การบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชุมชนตำบลบ่อสวก

Page 1


พิมพ์ครั้งที่ 1 : ตุลาคม 2561 ที่ปรึ กษา : พั นเอก ดร. นาฬิกอติภัค แสงสนิท, นายทวีพงษ์ วิ ชัยดิษฐ, ดร. ชูวิ ทย์ มิตรชอบ นายพลากร บุปผาธนากร, นายสุขสันต์ เพ็งดิษฐ์ นักวิ จั ย : รศ. ดร. เทิดชาย ช่วยบ�ำรุง, ผศ. ดร. อรวรรณ บุญพั ฒน์, อ. ขวัญฤทั ย ครองยุติ ตรวจสอบข้อมูล : ณวรรณ ทินราช, กมลลักษณ์ ดอกประดู่ มยุรี ศรีสุริยะพงษ์, สุทธิพงษ์ ดวงมณีรัตน์ ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ประสานงาน : ณวรรณ ทินราช องค์การบริหารการพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) 118/1 อาคารทิปโก้ ชั้น 31 ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร 0 2357 3580-7 ต่อ 212 แฟกซ์ 0 2357 3599 เว็บไซต์ http://www.dasta.or.th ผลิตโดย บริษัท แมงโก้ ดี ไซน์ จ�ำกัด เลขที่ 41 ซอย อยูเ่ ย็น 3 ถนน อยูเ่ ย็น แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 โทร 081-812-1323 อีเมล mangodesign.mail@gmail.com


สารบัญ เรื่อง ค�ำชี้ แจง แบบทดสอบก่อนเรียน บทน�ำ องค์การบริหารการพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. หลักเกณฑ์ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนส�ำหรับ แหล่งท่องเที่ยว (GSTC-D) การบริหารจั ดการการท่องเที่ยวโดยชุ มชนเชิงวัฒนธรรมโดยกระบวนการมี ส่วนร่วมของชุ มชนต�ำบลบ่อสวก จั งหวัดน่าน การพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุ มชนอย่างยั่งยืนตามหลักเกณฑ์ GSTC ของชุ มชน ต�ำบลบ่อสวก โดย อพท. กระบวนการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุ มชนของชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ระยะที่ 1 กระบวนการรับรองแหล่งท่องเที่ยวโดยชุ มชน ระยะที่ 2 การด�ำเนินงานการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุ มชน แบบทดสอบหลังเรียน ขอบคุณข้อมูล

ค�ำชีแ้ จง หน้า 1 3 6 7 9 20 25 27 39 41

เอกสารกรณีศึกษาฉบับนีจ้ ั ดท�ำเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้จากการปฏิบัติงานขององค์การบริ หาร การพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. ในการพั ฒนาการ ท่องเที่ยวสูค่ วามยัง่ ยืนและสอดคล้องกับหลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน (The Global Sustainable Tourism Criteria : GSTC) โดยเน้นให้ความส�ำคัญกับการพั ฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และ การพั ฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพืน้ ที่พเิ ศษตามแนวทางหลักเกณฑ์ GSTC โดยเน้นกระบวนการ มีสว่ นร่วมของชุมชน ซึง่ สถาบันการศึกษาที่เปิดสอนในระดับอุดมศึกษาทางด้านการจัดการการท่องเที่ยว สามารถใช้เอกสารกรณีศึกษานีป้ ระกอบการจั ดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิ ชาที่ เกี่ยวข้องกับ การพั ฒนาการท่องเที่ ยวอย่างยั่งยืนได้ ซึ่งจะเป็นผลให้นิสิตนักศึกษา ได้เรี ยนรู้และเข้าใจสภาพ การด�ำเนินงานด้านการพั ฒนาการท่องเที่ยวของประเทศไทยในปัจจุ บัน นอกจากนีก้ ารจั ดการเรียน การสอนโดยใช้กรณีศึกษาเป็นสื่อการเรียนรู้ (Case Method Learning) ยังสามารถส่งเสริมให้เกิด การเชื่ อมโยงองค์ความรู้ระหว่างภาคทฤษฎีกับการปฏิบัติได้มากยิ่งขึ้น องค์ประกอบส�ำคัญภายในเอกสารกรณีศึกษาประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรียน สาระส�ำคัญที่ มีเนือ้ หาสอดคล้องกับสภาพบริบทท้องถิ่นและการประยุกต์ ใช้หลักเกณฑ์ดา้ นการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน ส�ำหรับ แหล่งท่องเที่ยว (Global Sustainable Tourism Criteria for Destinations: GSTC-D) ในการพั ฒนาการท่องเที่ ยวในพื้นที่ พิเศษ และค�ำถามท้ายบท ซึ่งเนื้อหาดังกล่าวเหมาะแก่การจั ด กิจกรรมการสอนในรูปแบบการใช้กรณีศึกษาเป็นสื่อการเรียนรู้ (Case Method Learning) หรือ รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning) เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการวิ เคราะห์ สังเคราะห์ ประกอบการตัดสินใจหาค�ำตอบเพือ่ แก้ปญ ั หาให้กบั กรณีศกึ ษา อย่างมีเหตุมีผล เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการอภิปรายและแสดงความคิดเห็นบนพื้นฐาน องค์ความรู้ หลักการ แนวคิด และทฤษฎีได้อย่างถูกต้อง ทั้ งนีเ้ พื่อให้การใช้เอกสารกรณีศึกษาเกิด ผลสัมฤทธิ์การเรี ยนรู้ ผู้สอนควรจั ด กิจกรรมการสอนโดยเริ่ มจากการทดสอบความรู้ก่อนเรี ยน เพือ่ ประมวลความรูพ้ นื้ ฐานของผูเ้ รียน และน�ำเข้าสูส่ าระส�ำคัญผ่านการอภิปรายกลุม่ ตามประเด็นต่างๆ เชื่ อมโยงกับการหาค�ำตอบค�ำถามท้ายบทเพือ่ ฝึกการวิเคราะห์และทดสอบความรูค้ วามเข้าใจในบทเรียน และสรุปสาระส�ำคัญเพื่อน�ำไปสู่การประยุกต์ ใช้องค์ความรู้ ในอนาคตต่อไป

1


วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1 2 3

เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการพั ฒนาการท่องเที่ ยวอย่างยั่งยืนตามหลักเกณฑ์ด้านการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนส�ำหรับ แหล่งท่องเที่ยว (Global Sustainable Tourism Criteria for Destinations: GSTC-D) ของสภาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก (Global Sustainable Tourism Council) เพื่อให้เรียนรู้กระบวนการบริ หารจั ดการขององค์การบริ หารการพั ฒนาพื้นที่ พิเศษเพื่อการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. ในการสนับสนุนการพั ฒนาการท่องเที่ยว โดยชุ มชนของชุ มชนต�ำบลบ่อสวกโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุ มชน และการแก้ ไขปัญหา การพั ฒนาการท่องเที่ยวสู่ความยั่งยืน เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ ใช้หลักเกณฑ์ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยเฉพาะเกณฑ์ ส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว (Global Sustainable Tourism Criteria for Destinations : GSTC-D) ในการขับ เคลื่อนการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุ มชนอย่างยั่งยืน

ระยะเวลาในการเรียน 3 ชั่วโมง

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

ด้านความรู้ ผูเ้ รียนมีความรูแ้ ละเข้าใจในแนวคิดการพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน การพั ฒนา การท่องเที่ยวโดยชุมชน หลักเกณฑ์ดา้ นการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว (Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations: GSTC-D) และบทบาทหน้าที่ ของ อพท. ในการประสาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน และ การสนับสนุนการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้านความสัมพั นธ์ระหว่างบุคคล ผูเ้ รียนได้มโี อกาสในการประสานและท�ำงานร่วมกับผูอ้ ื่น ผ่าน กิจกรรมการเรียนรูก้ ลุม่ เพือ่ มุง่ สูค่ วามส�ำเร็จของการท�ำงานเป็นหมูค่ ณะ ส่งเสริมสัมพั นธภาพที่ดี กับผูอ้ ื่นและสนับสนุนให้มผี ลการท�ำงานการขับ เคลือ่ นการท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ผูเ้ รียนเป็นผูม้ คี วามรับผิดชอบในงานที่ ได้รบั มอบหมาย สามารถวางแผน การด�ำเนินงานเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านกระบวนการการมีสว่ นร่วมของ สมาชิกในทีม เรียนรูถ้ งึ ความทุม่ เท ความเสียสละต่อการท�ำงานในการสนับสนุนให้ตนเองและผู้ อื่นท�ำงานได้ประสบความส�ำเร็จบนพืน้ ฐานของหลักคุณธรรมและจริยธรรม ด้านปัญญา ผูเ้ รียนได้มโี อกาสเรียนรูข้ อ้ มูลเชิงประจักษ์ที่จะสามารถเสริมสร้างมุมมองในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสะท้อนปัญหาเกีย่ วกับการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความ ยัง่ ยืนผ่านการพัฒนาการท่องเทีย่ วโดยชุมชน และสามารถประยุกต์ใช้แนวคิดการพัฒนาการท่องเทีย่ ว สูค่ วามยัง่ ยืนตามหลักเกณฑ์ดา้ นการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว (GSTC-D) 2

แบบทดสอบก่อนเรียน 1. ข้อใดกล่าวถึงการท่องเที่ยวโดยชุ มชนได้ถูกต้องที่สุด ก. การท่องเที่ยวทางเลือกที่บริหารจัดการโดยชุมชนอย่างสร้างสรรค์และมีมาตรฐานให้เกิดการเรียนรู้ ข. การท่องเที่ยวทางเลือกโดยการบริหารจัดการโดยผูป้ ระกอบการที่เน้นการส่งเสริมรายได้เข้าสูช่ ุมชน ค. การท่องเที่ยวที่สร้างมาตรฐานการด�ำเนินงานโดยชุ มชน เน้นประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับชุ มชนเป็นที่ตั้ง ง. การท่องเที่ยวที่เน้นการให้บริการแก่ผู้มาเยือนด้วยความเต็มใจ และประทั บใจ 2. เหตุ ใดจึงต้องมีการท่องเที่ยวโดยชุ มชน ก. เพราะการท่องเที่ยวน�ำความเจริญมาสู่ชุ มชน ท�ำให้ชุ มชนเตรียมการให้บริการแก่นักท่องเที่ยว ข. เพราะการท่องเที่ยวสามารถสร้างผลกระทบทางบวกให้กับชุ มชน จึงต้องเตรียมความพร้อมในการ ให้บริการนักท่องเที่ยว ค. นักท่องเที่ยวนิยมท่องเที่ยวในชุ มชนมากขึ้น ท�ำให้ชุ มชนต้องวางแผนการจั ดการทางการท่องเที่ยว ง. นักท่องเที่ ยวและผู้ประกอบการเข้ามาในชุ มชน ท�ำให้ชุ มชนเตรียมพร้อมในเรื่องสิ่งอ�ำนวยความ สะดวก 3. ผลกระทบที่เกิดขึ้นด้านสังคมและวัฒนธรรมข้อใดต่อไปนีเ้ ป็นด้านบวก ก. การตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวที่เพิม่ ขึน้ น�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงสินค้าและผลิตภัณฑ์ ทางการท่องเที่ยว ข. ชาวบ้านปรับกิจกรรมหรือวัฒนธรรมของพวกเขาให้มีสีสันมากขึ้น เพื่อตอบสนองรสนิยมของนัก ท่องเที่ยว ค. ส่งเสริมการอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมในชุ มชนอันเป็นเอกลักษณ์และดึงดูดนักท่องเที่ยว ง. ทั ศนคติ พฤติกรรม ความเชื่ อและการบริโภคของชาวบ้านในชุ มชนที่ท�ำให้เหมือนกับนักท่องเที่ยว 4. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องหากต้องท�ำการท่องเที่ยวโดยชุ มชนให้ ได้ประโยชน์ ก. ภาครัฐส่งเสริม ประสานและสนับสนุน เพื่อการเชื่ อมโยงโอกาสและเสริมสร้างศักยภาพให้ชุ มชน สามารถได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยวโดยตรง ข. สถาบันการศึกษาให้ความรู้ และจั ดท�ำแนวทางการบริหารให้กับชุ มชน ค. ผู้ประกอบการเข้ามาบริหารจั ดการหลัก โดยให้ชุ มชนเข้ามามีส่วนร่วม ง. สือ่ มวลชน ให้ขอ้ มูลประชาสัมพั นธ์แก่สาธารณชนอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้นกั ท่องเที่ยวเข้ามาชุมชนมากขึน้

3


5. องค์การบริหารการพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวโดยชุ มชนอย่างไรบ้าง ก. ท�ำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน เพื่อท�ำให้การบริหารจั ดการท่องเที่ยวเกิดความยั่งยืนใน 3 มิติ ได้แก่ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ข. มุ่งเน้นการพั ฒนาคน และการสร้างรายได้อย่างถาวรเข้าสู่ชุ มชน ค. มุ่งเน้นการจั ดการแหล่งท่องเที่ยวเพื่อให้ ได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยว ง. ส่งเสริมการจั ดกิจกรรมเพื่อให้คนในชุ มชนได้รับผลประโยชน์จากการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการให้ผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนในการบริหารจั ดการ 6. องค์ประกอบของการท่องเที่ยวโดยชุ มชนตามแนวคิดของ อพท. ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. การท่องเที่ยวโดยชุ มชนเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism: CT) ข. แนวคิดการเชื่ อมโยงผลประโยชน์การท่องเที่ยวสู่ชุ มชน “การท่องเที่ยวที่ชุ มชนได้รับประโยชน์” (Community Benefitting Through Tourism: CBTT) ค. แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุ มชน (Community-Based Tourism: CBT) ง. แนวคิดการท่องเที่ยวที่เน้นการสร้างรายได้ (Benefit Tourism) 7. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ก. กลุ่มเครื่องปั้นดินเผา ข. กลุ่มท�ำนาขั้นบันได ค. กลุ่มอ้อยบ้านป่าคา ง. กลุ่มโฮมสเตย์

8. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ก. ลายอินธนู ข. เตาเผาโบราณ ค. เกษตรอินทรีย์ ง. ภาพเขี ยนปู่มา่ น – ย่าม่าน

9. ลวดลายใดต่อไปนีเ้ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นของต�ำบลบ่อสวก ก. ลายน�้ำไหล ข. ลายกระซิบรัก ค. ลายอินแขวน ง. ลายบ่อสวก 10. แนวทางการบริหารจั ดการที่ดี ของชุ มชนต�ำบลบ่อสวกคือข้อใดต่อไปนี้ ก. มีการตั้งชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ข. มีแนวทางการจั ดการโครงการหมู่บ้านท่องเที่ยวโดยชุ มชนบ่อสวกโดยชุ มชน ค. มีแนวทางการบริหารการจั ดการอย่างยั่งยืนตามหลักเกณฑ์ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนส�ำหรับ แหล่งท่องเที่ยว ง. มีกลยุทธ์ ในการจั ดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน   4

บทน�ำ การท่องเทีย่ วโดยชุมชน เป็นการท่องเทีย่ วทางเลือกทีบ่ ริหารจัดการโดยชุมชนอย่างสร้างสรรค์และ มีมาตรฐานก่อให้เกิดการเรียนรูเ้ พือ่ น�ำไปสูค่ วามยัง่ ยืนของสิง่ แวดล้อม วัฒนธรรมท้องถิ่นและคุณภาพ ชีวิตที่ดี ทั้งนีภ้ าคส่วนต่างๆ โดยเฉพาะภาคประชาชนจ�ำเป็นต้อง ‘ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบตั ิ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมรับผลประโยชน์’ ท�ำให้เกิดทิศทางการพั ฒนาการท่องเที่ยวในรูปแบบที่จะ เกิดประโยชน์กบั ชุ มชนท้องถิ่นสูงสุด ทั้ งนี้ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และองค์การบริหาร การพั ฒนาพืน้ ที่พเิ ศษเพือ่ การท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. ได้รว่ มกันจัดท�ำ แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยัง่ ยืน พ.ศ. 2559-2563 (CBT Thailand) ขึน้ ซึง่ นับ เป็นแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวฉบับแรกของประเทศไทยที่มงุ่ เน้นการพั ฒนาในระดับชุมชนเพือ่ ให้ เกิดการกระจายประโยชน์จากการท่องเที่ยวไปสูเ่ ศรษฐกิจฐานรากอย่างแท้จริง โดยมีวิสยั ทัศน์วา่ “การท่องเทีย่ วโดยชุมชนของไทยพัฒนาสูส่ ากลอย่างมีเอกภาพบนฐานการรักษาและจัดการทรัพยากร ชุ มชนอย่างยั่งยืนสู่ชุ มชนแห่งความสุข” กลยุทธ์ส�ำคัญที่ จะช่วยยกระดับให้การท่องเที่ ยวเกิด ประโยชน์ต่อชุ มชน 5 กลยุทธ์ส�ำคัญ ดังนี้ 1 การพั ฒนาคนและบุคลากรที่เกีย่ วข้องกับการท่องเที่ยวโดยมุง่ เน้นการพัฒนาคนในชุมชนและท้องถิ่นเพือ่ ให้สามารถบริหารจัดการ แหล่งท่องเที่ยวของตนเองได้ 2 การเพิม่ มูลค่าทรัพยากรท้องถิ่นโดยมุง่ เน้นให้ชุมชนเข้าใจตนเอง ว่ามีดีอะไรและต่อยอดจากทรัพยากรทีม่ ี ไม่จำ� เป็นต้องสร้างสิง่ ใหม่ๆ ที่อาจจะไม่ใช่อตั ลักษณ์ของท้องถิ่น 3 การตลาดที่เหมาะสมกับชุมชน เพือ่ แสวงหาตลาดนักท่องเที่ยว ที่เหมาะสมกับ แต่ละชุ มชน และสร้างความสามารถในการตอบ สนองความต้องการของนักท่องเที่ยวโดยไม่เสียอัตลักษณ์ของชุมชน นอกจากนั้น เพื่อเชื่ อมโยงผู้ประกอบการน�ำ เที่ ยวให้น�ำ เสนอ กิจกรรมการท่องเที่ ยวโดยชุ มชนที่ เหมาะสมเพื่อช่วยเพิ่มมูลค่า เส้นทางการท่องเที่ยว 4 การสร้างความเข้มแข็งให้กับ เครือข่าย มุ่งเน้นการพั ฒนา ศักยภาพชุมชนให้สามารถเชื่ อมโยงแลกเปลีย่ นทรัพยากร ความรู้ และประสบการณ์รว่ มกันเพือ่ ท�ำงานเป็นเครือข่ายภาคประชาชนที่ เข้มแข็งได้ในระยะยาว โดยไม่จำ� เป็นต้องพึง่ พาการสนับสนุนของ ภาครัฐหรือภาคเอกชนเสมอไป 5


5 การประเมินผลด้วยตัวชี้ วดั ความสุขของชุมชนและนักท่องเที่ยว เนื่องจากวัตถุประสงค์หลักในการพั ฒนาการท่องเที่ ยวคือเพื่อ พั ฒนาให้คนในชุมชนได้รับประโยชน์ ดังนัน้ ตัวชี้ วดั ความส�ำเร็จจึง ไม่ใช่เพียงรายได้ที่เพิม่ ขึน้ หรือจ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิม่ ขึน้ แต่เป็น ความอยู่ดี มีสุขในมิติต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการท่องเที่ยว ในขณะ เดี ยวกันก็ต้องค�ำนึงถึงประสบการณ์ที่ นักท่องเที่ ยวจะได้รั บ เป็นการแลกเปลีย่ นของเจ้าบ้านกับผูม้ าเยือนที่เท่าเทียม มีความ สุขร่วมกัน ด้วยต้นทุนทางประวัติศาสตร์อันล�้ำค่า ชุ มชนต�ำบลบ่อสวกจึงเป็นสถานที่ ท่องเที่ ยวที่ นักท่องเที่ยวสามารถศึกษาเรียนรูแ้ หล่งโบราณคดีที่สำ� คัญได้อย่างคุม้ ค่า การส่งเสริมการจัดการ การท่องเที่ยวโดยชุมชนต�ำบลบ่อสวก ภายใต้กระบวนการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมและการ ปรับตัวของชุ มชนเพื่อเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง ท่ามกลางการขยายตัวของเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว จ�ำเป็นอย่างยิง่ ที่ชุมชนต้องมีสว่ นร่วมอย่างเข้มแข็งและตระหนักถึง ความส�ำคัญในการจัดการชุมชนเพือ่ การพั ฒนาชุมชนอย่างยัง่ ยืน (องค์การบริหารการพั ฒนาพืน้ ที่ พิเศษเพือ่ การท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน, 2555) กรณีศกึ ษานีจ้ ัดท�ำขึน้ เพือ่ ถอดบทเรียนแห่งความส�ำเร็จในการพั ฒนาการท่องเที่ยวของชุมชน ต�ำบลบ่อสวกที่มกี ารบริหารจัดการการท่องเที่ยวด้วยกระบวนการมีสว่ นร่วมของชุมชน ที่ขบั เคลือ่ น ด้วยพลังของคนในชุมชนผ่านกระบวนการพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างมีสว่ นร่วมจากภาคีเครือข่าย เพือ่ ให้เกิดการพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนตามหลักเกณฑ์ GSTC

6

องค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษ เพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) หรือ เป็นหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่ ในการพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน มีภารกิจหลักในการประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนการพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนให้เกิดความสมดุลทั้งมิตดิ า้ นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิง่ แวดล้อมผ่านกระบวนการมีสว่ นร่วมของชุมชน โดย อพท. ตระหนักว่าการพั ฒนาการ ท่องเที่ยวให้เกิดความยัง่ ยืนที่จะต้องมีการเริ่มต้นจากชุมชนที่เป็นเจ้าของทรัพยากรท่องเที่ยวอย่างแท้จริง และไม่ละเลยเรื่องของการมีสว่ นร่วมของชุมชนที่จะร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบตั ิ ร่วมรับผิดชอบ และ ร่วมรับผลประโยชน์ดว้ ยกัน อพท. จึงได้ให้สำ� นักท่องเที่ยวโดยชุมชน (สทช.) ซึง่ เป็นหน่วยงานที่จะด�ำเนิน งานร่วมกับชุมชนโดยตรง ทั้งนี้ ส�ำนักท่องเที่ยวโดยชุมชน (สทช.) และส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษเมืองเก่าน่าน จะท�ำหน้าที่เป็นตัวกลางในการประสานส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนและภาคีเครือข่ายการพั ฒนาการ ท่องเที่ยวของชุมชนต�ำบลบ่อสวกได้ทำ� งานร่วมกันอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการพั ฒนาการ ท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยัง่ ยืน ผ่านกระบวนการรับรองแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเพือ่ การพัฒนาการท่องเที่ยว โดยชุมชน ซึง่ มีเครื่องมือและกลไกการท�ำงานที่สำ� คัญ 3 องค์ประกอบ คือ 1. เกณฑ์การพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนของประเทศไทย หรือที่เรียกว่า CBT Thailand ที่ ประยุกต์มาจากเกณฑ์ของ GSTC ซึง่ มีองค์ประกอบ 5 ด้าน ประกอบด้วย ด้านการบริหารจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้านการจัดการเศรษฐกิจ สังคมและคุณภาพชี วิตที่ดี ด้านการอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรม ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอย่างเป็นระบบและยัง่ ยืน ด้านบริการและความปลอดภัย

7


บริหาร จั ดการอย่าง ยั่งยืน

บริการและ ความ ปลอดภัย

การท่องเที่ยว โดยชุ​ุ มชน อย่างยั่งยืน

เศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชี วิ ต

วัฒนธรรม

สิ่งแวดล้อม

ภาพที่ 1 เกณฑ์การพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุ มชนของประเทศไทย หรือที่เรียกว่า CBT Thailand ที่มา : เกณฑ์การพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุ มชนของประเทศไทย (2559)

2. กล่องความคิด 9+1 Building Blocks เครื่องมือช่วยระดมสมองชุ มชนใน การวางแผนการพั ฒนาการท่องเที่ยวของชุ มชน 3. เครื่องมือการบริ หารจั ดการผลประโยชน์จากการท่องเที่ ยวโดยชุ มชน (Community Benefitting Through Tourism หรือ CBTT) 4. หลักสูตรการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพือ่ ชุมชน (CBT Integrated) เป็นหลักสูตร เพือ่ เสริมสร้างทักษะการเป็นวิทยากรและช่วยสร้างความรูค้ วามเข้าใจแก่ผสู้ นใจ เรื่องการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน ส�ำหรับกลไกในการขับเคลือ่ นการพัฒนาการท่องเทีย่ วโดยชุมชนอย่างยัง่ ยืนของชุมชนนัน้ อพท. ได้กำ� หนดให้ ชุมชนได้มกี ารจัดตัง้ “ชมรมส่งเสริมการท่องเทีย่ วโดยชุมชน” โดยให้ชุมชนได้รว่ มกันคัดเลือกตัวแทนเข้ามา เป็นคณะกรรมการชมรมส่งเสริมการท่องเทีย่ วโดยชุมชน เพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นหน่วยงานกลางการบริหารจัดการ การท่องเทีย่ วโดยชุมชน และขับเคลือ่ นกิจกรรมการพัฒนาการท่องเทีย่ วโดยชุมชนของชุมชนต�ำบลบ่อสวก ปัจจุบนั อพท. มีพนื้ ที่พเิ ศษรับผิดชอบการบริหารจัดการ การท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน 9 แห่ง ได้แก่ 1. ส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษ 1 คุง้ บางกระเจ้า 2. ส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษ 2 อารยธรรมอีสานใต้ 3. ส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษ 3 ฝัง่ ทะเลตะวันออก 4. ส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษ 4 มรดกโลกด้านวัฒนธรรม 5. ส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษ 5 วิถีชี วิตลุม่ แม่นำ�้ โขง 6. ส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษ 6 อารยธรรมล้านนา 7. ส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษ 7 ลุม่ น�ำ้ เจ้าพระยาตอนกลาง 8. ส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษ 8 ฝัง่ ทะเลตะวันตก 9. ส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษ 9 อันดามันและหมูเ่ กาะทะเลใต้ 8

หลักเกณฑ์ดา้ นการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืนส�ำหรับแหล่งท่องเทีย่ ว (Global Sustainable Tourism Council Criteria for Destinations: GSTC-D) แนวทางขัน้ พืน้ ฐานที่หน่วยงานที่รบั ผิดชอบการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวไปสูค่ วามยัง่ ยืนสามารถ ยึดถือปฏิบตั ิ โดยหลักเกณฑ์ดา้ นการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยวได้ถกู ออกแบบและ พั ฒนาโดยสภาการท่องเที่ยวยัง่ ยืนโลก (Global Sustainable Tourism Council) โดยมีความคาดหวัง ในการน�ำหลักเกณฑ์นี้ ไปใช้โดยองค์กรที่รับผิดชอบการบริหารจัดการการท่องเที่ยว ดังนี้ เป็นแนวทางขั้นพื้นฐานส�ำหรับ แหล่งท่องเที่ยวที่ต้องการมุ่งสู่ความยั่งยืน ช่วยให้ผู้บริโภคมั่นใจในแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ช่วยให้สื่อมวลชนให้ข้อมูลและสื่อสารต่อสาธารณชนเรื่องแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ ช่วยให้โปรแกรมการรับรองคุณภาพในแต่ละที่มีมาตรฐานในการพั ฒนาหลักเกณฑ์ ช่วยให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือ NGOs สามารถมีแนวทางการพั ฒนาโครงการที่เกีย่ วข้อง กับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เป็นแนวทางขั้นพื้นฐานส�ำหรับอบรมและพั ฒนาบุคลากร เช่น มหาวิ ทยาลัย เป็นต้น ทั้ งนี้ หลักเกณฑ์ด้านการท่องเที่ ยวอย่างยั่งยืนส�ำหรั บ แหล่งท่องเที่ ยว (GSTC-D) ได้ก�ำหนด หลักเกณฑ์และตัวชี้ วัดไว้ ดังนี้

หมวด A : การบริหารจั ดการด้านความยั่งยืนที่มีประสิทธิภาพ หลักเกณฑ์ รายละเอียดของหลักเกณฑ์ IN-A1 a. มีการด�ำเนินยุทธศาสตร์ของแหล่งท่อง เที่ยวในระยะยาว ซึง่ เน้นไปที่ความยัง่ ยืนและการ ท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน โดยครอบคลุมประเด็นทาง เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม วัฒนธรรม คุณภาพ สุขภาพ และความปลอดภัย IN-A1 b. มีการด�ำเนินยุทธศาสตร์หรือแผนงาน ของแหล่งท่องเทีย่ วในระยะยาวทีม่ คี วามเป็นปัจจุบนั โดยจะมีการปรับปรุงทุกๆ 4 ปีและสาธารณชน สามารถเข้าถึงข้อมูลได้จากการสืบค้นออนไลน์ IN-A1 c. แผนยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ของแหล่ง ท่องเที่ยวในระยะยาว ได้รับการพั ฒนาจากการมี ส่วนร่วมของประชาชน โดยดูได้จากรายงานการ ประชุ ม/ประมวลภาพกิจกรรมระดมความคิดเห็น เพื่อจั ดท�ำแผนแหล่งท่องเที่ยว

A1 การด�ำ เนินงานตามกลยุทธ์ ในการบริ หาร จั ดการด้านความยั่งยืน แหล่งท่องเที่ ยวมีการด�ำเนินงานตามกลยุทธ์ ใน การบริ หารจั ดการด้านความยั่งยืน ซึ่งพิจารณา ตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่ที่จั ดการท่อง เที่ ยว ตลอดจนพิจารณาจากสภาพสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม คุณภาพสุขอนามัย ความปลอดภัย และความงดงามตามธรรมชาติ อันเกิดจากความร่วมมือของประชาชน

9


หลักเกณฑ์

A2 ตัวแทนหรือกลุม่ ตัวแทนที่มีประสิทธิภาพอัน มาจากส่วนภาครัฐและเอกชน แหล่งท่องเที่ ยวมีตัวแทนหรื อกลุ่มตัวแทนที่ มี ประสิทธิภาพอันมาจากส่วนภาครั ฐและเอกชน โดยตั ว แทนหรื อ กลุ ่ ม ตั ว แทนดั ง กล่ า วมี ค วาม รั บ ผิ ด ชอบในการบริ หารจั ด การ สิ่ ง แวดล้ อ ม เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

รายละเอียดของหลักเกณฑ์

หลักเกณฑ์

รายละเอียดของหลักเกณฑ์

IN-A1 d. มี สั ญ ญาประชาคม (สั ญ ญาเชิ ง การเมือง) ในการน�ำเอาแผนงานของแหล่งท่อง เที่ยวในระยะยาวไปปฏิบัติ และมีหลักฐานแสดง การน�ำเอาไปปฏิบตั จิ ริงโดยสามารถพิจารณาจาก รายงานการติดตามความก้าวหน้า

A5 ระบบป้องกันความเสี่ยงอันเกิดจากภัยพิบัติ ตามธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวมีระบบป้องกันความเสี่ยงอันเกิด จากภัยพิบัติตามธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นได้ ทั้ งนี้ จะต้องมีการให้ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับภัยพิบตั ิ ที่อาจเกิดขึน้ ได้ ให้กบั ผูค้ นในท้องถิ่นและนักท่อง เที่ยว

IN-A5 a . มี ร ะ บ บ ก า ร ป รั บ ตั ว ต ่ อ กา ร เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และประเมินความ เสี่ยงถึงแนวทางการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม IN-A5 b. มี ก ฎหมายหรื อ นโยบายเพื่ อ การ บรรเทาผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิ อากาศ และสนั บ สนุน เทคโนโลยี ส� ำ หรั บ การ บรรเทาผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิ อากาศอย่างชัดเจน IN-A5 c. มีโปรแกรมให้ความรู้และสร้างการ ตระหนั ก รู ้ ในเรื่ อ งการเปลี่ ย นแปลงสภาพ ภู มิ อากาศให้ แ ก่ บุ ค คลทั่ ว ไป ผู ้ ป ระกอบการ ท่องเที่ยว และนักท่องเที่ยวอย่างชัดเจน

A6 การประเมินสถานที่ตลอดจนสภาพแวดล้อม แหล่งท่องเที่ยวควรมีการประเมินสถานที่ตลอด จนสภาพแวดล้อมที่ยงั คงอยูอ่ ย่างสม�ำ่ เสมอ โดย เฉพาะอย่างยิง่ พืน้ ที่ทางธรรมชาติและวัฒนธรรม

IN-A6 a. มีการจั ดท�ำรายชื่ อและแบ่งชนิดของ ทรัพยากรและสิง่ ดึงดูดใจด้านการท่องเที่ยว รวม ถึงแหล่งธรรมชาติและวัฒนธรรมเพื่อสร้างสรรค์ กิจกรรมทางการท่องเที่ยว

A7 การปฏิบัติตามกฎระเบี ยบ ข้อก�ำหนด และ หรือนโยบาย แหล่งท่องเที่ยวมีการปฏิบัติตามกฎระเบี ยบ ข้อ ก�ำหนดหรือนโยบายต่างๆ เพื่อรักษาพื้นที่และ สถานที่ทอ่ งเที่ยวส�ำหรับการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน กฎระเบียบ ข้อก�ำหนด และนโยบายดังกล่าวนีถ้ กู ใช้เพื่อรักษาพื้นที่

IN-A7 a. มี แนวทาง ข้ อ บั ง คั บ และ/หรื อ นโยบาย การจั ด ผั ง เมื องหรื อ จั ด โซน ในการ ปกป้องทรัพยากรทางธรรมชาติและวัฒนธรรม IN-A7 b. มี แนวทาง ข้ อ บั ง คั บ และ/หรื อ นโยบาย ที่จั ดการการใช้ที่ดิน การออกแบบ การ ก่อสร้าง และรื้อท�ำลาย อย่างยั่งยืน IN-A7 c. มี แนวทาง ข้ อ บั ง คั บ และ/หรื อ นโยบาย ของการจั ดผังเมืองจั ดท�ำขึ้นจากการมี ส่ ว นร่ ว มให้ ค วามคิ ด เห็ น จากชุ ม ชน และมี กระบวนการทบทวนอย่างละเอียด IN-A7 d. มี แนวทาง ข้ อ บั ง คั บ และ/หรื อ นโยบาย ของการจั ดผังเมือง ได้รับการสื่อสาร เผยแพร่สู่สาธารณะ และมีการบังคับใช้

IN-A2 a. มีการจั ดตั้งคณะท�ำงาน ซึ่งรับผิ ดชอบ ในการประสานภาคี ในการบริ หารจั ด การการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน IN-A2 b. หน่วยงานภาคเอกชนและภาครัฐมีสว่ น ร่วมกับกลุ่มท่องเที่ ยวในการประสานงานและ บริการด้านการท่องเที่ยว IN-A2 c. หน่วยงานด้านการท่องเที่ยวมีขนาดที่ เหมาะสมกับ แหล่งท่องเที่ยวตามโครงสร้าง IN-A2 d. มีการบริหารจั ดการการท่องเที่ยวใน รูปแบบคณะกรรมการซึ่งระบุหน้าที่ และความ รับผิ ดชอบงานของแต่ละฝ่าย IN-A2 e. หน่วยงานมีเงินทุนที่เหมาะสม

A3 ระบบการตรวจสอบ ดูแล รายงานความคืบหน้า แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วมี ร ะบบการตรวจสอบ ดู แ ล รายงานความคืบหน้า และตอบสนองต่อประเด็น ที่ เกี่ ย วข้ องกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม เศรษฐกิจ สัง คม วัฒนธรรม การท่องเที่ยว และสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ ระบบการตรวจสอบดูแลดังกล่าวจะต้องได้รับการ ประเมินอย่างสม�่ำเสมอ

IN-A3 a. มีการติดตามประเมินผลเชิงรุก และ มีรายงานผลการติด ตามและประเมินผลด้ า น สิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิถีชี วิต เผยแพร่สู่สาธารณะผ่านทางเว็บไซต์ IN-A3 b. มีการทบทวนและประเมินผลระบบ ติดตามอย่างสม�่ำเสมอ IN-A3 c. มีการจัดสรรเงินทุนให้แก่กระบวนการ บรรเทาปัญหาผลกระทบจากการท่องเที่ยว และ มีด�ำเนินกระบวนการดังกล่าวอย่างต่อเนื่องผ่าน กระบวนการการมีส่วนร่วมของคนในชุ มชน

A4 การจั ดการท่องเที่ยวตามฤดูกาล IN-A4 a. มียุทธศาสตร์การตลาดนอกฤดูกาล แหล่งท่องเที่ยวมีการจัดการท่องเที่ยวตามฤดูกาล ให้สามารถดึงดูดนักท่องเที่ ยวได้ตลอดปีผ ่าน ให้เหมาะสมกับความต้องการทางด้านเศรษฐกิจ กิจกรรมสร้างสรรค์ต่างๆ สังคมวัฒนธรรม ตลอดจนสิ่งแวดล้อมของชุ มชน 10

11


หลักเกณฑ์

รายละเอียดของหลักเกณฑ์

A8 สถานที่ท่องเที่ยวและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก สถานที่ท่องเที่ยวและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก จะ ต้องอ�ำนวยความสะดวกให้กับบุคคลทุพ พลภาพ หรือผู้มีข้อจ�ำกัดทางด้านสภาพร่างกาย ทั้ งนีห้ าก มีการออกแบบ เปลี่ยนแปลง ก่อสร้างในสถานที่ ดังกล่าว จะต้องมีการแจ้งให้ผู้รับผิ ดชอบดูแล ทราบล่วงหน้าเท่านั้น

IN-A8 a. มีนโยบายที่สนับสนุนการเข้าถึงแหล่ง ท่องเทีย่ วและสิง่ อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ทั้งแหล่ง ทางธรรมชาติและวัฒนธรรม เพือ่ ให้ผพู้ กิ ารและผู้ ต้องการความช่วยเหลือ สามารถเข้าถึงได้ อย่างเหมาะสม IN-A8 b. มีวิ ธีการจั ดการกับ เรื่องความสามารถ ในการเข้าถึงของแหล่งท่องเที่ยวนั้นจะต้องค�ำนึง ถึงความกลมกลืนเข้ากันกับ แหล่งท่องเที่ยว และ มีการจัดหาสิง่ อ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผพู้ กิ ารให้ เหมาะสมอย่างสมเหตุสมผล

A9 กฎหมายและข้อบังคับการด�ำรงรักษาไว้ซึ่ง แหล่งท่องเที่ยว กฎหมายและข้อบังคับการสืบเนือ่ งมาจากการด�ำรง รักษาไว้ซ่ึงแหล่งท่องเที่ยว จะต้องมีผลบังคับใช้ อย่ า งเคร่ ง ครั ด ทั้ งนี้ ห ากมี ก ารออกแบบ เปลีย่ นแปลง ก่อสร้างในสถานที่ดงั กล่าว จะต้องมี การแจ้งให้ผรู้ ับผิดชอบดูแลทราบล่วงหน้าเท่านัน้ A10 การตรวจสอบและรายงานความพึงพอใจของ นักท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวควรมีการตรวจสอบและรายงาน ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มตี อ่ สถานที่ดว้ ย หากมีประเด็นใดที่ควรแก้ไขหรือปรับปรุง ควรจะ ท�ำทั นทีเพื่อให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด

IN-A9 a. มีนโยบายหรือตัวบทกฎหมายที่มีการ บังคับใช้ ได้จริง IN-A9 b. มีนโยบายหรือตัวบทกฎหมายที่ค�ำนึง ถึงสิทธิมนุษยชนของคนพื้นเมือง ค�ำนึงถึงการ หารือในวงสาธารณะ และให้การยินยอมในการตัง้ รกรากเฉพาะเมื่อได้รับการเห็นชอบและ/หรือมี การจ่ายค่าชดเชยอย่างสมเหตุสมผล IN-A10 a. มีการเก็บข้อมูลและรายงานผลความ พึงพอใจของนักท่องเที่ยวสู่สาธารณะ IN-A10 b. มีระบบที่จะน�ำผลความพึงพอใจของ นักท่องเที่ยวมาใช้ในการพั ฒนาการด�ำเนินงานบน ฐานของข้อมูลการติด ตามประเมินผลความพึง พอใจของนักท่องเที่ยว

A11 การสนับสนุนหลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่าง ยั่งยืนในกลุ่มธุรกิจต่างๆ แหล่งท่องเที่ ยวให้การสนับสนุนหลักเกณฑ์การ ท่องเที่ ยวอย่างยั่งยืนในกลุ่มธุรกิจต่างๆ ตาม นโยบายของ GSTC ทั้ งนีค้ วรมีการจั ดท�ำรายชื่ อ องค์กรที่ ได้รับจากการรับรองและได้มาตรฐาน เพื่อเป็นข้อมูลส�ำหรับสาธารณชน

IN-A11 a. มีการรับรองมาตรฐานการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน หรื อการรั บรองระบบการจั ด การ สิ่งแวดล้อมที่ ได้รับการสนับสนุนจากภาคธุรกิจ IN-A11 b. มีการรับรองมาตรฐานการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน หรื อการรั บรองระบบการจั ด การ สิ่งแวดล้อม ยอมรับจาก GSTC IN-A11 c. มีการตรวจสอบประเมินธุรกิจการ ท่องเที่ ยวที่ เข้าร่วมในการรับรองมาตรฐานด้าน การท่องเที่ ยวหรื อการรั บรองระบบการจั ด การ สิ่งแวดล้อม 12

หลักเกณฑ์

รายละเอียดของหลักเกณฑ์ IN-A11 d. มี เ อกสารเผยแพร่ รายชื่ อ สถาน ประกอบการที่ ได้รับการรับรอง

A12 การสอดส่องดูแล ป้องกัน และรายงาน แหล่งท่องเที่ยวควรจัดตัง้ ระบบการสอดส่องดูแล ป้ อ งกั น และรายงานต่ อ สาธารณะในเรื่ อ ง อาชญากรรม การรั ก ษาความปลอดภั ย และ อันตรายที่อาจเกิดต่อร่างกาย

IN-A12 a. มี การตรวจสอบความปลอดภั ย ด้านอัคคีภัย ความสะอาดของอาหาร และความ ปลอดภัยของระบบไฟฟ้าในแหล่งท่องเที่ยวอย่าง จริงจังและอยูเ่ ป็นประจ�ำ IN-A12 b. มีการด�ำ เนินการป้องกันและการ ช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุเบื้องต้น IN-A12 c. ระบบป้องกันและตอบสนองต่อ อาชญากรรม IN-A12 d. มีระบบใบอนุญาตการขนส่งสาธารณะ ที่ถกู ต้อง ราคาที่ชดั เจน และระบบจุดขึน้ -ลง ณ จุดที่ นกั ท่องเที่ยวเข้ามาถึง IN-A12 e. มีการรายงานด้านความปลอดภัยและ การรักษาความปลอดภัย

A13 การวางแผนเพือ่ ตอบรับต่อวิกฤตการณ์หรือ สถานการณ์ฉุกเฉิน แหล่งท่องเที่ยวควรมีการวางแผนเพือ่ ตอบรับต่อ วิ กฤตการณ์หรือสถานการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ที่อาจ เกิดขึ้นในสถานที่ที่อยู่ในความรับผิ ดชอบ ควรมี การชี้ แจงประเด็นส�ำคัญ ให้ผพู้ ำ� นักอาศัย นักท่อง เที่ ยว และธุรกิจต่างๆได้รั บทราบ ตลอดจน แนวทางการปฏิบัติตน มีการก�ำหนดแผนเพื่อน�ำ ไปสู่การฝึกอบรมให้กับ เจ้าหน้าที่ นักท่องเที่ยว และผู้พ�ำนักอาศัย

IN-A13 a. มีแผนการรับมือกับ เหตุวิ กฤติและ เหตุฉุกเฉินที่ เกี่ยวข้องกับภาคการท่องเที่ ยวให้ บุคคลทั่ วไปได้ทราบ IN-A13 b. มีทรัพยากรบุคคลและเงินทุนส�ำหรับ การน� ำ แผนการรั บ มื อ กั บ เหตุ วิ ก ฤติ แ ละเหตุ ฉุกเฉินไปปฏิบัติ ใช้ IN-A13 c. มีการดึงภาคเอกชนเข้ามาร่วมในการ ออกแบบแผนการรับมือกับ เหตุวิ กฤติและเหตุ ฉุกเฉิน และมีกระบวนการสือ่ สารทั้งก่อนและหลัง เหตุวิกฤติหรือเหตุฉกุ เฉิน IN-A13 d. ในแผนการรับมือกับ เหตุวิ กฤติและ เหตุฉุกเฉินจะต้องมีจั ดสรรทรั พ ยากรที่ จ�ำ เป็น และการอบรมให้แก่พนักงาน นักท่องเที่ยว และ ผู้อาศัยในแหล่งท่องเที่ยว IN-A13 e. แผนการรับมือกับ เหตุวิกฤติและเหตุ ฉุกเฉินจะต้องมีการท�ำให้เป็นปัจจุบัน 13


หลักเกณฑ์

รายละเอียดของหลักเกณฑ์

หลักเกณฑ์

รายละเอียดของหลักเกณฑ์

A14 การประชาสัมพั นธ์ขา่ วสาร การประชาสัมพั นธ์ขา่ วสารต่างๆ ควรด�ำเนินการ ให้เหมาะสมกับแหล่งท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์/ สินค้า ที่จั ดจ�ำหน่าย ตลอดจนบริการต่างๆที่จั ดอยู่ใน พื้ นที่ ท ่ องเที่ ย วนั้ น ๆ ทั้ ง นี้ ข่ า วสารและการ ประชาสัมพั นธ์ที่ น�ำเสนอจะต้องให้การสนับสนุน ให้ความเคารพและให้เกียรติกับชุ มชนในพื้นที่

IN-A14 a. ข้อความการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ ยวสื่อออกไปด้วยความจริ งแท้และ ความเคารพต่อชุมชนท้องถิ่นและนักท่องเที่ยว IN-A14 b. ข้อความการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยวสือ่ ออกไปอย่างตรงไปตรงมาทั้งใน รายละเอียดของผลิตภัณฑ์และการบริการ

B3 การมีส่วนร่วมในสังคม การมีส่วนร่วมในสังคม แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมี ระบบส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในสังคม ใน กระบวนการวางแผนเกีย่ วกับแหล่งท่องเที่ยวและ การตัดสินใจในระยะยาว

IN-B3 a. มีระบบอ�ำนวยให้ภาคประชาชน ภาค ธุรกิจ และผู้มีส่วนได้เสียในชุ มชนมีส่วนในการ วางแผนและการตัดสินใจในการจัดการแหล่งท่อง เที่ยวโดยผ่านการประชุ มประจ�ำปี IN-B3 b. ในแต่ละปี มีการประชุมหารือสาธารณะ เพือ่ หารือประเด็นการจัดการแหล่งท่องเที่ยว

B4 ความคิดเห็นชุ มชนท้องถิ่น ความคิดเห็นของชุ มชนท้องถิ่ น แหล่งท่องเที่ยว จะต้องควบคุม ป้องกัน และฟื้นฟูการเข้าถึง แหล่งท่องเที่ ยวจะต้องได้รับการจดบันทึกอย่าง สม�่ำเสมอ และรายงานต่อสาธารณะในเวลาอัน สมควร

IN-B4 a. มีการเก็บ ตรวจสอบ บันทึก และ เผยแพร่รายงานข้อมูลของความต้องการ ข้อกังวล และความพึงพอใจของผู้อยู่อาศัยต่อการจั ดการ แหล่งท่องเที่ยวอยู่เป็นประจ�ำ IN-B4 b. การเก็บ ตรวจสอบ บันทึก และเผย แพร่รายงานข้อมูลเกิดขึ้นในเวลาที่เหมาะสม

B5 การเข้าถึงพื้นที่ของคนในท้องถิ่น การเข้าถึงพืน้ ที่ของคนในท้องถิ่น แหล่งท่องเที่ยว จะต้องควบคุม ป้องกัน และฟืน้ ฟูการเข้าถึงแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมของคนใน ท้องถิ่น ทั้ งนี้ เพื่อไม่ให้สถานที่ท่องเที่ยวเกิดการ บุกรุกหรือถูกท�ำลาย

IN-B5 a. มีแผนงานการตรวจสอบ ป้องกัน และ ฟืน้ ฟู หรือซ่อมแซม การเข้าถึงแหล่งทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมของคนท้องถิ่น IN-B5 b. มีการติดตามประเมินพฤติกรรม และ คุณลักษณะของคนท้องถิน่ และนักท่องเทีย่ วทั้งจาก ในประเทศและต่างประเทศที่มตี อ่ แหล่งท่องเที่ยว

หมวด B : การเพิม่ ผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบ ทางสังคม-เศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น B1 การควบคุมดูแลเศรษฐกิจ การควบคุมดูแลเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจที่ดีขนึ้ ซึ่งเป็นผลจากการท่องเที่ ยวในแหล่งท่องเที่ ยว นั้นๆ ทั้ งทางตรงและทางอ้อม จะต้องได้รับการ จดบันทึกและรายงานต่อสาธารณะอย่างน้อยปีละ หนึ่งครั้ง หมายรวมถึง จ�ำนวนการใช้จ่ายของผู้มา เที่ยว รายรับต่อห้องพั ก อัตราการจ้างงานตลอด จนข้อมูลการลงทุน

IN-B1 a. มีการวัดผลและรายงานข้อมูลการใช้จา่ ย ของนักท่องเที่ยว รายได้ต่อห้องพั ก การจ้างงาน และการลงทุน IN-B1 b. มีการวัดผลและรายงานการลงทุนทางตรง และทางอ้อมด้านการท่องเทีย่ วอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ IN-B1 c. มีการเก็บข้อมูลและรายงานเผยแพร่ ข้ อ มู ล การจ้ า งงานในธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การ ท่องเที่ยว โดยแบ่งเป็นเพศและอายุ

B2 โอกาสในการประกอบอาชี พของคนในท้องถิ่น โอกาสในการประกอบอาชี พของคนในท้องถิ่ น บริษทั ต่างๆในแหล่งท่องเที่ยวที่ตอ้ งให้โอกาสการ จ้างงาน การฝึกอบรมแก่คนในท้องถิ่น รวมทั้ ง ความปลอดภัยในการท�ำงานอย่างเท่าเทียมกัน

IN-B2 a. มีข้อกฎหมายและนโยบายที่สนับสนุน ให้เกิดโอกาสที่ เท่า เที ยมกันในการจ้างงานทั้ ง ผู ้ ห ญิ ง เยาวชน ผู ้ พิ การ ชนกลุ ่ ม น้ อ ย และ ประชาชนผู้ด้อยโอกาสอื่นๆ IN-B2 b. มีการฝึกอบรมที่สามารถเข้าถึงได้อย่าง เท่าเทียมทั้ งผู้หญิง เยาวชน ผู้พิการ ชนกลุ่มน้อย และประชาชนผู้ด้อยโอกาส IN-B2 c. มีขอ้ กฎหมายและนโยบายที่สนับสนุน ให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำงาน IN-B2 d. มีขอ้ กฎหมายและนโยบายที่สนับสนุน ในเกิดการให้ผลตอบแทนการจ้างงานที่เป็นธรรม ส�ำหรับทั้ งผู้หญิง เยาวชน ผู้พิการ ชนกลุ่มน้อย และประชาชนผู้ด้อยโอกาสอื่นๆ 14

B6 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการท่องเที่ยว IN-B6 a. มีแผนงานการเพิม่ ความตระหนักรูท้ ั้ ง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการท่องเที่ยว แหล่ง ในระดับชุมชน โรงเรียน และมหาวิ ทยาลัยในเรื่อง ท่องเที่ยวจะต้องจัดการให้ความรูแ้ ก่ชุมชนเพือ่ เพิม่ ของบทบาทการท่องเที่ยวที่มีพื้นที่ ความเข้าใจเกี่ยวกับโอกาส ความท้าทายของการ ท่องเที่ยว และความส�ำคัญของความยั่งยืน B7 การป้ อ งกั น การแสวงหาประโยชน์ โดย ไม่ชอบธรรม การป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ โดยไม่ชอบ ธรรม แหล่งท่องเที่ ยวจะต้องมีกฎหรื อวิ ธีการ ปฏิบัติที่ป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ โดยไม่ ชอบธรรม หรือเป็นการคุกคามผู้อื่นไม่ว่าโดยวิ ธี การใดๆที่อาจเกิดขึ้นกับ เด็กและสตรี กฎหมาย และวิธปี ฏิบตั นิ จี้ ะต้องประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน

IN-B7 a. มีกฎหมายหรือแผนงานในการป้องกัน การแสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบทั้ งในเชิงการค้า (ของผิดกฎหมาย) การค้าประเวณี หรือในรูปแบบ อื่นๆ / หรือการเลือกปฏิบัติ หรือการล่วงละเมิด ใดๆ จากคนในชุ มชนและตัวนักท่องเที่ยว IN-B7 b. กฎหมายหรือแผนงานมีการสื่อสาร ออกไปในระดับสาธารณะ 15


หลักเกณฑ์

รายละเอียดของหลักเกณฑ์

หลักเกณฑ์

รายละเอียดของหลักเกณฑ์

B8 สนับสนุนชุ มชน การสนับสนุนชุ มชน แหล่งท่องเที่ ยว จะต้องมี ระบบที่ส่งเสริมบริษัทต่างๆ นักท่องเที่ยว และ สาธารณชนให้มีส ่วนร่วมในการสนับสนุนชุ มชน และการเริ่มต้นโครงการต่างๆอย่างยั่งยืน

IN-B8 a. มีแผนงานในการริเริ่มให้ผู้ประกอบ การ นักท่องเที่ยว และบุคคลทั่วไป สนับสนุนการ ท�ำนุบ�ำรุงชุ มชน และรักษาความหลากหลายทาง ชี วภาพ และ/หรือการพั ฒนาสาธารณูปโภค

IN-C3 a. มีคู่มือข้อควรปฏิบัติของนักท่องเที่ยว เพือ่ การท่องเที่ยวในแหล่งที่มคี วามอ่อนไวทั้งทาง ด้านวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม IN-C3 b. มี ข ้ อ กฎเกณฑ์ การปฏิ บั ติ ง านของ มัคคุเทศก์และบริษัทน�ำเที่ยว

B9 สนับสนุนท้องถิ่นและการค้าโดยเป็นธรรม การสนับสนุนท้องถิ่ นและการค้าโดยชอบธรรม แหล่งท่องเที่ ยวต้องมีระบบที่ สนับสนุนท้องถิ่ น บริษัทขนาดเล็กและขนาดกลาง รวมถึงส่งเสริม และพั ฒนาความยั่งยืนของสินค้าท้องถิ่น โดยยึด หลักส�ำคัญของการค้าโดยชอบธรรมที่มพี นื้ ฐานมา จากธรรมชาติและวัฒนธรรมท้องถิ่น หมายรวม ถึงอาหารและเครื่องดืม่ งานฝีมอื ศิลปะการแสดง และสินค้าทางการเกษตร เป็นต้น

IN-B9 a. มีแผนงานการสนับสนุนและเพิ่มขี ด ความสามารถให้แก่ผู้ประกอบการขนาดเล็กและ ขนาดกลาง IN-B9 b. มีแผนงานการส่งเสริมให้ผู้ประกอบ การซื้อสินค้าและบริการจากชุ มชน IN-B9 c. มีแผนงานในการส่งเสริมและพั ฒนา ผลิตภัณฑ์ชุ มชนที่ยั่งยืน จากฐานทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมของชุ มชนเอง IN-B9 d. มีแผนงานในการน�ำช่างฝีมือท้องถิ่น เกษตรกร และผูผ้ ลิตต่างๆ มาอยูใ่ นห่วงโซ่คณ ุ ค่า ของการท่องเที่ยว

C3 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว พฤติกรรมนักท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวจะต้องตี พิมพ์คมู่ อื การปฏิบตั ติ วั ในการท่องเที่ยวสถานที่ที่ มี ผลต่ อ ความรู ้ สึ ก ด้ านจิ ต ใจและความศรั ท ธา (Sensitive Sites) เช่น วัดวาอาราม เป็นต้น คูม่ อื ดังกล่าวจะสร้างความเข้าใจและช่วยลดผลกระทบ เชิงลบที่ จะตามมา ตลอดจนเป็นการส่งเสริ ม พฤติกรรมที่ดจี ากนักท่องเที่ยว C4 การปกป้องมรดกทางวัฒนธรรม การปกป้องมรดกทางวัฒนธรรม แหล่งท่องเที่ยว จะต้องมีกฎหมายเกีย่ วกับการค้า การแลกเปลีย่ น การจั ดการแสดงและการให้ของขวัญที่ เกี่ยวกับ โบราณวัตถุ และวัตถุทางประวัติศาสตร์

หมวด C : การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบ ทางวัฒนธรรมแก่ชุ มชน และนักท่องเที่ยว C1 การปกป้องดูแลสถานที่ท่องเที่ยว การปกป้องดูแลสถานที่ทอ่ งเที่ยว แหล่งท่องเที่ยว ต้องมีนโยบายและระบบในการวัดผล การฟื้นฟู รักษาธรรมชาติและสถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงวัฒนธรรม รวมถึงมรดกสิง่ ปลูกสร้าง (เชิงประวัตศิ าสตร์และ โบราณคดี) และทัศนียภาพทั้งในเมืองและชนบท

IN-C1 a. มีระบบการจั ดการเพื่อปกป้องแหล่ง ธรรมชาติและวัฒนธรรม รวมถึงการสร้างสภาพ ทิวทั ศน์ที่ดี ให้แก่แหล่งมรดก IN-C1 b. มีระบบการจัดการเพือ่ ตรวจสอบ วัดผล และบรรเทาผลกระทบจากการท่องเที่ ยวที่ มีต่อ แหล่งท่องเที่ยว

C2 การจั ดการนักท่องเที่ยว IN-C2 a. มีกลไกเชิงบริหารที่รับผิ ดชอบน�ำเอา การจัดการนักท่องเทีย่ ว แหล่งท่องเทีย่ วต้องมีระบบ แผนและการปฏิบัติการจั ดการนักท่องเที่ยวไปใช้ ในการจัดการนักท่องเที่ยวส�ำหรับสถานที่ทอ่ งเที่ยว ต่างๆ หมายรวมถึงมาตรการในการรักษา ป้องกัน และพัฒนาสมบัตทิ างธรรมชาติและวัฒนธรรม 16

IN-C4 a. มีกฎหรือข้อบังคับ เพื่อปกป้องแหล่ง ประวัตศิ าสตร์และโบราณคดี รวมถึงแหล่งใต้นำ�้ และมีหลักฐานการใช้จริง IN-C4 b. มีแผนงานเพื่อปกป้องและประกาศ ยกย่องมรดกทางวัฒนธรรมที่จั บต้องไม่ได้ IN-C5 a. มีขอ้ มูลสือ่ ความหมายแก่นกั ท่องเที่ยว ในศูนย์ขอ้ มูลท่องเที่ยว และ ในแหล่งท่องเที่ยวทั้ง ทางธรรมชาติและวัฒนธรรม IN-C5 b. มีข้อมูลสื่อความหมายที่มีความเหมาะ สมทางวัฒนธรรม IN-C5 c. ชุ มชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการพั ฒนา ข้อมูลสื่อความหมาย IN-C5 d. มีข้อมูลสื่อความหมายเป็นภาษาที่ นัก ท่องเที่ยวโดยส่วนใหญ่สามารถเข้าใจได้ IN-C5 e. มีการฝึกอบรมมัคคุเทศก์ ในเรื่องการ ใช้ข้อมูลสื่อความหมาย

C5 การให้ขอ้ มูลที่ถกู ต้องเกีย่ วกับสถานที่ทอ่ งเที่ยว การให้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้องเกีย่ วกับสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว จัดให้ มีขอ้ มูลเกีย่ วกับสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วฉบับแปลไว้อย่างถูก ต้อง ซึง่ จัดเตรียมไว้ในสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมต่างๆ ข้อมูลทีเ่ ตรียมไว้ ต้องเป็นข้อมูล ทีเ่ หมาะสมในเชิงวัฒนธรรมซึง่ เกิดจากการพัฒนาขึน้ จากความร่ ว มมื อ ของคนในชุ ม ชน และมี การ ประชาสัมพันธ์ดว้ ยภาษาทีเ่ หมาะสมกับนักท่องเทีย่ ว C6 ทรัพย์สนิ ทางปัญญา ทรัพย์สนิ ทางปัญญา แหล่งท่องเทีย่ วต้องมีระบบใน IN-c6 a. มีกฎหมาย ข้อบังคับ หรือแผนงาน การสร้างการมีสว่ นร่วมที่เกีย่ วกับการป้องกันและ เพือ่ ปกป้องทรัพย์สนิ ทางปัญญาให้กบั คนในชุมชน การวางแผนทรัพย์สนิ ทางปัญญาของชุมชนและบุคคล และชุ มชน

หมวด D: การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบด้านลบทางสิ่งแวดล้อม D1 ความเสี่ยงทางด้านสิ่งแวดล้อม ความเสีย่ งทางด้านสิง่ แวดล้อม แหล่งท่องเทีย่ วควร มีการระบุความเสีย่ งทางด้านสิง่ แวดล้อมและระบบ ในการแก้ปญ ั หาความเสีย่ งเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อม

IN-D1 a. ในช่วง 5 ปีที่ผ า่ นมามีการประเมินด้าน ความยั่งยืน และการ(ค้นหา)ระบุความเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อม IN-D1 b. มีระบบที่จะรับมือกับความเสี่ยงที่ ได้ ระบุนั้นๆ 17


หลักเกณฑ์

D2 การปกป้องสิ่งแวดล้อมที่มีความเสี่ยง การปกป้องสิง่ แวดล้อมที่มคี วามเสีย่ ง แหล่งท่อง เที่ยวจะต้องมีระบบการควบคุมและดูแลผลกระทบ จากการท่องเที่ยวที่อาจมีตอ่ สิง่ แวดล้อม ทั้งนี้ เพือ่ ธ�ำรงไว้ซงึ่ การรักษาถิ่นที่อยูอ่ าศัย พันธุส์ ตั ว์ ระบบ นิเวศ และการป้องกันการแพร่ระบาดของแมลงและ โรคต่างๆ D3 การปกป้องสิ่งมีชี วิ ตในป่า การปกป้องสิง่ มีชีวติ ในป่า แหล่งท่องเทีย่ วต้องปฏิบตั ิ ตามกฎหมายท้องถิน่ กฎหมายประจ�ำชาติและกฎหมาย ระหว่างประเทศในการเก็บเกีย่ ว การล่า การแสดง และ การค้าสิง่ มีชีวิตจากป่า รวมทั้งพันธุ์ไม้และพันธุส์ ตั ว์ D4 ปรากฏการณ์เรือนกระจก ปรากฏการณ์เรือนกระจก แหล่งท่องเทีย่ วจะต้องส่ง เสริมให้บริษทั ต่างๆ ตรวจวัด ดูแล และลดระดับ ปล่อยควันพิษอันเป็นสาเหตุของปรากฏการณ์เรือน กระจกให้น้อยลง ทั้ งนีจ้ ากทุกภาคส่วนของการ ปฏิบตั งิ าน พร้อมรายงานผลต่อสาธารณะ รวมถึง การปล่อยควันพิษจากผู้ให้บริการด้วย D5 การประหยัดพลังงาน การประหยัดพลังงาน แหล่งท่องเที่ยวต้องมีระบบ การส่งเสริมให้บริษทั ต่างๆ ตรวจวัด ดูแล ลดการ ใช้พลังงาน และรายงานต่อสาธารณะ รวมทั้งการลด การใช้พลังงานจากแร่ธาตุธรรมชาติ

รายละเอียดของหลักเกณฑ์

IN-D2 a. มีการเก็บข้อมูลรายการสัตว์ป่าและ แหล่งที่อยูอ่ าศัยของสัตว์ปา่ หายากและถูกคุกคาม ซึง่ มีการท�ำให้เป็นปัจจุบนั เสมอ IN-D2 b. มีระบบการจั ดการส�ำหรับการตรวจ สอบผลกระทบและปกป้องระบบนิเวศ สิง่ แวดล้อม ที่เปราะบาง และสิ่งมีชี วิ ตต่างๆ IN-D2 c. มีระบบป้องกันการเข้ามาของสายพันธุต์ า่ งถิน่ IN-D3 a. มีการใช้อนุสญ ั ญา CITES (อนุสญ ั ญา ว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึง่ ชนิดสัตว์ปา่ และ พืชป่าที่ ใกล้สญ ู พั นธุ)์ IN-D3 b. มีขอ้ บังคับและมาตรฐานเพือ่ ควบคุม การเลีย้ ง จับ แสดง และขาย พืชและสัตว์ IN-D4 a. มีแผนงานในการช่วยเหลือผูป้ ระกอบ การในการวัด ตรวจสอบ ลด และรายงานการปลดปล่อย ก๊าซเรือนกระจก IN-D4 b. มีระบบเพือ่ ช่วยผูป้ ระกอบการในการลด การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก

IN-D5 a. มีแผนงานส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การวัด การตรวจสอบ การลด และการเผยแพร่ รายงานปริมาณการใช้พลังงาน IN-D5 b. มีนโยบายและระบบแรงจูงใจในการลด การใช้พลังงานฟอซซิล ปรับ ปรุงการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ D6 การจั ดการน�้ำ IN-D6 a. มีแผนงานการช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ การจัดการน�ำ้ แหล่งท่องเที่ยวต้องมีระบบส่งเสริม ในวัด ตรวจสอบ ลด และเผยแพร่รายงานปริมาณ ให้บริษทั ต่างๆ ตรวจวัด ดูแล ลดการใช้นำ�้ และ การใช้นำ�้ รายงานต่อสาธารณะ D8 คุณภาพน�้ำ IN-D8 a. มีระบบการจัดการเพือ่ ตรวจสอบและ คุณภาพน�ำ้ แหล่งท่องเทีย่ วต้องมีระบบดูแลคุณภาพ เผยแพร่รายงานคุณภาพน�้ำดื่มและน�้ำใช้ ในการ น�้ำดื่มและน�้ำ เพื่อนันทนาการโดยใช้มาตรฐาน นันทนาการ คุณภาพน�ำ้ และรายงานต่อสาธารณะ รวมทั้งแหล่ง IN-D8 b. มีการเผยแพร่รายงานผลการตรวจสอบ ท่องเที่ ยวจะสามารถจั ดการกับ ปัญหาเกี่ยวกับ IN-D8 c. มีระบบการรับมือกับ ประเด็นเรื่อง คุณภาพน�ำ้ ที่เกิดขึน้ ได้ตามเวลาที่เหมาะสม คุณภาพน�ำ้ ที่ทันท่วงทีภายในเวลาที่เหมาะสม 18

หลักเกณฑ์

รายละเอียดของหลักเกณฑ์

D9 น�้ำเสีย น�ำ้ เสีย แหล่งท่องเที่ยวจะต้องมีคมู่ อื ที่ชดั เจนเกีย่ ว กับการพั กน�้ำเสีย การรักษาสภาพน�้ำ และการ ทดสอบน�ำ้ ทีถ่ กู ระบายออกจากท่อระบายน�ำ้ เพือ่ ให้ แน่ใจว่าน�ำ้ เสียเหล่านัน้ ได้ถกู บ�ำบัดและน�ำมาใช้ใหม่ หรือถูกปล่อยออกไปโดยมีผลกระทบต่อประชากร และสิง่ แวดล้อมน้อยที่สดุ

IN-D9 a. มีขอ้ บังคับในเรื่องการวางสถานที่ การ บ�ำรุงรักษา และการทดสอบการปล่อยของเสียออก จากบ่อเกรอะ และระบบการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย และมี หลักฐานว่ามีการใช้ขอ้ บังคับนัน้ จริง IN-D9 b. มีขอ้ บังคับในการก�ำหนดขนาดและชนิด ของระบบการบ�ำบัดน�ำ้ เสียให้เหมาะสมและเพียงพอ กับสถานที่ และมีหลักฐานว่ามีการใช้ขอ้ บังคับนัน้ จริง IN-D9 c. มีแผนงานการช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ ในการบ�ำบัดน�ำ้ เสียและน�ำน�ำ้ ที่บำ� บัดแล้วกลับมา ใช้ใหม่อย่างมีประสิทธิผล IN-D9 d. มีแผนงานในดูแลการบ�ำบัด การน�ำกลับ มาใช้ หรือการปล่อยน�ำ้ เสียให้มผี ลกระทบเชิงลบต่อ ชุมชนและสิง่ แวดล้อมน้อย

D10 การลดจ�ำนวนขยะ การลดจ�ำนวนขยะ แหล่งท่องเทีย่ วจะต้องมีระบบส่ง เสริมให้บริษทั ต่างๆ ลดจ�ำนวนขยะ การแปรรูปขยะ และน�ำกลับมาใช้ใหม่ และขยะที่เหลือสามารถน�ำมา แปรรูปหรือน�ำกลับมาใช้ใหม่จะต้องได้รบั การก�ำจัด อย่างปลอดภัยและยัง่ ยืน

IN-D10 a. มีระบบการเก็บขยะที่มกี ารแจ้งบันทึก ปริมาณของขยะที่เก็บได้อยูเ่ สมอ IN-D10 b. มีแผนการการจัดการขยะที่มกี ารไป ปฏิบัติจริง และมีเป้าหมายเชิงปริมาณในการลด ขยะให้เหลือน้อยที่สดุ รวมถึงการจัดการขยะที่ ไม่ สามารถน�ำมาใช้ใหม่หรือรีไซเคิลได้อย่างปลอดภัย IN-D10 c. มีแผนงานการช่วยเหลือผูป้ ระกอบการใน การลดขยะ การน�ำขยะกลับมาใช้ใหม่ การรีไซเคิลขยะ IN-D10 d. มีแผนงานในการลดการใช้ขวดน�ำ้ ทั้ง จากสถานประกอบการและนักท่องเที่ยว IN-D11 a. มีแนวทางและข้อบังคับในการลด มลภาวะทางเสียงและแสงลงให้นอ้ ยที่สดุ IN-D11 b. มีแผนงานสนับสนุนผู้ประกอบการ ปฏิ บั ติ ตามหลั ก เกณฑ์ แ ละข้ อ บั ง คั บ ในการลด มลภาวะทางเสียงและแสงลง IN-D12 a. มีแผนงานในการเพิม่ การใช้การขนส่ง ที่มผี ลกระทบต�ำ่ IN-D12 b. มีแผนงานท�ำให้แหล่งท่องเที่ยวมีขีด ความสามารถในการน�ำเอาระบบการเดินทางที่ ได้ ออกก�ำลังมาใช้

D11 มลภาวะทางแสงและเสียง มลภาวะทางแสงและเสียง แหล่งท่องเที่ยวควรมี คูม่ อื และกฎข้อบังคับในการลดมลภาวะทางแสงและ เสียง และส่งเสริมให้บริษทั ต่างๆ ปฏิบตั ติ าม D12 การขนส่งที่ส่งผลกระทบต�่ำ การขนส่งที่ส่งผลกระทบต�่ำ แหล่งท่องเที่ยวจะ ต้องมีระบบในการส่งเสริ มให้เพิ่มการใช้ระบบ ขนส่งที่มีผลกระทบต�่ำ รวมถึงการใช้ระบบขนส่ง สาธารณะและระบบขนส่งที่ ไม่ตอ้ งใช้พลังงาน เช่น การเดิน หรือการปั่นจั กรยาน

19


การบริหารจัดการการท่องเทีย่ วโดยกระบวนการมีสว่ นร่วมของชุมชน โดยชุมชนต�ำบลบ่อสวก อ�ำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน จากเรื่องเล่าที่ว่า พื้นที่แห่งนีเ้ ป็นที่อาศัยของชาวลั๊วะ และในหมู่บา้ นก็มีบ ่อเกลือศักดิ์สิทธิ์อยู่เรียก ว่า บ่อซวก ต่อมาการเรียกชื่ อหมู่บา้ นกลายมาเป็น บ้านบ่อสวก ในปัจจุบัน และมีหลักฐานปรากฏว่า มีบอ่ เกลืออยูท่ ี่กลางทุง่ นาจ�ำนวน 2 บ่อ ประกอบกับหลักฐานทางโบราณคดีที่มกี ารสันนิษฐานว่าพืน้ ที่ ต�ำบลบ่อสวกเคยเป็นแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาขนาดใหญ่ของเมืองน่านในสมัยโบราณ นับ แต่ที่มี การขุดค้นพบเตาเผาโบราณและวัตถุโบราณ อายุกว่า 700 ปี (ประมาณปี พ.ศ. 1950 – 2050) ในพื้นที่ ต�ำบลบ่อสวก ท�ำให้นักท่องเที่ ยวทั้ งชาวไทยและชาวต่างชาติต่างสนใจเข้ามาเยี่ยมชมแหล่ง เตาเผาโบราณและพิพธิ ภัณฑ์ และท�ำให้ชุมชนได้ตระหนักถึงการรักษา อนุรกั ษ์และมองเห็นคุณค่าของชุมชน พื้นที่ต�ำบลบ่อสวก อ�ำเภอเมืองน่าน จั งหวัดน่าน ประกอบด้วย 13 หมู่บา้ น อยู่ในพื้นที่รับผิ ดชอบของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บ่อสวก ในเขตพืน้ ที่พเิ ศษ เมืองเก่าน่าน โดยมีลกั ษณะสภาพทางภูมศิ าสตร์ ของชุ มชนเป็นที่ราบภูเขา มีล�ำห้วยส�ำคัญที่ ไหลผ่าน คือ ล�ำห้วยสวก ล�ำห้วยม่วง ล�ำห้วยน�้ำจาง ส่วน ชื่ อชุ มชนบ่อสวกนัน้ มาจากบ่อเกลือโบราณที่มี ในชุ มชน ค�ำว่า “สวก” หมายถึง “เกลือ” บ่อสวก หมาย ถึง บ่อเกลือ ชุ มชนบ่อสวกมีจ�ำนวน 2,077 ครัวเรือน ประชากรทั้ งสิ้น 6,554 คน ประชากรส่วนใหญ่มีอาชี พ เกษตรกรรม ปลูกข้าวเหนียว ข้าวเจ้า ท�ำไร่ขา้ วโพด ถัว่ เหลือง มันส�ำปะหลัง ถัว่ เขียว งาด�ำ อ้อย ฟักทอง เห็ด หน่อไม้ ฟักแฟง มีการปลูกยางพารา สัก มะนาว สวนผลไม้ ได้แก่ ส้ม ล�ำไย มะขาม มะปราง มะละกอ สับปะรด มะม่วง มะต๋าว(ลูกชิด) ลิ้นจี่ มะไฟ มะไฟจีน กระท้อน สลอด มะม่วงหิมพานต์ ชมพู่ ด้านหัตถกรรมพื้นบ้าน ประกอบด้วย ผ้าทอมือ เครื่องจั กสาน (สุ่ม ไซ กระติ๊บข้าว ข้อง แหจั บปลา ตระกร้า ชะลอม กระด้ง เหิง หมวก) เครื่องดนตรีพื้นเมือง (สะล้อ พิณ) และไม้กวาด (ไม้กวาดดอกหญ้า ไม้กวาดทางมะพร้าว)

ด้านการให้บริการท่องเที่ยวโดยชุมชนนัน้ ต�ำบลบ่อสวกเน้นการเยีย่ มชมวิถีชี วิตในชุมชน ทั้งกิจกรรมกลุม่ เครื่องปัน้ ดินเผา ทอผ้า กลุม่ น�ำ้ อ้อย (ขนมปาด , ไส้เมีย่ ง) กลุม่ จักสานผู้ (เรื่องเล่าต�ำแหลว) สวนเกษตร อินทรีย์ (ลูกประคบ) ส่วนแหล่งท่องเที่ยว เป็นการน�ำชมเตาเผาโบราณ นมัสการพระไม้โบราณ พระธาตุ ศรีจอมบ่อสวก พระเจ้าทันใจ หินปิดกรุพระบ่อสวก วัดบ่อสวก ด้านการประเพณี ประเพณีนมัสการ พระธาตุฉมิ พลี พระธาตุทันใจ ดอยภูสะงืด งานประเพณีของดีวิถีบอ่ สวก การแข่งพายกระทะ (หม้อขาง) ในงานประเพณีสงกรานต์ วัดบ่อสวก ด้านบริการ ประกอบด้วย มัคคุเทศก์ทอ้ งถิ่น โฮมสเตย์ รับน�ำเที่ยว ท้องถิ่น ขนมพืน้ บ้าน อาหารพืน้ เมือง พิธบี ายศรีสขู่ วัญ และสินค้าของที่ระลึก เช่น เครื่องปัน้ ดินเผา สร้อยคอ เครื่องเคลือบลายบ่อสวก (ลายอินธนู , ลายนกฮูก) ผ้าทอ และเครื่องจักสาน เป็นต้น *หมายเหตุ : สวก หมายถึง เกลือ และบ่อสวก หมายถึง บ่อเกลือ กิจกรรมการท่องเที่ยวที่ นักท่องเที่ยวจะได้พบเห็นเมื่อมาเยือนบ่อสวกซึ่งจะมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างนักท่องเที่ยวกับ เจ้าบ้านหรือชุ มชน อาทิเช่น โฮมสเตย์ ซึง่ นักท่องเที่ยวจะได้สมั ผัสเรียนรูว้ ิถีชี วิตท้องถิ่นของ ชาวบ้านในชุ มชน มีโอกาสเข้าพั กอาศัยร่วมกับ เจ้าของบ้านในชุ มชน เพื่อเรียนรู้วิ ถีชี วิ ต วัฒนธรรม ประเพณี อาหาร การแต่งกาย ของ ชุ มชนต�ำบลบ่อสวกอย่างแท้จริง เตาเผาโบราณบ้านจ่ามนัส ซึ่งชุ มชนจะมีการน�ำเสนอร่องรอย หลักฐานทางโบราณคดี ของชุ มชนให้แก่นักท่องเที่ยวผ่านวิ ทยากร หรือนักสื่อความหมายของชุ มชนที่ มีความช�ำนาญในการถ่ายทอด ความรู้เป็นอย่างดี กระบวนการท�ำเครื่องปั้นดินเผา โดยนักท่องเที่ยวจะได้ลงมือ ท�ำและรับทราบเรื่องราวเกี่ยวกับ เตาเผาเมืองน่าน และเครื่องปั้น ต่างๆ ที่ บ ่งบอกถึงความส�ำคัญของเมืองน่านในอดี ตที่ เป็นเมือง ส�ำคัญของล้านนาตะวันออก ซึ่งมีการติด ต่อแลกเปลี่ยนสิน ค้า ไปสู่สุโขทั ย ล้านช้าง ล้านนา ที่มีอายุราวปี พ.ศ. 1950 - 2050 โดยมีลวดลายเครื่ องปั้นที่ มีเอกลักษณ์ ไ ด้แก่ ลายอินธนู และ ลายนกฮู ก ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ได้ มี การจั ด ตั้ ง ศู น ย์ เรี ย นรู ้ เพื่ อ สื บ ทอด ภูมปิ ญ ั ญาของชุมชนและเปิดโอกาสให้นกั ท่องเที่ยวได้รบั ประสบการณ์ อันทรงคุณค่ากลับไป

20

21


กลุม่ ผ้าทอซาวหลวง เป็นวิถีที่สบื ทอดมาจนถึงปัจจุบนั ซึ่งเป็นการทอผ้าลายบ่อสวกที่ ชาวบ้านได้รับการสืบทอด และต่อยอดมาจากเดิมที่ มีการทอผ้าธรรมดา โดยมีการ ประยุกต์ลายบ่อสวกลงในผืนผ้าที่มาจากลายเครื่องปัน้ และ หม้อไห ชามโบราณ ปัจจุ บันกลุ่มทอผ้าได้กลายเป็นศูนย์ เรียนรู้โดยมีการสาธิตกระบวนการปัน่ ฝ้าย ทอฝ้าย ตัดเย็บ และถ่ายทอดเทคนิคทั กษะไปสู่รุ่นลูกหลาน โดยผ้าทอของ ชาวบ้านซาวหลวงได้รับการพั ฒนาและยกระดับ เป็นแบรนด์ “น่านเน้อเจ้า” ซึ่งเป็นการต่อยอดสืบสานงานหัตถกรรม ของชุ มชนให้ยั่งยืน กลุม่ จักสานบ้านต้าม จากการรวมกลุม่ เพือ่ ที่จะอนุรักษ์ ภูมปิ ญ ั ญาดั้งเดิมของท้องถิ่นไว้ ซึ่งเป็นเครื่องจั กรสานที่ ใช้ ในชี วิตประจ�ำวันทั่วไปและมีการพั ฒนาต่อยอด ประยุกต์ ให้ มีรปู แบบที่สวยงามทันสมัย ปัจจุบนั “การจักสานบ้านต้าม” เป็นหนึง่ ในกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่ นกั ท่องเที่ยว ชื่ นชอบ กลุ่มวิ สาหกิจน�้ำอ้อยบ้านป่าคา เป็นแหล่งเรียนรู้ ใน การแปรรูปน�้ำอ้อย ซึ่งเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาในการ ถนอมอาหารตัง้ แต่สมัยโบราณและยังคงสืบทอดมาเป็นวิถี ชี วิตของคนรุน่ หลังในปัจจุบนั โดยนักท่องเที่ยวจะได้เรียนรู้ ตั้งแต่การเตรียมวัตถุดิบจนถึงการแปรรูปน�้ำอ้อย เพราะ อ้อยถือเป็นพืชที่คนบ่อสวกใช้ ในการประกอบพิธีกรรมตาม ความเชื่ อมาตั้งแต่อดี ตจนถึงปัจจุบัน “โดยปัจจุบันทางกลุ่มทางกลุ่มวิ สาหกิจชุ มชนน�้ำอ้อย และชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชน ต�ำบลบ่อสวก ได้พั ฒนากิจกรรม สามารถใช้กระบื อเที ยมหี บอ้อยโบราณ สาธิตการหี บอ้อยด้วย กระบือเผือก (ควายปอน) ให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสบรรยากาศของวิ ถีชี วิ ตดั้งเดิมของชุ มชนที่สูญหาย ไปให้กลับมามีชี วิ ตอีกครั้ง”

22

นอกจากนี้ เมื่อนักท่องเที่ยวเข้าไปท่องเที่ยวและพั กค้างคืนที่ชุ มชนแล้ว ชุ มชนจะมีการจั ดเตรียม ชุ ดการแสดงจากกลุ่มผู้สูงอายุและเยาวชนในชุ มชนซึ่งเป็นการแสดงออกถึงวัฒนธรรมท้องถิ่ น เช่น การแสดงดนตรีพื้นเมือง (สะล้อ ซอ ซึง) และการฟ้อนร�ำในแบบฉบับของคนบ่อสวกอีกด้วย ส่วน ด้านอื่นที่ นา่ สนใจประกอบด้วย การหมักเมี่ยง ท�ำขนมปาด ความเชื่ อ (เลี้ยงผี ปู่ยา่ ดงปู่ฮ่อ เจ้านาง ฟอง เลี้ยงผี ขุนน�้ำ ผี ธรณี ตานข้าวใหม่ สู่ขวัญพระ (คน ข้าว ควาย) ส่งเคราะห์ (วัด บ้าน คน ) สืบ ชะตา (วัด บ้าน คน ) บวชป่า ศิลปวัฒนธรรม (กลองบูจา สะล้อ ซอ พิณ ฟ้อนแง้น ค่าวจ้อย บั้งไฟ ขึ้น บั้งไฟดอก)

อัตลักษณ์ของชุ มชน ไม่วา่ จะเป็นงานประเพณีส�ำคัญที่ น่าสนใจ เช่น งานประเพณีงานของดี บ ่อสวก งานปี๋ใหม่เมือง งานแข่งพายหม้อขาง นมัสการพระธาตุทั นใจ ดอยภูสะงืด พระธาตุฉมิ พลี บวงสรวง เจ้าดงปูฮ่ อ่ งานหัตถกรรมที่มาจากภูมปิ ญ ั ญาท้องถิ่น (ผ้าทอมือ เครื่องจักสาน) ส่วนอาหารหรือเครื่อง ดื่มประจ�ำถิ่น น�้ำปู แกงฮังเล น�้ำพริกอ่อง น�้ำพริกหนุ่ม น�้ำพริกข่า น�้ำพริกหน่อไม้ดอง แหนมเห็ด แกงหยวกกล้วย แกงแคไก่ แกงบอน แกงฟักใส่ไก่ แกงขนุน เครื่องดื่ม (น�้ำอ้อย) และขนมหวาน (ลอดช่อง ขนมปาด ข้าวต้มมัด ข้าวต้มหัวหงอก ขนมเหนียบ ขนมจ๊อก ข้าวหลาม)

ศาสนสถานหรื อแหล่งประวัติศาสตร์ โบราณคดี แหล่งเตาเผา โบราณบ่อสวก วัดบ่อสวก บ่อเกลือโบราณ การแต่งกาย ชุ ดพื้นเมือง ผ้าซิ่น (ซิ่นปล่อง ซิ่นม่าน ซิ่นเชี ยงแสน) การละเล่น ร�ำวงมะเก่า ซอ ฟ้อนแง้น ฟ้อนล่องน่าน ฟ้อนเล็บ ค่าวจ้อย

23


ชุมชนต�ำบลบ่อสวกมีแนวทางในการบริหารจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนตามเกณฑ์มาตรฐาน การบริหารจั ดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุ มชน เพื่อเชื่ อมโยงผลประโยชน์จากการท่องเที่ยว โดยชุ มชนสู่ชุ มชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน (Community Benefitting Through Tourism : CBTT) โดยใช้ทรัพยากรที่มอี ยูใ่ นชุมชน ทั้งแรงงานในชุมชน วัตถุดบิ พืชผัก และผลิตภัณฑ์ ในชุ มชน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทางการท่องเที่ยว และเกิดการกระจายรายได้จากการ ท่องเที่ยวโดยชุ มชนอย่างทั่ วถึงทั้ งชุ มชน เช่น มีการใช้วัตถุดิบพืช ผักและเนื้อสัตว์จากชุ มชน แทนการซื้อวัตถุดิบจากห้างสรรพสินค้าหรือนอกชุ มชน เพื่อน�ำมาประกอบอาหารต้อนรับ นักท่องเที่ยว โดยชาวบ้านในชุ มชนเป็นผู้ปรุงอาหาร ก่อให้เกิดการจ้างงานและรายได้แก่ คนในชุมชน การน�ำน�ำ้ อ้อยสดจากกลุม่ วิสาหกิจชุมชนมาให้นกั ท่องเที่ยวรับประทานร่วมกับ อาหารว่างระหว่างการท�ำกิจกรรมการท่องเที่ยว และการซื้อผลิตภัณฑ์จากกลุ่มจั กสานมา ตกแต่งเพื่อต้อนรั บนักท่องเที่ ยว หรื อน�ำผลิตภัณฑ์จั กสานมอบเป็นของที่ ระลึกให้แก่ นักท่องเที่ ยว การส่งเสริ มให้ชาวบ้านในชุ มชนแต่งกายชุ ดพื้นเมือง และใส่ซิ่ นลวดลาย เอกลักษณ์บอ่ สวกในการต้อนรับนักท่องเที่ยว ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ผา้ ทอบ้านซาวหลวงเป็นที่รู้จั ก แก่นักท่องเที่ยว และกระตุ้นให้เกิดการกระจายรายได้มากขึ้น จากข้อมูลของชุ มชนต�ำบลบ่อสวกในข้างต้น ชุ มชนมีของดี มากมายจึงได้ ใช้ “ถิ่นฐาน โบราณคดี วิถีสขุ สบาย...สไตล์บอ่ สวก” เป็นสโลแกนทางด้านการท่องเที่ยว นอกจากนีแ้ ล้ว ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก จั งหวัดน่าน ยังมีผลงานดี เด่น ได้เข้า รับรางวัลกินรี ครั้งที่ 11 ประจ�ำปี 2560 ประเภทแหล่งท่องเที่ยวชุ มชนจุดเด่นของชมรม ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก จั งหวัดน่าน คือการเป็นแหล่งโบราณคดี ศิลปะพื้นบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่นและประเพณีต่างๆ ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ที่ โดดเด่น ชัดเจน และได้รับรางวัลมาตรฐานโฮมสเตย์ ไทย ประจ�ำปี 2560

24

การพัฒนาการท่องเทีย่ วโดยชุมชนอย่างยัง่ ยืน ตามหลักเกณฑ์ GSTC ของชุมชนต�ำบลบ่อสวก โดย อพท. การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนของชุมชนต�ำบลบ่อสวก ปี พ.ศ. 2555 ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ได้ก่อตั้งขึ้นจากการรวมตัวของ ชาวบ้านในชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ภายใต้การรับรองขององค์การบริหารต�ำบลบ่อสวก เพื่อให้ชุ มชนต�ำบล บ่อสวกสามารถบริหารจั ดการทรัพยากรการท่องเที่ยวในชุ มชน โดยคนในชุ มชน เพื่อชุ มชนของตนเอง สร้างการมีส่วนร่วมภายในชุ มชนเพือ่ ร่วมกันบริหารจั ดการการท่องเที่ยวโดยชุ มชน ภายใต้กระบวนการ Co-creation ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติ ร่วมรับผิ ดชอบและร่วมรับผลประโยชน์ ไปด้วยกัน โดยมีการรื้อฟื้นวิ ถี ชี วิ ต ภูมิปัญญาท้องถิ่น มรดกทางวัฒนธรรมในชุ มชน และเกิดการกระจายผล ประโยชน์จากการท่องเที่ยวโดยชุมชนสูช่ ุมชนท้องถิ่นอย่างยัง่ ยืน ตลอดระยะเวลากว่า 5 ปี ชุมชนต�ำบล บ่อสวกใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือในการพั ฒนาชุ มชนในทุกๆ ด้าน ท�ำให้ชาวบ้านในชุ มชนมีรายได้ เพิม่ มากขึน้ จากการท่องเที่ยว ชุ มชนมีคณ ุ ภาพชี วิ ตที่ดี ขนึ้ มีความอยูด่ ี มสี ขุ ชุ มชนเกิดความภาคภูมิ ใจใน มรดกวัฒนธรรมชุมชน นอกจากนีก้ ารท่องเที่ยวยังท�ำให้ชุมชนได้รื้อฟืน้ วิถีชี วิต ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิ่นต่างๆ ที่ ก�ำลังจะสูญหายให้กลับมาอีกครั้ ง เพื่อให้คนในชุ มชนรุ ่นหลังได้เกิดความภาคภูมิ ใจ ต้องการ จะสืบทอดและสานต่อให้การท่องเที่ยวโดยชุ มชนเติบโตอย่างยั่งยืน น�ำไปสู่ความอยูด่ ีมสี ขุ ของคนใน ชุมชนอย่างแท้จริง ชุมชนต�ำบลบ่อสวกเป็นหมูบ่ า้ นท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็นสถานที่มอบประสบการณ์ การเดินทางมุมมองใหม่ให้กับนักท่องเที่ยว การเปลี่ยนวันหยุดมาเป็นวันพั กผ่อนสบายๆ ไม่เร่งรีบ เพิ่มคุณค่าการท่องเที่ยวให้กับชี วิ ต ได้สัมผัสวิ ถีวัฒนธรรม ประเพณี ณ ต�ำบลบ่อสวก เพื่อให้เกิด ความประทั บใจและเพิ่มประสบการณ์ดี ๆ ให้กับชี วิ ต อพท. มีบทบาทในการส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่าง ยัง่ ยืนของชุมชนต�ำบลบ่อสวก ซึง่ เป็นเกณฑ์ที่ประยุกต์ ใช้มาจาก หลักเกณฑ์ GSTC-D เพือ่ เป็นแนวทาง ในการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยัง่ ยืน แล้วยังเป็นเครื่องมือวัดระดับการพั ฒนา การท่องเที่ยว โดยชุมชนอย่างยัง่ ยืน นอกจากนีส้ ำ� นักงานพืน้ ที่พเิ ศษเมืองเก่าน่าน ยังให้การช่วยเหลือสนับสนุนชุมชน และรับหน้าที่เป็นสือ่ กลางในการประสานงานการบริหารจัดการการท่องเที่ยว รวมทั้งประสานการใช้อำ� นาจ ของส่วนราชการ รัฐวิ สาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น หรือหน่วยงานอื่ นของรัฐในระดับพื้นที่ เพือ่ บูรณาการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนแก่ชุมชน (ส�ำนักท่องเที่ยวโดยชุมชน, 2557) กระบวนการท�ำงานของ อพท. จะเป็นการด�ำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายผูเ้ ชี่ ยวชาญและมีประสบการณ์ ด้านต่าง ๆ ที่จะมีบทบาทในการช่วยส่งเสริมการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้มคี วามยัง่ ยืน 25


ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนประกอบด้วย บุคลากรในหน่วยงานต่าง ๆ ทางด้านวิ ชาการ ด้านพั ฒนาองค์กร ด้านการตลาด ด้านชุ มชน และด้านตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกีย่ วข้อง กับการพั ฒนาการท่องเที่ยว นอกจากนี้ อพท. ยังมีกล่องความคิด 9+1 Building Blocks และ กระบวนการ Co-Creation ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องมือหลักในการระดมสมองของชุ มชนในการวางแผน การพั ฒนาการท่องเที่ยวของชุ มชนตามเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจั ดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุ มชน 100 ข้อ 5 ด้าน ประกอบไปด้วย 1. ด้านการบริหารจั ดการท่องเที่ยวโดยชุ มชน 2. ด้านการจั ดการเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชี วิ ตที่ดี 3. ด้านการอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรม 4. ด้านการจั ดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบและยั่งยืน 5. ด้านบริการและความปลอดภัย

กระบวนการพัฒนาการท่องเทีย่ วโดยชุมชนของชุมชนต�ำบลบ่อสวก อพท. ได้เข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริ ม สนับสนุน และประสานงานการพั ฒนาการ การท่องเที่ยวโดยชุ มชนของชุ มชน โดยมอบหมายให้หน่วยงานในสังกัดของ อพท.ประกอบด้วยส�ำนัก ท่องเที่ยวโดยชุ มชน (สทช.) และส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษเมืองเก่าน่าน เข้ามาท�ำหน้าที่สง่ เสริม สนับสนุน และประสานงานการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุ มชนของชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ดังนี้

ระยะที่ 1 กระบวนการรับรองแหล่งท่องเที่ยวโดยชุ มชน ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 จั ดตั้งชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ประธาน

ซึ่งปัจจุบัน อพท.ได้มีการพั ฒนาเกณฑ์ ในการด�ำเนินงานการท่องเที่ยวโดยชุ มชนเป็น “เกณฑ์การ พั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนของประเทศไทย หรือ CBT Thailand” ที่ ใช้ในการพั ฒนาการท่องเที่ยว โดยชุ มชนทั่ วประเทศ (อพท. 2560) การจั ดตั้งชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนเป็นกลไกการขับ เคลื่อนการพั ฒนาการท่องเที่ยว โดยชุ มชนอย่างยั่งยืนของชุ มชนที่ อพท. สนับสนุนให้ชุ มชน ได้ร่วมกันคัดเลือกตัวแทน เข้ามาเป็นคณะ กรรมการชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชน เพื่อท�ำหน้าที่เป็นหน่วยกลางการบริหารจั ดการการ ท่องเที่ยวโดยชุ มชน และขับ เคลื่อนกิจกรรมการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุ มชนของชุ มชน ด�ำเนินการ ตามวิสยั ทัศน์ พั นธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมายของชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน ต�ำบลบ่อสวก ติดตามประเมินผลในการด�ำเนินงานด้านการท่องเที่ยว และการด�ำเนินงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และ รายงานผลการด�ำเนินงาน ตลอดจนปัญหาอุปสรรคในการด�ำเนินงานต่อชุ มชน องค์กรภาคีเครือข่าย ด้านการท่องเที่ยว

รองประธาน

รองประธาน

เลขานุการ

เหรัญญิก

นายทะเบียน

ปฏิคม

ประชาสัมพั นธ์

กรรมการฝ่ายวิชาการ

กรรมการด้านที่พั ก

กรรมการด้านอาหาร

กรรมการ ด้านสินค้า ที่ระลึก

กรรมการ ด้านยานพาหนะ และการขนส่ง

กรรมการ ด้านการรักษา ความปลอดภัย

กรรมการ ด้านการจัดกิจกรรม การท่องเที่ยว

กรรมการ ด้านวัฒนธรรม และงานประเพณี

กรรมการ ที่ปรึกษา ชมรม

นักสือ่ ความหมายท้องถิ่น 26

27


คณะกรรมการชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชน รับผิ ดชอบพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบล บ่อสวก ดังนี้ 1. มีแผนการด�ำเนินงานที่ครอบคลุมทั้ ง 3 มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยจั ดท�ำร่วม กับหน่วยงานต่างๆ ทั้ งในพืน้ ที่ เช่น องค์การบริหารส่วนต�ำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล และ องค์การบริหารการพั ฒนาพืน้ ที่พเิ ศษเพือ่ การท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน ส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษเมืองเก่าน่าน ส�ำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจั งหวัดน่าน เป็นต้น 2. วิ เคราะห์ ส่งเสริมและพั ฒนาการท่องเที่ยว และก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงานให้สอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์การพั ฒนาแหล่งท่องเที่ยวของประเทศ พ.ศ. 2560 - 2564 3. จั ดท�ำแผนการท่องเที่ยว เพื่อเป็นแผนแม่บทส�ำหรับส่งเสริมและพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุ มชน ต�ำบลบ่อสวก 4. เชื่ อมโยงแผนงานและบูรณาการแผนงานงบประมาณ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดด้านการท่องเที่ยว ที่มีประสิทธิภาพ 5. ด�ำเนินการตามวิ สัยทั ศน์ พั นธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมายของชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดย ชุ มชน ต�ำบลบ่อสวก 6. ติดตาม ประเมินผลในการด�ำเนินงานด้านการท่องเที่ยวและการด�ำเนินงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 7. รายงานผลการด�ำเนินงาน ตลอดจนปัญหาอุปสรรคในการด�ำเนินงานต่อชุ มชน องค์กรภาคีเครือ ข่ายด้านการท่องเที่ยว ขั้นตอนที่ 2 เสริมสร้างศักยภาพและเตรียมความพร้อม ของชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2556 -2559 อพท. โดยส�ำนักท่องเที่ยวโดยชุมชน (สทช.) และส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษ เมืองเก่าน่าน ได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพและเตรียมความพร้อมแก่ชุมชนต�ำบลบ่อสวกดังต่อไปนี้ 1. ประชุมชี้ แจงท�ำความเข้าใจเกีย่ วกับ เกณฑ์รับรองแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน 2. สทช.ประชุมหารือท�ำความเข้าใจภายใต้แผนพั ฒนา ฯ ตามกระบวนการรับรองแหล่งท่องเที่ยวชุมชน 3. ชมรมจัดท�ำกฎระเบียบและข้อตกลงเพือ่ การบริหารการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 4. จัดท�ำแผนที่ทอ่ งเที่ยวชุมชนเพือ่ เป็นฐานทรัพยากรการท่องเที่ยวโดยชุมชน 5. คณะกรรมการรับรองแหล่งท่องเที่ยวชุมชนประเมินพั ฒนาการของชมรม 6. ชมรมร่วมอบรมกระบวนการวางแผนการท่องเที่ยวโดยชุมชน 9+1 Building Blocks 7. จัดกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละศึกษาดูงานเพือ่ เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการพัฒนาการ ท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน 8. ฝึกอบรมและศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบ 9. โครงการเสริมสร้างศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนต�ำบลบ่อสวก 28

ขั้นตอนที่ 3 ติดตามความก้าวหน้าการด�ำเนินงานชมรม ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ด�ำเนินการผ่านกระบวนย่อยในการติดตาม 2 กระบวนการคือ 1. กระบวนการประเมินชุมชนตามเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยด�ำเนินการ 4 ขัน้ ตอนคือ 1) ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนต�ำบลบ่อสวกประเมินตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานการ บริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน 2) ส�ำนักท่องเที่ยวโดยชุมชนและส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษเมืองเก่าน่านร่วมกันประเมินชุมชนตาม เกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน 3) ส�ำนักท่องเที่ยวโดยชุมชน สรุปผลการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการ แหล่งท่องเที่ยวชุมชน ปี 2559 และน�ำไปเปรียบเทียบกับผลการด�ำเนินงานในปีที่ผา่ นมา (พ.ศ. 2558) 4) คณะท�ำงานรับรองแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน ลงพืน้ ที่ประเมินผลภาพรวมเพือ่ รับรอง ผลการประเมิน ปี 2559 2. กระบวนการติดตามผลการพั ฒนาชุมชนต้นแบบ โดยด�ำเนินการ 4 ขัน้ ตอนคือ 1) รวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มูลจากผลการประเมิน ปี 2558 และ รายงานการติดตามพัฒนาการ ประจ�ำเดือนของชุมชนต�ำบลบ่อสวก พ.ศ. 2559 2) คณะท�ำงานรับรองแหล่งท่องเทีย่ วโดยชุมชนลงพืน้ ทีท่ ดลองกิจกรรมท่องเทีย่ วและประเมินผล ร่วมกับชุมชนต�ำบลบ่อสวก 3) ฝ่ายเลขานุการ (ส�ำนักท่องเทีย่ วโดยชุมชน) รวบรวมข้อมูล การประเมิน สรุปผล และรายงาน ให้คณะท�ำงานรับรองแหล่งท่องเที่ยว และชุมชนต�ำบลบ่อสวกได้รับทราบ 4) มอบประกาศนียบัตรรับรองผลการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน

29


ผลการด�ำเนินงานการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุ มชนของชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชน ต�ำบลบ่อสวก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 – 2559 ตารางสรุปผลการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน ตามแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ การท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ซึ่งประยุกต์จากเกณฑ์มาตรฐานด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว (GSTC-D) 5 ด้าน ปี 58

ปี 57 ด้าน 1. การบริหาร จั ดการอย่างยั่งยืน 2. การจั ดการ เศรษฐกิจ สังคมและ คุณภาพชี วิ ตที่ดี 3. การอนุรักษ์และ ส่งเสริมมรดก ทางวัฒนธรรม 4. การจั ดการ ทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม อย่างเป็นระบบ และยั่งยืน 5. การบริการและ ความปลอดภัย รวม

ปี 59

คะแนน ที่ ได้

ระดับ คะแนน

คะแนน ที่ ได้

ระดับ คะแนน

คะแนน ที่ ได้

ระดับ คะแนน

3.13

ดีเยีย่ ม

4.00

ดีเยีย่ ม

4.00

ดีเยีย่ ม

3.50

ดีเยีย่ ม

3.25

ดีเยีย่ ม

4.00

ดีเยีย่ ม

2.66

ดี

4.00

ดีเยีย่ ม

4.00

ดีเยีย่ ม

2.53

ดี

3.72

ดีเยีย่ ม

4.00

ดีเยีย่ ม

1.37

พอใช้

3.14

ดีเยีย่ ม

3.53

ดีเยีย่ ม

13.38

65.90

18.12

90.60

19.53

97.65

โดยสรุปการด�ำเนินงานของชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนต�ำบลบ่อสวก ระหว่างปี พ.ศ. 2557 – 2559 ตามเกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนของ อพท. ซึง่ เป็นเกณฑ์ที่ ได้ ประยุกต์ ใช้มาจากหลักเกณฑ์ GSTC-D ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน พบว่ามีการพั ฒนาไปในทิศทางที่ดีขนึ้ อย่าง ต่อเนือ่ ง ดังนี้ 30

ด้าน

1

การบริหารจัดการอย่างยัง่ ยืน

การด�ำเนินงาน 1. จัดตัง้ ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนต�ำบลบ่อสวก 2. มีแผนการด�ำเนินงานครอบคลุม 3 มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม โดยการมีสว่ นร่วมของหน่วยงานในพืน้ ที่ 3. มีทะเบียนประวัตขิ อ้ มูลสมาชิก 4. ออกข้อบังคับชมรมฯ กฎระเบียบ และข้อควรปฏิบตั สิ ำ� หรับ นักท่องเที่ยว 5. เปิดโอกาสให้ทกุ ฝ่ายมีสว่ นในการรับรูข้ า่ วสารการท่องเที่ยว โดยชุมชนและมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการท่องเที่ยว 6. เสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรในชมรมฯ ให้ได้รับการ พั ฒนาอย่างต่อเนือ่ ง 7. ท�ำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายต่าง ได้แก่ วิทยาลัยชุมชนน่าน ส�ำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดน่าน องค์การบริหารส่วน ต�ำบลบ่อสวก องค์การบริหารการพั ฒนาพืน้ ที่พเิ ศษเพือ่ การ ท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน ส�ำนักงานพืน้ ที่พเิ ศษเมืองเก่าน่าน และ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยจังหวัดน่าน เป็นต้น 8. จัดท�ำเครื่องมือทางการตลาดในการประชาสัมพั นธ์การ ท่องเที่ยวโดยชุมชนผ่าน Facebook fanpage กลุม่ ไลน์ชมรม เครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพืน้ ที่พเิ ศษ และแผ่นพั บ การท่องเที่ยว 9. มีระบบการบริหารการเงิน การบัญชี ที่มปี ระสิทธิภาพ จัดท�ำบัญชี รายรับรายจ่ายและสรุปผลการด�ำเนินงานเสนอ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการทุกไตรมาส 10. เปิดโอกาสให้เยาวชนเข้ามามีสว่ นร่วมในกิจกรรมการ ท่องเที่ยวโดยชุมชน เช่น การแสดงวิถีชี วิต งานหัตถกรรม การแสดงดนตรีพนื้ เมือง การเป็นนักสือ่ ความหมาย และร่วมเป็นคณะกรรมการชมรมฯ

31


ด้าน

การด�ำเนินงาน

2

1. มีการจัดสรรรายได้จากการท่องเที่ยวอย่างเป็นรูปธรรม ชัดเจน โดยแบ่งรายได้สว่ นหนึง่ ให้กองทุนพั ฒนาชุมชนเพือ่ ใช้ใน การสาธารณประโยชน์ 2. ส่งเสริมการเพิม่ รายได้จากผลิตภัณฑ์ชุมชนของกลุม่ ต่างๆ เช่น กลุม่ เครือ่ งปัน้ ดินเผา กลุม่ น�ำ้ อ้อย กลุม่ ผ้าทอ กลุม่ จักสาน 3. ส่งเสริมการใช้สนิ ค้าและผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม 4. เปิดโอกาสให้เยาวชน สตรี คนชรา คนพิการ เข้ามามีสว่ น ร่วมในกิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างเท่าเทียม

3

1. ท�ำการสืบค้น รวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับมรดกทางวัฒนธรรม ของชุมชนเป็นลายลักษณ์อกั ษร และพั ฒนาเป็นกิจกรรมการ ท่องเที่ยวและโปรแกรมการสือ่ ความหมาย 2. จัดตัง้ กลุม่ เยาวชนรักษ์บา้ นเกิดเพือ่ ให้รักและหวงแหน ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น

4

1. ก�ำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว 2. ปรับปรุงภูมทิ ัศน์ ให้มคี วามร่มรื่นเป็นระเบียบและกลมกลืน กับสภาพท้องถิ่น 3. รวบรวมข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเป็น ลายลักษณ์อกั ษร 4. มีระบบการบริหารจัดการพืน้ ที่ปา่ ชุมชน แหล่งน�ำ้ และ การบริหารจัดการขยะ

การจัดการเศรษฐกิจ สังคมและคุณภาพชี วิตที่ดี

การอนุรักษ์และส่งเสริม มรดกทางวัฒนธรรม

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม อย่างเป็นระบบ และยัง่ ยืน

5

การบริการ และความปลอดภัย

1. ประเมินความพึงพอใจด้านการบริการนักท่องเที่ยว 2. พัฒนา อบรมนักสือ่ ความหมายเพือ่ ให้ขอ้ มูลแก่นกั ท่องเที่ยว 3. มีการประสานการดูแลนักท่องเที่ยวในยามฉุกเฉินกับ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น (อสม.) และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบล (รพสต.) เพือ่ ล�ำเลียง ผูบ้ าดเจ็บไปยังโรงพยาบาล 4. มีรถกูช้ ี พเพียงพอส�ำหรับรองรับ เหตุการณ์ฉกุ เฉินในพืน้ ที่ 32

1. ด้านการบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน จัดตัง้ ชมรม ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนต�ำบลบ่อสวก มีการบริหาร จัดการการท่องเที่ยวโดยการมีสว่ นร่วมของชุมชน การท�ำการ ตลาด การเพิม่ กิจกรรมให้นกั ท่องเทีย่ ว มีรายได้จากการจ�ำหน่าย ของที่ ระลึกและกิจกรรมการท่องเที่ ยว มีการแบ่งหน้าที่ รับผิ ดชอบแต่ละฝ่ายชัดเจน และทุกคนรู้และท�ำหน้าที่ของ ตนเองได้ดี มีการประชุมร่วมกันทุกเดือน มีหน่วยงานภาครัฐ สนับสนุน เช่น อพท. และมีรายการทีวมี าถ่ายท�ำ มีรายงานการ ใช้จา่ ยเงินในการประชุมประจ�ำเดือนของคณะกรรมการ และ เยาวชนได้เข้ามามีสว่ นร่วมในการท่องเที่ยวโดยชุมชนมากขึน้ 2. ด้านการจัดการเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชี วิตที่ดี มี การจัดสรรรายได้เพือ่ น�ำมาใช้ในการบริหารจัดการตลาด คนใน ชุมชนมีความสามัคคีกนั ได้พดู คุยปรึกษากัน และมีกจิ กรรม ที่สอดคล้องกับวิถีชี วิต มีรายได้เพิม่ ขึน้ มีการน�ำผลิตภัณฑ์ที่ โดดเด่นของชุมชนให้นกั ท่องเที่ยวได้ทำ� กิจกรรม มีจุดจ�ำหน่าย สินค้าของที่ระลึก และมีระบบการรักษาความปลอดภัย 3. ด้านการอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรม มีการ รวบรวมเรื่องราวของชุมชน ด้านประวัตศิ าสตร์และถ่ายทอด ให้นกั ท่องเที่ยวทราบ มีการประชาสัมพั นธ์การตลาดที่ชดั เจน มีการน�ำเสนอวิถีชีวิตของชุมชนผ่านอาหาร การแต่งกาย และ การแสดง และมีการน�ำวิถีชี วิตมาพั ฒนาให้นกั ท่องเที่ยวได้ ลงมือท�ำ เช่น การท�ำเครือ่ งเคลือบ และการหีบน�ำ้ อ้อย เป็นต้น 4. ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมอย่าง เป็นระบบและยัง่ ยืน มีการจัดการพืน้ ที่ทางการท่องเที่ยวอย่าง เป็นระเบียบ มีการกิจกรรมทีเ่ หมาะสมตามกลุม่ ของนักท่องเทีย่ ว มีการจัดการขยะ และชุมชนให้ความร่วมมือกันการจัดการขยะ และความสะอาดมากขึน้ 5. ด้านบริการและความปลอดภัย มีการจัดท�ำแผนที่ทอ่ งเที่ยว ชุมชนต�ำบลบ่อสวก มีการสอบถามพูดคุยกับนักท่องเที่ยว และ น�ำมาประชุมหารือเพือ่ ปรับปรุงในการประชุมประจ�ำเดือน มี การจัดการเส้นทางท่องเที่ยวให้มคี วามปลอดภัย 33


ระยะที่ 2 การด�ำเนินงานการพั ฒนาการท่องเที่ยว โดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวกโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุ มชน

A

B

การเพิม่ ผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบ ทางสังคม-เศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น

B2

B2 โอกาสในการประกอบอาชี พของคนในท้องถิ่น มีการรวมกลุม่ การด�ำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยว และการผลิตสินค้าก่อให้เกิดการจ้างงาน สร้าง รายได้

วแทนหรือกลุม่ ตัวแทนที่มปี ระสิทธิภาพอันมา B3 A2 ตัจากส่ วนภาครัฐและเอกชน

การมีสว่ นร่วมในสังคม เปิดโอกาสให้ทุกคนในชุ มชมชนมีส่วนร่วมในการ บริหารและพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน

ระบบการตรวจสอบ ดูแล รายงานความคืบหน้า มีการติดตามผลการด�ำเนินงานของชุมชนอย่างต่อ เนือ่ งโดยคณะท�ำงานรับรองแหล่งท่องเที่ยวโดย ชุมชน

B4

ความคิดเห็นชุมชนท้องถิ่น จั ดประชุ มเพื่อรับฟังความคิดเห็น รายงานผล การด�ำเนินงาน และวางแผนการด�ำเนินงานทุก ไตรมาส

ดการท่องเที่ยวตามฤดูกาล B6 A4 การจั ปฏิทนิ กิจกรรมการท่องเที่ยวที่ชดั เจนตลอดทั้งปี

ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการท่องเที่ยว ชุมชนมีความรูค้ วามเข้าใจในการบริหารจัดการการ ท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน

นสถานที่ตลอดจนสภาพแวดล้อม B7 A6 การประเมิ ความโดดเด่นของชุมชน เตาเผาโบราณ ผ้าทอและ

การป้องกันการแสวงหาประโยชน์ โดยไม่ชอบธรรม ก�ำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเทีย่ ว

อบังคับการด�ำรงรักษาไว้ซงึ่ แหล่ง B8 A9 กฎหมายและข้ ท่องเที่ยว

สนับสนุนชุมชน การจัดสรรเงินรายได้เพือ่ ใช้ในการบริหารจัดการ ชุมชนและพัฒนาสาธารณูปโภค

A1

การพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยัง่ ยืนของชุมชนต�ำบลบ่อสวก ตามหลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่าง ยัง่ ยืนโลก (Global Sustainable Tourism Criteria) ของสภาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนโลก (Global Sustainable Tourism Council) มีเป้าหมายหลัก 4 ประการคือ 1. เพือ่ น�ำเสนอการจัดการสถานที่ทอ่ งเที่ยวอย่างเป็นระบบและรักษาสิง่ แวดล้อม 2. เพื่อเพิ่มผลประโยชน์ทางสังคมและเศรษฐกิจให้กับ เจ้าของชุ มชนและลด ผลกระทบในเชิงลบ 3. เพือ่ ประโยชน์สงู สุดที่ชุมชนพึงได้รับตลอดจนผูม้ าเยือน และเพือ่ ประโยชน์เชิง มรดกวัฒนธรรมและเพือ่ ลดผลกระทบเชิงลบที่อาจเกิดขึน้ 4. เพือ่ ประโยชน์สงู สุดทางสิง่ แวดล้อมและลดผลกระทบเชิงลบที่เกิดขึน้ โดยหลักเกณฑ์ดา้ นการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยวได้กำ� หนดมุมมองในการบริหารจัดการ การท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน ครอบคลุมองค์ประกอบ 4 ด้านประกอบด้วย 1. การบริหารจัดการอย่างยัง่ ยืนที่มปี ระสิทธิภาพ 2. การเพิม่ ผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางสังคม เศรษฐกิจ และชุมชน ท้องถิ่น 3. การเพิม่ ผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนัก ท่องเที่ยว 4. การเพิม่ ผลประโยชน์และผลกระทบด้านลบทางสิง่ แวดล้อม สรุ ปผลการพั ฒนาการท่องเที่ ยวโดยชุ มชนอย่างยั่งยืนภายใต้หลักเกณฑ์ GSTC ส�ำหรั บ แหล่ง ท่องเที่ยวของชุมชนต�ำบลบ่อสวก พบว่าชุมชนต�ำบลบ่อสวก มีการพั ฒนาการท่องเที่ยวตามหลักเกณฑ์ GSTC ส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว ดังนี้

34

การบริหารจัดการ ด้านความยัง่ ยืนที่มปี ระสิทธิภาพ การด�ำเนินงานตามกลยุทธ์ ในการบริหารจัดการ ด้านความยัง่ ยืน แผนพั ฒนาการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนต�ำบล บ่อสวกประจ�ำปี พ.ศ.2560-2562

ชมรมส่งเสริมการท่องเทีย่ วโดยชุมชนต�ำบลบ่อสวก

A3

กิจกรรมทางการท่องเที่ยว

ข้อบังคับชมรมฯ กฎระเบียบ และข้อควรปฏิบตั ิ ส�ำหรับนักท่องเที่ยว

35


A

การบริหารจัดการ ด้านความยัง่ ยืนที่มปี ระสิทธิภาพ การตรวจสอบและรายงานความพึงพอใจของ

A10 นักท่องเที่ยว

B

การเพิม่ ผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบ ทางสังคม-เศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น

B9

สนับสนุนท้องถิ่นและการค้าโดยเป็นธรรม มีการจั ดสรรรายได้จากการท่องเที่ยวอย่างเป็น รูปธรรมชัดเจน และมีระบบการบริหารการเงิน การบัญชี ที่มปี ระสิทธิภาพ

การประเมิ น ความพึ ง พอใจของนั ก ท่ องเที่ ย ว เพื่อพั ฒนาคุณภาพการบริการและกิจกรรมการ ท่องเที่ยว

C

D

การเพิม่ ผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบ ทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว

กรรมนักท่องเที่ยว C3 พฤติ สอดส่องดูแลการปฏิบัติตัวไม่เหมาะสมของนัก

D10 การลดจ�ำนวนขยะ

ใช้วสั ดุที่ยอ่ ยสลายได้และเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และการบริหารจัดการขยะ

ท่องเที่ยว

ขอ้ มูลที่ถกู ต้องเกีย่ วกับสถานที่ทอ่ งเที่ยว C5 การให้ การสือ่ ความหมายทั้งแบบใช้คนและไม่ใช้คน

A12 การสอดส่องดูแล ป้องกัน และรายงาน

ความร่วมมือกับต�ำรวจท่องเที่ยวและโรงพยาบาล ส่งเสริ มสุขภาพต�ำบลในการดูแลรั กษาความ ปลอดภัยให้แก่นกั ท่องเที่ยว

พย์สนิ ทางปัญญา C6 ทรั ประกาศก�ำหนดแนวทางในการอนุรักษ์ลวดลาย ผ้าทอ

A14 การประชาสัมพันธ์ขา่ วสาร

การประชาสัมพั นธ์ขอ้ มูลข่าวสารแก่นกั ท่องเที่ยว ผ่านสือ่ ที่หลากหลาย

C

การเพิม่ ผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบ ทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว

D

การเพิม่ ผลประโยชน์ และลดผลกระทบด้านลบทางสิง่ แวดล้อม

C1

การปกป้องดูแลสถานที่ทอ่ งเที่ยว ข้อบังคับชมรมฯ กฎระเบียบ และข้อควรปฏิบตั ิ ส�ำหรับนักท่องเที่ยว

D5

การประหยัดพลังงาน เน้ น การอนุรั ก ษ์ พ ลั ง งานและการใช้ วั ส ดุ จาก ธรรมชาติ

ดการนักท่องเที่ยว C2 การจั D6 ข้อบังคับชมรมฯ กฎระเบียบ และข้อควรปฏิบตั ิ ส�ำหรับนักท่องเที่ยว และก�ำหนดขีดความสามารถ ในการรองรับนักท่องเที่ยว

36

การเพิม่ ผลประโยชน์ และลดผลกระทบด้านลบทางสิง่ แวดล้อม

การจัดการน�ำ้ ระบบการจัดการแหล่งน�ำ้

37


แบบทดสอบหลังเรียน ข้อเสนอแนะส�ำหรับแนวทางการขับ เคลือ่ นการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยัง่ ยืน ดังนี้

A

B

การบริหารจัดการ ด้านความยัง่ ยืนที่มปี ระสิทธิภาพ

องกันความเสีย่ งอันเกิดจากภัยพิบตั ติ าม A5 ระบบป้ B1 ธรรมชาติ แผนการจั ด การความเสี่ ย งจากภั ย พิ บั ติ ตาม ธรรมชาติ

่ทอ่ งเที่ยวและสิง่ อ�ำนวยความสะดวก A8 พัสถานที ฒนาสิง่ อ�ำนวยความสะดวกเพือ่ คนทั้งมวล

A11

C

การเพิม่ ผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบ ทางสังคม-เศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น การควบคุมดูแลเศรษฐกิจ พั ฒนาระบบการวัดผลและติดตามผลการใช้จา่ ย ของนักท่องเที่ยว การจ้างงาน และการกระจาย รายได้

าถึงพืน้ ที่ของคนในท้องถิ่น B5 การเข้ พัฒนาระบบประเมินผลกระทบจากการท่องเที่ยว ของชุมชน

การสนับสนุนหลักเกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน ในกลุม่ ธุรกิจต่างๆ พั ฒนาระบบประเมินและติดตามการด�ำเนินงาน ตามเกณฑ์ GSTC-D

D

การเพิม่ ผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบ ทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว

การปกป้องมรดกทางวัฒนธรรม C4 ออกกฎหมายหรื D1 อประกาศในการป้องกันการลอก เลียนแบบ ปลอมแปลงมรดกทางวัฒนธรรมของ ชุมชน

38

การเพิม่ ผลประโยชน์ และลดผลกระทบด้านลบทางสิง่ แวดล้อม ความเสีย่ งทางด้านสิง่ แวดล้อม แผนการจั ดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ

1. ข้อใดกล่าวถึงการท่องเที่ยวโดยชุ มชนได้ถูกต้องที่สุด ก. การท่องเที่ยวทางเลือกที่บริหารจัดการโดยชุมชนอย่างสร้างสรรค์และมีมาตรฐานให้เกิดการเรียนรู้ ข. การท่องเที่ยวทางเลือกโดยการบริหารจัดการโดยผูป้ ระกอบการที่เน้นการส่งเสริมรายได้เข้าสูช่ ุมชน ค. การท่องเที่ยวที่สร้างมาตรฐานการด�ำเนินงานโดยชุ มชน เน้นประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับชุ มชนเป็นที่ตั้ง ง. การท่องเที่ยวที่เน้นการให้บริการแก่ผู้มาเยือนด้วยความเต็มใจ และประทั บใจ 2. เหตุ ใดจึงต้องมีการท่องเที่ยวโดยชุ มชน ก. เพราะการท่องเที่ยวน�ำความเจริญมาสู่ชุ มชน ท�ำให้ชุ มชนเตรียมการให้บริการแก่นักท่องเที่ยว ข. เพราะการท่องเที่ยวสามารถสร้างผลกระทบทางบวกให้กับชุ มชน จึงต้องเตรียมความพร้อมในการ ให้บริการนักท่องเที่ยว ค. นักท่องเที่ยวนิยมท่องเที่ยวในชุ มชนมากขึ้น ท�ำให้ชุ มชนต้องวางแผนการจั ดการทางการท่องเที่ยว ง. นักท่องเที่ ยวและผู้ประกอบการเข้ามาในชุ มชน ท�ำให้ชุ มชนเตรียมพร้อมในเรื่องสิ่งอ�ำนวยความ สะดวก 3. ผลกระทบที่เกิดขึ้นด้านสังคมและวัฒนธรรมข้อใดต่อไปนีเ้ ป็นด้านบวก ก. การตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวที่เพิม่ ขึน้ น�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงสินค้าและผลิตภัณฑ์ ทางการท่องเที่ยว ข. ชาวบ้านปรับกิจกรรมหรือวัฒนธรรมของพวกเขาให้มีสีสันมากขึ้น เพื่อตอบสนองรสนิยมของนัก ท่องเที่ยว ค. ส่งเสริมการอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมในชุ มชนอันเป็นเอกลักษณ์และดึงดูดนักท่องเที่ยว ง. ทั ศนคติ พฤติกรรม ความเชื่ อและการบริโภคของชาวบ้านในชุ มชนที่ท�ำให้เหมือนกับนักท่องเที่ยว 4. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องหากต้องท�ำการท่องเที่ยวโดยชุ มชนให้ ได้ประโยชน์ ก. ภาครัฐส่งเสริม ประสานและสนับสนุน เพื่อการเชื่ อมโยงโอกาสและเสริมสร้างศักยภาพให้ชุ มชน สามารถได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยวโดยตรง ข. สถาบันการศึกษาให้ความรู้ และจั ดท�ำแนวทางการบริหารให้กับชุ มชน ค. ผู้ประกอบการเข้ามาบริหารจั ดการหลัก โดยให้ชุ มชนเข้ามามีส่วนร่วม ง. สือ่ มวลชน ให้ขอ้ มูลประชาสัมพั นธ์แก่สาธารณชนอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้นกั ท่องเที่ยวเข้ามาชุมชนมากขึน้

39


7. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ก. กลุ่มเครื่องปั้นดินเผา ข. กลุ่มท�ำนาขั้นบันได ค. กลุ่มอ้อยบ้านป่าคา ง. กลุ่มโฮมสเตย์

8. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ก. ลายอินธนู ข. เตาเผาโบราณ ค. เกษตรอินทรีย์ ง. ภาพเขี ยนปู่มา่ น – ย่าม่าน

9. ลวดลายใดต่อไปนีเ้ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นของชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ก. ลายน�้ำไหล ข. ลายกระซิบรัก ค. ลายอินแขวน ง. ลายบ่อสวก 10. แนวทางการบริหารจั ดการที่ดี ของชุ มชนต�ำบลบ่อสวกคือข้อใดต่อไปนี้ ก. มีการตั้งชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ข. มีแนวทางการจั ดการโครงการหมู่บ้านท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวกโดยชุ มชน ค. มีแนวทางการบริหารการจั ดการอย่างยั่งยืนตามหลักเกณฑ์ด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนส�ำหรับ แหล่งท่องเที่ยว ง. มีกลยุทธ์ ในการจั ดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน   40

1. แนวคิด Co-creation ของ อพท. มีความส�ำคัญต่อการพั ฒนาการท่องเที่ ยวโดยเน้น กระบวนการมีส่วนร่วมของชุ มชนต�ำบลบ่อสวกอย่างไร 2. จากกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ชุ มชนต�ำบลบ่อสวกจะต้องบริ หาร จั ดการการท่องเที่ยวโดยชุ มชนอย่างไรให้มีความยั่งยืน 3. ชุมชนต�ำบลบ่อสวกควรมีแนวทางการส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของคนในชุมชนและภาคีเครือข่าย การท่องเที่ยวของชุ มชนเพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมท้องถิ่นของชุ มชนอย่างไร 4. ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวกควรมีแนวทางการพั ฒนาการท่องเที่ยว โดยอาศัยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุ มชนอย่างไรเพื่อให้การท่องเที่ยวของชุ มชนต�ำบลบ่อสวกมี ความยั่งยืนและมั่นคง 5. การประเมินผลการด�ำเนินงานของชมรมส่งเสริ มการท่องเที่ ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวกตาม เกณฑ์ GSTC-D มีความจ�ำเป็นต่อการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุ มชนหรือไม่ อย่างไร 6. จากผลการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยัง่ ยืนของชุมชนต�ำบลบ่อสวกภายใต้หลักเกณฑ์ GSTC-D นี้ ท่านคิดว่าชุ มชนควรให้ความส�ำคัญในการพั ฒนาปรับปรุงการด�ำเนินงานในด้านใด บ้าง และควรมีแนวทางในการพั ฒนาปรับปรุงอย่างไร

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน

6. องค์ประกอบของการท่องเที่ยวโดยชุ มชนตามแนวคิดของ อพท. ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. การท่องเที่ยวโดยชุ มชนเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism: CT) ข. แนวคิดการเชื่ อมโยงผลประโยชน์การท่องเที่ยวสู่ชุ มชน “การท่องเที่ยวที่ชุ มชนได้รับประโยชน์” (Community Benefitting Through Tourism: CBTT) ค. แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุ มชน (Community-Based Tourism: CBT) ง. แนวคิดการท่องเที่ยวที่เน้นการสร้างรายได้ (Benefit Tourism)

ค�ำถามอภิปรายท้ายบท

1. ก. 2. ค. 3. ค. 4. ก. 5. ก. 6. ง. 7. ข. 8. ง. 9. ก. 10. ค.

5. องค์การบริหารการพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวโดยชุ มชนอย่างไรบ้าง ก. ท�ำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน เพื่อท�ำให้การบริหารจั ดการท่องเที่ยวเกิดความยั่งยืนใน 3 มิติ ได้แก่ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ข. มุ่งเน้นการพั ฒนาคน และการสร้างรายได้อย่างถาวรเข้าสู่ชุ มชน ค. มุ่งเน้นการจั ดการแหล่งท่องเที่ยวเพื่อให้ ได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยว ง. ส่ ง เสริ ม การจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ ให้ ค นในชุ ม ชนได้ รั บ ผลประโยชน์ จ ากการท่ อ งเที่ ย วอย่ า ง ต่อเนื่อง โดยเน้นการให้ผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนในการบริหารจั ดการ

41


ขอบคุณข้อมูล การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2561). การท่องเที่ยวโดยชุ มชน. (ออนไลน์). จาก http://www. tatreviewmagazine.com/article/cbt-thailand/. (8 สิงหาคม 2561) ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก. (2561). สรุปผลการสัมภาษณ์ภายใต้โครงการ ถอดบทเรียนการพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนของ อพท. ที่สอดคล้องกับ เกณฑ์ GSTC. ในระหว่าง วันที่ 29 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม 2561. ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก. ผลการด�ำเนินงานชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยชุ มชนต�ำบลบ่อสวก ปี 2559-2561. จั งหวัดน่าน ศูนย์ประสานงานเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุ มชน. (2555). ชุ มชนต�ำบลบ่อสวก อ�ำเภอเมืองน่าน. (ออนไลน์).https://thaicommunitybasedtourismnetwork.wordpress.com/ cbtcommunity /dastacommunities/nan/nan-borsoork/ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2559). เกณฑ์พั ฒนาการท่องเที่ยวโดย ชุมชนของประเทศไทย : CBT Thailand. ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแห่งชาติ. กรุงเทพฯ. ส�ำนักงานพื้นที่พิเศษเมืองเก่าน่าน. (2560). รายงานผลการด�ำเนินการพั ฒนาการท่องเที่ยวโดย ชุ มชนต�ำบลบ่อสวก. ส�ำนักงานพื้นที่พิเศษเมืองเก่าน่าน. น่าน. องค์การบริหารการพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). (2559). ท่องเที่ยวโดยชุ มชน. กรุงเทพฯ: บริษัทโคคูน แอนด์ โค จ�ำกัด. องค์การบริหารการพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). (2560). รายงานผลการปฏิบัติงานภายใต้โครงการสื่อสารมาตรฐานเกณฑ์การท่องเที่ ยวอย่างยั่งยืนโลก (Global Sustainable Tourism Criteria : GSTC). องค์การบริหารการพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ. องค์การบริหารการพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). (2555). ท่องเที่ยวชุ มชนต�ำบลบ่อสวก. ส�ำเนาเอกสาร. องค์การบริหารการพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). (2559). หลักเกณฑ์ดา้ นการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนส�ำหรับ แหล่งท่องเที่ยว. การสัมมนาและนิทรรศการความ รู้การพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนภายใต้เกณฑ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโลก, “Grow Green Together: Travel Forever,” กรุงเทพฯ องค์การบริหารการพั ฒนาพืน้ ที่พเิ ศษเพือ่ การท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน). (2561). คูม่ อื การพั ฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน : CBT ท�ำอย่างไรให้ยงั่ ยืน. องค์การบริหารการพั ฒนาพืน้ ที่พเิ ศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). กรุงเทพฯ . Global Sustainable Tourism Council. (2017). GSTC Destination Criteria. Retrieved from http://www.gstcouncil.org/en/gstc-criteria-hotels-tour-operators-destinations/ sustainable-tourism-gstc-criteria.html. 42

43


องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) 118/1 อาคารทิปโก้ ชั้น 31 ถนนพระราม 6 เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

www.dasta.or.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.