยบันทึกไวเปนหลักฐาน 5.

การเขียนเปนการถายทอดวัฒนธรรม ประเพณี วรรณคดีและวรรณกรรม คือ เราสามารถ

เรียนรูและศึกษาวัฒนธรรมประเพณี วรรณคดี ไดเพราะมีการเขียนบันทึกไวเปนหลักฐาน เพราะหากมีการ ถายทอดวัฒนธรรมดวยวิธีการพูด-ฟง เพียงอยางเดียว วัฒนธรรมหลายอยางอาจสูญหายไปและไมสามารถ สืบคนได 6.

การเขียนเปนเครื่องมือวัดความเจริญของมนุษยในแตละยุคแตละสมัย คือ ในแตละชวง

สมัย มนุษยจะมีการประดิษฐคิดคนสิ่งใหม ๆ ขึ้นมาตอบสนองความตองการของมนุษย ชวยใหการดําเนิน ชีวิตของมนุษยงา ยขึ้น เมื่อมีสิ่งใหมเกิดขึ้นในสังคมยอมจําเปนตองมีการกําหนดคําขึ้นใชเพื่อเรียกสิ่งนั้น ๆ ฉะนั้นเราจึงสามารถดูไดวาสังคมแตละยุคพัฒนาไปอยางไรจากการที่มีคําศัพทเกิดขึ้นใหม เชน การมีคําวา คอมพิวเตอร ขึ้นใช ในชวง 20-30 ปที่ผานมา ก็แสดงความกาวหนาทางเทคโนโลยีของสังคมมนุษย


Page 4 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

7.

การเขียนมีประโยชนตอวงการศึกษา ในวงการศึกษาหลายแขนงวิชา หลายศาสตรมีความ

ยากง ายตา งกัน การคิดคนและการสอนดวยการพูดเพียงอยางเดียวอาจไมพ อ จําเปนตองมีตําราบันทึก ความรูตาง ๆ ไวใหคนตางสังคม ตางยุคสมัยไดศึกษา ไดอานเพิ่มเติม 8.

การเขียนเปนอาชีพอยางหนึ่ง การเขียนสามารถสรางรายได โดยอาจเปนนักเขียนอาชีพ

หรือนักเขียนมือสมัครเลน เพียงเขียนบทความ เรื่องสั้น บทกวี เปนตอน ๆ เปนครั้งเปนคราวสงไปลงใน หนังสือตาง ๆ จัดเปนอาชีพเสริมได จุดมุงหมายของการเขียน จุ ด มุ ง หมายเป น สิ่ ง สํ า คั ญ ที่ จ ะเป น ตั ว กํ า หนดการกระทํ า ต า ง ๆ ให เ ป น ไปตามต อ งการ เช น มีจุดมุงหมายที่ตองการไดเกรด A ในวิชาการเขียนเพื่อการสื่อสาร เมื่อมีจุดมุงหมายก็มีแนวทางปฏิบัติตน เพื่อใหบ รรลุ เป าหมาย ซึ่ง อาจมี หลายแนวทาง บางคนอาจเลือกการตั้งใจเรีย น เลือกการอา นหนัง สื อ ทบทวนหนังสือบอย ๆ เ ลือกการใหเพื่อนชวยติวหนังสือใหกอนสอบ เปนตน เชนเดียวกับการสื่อสาร การสื่อสารไมวารูปแบบใด ผูสงสารจะตองมีจุดมุงหมายในการสื่อสารแต ละครั้ง เพื่อใหการสื่อสารสัมฤทธิ์ผล โดยจุดมุงหมายเปนสิ่งแรกที่ผูสงสารจะตองกําหนดใหชัดเจนเพื่อ เลือกรูปแบบการสื่อสาร เลื่อกการใชภาษา สื่อประกอบ ฯลฯ ตอไป จุดประสงคของการเขียนมีมากมายหลายประการทั้งนี้ขึ้นอยูกับผูเขียนวาจะตั้งเปาหมายในการเขียน แตละครั้งอยางไร ตองการใหผูอานไดรับผลหรือแสดงปฏิกิริยาภายหลังการรับสารอยางไร ซึ่งสามารถ สรุปจุดประสงคของการเขียนอยางกวาง ๆ ได ดังนี้ 1. เพื่อใหความรู จุดประสงคประเภทนี้ผูเขียนตองการถายทอดความรู สรางความเขาใจ ใหความ กระจางแจงแกผูอาน งานเขียนเพื่อใหความรูมักเปนงานเขียนทางวิชาการ เชน การเขียนตํารา บทความ ทางวิชาการ หรือบอยครั้งอาจเปนงานเขียนที่ไมเปนทางการ เชน สารคดีทองเที่ยว การเขียนเลาประวัติ เปนตน ตัวอยาง พิธีไลเรือนี้ตามพงศาวดารกลาววาเริ่มมีขึ้นในรัชกาลของสมเด็จพระเอกาทศรถ นี่เองเปนครั้งแรก พิธีไลเรือนี้จะกระทําขึ้นในกรณีที่มีน้ําทวมขัง ไรนาอยูนานจนถึง เดือนธันวาคม ซึ่งปกติแลวเมื่อถึง เดือนธีนวาคมน้ํา ก็จะตองลดลง แตถา ปใ ดไมล ด พระองคก็จะทรงกระทําพิธีไลเรือขึ้นในปนั้น (ตํานานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช : 83)


Page 5 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

2. เพื่อแจงใหทราบ ผูเขียนมีจุดประสงคเพื่อบอกเลาเรื่องราวหรือเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นหรือกําลัง จะเกิดขึ้นใหผูอื่นทราบ ตัวอยางการเขียนเพื่อแจงใหทราบ เชน ขาว การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ ประกาศ แถลงการณ คําสั่ง ระเบียบขอบังคับตาง ๆ ตัวอยาง เดมี่ มัวร และแอชตัน คุตเชอร คูสามีภรรยาผนึกกําลังปลอยโครงการตอตาน ทาสเด็กในเฮติ หลังมีรายงานขาววามีเด็กจํานวนมากตองไปเปนคนรับใชในครอบครัว คนอื่นเพื่อนํารายไดมาจุนเจือครอบครัวของตนเอง (ตอตานทาสเด็กในเฮติ : แพรวสุดสัปดาห 28) 3. เพือ่ โนมนาวใจ จูงใจ การเขียนประเภทนรี้ผูเขียนมีจุดมุงหมายเพื่อใหผูอานคิดหรือทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ตามที่ตนตองการ เชน โฆษณาสินคา โฆษณาหาเสียง ตัวอยาง สิ่งที่ทุกคนอาจหลงลืมไป เคยหรือเปลาที่จะหันกลับไปมอง ทุกคนยังมี พอแมที่รักเราเหมือนแกวตาดวงใจ แตเมื่อเติบโตขึ้น กลับลืมผูมีพระคุณไปไดอยางไร บางคนทิ้งใหทานอยูกันตามลําพังโดยไมดูแล โปรดจงยอนกลับไปดู ณ จุดเริ่มตน เรา ทุกคนเกิดมาจากอะไรมาเถอะ เรามาทําอะไรเพื่อพอ-แม ของเราบาง พวกทานจะไดมี ความสุขตลอดไป 4. เพื่อแสดงความคิดเห็น การเขียนประเภทนี้เปนการเขียน เพื่อใหผูอานไดเห็นความคิดของผูเขียนที่ มีตอเรื่องหนึ่ง ๆ ซึ่งอาจเปนความคิดเห็นในเชิงสนับสนุนหรือโตแยง และจะใชความรูสึกสวนตัวหรือมีการ อางอิงหลักฐาน ใหเหตุผลตาง ๆ ประกอบ ก็ได การเขียนประเภทนี้ เชน การเขียนบทความแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ลงในหนังสือพิมพ การเขียนวิจารณหนัง ละคร ตัวอยาง นักรองสมัยนี้ เขาทําผลงานเพลงกันงายแคนี้หรือแคทําเพลงมา 2-3 เพลง ติดหู คน สวนอีก 7-8 เพลง ไมสนจะดังหรือไมก็ชาง คุณภาพไมมีเหมือนทําสง ๆ ไปไมใส ใจหรือความรูจักในงานไมเหมือนงานในตางประเทศ เขาทํางานกันจริงจังอยูในหองอัด เปนเดือน ๆ ถึงปก็มีบาง เราทํา 2-3 เดือน ขาย แลวเห็นคนไทยโงเปนควายฟงอะไรก็ได


Page 6 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

แตคนไทยตอไปนี้ ดูแลวคอนขางจะเสพดนตรีมากขึ้น ไมใชใหไอศิลปนหนาดานมา ทํางานเพลงหลอกคนไทยที่ไมเห็นแคความหลอดั่งผี 4 ปาชา รองเพลงบาบอ 5. เพื่อสรางความเพลิดเพลินและจรรโลงใจ เปนการเขียนเพื่อสรางความสุข ความสนุกสนาน สราง ความแชมชื่นอิ่มเอิบใจคลายกังวลใหแกผูอาน เชน การเขียนภาพลอ การตูน นิทาน นิยาย คําสอนของ ผูนําทางศาสนา คําคม สุภาษิตเตือนใจ พระบรมราโชวาท ตัวอยาง ความทุกขเปนสมบัติที่ติดตัวมนุษยทุกคนมาตั้งแตเกิด ทันทีที่คลอดออกมาจาก ครรภมารดา สัญลักษณแหงการมีชีวิตคือการเริ่มตนหายใจเปนครั้งแรกก็มาพรอมกับ เสียงรองไหเสียแลว และนั่นก็คือจุดเริ่มตนของความทุกขทั้งมวล (ปาฏิหาริยแหงการสํานึกรู : 154) 6. เพื่อประเมินคา เปนการเขียนเพื่อแสดงความคิด ความรูสึกตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งวาดีหรือไมดี เหมาะสม หรือไมเหมาะสม ควรหรือไม ควร โดยการเขียนเพื่อประเมินคุณคานั้นตองอาศัยหลักเกณฑมาตรฐาน เหตุผลหรือเหตุการณตาง ๆ มาสนับสนุน ไมควรกลาวอยางลอย ๆ หรือใชอารมณมาประเมินคาเพราะจะทํา ใหงานเขียนนั้นขาดความนาเชื่อถือ ตัวอยาง ยกให เ ป น ความแซบสไตล อี ส านแทรนดี้ ทั้ ง รสชาติ อ าหารอี ส านและการ ตกแตง เมนูสมตําเปนพระเอกของรานที่อยากนําเสนอทั้งตําไทย ตําลาว ตําปูมา ตําปู ปลารา อรอยครบรส รับรองความแซบถึงทรวง (แพรวสุดสัปดาห : 42) 7. จุดมุงหมายหลายประการ บอยครั้งที่ผูเขียนใชจุดมุงหมายหลายประการในงานเขียนชิ้นหนึ่ง เชน บทความเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว ในเบื้องตนผูเขียนอาจเขียนใหความรูเกี่ยวกับแหลงทองเที่ยวนั้น ๆ วามี ความเปนมาอยางไร การเดินทาง หรือแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ ๆ จากนั้นผูเขียนอาจแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสถานการณการทองเที่ยวที่กําลังเปนอยูในขณะนั้น และจบลงดวยการโนมนาวเชิญชวนใหทองเที่ยว ในสถานที่ที่ตนไดใหความรูในตอนตน


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 7 of 46

รูปแบบ/ประเภทของการเขียน การเขียนสามารถแบงไดเปนหลายประเภท ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเกณฑที่แตกตางกัน ดังนี้ 1. แบงตามเนื้อหา 1.1 เรื่องที่แตงจากจินตนาการ เนนใหความบันเทิงเปนหลัก หรือบางครั้งเรียก บันเทิงคดี เชน เรื่องสั้น นวนิยาย 1.2 เรื่องไมไดแตงจากจินตนาการ เนนเนื้อหาสาระหรือขอเท็จจริงเปนหลัก หรือเรียกอีกอยาง หนึ่งวา สารคดี 2. แบงตามลักษณะของคําประพันธ 2.1 รอยแกว 2.2 รอยกรอง 3. แบงตามแบบแผนของการเขียน 3.1 การเขียนที่เปนแบบแผน เชน การเขียนเอกสารทางราชการ บทความ รายงานการประชุม เรียงความ 3.2 การเขียนกึ่งแบบแผน เชน คํากลาวแสดงความรูสึกในโอกาสตาง ๆ สุนทรพจน 3.3 การเขียนที่ไมเปนแบบแผน เชน เรื่องสั้น นวนิยาย บทละคร สารคดี บันทึกสวนตัว 4. แบงตามวัตถุประสงค 4.1 การเขี ย นที่ เป นงานทางวิ ช าการ เชน วิท ยานิพ นธ ตํา รา รายงานทางวิช าการ บทความ ทางวิชาการ 4.2 การเขียนที่เปนงานศิลปะ ไดแก การเขียนบันเทิงคดี การเขียนสารคดี 5. แบงตามลักษณะของการสรางสรรค 5.1 การเขียนที่เปนศิลปะบริสุทธิ์ เปนงานเขียนที่ไมไดมีวัตถุประสงคเพื่อการคาตั้งแตแรก เชน งานเขียนรอยกรองหรือรอยแกวที่เขียนจากความสะเทือนใจบางเรื่อง 5.2 การเขียนที่เปนพาณิชยศิลป มีวัตถุประสงคตั้งแตเริ่มแรกเพื่อการคา เชน การเขียนคําโฆษณา บทละครโทรทัศน บทภาพยนตร


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 8 of 46

ลักษณะของผูเขียนที่ดี 1. มีเจตคติที่ดีตองานเขียนทุกชนิด 2. มีความเชื่อมั่นในความรูความสามารถของตน 3. เปนผูมีประสบการณในชีวิตสูง ใฝหาความรู หาประสบการณ 4. มีอารมณมั่นคงละเมียดละไม 5. มีความสามารถในการใชภาษาไดดี 6. เปนผูมองโลกในแงดีและมีคุณธรรม 7. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค 8. มีความพรอมและความตองการที่จะเขียน 9. อานหนังสือเปน 10. มีนิสัยชอบคนควาหาความรูอยูเสมอ 11. เปนผูมีความสังเกต จดจําดี 12. เปนคนชางคิด 13. มีความรูทางดานจิตวิทยาเปนอยางดี 14. มีความขยันหมั่นเพียรในการเขียนอยูเสมอ ลักษณะของงานเขียนที่ดี งานเขียนที่ดี หมายถึง งานเขียนที่สามารถสื่อความหมายไดตรงตามวัตถุประสงคของผูเขียน และ ประกอบดวยภาษาที่สวยงาม งานเขียนที่ดีมีลักษณะดังนี้ 1. สื่อความหมายไดชัดเจน หมายถึง เมื่อผูอานอานแลวสามารถเขาใจความหมายไดอยางแจมแจง เขาใจความหมายไดทันที ไมสับสน ประโยคไมเยิ่นเยอ ผูอานไมตองใชเวลาทําความเขาใจมากหรือตอง อานซ้ําหลาย ๆ รอบเพื่อใหเขาใจเนื้อหา 2. ถูกตอง ผูเขียนเขียนขอมูลไดตรงตามความเปนจริง เสนออยางตรงไปตรงมา ไมดัดแปลงขอมูล ไมเสนอขอมูลที่หลอกลวงมอมเมาผูอานอันจะกอใหเกิดความสงสัยและผลรายตาง ๆ ตามมา นอกจาก ขอมูลที่ถูกตองกาละเทศและระดับภาษาที่ใชในการนําเสนอตองถูกตองดวย


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 9 of 46

3. ไพเราะงดงาม งานเขียนที่ดีควรมีการเลือกใชภาษาที่ดี สละสลวย มีการเลือกใชคําอยางปราณีต เลือกใชประโยคที่หลากหลายเพื่อหลีกเลี่ยงความนาเบื่อ อาจมีการใชภาพพจนตาง ๆ ใหงานนาสนใจและมี สีสันมากขึ้น รวมไปถึงเลือกใชคําใหเหมาะสมกับเนื้อหาที่นําเสนอ และเหมาะสมกับกลุมผูอาน 4. กวางขวาง งานเขียนที่ดีควรใหประโยชน กระตุนความคิด ใหความรู หรือสรางจินตนาการอยาง ใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยางแกผูอาน มิใชเปนงานเขียนที่ไรประโยชน เมื่อผูอานอานแลวไมไดสิ่งใด เพิ่มเติมมากขึ้นกวากอนอาน สิ่งที่ตองใชเพื่อการเขียน 1. ความรูและประสบการณ ความรูและประสบการณของแตละบุคคลยอมไมเทากันแตสามารถเพิ่มพูนใหมากขึ้นไดดวยวิธีตาง ๆ คือ อาจหาไดจากการอาน การฟง การดู การพูดคุยเสวนากับผูรู การสังเกต หรือการลองทําดวยตนเอง เปนตน สิ่งเหลานี้ตองทําอยูอยางเสมอเปรียบเหมือนเปนการเก็บเขาคลังตุนไว เมื่อคิดอยากจะเขียนเมื่อใดก็ สามารถหยิบ เรื่ องราวหรื อประเด็ น ต า ง ๆ มาเขีย นไดใ นเบื้องตน แตหากขอมูล ที่เคยเก็บ หรือจํา ไวไ ม เพียงพอ หรือไมทันสมัยก็สามารถปรับเปลี่ยนได แตอยางนอยก็งายขึ้นเพราะมีความรูและประสบการณ เปนตนทุนเดิม 2. ขอมูลเกี่ยวกับผูอาน ในการเขียนแตละครั้งหากตั้งเปาหมายและรูวาผูอานของเราเปนใคร เปนเด็ก ผูใหญ หรือวัยรุน นักธุรกิจ หรือชาวบานทั่วไป ฯลฯ ก็จะทําใหสามารถเลือกใชภาษา เลือกรูปแบบไดอยางเหมาะสม เลือก เนื้อหาที่อยูในความสนใจของกลุมคนตาง ๆ ไดงายขึ้น เพราะบางครั้งการเขียนอาจมีเปาหมายเดียวกัน เชน ตองการโนมนาวใหทุกคนตระหนักถึงภาวะโลกรอน เมื่อทราบวาผูอานเปนเด็กก็จะทําใหผูเขียนเลือกไดวา ควรจะใชรูปแบบนิทานเพื่อใหเขาถึงเด็กไดงาย ใชภาษาไมสลับซับซอน และเนื้อหาก็จะหยิบยกมาจากเรื่อง ใกลตัวเด็ก เปนเรื่องเหตุการณในโรงเรียน ในบาน เรื่องระหวางเพื่อน เปนตน ซึ่งจะทําใหงานเขียนของ เราประสบความสําเร็จ ดังนั้นในการเขียนควรมีการวิเคราะหผูอานดวยวาเปนบุคคลกลุมใด 3. แบบอยางงานเขียน การมี แบบอย า งการเขี ย นถื อเป นสิ่ง จํา เปน สํา หรับ ผูเ ริ่ม ตนเขีย น แบบอย า งงานเขี ย นควรมีทั้ ง แบบอยางงานเขียนที่ดีและไมดี การดูแบบอยางที่ดี เพราะผูเริ่มตนเขียนอาจยังไมทราบแนวทางการเขียน ของตนเองวาควรจะเขียนอยางไร เริ่มตนดวยวิธีไหน ดังนั้นการมีแบบอยางก็จะสรางแนวทางการเขียนและ


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 10 of 46

สรางความมั่นใจในการเขียนไดในระดับหนึ่ง แตทั้งนี้ไมควรจะยึดถือหรือดูตัวอยางตลอดเวลา เมื่อเริ่มตน เขียนไดหรือเริ่มเกิดความชํานาญในการเขียนควรที่จะสรางสรรคงานเขียนดวยตนเองเพื่อสรางลักษณะ เฉพาะงานเขียนของตน ในขณะที่แบบอยางที่ไมดีก็ควรศึกษาไวเพื่อหลีก เลี่ยงไมเขียนงานในลัก ษณะ ดังกลาว ซึ่งจัดเปนการพัฒนางานเขียนของตนใหดีขึ้นทางหนึ่ง 4. เวลา การเขียนเปนการสื่อสารที่ตองใชเวลา เริ่มตั้งแตการเริ่มคิด ลงมือเขียน และการขัดเกลา หาก ผูเขียนไมมีความกดดันในเรื่องของเวลาก็มักจะทําใหเขียนออกมาไดดี อยางไรก็ตามหลายครั้งการเขียนก็มี เวลาเขามาเกี่ยวของ เชน การเขียนตอบขอสอบ การเขียนแบบฝกหัดในหองเรียน หรือการเขียนบทความ ลงในนิตยสารหรือหนังสือพิมพของนักเขียนอาชีพ เหลานี้ลวนมีขอจํากัดทางดานเวลา ดังนั้นเพื่อลดความ กดดัน ผูเขียนควรบริหารและแบงเวลาในการเขียนใหเหมาะสม โดยแบงเวลาสําหรับการทบทวนขัดเกลา ดวยเพื่อใหงานเขียนมีความถูกตองสมบูรณยิ่งขึ้น หากมีเวลาในการเขียนมากอาจเขียนแลวทิ้งไว 1-2 วัน แลวจึงกลับมาอานทบทวนใหมเพื่อตรวจแก 5. ความมานะ พยายาม การเขียนเปนทักษะที่จะตองฝกฝนใหเกิดความชํานาญ และตองใชเวลาในการพัฒนาเพื่อใหการ เขียนดี มีประสิทธิภาพ ดังนั้นผูเขียนจึงตองมีความอดทน มานะ พยายามเพื่อใหงานเขียนดีขึ้น หลายครั้ง เราอาจเคยไดยินประสบการณของนักเขียนที่มีชื่อเสียงหลายทานเลาใหฟงวา กวาจะเขียนหนังสือเลมนี้จบ ใชเวลาเปนป หรือบางคนอาจใชเวลาหลายป และระหวางที่เขียนก็หมดกระดาษไปมาก คือ เขียนแลวไมดี ก็ขยําทิ้ง เขียนใหม ประสบการณเหลานี้ลวนแสดงใหเห็นวาการจะเขียนตองใชความอดทน และพยายาม อยางมาก 6. คุณธรรม การเขียนเปนการถายทอดสารออกไปยังผูอื่น โดยผูรับสารอาจจะเปนคนเดียว กลุมคนเล็ก ๆ หรือ มวลชนก็ตาม แตสิ่งที่ผูเขียนตองระลึกไวเสมอคือตองมีคุณธรรมในการเขียน ไมวาจะเปนการใหขอมูลตาง ๆ ก็ ต อ งเป น ข อ มู ล ที่ ถู ก ต อ ง งานเขี ย นต อ งไม ส ร า งความแตกแยก หรื อ สร า งความเสี ย หายแก ผู อื่ น นอกจากนี้ ใ นกรณี ที่ มี ก ารนํ า ข อ มู ล มาจากที่ อื่น หรื อ คั ด ลอกข อ มู ล มากจากที่ ใ ด ผู เ ขี ย นจะต อ งอ า งอิ ง แหลงที่มาของขอมูลนั้น ๆ ดวยเพื่อไมเปนการละเมินทรัพยสินทางปญญาและกระทําผิดกฎหมาย


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 11 of 46

7. ความรับผิดชอบ แมงานเขียนที่ผูเขียนเขียนออกมาแลวจะเปนสมบัติของสาธารณชน แตในขณะเดียวกันผูเขียนก็ หลีกเลี่ยงความรับผิดชอบที่มีตองานนั้น ๆ ไมไดหากเกิดกรณีที่ไปพาดพิงหรือสรางความเสียหายแกผูอื่น ดังนั้นผูเขียนจึงจะตองพรอมรับกับสิ่งตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากงานเขียนของตน ซึ่งวิธีแกไขในเบื้องตนคือ การยึดหลักขอ 6 ความถูกตอง 8. ใจกวาง ดังที่กลาวแลวในขอ 7 วา งานเขียนเมื่อออกเผยแพรแลวยอมตกเปนสาธารณสมบัติ ดังนั้นผูเขียน เองตองมีใจกวางพอพรอมที่จะรับคําวิพากษวิจารณ ทวงติงจากผูอื่น ซึ่งหากผูเขียนสามารถทําใจยอมรับได และนําขอแนะนําตาง ๆ เหลานั้นมาคิด มาปรับปรุงงานเขียนของตนก็จะเปนการชวยพัฒนาใหงานเขียนมี คุณภาพยิ่งขึ้น ขั้นตอนในการเขียน หลายคนเมื่อคิดจะเขียน หรือไดรับคําสั่งใหเขียนก็เขียนทันที ซึ่งจริง ๆ แลวการเขียนที่ดีและจะ ชวยใหงานมีคุณภาพจะตองปฏิบัติตามลําดับขั้นตอน ซึ่งพอสรุปอยางกวาง ๆ ไดดังนี้ 1. กอนการเขียน ขั้นตอนกอนการเขียนเปนขั้นที่งายที่สุด เรียกไดวาเปนขั้นเตรียมตัวเตรียมใจ ใหพรอมสําหรับที่จะ ลงมือเขียน โดยเฉพาะในกรณีที่ไมไดคิดอยากจะเขียนขึ้นเอง แตเปนการเขียน เพราะคําสั่งหรือหนาที่ ใน ขั้นนี้ก็จะเปนชวงที่ชวยปรับอารมณใหอยากเขียนมากขึ้น โดยสิ่งที่ตองทําในขั้นตอนนี้ มีดังนี้ 1.1 เตรียมตัว หมายถึง การเตรียมความพรอมของรางกาย ไมใหงวงนอน หิวขาว หรือมีอาการ เจ็บปวยตาง ๆ ฯลฯ เพราะสิ่งเหลานี้จะเปนอุปสรรคสําคัญทําใหคิดงานไมออก และมีสมาธิไมพอที่จะลง มือเขียนได นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการเตรียมอุปกรณตาง ๆ ใหพรอมสําหรับการเขียน ไมวาจะเปน ดินสอ ปากกา ยางลบ กระดาษ หนังสือขอมูลตาง ๆ ที่ตองใช เพื่อไมใหเกิดการติดขัดระหวางการเขียนที่จะตอง ลุกหาอุปกรณนั้นทีนี้ที ซึ่งจะทําใหการเขียนไมตอเนื่องและตองมานั่งเริ่มตนใหม และการเลือกอุปกรณ เครื่องเขียนตาง ๆ ตามที่ชอบก็ยังมีผลทางจิตใจที่ทําใหเกิดความรูสึกอยากเขียนอยากใชไดอีกดวย 1.2 เตรียมใจ หมายถึง การทําใจใหพรอม ไมกังวลตอสิ่งตาง ๆ หลายคนเมื่อจะลงมือเขียนมัก เกิดความกังวล ไมรูจะเขียนอะไร จะเริ่มตนอยางไร เวลาจะทันหรือไม วิธีแกไขคือหาขอมูลไวใหพรอม หรือหาตัวอยางงานเขียนไวเปนแบบอยาง แลวลงมือเขียนโดยเบื้องตนอาจไมตองคําถึงความถูกตองหรือ ความสละสลวยของภาษา แตใหเขียนความคิดของตนออกมาใหไดกอนแลวจึงคอยปรับปรุงเรื่องภาษาอีก ครั้งหนึ่ง


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 12 of 46

2. ลงมือการเขียน ในขั้นตอนนี้ถือเปนขั้นตอนสําคัญเพราะตองถายทอดเนื้อหาที่ตองการแปลออกมา เปนตัวหนังสือ จําเปนตองใชเวลาและสมาธิคอนขางมาก ในขั้นที่ตองลงมือเขียนมีสิ่งที่ตองทําคือ 2.1 ตั้งวัตถุประสงคในการเขียน 2.2 วิเคราะหผูรับสาร 2.3 เลือกเรื่องที่จะเขียน วิธีการเลือกเรื่องที่จะเขียนมีหลักกวาง ๆ ดังนี้ 1. เลือกเรื่องที่ผูเขียนมีความรูความสามารถ 2. เลือกเรื่องที่นาสนใจและแปลกใหม ตามความสนใจของผูเขียนหรือผูอาน 3. เลือกเรื่องที่สามารถคนขอมูลได และมีขอมูลมากพอ 4. เลือกหัวขอที่ไมกวางหรือแคบเกินไป เชน คานิยมในสังคมไทย ควรเปน คานิยมเกี่ยวกับ การบริโภคอาหารฟาสตฟูดสในประเทศไทย 5. เลือกหัวขอที่มีลักษณะทาทาย เพื่อชวนใหติดตามอาน 6. เลือกเรื่องใหเหมาะสมกับเวลาที่มี 2.4 เลือกรูปแบบงานเขียนใหเหมาะกับเนื้อหาและผูอาน 2.5 วางโครงเรื่อง 2.6 หาขอมูล เตรียมขอมูลอาจทําไดหลายวิธี เชน การพูดคุยกับบุคคลอื่น การอานหนังสือ การ สัมภาษณ หรือการออกสํารวจ เปนตน (ขั้นตอนนี้อาจทํากอนการวางโครงเรื่องก็ได) 2.7 เขียนเรื่องตามโครงเรื่องที่วางไว 3. ทบทวนงานเขียน ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนสุดทายที่จะตรวจสอบความถูกตองสมบูรณของงานเขียน และจัดเปนอีกขั้นตอนหนึ่งที่จําเปนเพื่อปองกันไมใหเกิดความผิดพลาดหรือใหเกิดความผิดพลาดนอยที่สุด ในงานเขียน เชน ความผิดพลาดดานการสะกดคํา การเขียนขอความซ้ํา หรือเนื้อหาขาดหายไปบางสวน เปนตน ------------------------เอกสารอางอิง กิติพงษ ศรีนันทลักษณ. (2551). ตํานานสุดทายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. แพรวสุดสัปดาห ฉบับวันที่ 1 เมษายน 2553 วุฒิพงศ ถายะพิงศ. (2552). ปาฏิหาริยแหงการสํานึกรูคุณ. กรุงเทพฯ : อมรินทรธรรมะ.


Page 13 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

การพัฒนาการเขียน การจะทําใหงานเขียนสามารถสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ สื่อความไดชัดเจนตรงตามความ ตองการของผูเขียน ทําใหงานเขียนมีความนาสนใจ และมีเสนหนั้น มีปจจัยเริ่มตั้งแตการเลือกใชคํา การผูก ประโยค และความเหมาะสมของระดับภาษา ซึ่งจะกลาวถึงรายละเอียดตอไป การใชคํา คํา พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2542 ไดใหความหมายของคําไววา “คํา น. เสียงพูด หรือ ลายลั ก ษณ อั ก ษรที่ เ ขี ย นหรื อ พิ ม พ ขึ้ น เพื่ อ แสดงความคิ ด โดยปกติ ถื อ ว า เป น หน ว ยที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ซึ่ ง มี ความหมายในตัว , ใชประกอบคําอื่น มีความหมาย เชน คํานาม คํากริยา คําบุพบท ฯลฯ” การใชคําเปนทั้งศาสตรและศิลป กลาวคือ มีระเบียบ กฎเกณฑการใชคํากําหนดไวเปนแบบแผน แลว แตในขณะเดียวกันการเลือกสรรคํามาเรียบเรียงเปนขอเขียนเพื่อแสดงเจตนา อารมณ และความรูสึก นั้น จะมีเสนหหรืองดงาม ไพเราะเพียงใดนั้นยอมขึ้นอยูกับการเลือกสรรคําของผูเขียน ภาษาไทยเปนภาษา ที่รุมรวยถอยคําและความ ยิ่งผูเขียนมีคลังคําเก็บไวมากเทาใด ก็ยอมจะทําใหมีโอกาสเลือกเฟนถอยคําได มากขึ้นเทานั้น (บงกช สิงหกุล, 2546 : 20) การเลือกใชคําในการเขียนควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ 1. สะกดคําใหถูกตอง การสะกดคําถูกตองถือเปนเสนหและเปนการแสดงลักษณะของผูใชภาษาได ประการหนึ่ง คือ แสดงใหเห็นวาผูเขียนนั้นเปนผูมีความรอบรูในเรื่องการใชคํา เปนผูมีความรอบคอบและ ใสใจกับงานเขียนของตน แมการสะกดคําผิดบางครั้งอาจจะไมกระทบตอความหมายหรือเนื้อหาโดยรวม ของเรื่อง เพราะมีบริบทในประโยคชวยใหเขาใจความหมายได แตนั่นก็ยอมแสดงใหเห็นเปนขอบกพรอง ของผูเขียนและสรางความรําคาญแกผูอาน (ที่มีความรู) ไดไมนอย ดังนั้นเมื่อเขียนจึงจําเปนตองสะกดคําให ถูกตอง โดยเฉพาะคํายากที่อาจเกิดความสับสนเนื่องจากไมคอยไดใช ใชแนวเทียบในการเขียนคําผิด หรือ ออกเสียงผิด เปนตน วิธีแกไขคือการตรวจสอบจากพจนานุกรม หรือดูแนบเทียบจากประกาศของทาง ราชการ

ราชกิจจานุเบกษา หรือแถลงการณคณะสงค เพื่อตรวจสอบความถูกตองอีกครั้งหนึ่ง

ตัวอยางคําที่มักสะกดผิด เชน เลือกสรรค บุคคลากร

คําที่ถูกคือ

เลือกสรร บุคลากร


Page 14 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

ลายเซ็นต

ลายเซ็น

ดํารงค (เทียบผิดกับคําวา องค)

ดํารง

อนุญาติ (เทียบผิดกับคํา ญาติพี่นอง)

อนุญาต

ไอศครีม (ออกเสียงผิด)

ไอศกรีม

2. ใชคําใหถูกความหมาย การเขียนตองคํานึงถึงความหมายดวยทั้งนี้เพราะ 2.1 คําบางคํามีลักษณะเปนคําพองเสียง เมื่อจะนําคํามาใชผูเขียนจะตองทราบความหมายของคํากอนจึงจะสื่อความไดถูกตอง เชน

เขาสรางบานดวยปูนตรานกอินทรีย ผิด ตองใช อินทรี อินทรีย

แปลวา

รางกาย สิ่งมีชีวิต

อินทรี

ชื่อนกขนาดใหญชนิดหนึ่ง

ซึมซาบ

เอิบอาบเขาไปทั่วถึง, ซึมเขาไป

ซึมทราบ

รูละเอียด

กช

ดอกบัว (มาจากคําวา บงกช)

กฎ

ขอกําหนด, บัญญัติ, จดไวเปนหลักฐาน

กฏ

ใชรวมกับคําวา ปรา- เปนปรากฏ

ขอน

ทุบ, ตี

คอน

เกือบเต็ม, ทอน, ตัด, แสรงวาใหเจ็บใจ

ปฏิมากรรม

งานปนพระพุทธรูป

ประติมากรรม

งานปนและแกะสลัก


Page 15 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

2.2

คําบางคําความหมายใกลเคียงกัน เมื่อจะนํามาใชตองทําความเขาใจความหมายของคํา

ดังกลาวกอนเพื่อจะไดเลือกคําที่ตรงกับความตองการ เชน “จุกจิก” กับ “จุบจิบ” จุกจิก

หมายถึง

จุบจิบ

หมายถึง

“สอดสาย” กับ “สอดสอง” สอดสาย

หมายถึง

กวาดสายตามอง

สอดสอง

หมายถึง

ตรวจดูทั่ว ๆ ไป, เอาใจใสดูแล

“สืบสวน” กับ “สอบสวน”

2.3

สืบสวน

หมายถึง

เสาะหา ทบทวนไปมา

สอบสวน

หมายถึง

ไลเลียง เพื่อเอาความจริง

เคลือบคลุม

หมายถึง

ไมแจม ไมกระจาง ไมชัด

เคลือบแคลง

หมายถึง

สงสัย แคลงใจ ระแวง

เคลือบแฝง

หมายถึง

แสดงความจริงไมกระจาง ใหเปนที่สงสัย

คําบางคํามีความหมายโดยนัย เมื่อจะใชคําที่มีความหมายโดยนัยตองศึกษาความหมาย

และพิจารณาดูวาสามารถใชเปนความหมายโดยนัยไดหรือไม เชน เด็กคนนั้นกินสมุดเพื่อน 3 เลม

ใชไมได

การกอสรางตึกหลังนี้มีการกินปูนกินทรายกันอยางมโหราฬ ลูกถูกพอแมซักฟอก

ใชไมได

รัฐมนตรีหลายคนถูกซักฟอก

ใชได

ใชได


Page 16 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

3. ใชคําใหถูกหลักไวยากรณ 3.1 ใชคําลักษณนามใหถูกตอง - ใชหลังจํานวนนับ เชน ไมขีดไฟ 3 กลัก

กบไสไม 7 ราง

พร 4 ประการ

ไหม 5 ใจ

- ใชตามหลังนามเมื่อตองการเนนขอความนั้น เชน งาชางกิ่งนี้ คําประพันธบทนี้ รถคนนี้ ปนโตเถานี้ 3.2 ใชบุพบทใหถูกตองตรงตามความหมายที่ตองการ คําบุพบทที่มักใชกับสับสน คือ กับ แก แด ตอ กับ -

แสดงอาการกระชับ

เชน

เห็นกับตา

-

แสดงอาการรวม

เชน

พอไปกับลูก

-

แสดงอาการเทียบกัน เชน

ขาวตางกับดํา

-

แสดงระดับ

เชน

เหนือตรงกับใต

แก ใชนําหนาคําที่เปนฝายรับอาการ -

รับอาการให

เชน

ใหรางวัลแกนักเรียน

-

รับอาการกระทํา

เชน

สงเคราะหแก... ประทุษรายแก...

-

แสดงอาการรับกัน

เชน

สมแก เหมาะแก ควรแก

เชน

ถึงแกกรรม มีแกใจ

- รับอาการเปนไป -

รับอาการเล็งถึง เชน

-

แสดงอาการไขความ เชน

แด ใชแทนคําวาแกในที่เคารพ

เห็นแกชาติ เห็นแกตัว ไดแก (คือ)

เชน

ถวายแด

จาก

เชน

มาแตบาน

ตั้งแต

เชน

การเขียนหนังสือตองคักลายมือไปแตแรก

เพียงเฉพาะ

เชน

กินแตขนม แตละอยาง

แต มีความหมายทํานองวา


Page 17 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

ตอ - นําหนาคําแสดงความเดี่ยวเนื่องกัน

เชน ยื่นตอเจาหนาที่ มีไมตรีตอกัน

-

เฉพาะ

เชน

สองตอสอง ศึกษาธรรมตอทานผูรู

-

เฉพาะหนา

เชน

เสนอเรื่องตอที่ประชุม

-

เทียบจํานวน

เชน

หาตอหนึ่ง

-

ถึง

เชน

ตอปหนาจึงจะกลับ

-

ถัด

เชน

ลูกเสือเดินตอทหาร

-

ขืน

เชน

ขัดตออํานาจ

3.3 ใชอาการนามใหถูกตอง อาการนาม คือ คํานามที่ไดจากการเติมคําวา การ ความ เขาขางหนาคํากริยา หรือคําวิเศษณ โดยใหยึดหลักวา การ

ใหนําหนาคํากริยา เชน การกิน การเดิน การนอน

ความ ใหนําหนาคํากริยาที่มีความหมายเกี่ยวเนื่องกับอารมณและคําวิเศษณ เชน ความ ตองการ ความรัก ความฝน ความดี ความงาม ความยาว 4. ใชคําใหเหมาะสม 4.1

ใชคําใหเหมาะสมตามสมัยนิยม บางคําใชในสมัยหนึ่งแตเมื่อกาลเวลาผานไปความนิยมที่

มีตอการใชคํานั้นก็นอยลง เชน โลกานุวัตน

4.2

ใชคําวา

โลกาภิวัตน

คนแก

ผูสูงอายุ

แหลงเสื่อมโทรม,สลัม

ชุมชนแออัด

ใชคําใหเหมาะกับกาลเทศะ ผูสงสารจะตองรูวาในโอกาสและสถานที่อยางนั้นควรใชคํา

อยางไร เชนในโอกาสที่เปนทางการ ภาษาตองเปนแบบแผน สุภาพเรียบรอย ซึ่งอาจนําคําราชาศัพทหรือ คําสุภาพมาใช ถาเปนโอกาสกึ่งทางการ ภาษาอาจไมเครงครัดเหมือนแบบทางการแตก็ไมถึงกับปลอยปละ


Page 18 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

ละเลย ยังตองคํานึงถึงความถูกตองและสุภาพอยู สวนโอกาสที่ไมเปนทางการ การใชภาษาอาจไมตอง พิถีพิถันมากนัก ขอเพียงสื่อความกันไดและแสดงถึงความเปนกันเอง เชน

4.3

อยาใสรองเทาขึ้นบนตึกเรียน

กึ่งทางการ

หามสวมรองเทาขึ้นบนอาคารเรียน

ทางการ

เขาดื่มเหลา

กึ่งทางการ

เขาดื่มสุรา

ทางการ

ใชคําใหเหมาะกับบุคคล ภาษาไทยมีคําหลายระดับ เชน คําราชาศัพท คําสุภาพ ภาษา

ปาก คําสแลง ฯลฯ ดังนั้นในการใชคําจึงควรคํานึงถึงฐานะของแตละบุคคลดวย เชน ฉันมอบของแกพระภิกษุ

ไมถูกตอง

ฉันถวายของแดพระภิกษุ พระสงฆปวย

ไมถูกตอง

พระสงฆอาพาธ ฉันจะบอกอาจารยเอง

ไมถูกตอง

ฉันจะเรียนใหอาจารยทราบ หรือ ฉันจะเรียนใหอาจารยทราบดวยตนเอง 4.4

ใชคําใหเหมาะสมกับขอความ คําที่มีความหมายเหมือนกันอาจจะใชไมเหมือนกัน คือ คํา

บางคําอาจเหมาะกับขอความหนึ่ง แตอาจไมเหมาะกับอีกขอความหนึ่ง เชน ฉันเทาเจ็บ เลยเลนฟุตบอลไมได แมวตัวนั้นตีนเจ็บ เลยจับหนูไมได เขาถูกเชิญใหไปสถานีตํารวจ เขาไดรับเชิญใหไปงานเลี้ยง สุนัขที่บานของฉันคลอดลูกเมื่อวานนี้

ใชคําไมถูกตอง

สุนัขที่บานของฉันออกลูกเมื่อวานนี้

ใชคําถูกตอง

หาโจรบุกปลนธนาคาร

ใชคําไมถูกตอง

โจร 5 คนปลนธนาคาร

ใชคําถูกตอง


Page 19 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

5. ใชคําระดับเดียวกัน โดยปกติเมื่อเขียนขอความใดจะตองคํานึงถึงศักดิ์ของคําดวยเพื่อใหเกิดความ ไพเราะและเมื่ออานแลวก็ไมรูสึกติดขัด แมวาคํานั้นอาจมีความหมายเหมือนกัน แตเมื่อเลือกใชคําใดแลวก็ ควรใหเปนระดับเดียวกัน เชน คืนนี้พอจะไปประชุมกับลูกคาแตคุณแมจะกลับมาทานขาวเย็นที่บานกับลูก ควรใช พอ คูกับ แม หรือ คุณพอ คูกับ คุณแม แม บุ รุ ษ จะมี ค วามเข ม แข็ ง ทางร า งกายมากกว า ผู ห ญิ ง แต ผู ห ญิ ง ก็ มี จิ ต ใจที่ แข็งแกรงไมแพบุรุษ ควรใช บุรุษ คูกับ สตรี หรือ ผูชาย คูกับ ผูหญิง 6. ใชคําเพิ่มความสละสลวย 6.1

ใชคําที่รูจักกันโดยทั่วไป ไมควรใชคําที่คิดขึ้นใหมหรือคําที่เขาใจกันเฉพาะในกลุม เชน

ภาษาสแลง คําพนสมัย คํายอ คําตัด ศัพทบัญญัติ ภาษาถิ่น เปนตน และไมใชคําภาษาตางประเทศโดยไม จําเปน เชน ภาพยนตรเรื่องนี้เห็นทีจะถูกแบน

ใชภาษาอังกฤษ

ภาพยนตรเรื่องนี้เห็นทีจะถูกหามฉาย

ชัดเจนขึ้น

หลังทําวิทยานิพนธเสร็จก็จะมีการสอบออรัล

ใชภาษาอังกฤษ

หลังทําวิทยานิพนธเสร็จก็จะมีการสอบปากเปลา ชัดเจนขึ้น คณิตกรเครื่องนี้เสียอีกแลว เพิ่งซอมมาแท ๆ

ใชศัพทบัญญัติ

คอมพิวเตอรเครื่องนี้เสียอีกแลว เพิ่งซอมมาแท ๆ ชัดเจนขึ้น ตําสมรานนี้อรอยที่สุด

ใชภาษาถิ่น

สมตํารานนี้อรอยที่สุด

ชัดเจนขึ้น


Page 20 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

6.2 ใชคําที่สรางภาพพจน เพื่อใหผูรับสารเห็นภาพชัดเจนโดยไมตองอธิบาย เชน คําแสดงอาการ - กระฉับกระเฉง เขยื้อน สั่นระริก ยอง ตะกาย คําแสดงเสียง -

สวบสาบ ฉึก กังวาน โครมคราม เปรี้ยง

คําแสดงลักษณะ - กลมเกลี้ยง สูงโปรง ล่ําสัน โยเย บูบี้ คําแสดงอารมณและความรูสึก -

ฉุนเฉียว งุนงาน ขยะแขยง เคลิบเคลิ้ม

6.3 ใชคําที่แจมแจง ไมกอใหความสงสัย เชน ตาเขาเจ็บ มีการแสดงตนไมตาง ๆ ที่มีชื่ออยูในวรรณคดี เธอมีทองกับผม เธอไมยอมตัดผมออก การผูกประโยค การนําถอยคํามาเรียงไวอยางถูกตองตามโครงสรางของประโยคเมื่ออานแลวไดใจความสมบูรณ ประกอบดวยภาคประธาน และภาคแสดง การเรียบเรียงคําหรือการผูกประโยค มีหลักดังนี้ 1. ความถูกตองชัดเจนของประโยค คือ การเรียงคําใหถูกตองตามหลักไวยากรณภาษาไทย ทําได ดังนี้ 1.1

เรียงคําใหถูกที่ คือ การวางประธาน กริยา กรรม ใหตรงตามตําแหนงทางไวยากรณ

(ประธาน กริยา กรรม) เชน

1.2

ถนนน้ําทวมหนาบานฉัน

น้ําทวมถนนหนาบานฉัน

สวยมากปนี้นางสาวไทย

ปนี้นางสาวไทยสวยมาก

ขยายความใหถูกที่ คือ การนําคําที่ตองการขยายมาวางใหถูกที่ มิฉะนั้นจะทําให

ความหมายไมชัดเจน หรือสื่อความไดไมตรงตามที่ตองการ เชน ผูมีเมตตาจิตใหทุนชวยเหลือนักศึกษามหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่ยากจน


Page 21 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

ผูมีจิตเมตตาใหทุนชวยเหลือนักศึกษาที่ยากจนในมหาวิทยาลัยตาง ๆ เครื่องประดับที่งดงามยอมคูควรกับหญิงงามธรรมดา ธรรมดาเครื่องประดับที่งดงามยอมคูควรกับหญิงงาม 1.3

ใชคําหรือสํานวนตามแบบภาษาไทย ไมเปนประโยคที่เลียนแบบโครงสราง

ภาษาตางประเทศ เชน เขาอยูในชุดสีฟา

เขาใสชุดสีฟา

เขาถูกลงโทษโดยธรรมชาติ

ธรรมชาติลงโทษเขา

นวนิยายเรื่อง “คูกรรม” ถูกแตงโดยทมยันตรี ทมยันตรีแตงนวนิยายเรื่องคูกรรม 1.4 ใชคําใหสิ้นกระแสความ ไมละคําไวในฐานที่เขาใจ เชน รถไฟฟาที่เปดใหบริการแกประชาชนเมื่อเดือนที่แลว รถไฟฟาที่เปดใหบริการแกประชาชนเมื่อเดือนที่แลว ชวยใหการจราจรคลองตัว มากขึ้น สรอยคอเสนนี้ สรอยคอเสนนี้เปนของขวัญที่คุณยายมอบให ไชยพรไมชอบดูหนังสือ ไดแตเที่ยวกับเลนไปวัน ๆ ไมเหมือนพี่ชายของเขา ไชยพรไมชอบดูหนังสือ ไดแตเที่ยวกับเลนไปวัน ๆ ไมเหมือนพี่ชายของเขา วัน ๆ ไมออกไปไหนเลย อานแตหนังสือ 1.5 เวนวรรคตอนใหถูกตอง หลักการเวนวรรคตอน มีดังนี้ 1. เมื่อจบประโยค แลวขึ้นตนประโยคใหม สังเกตโดยดูที่คําเชื่อม 2. เมื่อจบประโยคหลักแลวตามดวยประโยคยอย สังเกตโดยดูจากคําเชื่อม


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 22 of 46

3. เมื่อจบใจความประธานที่เปนกลุมคํา สังเกตโดยดูที่คํากริยา 4. เมื่อเปนภาษาไทยกับภาษาอื่น 5. เมื่อเปนตัวหนังสือกับตัวเลข แมนักการเมืองและนักการทหารจะมีอํานาจปานใดก็ตาม//แตไมอาจที่จะ ยับยั้งความคิดและขอเขียนของนักประพันธเสียได//เพราะนักประพันธมีอิทธิพลอยู เหนือประชาชนสวนใหญ//และอยูใกลชิดกับประชาชนมากกวา หากรัฐบาลชุดใหมยอมปรับเปลี่ยนตามขอเสนอของภาคเอกชน//ปญหา ที่จะตามมาก็คือ//เสียงสะทอนจากนักวิชาการที่หวั่นเกรงวา//คุณภาพของรายการจะ เหมือนกับรายการทั่วไปที่ปรากฏตามสถานีโทรทัศนในปจจุบัน 1.6

สรางประโยคใหมีเอกภาพและสัมพันธภาพ ขอความในประโยคเดียวกันควรจะมี

ความหมายเพียงอยางเดียว หรือหากเปนขอความเดียวกันก็ควรมีความสัมพันธกัน เชน เขาเปนคนจนจึงพยายามแตงตัว เขาเปนคนจนจึงเจียมตัว เขาชอบรองเพลงแตไมชอบทานอาหารเผ็ด เขาชอบรองเพลงแตไมชอบเลนละคร 2. ความกระชับรัดกุมของประโยค คือ การเรียบเรียงประโยคใหสื่อความไดชัดเจน สั้น กระชับ ได ใจความโดยไมใชคําเกินจําเปน สามารถทําไดดวยวิธีการตาง ๆ ดังนี้ 2.1

รวบความใหกระชับ คือ การนําประธานหลาย ๆ คํา ที่มีกริยารวมกันมารวมกัน ดวยคําวา

“ทั้งหมด” “ลวน” “รวมแลว” ฯลฯ เชน เกิด แก เจ็บ ตาย ทั้งหมดนี้เปนสิ่งที่แนนอน นักเรียน นิสิต นักศึกษา ตางก็มีหนาที่ที่ตองเรียนทั้งนั้น บุหรี่ กัญชา ฝน ยาบา ลวนแลวแตเปนยาเสพติดที่ควรหลีกใหหางไกล


Page 23 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

2.2

ลําดับความใหรัดกุม คือ การเรียงสวนขยายไวกอน แลวจึงนําขอความสําคัญไวตอนทาย

เพื่อใหผูอานไดอานจนครบ หรือจบขอความ เชน ศาลตัดสินประหารชีวิต เพราะเขาเปนนักโทษอุจฉกรรจที่มีคดีปลน ฆา ลัก ทรัพย และลักพาตัว เพราะเขาเปนนักโทษอุจฉกรรจที่มีคดี ลักทรัพย ลักพาตัว ปลน และฆา ดังนั้น ศาลจึงตัดสินใหประหารชีวิต 2.3

ไมใชคําฟุมเฟอย จะชวยใหผูรับสารเขาใจประเด็นที่ตองการไดอยางชัดเจน เพราะ

ประโยคไมยาวจนเกินไปจนจําประเด็นไมได เชน เขามีความเสียใจเปนอยางยิ่งที่สอบไลตก ตองเรียนซ้ําชั้น เขาเสียใจเปนอยางยิ่งที่สอบไลตก ตํารวจกําลังเอากระดาษหนังสือพิมพปดศพผูตาย ตํารวจกําลังเอาหนังสือพิมพปดศพ 3. น้ําหนักของประโยค การสรางประโยคโดยการเนนหรือเพิ่มนําหนักประโยค มีวิธีการดังนี้ 3.1 จัดคําใหอยูในที่ซึ่งมีน้ําหนัก หมายถึง หากตองการเนนสิ่งใดก็นําขอความนั้นวางไวในที่ที่มี น้ําหนัก ซึ่งโดยมากจะเรียงไวตนประโยค เชน เกิดระเบิดกลางกรุงนิวยอรก

(เนนกริยา)

ที่สถาบันญี่ปุนมีการประกวดการชงน้ําชา

(เนนสถานที)่

นายกรัฐมนตรีเดินทางไปประชุมที่ประเทศลาว

(เนนประธาน)

3.2 จัดความใหขัดแยงกัน เปนการจัดขอความที่มีน้ําหนักเทา ๆ กันมาเชื่อมโยงกัน เชน ยิ่งรักมากเทาไหร ก็ยิ่งเสียใจมากเทานั้น รักงาย หนายเร็ว มีความรูทวมหัว เอาตัวไมรอด


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 24 of 46

3.3 จัดความใหก้ํากึ่งกัน เปนการผูกประโยคใหเนื้อความในตอนตนและตอนทายมีน้ําหนักเทากัน เชน ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข ยามสุขรวมเสพ ยามทุกขรวมตาน อกหักดีกวารักไมเปน 3.4 ใชคําซ้ํา ๆ กัน จะทําใหขอความมีน้ําหนักมากขึ้น เชน เกิดเปนคน เห็นคนเปนคน นั่นแหละคน จงทําดี จงทําดี และจงทําดี 3.5 ใชคําชักนําใหตอบ เปนการใชคําตั้งคําถามทาทายใหตอบ เชน สิ่งสุดทายในชีวิตมนุษยก็คือความตายมิใชหรือ วันนี้เราจะยอมเปนทาสยาเสพติดตอไปอีกหรือ ระดับภาษา เนื่องจากในสังคมมีกลุมบุคคลระดับตาง ๆ มีโอกาส และสถานที่ในการสื่อสารแตกตางกัน รวม ไปถึงระดับความสนิทสนมคุนเคยที่แตกตางกัน ดังนั้นการเขียนเพื่อการสื่อสาร สิ่งสําคัญที่ตองคํานึงถึงอีก ประการหนึ่งคือ ระดับของภาษา ระดับของภาษา แบงเปน 3 ระดับ คือ ภาษาปาก ภาษาไมเปนทางการ และภาษาทางการ 1. ภาษาปาก ภาษาปากเปนภาษาที่ไมนิยมมาใชเปนภาษาเขียนเพราะถือวาไมสุภาพ แตในปจจุบันมี การนําภาษาปากมาใชในงานเขียนบางประเภท เชน หนังสือพิมพ นิตยสาร หรือการอางอิงในลักษณะการ คัดลอกคําพูด สวนใหญนิยมใชเพื่อใหเกิดบรรยากาศและสถานการณที่สมจริง ไดแก ภาษาถิ่น ภาษา ตลาด ภาษาสแลง ภาษาเฉพาะหมู และภาษาต่ํา ตัวอยางเชน หลังจากเขี่ยบอลเริ่มเกมครึ่งหลังไดไมกี่อึดใจ พลพรรคสิงหบลูก็ตามตีเสมอ เจาถิ่นไดอยางรวดเร็ว เมื่อแฟรงค แมลพารด มิดฟลดทีมชาติอังกฤษ ลากตะลุยเขา ไปกอนตัดสินใจสับไกยิงนอกเขตโทษดวยเทาขวา บอลพุงวาบเสียบตาขายอยางเฉียบ ขาด เปนประตูยิงเสมอ 1-1 ของเชลซี


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 25 of 46

เด็กสาววัย 12 ปที่เกือบจะตกเปนเหยื่อเดนสังคมใหการตอวา เมื่อลิฟตเปด ออกชายวัยรุนดังกลาวไดสวมวิญญาณสัตวนรกหื่นกามตรงเขามาล็อกคอ พยายามฉุก ลากใหออกมาจากลิฟต แตตนพยายามรองใหคนชวย จนคนรายโมโหชกเขาที่ปากจน แตก อยางไรก็ตาม ไดดิ้นรนกัดฟนสูจนพนเงื้อมมือคนราย แลววิ่งหนีพรอมตะโกน ขอความชวยเหลือทําใหคนหลายวิ่งหนีโดยหลบไปทางบันไดหนีไฟ 2. ภาษาไมเปนทางการ หรืออาจเรียกวา ภาษากึ่งทางการหรือกึ่งแบบแผน ภาษาไมเปนทางการเปน ภาษาที่ใชกันโดยทั่วไปในชีวิตประจําวัน เขาใจงาย โดยมากมักนํามาใชในงานเขียนประเภทเรียงความ บทความ สารคดี เพื่อใหเกิดความเปนกันเองไมเครงเครียดจนเกินไป เราสามารถพิจารณาลักษณะของภาษาไมเปนทางการ ไดดังนี้ 1. เปนภาษาสุภาพที่ใชพูดกันในชีวิตประจําวัน 2. เปนคํายอที่ไดรับการยอมรับ 3. เปนสํานวนโวหารที่ไมหยาบคาย 4. เปนภาษาที่ไมเครงครัด ตลกขบขันเพื่อการผอนคลาย 5. เปนรูปประโยคที่ตัดทอนได แตยังคงความหมายที่ชัดเจน ตัวอยางเชน เรารู กั น อยู วา สภาพรถติ ด ทํ า ให เ กิ ด การเผาผลาญน้ํ า มั น โดยไร ป ระโยชน เนื่องจากไมไดระยะทาง ซึ่งเปนความสูญเสียมหาสารแถมยังกอมลภาวะใหกับอากาศ และอารมณสูงยิ่งแตภาครัฐเองที่ทําใหเกิดขึ้น แนนอนในระยะยาวสะพานขามแยกหรื อุโมงคจะทําใหการจราจรคลองตัวขึ้น แตในระยะสั้นไมแนใจหรือวามีการวางแผนที่ รอบคอบแลวในการขุดกอสรางแตละแหงเพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอการจราจรเกิน ความจําเปน ขอโทษนะครับ คุณเคยเห็นประเทศไหน มัยครับ? ที่เคาทักทายกันแบบมี มารยาท การยกมือขึ้นไหวดวยรอยยิ้ม อาจจะมี แตผมคิดวา ประเทศไทยเรานี่แหละ ครับ ที่ใครมา ใครไปก็ตองอยากมาอีก “รอยยิ้ม” ที่เปนเอกลักษณของเมืองไทยมา นาน รอยยิ้มสามารถแกปญหาไดทุกอยาง...


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 26 of 46

3. ภาษาที่เปนทางการ เปนภาษาที่เปนแบบแผนและถูกตองตามหลักไวยากรณ เหมาะในการใชเขียน เอกสารทางวิชาการ ตํารา หนังสือราชการ เราสามารถพิจารณาลักษณะของภาษาที่เปนทางการ ไดดังนี้ 1. เปนคําหรือขอความที่สุภาพหรือเปนศัพทวิชาการ 2. เปนคําเต็ม ไมใชคํายอ โดยเฉพาะคํานําหนานาม ตําแหนง หรือยศ 3. เปนภาษาระดับเดียวกัน และไมใชภาษาสแลงหรือภาษาถิ่นปน 4. ใชสํานวนโวหารที่ไมแสดงอารมณและเปนกลาง 5. เปนรูปประโยคสมบูรณตามหลักไวยากรณ โดยไมตัดทอนใหสั้นลง ตัวอยางเชน ในบรรดาเครื่องดนตรีไทยหนีไมพน เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี และเครื่อง เปา โดยจําแนกตามลักษณะวิธีที่ใชบรรเลง แตเครื่องดนตรีที่จะกลาวถึงในโอกาสนี้ เปนเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด มีชื่อเรียกขานกันมานานวา “จระเข” สมเด็จพระ เจาบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานวาเปนเครื่องดนตรีของชน ชาติ ม อญ ได เ ข า มาสู ส ยามประเทศในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เป น เครื่ อ งดนตรี ที่ มี วิ วั ฒ นาการมาจากพิ ณ นิ ย มใช บ รรเลงเดี่ ย ว ต อ มาได บ รรเลงประสมอยู ใ นวง เครื่องสายและมโหรีตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 2 จนถึงปจจุบัน ภาษาทั้ง 3 ระดับนี้ สามารถนําไปใชสื่อสารไดทั้งการพูดและการเขียน แตสิ่งที่ตองคํานึงถึงคือ 1. เนื้อหา 2. กลุมเปาหมาย 3. โอกาส เวลา และสถานที่ -------------เอกสารอางอิง บงกช สิงหกุล. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนเพื่อการสื่อสาร. สาขาวิชามนุษยศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 2546.


Page 27 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

การเขียนยอหนา (Paragraph) การเขียนยอหนาเปนพื้นฐานของการเขียนในระดับที่สูงขึ้น เชน เรียงความ บทความ สารคดี รวมถึง นวนิยาย และเรื่องสั้น ดังนั้นการจะพัฒนางานเขียนตาง ๆ ใหดีขึ้นควรเริ่มตนจากการฝกเขียนยอ หนาใหมีเอกภาพ ความหมายของยอหนา ยอหนา หรือ อนุเฉท หมายถึง ขอความตอนหนึ่ง ที่เขียนรนเขาไปจากแนวกระดาษดานซาย ประมาณ 5-10 ตัวอักษร เปนขอความซึ่งมีใจความสําคัญเพียงเรื่องเดียว และมีประโยคขยายใจความสําคัญ ใหไดใจความสมบูรณ ดังแผนภาพตอไปนี้ xxxxxxxx…………..ประโยคใจความสําคัญ................... ..................................ประโยคขยายความ…………….… …………………………………………………………… …………………………………………………………… ……………………..

ความสําคัญของยอหนา 1. แตละยอหนาจะบรรจุความคิดสําคัญที่ผูเขียนตองการนําเสนอ และชวยใหผูเขียนลําดับเรื่อง เหตุผลไดอยางตอเนื่องไมสับสน ในขณะที่ผูอานก็สามารถเขาใจเรื่องไดงาย เปนลําดับขั้นตอน มองเห็น เหตุผลไดชัดเจนยิ่งขึ้น 2. ยอหนาชวยใหผูอานมีโอกาสคิดคิดพิจารณาเนื้อหากอนที่จะขึ้นประเด็นใหมในยอหนาตอไป 3. ยอหนาทําใหผูอานไดพักสายตา พักสมอง 4. ยอหนาชวยใหผูอานเห็นความสัมพันธของแตละประโยค เพราะแตละยอหนาจะมีการจํากัด ความคิดเพียงประเด็นเดียว โดยมีประโยคหลักและประโยคขยายความ 5. ยอหนาทําใหเกิดความงาม


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 28 of 46

ความยาวของยอหนา ยอหนาแตละยอหนาจะสั้นยาวเพียงใดไมสําคัญ บางยอหนาอาจมีเพียงประโยคเดียว สองประโยค หรือหลาย ๆ ประโยคก็ได แตที่สําคัญคือ ตองอธิบายความคิดไดอยางชัดเจน แตที่ควรระวังก็คือ ไมควร เขียนยอหนาสั้นหรือยาวจนเกินไป ยอหนาที่สั้นเกินไปไมควรมีบอยเพราะจะทําใหขาดความสําคัญ ผูอานอาจเกิดความรําคาญที่ตอง หยุดบอย ๆ ทําใหความสนใจตองหยุดชะงักไปดวย ผูอานอาจไมเขาใจจุดมุงหมายและไมสามารถเชื่อมโยง ความคิ ดใหตอเนื่องกันได การเขียนยอหนาสั้น ๆ สามารถกระทําได ในกรณีที่ตองการเนนย้ํา ใหเห็น ความคิดสําคัญนั้น หรือเปนการสรุปความเห็น ไมเขีย นย อหน ายาวจนเกินไปจนกระทั่ง มีค วามคิดหลายความคิดปะปนกัน และยอหนาที่ย าว เกินไปก็ที่ใหผูอานเกิดความเมื่อยลา เบื่อหนาย บางครั้งไมสามารถจับประเด็นสําคัญได โดยทั่วไปยอหนาควรมีความยาวประมาณ 4 บรรทัด เปนอยางนอย แตไมควรเกิน 8-1 บรรทัด ความสั้นยาวของยอหนาในเรื่องหนึ่ง ๆ ไมควรแตกตางกันมาก เชน ยอหนาแรก 20 บรรทัด ยอหนา ถัดไป 5 บรรทัดบาง 3 บรรทัดบาง ซึ่งจะทําใหไมสวยงามและไมเกิดความสมดุล องคประกอบของยอหนา ในยอหนาแตละยอหนาประกอบไปดวยสวนสําคัญ 2 สวน คือ ใจความสําคัญ และประโยคขยายความ 1. ใจความสําคัญ หรือประโยคใจความสําคัญ คือ ความคิดสําคัญที่ผูเขียนมุงเสนอแกผูอาน ความคิด หลักนี้ผูเขียนจะตองแปรออกมาเปนประโยคใจความสําคัญ แตถาผูเขียนไมเขียนออกมาเปนประโยคใจความ สําคัญ ยอหนานั้นก็จะไมมีประโยคใจความสําคัญ ผูอานจะตองเปนผูจับความคิดหลักของผูเขียนเอง 2. ประโยคขยายความ คือ ประโยคที่มุงขยายความหรือใหรายละเอียดความคิดหลักหรือประโยค ใจความสําคัญใหชัดเจนยิ่งขึ้น หลักการเขียนยอหนา ในการเขียนยอหนาผูเขียนควรตั้งประเด็นคําถามดังนี้ 1. มีจุดประสงคอะไร ตองการใหผูอานตอบสนองอยางไร 2. ความคิดที่จะเขียนนั้นจะสรุปเปนประโยคเดียวไดวาอยางไร (คิดหาประโยคใจความสําคัญ) 3. จะเรียบเรียงความคิดอยางไร อะไรกอน-หลัง 4. จะนําความคิดยอย ๆ มาเขียนอยางไร ในปริมาณเพียงไรจึงจะทําใหบรรลุผลตามวัตถุประสงค (การ คัดเลือกขอมูล)


Page 29 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

ชนิดของยอหนา การแบงประเภทหรือชนิดของยอหนาทําได 2 ลักษณะ คือ แบงตามหนาที่ และแบงตามกลวิธี เสนอใจความสําคัญ 1. แบงตามหนาที่ (สุชาติ พงษพานิช. ม.ป.ป. : 199-201) ปรีชา ชางขวัญยืน กลาววายอหนามี 4

ชนิด คือ ยอหนานําความคิด ยอหนาแสดงความคิด

ยอหนาโยงความคิด และยอหนาสรุปความคิด 1.1 ยอหนานําความคิด คือ ยอหนาที่ใชบ อกจุดประสงคของเรื่องที่เขีย น หรือบอก ประเด็นหลักของเรื่องทั้งหมด ยอหนานี้จะทําใหผูอานเขาใจลักษณะของเรื่องและสนใจที่จะอานเนื้อเรื่อง ตอไป บางคนเรียกยอหนาชนิดนี้วา ยอหนาคํานําหรือสวนนํา 1.2 ยอหนาโยงความคิด คือ ยอหนาที่ใชเชื่อมระหวายอหนา มักใชกรณีที่ความคิดของทั้ง สองยอหนาเปนคนละประเด็นกันหรือไมเกี่ยวของกัน ยอหนาชนิดนี้จะชวยเชื่อมโยงสิ่งที่ไมสัมพันธกันเขา ดวยกัน 1.3 ยอหนาแสดงความคิด คือยอหนาที่ดําเนินเรื่องตามที่วางโครงเรื่องไว แสดงเนื้อหา สาระ ขอมูลหรือขอคิดเห็นที่ตองการจะสื่อสาร 1.4

ยอหนาสรุปความคิด คือ ยอหนาสรุปเรื่องหรือสรุปความคิดที่เสนอตอผูอานซึ่ง

สามารถทําไดหลายวิธี ตั ว อย า งย อ หน า ชนิ ด ต า ง ๆ จากบทความเรื่ อ ง “การปฏิ รู ป ระบบศาลยุ ติ ธ รรมตั้ ง แต รั ช สมั ย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจนกระทั่งปจจุบัน” สถาบันศาลสถิตยุติธรรมนับวามีบทบาทสําคัญในการคุมครองสิทธิเสรีภาพและ ความยุ ติ ธ รรมของประชาชนในสั ง คมประชาธิ ป ไตย ดั ง คํ า จารึ ก ในหิ รั ญ บั ต รที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสเกี่ยวกับการปฏิรูประบบ ศาลยุ ติธรรมตอนหนึ่ ง ว า “...การยุติธ รรมอันเดีย วเปนการที่สํา คัญยิ่ง ใหญ เป นหลั ก ประธานการตัดสินความทุกโรงศาล เปนเครื่องประกอบรักษาใหความยุติธรรมเปนไป ถาจัดใหดีขึ้นเพียงใด ประโยชนความสุขของราษฎรก็จะเจริญยิ่งขึ้นเทานั้น เพราะฉะนั้น จึงไดท รงพระอุตสาหะไตสวนในพระราชกําหนดกฎหมายเกา ใหม และการที่ลู กขุ น ตระลาการไดกระทําแตกอน ๆ สืบมาจนทุกวันนี้...” (ยอหนานําความคิด)


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 30 of 46

กอนที่จะกลาวถึงการปฏิรูประบบศาลยุติธรรมในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัวและในปจจุบันนั้น ควรจะไดศึกษาถึงความเปนมาของศาลยุติธรรม ในอดีตดั้งเดิมวามีอยางใด เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษาเรื่องการปฏิรูปศาลไทยในสมัย ตอ ๆ มาใหเขาใจยิ่งขึ้น (ยอหนาโยงความคิด) เดิมศาลตาง ๆ มีอยูมากมาย และไมรวมอยูในกระทรวงเดียวกัน พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดําริวา ควรจะใหจัดระบบศาลยุติธรรมใหม โดย ทรงสถาปนากระทรวงยุติธรรมขึ้น เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2453 เพื่อรวบรวมศาลไวที่ กระทรวงยุติธรรมเพียงแหงเดียวเพื่อแกไขปญหาเรื่องตุลาการทุจริตและเพื่อแกไขปญหา เรื่องคดีความตาง ๆ ลาชา ตลอดจนการแยกฝายตุลาการออกจากฝายธุรการ (ยอหนาแสดง ความคิด) เมื่อพิจารณาศึกษาเรื่องเกี่ยวกับ การปฏิรูประบบศาลยุติธ รรมตั้งแตอดีตจนถึง ป จจุ บั นแล ว นั้ น ย อมเป นพยานหลัก ฐานยื นยันไดวา ในรัช สมั ย พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว ศาลสถิตยุติธรรมไดมีการปฏิรูปใหเจริญกาวหนามาตามลําดับ ดวย พระอัจฉริยภาพของพระองคโดยแท ประกอบกับพระปรีชาญาณอันแรงกลาที่จะประสิทธิ์ ประสาทความยุติธรรมใหแกราษฎร ดังปรากฏในคําจารึกในหิรัญบัตร ที่กลาวไววา เพื่อ ขจัดเสียซึ่งอสัตยอธรรมทั้งปวง ทรงเห็นวาศาลทรงมีความสําคัญอันยิ่งใหญ ถาจัดใหดีขึ้น เพียงใด ก็จะเปนประโยชนและความสุขแกราษฎรมากขึ้นเพียงนั้น ดังไดทรงปฏิรูปศาล โดยเอาอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่กระจัดกระจายอยูมารวมสังกัดในกระทรงยุติธรรม และขอความตอนทายคําจารึกในหิรัญบัตรไดจารึกพระราชปณิธานไววา “ขอใหธรรม เนี ย มยุ ติ ธ รรมนี้ เ จริ ญ รุ ง เรื อ งไพศาล และจิ ร ถิ ติ ก าลอยู ชั่ ว ฟ า และดิ น ” (ย อ หน า สรุ ป ความคิด)

2. แบงตามวิธีเสนอใจความสําคัญ การแบงประเภทของยอหนาโดยใชหลักเกณฑนี้คือการพิจารณาตําแหนงที่ปรากฏของประโยค ใจความสําคัญในยอหนา แบงไดเปน 5 ประเภท ดังนี้


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 31 of 46

2.1 ประโยคใจความสําคัญอยูตอนตนยอหนา ดังตัวอยาง การดูแลสุขภาพเปนเรื่องสําคัญมาก แตนักเรียนสวนใหญอาจละเลย บางคนจะ อานหนังสือจนดึก และบางทีก็ดื่มกาแฟแกงวง ทั้งที่เปนเวลาที่รางกายตองการพักผอน แลว แตยังคงฝน นาน ๆ เขารางกายก็รับไมไหว และก็เจ็บปวยในที่สุด คุณเคยทรมาน รางกายหรือไม เชนนอนดึกตื่นเชา รับประทานอาหารไมครบหาหมู ดื่มเครื่องดื่มบํารุง กําลั งมากเกินไป ใชยากระตุนประสาทไมใ หหลับ ถา คุณทําอยูก็ควรเลือกเสีย กอนที่ รางกายของคุณจะทรุดโทรมลงมากกวานี้ ใยแมงมุมแตละเสนละเอียดแลดูออนแอขาดงาย แตหาไดเปนเชนนั้นไม ใยแมง มุม บางชนิดแข็งแรงกวา เหล็ก เสนซึ่ งมีขนาดเทา กัน ถา เอาใยแมงมุมชนิดนี้ม าปนเปน เสนดาย จะเหนียวเทากับสนใยไนลอนขนาดเดียวกัน นอกจากนี้เสนดานที่ปนจากใยแมง มุมยังหดยืดได แตเสนใยเทียมที่คนทําขึ้นเกือบไมมีชนิดใดที่หดยืดได ขณะนี้นักวิจัยและ นักวิทยาศาสตรในวงการอุตสาหกรรม กําลังคิดคนที่จะใชใยแมงมุมทําวัสดุสารพัดอยางที่ ทํามาจากวัตถุดิบอื่น ๆ ไมได เชน เสนเลือดเทียม ลิ้นวาวลหัวใจคน เสื้อเกราะปองกัน กระสุนปนซึ่งเบาอยางยิ่ง และสวมสบายมาก นมเปนแหลงโภชนะที่สําคัญของมนุษยและสัตว โดยที่นมจัดเปนอาหารอันดับ แรกสําหรับทารกแรกเกิด เนื่องจากนมประกอบดวยโภชนะหลายชนิดที่สามารถยอยไดงาย ในนมประกอบดวยของแข็งประมาณ 13 เปอรเซ็นต และในของแข็งนี้มี โปรตีน 3.3 เปอรเซ็นต คารโบไฮเตรท 5 เปอรเซ็นต ไขมัน 4 เปอรเซ็นต รวมทั้งแรธาตุและไวตามิน อีกเปนจํานวนมาก โปรตีนในนมประกอบดวยกรดอะมิโนที่สําคัญทุกชนิด สวนแลคโตส เปนคารโบไฮเดรตหลักของนม ซึ่งเปนที่นาสังเกตวานมเปนแหลงของแลคโตสเพียงแหลง เดียวเทานั้นในธรรมชาติ และในนมยังประกอบดวยไวตามินที่สําคัญ คือ ไวตามิน A B D E และ K ดวยเหตุผลเหลานี้จึงทําใหการบริโภคนมมีความสําคัญตอมนุษยและสัตว


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 32 of 46

2.2 ประโยคใจความสําคัญอยูตอนกลางยอหนา ดังตัวอยาง ความผูกพันเปนเสมือนโซตรวนที่พันธนาการหัวใจ จนทําใหสูญเสียความเปนตัว ของตัวเอง เพราะมัวแตใสใจคนอื่น ความผูกพันยังเปนภาระอันหนักหนวง ดวยวาเราเอา ชีวิตของเราไปผูกติดกับคนอื่น เปนทุกขเปนรอน เปนหวงเปนใย ทั้ง ๆ ทีไมใชหนาที่ หรื อ ความรั บ ผิ ด ชอบของเราสั ก นิ ด การไม ผู ก พั น กั บ ใครจึ ง นั บ ว า เป น สิ่ ง วิ เ ศษสุ ด ปราศจากความทุกขและความกังวลใด ๆ ไมอยูใตอํานาจของใครทั้งสิ้น เมื่อใดที่ตองรางรา กันก็โบกมืออําลากันไดดวยความรูสึกปกติ ซ้ํายังกําหนดชีวิตตนเองได และที่สําคัญมี อิสระที่จะโลดแลนไปไหนมาไหนตามใจชอบ โดยไมตองหวงหนาหวงหลัง ถ า มองดู โ ครงกระดู ก คนเราแต เ พีย งผิ ว เผิ นจะไม ส ามารถแยกออกไดว า โครง กระดูกใดเปนของผูหญิง และโครงกระดูกใดเปนของผูชาย แตถาพิจารณาอยางละเอียด แลวก็สามารถจําแนกได เพราะโดยทั่วไปโครงกระดูกของผูหญิงจะมีขนาดเล็กกวาโครง กระดูกของผูชาย แตถาเปนกระดูกเชิงกรานกลับเปนตรงกันขาม เพราะกระดูกเชิงกราน ของผูหญิงจะใหญกวาของผูชาย เนื่องจากธรรมชาติเตรียมไวใหผูหญิงสามารถอุมทอง และคลอดลูกไดนั่นเอง ถาพูดถึงการออมหรือการลงทุน หลาย ๆ คนอาจจะเคยนึกสงสัยวา “การออม” กับ “การลงทุน” นั้น ไมเหมือนกันหรือแลวมันตางกันอยางไร ที่จริงแลวการออมกับการลงทุน นั้นก็มีวัตถุประสงคเดียวกันคือ การสรางโอกาสทําใหคุณมีเงินมากขึ้นแตก็อาจจะตางกัน อยูบางก็ตรงที่ การออม เปนการเก็บสะสมเงินทีละเล็กทีละนอยใหพอกพูนขึ้นเมื่อเวลาผาน ไป แต การลงทุน คือการนําเงินไปสรางผลตอบแทนที่สูงขึ้น การออมกับการลงทุนจึงเปน คําที่มีความหมายไมเหมือนกันแมจะมีวัตถุประสงคเดียวกันก็ตาม”


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 33 of 46

2.3 ประโยคใจความสําคัญอยูตอนทายยอหนา ดังตัวอยาง คําเกา ๆ มีกลาววา “ถึงคนไมเห็นเทวดาก็เห็น” เดี๋ยวนี้อาจเห็นวาพนสมัย แตถา รูจักคิด คํานี้ก็ยังใชได คือเทวดาในดวงใจของเราเอง หมายความวาความมีหิริ (ละอายใจ) และโอตัปปะ (เกรงบาป) ซึ่งทานเรียกวาเปนเทวธรรม (ธรรมของเทวดา หรือธรรมที่ทํา ใหเปนเทวดา) ใจที่มีละอาย มีเกรงบาป คือความชั่วชาตาง ๆ นี้แหละคือเทวดา แตใจ กระดาง ดานหยาบชา แข็งกราว ชั่วราย อาจมองไมเห็น ภาษิตมอญมีกลาววา “เมื่อกา จับที่ใบตนหญา ดวยคิดวาไมมีใครเห็น ถึงกระนั้นก็มีผูเห็นถึงสองเปนอยางนอย” ผูเห็น ทั้งสองในภาษิตมอญนี้คือใคร ขอใหคิดเอาเอง ถาคิดไมเห็น ก็ใหสองหนาในกระจก ก็จะ เห็นผูที่เห็นกา แมพระพุทธภาษิตก็มีกลาวไววา “ชื่อวาลับยอมไมมีแกผูทําชั่ว” ภายในวงงานศิลปะประเภทหนึ่งๆ มีรูปแบบของศิลปะนั้นแยกออกไป จิตรกรรม ก็มีการวาดและระบายสีบนฝาผนัง วาดเปนเสนบนกระดาษ วาดและระบายเปนภาพเล็ก เปนภาพใหญเปนรูปคนรูปภูมิประเทศและอื่นๆ วรรณคดีก็เขาในลักษณะนี้ รูปแบบของ วรรณคดีไทยก็มีหลายแบบ ถานับวรรณคดีตางประเทศทั่วโลกก็มีรูปแบบเกือบจะนับไม ถวน คุณภาพของวรรณคดีขึ้นอยูกับรูปแบบจะมีความดีหรือความบกพรองภายในวงของ รูปแบบแตละรูปแบบ การพิจารณาวรรณคดีจึงเปนไปตามรูปแบบแตละรูปๆ นั้น ในวงการธุรกิจ การสื่อสารดวยวิธีการเขียนเปนสิ่งหนึ่งที่สําคัญยิ่ง การเขียน ในทางธุรกิจมีหลายประเภท เชน การเขียนเอกสารการประชุม การเขียนรายงาน การ เขียนจดหมายธุรกิจ การเขียนเอกสารการจางและการสมัครงาน และการเขียนเอกสารเพื่อ การประชาสัมพันธ การเขียนแตละประเภทมีวิธีการเขียนที่แตกตางกัน ผูมีหนาที่เขียน เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจจําเปนตองเลือกใชวิธีการเขียนใหเหมาะสมกับการเขียนแตละ ประเภท


Page 34 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

2.4 ประโยคใจความสําคัญอยูตอนตนและทายยอหนา ดังตัวอยาง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม ใ น บ า น เ มื อ ง เ ร า มั ก จ ะ ส อ ด ค ล อ ง กั บ ก า ร ดํ า เ นิ น ชีวิตประจําวัน ตัวอยางบางคนชอบปลูกไมดอกไมผล เมื่อเกิดดอกออกผลก็ชื่นใจ เกิด ความคิดที่จะทําดอกผลนั้นใหงดงามนาดูยิ่งขึ้น จึงมีผูนําผลไมมาประดิษฐลวดลาย แลวจัด วางในภาชนะใหมองดูแปลกตานารับประทานลวดลายนั้นเกิดจากการตัด ผา ปอก ควาน และแกะสลัก สวนไมดอกที่ออกดอก ก็นํามาผูกมัดเปนชอบาง เปนพวงเปนพูบาง เสียบ เปนพุมหรือปกลงในแจกันก็ไดตามแตจะเห็นงาม ชีวิตชาวไทยกับศิลปะความงามจึง แยกกันไมออก คําวา CEO มาจากคําเต็มวา Chief Executive Officer หรือหัวหนาคณะผูบริหาร ซึ่งเปนตําแหนงทางการบริหารที่นิยมมากในสหรัฐอเมริกา กลายมาเปนที่รูจักในเมืองไทย มากที่ สุ ด ก็ ใ นยุ ค ของรั ฐ บาล พ.ต.ท.ทัก ษิ ณ ชิ น วั ต ร

การบริ ห ารงานราชการในยุ ค

ใหม CEO จึงเปนตําแหนงหัวหนาคณะผูบริหารที่มีบทบาทในการบริหารงานราชการ 2.5 ไมมีประโยคใจความสําคัญปรากฏในยอหนา ดังตัวอยาง ถาถามวาอะไรคือสิ่งดึงดูดใหผูคนนิยมไปทองเที่ยวตามอุทยานแหงชาติทางทะเล ไมวาจะเปนเกาะเสม็ด หมูเกาะสิมิลัน หรือหมูเกาะตะลุเตา จนกระทั่งในชวงเทศกาล วันหยุดผูคนที่ไปพํานักอยู จะมีจํานวนมากจนลนเกาะ เปลี่ยนภาพธรรมชาติที่เคยสงบ และงดงามใหเปนความสับสนอลหมานในทันที คําตอบคงอยูที่สภาพธรรมชาติอันพิเศษ ของสถานที่เหลานั้น นับตั้งแตหาดทรายขาวละเอียด ปะการังหลากสีสันและรูปทรง ไป จนถึงทองทะเลสีครามที่สะกดใหคนเฝามองมันไดตลอดทั้งวัน ใจความสําคัญของยอหนานี้คือ สภาพธรรมชาติที่มีลักษณะพิเศษของแตละสถานที่จะเปนสิ่งดึงดูด ใหมีผูคนนิยมไปทองเที่ยว


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 35 of 46

กลวิธีการขยายใจความสําคัญในยอหนา 1. ใหรายละเอียด

การใหรายละเอียดเปนวิธีการเขียนอธิบายเกี่ยวกับใจความสําคัญเพื่อใหผูอาน

สามารถเขาใจหรือรูเรื่องราวนั้น ๆ ไดอยางสมบูรณวาเปนอยางไร วิธีนี้เปนที่นิยมกันโดยทั่วไป เชน ขาพเจาตื่นนิวยอรก ตื่นอเมริกามาก รูสึกราวกับวาอยูในเมืองสวรรค ลอนดอน ปารีส โรม เบอรลิน และนครตาง ๆ ในยุโรปที่เคยเห็นมาแลว ก็รูสึก วาไมมีเมืองใด เหมือนนิวยอรก ตึกรามอันสูงเยี่ยมเทียมฟานับไมถวนวามีกี่ชั้น ถนนหนทางอันหรูหรา พลเมืองอันหนาแนน ความมั่งคงสมบูรณ ซึ่งปรากฏอยูทั่วไปทุกหนทุกแหง ถนนฟฟต แอเวนิว นอรดเวย ฯลฯ และโคมไฟซึ่งจุดไวสวางไสวราวกับกลางวัน ทําใหขาพเจา สนุกเพลิดเพลินอยางเหลือที่จะพรรณนาไดถูก ขาพเจาไมนึกเลยวาโลกเราจะเจริญไดถึง เพียงนี้ ขาพเจาเคยเห็นภาพยนตรเยอรมันเรื่อง Metropolis หรือ โลกอนาคตมาแลว จึงทํา ใหรูสึกไดทันทีวาในไมชานครนิวยอรกก็คงเปนเชนนั้นโดยแท 2. ใหคําจํากัดความ เปนวิธีการเขียนเพื่ออธิบายขอบเขตของความหมายของเรื่องที่ตองการกลาวถึง หรือเพื่อใหผูอานเขาใจความหมายของคําหรือวลีที่ใชในเรื่องที่เขียนก็ได วิธีนี้มักใชกับยอหนาที่เปนคํานํา เทพารักษ คือ เทวดาที่บุญพามาอยูประจําพิทักษรักษาอาณาเขตแหงใดแหงหนึ่ง ใหอยูเย็นเปนสุข แตเจาผีนั้น คือมนุษยที่สิ้นชีพไปแลว ผลกรรมทําใหตองทองเที่ยวเปนผี อยู ยังไมวสามารถไปถือกําเนิดใหมได ถาผีไมชอบใจใคร ก็อาจจะทําใหเดือดรอนรําคาญ 3. ใหเหตุผล แมโลกทุกวันนี้จะกาวหนาทางวัตถุไปมากเพียงใดก็ตาม แตธรรมชาติเปนสิ่งก็ยังเปน สิ่ ง ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ ชี วิ ต และจิ ต ใจของมนุ ษ ย อ ย า งขาดเสี ย มิ ไ ด เพราะธรรมชาติ เ ป น องคป ระกอบที่ สํ า คั ญของโลก ธรรมชาติใ ห ค วามสดชื่นรื่นรมยแกจิตใจมนุษ ย กอใหเกิ ด จิ น ตนาการในการสร า งศิ ล ปะ โดยอาศั ย รู ป ทรง สี สั น ของธรรมชาติ เ ป น สื่ อ สร า งสรรค ศิลปกรรมขึ้นใหม ตามความรูสึกนึกคิดของศิลปน 4. ยกตัวอยาง ตัวอยางที่ยกมาประกอบนั้นจะตองตรงกับเนื้อเรื่อง ไมยากหรือซับซอนเกินไป แต สนับสนุนใหผูอานเขาใจเรื่องมากขึ้น


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 36 of 46

วิธีที่มนุษยเราจะมั่งมีไดรวดเร็วนั้น ถาพูดกันโดยทางตรงไปตรงมาก็มีอยูสองทาง คือ คนอื่นเขายื่นใหเมื่อเขายังเปนทางหนึ่ง เขาทิ้งไวใหเมื่อเขาตายทางหนึ่ง สวนการมั่งมีรวดเร็ว ดวยวิธีเดินตรอก คือวิธีมืด ๆ เลี้ยว ๆ ลด ๆ นั้นก็มีมาก แตถาจะนํามาจาระไนก็ราคาไพเบี้ย สุภาษิตอาหรับเขาวาลิ้นยาวทําใหชีวิตสั้น เจายอมทราบอยูแลว การมั่งมีดวยวิธีเดินตรอกนี้ใช ไมได ถาตายแตหนุมก็ตกนรกเร็ว ถาตายแกบางทีตกแตยังไมทันตายก็ได ดังมีตัวอยางอยูบาง 5. เปรียบเทียบ การเปรียบเทียบอาจเปนการเปรียบเทียบสิ่งตรงขาม เชน ดีกับชั่ว หรืออาจเปนการ เปรียบเทียบนามธรรมกับรูปธรรม การที่ จะเรี ย นวิ ช าได ด วยวิ ธี ใ ดนั้นไมสํา คัญ ขอ สํา คั ญอยู กับ ที่ ตัวผู เรีย นตา งหาก เปรียบเหมือนแตงกวาจะดองดวยน้ําสมฝรั่งก็ได ดองดวยน้ํากระเทียมก็ได เมื่อดองแลวก็ อรอยทั้งสองอยาง ขอสําคัญคือแตงกวาที่เอาลงดองจะตองเปนแตงที่ยังไมเนา ถาเนาเสียแลว จะดองดวยน้ํากระเทียมหรือน้ําสมขวดละตําลึงมันก็ไมเปนรสทั้งนั้น บุคคลที่สืบเสาะร่ําเรียน วิชาก็เหมือนแตงกวาดอง ถานิสัยใจคอมันเนาเสียแลว ถึงจะร่ําเรียนดวยวิธีใด มันก็คงไม เปนเรื่องทั้งสิ้น ลักษณะของยอหนาที่ดี 1. มีเอกภาพ หมายถึง ยอหนาที่มีใจความสําคัญเพียงอยางเดียว วิธีเขียนก็คือ เขียนโดยกําหนด จุดมุงหมายเปนประโยคใจความสําคัญ แลวหาขอความที่เปนรายละเอียดมาสนับสนุนเพื่อขยายใจความนั้น 2. มีสารัตถภาพ หมายถึง ยอหนามีสาระเนื้อหาเขมขน มีขอมูลชัดเจน และมีการเนนย้ําใจความ สําคัญ เพื่อใหผูอานทราบวาใจความใดสําคัญมากที่สุด 3. มีสัมพันธภาพ หมายถึง ขอความที่เขียนเปนประโยคติดตอกันมีความเกี่ยวของกันตลอดทั้งเรื่อง มีความกลมกลืนเปนเนื้อเดียวกัน ------------------เอกสารอางอิง สุชาติ พงษพานิช. การเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา. ม.ป.ป. พาทินี ไทยะจิตต และคณะ. ภาษาไทย 1. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล กรุป. 2549.


Page 37 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

การเขียนบรรยายและพรรณนา ในการเขียนระดับยอหนา หรือการเขียนขอความที่มีขนาดคอนขางยาว เชน เรียงความ สารคดี บทความ เรื่องสั้น หรือนวนิยาย หลีกเลี่ยงการเขียนบรรยายและพรรณนาไปไมได เพราะการเขียนทั้ง 2 ลักษณะดังกลาวจะชวยใหผูอานเขาใจเรื่องไดชัดเจน มองเห็นภาพที่ผูเขียนตองการสื่อสาร และมีอารมณ ความรูสึกตาง ๆ เกิดขึ้นคลอยตาม การเขียนบรรยาย การเขียนบรรยาย หมายถึง การเขียนถึงเหตุการณใดเหตุการณหนึ่งที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง โดยการ แสดงใหเห็นสถานที่เกิดเหตุ สภาพแวดลอม บุคคล ตลอดจนผลที่เกิดขึ้นจากเหตุการณนั้น ๆ หรือกลาวได วาเปนการกลาวถึงเหตุการณนั้น ๆ วามีใครทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร เพื่ออะไร ผลที่ไดเปนอยางไร การเขียนบรรยายจึงเปนการเขียนเพื่อสรางความเขาใจและใหผูอานไดรับทราบขอมูลมากกวาที่จะเนนให ผูอานเกิดความรูสึกรวมไปกับผูเขียน 1

หลักการเขียนบรรยาย 1

การเขียนบรรยายมีหลักที่ควรปฏิบัติดังนี้

1. ใชถอยคํากะทัดรัด อานแลวเขาใจงาย มีความหมายคมคาย 2. บรรยายตามลําดับเหตุการณ โดยไมทําใหผูอานสับสน 3. ควรมีเหตุการณหรือจุดที่ทําใหผูอานประทับใจอยูในบทบรรยายดวย 4. ควรบรรยายอยางตอเนื่องและอาจแทรกบทพรรณนา ขอคิดเห็น ความรู ความเปนเหตุเปน ผล เพื่อประโยชนของผูอานตามความเหมาะ ขอควรคํานึงในการเขียนบรรยาย 1. จุดมุงหมายของการบรรยายก็คือใหคนอานไดเห็นภาพ คนเขียนจะเลือกบรรยายอะไรบาง ละเอียด แคไหน เรียงลําดับยังไง ก็ขึ้นอยูกับวาตองการใหคนอาน "เห็น" อะไรแบบไหน ก็คลายกับกลองถายหนังวา จะจับภาพที่ตรงไหนกอน กวางแคบแคไหน แลวคอยๆ เลื่อนกลองไปทางไหน ทีนี้ถาคนเขียนเอง (หรือผู กํากับเอง) ยังไมรูเลย วาจะใหคนอานเห็นภาพ "อะไร" พอบรรยายออกมา มันก็ไมไดภาพที่ชัดเจน คงจะ มัวๆ และคนอานก็คงไมเขาไปอยูในฉากนั้น เหตุการณนั้นกับตัวละครดวย เพราะฉะนั้น ถาไมอยากใหคน อาน "หลุด" กระเด็นออกไปจากฉากนั้น คนเขียนก็จําเปนตอง "อยู" ในฉากนั้น "เห็น" ภาพฉากนั้นใหได กอน


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 38 of 46

2. คนเขียนจะ "เห็นภาพ" ไดอยางไร ก็อาจจะมีหลายวิธี วิธีแรกคือ การสรางภาพขึ้นมาในหัว วิธีนี้เปนวิธีที่ยืดหยุนที่สุด เพราะทําใหเราเขียนถึงอะไรๆ ที่ ไมไดมีอยูจริงได ทําใหเราสรางฉาก สรางเหตุการณ หรือกระทั่งสรางโลกใหมขึ้นมาได แตมันก็ทํายาก ตองใชเวลา ตองใชจินตนาการ วิธีที่สอง คือ การเขียนจากที่ตาเห็น วิธีนี้จะเหมาะมาก ๆ กับการบรรยายฉากสถานที่ ดูจากสถานที่ จริง หรือดูภาพถายหลายๆ ภาพ แลวเขียนบรรยายออกมา แตขอจํากัดคือ ที่บางที่มันอยูไกล เราไปดูไมได หรือไมสะดวก แยกวานั้นคือ บางที่มันไมมีอยูจริง (เชน คฤหาสนของพระเอก หรือโลกแฟนตาซี) อันนี้ก็ ใชวิธีนี้ไมได วิธีที่สาม คือ การเขียนจากความทรงจํา อันนี้มีประโยชนมาก ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งกับฉากสถานที่ ซึ่งในเรื่องอาจจะมีหลายที่เยอะแยะ เราไมสามารถตามไปดูไดหมด หรือคิดเองไมไหว แตเราอาจจะเคยไปที่ ลักษณะคลาย ๆ อยางนั้นมา ก็อาศัยความทรงจําตอสถานที่ที่เราเคยไป หยิบยืมเอามาออกแบบสถานที่ใน เรื่องของเรา เชน ในเรื่องมีรีสอรต ก็นึกถึงที่ที่เราเคยไปเที่ยวมา เปนตน วิธีที่สี่ คือ ลองทําดู มีประโยชนสําหรับการเขียนภาพเหตุการณที่เปนการเคลื่อนไหว หรือ แอ็คชั่น แลวเรานึกภาพไมออกวา แขนขาหัวตัวพระเอกนางเอกจะไปอยูตรงไหน เราใชวิธีนี้ประจํา ใหลองลุกขึ้นมา ทําทาทางแบบนั้นดู ใชชวยในการกะระยะก็ได เชน ความสูงของเกาอี้ การลมของนางเอก จะลมทาไหน ให ลงไปอยูในออมแขนพระเอกได อะไรเงี้ย คนอานจะไดไมตกใจ วานางเอกตัวยาวเทาเสาไฟฟา ลมอยูตรงนี้ แลวหัวไปซบบาพระเอกได วิธีสุดทาย ที่ไมแนะนํา คือการเปดนิยายของคนอื่น แลวหาดูวาเขาบรรยายยังไง ถามวาถาจะทําจะ เปนไรมั้ย ตอบวา ถาไมไปลอกเขา แคดูวิธีคิดในการเขียนละก็ไมเปนไรหรอก แตถาถามวาดีมั้ย สวนตัวขอ ตอบวาไมดีเทาไหร ความเสี่ยงมันสูง ความเสี่ยงแรกคือ แอบ "ขอยืม" ถอยคําของเขามาใชโดยไมไดตั้งใจ ประมาณวา เสาคฤหาสนเขา เปนแบบนี้ เราก็แบบนี้ ใชคําเดียวกันเลย หนึ่งคือไปเอาความคิดของเขามา สองคือเอามาแลว อาจจะไม เหมาะกับเรื่องของเรา สภาพการณของเราก็ได ความเสี่ยงที่สองคือ อาจจะเผลอยึดติด "สไตล" การบรรยายของเขา และพยายามจะบรรยาย "ดวย สไตลของเขา" แทนที่จะบรรยายดวยสไตลของเรา ผาน "สายตา" ของเราแตไมใชวาการอานงานของคนอื่น


Page 39 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

ไมดี การอานเยอะๆ ดีตรงทําใหเรามองเห็นความเปนไปได มองเห็นรูปแบบการบรรยายที่หลากหลาย แงมุมที่เราไมเคยนึกถึง แตตองอานเยอะเปนประจํา สะสมไปเรื่อยๆ ถึงจะดี มาเปดหาเวลาตองการเขียน บรรยายจะไมดี 3. ความสมเหตุผล ถาเราเขียนออกมาแลวคนมองวา ไมเห็นมีเหตุผล ไมนาเชื่อเลยสักนิด เปนอันวา จบ ตัวอยางเชน "ในการไปทํางานของผมตองอาศัยเรือขามฝากใตสะพานพระราม 8 เปนประจํา" อานแลว ก็ดูไมมีอะไร แตถาคนเขารูวา ปจจุบันใตสะพานพระราม 8 ยังไมมีเรือขามฝาก ตรงนี้จบแน 4. ถาอยากบรรยายใหไหลลื่นก็คงตองเขียนใหบอย ๆ 5. พยายามอยาคิดเปนประโยคความซอน ที่มีคําวา "ที่/ซึ่ง/ผู" เยอะ เพราะเราพยายามอัดอะไรหลาย ๆ อยางเขาไปไวในประโยคเดียว ก็เลยขยายประธาน กริยา กรรม นุงนังไปหมด จะขยายทุกทีก็ตองมีคําเชื่อม พวกนี้ทุกที เลยรูสึกวาเยอะ อานยาก เขาใจยาก ตองประมวลนาน วิธีแกคือ ใหคิดอะไรเปนประโยคสั้นๆ จบในตัว 6. การบรรยายคือสรางภาพในจินตนาการของผูอานใหเห็นภาพตาม หากจนหนทางจริงๆ ก็ลองใช "ประสบการณรวมของคนหมูมาก" แทรกเขาไป คนอานก็จะเห็นภาพไดชัดเจนขึ้น เชน "...หากแกนึกถึง ภาพของพระบรมมหาราชวัง ราชธานีศรีอยุธยาไมออก ก็ลองนึกภาพพระบรมมหาราชวัง-วัดพระแกวดูซี ที่ กรุงเทพสวยงามยังไง ที่อยุธยาอาจจะสวยงามยิ่งกวานั้น เพราะตอนสรางพระบรมมหาราชวังที่กรุงเทพนี่ รัชกาลที่หนึ่ง ทานเกิดทันครั้งอยุธยายังรุงเรืองดี ทานก็พยายามจําลองแบบพระบรมมหาราชวังครั้งบานเมือง ยังดีนั่นมาใหใกลเคียงที่สุดเทาที่จะทําได..." เปนตน ตัวอยางนี้ จะเห็นวาภาพที่เปนประสบการณรวมของ ชนหมูมากก็จะปรากฏขึ้นทันทีในใจของผูอาน (http://nathanon.com เขาถึงเมื่อ 25 พฤษภาคม 2554)


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 40 of 46

การเขียนบรรยายประเภทตาง ๆ 1. การเขียนบรรยายบุคคล การเขียนบรรยายบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ควรกลาวถึงขอมูลพื้นฐานที่จําเปน ก อ น แล ว เรี ย งตามลํ า ดั บ การสั ง เกตเห็ น ตั้ ง แต ภ ายนอกแล ว จึ ง ถึ ง ระดั บ จิ ต ใจ สามารถแยกเป น ข อ ได ดังตอไปนี้ 1. เพศ 2. วัยโดยประมาณ หรือบอกอายุที่ชัดเจน 3. รูปรางลักษณะเดน (เห็นเดนชัดดวยสายตา) เชน ขนาดความสูง ผิวพรรณ แขนดวน ตาบอด 4. ลักษณะยอยที่เดนเปนพิเศษ (เห็นดวยการสังเกต หรือตองใหผูนั้นมีการกระทําจึงจะทราบ) เชน เสียงแหบ ทาเดิน สีของเครื่องแตงกาย(เพราะแตละวันไมเหมือนกัน) 5. ลักษณะนิสัยและอารมณ เชน สุขุม เอื้ออารี ขี้เลน ใจรอน หรือบอกกริยาที่กําลังทําอยูใน ขณะนั้นซึ่งเปนการกระทําชั่วคราว เชน นั่งหลับ นั่งอานหนังสือ 6. สรุปความรูสึกที่คนทั่วไปพึงมีเมื่อพบเห็นคนนั้น เชน เปนคนนานับถือ เปนคนไมนาไววางใจ เปนคนนาสงสาร 7. อาจกลาวถึงอาชีพที่ประกอบก็จะชวยใหผูอานสรางจินตนาการและเห็นภาพไดชัดเจนขึ้น ตัวอยางการบรรยายบุคคล ขงเบงรูปรางใหญโต สูงถึงหกศอก สีหนาขาวเหมือนไขหยวก แตงตัวโอโถง ทาทีเปนอาจารยผูใหญ (สามกก) คุณสายเปนคนเจาเนื้อ หนาตาเปนคนมีอารมณดี ผิวเนื้อสองสี ถึงแมเปนคน มีอายุมากแลว และผมที่ตัดสั้นตามสมัยนั้นหงอกประปราย คุณสายก็ยังไมมีใบหนาที่ แสดงริ้วรอยของความโกรธหรือความทุกขที่ผานมา คุณสายนุงผาลายขัดสีเหล็ก หม ผาแถบสีจําปา นอนคว่ําอยางสบายอยูบนพื้นกระดานที่เย็น (สี่แผนดิน)


Page 41 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

2. การเขียนบรรยายสถานที่ ควรบอกสิ่งตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1. ลักษณะของสถานที่นั้น เชน ถวย หนอง คลอง บึง ภูเขา เนินเขา 2. สถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร เชน บอกวาอยูตําบลอะไร อําเภออะไร

หรืออยูตรงไหนของ

สถานที่ใหญ เชน ตรงกลางหอง ชายปา ริมแมน้ํา 3. ลักษณะเดนของสถานที่นั้น เชน ขนาด รูปทรง 4. ลักษณะยอยที่สําคัญ มีอะไรที่เปนสวนประกอบพิเศษ ควรเปนลักษณะที่ถาวร 5. บอกความเกี่ ยวโยง หรื อความสํา คัญกับ เรื่องที่ตองการเลา (ในกรณีย กตัวอยา ง หรือ เปรียบเทียบ) 6. บอกเวลาและบรรยากาศในขณะที่เอยถึง หรือบรรยากาศที่ปรากฏอยูตลอดเวลา ตัวอยางการเขียนบรรยายสถานที่ ณ ที่แหงหนึ่ง อยูในราวกลางหุบเขา ไมสูหางจากแมน้ํานอนนั้นนัก มีตน ไทรใหญใบหนาทึบเปนเงาปกคลุมลานหญา ซึ่งเขียวดังมรกตใหรมรื่น สวนรากที่ยอย ลงมาเปนตนนอย ๆ มีจํานวนนับไดตั้งพันตน กลายเปนสุมทุมพุมไมมหึมา สามารถ ใหกองเกวียนอยางของขาพเจาตั้งสิบเทา พักอาศัยไดอยางสบาย (วาสิฏฐี) รานตกเบ็ด เขาทําเปนสระและหอสลากเปนรูปสัตวน้ําตาง ๆ อยูในนั้น มีเบ็ด ติดแมเหล็กไวตรงปลาย ใครจะตกเบ็ดก็เสีย 1 บาท แลวยื่นเบ็ดลงไปในสระ หอสัตว เหลานั้นมีเหล็กอยูขางในดวย ก็กระโดดขึ้นมาติดเบ็ด (ความสนุกในวัดเบญจมบพิตร) ลักษณะทั่วไปของเรือนลานนามีใตถุนสูง พื้นที่ใชสอยประกอบดวยชานกวาง ที่มีบันไดหลักขึ้นเรือนทางดานหนา จากชานโลงหนาบานหรือชานใตหลังคาบริเวณ ขอบริ ม ชานด า นใดด า นหนึ่ ง

จะมี หิ้ ง สํ า หรั บ วางหม อ น้ํ า ดื่ ม พร อ มที่ แ ขวน

กระบวย ภาษาพื้นถิ่น เรียก “ฮานน้ํา” บริเวณนี้เปนสวนเชื่อมพื้นที่ตางๆ ของเรือน ถัดจากชานเปนหองโถงเปดโลงยกสูงจากระดับชานประมาณหนึ่งถึงสองคืบเปนพื้นที่ อเนกประสงคสําหรับนั่งเลน รับประทานอาหาร รับรองแขก ทําบุญเลี้ยงพระ เปนตน ภาษาลานนา เรียก "เติ๋น” บริเวณนี้กั้นฝาเต็มดานเดียว และสรางที่เก็บของบนเพดาน โปรงใตหลังคา โดยทําเปนตะแกรงไมไผหรือไมเนื้อแข็ง สําหรับเก็บของจําพวก ขันโตก คนโทน้ํา ตะกรา เปนตน


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 42 of 46

3. การเขียนบรรยายสิ่งของ/สัตว มีหลักในการเขียนดังนี้ 1. บอกสามานยนามวาสิ่งนั้นคืออะไร 2. บอกลักษณะเดนของสิ่งนั้น 3. บอกลักษณะยอยที่สําคัญ ถาเปนของใหมอาจเปรียบเทียบกับสิ่งสิ่งที่เปนที่รูจักอยูแลว 4. บอกประโยชนใชสอยโดยทั่วไป 5. บอกวาสิ่งนั้นอยูที่ไหน อยูในลักษณะใด 6. บอกวาสิ่งนั้นเกี่ยวกับเรื่องที่เขียนอยางไร (ในกรณียกตัวอยาง หรือเปรียบเทียบ) ตัวอยางการเขียนบรรยายสิ่งของ ตัวปากเปด เปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม มีปากและเทาเหมือนเปด เล็บยาว หาง แบน ชอบวายน้ํา และวายน้ําเกง ทั้งตัวมีขนคลายผมคน ขนละเอียดและหนาสีน้ําตาล ปนเทา ชอบขุนโพรงอยูตามริมลําธาร โดยขุดจากใตน้ําทะลุขึ้นมาบนพื้นสรางดิน พบ ในประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด และเกาะนิวกีนี เปนตน อายแดง เปนมีดยาวของชาวภาคใต รูปคลายดาบแตปลายตัด ปลายสวนคม เชิดและยาวกวาปลายสวนสัน ตัวมีดดานสันโคงงอนและเรียวลงไปหาดาม ดานนิยม ทําดวยเขาสัตวหรือไมปลายดามผายออกเล็กนอย และงอนไปขางหนาพองาม ใชเปน อาวุธประจํากาย และอาจใชหวดหรือฟนไดอยางดาบและพรา 4. การเขียนบรรยายเหตุการณ การเขียนบรรยายเหตุการณอาจเขียนเรียงลําดับตั้งแตเริ่มตนจนกระทั่งเหตุการณนั้นสิ้นสุด หรือ อาจใชกลวิธีการนําเสนออื่น ๆ เพื่อสรางความนาสนใจและติดตาม เชน การเลาเหตุการณจากจุดจบยอนไป ที่สุดเริ่มตน หรืออาจเปนการเลาสลับไปสลับมาก็ได แตตองไมสรางความสับสนแกผูอานเพราะการเลา เรื่องสลับไปสลับมาแบบมีการวางโครงเรื่องไวอยางดีแลว กับการเขียนสลับไปมาเพราะจัดลําดับความคิด ของตนเองไมไดแลวเขียนตามที่นึกคิดออกยอมแตกตางกัน


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 43 of 46

ตัวอยางการเขียนบรรยายเหตุการณ พระองคหนึ่ง ไปหาหมอดู หมอทายวา พระตองตายในไมชานี้แนนอน ให กลับไปขอขมาลาโทษพอแมเสียเถอะ พระก็กลับมานั่งวิตกถึงตัวเอง ก็มองไปเห็น หนองน้ําแหงมีปลากําลังจะตายเพราะขาดน้ําอยู ก็คิดวาตัวเราเองก็จะตายเหมือนปลานี้ ก็เอาผาอังสะปู แลวจับปลาและสัตวที่อยูในหนองน้ํานั้นมาไวในอังสะไปปลอยน้ํา และอธิฐานขอใหตนพนจากความตาย ดังที่ตนไดชวยใหปลานี้รอดตาย และพระองค นั้นจึงไมตาย จากเหตุนี้เองจึงมีประเพณีปลอยปลามาจนทุกวันนี้ (ดวยปญญาและความ รัก นิทานชาวเมืองเหนือ : เวานเพลงเออ) การเขียนพรรณนา การพรรณนา เปนการเขียนที่ใชสําหรับพรรณนาเรื่องราว ความรู ความรูสึกนึกคิด อยางละเอียด เปนการสอดแทรกอารมณเพื่อใหผูอานคลอยตาม การเขียนพรรณนาโวหารใชสําหรับการชมความงามของ ธรรมชาติ สถานที่ บุคคล ความดีงามของบุคคลที่ไดกระทําไว สิ่งที่เปนนามธรรม หรือสิ่งที่เกี่ยวของกับ อารมณความรูสึก สํานวนที่ใชจะเปนคําที่มีความหมายลึกซึ้งมองเห็นภาพเดนชัด ทําใหผูอานเกิดความ ซาบซึ้งและประทับใจ การเขียนพรรณนาตางจากบรรยายในประการสําคัญคือ การพรรณนาไมมีการดําเนินเรื่อง แตเปน การใหรายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สิ่งนั้นอาจเปนบุคคล วัตถุ สถานที่ หรืออะไร ๆ ก็ได ผูพรรณนามัก ใชภาษา และกลวิธีที่ทําใหผูอานเกิดความรูสึกหรืออารมณรวม พรอมทั้งเห็นภาพของรายละเอียดไดอยาง ชัดเจนแจมแจง (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. 2527 : 105) หลักการเขียนมีดังนี้ 1. เรื่องที่เขียนอาจไมเครงเครียดในเรื่องของขอเท็จจริง แตตองมีความสมจริง 2. ผูเขียนใชวิธีเขียนที่สรางภาพใหผูอานมองเห็นและมีความรูสึกคลอยตาม 3. ผูเขียนตองเลือกสรรถอยคําที่สามารถสื่อความหมาย สื่อภาพ สื่ออารมณไดอยางชัดเจน เหมาะกับ เรื่องและรูจักใชภาษาภาพพจน เชน อุปมา อุปลักษณ ภาษาเกินจริง การเลนเสียงพยัญชนะ หรือการเลียน เสียงธรรมชาติมาประกอบ


Page 44 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

1. การพรรณนาบุคลิกลักษณะของบุคคล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ทานเปนบุคคลที่มีสติปญญาเฉียบแหลมมีปฏิภาณ ไหวพริบดีเยี่ยม ทานไมเคยวางตัวแบบเจายศเจาอยางซึ่งเปนบุคลิกที่นาเลื่อมใสยิ่ง... ทานมีบุคลิกภาพที่ผสมผสานอยางลงตัวและนาสนใจ กลาวคือ ทานเปนผูที่ จงรั ก ภั ก ดี ต อ สถาบั น ชาติ ศาสนา พระมหากษั ต ริ ย อ ย า งยิ่ ง เป น ที่ ป ระจั ก ษ ต อ สาธารณชนมาโดยตลอด อีกทั้งเปนผูกลาหาญ มีการตัดสินใจที่เฉียบขาด เปนนัก บุกเบิก และมีความคิดสรางสรรค ดังเชนแนวคิดในการ “เปลี่ยนคาบสมุทรอินโดจีน จากสนามรบเปนสนามการคา” และ การเปนผูเริ่มกอตั้ง “สมาคมมิตรภาพไทย-จีน” เปนตน 2. การเขียนพรรณนาธรรมชาติ ตะวันสีหมากสุกอบอุนขึ้นที่ปลายฟา ชาวบานชาวชองหนาตาขึ้น พรอมกับ สรรพสําเนียงของชีวิตในวันใหม นกบินออกจากรัง เงาสีเทาทาบทับไปตามถนนรน แคมเหมือนความหวังที่ทอดยาวออกไปเหมือนลมหายใจของชาวถิ่นที่สืบทอดและคง อยู ทุนุถนอมและปกปองบานเมือง (คนทายรถ ของ พิบูลศักดิ์ ละครพล) ปลากระทะมีรูปรางคอนขางเปนสี่เหลี่ยมปอมแบนขางมากมีครีบหลังติดเปน อันเดียว ซึ่งแบงเปนกานแข็ง และซี่ออน สวนครีบกนมีกานแข็งสี่อันและยาวไลเลี่ย กัน เกล็ดละเอียดสีเขม ดานทองมีจุดดํา กลมใหญและเล็กสลับกันกับตัวและมีเปน จํานวนมากที่ตอนบนหลัง ปลาชนิดนี้ตามปกติอยูในทะเล

แตสามารถจะเขาอาศัย

ในน้ําจืดได ชอบกินของเนาเสีย ขณะที่ตัวยังเล็กอยู มีผูที่ชอบเลี้ยงในอางแกวไว ดู เลน (สารานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลม 2) 2

ภาพพฤกษาพันธุใหมยืนตระหงาน เหมือนเลือนรางวากานกอชูชอไสว เหมือนเขียวชอุมพุมพฤกษและกวัดไกว เหมือนหยดน้ําใสใสสะทอนกอนหลนดิน


Page 45 of 46

TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

อกอุนนาจากน้ําจากไอฟา ออมโอบเอื้อมกอดภูผาหิน ปุยเมฆขาวลอยลองเปนอาจินต พาชีวินสุดสิ้นลับนิรันดร (เรียงรอยพรรณนา ละเมอ ฝน ชีวาดับ) 3. การเขียนพรรณนาอารมณความรูสึก …พระผูเปนเจาทรงละทิ้งขาพระองคเสียแลวพระราชาทรงพระคํานึงนึกอยาง ปวดราวในพระทัย...เราพายแพในสงคราม ลูกที่เรารักก็ตายไปจากอก สวนคนที่กิน แหนงแคลงใจกลับเปนคนที่เราตองพึ่งพา...แมแตเมียคนที่เรารักมากที่สุดก็ทรยศตอเรา ปนใจใหชายอื่นไมมีอะไรเหลือสําหรับคนแกที่เจ็บ ๆ ไข ๆ คนนี้เลย...แลวอยางนี้เรา จะมีชีวิตอยูตอไปเพื่ออะไรกันเลา แมวายังหนุมแนน เราจะเต็มไปดวยความพรั่งพรอมสมบูรณแทบจะเรียกวา เปนผูครองโลก...แตนั่นมันจะมีความหมายอะไร ในเมื่อบัดนี้เราหมดสิ้นทุกสิ่งทุกอยาง ... (แคเธอรีน เด เมดิชี กฤตนาราชินี ของ นิดา) 4. การพรรณนาความดีงามของบุคคล …ทานผูหญิงสุมาลี จาติกวนิช เปนผูที่ผานการดําเนินชีวิตมาหลายบทบาท มากกวา 64 ป ซึ่งลวนเปนบทบาทที่แตกตางกันไปตามตําแหนงหนาที่การงานที่ไดรับ มอบหมาย อาทิ รองประธานกรรมการบริหารและนายกมูลนิธิฯ ใหกับองคกรการ กุศลทั้ง 2 แหง นอกจากนี้ยังไดรับเลือกจากสมาคมสตรีภาคพื้นเอเชียอาคเนยรวม 19 ประเทศ ใหรับหนาที่ประธานสมาคมระหวางประเทศถึง 2 สมัย และในการประชุม ระดั บ โลก ว า ด วยเรื่ องสตรี ค รั้ ง ที่ 4 ณ กรุง ปก กิ่ง ที่ผา นมานี้ ทางคณะกรรมการ จัดเตรียมประชุมไดเชิญทานผูหญิงสุมาลี ใหรับภารกิจประสานงานภาคเอกชน ใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟกดวย เพราะเหตุวาทานผูหญิงสามารถทําหนาที่ประสานงานได อยางดีเยี่ยมจนไดรับการยกยองใหเปนแบบอยางการประสานงานเมื่อปที่แลว...


TH 2333 การเขียนเพื่อการสื่อสาร

Page 46 of 46

---------------------เอกสารอางอิง บงกช สิงหกุล. (2546). การเขียนเพื่อการสื่อสาร. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนเพื่อการสื่อสาร สาขาวิชามนุษยศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. วชิ ร นที วงศ ศิ ริ อํ า นวย. (2544). ทั ก ษะการใช ภ าษาไทย. เอกสารประกอบการสอนวิช าทั ก ษะการใช ภาษาไทย มหาวิทยาลัยพายัพ.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.