คู่มือนักสื่อความหมายชุมชน
เมืองโบราณอท ู อง จังหวัด สุพรรณบุรี
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) 3 Inch
สารบัญ หน้า
เส้นทางสื่อความหมายชุมชน เมืองโบราณอู่ทอง 4-5 บ้านเขาพระ-ต�ำนานดิน เส้นทางสื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยว/ 10 เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ 6-7 สกัดเรื่องเล่าให้ว๊าวได้อีก 8-9 MindMap เล่าเรื่องชุมชน 10-13 ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ 14-15 เรื่องนี้...ต้องขยาย 16-27 ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่องหัวโตป้าต้อย เส้นทางสื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยว/ 10 เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ 28-29 สกัดเรื่องเล่าให้ว๊าวได้อีก 30-31 MindMap เล่าเรื่องชุมชน 32-33 ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ 34-35 เรื่องนี้...ต้องขยาย 36-41 เส้นทางสื่อความหมายในแหล่ง ท่องเที่ยวกลุ่มต�ำลึงหวาน/บ้านขนมจีน/ ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร 42-43 กลุ่มต�ำลึงหวาน เส้นทางสื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยว/ 10 เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ 44-45 สกัดเรื่องเล่าให้ว๊าวได้อีก 46-47 MindMap เล่าเรื่องชุมชน 48-49 ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ 50-51 เรื่องนี้...ต้องขยาย 52-57
........................................................................................................................................................
รายการ
3
รายการ
หน้า
บ้านขนมจีน เส้นทางสื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยว/ 10 เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ 58-59 สกัดเรื่องเล่าให้ว๊าวได้อีก 60-61 MindMap เล่าเรื่องชุมชน 62-63 ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ 64-65 เรื่องนี้...ต้องขยาย 66-71 ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร เส้นทางสื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยว/ 10 เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ 72-73 สกัดเรื่องเล่าให้ว๊าวได้อีก 74-75 MindMap เล่าเรื่องชุมชน 76-77 ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ 78-79 เรื่องนี้...ต้องขยาย 80-85 ชุมชนบ้านดงเย็น เส้นทางสื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยว/ 10 เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ 86-87 สกัดเรื่องเล่าให้ว๊าวได้อีก 88-89 MindMap เล่าเรื่องชุมชน 90-97 ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ 98-99 เรื่องนี้...ต้องขยาย 100-109 บทสนทนาภาษาอังกฤษ 110-113 ข้อควรปฏิบัติส�ำหรับนักท่องเที่ยว 114-116 ศีลธรรมและจรรยาบรรณส�ำหรับ นักสื่อความหมายในชุมชน 117 ข้อควรปฏิบัติส�ำหรับ นักสื่อความหมายในชุมชน 118 คณะผู้จัดท�ำ 119
ชุมชน เมืองโบราณ
เ ส้ น ท า ง สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ใ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................
อู่ทอง
ชุมชน บ้านดงเย็น
่า-อ ู่ ท อ ง
3 Inch
ามเฒ
บ้าน ศูนย์เรียนรู้ ต� ำ นานดิ น ยาดมยาหม่อง หัวโตป้าต้อย
321
มะข
333
วัดเขาพระศรีสรรเพชญาราม พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านเขาพระ
3472
ชุมชน บ้านเขาพระ
ศาลเจ้าพ่อ พระยาจักร
321
พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติอู่ทอง
ถน
นม
าล ัย
แม
สวนหินธรรมชาติ พระพุทธปุษย พุหางนาค คีรีศรีสุวรรณภูมิ
น
321
บ้านขนมจีน
อู ่ ท อ
ง - ก ร ะ จั
น
ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร เจดีย์หมายเลข 1
321
กลุ่มต�ำลึงหวาน 4 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
คลอ
ง จ ร เ ข้ ส า ม พั น
ชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
5
ชุมชน
บ้าน
บ้าน ต�ำนาน
เ ส้ น ท า ง สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ใ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว
...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................
10
6. ตากะเหลวและสลากภัต 7. ประเพณีแห่ปลาช่อน 8. ลอยกระทงสวรรค์ 9. แจ่วปลาแดก 10. การแต่งกาย
1. ที่มาต�ำนานดิน 2. การใช้ประโยชน์จาก สมุนไพรต�ำนานดิน 3. ชาต�ำนานดิน 4. สมุนไพรบ�ำบัด (Scrub ผิว) 5. กะละแมสูตรโบราณ
ชุมชน บ้านเขาพระ พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านเขาพระ
ชั้น 2 พิพิธภัณฑ์ 2 1 ชั้น1 พิพิธภัณฑ์ 3
6 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
บ้านต�ำนานดิน
1
วัดเขาพระศรีสรรเพชญาราม
6. การกวนกะละแม 7. ขนมในประเพณีสารทพวน 8. การเลี้ยงผึ้ง 9. อุโมงค์ไผ่ 10. สินค้าและของฝาก
2
ฐานกะละแม ซุ้มต้อนรับ สวนไผ่
3
ทอง
1. เล่าเรื่องไทพวน 2. พิธีสู่ขวัญและเพลงกล่อมเด็ก 3. ความเป็นมาของวัดเขาพระ 4. การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ 5. ประเพณีไทพวน
เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ โดยการวิเคราะห์ของชุมชน:
่ า - อู ่
เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ โดยการวิเคราะห์ของชุมชน:
ดิน
3472
ามเฒ
10
มะข
เขาพระ
ลานหน้า พิพิธภัณฑ์
ชุมชนบ้านเขาพระ/ต�ำนานดิน
7
สกัดเรื่องเล่า
สกัดเรื่องเล่า
ชุมชนบ้านเขาพระ
บ้านต�ำนานดิน
ให้ว๊าว
ให้ว๊าว
ต�ำนานดิน
1. ตากับยาย: คนไทพวนรุ่นแรกของ ชุมชนบ้านเขาพระ 2. การแต่งกายของไทพวน: ผู้ชายมีผ้าขาวม้าผูกเอว ผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่น 3. ตากะเหลว: เครื่องสานเอกลักษณ์ของ ชาวไทพวน สานจากวัสดุท้องถิ่น คือไม้ไผ่ตอก 4. ประเพณีแห่ปลาช่อน: ประเพณีบนบานสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพื่อขอฝน สืบทอดกว่า 100 ปี 5. ลอยกระทงสวรรค์: ประเพณีลอยกระทงขึ้นฟ้า ในวันเพ็ญเดือน 12 แห่งเดียว ในประเทศไทย 6. ปลาส้มไร้ก้าง: ปลาส้มปลาตะเพียนไร้ก้าง ของดีบ้านเขาพระ
ตากับยาย ชาต�ำนานดิน
ตากะเหลว
การแต่งกายของไทพวน กะละแม
ประเพณี แห่ปลาช่อน
อุโมงค์ไผ่
ลอยกระทงสวรรค์
1. ต�ำนานดิน: สมุนไพรพื้นบ้านมีสรรพคุณทางยา มากมาย 2. ชาต�ำนานดิน: ชาจากสมุนไพรต�ำนานดิน ส่วนรากมาคั่วบด หอมชื่นใจ กินร้อนก็ได้ กินเย็นก็ดี 3. กะละแม: กะละแมกวนที่ยังรักษา วิถีโบราณในการท�ำของชุมชน ใส่สมุนไพรต�ำนานดินเพื่อกลิ่น และรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ 4. อุโมงค์ไผ่: สวนไผ่หวานที่มีแนวต้นไผ่โค้งเข้าหากัน เหมือนเป็นอุโมงค์ ให้ร่มเงา โปร่งสบาย จึงติดตั้งกล่องเลี้ยงผึ้งบริเวณนี้ 5. รังผึ้ง: กล่องไม้สี่เหลี่ยมไว้เลี้ยงผึ้ง ด้านในมีแผ่นรังเทียมให้ผึ้งงาน สร้างรวงหลอดเก็บน�้ำหวาน 6. ขนมในประเพณี ใส่ใบตอง: ขนม 4 อย่างของไทพวน (กระยาสารท, ข้าวเหนียวแดง, ขนมกงและกะละแม) นิยมวางรองด้วยใบตองไว้ถวายพระ
รังผึ้ง
8 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ชุมชนบ้านเขาพระ/ต�ำนานดิน
9
Mind Map
เล่าเรื่องชุมชน ชุมชนบ้านเขาพระ
1. กล่าวต้อนรับ - แนะน�ำสมาชิก - แนะน�ำตาหม่องและยายดี ผู้เฒ่าชาวไทพวนรุ่นแรกของชุมชน
ลานหน้า พิพิธภัณฑ์ 3. พิธีสู่ขวัญ - ความเป็นมาพิธีสู่ขวัญ - การให้ความส�ำคัญ ผู้สูงอายุ - เล่าเรื่องจากตากับยาย - การร้องเพลงกล่อมเด็ก - การให้พรด้วยภาษาไทพวน และผูกข้อไม้ข้อมือ: โดยผู้เฒ่าของชุมชนเพื่อต้อนรับ และรับขวัญนักท่องเที่ยว
2. เล่าเรื่องไทพวน - ประวัติความเป็นมา - ประเพณีวัฒนธรรม - การแต่งกาย: ผู้ชายมีผ้าขาวม้าผูกเอว ผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่น - ภาษา - วิถีชีวิต - การแสดงพื้นบ้าน: การฟ้อนร�ำไทพวน
1. เล่าประวัติศาสตร์ และความเป็นมาของวัดเขาพระ - การก่อตั้งวัดตั้งแต่สมัยทวารวดี - ต�ำนานและความเชื่อวัดเขาพระ: เกี่ยวกับเมืองลับแล บ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์ และถ�้ำขุนแผน - บูรณะหลวงพ่อสังฆ์ - ความส�ำคัญของหลวงพ่อสังฆ์ - การอัญเชิญรอยพระพุทธบาท - การจัดงานวัด - การเปลี่ยนชื่อวัด
10 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
3. ประเพณีไทพวน - เดือนอ้าย (ท�ำบุญข้าวจี่) ชาวบ้าน ภายใน จะช่วยกันจี่ข้าว และตักบาตรข้าวจี่ร่วมกัน พิพิธภัณฑ์ - เดือนยี่ (ท�ำบุญข้าวหลาม) ชั้น 2 ท�ำบุญถวายพระด้วยข้าวหลาม และแบ่งกันเป็นสิริมงคล 2. การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ - เดือนสาม (ท�ำบุญค�้ำฟ้า) การบูชาสักการะ - แรงบันดาลใจที่มาและความสามัคคี บูชาฟ้าที่บันดาลฝนตกต้องตามฤดูกาล ของชุมชน: มีผู้มีจิตศรัทธา - เดือนห้า (ท�ำบุญสงกรานต์) มอบโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และ ท�ำบุญขึ้นปีใหม่ ข้าวของเครื่องใช้เพื่อสืบสาน - เดือนเจ็ด (ท�ำบุญกลางบ้าน) เรื่องราวของชุมชนในอดีต ปัดรังควานขับไล่สิ่งชั่วร้าย, - การรวบรวมเก็บของจากชุมชน: ประเพณีแห่ปลาช่อน: พิธีขอฝน ปัจจุบันรวมของเก่าได้มากกว่า 2,000 ชิ้น - เดือนเก้า (ประเพณีสารทพวน) - การเล่าถึงห้องจัดแสดง: โบราณวัตถุและ ท�ำบุญให้บรรพบุรุษ กวนกระยาสารท ศิลปะวัตถุในยุคต่างๆ ข้าวของเครื่องใช้ ไปถวายพระที่วัด ในอดีต ประวัติและประเพณีไทพวน - เดือนสิบเอ็ด (ตักบาตรเทโว) - การเข้าประกวดหมู่บ้านท่องเที่ยว: ตักบาตรวันออกพรรษา ได้ที่ 2 ของจังหวัด - เดือนสิบสอง (ลอยกระทงสวรรค์) ลอยกระทงขึ้นฟ้าเป็นพุทธบูชา 1. กิจกรรมไทพวน มีที่เดียวในประเทศไทย - ตากะเหลว: ตะกร้าใส่ของถวายสังฆทาน ของชาวไทพวน รูปทรงเป็นเอกลักษณ์ ภายใน - พวงมโหตร: เครื่องแขวนโบราณท�ำจาก พิพิธภัณฑ์ กระดาษสีต่างๆ พับและตัดเป็นรูป ชั้น 1 นิยมใช้ตกแต่งตากะเหลวในงานบุญ - วิธีท�ำพวงมโหตร: สอนท�ำพวงมโหตร - สังฆทานแบบสลากภัต: 2. อาหารพื้นบ้าน วิธีถวายสังฆทานด้วยการ ไทพวน จับสลาก เพื่อสงเคราะห์ - แจ่วปลาแดก ผู้มีจิตศรัทธาที่ไม่สามารถ - ปลาส้มไร้ก้าง ถวายของได้ครบตามจ�ำนวนสงฆ์ - แกงจานหน่อไม้ ชุมชนบ้านเขาพระ/ต�ำนานดิน
11
Mind Map
เล่าเรื่องชุมชน บ้านต�ำนานดิน
อุโมงค์ไผ่
ซุ้มต้อนรับ ที่มาของบ้านต�ำนานดิน - กล่าวต้อนรับ - สมุนไพรโบราณ: ต�ำนานดิน - ชื่อทางการของต�ำนานดิน: อบเชยเถา - สรรพคุณทางยา: สมุนไพรบ�ำบัด บ�ำรุงร่างกาย
- สืบสานอัตลักษณ์ของชาวไทพวน - ประเพณีสารทพวน • ขนมถวายพระ 4 อย่าง: กระยาสารท, ข้าวเหนียวแดง, ขนมกงและกะละแม • เลี้ยงแขกที่มาช่วยลงแขกในฤดูเกี่ยวข้าว
12 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
การส่งเสริมการเลี้ยงผึ้ง - อุโมงค์ไผ่กับการเลี้ยงผึ้ง: พื้นที่สวนไผ่ ในชุมชน ให้ร่มเงา โปร่งสบาย เหมาะกับการเลี้ยงผึ้ง - ประเภทและลักษณะของผึ้ง: นางพญาผึ้ง ผึ้งตัวผู้ และผึ้งงาน ฐานกะละแม - วิธีการเลี้ยงผึ้ง - ผลิตภัณฑ์จากชุมชน • น�้ำผึ้ง กะละแมสูตรโบราณ • เกสรผึ้ง - การรักษาวิถีโบราณในการท�ำกะละแม: • กะละแมเกสรผึ้ง: กะละแมต�ำนานดิน ใช้เมล็ดข้าวเหนียวแช่น�้ำกะทิแล้วปั่น โรยหน้าด้วยเกสรผึ้ง ไม่ใช้แป้ง • ขนมหน่อไม้หวาน: ขนมท�ำจาก - เอกลักษณ์ของการกวนข้าวเหนียว หน่อไม้หวานที่ได้จากสวนไผ่ - วิธีท�ำกะละแม วิธีการท�ำเหมือนขนมกล้วย - ระยะเวลาในการท�ำ เปลี่ยนจากกล้วยเป็นหน่อไม้หวาน - ความโดดเด่นของกะละแมต�ำนานดิน: ใส่ต�ำนานดิน สูตรลับเพื่อกลิ่นและ รสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ - ชิมกะละแมและชาสมุนไพร: ชิมความต่างของรสชาติของ ชาต�ำนานดินก่อนคั่วกับหลังคั่ว - กะละแมกับวิถีชีวิตของชาวไทพวน: ขนมส�ำคัญที่ใช้ในงานบุญประเพณี ของชาวไทพวน
ชุมชนบ้านเขาพระ/ต�ำนานดิน
13
ค�ำศัพท์
ค�ำศัพท์
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
ชุมชนบ้านเขาพระ
ชุมชนบ้านเขาพระ 1) วัดเขาพระศรีสรรเพชญาราม 2) พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน 3) พิธีบายศรีสู่ขวัญ 4) ชาวไทพวน 5) ศูนย์การเรียนรู้ไทพวน 6) ตะกร้าตากะเหลว 7) พวงมโหตร 8) งานประเพณีปิดทอง 9) ลอยกระทงสวรรค์ 12 นักษัตร
บ้านต�ำนานดิน
Baan Khoa Phra Community
Khoa Phra Si Sanphetchayaram Temple (Wat Khoa Phra) Local Museum Welcome Ceremony Thai Phuen, Thai Puen Thai Phuen Learning Center Ta Ka Lew Basketry Phuang Ma-hod (a hanging paper decorative item) Gilding Tradition Heavenly Loy Krathong of the 12 Zodiac signs
14 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
บ้านต�ำนานดิน
10) กิจกรรมต�ำนานดิน 11) ชาต�ำนานดิน 12) ชามะนาวต�ำนานดิน 13) กะละแมต�ำนานดินเกสรผึ้ง 14) การสครับผิวด้วยต�ำนานดิน น�้ำผึ้ง และน�้ำมันมะกอก 15) กิจกรรมการกวนกะละแม
Baan Tum Naan Din
Tum Naan Din Activities Glabra Kerr Tea (Tum Naan Din Herbal Tea) Lemon-Glabra Kerr Tea (Tum Naan Din Herbal Lemon Tea) Thai caramel candy with bee pollen Glabra Kerr, honey, and olive oil scrub Making Thai caramel candy
ชุมชนบ้านเขาพระ/ต�ำนานดิน
15
เรื่องนี้ ต้องขยาย ชุมชนบ้านเขาพระ
ลานหน้า พิพิธภัณฑ์ • ต้อนรับอบอุ่น • ตายายรับขวัญ - ผู้ใหญ่บุญ (คุณสมบุญ เขียวเซ็น) พร้อมทีม - แนะน� ำ คุ ณ ตาสุ จิ น แสวงหา (ตาหม่ อ ง) ต้อนรับชาวไทพวนเชิญนักท่องเที่ยวนั่งบน อายุ 78 ปี และคุณยายวรรณดี พันขะวงษ์ เบาะที่เย็บด้วยผ้าพื้นเมือง ที่ลานใต้ต้นไม้ (ยายดี) อายุ 87 ปี ผู้เฒ่าชาวไทพวนรุ่นแรก ใหญ่ในชุมชน และกล่าวต้อนรับอย่างอบอุ่น ของชุมชน ด้วยภาษาถิน่ ทุกคนแต่งกายเป็นเอกลักษณ์ อย่างชาวไทพวน - จัดพิธีบายศรีและเรียกขวัญผูกข้อมือ ยายดี อวยพรเพื่ อ ต้ อ นรั บ ผู ้ ม าเยื อ น ตาหม่ อ ง - กล่ า วถึ ง บ้ า นเขาพระ เมื อ งโบราณสมั ย เจริญชัยมงคลคาถาไปพร้อมกัน สร้างความ ทวารวดี มี ค วามส� ำ คั ญ ตั้ ง แต่ อ ดี ต เป็ น เป็นสิริมงคลและความประทับใจ ต้นก�ำเนิดน�้ำกินน�้ำใช้ของชาวเมืองอู่ทอง ถูกก�ำหนดเป็นดินแดนศักดิ์สิทธิ์ สถานที่ตั้ง ศาสนสถานของเมือง
พิธีบายศรี สู่ขวัญ • พิธีบายศรีสู่ขวัญ มาจากคติความเชื่อของพราหมณ์ ด้วยการน�ำ ใบตอง ซึง่ เป็นของบริสทุ ธิ์ ไม่มมี ลทิน ใช้เครือ่ ง สังเวยอย่างเช่นไข่ แตงกวา มะพร้าว และ ลั ก ษณะของบายศรี เ หมื อ นการจ� ำ ลองเขา พระสุ เ มรุ ด้ ว ยความเชื่ อ ว่ า ทุ ก คนเกิ ด มา พร้อมกับ “ขวัญ” ทีม่ หี น้าทีค่ มุ้ ครองรักษาชีวติ การท�ำพิธีสู่ขวัญจึงเป็นการเชิญขวัญที่หายไป กลับมาอยู่กับตัว ส่งเสริมพลังใจ ให้มีสติและ ไม่ประมาท
• บายศรี เครื่องเชิญขวัญท�ำด้วยใบตอง รูปร่างคล้าย กระทงเป็นชั้นซ้อนกัน มี 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น หรือ 9 ชั้น มีไข่ขวัญ (ไข่ต้ม) เสียบอยู่บนยอด ในบายศรี มี เ ครื่ อ งสั ง เวยวางอยู ่ และพั น สายสิญจน์โดยรอบเพื่อใช้ผูกข้อมือผู้รับขวัญ
- เล่าความเป็นมาและวิถีชีวิตของชาวไทพวน โดยคุณสมบูรณ์ ทองแจงน�ำชมในพิพธิ ภัณฑ์ บ้านเขาพระทีเ่ ก็บรวบรวมวัตถุโบราณต่างๆ ที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 16 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ชุมชนบ้านเขาพระ/ต�ำนานดิน
17
เรื่องนี้ ต้องขยาย ชุมชนบ้านเขาพระ
ชาวไทพวน • ชาวไทพวน หรือลาวพวน • เครื่องแต่งกายชาวไทพวน กลุ ่ ม คนไทยที่ สื บ เชื้ อ สายชาวพวนจาก - ผู้ชาย นุ่งกางเกงขาก๊วย สวมเสื้อม่อฮ่อม เมืองพวน ประเทศลาว อพยพมาไทยตั้งแต่ มีผ้าขาวม้าคาดเอว สมัยกรุงธนบุรี - ผูห้ ญิง สวมเสือ้ ผ้าฝ้ายคอกลมแขนกระบอก ตัด 5 ตะเข็บ นุง่ ซิน่ (ทอหรือมัดหมี)่ ทีช่ ายซิน่ • อุปนิสัย จะต่อตีนซิ่นสวยงาม โอบอ้ อ มอารี รั ก สงบ ยึ ด มั่ น ในศาสนา ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ผู ก พั น ในระบบ • การใช้ภาษา ชาวไทพวนในชุมชนจะพูดได้ เครือญาติ ชาติพันธุ์ มีวัฒนธรรมและภาษา ทั้งภาษาไทยกลางกับคนต่างถิ่น และภาษา อันเป็นเอกลักษณ์ของตนเองมายาวนาน ไทพวนกั บ กลุ ่ ม ชนเดี ย วกั น ภาษาพู ด ของ ไทพวนมีสำ� เนียงไพเราะ อ่อนหวาน ตัวอย่างเช่น - ไปกะเลอมา แปลว่า ไปไหนมา - เอ็ดผิเลอ แปลว่า ท�ำอะไร - ฟ้าวบ่ แปลว่า รีบไหม - พาข้าว แปลว่า ส�ำรับข้าว - บ่วง แปลว่า ช้อน - แกงจาน แปลว่า แกงส้ม
18 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ประเพณี ไทพวน เดือนอ้าย-ท�ำบุญข้าวจี่ ชาวบ้ า นในชุ ม ชนสามั ค คี ม าทํ า บุ ญ ร่ ว มกั น ชาวบ้ า นจะช่ ว ยกั น จี่ ข ้ า วในตอนเช้ า และ ตักบาตรข้าวจี่ร่วมกัน เดือนยี่-ท�ำบุญข้าวหลาม ท�ำข้าวหลามถวายพระสงฆ์และแบ่งกันเป็น สิริมงคล เดือนสาม-ท�ำบุญค�้ำฟ้า การสั ก การะเซ่ น สรวงผี ฟ ้ า เพื่ อ แสดงความ ขอบคุณ หรือค�ำ้ ฟ้าไม่ให้ฝนตกขณะท�ำบุญหรือ เกี่ยวข้าว มีการน�ำข้าวหลามไปแจกกันและ ท�ำบุญเผาข้าวหลาม เดือนห้า-ท�ำบุญสงกรานต์ ถือเป็นวันท�ำบุญขึ้นปีใหม่ มีการสรงน�้ำพระ เล่นสาดน�้ำกัน เดือนเจ็ด - ท�ำบุญกลางบ้าน หรื อ การท� ำ บุ ญ บ้ า น เพื่ อ ปั ด รั ง ควานขั บ ไล่ สิ่งชั่วร้าย และบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ด้วย - ประเพณีแห่ปลาช่อน ประเพณีทบี่ นบานสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิเ์ พือ่ ขอฝนให้ตก ตามฤดูกาล สืบทอดตัง้ แต่อดีต พิธกี รรมส�ำคัญ คือการปัน้ เทพสมมุตจิ ากดินเหนียวและการแห่ ปลาช่อนจ�ำนวน 2 ตัวในภาชนะที่มีน�้ำ โดยแห่ ประกอบร�ำแคน หลังจากเสร็จพิธีกรรมก็น�ำ ปลาช่อนไปปล่อยลงสู่แหล่งน�้ำธรรมชาติ
เดือนเก้า-ประเพณีสารทพวน มีการท�ำบุญร�ำลึกถึงบรรพบุรุษที่ล่วงลับ และ ร่วมกันกวนกระยาสารทกับกะละแม แสดงออก ถึงความมีน�้ำใจและความสามัคคี เดือนสิบเอ็ด-ตักบาตรเทโว มีการตักบาตร เพื่อระลึกถึงวันที่พระพุทธเจ้า เสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หลังจากไป แสดงธรรมโปรดพุ ท ธมารดา เรี ย กว่ า การ ตักบาตรเทโวโรหณะ เดือนสิบสอง-ลอยกระทงสวรรค์ ใช้ ต ากะเหลวหรื อ กระทงกระดาษติ ด ลูกโป่งลอยขึ้นฟ้าเพื่อบูชาพระพุทธเจ้าและ พระแม่คงคา มีที่เดียวในประเทศไทย เชื่อว่า หากได้ ล อยจะท� ำ ให้ ต นเองและครอบครั ว มี แ ต่ ค วามสุ ข ความเจริ ญ พ้ น จากโรคภั ย เคราะห์ร้ายต่างๆ
ชุมชนบ้านเขาพระ/ต�ำนานดิน
19
เรื่องนี้ ต้องขยาย ชุมชนบ้านเขาพระ
พิพิธภัณฑ์ ชั้น2 • วัดเขาพระศรีสรรเพชญาราม เดิมชือ่ “วัดเขาพระ” ชาวอูท่ องเคารพสักการะ มี ค วามเก่ า แก่ ตั้ ง แต่ ส มั ย ทวารวดี พบวั ต ถุ โบราณ เช่นพระเครื่อง พระพิรอด พระถ�้ำเสือ รูปฤาษี มีสถานที่ส�ำคัญภายในวัดหลายอย่าง - หลวงพ่ อ สั ง ฆ์ ศ รี ส รรเพชญ์ : พระพุ ท ธ ไสยาสน์ประดิษฐานอยูใ่ นถ�ำ้ บริเวณไหล่เขา ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออก มี ค วามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ม าก เรื่องบนบานขอพรให้ซื้อขายที่ดินได้ ของที่ หายได้ คื น ปิ ด ทององค์ พ ระให้ ห ายป่ ว ย เดิมหลวงพ่อสังฆ์สถิต ณ วัดศรีสรรเพชญ์ กรุงศรีอยุธยา จนครั้งที่พม่ารุกรานกรุงศรี อยุธยา เผาวัดศรีสรรเพชญ์ วิญญาณหลวงพ่อ จึ ง ล่ อ งลอยมาถึ ง บริ เ วณวั ด เขาพระนี้ เห็นว่ามีความสงบร่มเย็น และพระนอนไม่มี วิญญาณสถิตก็เลยลงประทับ - รอยพระพุทธบาท: พระพุทธบาทหินทราย - เจดียห์ มายเลข 9: เจดียโ์ บราณก่ออิฐถือปูน สีเขียวแกะสลักลวดลายมงคล 108 ประการ ฐานสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั กว้างด้านละ 8 เมตร ส่วน ประดิษฐานภายในพระมณฑปบนยอดเขา บนเป็นองค์ระฆังสมัยทวารวดี ต่อมาก่อสร้าง นักวิชาการเห็นว่าเป็นศิลปะสมัยทวารวดี เจดีย์ทรงกลมซ้อนทับในสมัยอยุธยา พบ ตอนปลายที่ได้รับอิทธิพลศิลปะขอม อายุ พระพิมพ์ดินเผาปางแสดงธรรม ราวพุทธศตวรรษที่ 16-17
20 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
“ถึงเขาพระที่เคยเข้ามาไหว้ พระศุกร์นี่กระไรดังหิ่งห้อย ชี้บอกวันทองน้องน้อย พระจันทร์ฉายบ่ายคล้อยลงฉับพลัน”
- บ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์ ต�ำนานเล่าว่าเป็นบ่อน�้ำ ที่ ไ ม่ เ คยแห้ ง อยู ่ ด ้ า นบนเขา ชาวชุ ม ชน เชื่อว่าดื่มกิน ขอพรจะหายจากโรคได้ - ชาวเมืองลับแล ต�ำนานเล่าถึงมักพบหญิง แต่งกายสีขาวทั้งชุด นุ่งผ้าถุง มีผ้าโพกหัว เดิ น บนเขาตามทางสมั ย ก่ อ น เดิ น อยู ่ ก็ หายไป เชื่ อ ว่ า เป็ น ชาวเมื อ งลั บ แล และ ในวั น ก่ อ นงานบุ ญ ประเพณี จะมี ก ารยื ม ของท�ำบุญกันระหว่างชาวบ้านเขาพระกับ ชาวเมืองลับแล โดยเขียนใส่กระดาษวางไว้ • ต�ำนานเรื่องเล่า: อี ก วั น จะมี ข องที่ ยื ม มาวางไว้ ใ ห้ ใช้ เ สร็ จ - ถ�้ำขุนแผน ตามต�ำนานของสมเด็จพระเจ้า ก็น�ำไปวางคืน ภายหลังชาวบ้านบางคนยืม บรมวงศ์เธอกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ แล้วไม่คืน จึงไม่พบว่ามีข้าวของวางไว้ให้อีก ประพันธ์ในวรรณคดีเรือ่ ง “ขุนช้างขุนแผน” ในตอนที่ ขุนแผนได้พานางวันทองหนีอาญา แผ่นดินจากสุพรรณบุรไี ปกาญจนบุรี ผ่านมา วัดเขาพระ ดังค�ำกลอนในเนื้อหาดังนี้
ชุมชนบ้านเขาพระ/ต�ำนานดิน
21
เรื่องนี้ ต้องขยาย ชุมชนบ้านเขาพระ
พิพิธภัณฑ์
พิพิธภัณฑ์ ชั้น 1
พื้นบ้านเขาพระ • ที่มาพิพิธภัณฑ์ ตั้ ง อยู ่ ใ นวั ด เขาพระศรี ส รรเพชญาราม เจ้ า อาวาสวั ด ได้ ห ารื อ กั บ ผู ้ น� ำ ชุ ม ชนและ ชาวบ้านในพืน้ ที่ เรือ่ งการเก็บรักษาโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุของชุมชนที่ได้รับบริจาคและ รวบรวมไว้ โดยอนุญาตให้ใช้พื้นที่ชั้น 2 ของ ศาลาหอสวดมนต์เป็นทีเ่ ก็บรักษาและจัดแสดง เพื่อสืบสานเรื่องราวของชุมชนเขาพระในอดีต ให้เยาวชนรุ่นหลังได้ตระหนักถึงคุณค่ามรดก ทางวัฒนธรรม โดยด�ำเนินการจัดตั้งให้เป็น “พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านเขาพระ”
วิถีชีวิตชุมชนไทพวนที่ถูกน�ำเสนอให้เห็นใน พิพธิ ภัณฑ์สะท้อนให้เห็นการใช้ชวี ติ ทีเ่ รียบง่าย มีพระพุทธศาสนาเป็นแหล่งยึดเหนี่ยวจิตใจ มีวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม และมีภูมิปัญญา ที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นของชาวไทพวน
• เกร็ดรอบรู้ ภายในพิพิธภัณฑ์: ช้อน 4 สี: ช้อนสังกะสีโบราณ ทีแ่ ยกสีตามผูใ้ ช้ • รวมของเก่าสะท้อนวิถีชุมชน - ช้อนสีขาว สําหรับพระสงฆ์ เป็ น ศู น ย์ เรี ย นรู ้ เ กี่ ย วกั บ ไทพวนที่ ร วบรวม - ช้อนสีน�้ำเงิน สําหรับผู้สูงศักดิ์ เครื่องใช้โบราณของชุมชนรวมถึงโบราณวัตถุ - ช้อนสีส้ม สําหรับคหบดี อื่นๆ ที่ขุดพบได้ในบริเวณวัดเขาพระ แบ่งเป็น - ช้อนสีเขียว สําหรับประชาชน ชัน้ 1 เรียนรูก้ จิ กรรมไทพวน การท�ำพวงมโหตร ตกแต่งตากะเหลว ครัวไฟ: ชื่อเรียกห้องครัวไทยสมัยก่อน ชั้น 2 เรี ย นรู ้ วิ ถี ชี วิ ต ชุ ม ชน เครื่ อ งแต่ ง กาย แม่เตาไฟ: ส่วนฐานส�ำหรับวางเตา (แบบที่ใช้ ตามชาติพนั ธุ์ วัตถุโบราณและศิลปวัตถุในสมัย ถ่านหรือฟืน) มีลกั ษณะเป็นกรอบไม้ขนาดใหญ่ ทวารวดี สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์ ด้านในใส่ดินเหนียวไว้เพื่อป้องกันไม่ให้ลูกไฟ เช่ น พระบู ช า เครื่ อ งทองเหลื อ ง เป็ น ต้ น หรือเศษถ่านที่ลอยออกจากเตาตกลงไปบน วัฒนธรรม-ประเพณีและเทศกาลต่างๆ ของ พื้นบ้านจนอาจจะเกิดไฟไหม้ได้ ชุ ม ชน มี ห ้ อ งไฮไลท์ จั ด แสดงเทศกาลลอย กระทงสวรรค์
22 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
• กิจกรรมไทพวน สะท้อนภูมิปัญญาของชุมชน
- ต่อยอดผลิตภัณฑ์ มีการต่อยอดตากะเหลว เป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน โดยสอนวิธีการท�ำให้ แก่นักท่องเที่ยว และจ�ำหน่ายเป็นรายได้ กลับสู่ชุมชน
• อาหารพื้นบ้านไทพวน มาเยือนถึงถิ่นแล้วต้องไม่พลาด - แจ่วปลาแดก: น�ำ้ พริกทีน่ ำ� เนือ้ ปลาสดต�ำกับ พริ ก ปรุ ง รสน�้ ำ ปลาร้ า ไม่ ป รุ ง มะนาว ได้ รสหวานจากเนื้อปลา กินกับผักแนมหลาย ชนิดที่ปลูกเองและเก็บในสวนสดๆ มาจัด รอบจาน เรียกว่า “ดาวล้อมเดือน”
- ตะกร้าตากะเหลว: งานสานของชาวไทพวน - ปลาส้มไร้ก้าง: ปลาส้มปลาตะเพียน ดึง มีมาแต่สมัยโบราณ ท�ำจากวัสดุพื้นถิ่น คือ ก้างออกหมดแล้วทอด โรยด้วยหอมและ ไม้ไผ่ตอก ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ ส่วนฐาน กระเทียมเจียวใหม่ๆ และพริกป่น ส่วนรูปตะกร้า และส่วนยอดแฉก 6 แฉก ด้านบนตกแต่งด้วยพวงมโหตร นิยมใช้ใส่ผกั - แกงจานหน่ อ ไม้ : แกงส้มหน่อไม้ดองใส่ ผลไม้ ห รื อ บรรจุเ ครื่อ งสังฆทาน ข้า วสาร ไข่ปลา รสชาติเปรี้ยวเค็มกลมกล่อม ไม่เผ็ด อาหารแห้งและเงิน สอดคานไม้ไผ่หามไปวัด มากเพราะชาวไทพวนบ้านเขาพระไม่กิน เพื่อถวายพระสงฆ์ เรียกว่า สลากภัต (การ รสจัด จับสลากเพื่อแจกภัตตาหารหรือปัจจัยวัตถุ แก่พระสงฆ์ เป็นการสงเคราะห์ผมู้ จี ติ ศรัทธา ทีไ่ ม่สามารถถวายของได้ครบตามจ�ำนวนสงฆ์ - พวงมโหตร เป็นเครื่องแขวนแบบโบราณ ชนิดหนึ่งที่ท�ำขึ้นด้วยกระดาษสี ตัดและพับ เป็นรูปต่างๆ
ชุมชนบ้านเขาพระ/ต�ำนานดิน
23
เรื่องนี้ ต้องขยาย บ้านต�ำนานดิน
ฐานต้อนรับ
บ้านต�ำนานดิน • ฐานต้อนรับ แนะน�ำตัวจากคุณธนกฤต และคุณนภกมล แสวงหา • เล่าที่มาชุมชน ที่ ม าของการจั ด ตั้ ง บ้ า นต� ำ นานดิ น มาจาก การทดลองน�ำพืชสมุนไพรพืน้ บ้าน “ต้นต�ำนาน ดิน” ทีห่ าได้ทวั่ ไปในชุมชนมาทดลองเพิม่ มูลค่า ท�ำเป็นชาสมุนไพรต�ำนานดิน หรือผสมลงใน กะละแม โดยการน�ำส่วนรากอายุ 2-3 ปี มาหัน่ ตากแห้งและคั่ว พบว่าได้ชาที่มีประโยชน์และ มีกลิ่นหอมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว • ชาต�ำนานดิน - เริม่ แรกน�ำรากดิบมาต้ม จะได้นำ�้ ชาสีออก แดงขุ่น รสชาติไม่อร่อย - ขั้นตอนการท�ำชา 1. น�ำรากมาสับ และน�ำไปตากแดด (ประมาณ 5 แดด) 2. น�ำมาคั่วไฟในกระทะ และโขลกให้เป็นผง (โขลกหยาบน�ำไปสครับ, โขลกละเอียด น�ำไปชงดื่ม) 3. น�ำไปร่อนแล้วคั่วไฟอีกครั้ง 24 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
สมุนไพร ต�ำนานดิน 4. ร่อนอีกครัง้ แล้วน�ำไปชงดืม่ ร้อน กลิน่ หอม เหมือนชาจีน
• ต่อยอดผลิตภัณฑ์ - ชาน�้ำผึ้งมะนาว: ชาต�ำนานดินใส่น�้ำผึ้ง มะนาว ชงดื่มแบบเย็น รสชาติไม่หวาน มาก เย็นชื่นใจ - ขนมหน่อไม้คลุกมะพร้าว: ขนมท�ำจาก หน่อไม้หวานผสมแป้งและน�้ำตาล เสิร์ฟ ต้อนรับพร้อมชาต�ำนานดินแบบร้อนหรือ ชาน�้ำผึ้งมะนาวแบบเย็น - สครับผิวต�ำนานดิน: จากกากทีไ่ ด้จากคัว่ น� ำ มาสครั บ ผิ ว บริ ก ารแก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ช่ ว ยให้ ผิ ว เนี ย นนุ ่ ม ชะลอวั ย และต้ า น อนุมูลอิสระ - ส่วนผสม (ใช้ได้ 4 ครั้ง/4 คน) ผงต�ำนานดิน 1 ช้อนชา น�้ำผึ้ง 2 ช้อนชา น�้ำมันมะกอก 3 ช้อนชา เกลือแกง 1 ช้อนชา (ส�ำหรับผิวตัวเท่านั้น)
• ชื่อเรียกสมุนไพรต�ำนานดิน “อบเชยเถา” หรื อ ในภาษาพวนเรี ย กว่ า “ต�ำนานดิน” พืชสมุนไพรไม้เถาเลือ้ ยขนาดเล็ก รูปใบหอกยาว ปลายแหลม รากสะสมอาหาร ใต้ดิน เป็นพืชที่ทนแดด และเติบโตในสภาพ อากาศแห้งแล้ง อบเชยเถาตัวผู้จะมีกลิ่นฉุน แรงกว่า จึงนิยมน�ำไปใส่ในกะละแมเพื่อเพิ่ม กลิ่นหอม โดยใช้ส่วนรากมาสับ อีกทั้งน�ำกาก ไปหุงข้าวและใช้แทนการอบควันเทียนในการ ท�ำซ่าหริ่ม
สรรพคุณทางยา - เป็นยาบ�ำรุงก�ำลัง บ�ำรุงหัวใจ ช่วยท�ำให้กระปรี้กระเปร่า - ปรุงเป็นยาหอม แก้ลมวิงเวียนศรีษะ หน้ามืดตาลาย - เป็นยาขับลมในล�ำใส้ - แก้บิดแก้ท้องเสีย - ลดอาการปวดมวนท้อง - น�ำมาต้มกับน�้ำ อบไอน�้ำแก้โรคผิวหนัง ผื่นคัน
ชุมชนบ้านเขาพระ/ต�ำนานดิน
25
เรื่องนี้ ต้องขยาย บ้านต�ำนานดิน
กะละแมโบราณ ต�ำนานดิน กะละแมสูตรโบราณ มีรสชาติและกลิ่นหอม 8. ตักใส่ถาด โดยใช้ไม้พายม้วนก้อนกะละแม เป็ น เอกลั ก ษณ์ จ ากสมุ น ไพรต� ำ นานดิ น มี ทีก่ วนเสร็จขึน้ จากกระทะ และรูดกะละแม ที่เดียวในประเทศไทย รสชาติหวานหอมจาก ด้วยก้านกาบกล้วยลงบนถาดรองใบตอง กะทิและน�้ำตาลมะพร้าว เหนียวนุ่มหนึบ สด 9. ตัดเป็นชิ้นเล็ก โรยหน้าด้วยเกสรผึ้ง ใหม่ไม่ใส่สารกันบูด เก็บไว้ทานได้ 7 วัน • ฐานกวนกะละแม • ส่วนผสมของกะละแม นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ ท ดลองกวนกะละแม ตั ก 1. เม็ดข้าวเหนียว (ไม่ใช้แป้งข้าวเหนียว) กะละแมทีไ่ ด้ทแี่ ล้วด้วยไม้พาย และรูดกะละแม 2. หัวกะทิและหางกะทิ ด้ ว ยก้ า นกาบกล้ ว ย อี ก ทั้ ง ได้ ชิ ม กะละแม 3. น�้ำตาลมะพร้าว ส่วนที่อร่อยที่สุดคือบริเวณก้นกระทะ 4. น�้ำต�ำนานดิน 5. เกลือ • กะละแมกับประเพณีไทพวน ขนม 4 ชนิด คือ กระยาสารท ข้าวเหนียวแดง ขนมกงและกะละแม เป็นขนมพื้นบ้านที่ชาว • วิธีท�ำกะละแม ไทพวนท�ำถวายพระในประเพณีสารทพวนหรือ 1. เทหางกะทิและแป้งลงไปในกระทะตั้งไฟ น�ำไปเลี้ยงแขกที่มาช่วยลงแขกในฤดูเกี่ยวข้าว บนเตาถ่าน (ใช้เม็ดข้าวเหนียว (ไม่ใช้แป้ง ข้าวเหนียว) แช่นำ�้ ให้พอง (นิม่ ) แล้วปัน่ ให้ • กะละแมต�ำนานดินเกสรผึ้ง ละเอียดกับกะทิ จะช่วยลดเวลาในการ โรยหน้าชิ้นกะละแมด้วยเกสรผึ้งจากผึ้งเลี้ยง กวนจาก 6 ชั่วโมงเหลือ 4 ชั่วโมง) ในสวนไผ่ 2. ใส่น�้ำต�ำนานดิน 3. กวนจนข้าวเหนียวสุกประมาณ 15 นาที 4. ใส่หัวกะทิ 5. ใส่น�้ำตาลมะพร้าว 6. กวนต่ออีกประมาณ 2 ชั่วโมง 7. กวนจนกะละแมไม่ติดนิ้ว 26 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
อุโมงค์ไผ่ แนวต้นไผ่หวานที่โค้งเข้าหากันเหมือนอุโมงค์ ให้รม่ เงา โปร่งสบายจึงติดตัง้ กล่องเลีย้ งผึง้ สวน ไผ่เป็นแหล่งอาหารของผึ้งและยังเก็บหน่อไผ่ หวานได้ด้วย
• ผลิตภัณฑ์จากผึ้ง 1. น�้ำผึ้ง 2. นมผึ้ง 3. เกสรผึ้ ง (เกสรดอกไม้ ที่ ผึ้ ง เก็ บ มาเป็ น อาหารไว้ทรี่ งั เก็บใหม่ๆ ชิมรสชาติจะหวาน หลังจากน�ำไปอบเพื่อให้เก็บได้นาน จะ ออกเปรีย้ วๆ มันๆ เก็บได้มากช่วงหน้าฝน) • ประเภทของผึ้ง แบ่งตามหน้าที่ในรัง - ผึง้ นางพญา ตัวใหญ่สดุ ท�ำหน้าทีผ่ สมพันธุ์ วางไข่ และควบคุมผึ้งอื่นในรัง - ผึ้งตัวผู้ คอยผสมพันธุ์กับผึ้งนางพญา - ผึ้งงาน ตัวเล็กที่สุด ท�ำหน้าที่ • ให้อาหารผึ้งตัวอ่อน • สร้างและซ่อมแซมรัง • บินออกหาอาหาร และสะสมน�้ำผึ้ง
• การเลี้ยงผึ้ง 1. วัสดุอุปกรณ์การเลี้ยงผึ้ง กล่องเลีย้ งผึง้ คอนผึง้ รังล่อผึง้ หมวกและถุงมือ กันผึ้งต่อย กลักขังนางพญา เครื่องพ่นควัน แปรงปัดตัวผึ้ง 2. การตรวจรังผึ้ง ทุก 10 วัน เช้าและเย็น - ตรวจดูปริมาณผึ้งให้สัมพันธ์กับคอน - ตรวจดูการวางไข่ของนางพญาผึ้ง - ตรวจดูการเก็บน�้ำหวานและเกสร - ตรวจดูโรคและศัตรูผึ้ง - ตรวจดูสภาพรวงรังผึ้ง 3. การให้อาหารแก่ผึ้ง (กรณีแหล่งอาหาร ธรรมชาติไม่เพียงพอ) - เติมน�้ำหวานผสมน�้ำ อัตราส่วน 1:1 โดย น�้ำหนัก - แป้ ง ถั่ ว เหลื อ งบดกวนน�้ ำ ตาลมะพร้ า ว ให้ช่วงหน้าฝน 4. การเก็บผลผลิต - เก็บน�้ำผึ้ง เมื่อผึ้งอยู่ในกล่องได้ 1-3 เดือน หรือดูว่ามีรวงผึ้ง 4 รวงขึ้นไป - เก็บไขผึ้ง หลังจากเก็บน�้ำผึ้ง รวงที่เหลือ น�ำไปต้มจะได้ไขผึ้ง 5. ศัตรูที่ส�ำคัญและการป้องกันก�ำจัด มีศัตรู ผึ้งน้อย ไม่ต้องใช้สารเคมีป้องกันหรือก�ำจัด เป็นแมลงที่เอาตัวรอดได้ดี ต้านทานโรค ถ้ามี โรคหรือศัตรูรบกวน จะทิ้งรังไปหาที่ สร้ า งรั ง ใหม่ ศั ต รู ที่ ส� ำ คั ญ คือมดแดงและ หนอนผีเสือ้ กินไขผึง้
ชุมชนบ้านเขาพระ/ต�ำนานดิน
27
เ ส้ น ท า ง สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ใ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว
ศู....................................................................................................................................................................................................................................................................................................... นย์เรียนรู้ ยาดมยาหม่อง
หัวโต ป้าต้อย
เล่าเรื่องเก่า เชิญเขาเข้าบ้าน
10
2
เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ โดยการวิเคราะห์ของชุมชน: 1. เมืองโบราณอู่ทอง 2. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง 3. ลูกก�ำปัดโบราณอู่ทอง 4. ความเป็นมาของชุมชน 5. ความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ 6. สูตรลับยาดมหัวโตป้าต้อย 7. สมุนไพรหัวใจหลัก: พริกไทยด�ำ, กานพลู, สมุลแว้ง, ลูกจันทน์, ผิวมะกรูดและเปลือกส้มโอ 8. ตุ๊กตาหัวโตจากศิลปะทวารวดี 9. แห่หัวโตกลองยาว (เทศกาลเปิดเมืองโบราณอู่ทอง คล้ายการละเล่นผีตาโขน) 10. 5 ชาติพันธุ์อู่ทอง (ไทยพื้นถิ่น ไทยจีน ไทพวน ไทยทรงด�ำ ลาวครั่ง)
28 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
3
โขลก สับ ต�ำ ซอย ปรุงแต่งยาดม
1
4
จุดต้อนรับ
ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่อง หัวโตป้าต้อย
ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่องหัวโตป้าต้อย
29
สกัดเรื่องเล่า
ให้ว๊าว
ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่อง หัวโตป้าต้อย 1. ตุก๊ ตาหัวโต: ผลิตภัณฑ์ชมุ ชนจากอัตลักษณ์ อู่ทองโบราณ 2. ลู ก ก� ำ ปั ด โบราณอู ่ ท อง: ศิ ล ปวั ต ถุ ส มั ย ทวารวดี ที่ ถู ก พบมากมาย เป็ น หลั ก ฐาน ส�ำคัญยืนยันความเป็นเมืองท่าการค้าโบราณ ของเมืองอู่ทองอันรุ่งเรือง มีอายุนับพันปี ท�ำจากวัสดุหินสี แก้ว ทองค�ำ คนโบราณ ใช้เป็นเครื่องประดับแล้ว ยังเป็นเครื่องราง ของขลัง ของใช้ในพิธกี รรม ของแลกเปลีย่ น เสมือนเงินตรา เครื่องหมายบ่งบอกอ�ำนาจ ชนชั้นทางสังคมของผู้ใช้ 3. สมุนไพรหัวใจหลัก: พริกไทยด�ำ กานพลู สมุลแว้ง ลูกจันทน์ ผิวมะกรูดและเปลือก ส้มโอ ปลูกเองไม่ใช้สารเคมี 4. 5 ชาติ พั น ธุ ์ อู ่ ท อง: ไทยพื้ น ถิ่ น ไทยจี น ไทพวน ไทยทรงด�ำ ลาวครั่ง ชาติพันธุ์ที่ยัง คงอั ต ลั ก ษณ์ ท างด้ า นวิ ถี ชี วิ ต ความเชื่ อ ประเพณีวัฒนธรรมในเมืองโบราณอู่ทอง จนถึงปัจจุบัน 5. กุฑุ: แผ่นดินเผาหน้าต่าง มีลักษณะเป็น วงโค้งคล้ายรูปเกือกม้า ภายในมีใบหน้า ผู้หญิง อิทธิพลศิลปะสมัยทวารวดี ป้าต้อย น�ำอัตลักษณ์คนโบราณทวารวดีมาสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ 6. ขนมไข่จิ้งหรีด: ขนมที่น�ำไปไหว้แก้บน ทํา จากข้าวเจ้าที่เหลือกิน ตากแห้งแล้วน�ำมา ทอดจนพองเหลือง 30 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
5 ชาติพันธุ์อู่ทอง ตุ๊กตาหัวโต
ลูกก�ำปัดโบราณอู่ทอง กุฑุ
ขนมไข่จ้งิ หรีด สมุนไพรหัวใจหลัก
ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่องหัวโตป้าต้อย
31
Mind Map
ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่อง หัวโตป้าต้อย
จุดต้อนรับ
1. เมืองโบราณอู่ทอง - ภูมิประเทศเป็นเมืองที่มีคูน�้ำคันดิน ล้อมรอบเป็นรูปเมล็ดข้าวสาร - การค้าขายแต่โบราณ เป็นเมืองท่า ศูนย์กลางทางการค้า ติดต่อกับ โลกตะวันตกและตะวันออก - มีโบราณวัตถุและศิลปวัตถุส�ำคัญ ที่บ่งบอกว่าอู่ทองเป็นต้นทาง พระพุทธศาสนาแห่งเอเชียอาคเนย์ เช่น ธรรมจักรศิลา - พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง เป็นสถานที่เก็บรักษาวัตถุโบราณล�้ำค่า สมัยทวารวดีมากที่สุดแห่งหนึ่ง - ชาติพันธุ์อู่ทอง ได้แก่ ไทยพื้นถิ่น ไทยจีน ไทพวน ไทยทรงด�ำ และลาวครั่ง
เล่าเรื่องเก่า
เชิญเขาเข้าบ้าน
32 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
1. สูตรลับยาดมป้าต้อย - ส่วนประกอบ - สรรพคุณ
1. กล่าวต้อนรับ - แนะน�ำสมาชิก
4. วิธีการปรุงยาดม ตักส่วนผสมบรรจุขวดแก้ว ตามอัตราส่วน ปิดฝา และเขย่าเล็กน้อย
1. แต่งหน้าตุ๊กตาหัวโต ตกแต่งหัวตุ๊กตาบนฝาขวดที่ปั้นจากดินไทยคุณภาพ ด้วยสีน�้ำโปสเตอร์ วาดใบหน้าหรือตกแต่งลวยลายตามจินตนาการในสไตล์ของตัวเอง
ปรุงแต่ง ยาดม
2. ความเป็นมาของชุมชน - บรรพบุรุษครอบครัวป้าต้อย คือ “ขุนวิเศษรักษา” อพยพมาจาก เวียดนามตั้งแต่รัชกาลที่ 6 - การก�ำเนิดกลุ่ม ก่อตั้งกลุ่มวิสาหกิจ ผลิตภัณฑ์ชุมชนต้นแจงพัฒนา ในปีพ.ศ. 2551
โขลก สับ
2. การเตรียมวัตถุดิบ - หั่นเปลือกส้มโอ ซอยผิวมะกรูด ต�ำ ซอย สับเปลือกไม้สมุลแว้ง ต�ำลูก จันทน์เทศ - น�ำทั้งหมดไปตาก อบจนแห้ง - รวมส่วนผสมกับพิมเสน การบูรและเมนทอล
2. น�้ำสมุนไพร ต้อนรับด้วยของว่างและ น�้ำสมุนไพรที่ปลูกเอง หมุนเวียนตามฤดูกาล เช่น น�้ำกระชายน�้ำผึ้งมะนาว น�้ำมะม่วงหาวมะนาวโห่ น�้ำอัญชันมะนาว น�้ำตะไคร้ ใบเตยหรือน�้ำฝาง
3. ความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ พัฒนายาดมและบรรจุภัณฑ์ให้มีรูปลักษณ์ ที่โดดเด่น โดยได้แรงบันดาลใจจากอัตลักษณ์ ของคนโบราณทวารวดีและกลุ่มชาติพันธุ์ มาสร้างงานศิลปะบนฝายาดมยาหม่อง
3. ส่วนผสมตามอัตราส่วน
2. ตุ๊กตาหัวโตเชื่อมโยงศิลปะทวารวดี น�ำอัตลักษณ์ของคนโบราณทวารวดี และกลุ่มชาติพันธุ์มาเป็นแรงบันดาลใจ เช่นศิลปวัตถุทวารวดีอย่าง กุฑุ (หน้าผู้หญิงในแผ่นดินเผาหน้าต่างจ�ำลอง)
3. เทศกาลแห่หัวโตกลองยาว เป็นประเพณีการแห่หัวโตกลองยาว และส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองโบราณ อู่ทอง การละเล่นคล้ายแห่ผีตาโขน มีการแห่หัวโตในรูปแบบต่างๆ เช่น หัวโตทวารวดี หัวโตตลกพื้นบ้าน หัวโตลูกปัด
4. กิจกรรมสร้างความประทับใจ นักท่องเที่ยวจะได้รับความรู้ทางด้าน ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ ความสนุกสนาน ประทับใจจากงาน ท�ำมือ อีกทั้งได้ของที่ระลึกคุณภาพ ภายใต้แนวคิดเรียนรู้ ดูของจริง ลงมือท�ำแล้วน�ำกลับบ้าน 5. การจัดจ�ำหน่ายยาดม มียาหม่องตะไคร้หอมและ ยาหม่องเกสรบัวจ�ำหน่ายด้วย
ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่องหัวโตป้าต้อย
33
ค�ำศัพท์
ภาษาอังกฤษ ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่อง หัวโตป้าต้อย
ยาดมยาหม่องหัวโต ป้าต้อย
Auntie Toy’s Big Head Inhaler and Ointment
1) ภูมิปัญญาท้องถิ่น 2) ยาดม 3) สมุนไพร 4) การท�ำยาดมสมุนไพรของเมืองอู่ทอง 5) กานพลู 6) สมุลแว้ง 7) ผิวมะกรูดอบแห้ง
Local Wisdom Inhaler (herbal aromatic inhaler) Herb Making U-Thong Herbal Inhaler Clove Cinnamomum Bejolghota Dried Bergamot Peel
34 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
8) เกล็ดสะระแหน่ 9) พิมเสน 10) การบูร 11) ยาดม ยาหม่อง หัวโตป้าต้อย 12) ลูกปัดทวารวดี 13) กุฑุ (หน้าบันรูปวงโค้งเกือกม้า)
Mint Flakes Borneol Camphor Auntie Toy’s Big Head Inhaler and Ointment Dvaravati beads Ancient Indian Pediment
ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่องหัวโตป้าต้อย
35
เรื่องนี้ ต้องขยาย
ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่อง หัวโตป้าต้อย
เล่าเรื่องเก่า เชิญเขา เข้าบ้าน
จุดต้อนรับ • ยาหม่องยาดมหัวโตป้าต้อย ยาหม่องยาดมสมุนไพรโบราณ โดยคุณเครือวัลย์ คล้ายจินดา หรือ “ป้าต้อย” ชุมชนต้นแจง พั ฒ นา เป็ น ต� ำ รั บ โบราณที่ สื บ ทอดจาก บรรพบุรุษ มีส่วนผสมของสมุนไพร 9 ชนิด ได้รับการยอมรับว่ายิ่งดม ยิ่งหอมนาน ชื่นใจ เป็นของฝากของทีร่ ะลึกทีม่ รี ปู ลักษณ์อนั เป็น เอกลักษณ์ของเมืองอู่ทอง • ต้อนรับอบอุ่น - น�้ำสมุนไพร - ขนมไข่จิ้งหรีด ต้ อ นรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วด้ ว ยเซ็ ต ของว่ า ง ขนมโบราณรูปร่างเหมือนไข่จิ้งหรีด ทํา ท้องถิ่น เช่น ข้าวเหนียวมะม่วงมหาชนก จากข้าวเจ้าที่เหลือกิน ตากแห้งแล้วทอด และน�้ำสมุนไพรที่ปลูกเอง หมุนเวียนไป จนพองเหลือง กวนกับนํ้าตาลปีบที่เคี่ยว ตามฤดูกาล เช่น น�้ำกระชายน�้ำผึ้งมะนาว จนเหนียว นิยมใช้เป็นของแก้บนซึ่งชุด น�ำ้ มะม่วงหาวมะนาวโห่ น�ำ้ อัญชันมะนาว แก้บนมี ไข่ 3 อย่าง คือ ไข่ต้ม ไข่หวาน น�้ำตะไคร้ใบเตย หรือน�้ำฝาง และขนมไข่จิ้งหรีด สมัยก่อนเป็นสเบียง ส�ำหรับทหารตอนเดินทัพ
• พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง สถานที่เก็บรักษาและจัดแสดงโบราณวัตถุ ศิ ล ปวั ต ถุ ที่ ไ ด้ จ ากการส� ำ รวจ ขุ ด ค้ น และ บูรณะโบราณสถานในเมืองอู่ทองโบราณ และพื้นที่ใกล้เคียง ซึ่งมีความเป็นมาตั้งแต่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย จนถึง วัฒนธรรมทวารวดี มี 3 อาคารจัดแสดง และห้องจัดแสดง ได้แก่ บรรพชนคนอู่ทอง อูท่ องศรีทวารวดี พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ บนผืนแผ่นดินสุวรรณภูมิ สุวรรณภูมิการค้า โลกยุค โบราณ และอู่ทองศูนย์ก ลางแห่ง พระพุทธศาสนา เปิดเมือ่ วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 ตัง้ อยูถ่ นนมาลัยแมน ต�ำบลอูท่ อง
• เมืองโบราณอู่ทอง* - เมื อ งโบราณส� ำ คั ญ แห่ ง หนึ่ ง ของไทย ย้อนอดีตได้ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ • ชาติพันธุ์อู่ทอง กว่า 3,000 ปี ผ่านสุวรรณภูมิ ฟูนนั จนเข้า ได้แก่ ไทยพืน้ ถิน่ ไทยจีน ไทพวน ไทยทรงด�ำ สู่วัฒนธรรมทวารวดี ลาวครั่ง ยังคงอัต ลัก ษณ์ทางด้า นวิถีชีวิต - เมื อ งที่ มี คู น้� ำ คั น ดิ น ล้ อ มรอบเป็ น รู ป ความเชื่อ ภาษา ประเพณีวัฒนธรรมของ เมล็ ด ข้ า วสาร ตั้ ง อยู ่ ฝ ั ่ ง ตะวั น ตกของ แต่ ล ะชาติ พั น ธุ ์ ใ น แม่ น�้ ำ จรเข้ ส ามพั น กึ่ ง กลางระหว่ า ง เมื อ งโบราณอู ่ ท อง แม่ น�้ ำ แม่ ก ลอง ท่ า จี น และเจ้ า พระยา จนถึงปัจจุบัน ผังเมืองเป็นรูปวงรี - เมืองท่าศูนย์กลางทางการค้า ติดต่อกับ โลกตะวั น ตกและตะวั น ออกระหว่ า ง อินเดียและจีน จากหลักฐานโบราณคดี ที่พบ เช่น ลูกปัดหิน เครื่องถ้วยเคลือบ ตราประทับ เหรียญกษาปณ์โรมัน เหรียญ เงินมีจารึก เครื่องทอง ศิวลึงค์ เป็นต้น - ต้นทางพระพุทธศาสนาแห่งเอเชียอาคเนย์ จากโบราณวัตถุที่พบเช่น ประติมากรรม ทางพุทธศาสนา ธรรมจักรศิลา *อ้างอิงจาก 1. ข้อมูลประชาสัมพันธ์ของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง 2. ชุดความรู้ “อู่ทอง...ต้องไป”
36 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่องหัวโตป้าต้อย
37
เรื่องนี้ ต้องขยาย ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่องหัวโตป้าต้อย
เล่าเรื่องเก่า เชิญเขา เข้าบ้าน
ความเป็นมาของชุมชน
• ความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ • ครอบครัวป้าต้อย - ยาดมยาหม่องสมุนไพรสูตรโบราณ คุณย่าของป้าต้อยเล่าว่าต้นตระกูลอพยพ เพื่อสืบสานภูมิปัญญาของครอบครัวและ มาจากเวียดนามตัง้ แต่รชั กาลที่ 6 เป็นหมอยา จิตวิญญาณท้องถิ่น พัฒนายาดมยาหม่อง และได้รับพระราชทานนามว่า “ขุนวิเศษ ทีค่ ดั สรรสมุนไพรมาผสมด้วยสูตรเฉพาะตัว รักษา” เนื่องจากมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์ให้มีรูปลักษณ์ ด้านยาสมุนไพร ที่โดดเด่น ได้แรงบันดาลใจจากอัตลักษณ์ ของคนโบราณทวารวดีและกลุ่มชาติพันธุ์ • การก�ำเนิดกลุ่ม มาสร้างงานศิลปะบนฝายาดมยาหม่อง จากความรู้เรื่องสมุนไพรอันเป็นภูมิปัญญา - กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ของครอบครัวเกิดเป็นโฮงยาป้าต้อย ผลิต เปิดให้นักท่องเที่ยวร่วมกิจกรรมเพื่อให้ ยาดมยาหม่องสมุนไพรและรวมกลุ่มอาชีพ รูค้ ณ ุ ค่าของสมุนไพรต่างๆ และร่วมรือ้ ฟืน้ ในปีพ.ศ. 2551 ก่อตั้งเป็นกลุ่มวิสาหกิจ ความมีชีวิตชีวาของเมืองโบราณอู่ทอง ผลิตภัณฑ์ชุมชนต้นแจงพัฒนา ผลิตสินค้า ให้กลับมา จากกิจกรรมที่ลงมือท�ำด้วย ต่ อ ยอดและพั ฒ นาสู ่ กิ จ กรรมท่ อ งเที่ ย ว ตนเองตั้งแต่ขั้นตอนเตรียมสมุนไพร การ เชิงสร้างสรรค์ เพิ่มรายได้ให้ชุมชน จนได้รับ ปรุงยาดม การตกแต่งตุ๊กตาหัวโตบนฝา รางวัลแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ปี พ.ศ. ยาดมยาหม่องตามจินตนาการ และน�ำ 2560 (Creative Tourism Thailand) กลับไปเป็นของที่ระลึกสุดประทับใจ
38 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
โขลก สับ ต�ำ ซอย • สูตรลับยาดมป้าต้อย เป็นผลิตภัณฑ์ทนี่ ำ� เอาสมุนไพรส�ำคัญ 9 ชนิด ทีค่ ดั สรรและปลูกเอง มาผสมอย่างลงตัวด้วย สูตรเฉพาะตัวทีถ่ า่ ยทอดจากรุน่ คุณย่า ได้รบั ความนิยมนับ 10 ปี เมือ่ ใช้สดู ดม แก้วงิ เวียน ศีรษะ หน้ามืด ท�ำให้สดชื่น กลิ่นหอมทน ยาวนาน • ส่วนประกอบและสรรพคุณของสมุนไพร มี 9 ชนิด - สมุลแว้ง รสหอมร้อนปร่า แก้ลม แก้วิงเวียน ใจสั่น แก้พิษหวัด แก้ก�ำเดา ขับลมใน ล�ำไส้ เป็นยาบ�ำรุงก�ำลัง - พริกไทยด�ำ ช่วยย่อยอาหาร แก้ท้องอืด ปวดท้อง ขับลม ขับไขมันส่วนเกิน ขับเหงื่อ ลดความร้อน ในร่างกาย เป็นยาอายุวัฒนะ - ผิวมะกรูดอบแห้ง* ขับลม ขับพิษ แก้ปวดศีรษะ บ�ำรุงหัวใจ บ�ำรุงหนังศรีษะ ขจัดรังแค
- ผิวส้มโออบแห้ง* มีกลิ่นหอมชื่นใจ ช่วยให้ร่างกายตื่นตัว สดชื่น กระปรี้กระเปร่า แก้ลมแก้เสมหะ - ลูกจันทน์ บ�ำรุงก�ำลัง บ�ำรุงหัวใจ แก้ไข้ แก้จุกเสียด ขับลม แก้ร้อนใน ช่วยให้ นอนหลับและมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ - กานพลู แก้ท้องอืดเฟ้อ ขับลม แก้วิงเวียน คลื่นไส้อาเจียน เป็นยาฆ่าเชื้อ แก้ปวดฟัน ระงับกลิ่นปาก - พิมเสน มีรสเผ็ดขม กลิ่นหอม แก้ลมวิงเวียน บ�ำรุงหัวใจ กระตุ้น สมองและการหายใจ ทาภายนอกแก้เคล็ด ขัดยอก แก้โรคผิวหนัง - การบูร รสร้อนปร่าเมา ทาแก้ปวด เคล็ดบวม ขัดยอก แก้ปวดข้อ แก้พิษแมลงต่อยและ โรคผิวหนังเรื้อรัง ขับเสมหะ ขับเหงื่อ ขับลม แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ - เมนทอล สารสกัดจากน�้ำมันสะระแหน่ มี กลิน่ รสหอมเย็น ท�ำให้สดชืน่ บรรเทาอาการ วิงเวียนศีรษะ หวัดคัดจมูก ลดอาการบวม ฆ่าเชื้อ ขับลม ระบบย่อยอาหารท�ำงานดีขึ้น *เปลือกส้ม 8 ประการ ได้แก่ เปลือกส้มโอ เปลือกส้มเขียวหวาน เปลือก ส้มจีน เปลือกส้มซ่า เปลือกส้มตรังกานู เปลือกมะนาว เปลือกมะกรูด เปลือกมะงั่น มีสรรพคุณแก้ลม (ระบบไหลเวียนโลหิต) แก้เสมหะ และ ใช้ปรุงเป็นยาหอม
ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่องหัวโตป้าต้อย
39
เรื่องนี้ ต้องขยาย ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่องหัวโตป้าต้อย
โขลก สับ ต�ำ ซอย • การเตรียมวัตถุดิบ 1. หั่นเปลือกส้มโอเป็นชิ้นลูกเต๋าขนาดเล็ก 2. ปอกและซอยผิวมะกรูด 3. สับเปลือกไม้สมุลแว้งเป็นชิ้นเล็ก 4. ต�ำลูกจันทน์เทศพอหยาบ 5. น�ำวัตถุดิบไปตากแดดจนแห้ง และอบความร้อน เพื่อกันเชื้อรา 6. ผสมพิมเสน การบูรและเมนทอลด้วยกัน ในถ้วย คนให้ละลายเป็นเนื้อเดียวจะได้ น�้ำมันหอมระเหยเพื่อเป็นส่วนผสมหลัก
ปรุงยาดม ป้าต้อย • ส่วนผสมตามอัตราส่วน 1. พริกไทยด�ำ 1 ช้อนชา 2. กานพูล 1 ช้อนชา 3. สมุลแว้งสับเป็นชิ้นเล็กๆ ½ ช้อนชา 4. ลูกจันทน์ต�ำหยาบ 1 ช้อนชา 5. ผิวมะกรูดซอย ½ ช้อนชา 6. เปลือกส้มโอหั่นชิ้น 1-3 ชิ้น 7. น�้ำเมนทอล พิมเสน การบูร 1-2 ปม้ั • วิธีปรุงยาดม 1. ตักส่วนผสมบรรจุขวดแก้วตามอัตราส่วน ปิดฝาและเขย่าเล็กน้อย 2. ปิดสติกเกอร์ฉลากผลิตภัณฑ์ลงบนขวดแก้ว
• แต่งหน้าตุ๊กตาหัวโต ตกแต่งบริเวณหัวตุ๊กตาบนฝาขวดด้วยสีน้�ำ โปสเตอร์ วาดใบหน้าหรือตกแต่งลวดลาย ตามจินตนาการ เพิ่มเอกลักษณ์ให้กับขวด ยาดมในสไตล์ของเรา ไม่ซ�้ำแบบใคร หัว ตุ ๊ ก ตาปั ้ น จากดิ น ไทยคุ ณ ภาพ น� ำ ไปตาก จนแห้ง ไม่แตกง่าย
โบราณอูท่ องเป็นพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืนในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 การละเล่นคล้ายแห่ผีตาโขน มีการแห่หัวโต ในรูปแบบต่างๆ เช่น หัวโตทวารวดี หัวโต ตลกพื้ น บ้ า น หั ว โตลู ก ปั ด หั ว โตหั ว ล้ า น หั ว โต 12 นั ก ษั ต ร หั ว โตล้ อ การเมื อ ง มี ขบวนแห่จากชาติพันธุ์อู่ทองด้วย • ยาดมสมุนไพรเชื่อมโยงศิลปะทวารวดี - ในปี แรกที่ จั ด เทศกาลแห่ หั ว โตกลองยาว มีการพัฒนารูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์เพื่อให้ ป้าต้อยมีความคิดที่จะท�ำของที่ระลึกที่เป็น สอดคล้ อ งกั บ การท่ อ งเที่ ย ว โดยการน� ำ สัญลักษณ์ของอู่ทองออกมาเพื่อจ�ำหน่าย อัตลักษณ์ของคนโบราณทวารวดีและกลุ่ม ชาติพันธุ์มาเป็นแรงบันดาลใจ เช่นศิลปวัตถุ • กิจกรรมสร้างความประทับใจ ทวารวดีอย่าง กุฑุ (หน้าผู้หญิงในแผ่นดิน จากผลิ ต ภั ณ ฑ์ พื้ น ถิ่ น จากภู มิ ป ั ญ ญาที่ มี เผาหน้าต่าง) หรือประติมากรรมรูปบุคคลใน คุ ณ ค่ า บวกกั บ ศิ ล ปะ น� ำ ไปสู ่ กิ จ กรรม พุทธศตวรรษที่ 13-14 คาดเดาใบหน้าของ การท่องเที่ยวในเชิงสร้างสรรค์ (Creative คนทวารวดีได้ว่ามีใบหน้ากลม ตาโต จมูก Tourism) ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมจะได้รบั ความรู้ ใหญ่ ริมฝีปากหนา สวมตุ้มหูขนาดใหญ่ ซึ่ง ด้านศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ ดูเหมือนเทวดาตัวน้อย ผูใ้ ช้ถอื เป็นของมงคล ความสนุกสนาน ประทับใจจากงานท�ำมือ ติ ด ตั ว เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องความโชคดี มี เป็ น ของที่ ร ะลึ ก คุ ณ ภาพ ภายใต้ แ นวคิ ด ความสุข มั่งคั่งและสดชื่น เรียนรู้ ดูของจริง ลงมือท�ำแล้วน�ำกลับบ้าน
• เทศกาลแห่หัวโตกลองยาว • การจัดจ�ำหน่ายยาดม - เป็นงานสืบสานประเพณีการแห่หัวโตกลอง มียาหม่องตะไคร้หอมแก้ปวดเมื่อย แมลง ยาวและส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองโบราณ กั ด ต่ อ ย และยาหม่ อ งเกสรบั ว หอมชื่ น ใจ อู่ทอง เพื่อเฉลิมฉลองที่ประกาศให้เมือง แก้ผดผื่นคัน คลายเส้น จ�ำหน่ายด้วย 40 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่องหัวโตป้าต้อย
41
กลุ่ม
เ ส้ น ท า ง สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ใ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว
บ้าน
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ต�ำลึง
3472
หวาน
321
ศูนย์เรียนรู้
โรงหล่อ วิเชียร
ขา
มเ
ฒ่ า
-อ ู่ ท
อง
ศาลเจ้าพ่อ พระยาจักร
พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติอู่ทอง
บ้านขนมจีน
อู่ ท อ
ง-กร
ะ จั น
ถน
นม
าล ัย
แม
น
มะ
ขนมจีน
321
ศูนย์เรียนรู้ โรงหล่อวิเชียร เจดีย์หมายเลข 1
กลุ่มต�ำลึงหวาน 42 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
กลุ่มต�ำลึงหวาน/บ้านขนมจีน/ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร
43
กลุ่ม
เ ส้ น ท า ง สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ใ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ต�ำลึง
หวาน 10
เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ โดยการวิเคราะห์ของชุมชน: 1. จักสาน 2. การรวมตัวของกลุ่ม 3. อาหารพื้นถิ่น 4. รูปแบบการกินอาหารบ้านๆ การจัดส�ำรับ 5. มะพร้าวอ่อนล้อมรัก 6. ตาลต้านตึง 7. บ๊ะจ่าง 8. ผลิตภัณฑ์จากกะลา 9. 6 ท่านวดพื้นฐาน 10. ต�ำลึงหวาน
44 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
กลุ่มต�ำลึงหวาน
2
เส้นทางสายตาล
1
จักสาน/ ตาลต้านตึง
กลุ่มต�ำลึงหวาน
45
สกัดเรื่องเล่า
ให้ว๊าว
กลุ่มต�ำลึงหวาน
1. ต�ำลึงหวาน ชื่อพืชชนิดหนึ่ง ทานได้ รสชาติหวาน มีสรรพคุณมาก สู่การตั้งชื่อกลุ่ม 2. ย�ำใบเปราะ อาหารพื้นบ้าน ตามฤดูกาล น�ำใบมาปรุงอาหาร จะหาทานได้เฉพาะหน้าฝน 3. ตาลต้านตึง อุปกรณ์คลายเส้น จากภูมิปัญญาท้องถิ่น คลายอาการปวด แก้รองช�้ำ หรือตะคริว 4. จักสาน ส�ำรับอาหารพื้นบ้าน ที่โดดเด่นด้วยงานจักสาน 5. ปิ่นโตกะลา ผลิตภัณฑ์ใส่อาหาร ท�ำจากกะลา ใส่อาหารร้อนได้ รูปแบบเก๋ไก๋ 6. มะพร้าวอ่อนล้อมรัก ขนมหวานท�ำทานง่ายในวัยเด็ก เป็นขนมเม็ดแมงลักใส่มะพร้าวอ่อน น�้ำกะทิทานกับน�้ำแข็ง 7. บ๊ะจ่าง ของดีชุมชน ท�ำบรรจุภัณฑ์แบบสูญญากาศ เพื่อส่งออกนอก
บ๊ะจ่าง ต�ำลึงหวาน
จักสาน
ย�ำใบเปราะ
ปิ่ นโตกะลา ตาลต้านตึง
46 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
มะพร้าวอ่อนล้อมรัก
กลุ่มต�ำลึงหวาน
47
Mind Map เล่าเรื่องชุมชน
กลุ่มต�ำลึงหวาน
1. ที่มาของกิจกรรมตาลต้านตึง - การรวมตัวกันในชุมชน - เหตุผลของการใช้ประโยชน์จากจักสาน - การท�ำท่องเที่ยวกับเรื่องปากท้องของ นักท่องเที่ยว
จักสาน 1. ที่มาของกลุ่มต�ำลึงหวาน - การรวมตัวกันในชุมชน - เหตุผลของการใช้ประโยชน์จากจักสาน - การท�ำท่องเที่ยวกับเรื่องปากท้องของ นักท่องเที่ยว - การสร้างจุดเด่นจากอาหารพื้นถิ่น และ การจัดส�ำรับกับข้าวด้วยงานจักสาน - กิจกรรมจักสานจากใบตาลหรือใบลาน - อธิบายวัสดุและวิธีท�ำ - นักท่องเที่ยวเรียนรู้และท�ำพร้อมกัน
48 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
2. ของดีชุมชน - อาหารไทยพื้นบ้าน เช่น แกงระกาหลงไพร/ผัดผู้เฒ่าสิ้นฤทธิ์/ ชุดน�้ำพริกผักจิ้ม/หัวปลีทอด/ หลนปลาร้าเนื้อ - อาหารพื้นบ้านตามฤดูกาล เช่น แกงเลียงเรียบร้อยไม่น้อยหน้า/ ย�ำใบเปราะ - ขนมหวานท้องถิ่น เช่น มะพร้าวอ่อนล้อมรัก ขนมต้ม ขนมกง ขนมตาล บ๊ะจ่าง - ผลิตภัณฑ์จากกะลา เช่น ปิ่นโต ตะเกียง โคมไฟ - สมุนไพรพื้นบ้าน เช่น ตะไคร้หอมไล่ยุง ยาสระผม สบู่สมุนไพร - ไม้ตาลต้านตึง - อะไรคือตาลต้านตึง - ประโยชน์ของตาลต้านตึง - การจัดเส้นทางท่องเที่ยวสายตาล
ตาลต้านตึง 3. แนวทางการตลาด 2. สรรพคุณของตาลต้านตึง - ความภูมิใจกับยอดขาย - การคลายเส้น คลายอาการปวดได้ - การพัฒนาสินค้า ทุกส่วนของร่างกาย เช่น ต้นคอ - ช่องทางการตลาด แขน หลัง เอว ขา - การนวดด้วยไม้กดเส้นได้พื้นที่ มากกว่าการนวดด้วยมือ - 6 ท่าทางพื้นฐาน
กลุ่มต�ำลึงหวาน
49
ค�ำศัพท์
ภาษาอังกฤษ กลุ่มต�ำลึงหวาน
กลุ่มต�ำลึงหวาน 1) กิจกรรมจักสาน 2) กิจกรรมไม้ตาลต้านตึง 3) ไม้ตาลต้านตึง 4) ก้านตาล 5) การรวมตัวของกลุ่ม 6) อาหารพื้นถิ่น
50 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
Tum Lung Waan Community/Group
Basketry Activity Palmyra Palm Stick Activity Palmyra Palm Stick for Stretching Palmyra Palm Leafstalk Forming the group Local food
7) รูปแบบการกินอาหารบ้านๆ การจัดส�ำรับ 8) มะพร้าวอ่อนล้อมรัก-เม็ดแมงลักกะทิ 9) บ๊ะจ่าง 10) ผลิตภัณฑ์จากะลา 11) ท่านวดพื้นฐาน 12) ต�ำลึงหวาน
Local homemade meal Young coconut-lemon basil seed in coconut milk Chinese rice dumpling Products made from coconut shell Basic massage postures Chinese Violet
กลุ่มต�ำลึงหวาน
51
เรื่องนี้ ต้องขยาย กลุ่มต�ำลึงหวาน
จักสาน • ที่มาของกลุ่ม - กลุ ่ ม ต� ำ ลึ ง หวานเกิ ด จากการรวมตั ว ของ - เหตุใช้ชอื่ ต�ำลึงหวานเพราะเป็นพืชชนิดหนึง่ หลายกลุ่ม ได้แก่ ที่ โ ตง่ า ย ขยายพั น ธุ ์ เร็ ว จึ ง คาดหวั ง ถึ ง กลุ ่ ม บ้ า นหนองเสื อ โดยคุ ณ กิ ต ติ์ ธ เนศ การเติบโตของกลุม่ ตอนนีป้ ลูกทัว่ บริเวณใน พุฒพิระวิทย์ (โกแห้ง) ชุมชนมีความถนัด ชุมชน (ต�ำลึงหวาน-เบญจรงค์5สี-ออมแซ่บ ในเรื่งของการถนอมอาหารและปรุงอาหาร ส่วนที่ใช้ประโยชน์คือยอดอ่อน ใบ ดอก มี ของขึ้นชื่ออาทิ ขนมกง ปลาร้าเนื้อ อาหาร รสหวานเป็นธรรมชาติ น�ำไปปรุงเป็นอาหาร คาวหวานพื้นบ้านมากมาย ได้ เช่น แกงอ่อม ผัดไฟแดง แกงจืด ชุบแป้ง กลุม่ กะลานาลาว โดยคุณประมวล ทวีเลิศ/ ทอด ลวกหรือกินสดกับน�้ำพริก สรรพคุณ คุณมานิต รุง่ ชีวนั จากบ้านนาลาว กลุม่ ผูผ้ ลิต สมุนไพรจะช่วยบ�ำรุงเลือด บ�ำรุงก�ำลังและ สินค้าจากกะลามะพร้าว ของขึ้นชื่ออาทิ บ�ำรุงสายตา) ไม้ตาลต้านตึง ปิ่นโต/โคมไฟจากกะลา กลุม่ จิตมิ าสมุนไพร ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไล่ยงุ - ในปี พ.ศ. 2556 อพท.ลงพื้นที่เสนอแนะ จากตะไคร้หอม สบู่/ยาสระผมสมุนไพร ให้ ท� ำ การท่ อ งเที่ ย ว บ้ า นหนองเสื อ ไม่ มี ทรัพยากรธรรมชาติหรือสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วใด ในชุ ม ชน จึ ง มี ค วามคิ ด ท� ำ เรื่ อ งอาหารที่ โดดเด่นเพือ่ ดึงดูดนักท่องเทีย่ ว โดยประยุกต์ เอางานจักสานเข้ามาท�ำเป็นชุดส�ำรับกับข้าว เป็นอุปกรณ์ตกแต่ง เช่น ที่รองจาน/แก้ว ซองใส่ชอ้ นส้อม งานจักสานท�ำง่ายและท�ำให้ อาหารน่าทานมากขึ้น นับเป็นการเสริมจุด เด่ น จากอาหารพื้ น ถิ่ น และการจั ด ส� ำ รั บ กับข้าวด้วยงานจักสาน 52 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
กิจกรรม จักสาน - กิจกรรมจักสานจากใบตาล/ใบลาน ท�ำเป็น ผลิตภัณฑ์จ�ำหน่าย เช่น สุ่มไก่ เสื่อกก ที่ใส่ ทิ ช ชู ่ ตะกร้ า กระเป๋ า ใส่ ข วดน�้ ำ ส� ำ หรั บ สะพาย ที่คลุมถังขยะ แผ่นรองจาน และ เป็นกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวได้ทดลองสาน และน�ำกลับบ้าน เช่น ที่รองแก้วน�้ำ - เครื่องจักสานเกิดจากการ “จัก” คือการ - การเตรียมใบลาน เอามีดผ่าใบลานหรือใบตาล หรือวัตถุดิบ 1. ตั ด ก้ า นใบลานจากต้ น เลื อ กก้ า นที่ 2 อื่นๆ ให้แตกแยกออกจากกันเป็นเส้นบางๆ นั บ จากยอดบนสุ ด เพราะไม่ อ ่ อ นหรื อ แล้ว “สาน” ให้มีรูปทรงต่างๆ สอดคล้อง แก่ไป กับการใช้สอย 2. ฉีกใบลานเป็นแผ่นๆ น�ำไปตากแดดให้แห้ง ประมาณ 4-5 วัน - อุปกรณ์ 3. เมือ่ แห้งสนิทแล้ว น�ำมากรีดเป็นเส้นขนาด 1. ใบตาลหรือใบลาน กว้าง 1 ซม. 2. มีดหรือกรรไกร 4. น�ำไปแช่น�้ำให้นิ่มก่อนน�ำมาสาน 3. เทปกาวสองหน้า - วิธีท�ำ 1. เริม่ จากท�ำก้นแก้วโดยน�ำเส้นใบลานมาวาง สอดสลับไขว้ทับบน-ล่าง 5 แถว 2. ติดเส้นใบลานเป็นวงกลมด้วยเทป 2 หน้า จ�ำนวน 6 เส้น 3. น� ำ มาวางเป็ น ฐานเพื่ อ ขึ้ น รู ป และสอด ใบลานไขว้ ไ ปมา ขั ด ลายขึ้ น ไปจนได้ ความสูงตามต้องการ 4. ตัดและสอดเก็บส่วนปลายให้ขอบเสมอกัน 5. ตกแต่งด้วยดอกไม้แห้งจากใบลาน กลุ่มต�ำลึงหวาน
53
เรื่องนี้ ต้องขยาย กลุ่มต�ำลึงหวาน
ของดีชุมชน • อาหารไทยพื้ น บ้ า น วั ต ถุ ดิ บ ทุ ก อย่ า ง ปลูกเองในชุมชน เครื่องแกงท�ำใหม่ทุกวัน 1. แกงระกาหลงไพร (แกงป่าไก่บ้าน) 2. ผัดผูเ้ ฒ่าสิน้ ฤทธิ์ (ผัดมะเขือยาวใส่กากหมู และใบโหระพา) 3. ชุดน�ำ้ พริกผักจิม้ (น�ำ้ พริกแจ่ว,น�ำ้ พริกกะปิ) 4. หัวปลีทอด 5. ป.ปลาตากลม (ปลาลูกนุ่นทอด) 6. หลนปลาร้าเนื้อ 7. แกงจืดต�ำลึงหวาน • อาหารพื้นบ้านตามฤดูกาล 1. แกงเลียงเรียบร้อยไม่น้อยหน้า (แกงเลียง ผักหวานป่า) 2. ย�ำใบเปราะ (ย�ำใส่ใบเปราะหั่น,ปลาทู แกะเนื้ อ ,กระเที ย ม/ตะใคร้ ใ บมะกรู ด / พริ ก /หอมแดงซอย ใบเปราะขึ้ น ในป่ า หาทานได้ ใ นหน้ า ฝนปี ล ะครั้ ง มี ค วาม กรอบ ฉ�่ ำ น�้ ำ มี ส รรพคุ ณ ช่ ว ยบ� ำ รุ ง กระเพาะอาหารและล�ำไส้)
54 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
• ขนมหวานท้องถิ่น 1. มะพร้าวอ่อนล้อมรัก (ขนมเม็ดแมงลัก ใส่มะพร้าวอ่อน ใส่กะทิและน�้ำแข็ง) 2. ขนมต้ม 3. ขนมกง 4. ขนมตาล 5. ลอนตาลลอยแก้ว 6. บ๊ะจ่าง - อาหารคาวของจี น ชนิ ด หนึ่ ง ท� ำ ด้ ว ย ข้าวเหนียวผัดน�ำ้ มัน ใส่ไส้ตา่ งๆ ห่อด้วย ใบไผ่แล้วน�ำไปนึ่งให้สุก - มีตำ� นานบ๊ะจ่างของชาวจีนแต้จวิ๋ ในไทย กล่าวว่ายามสงคราม เสบียงของทหาร จะท�ำจากข้าวเหนียวห่อใบไผ่ให้แน่น เพือ่ เก็บไว้กนิ ได้นาน เมือ่ ข้าศึกแฝงกาย เข้ามาเพื่อโจมตีเมือง ทหารจึงวางแผน กลศึกลับ ใส่จดหมายยัดลงในบ๊ะจ่าง แทนการส่งด้วยนกพิราบเพื่อลวงข้าศึก เมื่ อ บ้ า นเมื อ งพ้ น วิ ก ฤต ชาวเมื อ งจึ ง ส� ำ นึ ก ในบุ ญ คุ ณ บ๊ ะ จ่ า งว่ า เป็ น ของ ศักดิ์สิทธิ์ที่น�ำความสงบสุขกลับมาให้ บ้านเมือง
- ในชุมชนสามารถผลิตบ๊ะจ่างได้ 600 ลูก • ไม้ตาลต้านตึง ต่อวัน มีส่วนผสมของหมู กุ้งแห้ง เห็ด - เป็นก้านตาลที่แห้ง เมื่อร่วงหล่นลงมา หอม แปะก๊วย ธัญพืชได้แก่ งาด�ำ งาขาว จะมี น�้ ำ หนั ก เบาแต่ แข็ ง มาก ไม่ เ ปราะ ถัว่ ลิสง ถัง่ แดง ถัว่ เหลือง ไม่ใส่เผือกหรือ หรื อ แตกหั ก ง่ า ย ผิ ว ก้ า นมี ลั ก ษณะนู น วัตถุดิบที่หวานเพราะท�ำให้เสียเร็ว ผิวเรียบมัน จึงน�ำมาเป็นอุปกรณ์ช่วยยืด - อพท.มาช่ ว ยพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ หรือดึงเส้น คลายกล้ามเนื้อ จ� ำ หน่ า ยในแบบสู ญ ญากาศ ฆ่ า เชื้ อ - ตาลต้ า นตึ ง มี ป ระโยชน์ ส� ำ หรั บ คลาย ส่งออกต่างประเทศ เก็บได้ 30 วันใน อาการปวด ยืดเส้น ยืดกล้ามเนือ้ ในผูส้ งู วัย ช่องแช่แข็ง หรือ 14 วันไม่ต้องแช่เย็น กลุ ่ ม คนไม่ ช อบออกก� ำ ลั ง กาย ผู ้ ขั บ รถ วิธีทานคืออุ่นในไมโครเวฟ 3 นาที หรือ ทางไกลนานๆ หรือสตรีที่สวมใส่รองเท้า นึ่งในหม้อหุงข้าว ส้นสูงประจ�ำ โดยเฉพาะผู้ที่นั่งท่าเดียว นานๆ เช่นอยู่หน้าคอมพิวเตอร์ ท�ำงาน บนโต๊ะ เป็นต้น แก้รองช�้ำหรือตะคริว
• การจั ด เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย วสายตาล ในอนาคตมี โ ครงการน� ำ เที่ ย วตามวิ ถี ต าล เริ่ ม ตั้ ง แต่ นั่ ง ซาเล้ ง ชมบรรยากาศสวนตาล ดูต ้นตาล ชิม น�้ำตาลสดจากต้น ชมและชิม • การต้อนรับนักท่องเที่ยวที่มาทานอาหาร การแปรรูปของตาล เช่น ขนมตาล ลอนตาล ในชุ ม ชน มี ก ารจั ด โต๊ ะ อาหารด้ ว ยส� ำ รั บ ลอยแก้ว รวมไปถึงตาลบ�ำบัดอย่างตาลต้านตึง กับข้าวตกแต่งด้วยงานจักสาน ภายใต้เรือนไม้ บรรยากาศร่มรืน่ มีรอ้ งบทเพลงฉ่อยจากน้องๆ เยาวชนที่ร้อยเรียงชื่ออาหารพื้นบ้านขึ้นชื่อ หลากหลายของชุมชน สุดแสนประทับใจ • ผลิตภัณฑ์จากกะลา ได้แก่ ปิ่นโต ตะเกียง โคมไฟ ขันตักบาตร กระปุกออมสิน พวงกุญแจ • พื ช สมุ น ไพรพื้ น บ้ า น ปลู ก แบบปลอด สารเคมีในชุมชนและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพือ่ สุขภาพ เช่น ยาสระผม สบู่ ตะไคร้หอมไล่ยุง กลุ่มต�ำลึงหวาน
55
เรื่องนี้ ต้องขยาย กลุ่มต�ำลึงหวาน
ตาลต้านตึง
- การเลือกก้านตาลมาท�ำจะเลือกที่แห้งคา อยูบ่ นต้น เพราะเหนียวและเบา สามารถเก็บ ได้ทกุ ฤดูกาล แค่รอให้แห้งแล้วจึงน�ำมาเหลา ตกแต่ ง ขั ด เงา มี ค วามยาวของก้ า นรวม 85-95 ซม.
• ที่มาของกิจกรรมตาลต้านตึง - ในวั ย เด็ ก ของคุ ณ ประมวลเห็ น คุ ณ ปู ่ น� ำ - ชื่อเรียกของก้านตาลมีการปรับเปลี่ยนเพิ่ม ก้ า นตาลผู ก ด้ ว ยเชื อ กผู ก ควายมาดั ด เพื่ อ อั ต ลั ก ษณ์ ใ ห้ เข้ า กั บ บริ บ ทของชุ ม ชนที่ คลายเส้น แทนการเรียกใช้หลานมาบีบนวด เกี่ยวข้องกับตาล คือ จากไม้คลายเส้นสู่ เหมือนเคย ตาลต้านตึง - จึ ง น� ำ ภู มิ ป ั ญ ญาชาวบ้ า นที่ มี ม านาน มา - มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์และดัดแปลงอยูต่ ลอด สืบสานและต่อยอดผลิตภัณฑ์ สร้างรายได้ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น ในปั จ จุ บั น ให้แก่ชุมชน โดยการน�ำเอาก้านตาลที่มีอยู่ มีการปรับรูปแบบดังนี้ ทั่วไปในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ 1. ที่ ร องส้ น เท้ า เปลี่ ย นเป็ น เชื อ กมะนิ ล า หุ้มยางเพื่อไม่ให้เชือกเสียดสีเท้า เพิ่มผ้า หุ้มยางเพื่อความสวยงาม 2. ตั ว ก้ า นตาลเคลื อ บเชลแล็ ค ด้ า นเพื่ อ ความคงทน 3. แต่ละชิ้นมีปลอกสวมเป็นถุงผ้าดิบสกรีน โลโก้ ก ลุ ่ ม และมี แ ถบผ้ า ตกแต่ ง เป็ น ลวดลายอู่ทอง
• สรรพคุณ - ช่วยคลายอาการปวดในทุกส่วนของร่างกาย เช่น ต้นคอ หัวไหล่ ขา หลัง เอว แขน ปวด ตรงไหนก็กดลงบริเวณนั้น - การนวดด้วยไม้สามารถกดเส้นได้พนื้ ทีก่ ว้าง กว่าการนวดด้วยมือที่กดเส้นได้เฉพาะที่
56 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
- การนวดด้วยไม้ตาลต้านตึงใน 6 ท่าพื้นฐาน และสามารถดัดแปลงเป็นท่าอื่นๆ ได้ 1. นั่งเหยียดขากับพื้นในท่าสบาย ตั้งไม้ขึ้น วางส้นเท้าตรงห่วงยาง จับไม้แล้วโน้ม เข้าหาตัว ท่านี้ช่วยบรรเทาอาการเส้นตึง ปวดปลายเท้า 2. นอนเหยียดขากับพื้นในท่าสบาย วางส้น เท้าลงบนห่วงยาง จับไม้แล้วยกขาขึ้น ท่านี้ช่วยบรรเทาอาการปวดส้นเท้าและ น่อง 3. ใช้ไม้ตาลต้านตึงพาดที่หัวไหล่และนวด ขึ้น-ลง สลับไปมาทั้งสองข้าง ท่านี้ช่วยบรรเทาอาการปวดเอ็นหัวไหล่ 4. ใช้ไม้ตาลต้านตึงนวดบริเวณช่วงเอว บิดตัว ไปมา ท่านี้ช่วยบรรเทาอาการปวดเอว
5. พลิกตัวนอนคว�่ำหน้าในท่าสบาย ใช้ห่วง คล้องปลายเท้าแล้วดึงให้บิดไปมา ท่านี้ช่วยบรรเทาอาการปวดเข่าและขา 6. นั่งยองลงกับพื้น วางไม้ตาลระหว่างหลัง ต้นขากับน่อง ท่ า นี้ ช ่ ว ยบรรเทาอาการ ปวดขา
• แนวทางการตลาด - เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์จึงมียอดขาย และได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากกลุ่ม ผู้รักสุขภาพ - ช่องทางการตลาดมีหลายช่องทาง ได้แก่ จ�ำหน่ายที่จุดจ�ำหน่ายสินค้าชุมชน จัดส่ง ไปรษณี ย ์ แ ละออกบู ธ ตามงานแสดง สินค้าต่างๆ
กลุ่มต�ำลึงหวาน
57
บ้าน
เ ส้ น ท า ง สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ใ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว
10
321
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ขนมจีน
ศาลเจ้าพ่อ พระยาจักร
อู ่ ท อ
เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ โดยการวิเคราะห์ของชุมชน:
ัน
บ้านขนมจีน จุุดกิจกรรมที่ 4
6
นม
าล ัย
แม
น
5 4
จุุดกิจกรรมที่ 2
7 จุุดกิจกรรมที่ 3 จุุดรับประทานอาหาร
จุุดกิจกรรมที่ 1
3
58 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ระจ
ถน
1. ต�ำนานขนมจีน 2. ขนมจีนเส้นหมัก 3. ขนมจีนชุมชน 4. ความเชื่อการแก้บน 5. สีสมุนไพรขนมจีน 6. จับเส้นขนมจีน 7. ประเพณีจับผี 8. หาบกับขนมจีน 9. 5กระบวนการท�ำขนมจีนโบราณ 10. ครกไม้ อ่างหิน และ ผวนโรย
ง-ก
กิจกรรมลงมือท�ำ
2
จุดโต๊ะต้อนรับ
1 บ้านขนมจีน
59
สกัดเรื่องเล่า
ให้ว๊าว บ้านขนมจีน
1. หมู่บ้านขนมจีน ชุมชนที่มีชื่อเสียงเรื่องขนมจีน สืบทอดยาวนาน 100 กว่าปี 2. ขนมจีนเส้นหมัก สูตรการท�ำขนมจีนโบราณที่ให้เส้น เหนียวนุ่ม ทานกับอะไรก็อร่อย 3. การจับเส้นขนมจีน จับจีบหัวปลาสร้อยแบบดั้งเดิม และจับจีบก้นหอย 4. อาหารแก้บน นิยมน�ำขนมจีนมาแก้บนที่ ศาลเจ้าพ่อพระยาจักร โดยใส่หาบกระจาดและหม้ออวย 5. เครื่องมือโบราณ วิถีโบราณที่ใช้ผวนโรยเส้นขนมจีน และครก-สากไม้ต�ำแป้งขนมจีน 6. ใบมะยมรองสะเด็ดน�้ำขนมจีน วางหลายๆ ก้านซ้อนกันเพื่อให้ ขนมจีนสะเด็ดน�้ำในขั้นตอนการจับเส้น 7. ขนมจีนซาวน�้ำอู่ทอง เส้นขนมจีนจับใหม่ๆ คลุกกับน�้ำปลา มะนาว พริกป่น หอมแดงซอย โรยกุ้งแห้ง
60 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
อาหารแก้บน
ขนมจีนเส้นหมัก
เครื่องมือโบราณ
ใบมะยมรองสะเด็ดน�้ ำ ขนมจีน การจับเส้นจีน
บ้านขนมจีน
61
Mind Map เล่าเรื่องชุมชน บ้านขนมจีน
จุดกิจกรรมที่ 1
2. ขนมจีนกับศาลเจ้าพ่อ - ประวัติศาลเจ้าพ่อ ประดิษฐาน เจ้าพ่อพระยาจักร ศูนย์รวมจิตใจ ชาวอู่ทอง - การแก้บนที่ใช้ขนมจีน - หาบกับขนมจีน
1. การต้อนรับ จุดโต๊ะ - กล่าวต้อนรับ ต้อนรับ - แนะน�ำชุมชน อยู่ในชุมชนท่าพระ ตะวันออก - ต�ำนานบ้านขนมจีน 100 กว่าปี 3. การขายขนมจีนกับวิถีที่เปลี่ยนไป ตกทอดสืบสานมา 5 รุ่นแล้ว - ขนมจีนท�ำกินในครอบครัวสู่การเลี้ยง - ที่มาของขนมจีน อาหารดั้งเดิมของ ในงานบุญและการค้า คนมอญ เรียกว่า”คนอมจิน” - การน�ำนวัตกรรมเข้ามาช่วย ทุ่นแรง ลดเวลา - การลงแขกงานบุญกับขนมจีน - วิถีการใช้เส้นสมุนไพรที่ปลูกเอง นิยมเลี้ยงแขกและช่วยกันท�ำใน เพิ่มสีสันให้น่าทาน งานบุญประเพณีต่างๆ - การจับจีบดั้งเดิมสู่การจับก้นหอย - ประเพณีสืบทอด จับผีงานแต่ง - ใบตองและใบมะยมเพื่อสะเด็ดน�้ำขนมจีน เป็นอาหารมงคลในงานแต่ง - อาชีพหาบขนมจีนขาย 1. การท�ำขนมจีน - ความโดดเด่นของขนมจีนแป้งหมักกับเส้นสด - ระยะเวลาในการท�ำ และการเก็บรักษาขนมจีน - การหมักคือ การแช่ข้าวสารค้างคืน เพื่อให้ข้าวเปื่อยยุ่ยง่ายก่อนน�ำไปต้ม - วิธีการหมักแป้ง - ขนมจีนโรงงาน สังเกตจากสี ลักษณะของเส้น ความเหนียว ความอร่อย และห่อบรรจุ - วิธีดูขนมจีนแป้งหมัก มีสีขาวขุ่น มีกลิ่นหมัก
62 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
กิจกรรมลงมือ ท�ำขนมจีน
2. 5 กระบวนการ ท�ำขนมจีนโบราณ - การหมักแป้ง - การต�ำแป้ง - การนวดแป้ง - การโรยเส้นขนมจีน - การจับเส้นขนมจีน
กิจกรรมการต�ำแป้ง - วิธีการท�ำและการสาธิต - ความสามัคคีในการต�ำแป้ง - อุปกรณ์การต�ำจาก ครกไม้กระเดื่องสู่ครกไม้ จุดกิจกรรมที่ 2
การนวดแป้งขนมจีน - วิธีการท�ำ ใช้ก�ำลังแขนบีบนวด จนแป้งเนื้อเนียนเหลว - ความส�ำคัญของผ้าขาวบาง ส�ำหรับกรองให้เนื้อแป้งเนียน - การประยุกต์ใช้สมุนไพรท้องถิ่น-อัญชัน ใบเตย ขมิ้น แก้วมังกรหรือบีทรูท จุดกิจกรรมที่ 3
การโรยขนมจีน - ข้อควรระวังในการ โรยขนมจีน - วิธีการบีบเส้น ใช้ผวน หรือกระป๋องโรยเส้น - ตักเส้นด้วยสวิงตาข่าย และล้างด้วยน�้ำเย็น เพื่อเอาเมือกออก
จุดกิจกรรมที่ 4
การจับเส้นขนมจีน - การจับจีบหัวปลาสร้อย - การจับจีบแบบก้นหอย - การสะเด็ดน�้ำ ไม่ให้มีน�้ำแฉะขัง บนใบตอง ไม่น่าทานและเสียง่าย - การวางขนมจีน ทับซ้อนเป็นวงกลม ห่างกันสม�่ำเสมอในภาชนะ
1. ชนิดน�้ำยา - สูตรโบราณน�้ำยากะทิ - สูตรน�้ำยาป่า - สูตรน�้ำพริกหวานโบราณ - สูตรแกงเขียวหวานหรือแกงแดง - ขนมจีนซาวน�้ำอู่ทอง 2. ผักเครื่องเคียง
จุดรับประทาน ที่ปลูกเองในสวน อาหาร เช่นใบแมงลัก
กระถิน ใบมะกอก ผักบุ้ง แตงกวา หัวปลี
3. การกินขนมจีนให้ อร่อยหลากสไตล์ จะตัดเส้นพอดีค�ำ ม้วนเส้น หรือซู๊ดเส้น จะทานผสมหลายน�้ำยา ล้วนขึ้นอยู่กับความชอบส่วนบุคคล
บ้านขนมจีน
63
ค�ำศัพท์
ภาษาอังกฤษ บ้านขนมจีน
บ้านขนมจีน 1) ชุมชนท่าพระตะวันออก 2) ขนมจีน 3) ขนมจีนน�้ำยากะทิ 4) ขนมจีนน�้ำยาป่า 5) น�้ำยา-วัตถุดิบในการท�ำ ปลา กะทิ เครื่องเทศ ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด ถั่วลิสง น�้ำตาล น�้ำปลา เครื่องปรุง 6) เครื่องเคียงขนมจีนคือผักพื้นถิ่น ได้แก่ ใบแมงลัก หัวปลี และผักบุ้ง 7) รสชาติที่ชาวต่างชาตินิยมทานคือ แกงเขียวหวานและแกงแดงแบบไม่เผ็ด 8) แป้งข้าวเจ้า 9) ต�ำนานขนมจีน
64 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
Baan Khanom Jeen
Tha Phra Tawan Auk Community Khanom Jeen (Fermented rice flour noodles) Khanom Jeen Nam Yaa Kati (Rice noodles with coconut spicy soup) Khanom Jeen Nam Yaa Bpah (Rice noodles with spicy soup) Coconut spicy soup-Ingredients include fish, coconut cream, spices, galangal, kaffir lime leaves, peanut, sugar and fish sauce Khanom Jeen side dish is local vegetable such as hairy basil, banana blossom, and morning glory The Flavourful dishes that foreign tourists love to eat are green curry and spicy red curry (mild taste) Rice Flour The origin of Khanom Jeen
10) ขนมจีนเส้นหมัก Fermented rice noodles 11) ชุมชนบ้านขนมจีน Rice Noodle Community 12) ความเชื่อการแก้บน The belief in making a votive offering 13) สีสมุนไพรขนมจีน Herbal colours in rice noodles 14) จับเส้นขนมจีน Forming rice noodle balls 15) ประเพณีจับผี Capturing the Spirit Tradition 16) หาบกับขนมจีน-หม้ออวยโบราณ Traditional ways of selling rice noodles 17) กระบวนการท�ำขนมจีนโบราณ Making rice noodles with traditional methods 18) ครกไม้ อ่างหิน และผวนโรย wooden mortar, stone bowl, noodle สวิงตักขนมจีน ผ้าขาวบาง extruder, strainer, straining cloth 19) ข้อควรระวัง Caution: : ฐานกิจกรรมกดแป้งเส้นขนมจีน Please be careful when doing activity ระวังน�้ำร้อนกระเด็นหรือน�้ำร้อนลวก at the Kanom Jeen learning station : ฐานกิจกรรมต�ำแป้งขนมจีน - Avoid getting the hot water splash ระวังมือโดนต�ำ อย่าวางมือในครก and burn the pressing station. - Watch out your hands and keep them safe at the pounding station. 20) กินคาวตามด้วยหวานตามแบบไทย Having dessert after finishing savoury dishes as Thai-style meal 21) ลอดช่องไทย Pandan flavoured rice flour droplets
บ้านขนมจีน
65
เรื่องนี้ ต้องขยาย บ้านขนมจีน
จุดโต๊ะ ต้อนรับ
ชาวไทยและต่างชาติ เกิดเป็นกิจกรรม เรียนรู้ศาสตร์การท�ำขนมจีนแบบโบราณ • การต้อนรับ ให้ทดลองลงมือท�ำด้วยตัวเอง และได้รับ - แนะน�ำชุมชน บ้านขนมจีนโบราณอยูใ่ นชุมชน รางวัล Creative Tourism Thailand ท่าพระตะวันออก ต�ำบลอูท่ อง อ�ำเภออูท่ อง ในปี พ.ศ.2560 เป็นชุมชนที่มีชื่อเสียงในเรื่องขนมจีน ผลิต • รุน่ ปัจจุบนั คุณกิง่ ดาว อาจคงหาญ (พีด่ าว) ส�ำหรับบริโภคในชุมชนและชุมชนโดยรอบ สานต่อกิจการและกิจกรรมเป็นรุ่นที่ 5 มายาวนาน - ที่มาของขนมจีน ขนมจีนไม่ใช่อาหารจีน - ต�ำนานบ้านขนมจีน 100 กว่าปี เชื่อว่าดั้งเดิมเป็นอาหารของคนมอญหรือ • รุ่นคุณทวด ข้าวนาปีเหลือจากส่วนแบ่งไว้ รามัญ คนมอญเรียกขนมจีนว่า “คนอมจิน” กิ น และขาย น� ำ มาแปรรู ป เป็ น ขนมจี น (คะนอมจิน) หมายถึง ก้อนแป้งที่ท�ำให้สุก เส้นนุ่ม ท�ำกินเองในครอบครัวและแจก แล้ว และได้แพร่หลายไปสู่ชนชาติอื่นๆ ใน บ้านใกล้เรือนเคียงหรือช่วยงานบุญ สุ ว รรณภู มิ ตั้ ง แต่ โ บราณจนเป็ น ที่ นิ ย ม • รุ่นคุณยาย ปรุงน�้ำยา น�้ำพริก หาบขาย สามารถหาทานได้ทั่วไป ที่ศาลเจ้าพ่อ • ตกทอดสู ่ รุ ่ น คุ ณ แม่ กิ จ การเริ่ ม เติ บ โต - การลงแขกงานบุ ญ กั บ ขนมจี น แต่ เ ดิ ม มีออเดอร์จากข้างนอกชุมชนสั่งเข้ามา เวลามีงานบุญงานประเพณีต่างๆ ขนมจีน • รุ่นที่ 4 คุณจริน ชื่นจรเข้ (พี่เปิ้ล) เริ่มมี เป็ น อาหารที่ นิ ย มน� ำ มาเลี้ ย งแขกในงาน เครื่ อ งจั ก รทุ ่ น แรงสมั ย ใหม่ ใ นการผลิ ต และจ�ำเป็นต้องใช้แรงงานคนจ�ำนวนมาก ท�ำขายต่อวันเป็นร้อยกิโลกรัม และเปลีย่ น ในการท� ำ ตั้ ง แต่ ก ารหมั ก การต� ำ แป้ ง ให้ เป็น “บ้านขนมจีนโบราณอู่ทอง” ต่อมา เหนียว หรือการโรยเส้น การท�ำขนมจีนจึง เมื่ออพท. เข้ามาแนะน�ำ จึงน�ำภูมิปัญญา เป็นเสมือนงานมหกรรมที่ต้องอาศัยความ ดั้งเดิมกลับมาถ่ายทอดให้นักท่องเที่ยว ร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชน 66 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
- ประเพณีสืบทอด จับผีงานแต่ง นิยมน�ำ ขนมจี น มาเป็ น อาหารมงคลในงานแต่ ง เพราะเชื่อว่าจะท�ำให้ความรักของบ่าวสาว ยืนยาวเหมือนกับเส้นขนมจีน ถือเคล็ดว่า ขนมจีนต้องเป็นจับยาวเกินศอก สวยงาม เรียบร้อย และไม่ขาดรุย่ เรียกจับเส้นขนมจีน แบบนี้ว่า “จับผี” - อาชีพหาบขนมจีนขาย เดิมชาวบ้านพื้นที่ อู่ทองมีอาชีพท�ำนาเป็นหลัก ช่วงเวลาที่ว่าง จากการท�ำนาปีละ 3 ครั้ง จึงท�ำให้ชาวบ้าน น� ำ ข้ า วที่ สี ไว้ ม าแปรรู ป เป็ น เส้ น ขนมจี น หาบขายในตลาด เพื่อสร้างรายได้เสริม บ้าง ยึดเป็นอาชีพหลัก
ก่อสร้างศาลเจ้าในปี พ.ศ. 2400 เพื่อให้ ประชาชนได้กราบไหว้ มีเหตุการณ์ปาฏิหารย์ ที่เกิดไฟไหม้ครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2510 ท�ำให้ ร้านค้ารอบๆ ศาลเจ้าพ่อถูกไฟไหม้วอดวาย แต่ น ่ า แปลกที่ ศ าลเจ้ า พ่ อ กลั บ ไม่ ไ ด้ รั บ อันตรายใดๆจากเปลวไฟเลย ชาวบ้านจึง เชื่ อ ว่ า การมากราบไหว้ ข อพรจะช่ ว ยให้ แคล้วคลาด ปลอดภัยจากภยันตรายทั้งปวง ธุรกิจการงาน การค้าขายเจริญรุ่งเรือง และ ท�ำให้ครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข
- การแก้บนที่ใช้ขนมจีน เมื่อส�ำเร็จในเรื่อง หน้าทีก่ ารงาน โชคลาภทีบ่ นบานไว้แล้ว นิยม มาแก้บนทีศ่ าลเจ้าพ่อด้วยขนมจีนน�ำ้ ยาหรือ แกงเขียวหวาน
• ขนมจีนกับศาลเจ้าพ่อ - ประวั ติ ศ าลเจ้ า พ่ อ พระยาจั ก ร ภายใน ประดิษฐาน “เจ้าพ่อพระยาจักร” เทวรูป - หาบกับขนมจีน การแก้บนด้วยขนมจีนที่นี่ หินศิลาแลงแกะสลักลายนูนสมัยทวารวดี จะถวายเป็นหาบกระจาด น�ำ้ ยาจะใส่ในหม้อ มี ลั ก ษณะคล้ า ยรู ป พระวิ ษ ณุ แ บบเก่ า อวย นิยมถวายป็นเลขคี่ เช่น 3 หรือ 5 หรือ สวมหมวก ชาวอู่ทองได้ค้นพบองค์เทวรูป 7 หาบ ลอยน�้ ำ มาทางแม่ น�้ ำ จรเข้ ส ามพั น จึ ง ได้ อัญเชิญขึ้นประดิษฐานบนแท่นบูชาพร้อม บ้านขนมจีน
67
เรื่องนี้ ต้องขยาย บ้านขนมจีน
• การขายขนมจีนกับวิถีที่เปลี่ยนไป จะเริม่ เปลีย่ นตัง้ แต่รนุ่ 3 เมือ่ ขนมจีนเป็นทีน่ ยิ ม ในชุมชนมากขึ้น - ขนมจี น ท� ำ กิ น ในครอบครั ว สู ่ ก ารเลี้ ย ง ในงานบุญและการค้า เริ่มจากบริโภคใน ครอบครัว ต่อมานิยมเลีย้ งขนมจีนในงานบุญ ต่างๆ มากขึน้ จึงเริม่ อาชีพหาบขายในตลาด สู ่ ก ารผลิ ต ภายในบ้ า นเพื่ อ ขายปลี ก และ ขายส่ง - การน�ำนวัตกรรมเข้ามาช่วยทุ่นแรง ลด เวลา ปัจจุบันไม่ต้องใช้แรงงานคนและเวลา มากเหมือนเมือ่ ก่อน ทุกขัน้ ตอนมีเครือ่ งจักร ช่วยทุ่นแรงไม่ว่าจะเป็นเครื่องโม่แป้ง เครือ่ ง นวดแป้ง จนถึงเครื่องรีดเส้น ท�ำขนมจีน ได้มากเพียงพอต่อความต้องการทั้งในและ นอกชุมชน - วิถีการใช้เส้นสมุนไพร จากขนมจีนสีขาว ทัว่ ไป สร้างมูลค่าโดยเพิม่ สีสนั ในเส้นขนมจีน ให้น่าทาน ใช้สมุนไพรปลูกเองเช่น ดอก อัญชัน (สีม่วง) ใบเตย (สีเขียว) ขมิ้น (สี เหลื อ ง) แครอท (สี ส ้ ม ) และบี ท รู ท หรื อ แก้วมังกรสีแดง (สีชมพู) ท�ำในขั้นตอนนวด แป้งก่อนโรยเส้น - การจั บ จี บ ดั้ ง เดิ ม สู ่ ก ารจั บ แบบก้ น หอย การจับจีบแบบก้นหอยมีรูปแบบที่กะทัดรัด พอดีค�ำ ทานง่าย แต่ใช้เวลาในการจับนาน กว่า เพราะการจับจีบต้องแข่งกับเวลา จับช้า เส้นจะพองอืด ไม่ทันค้าขาย - ใบตองและใบมะยมเพื่อสะเด็ดน�้ำขนมจีน ภาชนะเก็ บ ขนมจี น ใช้ เข่ ง สาน รองหรื อ ปิดหน้าด้วยใบตองเป็นหลัก หรือใบมะยม 68 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
หลายๆ ก้านซ้อนกัน เพื่อให้น�้ำสะเด็ดลงไป ด้านล่าง ใบมะยมใช้ในประเพณีจับผีหรือ ต้อนรับนักท่องเที่ยว
กิจกรรมลงมือ ท�ำขนมจีน • การท�ำขนมจีน - ความโดดเด่ ด ของขนมจี น แป้ ง หมั ก กั บ เส้นสด • เส้ น หมั ก คื อ การน� ำ ข้ า วสารมาแช่ น�้ ำ ค้างคืน เส้นจะเหนียวนุ่ม มีสีคล�้ำมากกว่า มีกลิ่นของการหมัก • เส้ น สด คื อ ผลิ ต จากข้ า วหรื อ แป้ ง สด โดยไม่ผ่านการหมัก ไม่แช่แป้งค้างคืน (ไม่นอนน�ำ้ แป้งขนมจีน) เส้นค่อนข้างร่วน กระด้าง นุ่มน้อย มีสีขาว ไม่มีกลิ่นหมัก
- ระยะเวลาในการท� ำ และการเก็ บ รั ก ษา ขนมจีน • เส้นหมัก ใช้เวลาท�ำ 3-4 วัน ควรบริโภค ทันที ไม่ควรเก็บไว้ค้างคืนหรือในตู้เย็น • เส้นสด ใช้เวลาท�ำ 1-2 วัน เพราะไม่ต้อง ใช้เวลาหมัก ระยะเวลาเก็บได้นานกว่า - การหมักคือ การแช่ข้าวสารไว้ 2-3 วันก่อน น�ำมาให้ความร้อนและรีดเป็นเส้น เพื่อให้ เกิดจุลินทรีย์เข้าช่วยย่อยแป้ง ท�ำให้ข้าว เปื่อยยุ่ยง่าย - คัดสรรพันธุ์ข้าวมาหมัก ใช้ข้าวสารพันธุ์ เหลืองปะทิวเป็นข้าวแข็ง ข้าวนาปี ส่วนข้าว นาปรัง ข้าวอ่อนหรือข้าวหอมมะลิใช้ไม่ได้ - วิธีการหมักแป้ง • น�ำข้าวเหลืองปะทิวมาหมักไว้ 2-3 คืน หมักนานยิง่ ท�ำให้แป้งเหนียว ต้องล้างแป้ง หมักตอนเช้ากับเย็น เพื่อให้ข้าวสารเละ และป้องกันแป้งเปรี้ยวหรือข้าวเปลี่ยนสี • ข้าวหมักได้ที่แล้วน�ำเข้าเครื่องโม่จะได้น�้ำ ผสมแป้ง ใช้ผา้ ขาวบางกรองให้เหลือแต่นำ�้ แป้ง ท�ำการนอนน�ำ้ 1-2 คืน เติมเกลือเล็ก น้อยเพือ่ ป้องกันแป้งเปรีย้ ว ต้องถ่ายน�ำ้ ทิง้ และเติมน�้ำใหม่ทุกวัน • น�ำเนือ้ แป้งใส่ถงุ ผ้าดิบ คัน้ น�ำ้ ออก (สังเกต แป้งที่นอนน�้ำทิ้งไว้น�้ำจะใส) น�ำหินมาทับ อีก 1 คืนให้นำ�้ ออกเหลือแต่เนือ้ แป้ง หมัน่ ขยับแป้งทุก 4 ชัว่ โมงเพือ่ ให้แป้งแห้งเร็วขึน้ • น�ำแป้งที่แห้งแล้วออกจากถุง ปั้นเป็นลูก กลมน�ำไปต้มในน�้ำเดือดให้ด้านนอกสุก 30-45 นาที
- ขนมจีนโรงงาน ขนมจีนส่วนใหญ่ที่ผลิตใน ระบบอุตสาหกรรมเป็นขนมจีนเส้นสด มีวิธี ถนอมอาหารที่ท�ำให้เก็บได้นานขึ้น เพราะ ปกติเส้นขนมจีนจะคืนตัวภายใน 2 วัน เส้น จะเสียและเกิดรา สังเกตจากห่อบรรจุและสี ของเส้นจะขาว - วิธดี ขู นมจีนแป้งหมัก มีสขี าวขุน่ มีกลิน่ หมัก เส้นเล็ก
• กระบวนการท�ำขนมจีนโบราณ มี 5 ขัน้ ตอน 1. การหมักแป้ง 2. การต�ำแป้ง 3. การนวดแป้ง 4. การโรยเส้นขนมจีน 5. การจับเส้นขนมจีน - อุปกรณ์การท�ำขนมจีน 1. ผวน คื อ อุ ป กรณ์ ที่ ใช้ โรยแป้ ง ขนมจี น ให้เป็นเส้น 2. ครก-สากไม้ ส�ำหรับต�ำแป้ง 3. อ่ า งดิ น ส� ำ หรั บ นวดแป้ ง และผสมสี สมุนไพร 4. สวิง/ตาข่ายผ้ามุง้ ส�ำหรับช้อนเส้นขนมจีน ขึ้นจากน�้ำร้อน 5. ผ้าขาวบาง เพื่อกรองแป้งที่นวดแล้ว
บ้านขนมจีน
69
เรื่องนี้ ต้องขยาย บ้านขนมจีน
จุดกิจกรรมที่ 1 • การต�ำแป้ง - นั ก ท่ อ งเที่ ย วเริ่ ม ท� ำ กิ จ กรรมจากฐานนี้ ใส่หมวกคลุมผมและผ้ากันเปื้อน น�ำแป้ง จุดกิจกรรมที่ ที่ ต ้ ม สุ ก แล้ ว มาต� ำ ในครกไม้ เพื่ อ ให้ แ ป้ ง คลายตัวและมีความเหนียวมากขึ้น ท�ำการ 3 ต� ำ แป้ ง ให้ แ ตกละเอี ย ด เติ ม น�้ ำ อุ ่ น ลงไป พอประมาณ ต�ำคนละครั้งสลับกันไปเรื่อยๆ • การโรยเส้นขนมจีน จนแป้ ง รวมกั น เป็ น เนื้ อ เดี ย วและเหนี ย ว - ตักแป้งที่กรองแล้วใส่ในกระป๋องโรยเส้น การต�ำต้องสามัคคี ร่วมแรงร่วมมือกัน เรียกว่า ผวน - สมัยโบราณใช้ครกไม้กระเดือ่ งต�ำแป้ง ปัจจุบนั - กดแป้ ง ให้ เ ป็ น เส้ น ลงในน�้ ำ เดื อ ด โดยใช้ ใช้ครกไม้ แรงกดกระป๋องโรยพร้อมหมุนเป็นวงกลม สักพักเส้นจะลอยขึน้ • ใส่นำ�้ ในหม้อให้มากแล้วเปิดไฟให้นำ�้ เดือด จุดกิจกรรมที่ พอดี ถ้าเดือดมากเส้นจะขาด • การโรยแป้งด้วยผวนต้องโรยให้ตำ�่ หมุนให้ 2 เร็วสม�่ำเสมอต่อเนื่อง วนหลบเส้น ไม่จับ • การนวดแป้ง ผวนสูงจากน�ำ้ เดือดเกินไป จะท�ำให้เส้นขาด - น�ำแป้งมานวดในอ่างดิน ค่อยๆ เติมน�้ำอุ่น - ตักเส้นทีล่ อยขึน้ ด้วยสวิงตาข่ายท�ำจากผ้ามุง้ ที ล ะน้ อ ย ใช้ ก� ำ ลั ง แขนนวดขยี้ จ นแป้ ง แล้วน�ำไปล้างน�ำ้ เย็นเอาเมือกออก เนือ้ เนียนเหลว แล้วน�ำไปกรองเม็ดแป้งเล็กๆ • เส้นที่ดีมีลักษณะอ้วน กลม ด้วยผ้าขาวบางซึ่งเป็นอุปกรณ์ส�ำคัญเพื่อให้ ยาวไม่ขาด แป้งเนียน ง่ายในขัน้ ตอนโรยเส้น • ตีนขนมจีน/เศษขนมจีน - ขั้นตอนนี้สามารถเพิ่มสีสันเส้นขนมจีนได้ คือ เส้นขนมจีนที่ โดยการผสมน�้ำสมุนไพรต่างๆ ที่คั้นไว้แล้ว ขาดๆ ร่วงๆ ไม่สามารถ เช่น ดอกอัญชัน (สีม่วง) ใบเตย (สีเขียว) จับเส้นได้ตอนน�ำขึน้ จาก ขมิน้ (สีเหลือง) แครอท (สีสม้ ) และบีทรูท หรือ น�ำ้ เดือด จึงน�ำมาท�ำย�ำ แก้วมังกร (สีชมพู) นวดให้สเี ข้ากับเนือ้ แป้ง ขนมจีน 70 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
จุดกิจกรรมที่ 4
- สูตรน�้ำยาป่า รสชาติจัดจ้าน ใส่ปลาร้า ไม่ใส่กะทิ - สูตรน�้ำพริกหวานโบราณ ได้รสเปรี้ยว หวาน และเค็ม มีมันสีแดงลอย หน้าจากน�้ำมัน และสีของพริกแกง ใช้กุ้ง และถั่วลิสงคั่วบดใหม่ - สูตรแกงเขียวหวานหรือแกงแดง กะทิข้น ใช้เนื้อไก่เป็นหลักร่วมกับพริกชี้ฟ้า มะเขือเปราะ ใบโหระพา - ขนมจีนซาวน�้ำอู่ทอง เส้นขนมจีนคลุกกับน�้ำปลา มะนาว พริกป่น หอมแดงซอย โรยกุง้ แห้งหรือปลาป่น บางครัง้ ใส่มะม่วงสับซอย
• การจับเส้นขนมจีน - การจัดเรียงเส้นขนมจีนไว้เป็นกลุ่มๆ ขนาด ประมาณ 1 ฝ่ามือ เรียกว่า จับ หรือ หัว ควร จับขึน้ จากน�ำ้ ให้เร็วและรีดน�ำ้ ออกจากเส้นให้ ตัวเส้นแห้ง ไม่แฉะจะช่วยยืดอายุขนมจีน 1. จีบหัวปลาสร้อย-ขดเป็นวงบนฝ่ามือแล้ว วางทาบซ้ อ นกั น เป็ น วงกลม ห่ า งกั น สม�่ำเสมอบนกระจาด 2. จีบก้นหอย-ขดเป็นวงบนนิ้ว พอดีค�ำ - การสะเด็ดน�้ำ คือการบีบเอาน�้ำออกจาก เส้นขนมจีนตอนจับเส้น แล้วค่อยวางบน ใบตอง เพื่อให้ไม่มี น�้ำแฉะขังบนภาชนะ วางขนมจีน ท�ำให้ ขนมจีนเสียง่าย และไม่น่าทาน • ผักเครื่องเคียง น�ำ้ ยาชนิดต่างๆ จะใส่หม้อดิน เวลาเสิรฟ์ จะจัด ชุดขนมจีน น�้ำยา 4 ชนิด ทานคู่ผักเครื่องเคียง เช่น ใบแมงลัก ใบกระถิน ใบมะกอก ผักบุง้ ลวก แตงกวา มะระ หัวปลี บางส่วนปลูกเองในสวน
จุดรับประทาน อาหาร
• การทานขนมจีนให้อร่อยหลากสไตล์ ขึ้นกับความชอบส่วนบุคคล บางคนจะตัดเส้น • ชนิดน�้ำยาทานกับขนมจีน ให้พอดีคำ� ม้วนเส้นกับส้อมก่อนทาน หรือชอบ - สูตรโบราณน�้ำยากะทิ ซู๊ดเส้น บางคนราดน�้ำยาชนิดต่างๆ ทานผสม ใช้เนือ้ ปลานิลหรือปลาช่อนนาสด ได้รสหวาน พร้ อ มกั น บางที่ จ ะมี เ ครื่ อ งเคี ย งอื่ น ทานคู ่ จากเนื้อปลา ใส่กะทิร่วมกับพริกแกง ขนมจีนนอกเหนือจากผัก เช่น ไข่ต้ม แคปหมู บ้านขนมจีน
71
ศูนย์เรียนรู้
เ ส้ น ท า ง สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ใ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว
...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................
โรงหล่อ วิเชียร
1. เจดีย์หมายเลข 1 2. ศรัทธาความเชื่อของเจดีย์ 3. คุณตากับเจดีย์ 4. จุดเริ่มต้นของการเป็นโรงหล่อ 5. พระปางดีดน�้ำมนต์ 6. สมบัติในดิน 7. เหรียญทวารวดี 8. รูปแบบเหรียญ 9. การปั้นพระดิน 10. การปลุกเสกโลหะ
72 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
น แม
าล ัย นม
เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ โดยการวิเคราะห์ของชุมชน:
ศูนย์เรียนรู้ โรงหล่อวิเชียร
ถน
10
321
ศูนย์เรียนรู้
2 1
จุดต้อนรับหน้าเจดีย์
เจดีย์หมายเลข 1
ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร
73
สกัดเรื่องเล่า
ให้ว๊าว
ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร 1. เจดีย์หมายเลข 1 เจดีย์ที่ไม่ได้ถูกค้นพบ เป็นอันดับแรก แต่หมายถึงเจดียท์ ใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในอู ่ ท อง เกี่ ย วข้ องกั บ วั ด หั ว ตาเป็ น หรื อ วัดปราสาทในสมัยอยุธยา 2. ลักษณะอิฐ 3 ยุค จากร่องรอยอิฐ 3 ลักษณะ บ่งบอกถึงการสร้างและบูรณะในยุคทวารวดี ยุคอยุธยา และยุคปัจจุบัน อิฐแต่ละสมัย มีขนาดไล่จากใหญ่ไปเล็ก 3. จุดก�ำเนิดโรงหล่อ พ่อและแม่พบรักกันจาก อาชี พ ขุ ด ค้ น และขายสมบั ติ โ บราณที่ ไ ด้ ในพื้นที่อู่ทอง สู่การตั้งโรงหล่อ 4. พระถ�้ำเสือ พระพิมพ์ดินเผาโบราณที่พบ จากการร่อนมูลค้างคาวในถ�ำ้ เสือ กล่าวขาน เรื่องความศักดิ์สิทธิ์ด้านคงกระพันชาตรี มหาอุด 5. เหรียญ 4 แบบ เหรียญสมัยทวารวดีจำ� ลอง ของที่ระลึกจากโรงหล่อที่ทุกคนได้ทดลอง ท� ำ เอง มี ค วามหมายมงคลในเหรี ย ญ แต่ละแบบ 6. การปั้นพระดินปางแสดงธรรม (ปางดีด น�้ำมนต์) การปั้นพระดินในระยะแรกของ คุณตาเลียนแบบศิลปะพระปางแสดงธรรม สมัยทวารวดีที่ขุดพบจากการบูรณะเจดีย์ 7. โลหะที่ น� ำ มาหล่ อ เหรี ย ญที่ ร ะลึ ก หล่ อ ด้วยโลหะที่ผ่านการปลุกเสกจากพระเกจิ อาจารย์ 74 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
เหรียญ 4 แบบ เจดีย์หมายเลข 1
การปั้ นพระดิน พระปางแสดงธรรม (ปางดีดน�้ ำมนต์) พระปางแสดงธรรม (ปางดีดน�้ ำมนต์)
โลหะที่น�ำมาหล่อ
ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร
75
Mind Map
เล่าเรื่องชุมชน ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร 1. กล่าวต้อนรับและแนะน�ำตัว - แนะน�ำสมาชิกในโรงหล่อ
จุดต้อนรับ หน้าเจดีย์
2. ประวัติของเจดีย์หมายเลข 1 - ยุคสมัยของเจดีย์ มีอายุกว่า 1,400 ปี เป็นเจดีย์ 3 สมัย คือ สมัยทวารวดี สมัยอยุธยาตอนปลาย และสมัยปัจจุบัน วิเคราะห์จากซากฐานอิฐเดิมของเจดีย์ - การค้นพบและการบูรณะครั้งแรกถึงปัจจุบัน - ความเชื่อ ความศรัทธาและการแก้บนเจดีย์
ศูนย์เรียนรู้ 2. รุ่นลูกสืบสานโรงหล่อ - ห่างไกลจากจุดการท�ำโรงหล่อ - จุดพลิกผันของการท�ำโรงหล่อ และการสอนปั้นจากอาจารย์ - การฝึกฝนด้วยทักษะที่เห็น ตั้งแต่เด็ก
1. จุดเริ่มต้นของการเป็นโรงหล่อวิเชียร - ฝีมือของการปั้นพระดินของคุณตา - ปางดีดน�้ำมนต์หรือปางแสดงธรรม พระพุทธรูป สมัยทวารวดี ได้อิทธิพลจากศิลปะอินเดียแบบคุปตะ - การท�ำพระดินครั้งแรก - เรียนรู้การท�ำพระโลหะ - สมบัติในคูเมือง-ทรัพย์ในดิน ในพื้นที่คูเมืองอู่ทอง มักขุดพบและซื้อขายสมบัติโบราณมากมาย จนกรมศิลปากรออกกฎหมายห้ามขุด - ตลาดพระ พระดินที่ปั้นได้น�ำไปขายที่ ตลาดพระท่าพระจันทร์ - การเปิดโรงหล่อในอู่ทอง และบ่มเพาะช่างฝีมือ
4. กิจกรรมหล่อเหรียญ - แนะน�ำเหรียญ 4 แบบ 1. รูปพระอาทิตย์ สื่อถึงความยิ่งใหญ่ ความเจริญรุ่งเรือง ความมีอ�ำนาจ 2. รูปหอยสังข์ เป็นสัญลักษณ์ของน�้ำ สื่อถึงความอุดมสมบูรณ์ ความโชคดี 3. รูปดอกนันทยวรรค หรือดอกพุด สื่อถึงความมีสิริมงคลกับชีวิต 4. รูปศรีวัตสะ สื่อถึงความร�่ำรวย ความเจริญรุ่งเรือง มีอ�ำนาจ และความรัก - การเลือกแบบและลงมือท�ำ 76 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
3. ท�ำไมถึงต้องท�ำเหรียญที่ระลึก - อพท.ชักชวนในแนวทางการท่องเที่ยว - การท�ำของที่ระลึก - เหรียญทวารวดี - การได้รับรางวัล Creative Tourism Thailand 5. เริ่มกิจกรรมหล่อเหรียญ - แนะน�ำอุปกรณ์และขั้นตอนการหล่อ - โลหะผ่านการปลุกเสกจากเกจิอาจารย์ - ข้อควรระวังและการใส่อุปกรณ์ป้องกัน 6. การแต่งเหรียญ - ความเชื่อและความศรัทธาของ เหรียญโรงหล่อ - การกล่าวอ�ำลาและชักชวนให้มาท�ำ กิจกรรมรูปแบบใหม่ ได้แก่กิจกรรมปั้นพระ เนื้อดินและกิจกรรมแม็กเน็ตทวารวดี - ติดตามกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ได้ที่ www.facebook.com/somsakklinjnun/ ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร
77
ค�ำศัพท์
ภาษาอังกฤษ
ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร
ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร
1) เหรียญทวารวดีเมืองอู่ทอง 2) อารยธรรมทวารวดี 3) โรงหล่อเหรียญ 4) กิจกรรมแม็กเน็ตทวารวดี ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อเหรียญวิเชียร อ�ำเภออู่ทอง 5) ลูกปัดโบราณ 6) กิจกรรมตอกเหรียญโบราณทวารวดี 7) ประวัติความเป็นมาของเหรียญเก่า 8) เจดีย์ 9) พระปางแสดงธรรม (ปางดีดน�้ำมนต์)
78 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
Vichien Coin Casting Learning Center Dvaravati coins in U-Thong Dvaravati Civilization Coin casting facility Dvaravati Magnet, Vichien Coin casting Learning Center, U-Thong District Ancient Beads Dvaravati Coin Punching Activity History of the Dvaravati Coin Pagoda Buddha Image in the posture of preaching Dhamma
10) พระเนื้อดิน 11) พระเนื้อโลหะ 12) การปลุกเสก 13) ลักษณะเหรียญ 4 แบบ 14) โลหะที่น�ำมาหล่อ คือ ตะกั่ว 15) ความหมายของเหรียญ ได้แก่ - ความร�่ำรวย - ความโชคดี - ความอุดมสมบูรณ์ - ความเจริญรุ่งเรือง - อ�ำนาจ 16) อิฐ เนื้ออิฐ ดินแดง ดินร่วน ดินผสมแกรบ
Earthen Buddha amulet Metal Buddha amulet Consecration Rite Four types of coins Casting metal is “lead” The meaning of the coin is - Wealth - Fortune - Fertility - Prosperity - Power Brick, red clay, loam soil, soil and husk
ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร
79
เรื่องนี้ ต้องขยาย
แผ่ น อิ ฐ ลวดลายต่ า งๆ เหรี ย ญเงิ น รู ป อุณาโลม ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร 2. บู ร ณะครั้ ง ที่ 2 ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ราวรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (พ.ศ. 2172-2199) มี ก ารสร้ า งเจดี ย ์ องค์ ใ หม่ ค รอบไว้ ลั ก ษณะฐานเป็ น รู ป จุดต้อนรับ สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า ก่ อ เยื้ อ งจากฐานเดิ ม หน้าเจดีย์ ของสมัยทวารวดี ค้นพบโบราณวัตถุ ได้แก่ เครื่องใช้ส�ำริด เช่น ครอบพาน กังสดาล ครอบเต้าปูน ขันกรองน�้ำ และกระปุก • ศู น ย์ เ รี ย นรู ้ โ รงหล่ อ วิ เ ชี ย ร โรงหล่ อ ลายครามจีนสมัยราชวงศ์หมิง พระพุ ท ธรู ป ในอ� ำ เภออู ่ ท อง ภายใต้ ก าร 3. บู ร ณะสมั ย ปั จ จุ บั น ขุ ด แต่ ง ระหว่ า ง ด� ำ เนิ น งานและสื บ สานโดยคุ ณ ปชาธิ ม น พ.ศ. 2507-2509 โดยกรมศิลปากร กลิ่นจันทร์ (คุณปะ) กับน้องชาย เป็นรุ่นที่ 2 ต่อจากคุณพ่อวิเชียร ปัจจุบันเป็นศูนย์เรียนรู้ • เรื่องเล่าความศรัทธาและการแก้บนเจดีย์ มี กิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ ที่ - ชาวบ้านในชุมชนมักเห็นไฟเพนียงพุ่งขึ้น เชื่อมโยงศิลปะทวารวดีโบราณ และได้ยนิ เสียงดนตรีไทยบริเวณรอบๆ เจดีย์ - เคยอธิ ษ ฐานกั บ เจดี ย ์ ใ ห้ ไ ด้ ง านหล่ อ พระ • ประวัตขิ องเจดียห์ มายเลข 1 วัดหัวตาเป็น ที่ ลู ก ค้ า ยกเลิ ก งานไปแล้ ว ได้ ส� ำเร็ จ และ (วั ด ปราสาทร้ า ง) ตั้ ง อยู ่ น อกคู เ มื อ งทาง แก้บนโดยการจุดเทียนรอบองค์เจดีย์ตลอด ตะวันออกริมน�้ำจรเข้สามพัน ห่างจากคูเมือง พรรษาเพื่อถวายการบูชา 500 เมตร ลักษณะเป็นมหาสถูปขนาดใหญ่ - อธิษฐานขอให้มีเงินทุนส�ำหรับสร้างโกดัง แผนผังสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ยาวด้านละ 36.50 เมตร ได้ส�ำเร็จเมื่อครั้งหล่อพระขี้ผึ้ง ยุคสมัยของเจดีย์ เป็นเจดีย์ 3 สมัย 1. สร้างและบูรณะครั้งที่ 1ในสมัยทวารวดี อายุ ร าวพุ ท ธศตวรรษที่ 14 จากการ วิ เ คราะห์ รู ป แบบของซากฐานเดิ ม ของ เจดี ย ์ เช่ น ชั้ น ฐานซ้ อ นลดหลั่ น มี ก าร ยกเก็ จ ทั้ ง ที่ มุ ม และด้ า นทั้ ง สี่ มี ล วดบั ว ลูกแก้วขนาดใหญ่ เรียกว่าบัววลัย ค้นพบ โบราณวั ต ถุ ได้ แ ก่ พระพุ ท ธรู ป ส� ำ ริ ด 80 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ศูนย์เรียนรู้ • จุดเริ่มต้นของการเป็นโรงหล่อวิเชียร - การท� ำ พระดิ น ครั้ ง แรก เดิ ม คุ ณ ตาเป็ น ลูกจ้างรายวันของกรมศิลปากรบูรณะเจดีย์ หมายเลข 1 ในปีพ.ศ. 2508 มีการขุดพบ พระพุทธรูปปางดีดน�้ำมนต์เนื้อส�ำริดสมัย ทวารวดี (ปั จ จุ บั น อยู ่ ใ นพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถาน แห่งชาติอทู่ อง) คุณตาเอาดินเหนียวมาลองปัน้ ตามแบบและน�ำพระดินที่ปั้นไปขายที่ตลาด พระท่าพระจันทร์ เซียนตลาดพระเห็นฝีมือ จึงสั่งปั้น และเริ่มอาชีพปั้นพระแต่นั้นมา - พระพุทธรูปปางดีดน�้ำมนต์ หรื อ ปางแสดงธรรม มี ลักษณะในท่านั่งหรือท่ายืน พระหัตถ์ขวาอยู่ในลักษณะ จี บ นิ้ ว (วิ ต รรกะมุ ท ธา) พระหั ต ถ์ ซ ้ า ยวางเหนื อ พระเพลา ศิ ล ปะทวารวดี พุทธศตวรรษที่ 13-14 - สมบั ติ ใ นคู เ มื อ ง (ทรั พ ย์ ในดิน) สมัยก่อนบ้านในบริเวณคูเมืองมักขุด เจอเครือ่ งประดับ เหรียญโลหะหรือลูกก�ำปัด โบราณ คนทั่ ว ไปจึ ง เริ่ ม รู ้ ว ่ า ผื น ดิ น อู ่ ท อง ด้านล่างมีสมบัติอยู่ ใครมีที่ก็กั้นที่ให้คนเช่า ขุดสมบัติ ภายหลังกรมศิลปากรออกกฏหมาย ห้ามขุด ถือเป็นสมบัติของชาติ
- พระถ�้ำเสือ พ่อแม่มีอาชีพขายมูลค้างคาว ที่ ห าได้ ใ นถ�้ ำ แล้ ว ร่ อ นเจอพระถ�้ ำ เสื อ (พระพิมพ์ดนิ เผาขนาดเล็ก โบราณกล่าวขาน เรื่องศักดิ์สิทธิ์ด้านคงกระพันชาตรี มหาอุด แคล้วคลาด เนือ้ มวลสารเป็นเนือ้ ดินเผาผสม ว่านเกสรวิเศษต่างๆ พุทธลักษณะแบบอูท่ อง ล้อทวารวดี พิมพ์ทรงคล้ายเขี้ยวเสือ) - เรียนรูก้ ารท�ำพระโลหะ เมือ่ ค้าขายสักระยะ เริ่มรู้ว่าพระดินราคาถูกกว่าพระโลหะ จึงไป เรี ย นรู ้ วิ ธี ท� ำ พระโลหะที่ โ รงหล่ อ พระ ในกรุงเทพอยู่ 5-6 ปี - การเปิ ด โรงหล่ อ ในอู ่ ท องและบ่ ม เพาะ ช่างฝีมือ เมื่อเรียนหล่อพระที่กรุงเทพแล้ว จึงเปิดโรงหล่อทีอ่ ทู่ อง ดึงช่างฝีมอื และฝึกฝน ช่างจบใหม่จนมีช่างหล่อเพิ่มขึ้น สมัยนั้น โรงหล่อยังไม่มีชื่อ ท�ำแค่ในครัวเรือน
• รุ่นลูกสืบสานโรงหล่อ - ห่างไกลจากจุดท�ำโรงหล่อ เห็นคุณพ่อท�ำ โรงหล่ อ มาตั้ ง แต่ เ ด็ ก แต่ ไ ม่ ส นใจสานต่ อ จึงเลือกเรียนด้านไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ - จุดพลิกผันของการท�ำโรงหล่อ คุณพ่อพา อาจารย์ ป ั ้ น ฝี มื อ ดี จ ากยะลามาท� ำ งานที่ โรงหล่อ เมื่อศึกษาวิธีปั้นจากการเป็นลูกมือ จึ ง เริ่ ม สนใจ และคิ ด ว่ า ใช้ ทั ก ษะไม่ ม าก สร้างรายได้ดกี ว่าทักษะทีเ่ รียนมา อีกทัง้ เกิด วิกฤตโรงหล่อใกล้ปิดตัว - การฝึกฝนด้วยทักษะที่เห็นแต่เด็ก ฝึกฝน ไม่นานก็ปั้นได้ เริ่มเป็นช่างปั้นและเปิดเป็น โรงหล่อวิเชียร
ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร
81
เรื่องนี้ ต้องขยาย ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร
เหรียญที่ระลึก • ท�ำไมต้องท�ำเหรียญที่ระลึก - จากการชักชวนของอพท. ให้ท�ำในรูปแบบ การท่องเทีย่ ว ในครัง้ ทีอ่ พท. พานักท่องเทีย่ ว มาเรียนรู้เรื่องราวเชิงประวัติศาสตร์ที่เจดีย์ หมายเลข 1 แล้วพบโรงหล่อในบริเวณนั้น จึงหารือว่าอยากให้โรงหล่อเป็นแหล่งเรียนรู้ จึงเกิดเป็น “ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร” - การท�ำของที่ระลึก นึกย้อนในสมัยที่พ่อแม่ ขุดดินพบเหรียญทองค�ำโบราณสมัยทวารวดี เป็ น โบราณวั ต ถุ ท รงคุ ณ ค่ า ที่ บ ่ ง บอกถึ ง อาณาจักรทวารวดีทยี่ งิ่ ใหญ่ กิจกรรมทดลอง หล่อเหรียญทวารวดีจากต้นแบบของเหรียญ ทีค่ น้ พบจากแหล่งโบราณคดีของเมืองอูท่ อง ด้ ว ยตนเองนี้ จะช่ ว ยให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ แรงบันดาลใจที่จะศึกษาเรียนรู้ความเป็นมา และความส�ำคัญของพื้นที่เมืองอู่ทอง
เหรียญเหล่านี้บ่งบอกว่าอาณาจักรโบราณ เหล่านีม้ กี ารติดต่อทางการทูตและการค้าขาย กั บ อิ น เดี ย และจี น ตั้ ง แต่ ก ่ อ นพุ ท ธกาล นอกจากเหรี ย ญจะท� ำ หน้ า ที่ แ ลกเปลี่ ย น ค้ า ขาย สั น นิ ษ ฐานว่ า ใช้ ส� ำ หรั บ การบู ช า แก้บน หรือพิธีกรรมเพื่อให้เกิดความผาสุก และปลอดภัยในอาณาจักรอีกด้วย เหรียญ ที่ขุดพบเป็นยุคสมัยของ 1. อาณาจักรฟูนัน (พุทธศตวรรษที่ 6-12) ลั ก ษณะเป็ น เหรี ย ญเงิ น กลม ด้ า นหนึ่ ง ภายในวงกลมชั้นในเป็นรูปอาทิตย์อุทัย ครึ่งดวงแผ่รัศมีโดยรอบคั่นด้วยจุดไข่ปลา วงกลมชั้ น นอกประดั บ ด้ ว ยจุ ด ไข่ ป ลา โดยรอบ อี ก ด้ า นหนึ่ ง เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ศรี วั ต สะ ด้ า นบนเป็ น พระอาทิ ต ย์ แ ละ พระจันทร์ มีสวัสดิกะและภัทรบิฐขนาบ ที่ด้านข้าง ด้านล่างสุดเป็นจุดกลม 3 จุด 2. อาณาจั ก รทวารวดี (พุ ท ธศตวรรษที่ 12-16) ลักษณะโค้งแบบก้นกระทะ เป็น เหรียญกลมชนิดเนื้อทองค�ำและเนื้อเงิน มี ห ลายรู ป แบบและขนาด ส่ ว นมาก ประทับตราสังข์ล้อมด้วยจุดไข่ปลา อีก ด้ า นหนึ่ ง เป็ น รู ป ปราสาท มี วิ วั ช ระอยู ่ ภายใน ประกอบด้ ว ยแส้ แ ละขอช้ า ง ที่ด้านข้าง มีพระอาทิตย์และพระจันทร์ อยู่ด้านบน ปลาหรือน�้ำอยู่ด้านล่าง
- เหรียญทวารวดี เหรียญที่ขุดพบในอู่ทอง เป็นเงินตอกตราในยุคสุวรรณภูมิ (พืน้ ทีส่ ว่ น ใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) สัญลักษณ์ ทีป่ รากฏบนเหรียญได้รบั อิทธิพลจากศาสนา - การได้ รั บ รางวั ล Creative Tourism ฮิ น ดู แ ละพุ ท ธมหายานจากอิ น เดี ย เช่ น Thailand ครั้ ง ที่ 2 จากการท� ำ เหรี ย ญ หอยสังข์ ธรรมจักร พระอาทิตย์ พระจันทร์ ศรีวัตสะ บัลลังก์กษัตริย์ หม้อดอก และแม่วัวลูกวัว 82 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
เหรียญ 4 แบบ • กิจกรรมหล่อเหรียญ กิจกรรมที่นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้วิธีการหล่อ เหรียญโบราณทีเ่ ชือ่ มโยงสมัยทวารวดี ได้ความ รู้ทางประวัติศาสตร์และได้ของที่ระลึกความ หมายมงคลกลับไปบ้านด้วย
- ความหมายของรูปบนเหรียญ • รูปศรีวัตสะ เป็นคุณลักษณะอย่างหนึ่ง ของพระศรี ห รื อ พระลั ก ษมี ชายาของ พระวิ ษ ณุ ตามความเชื่ อ ของศาสนา พราหมณ์-ฮินดู สื่อถึงความร�่ำรวย ความ เจริญรุ่งเรือง มีอ�ำนาจ และความรัก มี รูปแบบเป็นเรือนหรืออาคารจ�ำลองเล็กๆ มียอดแหลมคล้ายหน้าจั่ว • รู ป พระอาทิ ต ย์ สื่ อ ถึ ง ความยิ่ ง ใหญ่ ความเจริญรุ่งเรือง ความมีอ�ำนาจ • รู ป หอยสั ง ข์ เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องน�้ ำ สื่อถึงความอุดมสมบูรณ์ ความโชคดี • รู ป ดอกนั น ทยวรรคหรื อ ดอกพุ ด เป็ น ดอกไม้ใช้ในพิธีมงคล พิธีราชาภิเษก สื่อ ถึงความมีสิริมงคลกับชีวิต ความส�ำเร็จ ความเจริญมั่นคง
- เหรียญมี 4 แบบ • แบบที่ 1 เหรียญนันทยวรรค (ด้านหน้า) เหรียญศรีวัตสะ (ด้านหลัง) • แบบที่ 2 เหรียญนันทยวรรค (ด้านหน้า) เหรียญหอยสังข์ (ด้านหลัง) • แบบที่ 3 เหรียญพระอาทิตย์ (ด้านหน้า) เหรียญศรีวัตสะ (ด้านหลัง) - การเลือกแบบและลงมือท�ำ ให้นกั ท่องเทีย่ ว • แบบที่ 4 เหรียญหอยสังข์ (ด้านหน้า) เลือ กพิม พ์เ พื่อ หล่อ เหรียญตามแบบหรือ เหรียญศรีวัตสะ (ด้านหลัง) ความหมายที่ชอบ
เหรียญแบบที่ 1
เหรียญแบบที่ 2
เหรียญแบบที่ 3
เหรียญแบบที่ 4
ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร
83
เรื่องนี้ ต้องขยาย ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร
กิจกรรม หล่อเหรียญ • เริ่มกิจกรรมหล่อเหรียญ - อุปกรณ์ส�ำหรับหล่อเหรียญ 1. เบ้า ท�ำจากกากเพชร กราไฟท์ 2. แม่พิมพ์ ท�ำจากขี้วัว ดินนวล ปัจจุบันใช้ อีพอกซี่ (ทนความร้อน) 3. กระบวย ใช้ตักน�้ำโลหะเทลงพิมพ์ 4. แท่งโลหะ ใช้ในการหล่อ ซึ่งเป็นโลหะ ที่ปลุกเสกจากเกจิอาจารย์ ผ่านพิธีใหญ่ โดยคณะปรกนั่ ง ภาวนา เพ่ ง คุ ณ พระ รัตนตรัยเข้าสู่แท่งโลหะแล้ว 5. ถุงมือ ป้องกันความร้อน 6. กรรไกร/กระดาษทราย ส�ำหรับตัดแต่ง ขอบ ขัดลบคม - ขั้นตอนการหล่อเหรียญ 1. ต้มน�้ำโลหะหรือตะกั่ว ด้วยความร้อนที่ อุ ณ หภู มิ 200 องศาเซลเซี ย สจนโลหะ ละลาย เห็นตะกัว่ เป็นสีชมพูมว่ งๆ ติดรอบ เบ้า แสดงว่าตะกั่วใกล้สุกแล้ว 2. หลอดน�้ำโลหะหยอดลงแม่พิมพ์ โดยน�้ำ โลหะ 1 กระบวยสามารถเทใส่แม่พิมพ์ เหรียญได้ 4-5 ชิ้น 3. แกะเหรียญออกจากแม่พมิ พ์ รอ 4-5 นาที ให้เหรียญเย็นพร้อมขัดแต่งได้
84 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
- ข้อควรระวัง 1. เว้นระยะห่างและระวังความร้อนบริเวณ พื้นที่ต้มน�้ำโลหะในเบ้า 2. ควรเทน�้ำโลหะลงพิมพ์ทีเดียวไม่ขาดตอน เพราะอาจท�ำให้เหรียญทีไ่ ด้ไม่สมบูรณ์ 3. ใส่ถุงมือป้องกันความร้อนตลอดขัน้ ตอน การหล่อ
การแต่งเหรียญ • การตกแต่งเหรียญ - ความเชื่ อ ศรั ท ธาของเหรี ย ญโรงหล่ อ เหรียญที่ระลึกทุกชิ้นที่ได้ทดลองหล่อ ท�ำ จากโลหะทีผ่ า่ นการปลุกเสกจากเกจิอาจารย์ แล้ว มีเรื่องเล่าถึงพุทธคุณ ความศักดิ์สิทธิ์ ของเหรียญจากนักท่องเที่ยวว่าเมื่อเลือก หล่อเหรียญดอกนันทยวรรคแล้วท�ำให้ได้ แต่งงาน เป็นต้น
- การตกแต่งเหรียญ น�ำเหรียญที่แกะจาก แม่พิมพ์แล้ว • ใช้กรรไกรมาตัดแท่น (ถ้าไม่ตดั ออกจะเป็น ที่ตั้งเหรียญได้) และขอบให้โค้งมน • ใช้กระดาษทรายขัดแต่งให้สมบูรณ์ - กล่าวอ�ำลาและชักชวนให้มาท�ำกิจกรรม รู ป แบบใหม่ ส� ำ หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ก ลั บ มาใหม่จะได้ทดลองท�ำกิจกรรมปั้นพระดิน และกิจกรรมแม็กเน็ตทวารวดี เป็นการปั้น และปั ๊ ม ดิ น เหนี ย วเป็ น รู ป คุ ณ ก� ำ ปั ด (ตั ว การ์ตูนสัญลักษณ์ของชาวทวารวดี เมือง อู่ทอง) หลังจากนั้นน�ำไปเผา ติดแม่เหล็กไว้ ด้านหลังใช้เป็นที่ติดตู้เย็นได้ - ติดตามกิจกรรมต่างๆ ของศูนย์เรียนรูไ้ ด้ทาง www.facebook.com/somsakklinjnun/ ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร
85
ชุมชน
บ้าน
เ ส้ น ท า ง สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ใ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว
...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ดงเย็น
10
10
ซอยบานดงเย็น ม.10 ซอย 2
ชุมชน บ้านดงเย็น
เรื่องเล่าห้ามพลาดในพื้นที่ โดยการวิเคราะห์ของชุมชน:
3 3472
ทำเตาหู
5
แปลงสาธิต เพาะเห็ด ขาวหมาก สมุนไพร
ซอยบานดงเย็น ม.
10 ซอย 2
6 แปลงสาธติปลกูผกัอนิทรยี
ททำการกลมุวสิาหกจิ วนเกษตรดงเยน็ ขนมครกโบราณ
1
2
-อูทอง
เลยงไสเดอืน
ขามเฒา
4
7
แปลงสาธิตปลูกผัก ในตะกรา
เพาะตนออน ทานตะวัน
8
333
ททำการผใูหญบาน ม.10 วดัดงเยน็ สวนปารอยป เจดยีโบราณ
86 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
แปลงสาธติผกัสวนครวั เลยงปลาดกุในบอซเีมนต ไขไกอารมณดี
ถนน มะ
1. ประวัติความเป็นมาของชุมชน บ้านดงเย็น การรวมตัว และการ สร้างความเข้มแข็งของวิสาหกิจ วนเกษตรบ้านดงเย็น การก�ำหนด กฎระเบียบร่วมกัน และการ มีส่วนร่วมของสมาชิก 2. เกษตรพอเพียงและวิถีลาวครั่ง 3. การเพาะเห็ดสายพันธุ์ฮังการีสีด�ำ 4. การเพาะต้นอ่อนทานตะวัน 5. การท�ำเต้าหู้ก้อน 6. การเลี้ยงไก่ไข่อารมณ์ดี 7. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ 8. การเพาะปุ๋ยมูลไส้เดือน 9. การคัดข้าวด้วยหวี 10. การปลูกผัก Watercress
คัดขาวดวยหวี
9
เสนทางแนะนำการทองเที่ยว สื่อความหมายชุมชน จุดเริ่มตนเสนทาง จุดสิ้นสุดเสนทาง ชุมชนบ้านดงเย็น
87
สกัดเรื่องเล่า
ให้ว๊าว
ชุมชนบ้านดงเย็น 1. สองข้างทางของเส้นทางท่องเที่ยว สามารถน�ำมาร้อยเรียงเล่าเป็นเรื่องให้ นักท่องเที่ยวได้ 2. ต้นสบู่ ไม้ปา่ ทีม่ ลี ำ� ต้นสีแดง โดยในสมัยก่อน เด็กๆ ที่จูงวัว ควายไปเลี้ยงมักชอบหัก เอาตรงยอดอ่อน เอาใบไม้รองน�้ำ ต้นสบู่ ตรงที่หักออกมาแล้ว และน�ำเอาก้าน ของหญ้าแพรกมาท�ำเป็นวงกลมจุ่มลงไป สามารถเป่าเป็นลูกโป่งได้ เด็กๆ มักน�ำ ก้านหญ้าแพรกมาเป่าเล่นแข่งกัน 3. ก้านสะเดาดัดผม โดยน�ำก้านทีม่ ยี างสะเดา มาพันผม สามารถอยู่ได้ 1 วัน 4. การท�ำเต้าหู้ด้วยบล็อคไม้ แม้ในปัจจุบัน จะหันมาท�ำด้วยบล็อคพลาสติกแล้วก็ตาม บล็อคท�ำเต้าหู้ไม้ 5. กระบวนการท�ำเต้าหู้ สูตรดั้งเดิม 6. รสชาติของน�้ำเต้าหู้ กลิ่นหอมมัน และสดใหม่มากกว่าที่อื่น 7. ไก่ไข่อารมณ์ดี ขีไ้ ก่ไม่เหม็น ไข่สเี หลืองนวล 8. เสียงเฉพาะของไก่ช่วงออกไข่ และไก่มีลักษณะขนฟู 9. บรรยากาศที่บ้านป้าเพิ่ม มีความร่มเย็น บรรยากาศใต้ต้นไม้ใหญ่ และวิถีชีวิตที่เรียบง่าย เต้าหู้ก้อนสีขาว 10. ข้าวหมากสมุนไพร ใช้ใบหม่อน มะม่วงหาวมะนาวโห่ อัญชันมะนาว ข้าวหมากสมุนไพร กระเจี๊ยบ สูตรเฉพาะของบ้านดงเย็น 88 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ไข่เจียวสีเหลืองทอง
ไส้เดือน
วอเตอร์เครส Watercress เห็ดฮังการีสีด�ำ
ชุมชนบ้านดงเย็น
89
Mind Map
ชุมชนบ้านดงเย็น
[* หมายถึง เรื่องเล่าห้ามพลาด]
ฐานต้อนรับ
3. กลุ่มท�ำเกษตร - เพาะต้นอ่อนทานตะวัน - ปลูกผักในตะกร้า - บ้านเต้าหู้ - บ้านไส้เดือน
1. ประวัติชุมชน* - การรวมกลุ่ม - ความเป็นมา - ความประทับใจ - แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 2. กว่าจะเป็น บ้านดงเย็นวันนีี้ - ผู้น�ำเห็นต่าง - ป้ายบอกทางน้อย - ที่จอดรถจ�ำนวนจ�ำกัด - สภาพอากาศร้อน 4. ฐานกิจกรรม - ฐานปลูกผัก - ฐานเพาะเห็ด - ฐานท�ำเต้าหู้ - ฐานเลี้ยงไส้เดือน - ฐานคัดข้าว - ฐานเลี้ยงปลาดุก - ฐานเพาะต้นอ่อนทานตะวัน - ฐานไก่ไข่อารมณ์ดี - ฐานปลูกต้นไม้ - ฐานบ้านข้าว - ฐานปลูกผักสวนครัว 5. การบริหารกลุ่ม - การแบ่งเงินปันผล - แจ้งข้อมูลแก่สมาชิก - มีกลุ่มออมทรัพย์ - การต่อยอด - การให้เด็กมีส่วนร่วม
90 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ฐานปลูกผัก ในตะกร้า
1. ความเป็นมา - ดูแลง่าย - ผักใช้น�้ำน้อย - ใช้พื้นที่ในการ เพาะปลูกน้อย - ผักเติบโตไว 2. ผักที่เลือกมาเพาะปลูก ผักกาด ผักบุ้ง ผักชี วอเตอร์เครส 4. ตามติดชีวิตผัก - น�ำผักไปประกอบอาหาร เช่น ผัดผัก ย�ำวอเตอร์เครส ผักลวก - น�ำผักไปขาย สร้างรายได้ในครัวเรือน - น�ำผักไปเป็นอาหารไก่
1. ความเป็นมา - เลิกขายผักที่ตลาด - ต้องการหารายได้เสริม - สนับสนุนให้นักท่องเที่ยวมาเรียนรู้ - งานอดิเรก
2. พันธุ์เห็ด - เห็ดฮังการีสีด�ำ ติดตลาด ราคาดี แปลกใหม่ - เห็ดหูหนู ดูแลง่าย ขายดี 3. การเพาะพันธุ์เห็ด* - เตรียมก้อนเชื้อเห็ด ไม่มีเชื้อรา สมบูรณ์ ก้อนเต็มสวย - เรื่องในโรงเรือน โรยขุ่นขาว น�ำก้อนเห็ดมาวางซ้อนกัน สามแถว รอให้เชื้อเดินประมาณครึ่งเดือน เปิดจุกเห็ด ให้เห็ดเติบโต - รดน�้ำ เช้า เย็น หากอากาศร้อนจ�ำเป็นต้องรดน�้ำ 3 รอบ รอ 10 วัน เห็ดออกดอก ตัดขาย สร้างก�ำไร
5. ประโยชน์ของผัก - วอเตอร์เครส ต้านมะเร็ง - ต้นชมจันทร์ ยาระบาย - ผักบุ้ง บ�ำรุงสายตา
ฐานโรง เพาะเห็ด 4. เมนูเห็ด เห็ดชุบแป้งทอด เห็ดต้มเค็ม เห็ดย่าง เห็ดผัดน�้ำมันหอย เห็ดสวรรค์ แหนมเห็ด น�้ำเห็ด ต้มย�ำเห็ด ชุมชนบ้านดงเย็น
91
MINDMAP ชุมชนบ้านดงเย็น
1. ความโดดเด่น* - สด สะอาด ใหม่ - วัตถุดิบที่น�ำมาผลิตมีคุณภาพ
5. ข้อแตกต่างของเต้าหู้ดงเย็นกับที่อื่น* - เต้าหู้ของเราใช้ถั่วเหลืองล้วน ไม่ผสมแป้ง - รสชาติที่เข้มข้นจากวัตถุดิบที่มีคุณภาพ
2. ขั้นตอนการผลิตเต้าหู้ก้อน เต้าหู้ก้อน - แช่ถั่วเหลือง 21 ชั่วโมง ดงเย็น - ล้างถั่วเหลืองแล้วน�ำมาโม่ - แยกน�้ำและกากถั่วเหลือง - น�ำน�้ำไปต้ม 1 ชั่วโมง และน�ำลงมาพัก 1-2 ชั่วโมง - น�ำดีเกลือมาผสม รอสักพัก น�้ำและเนื้อเต้าหู้จะ แยกออกจากกัน - รีบเทน�้ำใส่บล็อคพิมพ์ที่รองด้วยผ้าขาวบาง กดปิดฝาให้แน่น ได้เต้าหู้ก้อน 3. ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง - เต้าหู้ก้อน
4. การรักษาคุณภาพ - เก็บรักษาไว้ในอุณหภูมิห้อง ที่ไม่สูงหรือตํ่าเกินไป 1. ความเป็นมา* - ต้นอ่อนทานตะวันเป็นผักที่ดูแลง่าย และรายได้ดี - เมล็ดทานตะวัน 1 กิโลกรัม สามารถ เพาะต้นอ่อนทานตะวันได้ปริมาณถึง 8-9 กิโลกรัม 2. อุปกรณ์ในการเพาะปลูก - ตะกร้าเก่าๆ ที่ไม่ใช้แล้ว - เมล็ดทานตะวัน - ดิน
เพาะต้นอ่อน ทานตะวัน 92 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
3. สรรพคุณของต้นอ่อนทานตะวัน - รับประทานได้ทั้งสุกและดิบ ช่วยต้าน อนุมูลอิสระได้เป็นอย่างดี
1. พันธุ์ไส้เดือนที่น�ำมาเลี้ยง - ไส้เดือนพันธุ์แอฟริกา 2. อุปกรณ์ในการเลี้ยง - ขี้วัวนม - กะละมัง 3. กระบวนการเลี้ยงไส้เดือน* - น�ำขี้วัวนมใส่ลงไปในกะละมัง - น�ำไส้เดือนใส่ลงไปในกะละมัง ประมาณ 2 ขีด ต่อ 1 กะละมัง - รดน�้ำตอนเช้าใส่กะละมังให้ชุ่ม พอประมาณติดต่อกัน 3 วัน - ภายใน 1 อาทิตย์ จะได้ปุ๋ยไส้เดือน กะละมังละ 1-2 กิโลกรัม
ไก่บ้านดงเย็น
เลี้ยงไส้เดือน 4. อาหารของไส้เดือน - ขี้วัวนม 5. ประโยชน์ของปุ๋ยไส้เดือน - ปุ๋ยที่ได้มีธาตุอาหารครบถ้วน - น�ำไปเพาะปลูกได้กับพืชทุกชนิด - สร้างรายได้ให้กับครอบครัว
1. ไก่บ้านดงเย็น - ชาวบ้านเลี้ยงไก่โดยใส่ใจต่ออารมณ์ไก่ โดยให้เขา อยู่กันตามวิถีไก่ สร้างมุ้งเล้าให้พวกเขาอย่างกว้างขวาง มีพื้นที่ให้วิ่งเล่นตามธรรมชาติ ไก่จึงอ้วนพี อารมณ์ดี ไข่ฟองใหญ่ นักท่องเที่ยวสามารถเล่นกับไก่ได้ จับได้ ลูบได้ อุ้มได้ และให้อาหารเขาได้ - มูลไก่ไม่มีกลิ่นเหม็น ไก่แข็งแรงไม่เป็นโรค เนื่องจาก ทานผักที่ชุมชนเพาะปลูกเองโดยไม่ใช้สารเคมี - ไก่มักจะออกไข่ในที่เดิม หรือตะกร้าใบเดิม เวลาไก่ จะออกไข่จะส่งเสียงร้องว่า “อ้อก...”
2. อาหารไก่บ้านดงเย็น - ไก่ทานพืชผักสวนครัว ที่ชาวบ้านเพาะปลูกแบบ ไม่ใช้สารเคมี ได้แก่ ผักวอเตอร์เครส หยวกกล้วย ผักป่อง ข้าวโพด ร�ำ และผักทั่วไป
3. ไข่ไก่บ้านดงเย็น* - ไข่ไก่ฟองโตและสดใหม่ - ไข่ไก่เมื่อน�ำมาประกอบอาหาร มีสีเหลืองนวลเหมือนสีขมิ้น ชุมชนบ้านดงเย็น
93
MINDMAP ชุมชนบ้านดงเย็น
ปลาดุก บ่อซีเมนต์
1. ความเป็นมา บ้านดงเย็นแทบทุกหลังคาเรือนปลูกพืชผัก สามัญประจ�ำบ้านและผักสวนครัวไว้รอบๆ บริเวณบ้านโดยไม่ใช้สารเคมี เพื่อการดูแล ที่ง่ายขึ้นและห่างไกลจากการใช้สารเคมี ถือเป็น “หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์” อย่างสมบูรณ์แบบ
3. วิธีการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ - ลูกปลาที่น�ำมาเลี้ยงควรมีความยาวประมาณ 5-7 ซม. ประมาณ 80-100 ตัว - บ่อซีเมนต์กลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร ลึก 40 ซม. - ใส่เกลือแกงประมาณ 2-3 ช้อนแกงเพื่อช่วยปรับสภาพน�้ำ - ระดับน�้ำที่ปล่อยปลาครั้งแรก
1. ความเป็นมา การเริ่มเลี้ยงปลาดุกของชุมชนดงเย็น เริ่มมาจากโครงการของ อพท. ในปี พ.ศ. 2560 ที่มุ่งสร้างอาชีพ ให้กับสมาชิกในชุมชน เพื่อให้ เกิดการต่อยอดการท่องเที่ยว และเกิดรายได้ให้กับสมาชิกชุมชน
4. อาหารของปลาดุก - อาหารสด เช่น เศษปลา ไส้ไก่ ปลวก โครงไก่ ควรให้อาหารวันละประมาณ 2 ครั้ง ในช่วง เช้า-เย็น - อาหารส�ำเร็จรูปชนิดเม็ดลอยน�้ำ 2. ประโยชน์การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ - ใช้พื้นที่ในการเลี้ยงน้อย - ปลาดุกเป็นปลาที่อดทนต่อสภาพน�้ำได้ดี - ใช้เวลาเลี้ยงสั้น รุ่นละประมาณ 90-120 วัน - ดูแลรักษาง่าย - น�ำมาบริโภคในครัวเรือนและส่วนที่เหลือ น�ำไปจ�ำหน่ายได้ ตลาดมีความต้องการและราคาดี - น�้ำจากการเลี้ยงปลาสามารถต่อท่อส่งไปยังแปลงผัก ท�ำสวนผักรอบบ่อปลา 2. ศึกษาหาความรู้ เกษตรอินทรีย์ - สร้างเครือข่าย - เพิ่มเติมความรู้ - ศึกษาดูงาน - กลับมาพัฒนาพื้นที่ ของตนเอง
94 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ผักปลอดสาร
2. พืชและผักบ้านดงเย็น ดอกอัญชัน มะเขือ น้อยหน่า มะละกอ คะน้า ต้นหอม พริก มะนาว 3. ประโยชน์ของผักปลอดสาร กะเพรา โหระพา วอเตอร์เครส - พืชผักสวนครัวปลูกเอง กินเอง ท�ำให้ได้ผักที่สดใหม่ ดอกชมจันทร์ และถั่วฝักยาว และปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ - ท�ำเป็นรั้วบ้านได้ คือ ปลูกล้อมกั้นเป็นเขตของบ้าน ซึ่งเป็นที่มาของค�ำว่า “ผักสวนครัว รั้วกินได้” 1. ความเป็นมา - สามารถน�ำผักไปขายเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว - เติบโตมากับครอบครัวที่พ่อและแม่ ประกอบอาชีพท�ำนา - เข้าไปท�ำงานที่กรุงเทพฯ ไปเป็นสาวโรงงาน - คิดถึงบ้านและอยากกลับ ไปดูแลพ่อแม่ที่บ้าน - กลับมาท�ำนา ท�ำโรงสีข้าว เป็นเกษตรกรเต็มตัว
คัดข้าวด้วยหวี 3. การท�ำนา - นาปี: ข้าวหอมมะลิแดง ข้าวหอมมะลิขาว - นาปรัง: ข้าวหอมปทุม ข้าวไรซ์เบอรี่ ข้าว กข 43
4. แปรรูป - ข้าวกล้อง - ข้าวซ้อมมือ - น�้ำข้าวกล้อง - ข้าวหมาก - ขนม
5. กิจกรรมการเรียนรู้* - ฝัดข้าว - แยกข้าวด้วยหวี ชุมชนบ้านดงเย็น
95
MINDMAP ชุมชนบ้านดงเย็น
1. ความเป็นมา - การเพิ่มมูลค่าข้าวกล้อง - การท�ำข้าวชง - ผลิตภัณฑ์แปรรูป
ขนมครก โบราณ 3. วิธีการท�ำขนมครก - อุปกรณ์การท�ำขนมครก ได้แก่ เครื่องโม่ เบ้าขนมครก เตาถ่าน หม้อดิน เปลือกมะพร้าวเช็ดหลุม กระบวยหยอด ช้อนแคะ จานสังกะสี ฝาหม้อ ฝารมี (ฝาปิดหม้อดิน) - ส่วนผสม ได้แก่ ข้าวเหนียวแช่ ข้าวสุก กะทิ เกลือ น�้ำตาลทราย ต้นหอม น�้ำมันพืช - ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ • การแช่ข้าวตระกูลข้าวกล้องผสมข้าวสุก • การคั้นมะพร้าว • กระต่ายขูดมะพร้าว - วิธีการท�ำ • แคะขนมครก (การเผาเบ้า) - สูตรโบราณของบ้านดงเย็น รูปแบบและรสชาติที่แตกต่าง เสิร์ฟบนฝารมีที่วางใบตอง ด้านบน - อรรถรสการกินขนมครก
96 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
2. การท�ำขนมครกโบราณ - ท�ำไมถึงเป็นขนมครก - การใช้เครื่องโม่โบราณ อายุกว่า 80 ปี ใช้ท�ำขนมของชาวลาวครั่ง ได้แก่ ขนมแปร ขนมดากกระทะ (ขนมดาดกระทะ) - การปลูกต้นหอม มะพร้าวเองในชุมชน
1. ความเป็นมา - ข้าวหมากคือขนมหวานพื้นบ้าน ท�ำจากข้าวเหนียวนึ่งหมักกับราและ ยีสต์ในรูปของแป้ง เพื่อให้เปลี่ยนเป็น น�้ำตาลหรือแอลกอฮอล์เล็กน้อย - ท�ำไมถึงท�ำข้าวหมาก (ความเป็นมา จากสาโทสู่ข้าวหมาก) - ลูกแป้งข้าวหมาก คือ หัวเชื้อไว้หมัก มีลักษณะเป็นก้อนกลมแห้ง สีขาวนวล เป็นกล้าเชื้อราและยีสต์ผสมสมุนไพร ชะเอมเทศ (ให้ความหวาน) ดีปลี สั่งพิเศษจากเครือข่ายจ.อุดร - ประโยชน์ของข้าวหมาก มีโพรไบโอติก ช่วยการท�ำงานของล�ำไส้ มีสาร ต้านอนุมูลอิสระ บ�ำรุงกระดูกและ เลือด เป็นต้น - ข้าวหมากใช้บ�ำรุงผิวสู่การเป็นฮอร์โมน บ�ำรุงพืช
2. การท�ำข้าวหมาก - สูตรพิเศษเฉพาะของบ้านดงเย็น ใช้สมุนไพรคือใบหม่อน หรือผลไม้ ตามฤดูกาล เช่น มะม่วงหาวมะนาวโห่ อัญชันมะนาว - การปล่อยไปตามธรรมชาติ โดยน�ำ ข้าวเหนียวที่นึ่งแล้วไปหมักเลย ไม่ล้างน�้ำเอาเมือกออก - ข้าวหมากสมุนไพรบ้านดงเย็น รสชาติหวาน นุ่ม เคี้ยวกรุบๆ หนึบๆ หอมและฉ�่ำน�้ำ
ข้าวหมาก สมุนไพร
3. วิธีการท�ำข้าวหมาก - วัตถุดิบและอุปกรณ์ • ลูกแป้ง - วิธีท�ำ • การแช่ข้าวเหนียว นึ่ง ผึ่ง ต้มน�้ำชาใบหม่อน • ระยะเวลาการท�ำ • หลักคิดการท�ำงานในชีวิตกับ การท�ำข้าวหมาก
4. การท�ำตลาด - การจัดจ�ำหน่ายและการสั่งซื้อ - แนวทางการพัฒนาสินค้าสายข้าว - ยึดมั่นแนวคิด “ของดี สุขภาพดี ส่งต่อความหวังดี จากบ้านดงเย็น” ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกิจกรรมต่างๆ
ชุมชนบ้านดงเย็น
97
ค�ำศัพท์
ภาษาอังกฤษ ชุมชนบ้านดงเย็น
ชุมชนบ้านดงเย็น
1) วิสาหกิจชุมชน 2) เศรษฐกิจพอเพียง 3) พึ่งพาตนเอง 4) วนเกษตร 5) การปลูกพืชแบบผสมผสาน 6) การเกษตรแบบพึ่งพาตนเอง 7) ทางสายกลาง 8) กฎระเบียบของชุมชน 9) ต้นอ่อนทานตะวัน 10) แปลงสาธิตปลูกผักในตะกร้า 11) ผักอินทรีย์
98 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
Baan Dong Yen Community
Small and Micro Community Enterprise (SMCE) Sufficiency Economy Self-reliance Agroforestry Mixed cropping Self sufficient agriculture The Middle Path Community regulations Sunflower Sprout Demonstration of growing vegetables in basket Chemical-free vegetables
12) ผักสวนครัว 13) เห็ดสายพันธุ์ฮังการีสีด�ำ 14) ผักสลัดน�้ำ หรือ วอเตอร์เครส 15) ไส้เดือน 16) มูลไส้เดือน 17) แม่ไก่ 18) ปลาดุก 19) เต้าหู้ 20) น�้ำเต้าหู้ 21) พิมพ์เต้าหู้ 22) ขนมครก 23) ข้าวหมากสมุนไพร 24) ข้าวกล้อง 25) ข้าวหอมมะลิ 26) บ่อเลี้ยงปลา 27) ไข่ไก่อารมณ์ดี
Vegetable Garden Black Hungarian mushroom Watercress Earthworm Vermicompost Hen Catfish Tofu Soybean Milk Tofu Mold Coconut-rice pancake (Kanom krok) Thai herb sweet fermented rice (Khow Mak) Brown Rice Thai jasmine rice Fish pond Eggs from happy cage-free hens
ชุมชนบ้านดงเย็น
99
เรื่องนี้ ต้องขยาย ชุมชนบ้านดงเย็น
ฐานต้อนรับ • ประวัติของชุมชน “บ้านดงเย็น” อ�ำเภออูท่ อง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นหมู่บ้านของชาวลาวครั่งที่อาศัยอยู่เ ป็ น จ� ำ นวนมาก สมาชิ ก ในชุ ม ชนส่ ว นใหญ่ ประกอบอาชีพท�ำนา ท�ำไร่ ปลูกผักปลอดสารพิษ โดยใช้แนวคิดแบบเกษตรอินทรีย์ เดินตามรอย พระบาทเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จากนั้น ทางองค์ ก ารบริ ห ารการพั ฒ นาพื้ น ที่ พิ เ ศษ เพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (อพท.) ได้เล็งเห็น ศักยภาพของชุมชนจึงได้สนับสนุนและสร้าง องค์ความรู้ให้สมาชิกในชุมชนจนกลายเป็น ชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์ และมีการ จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนดงเย็นเพื่อนพึ่งภาฯ เป็นเครือข่ายการปลูกพืชผลทางการเกษตร โดยไม่ใช้สารเคมี ใช้นำ�้ หมักตามธรรมชาติ มีทงั้ ผักสดและผลไม้ ซึง่ เป็นการเกษตรแบบพึง่ ตนเอง 100 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
จึงท�ำให้บ้านดงเย็นสามารถมีพืชผักบริโภคกัน ตลอดทั้งปี ในอดีตชาวบ้านท�ำไร่นา ปลูกผัก บางรายรับจ้าง และค้าขาย ผักผลไม้ทปี่ ลูกส่วนใหญ่ใช้สารเคมี ได้สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพ ประธานกลุม่ วิสาหกิจ วนเกษตรดงเย็นได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงมีแนวคิดที่จะปรับเปลี่ยนชาวบ้านให้หันมา ปลูกผักในรูปแบบเกษตรอินทรีย์ โดยแรกเริ่ม ตั้งกลุ่มวิสาหกิจวนเกษตรดงเย็น มีสมาชิก จ�ำนวน 12 คน เน้นท�ำเกษตรปลูกผักอินทรีย์ ปลอดสารพิษ โดยน�ำผลผลิตออกไปขายตาม หมูบ่ า้ น ตลาด และออกร้านขายผักร่วมกับ อพท. ต่อมาปลายปี 2557 อพท. ได้มอบโอกาสให้ ประธานกลุม่ วิสาหกิจเข้ารับการอบรมทีส่ ถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โดยมีการ
ศึกษาดูงานที่หมู่บ้านคีรีวงศ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช เมือ่ กลับมายังบ้านดงเย็น ได้พดู คุยกับ ชาวบ้ า นเกี่ ย วกั บ การขั บ เคลื่ อ นงานเกษตร ปลอดสารพิษแบบพึ่งพาตนเอง จึงเกิดเป็น “วิสาหกิจวนเกษตรดงเย็น”
ฐานปลูกผัก ในตะกร้า
• กว่าจะเป็นบ้านดงเย็นวันนี้ - ผู้น�ำเห็นต่าง - ป้ายบอกทางน้อย - ที่จอดรถจ�ำนวนจ�ำกัด - สภาพอากาศร้อน • ฐานกิจกรรม - ฐานปลูกผัก - ฐานเพาะเห็ด - ฐานท�ำเต้าหู้ - ฐานเลี้ยงไส้เดือน - ฐานคัดข้าว - ฐานเลี้ยงปลาดุก - ฐานเพาะต้นอ่อนทานตะวัน - ฐานไก่ไข่อารมณ์ดี - ฐานปลูกต้นไม้ - ฐานบ้านข้าว - ฐานปลูกผักสวนครัว • การบริหารจัดการกลุ่ม ปัจจุบันมีการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ มีสมาชิก จ�ำนวน 20 คน และมีเงินหมุนเวียนจ�ำนวน 100,000 บาท ในกลุ่ม
• ความเป็นมา ที่ ฐ านกิ จ กรรมการเพาะผั ก ในตะกร้ า นักท่องเทีย่ วสามารถเรียนรูข้ นั้ ตอนการเพาะผัก และลงมือทดลองเพาะผักในตะกร้า ซึง่ ดูแลง่าย ใช้น�้ำน้อย ไม่จ�ำเป็นต้องมีพื้นที่เยอะ และผัก เติบโตไว โดยผักทีช่ มุ ชนเลือกเพาะปลูกนัน้ ได้แก่ ผักกาด ผักบุ้ง ผักชี และผักวอเตอร์เครส • วิธีการปลูก 1. น�ำดิน กาบมะพร้าว ขี้เถ้า ร�ำ และแกลบ ผสมกับดิน 2. ใส่เมล็ดพันธุ์ที่ต้องการเพาะปลูก 3. น�ำฟางมากลบหน้าดิน และรดน�้ำ • ตามติดชีวิตผัก 1. น�ำผักไปประกอบอาหาร เช่น ผัดผัก ย�ำวอเตอร์เครส ผักลวก 2. น�ำผักไปขาย สร้างรายได้ในครัวเรือน 3. น�ำผักไปเป็นอาหารไก่ • ประโยชน์ของผัก 1. วอเตอร์เครส ต้านมะเร็ง 2. ต้นชมจันทร์ เป็นยาระบาย 3. ผักบุ้ง บ�ำรุงสายตา
ชุมชนบ้านดงเย็น
101
เรื่องนี้ ต้องขยาย ชุมชนบ้านดงเย็น
ฐาน โรงเพาะเห็ด • ความเป็นมา • พันธุ์เห็ด - เห็ดฮังการีสีด�ำ ติดตลาด ราคาดี แปลกใหม่ - เห็ดหูหนู ดูแลง่าย ขายดี • การเพาะพันธุ์เห็ด 1. เตรียมก้อนเชื้อเห็ด ไม่มีเชื้อรา สมบูรณ์ ก้อนเต็มสวย 2. โรยขุ่นขาวในโรงเรือน น�ำก้อนเห็ดมาวาง ซ้อนกันสามแถว 3. รอให้เชือ้ เดินประมาณครึง่ เดือน เปิดจุกเห็ด ให้เห็ดเติบโต 4. รดน�้ำ เช้า เย็น หากอากาศร้อนจ�ำเป็นต้อง รดน�้ำ 3 รอบ รอเห็ดออกดอก ตัดจ�ำหน่าย สร้างก�ำไรภายใน 10 วัน • เมนูเห็ด เห็ด 1. เห็ดชุบแป้งทอด 5. เห็ดสวรรค์ 2. เห็ดต้มเค็ม 6. แหนมเห็ด 3. เห็ดย่าง 7. น�้ำเห็ด 4. เห็ดผัดน�้ำมันหอย 8. ต้มย�ำเห็ด
102 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ฐานเพาะ ต้นอ่อน ทานตะวัน
ฐานเต้าหู้ก้อน ดงเย็น • ความโดดเด่น ฐานกิจกรรมเต้าหูแ้ ผ่นบ้านดงเย็น นักท่องเทีย่ ว จะได้เรียนรู้วิธีการท�ำเต้าหู้แผ่นจากถั่วเหลือง ที่ มี เ อกลั ก ษณ์ เ ฉพาะของบ้ า นดงเย็ น เป็ น กรรมวิธกี ารผลิตเต้าหูท้ ไี่ ด้รบั การวิจยั มาแล้วว่า สด สะอาด ปลอดสารพิษ วัตถุดิบที่น�ำมาผลิต มีคุณภาพ ไม่ผสมแป้ง และไม่ใส่ส ารกั น เสี ย ในฐานกิจกรรมนี้นักท่องเที่ยวสามารถทดลอง ท�ำเต้าหูไ้ ด้ดว้ ยตัวเอง ทัง้ นีน้ กั ท่องเทีย่ วจะต้อง มาในช่วงเช้าซึ่งเป็นเวลาที่ชาวบ้านก�ำลังผลิต เต้าหู้ก้อนเท่านั้น
• ความเป็นมา ฐานกิ จ กรรมเพาะต้ น อ่ อ นทานตะวั น เป็ น กิจกรรมแรกของชุมชน โดยได้รบั การสนับสนุน จาก อพท. ในปี พ.ศ. 2557 และทางชุมชน ยังคงสานต่อจนถึงปัจจุบัน โดยฐานกิจกรรม เพาะต้นอ่อนทานตะวันเป็นฐานทีใ่ ห้นกั ท่องเทีย่ ว ได้ลงมือเพาะต้นอ่อนทานตะวันด้วยตัวเอง • ขั้นตอนการปลูก 1. น� ำ ดิ น ขุ ย มะพร้ า วและแกลบด� ำ มาผสม • ขั้นตอนการผลิตเต้าหู้ก้อน เข้าด้วยกัน 1. แช่ถั่วเหลืองในน�้ำประมาณ 21 ชั่วโมง 2. ล้างถั่วเหลืองที่แช่แล้วน�ำมาโม่ด้วยเครื่อง 2. น� ำ ดิ น ที่ ผ สมแล้ ว ลงตะกร้ า และน�ำ เมล็ ด ทานตะวันที่ผ่านการแช่น�้ำมาแล้ว 1 คืน 3. แยกน�้ำและกากถั่วเหลือง 4. น�ำน�้ำเต้าหู้ไปต้ม 1 ชั่วโมง และน�ำลงมา ใส่ลงไปในดิน 3. ใช้เวลาในการเพาะเพียง 8 วัน ก็สามารถ พัก 1-2 ชั่วโมง 5. น�ำดีเกลือมาผสม รอสักพัก น�ำ้ และเนือ้ เต้าหู้ ท�ำการตัดได้ นอกจากนี้ยังสามารถปลูกได้ ตลอดทัง้ ปี หลังจากการตัดต้นอ่อนทานตะวัน จะแยกออกจากกัน 6. รี บ เทน�้ ำ ใส่ บ ล็ อ คที่ ร องด้ ว ยผ้ า ขาวบาง แล้วชาวบ้านจะน�ำดินทีเ่ หลือไปปลูกผักอืน่ ๆ ต่อไป กดปิดฝาให้แน่น ได้เต้าหู้ก้อน • ลักษณะโดดเด่นของเต้าหู้บ้านดงเย็น - เต้าหู้ที่บ้านดงเย็นใช้ถั่วเหลืองไม่ผสมแป้ง - รสชาติที่เข้มข้นจากวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ชุมชนบ้านดงเย็น
103
เรื่องนี้ ต้องขยาย ชุมชนบ้านดงเย็น
ฐานเลี้ยง ไส้เดือน • ความเป็นมา ชุมชนบ้านดงเย็นมีการเลีย้ งไส้เดือนเพือ่ ท�ำปุย๋ ใช้ในการเกษตรที่มีอยู่ทั่วไปในชุมชน เพื่อให้ ได้ผลผลิตที่งอกงามและปลอดสารพิษ ซึ่งใน ฐานกิจกรรม นักท่องเทีย่ วสามารถเรียนรูว้ ธิ กี าร เลีย้ งไส้เดือน รวมทัง้ ได้ลงมือทดลองเลีย้ งไส้เดือน โดยอุปกรณ์ที่ใช้ในการเลี้ยงมีเพียง 2 อย่างคือ ขี้วัวนมและกะละมัง • กระบวนการเลี้ยงไส้เดือน 1. น�ำขี้วัวนมใส่ลงไปในกะละมัง 2. น� ำ ไส้ เ ดื อ นใส่ ล งไปในกะละมั ง ประมาณ 2 ขีด ต่อ 1 กะละมัง 3. รดน�ำ้ ตอนเช้าใส่กะละมังให้ชมุ่ พอประมาณ ติดต่อกัน 3 วัน 4. ภายใน 1 อาทิ ต ย์ จะได้ ปุ ๋ ย ไส้ เ ดื อ น กะละมังละ 1-2 กิโลกรัม • ประโยชน์ของปุ๋ยไส้เดือน 1. ปุ๋ยที่ได้มีธาตุอาหารครบถ้วน 2. น�ำไปเพาะปลูกได้กับพืชทุกชนิด 3. สร้างรายได้ให้กับครอบครัว
104 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ฐานไก่ บ้านดงเย็น • ไก่บ้านดงเย็น 1. ชาวบ้านเลี้ยงไก่ ใส่ใจต่ออารมณ์ไก่ โดยให้ อยู่กันตามวิถีไก่ มีการสร้างมุ้งเล้าให้ไก่ อย่างกว้างขวาง มีพนื้ ทีใ่ ห้วงิ่ เล่นตามธรรมชาติ ไก่ จึ ง อ้ ว นพี อารมณ์ ดี ไข่ ฟ องใหญ่ ซึ่ ง นักท่องเที่ยวสามารถเล่นกับไก่ได้ สัมผัส และอุ้มได้ รวมทั้งให้อาหารไก่ได้ 2. มูลไก่ไม่มกี ลิน่ เหม็น และแข็งแรงไม่เป็นโรค เนื่ อ งจากทานผั ก ที่ ชุ ม ชนเพาะปลู ก เอง โดยไม่ใช้สารเคมี 3. ไก่มักจะออกไข่ในที่เดิม หรือตะกร้าใบเดิม เวลาไก่จะออกไข่จะส่งเสียงร้องว่า “อ้อก...” • อาหารไก่บ้านดงเย็น อาหารของไก่บ้านดงเย็นคือ พืชผักสวนครัวที่ ชาวบ้านเพาะปลูกแบบไม่ใช้สารเคมี ได้แก่ ผักวอเตอร์เครส หยวกกล้วย ผักป่อง ข้าวโพด ร�ำ และผักทั่วไป • ไข่ไก่บ้านดงเย็น 1. ไข่ไก่ฟองโตและสดใหม่ 2. ไข่ไก่เมื่อน�ำมาประกอบอาหารมีสีเหลือง นวลเหมือนสีขมิ้น
ฐานปลาดุก บ่อซีเมนต์ • ความเป็นมา การเริ่ ม เลี้ ย งปลาดุ ก ของชุ ม ชนดงเย็ น เริม่ มาจากโครงการของ อพท. ในปี พ.ศ. 2560 ที่มุ่งสร้างอาชีพให้กับสมาชิกในชุมชน เพื่อให้ เกิดการต่อยอดทางการท่องเทีย่ วและสร้างรายได้ เพิ่มให้กับคนในชุมชน ในฐานนี้นักท่องเที่ยว สามารถเรียนรูค้ วามเป็นมาในการเลีย้ งปลาดุก ในบ่อปูนซีเมนต์ โดยมีการปลูกพืชผักไว้รอบๆ บ่อ มี ก ารเปลี่ ย นน�้ ำ ในทุ ก สั ป ดาห์ เ พื่ อ รั ก ษา คุณภาพน�้ำ และน�ำน�้ำที่ถูกถ่ายมารดพืชผักที่ ปลูกอยู่รอบๆ บ่อ
• ประโยชน์การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ 1. ใช้พื้นที่ในการเลี้ยงน้อย 2. ใช้เวลาเลีย้ งไม่นาน รุน่ ละประมาณ 90-120 วัน 3. เลี้ยงและดูแลง่าย 4. น�ำมาบริโภคในครัวเรือนและส่วนที่เหลือ น� ำ ไปจ� ำ หน่ า ยได้ ตลาดมี ค วามต้ อ งการ และให้ราคาดี 5. น�ำ้ จากการเลีย้ งปลาต่อท่อส่งไปยังแปลงผัก ท�ำสวนผักรอบบ่อปลา • วิธีการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ 1. ลู ก ปลาที่ น� ำ มาเลี้ ย งควรมี ค วามยาว ประมาณ 5-7 ซม. ประมาณ 80-100 ตัว 2. บ่อซีเมนต์กลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร ลึก 40 ซม. 3. ใส่ เ กลื อ แกงประมาณ 2-3 ช้ อ นแกง เพื่อช่วยปรับสภาพน�้ำ 4. ระดับน�้ำที่ปล่อยปลาครั้งแรก 10-15 ซม. • อาหารของปลาดุก 1. อาหารสด เช่ น เศษปลา ไส้ ไ ก่ ปลวก โครงไก่ ควรให้อาหารวันละประมาณ 2 ครัง้ ในช่วงเช้า-เย็น 2. อาหารส�ำเร็จรูปชนิดเม็ดลอยน�้ำ
ชุมชนบ้านดงเย็น
105
เรื่องนี้ ต้องขยาย ชุมชนบ้านดงเย็น
ฐานผัก ปลอดสาร • ความเป็นมา ที่บ้านดงเย็นแทบทุกหลังคาเรือนมีการปลูก พื ช ผั ก สามั ญ ประจ� ำ บ้ า นและผั ก สวนครั ว ไว้รอบๆ บริเวณบ้าน โดยไม่ใช้สารเคมี เพือ่ ดูแลง่ายขึ้นและห่างไกลจากการใช้สารเคมี ถือว่าเป็น “หมูบ่ า้ นเกษตรอินทรีย”์ อย่างสมบูรณ์ • พืชและผักบ้านดงเย็น ดอกอัญชัน มะเขือ น้อยหน่า มะละกอ คะน้า ต้ น หอม พริ ก มะนาว กะเพรา โหระพา วอเตอร์เครส ดอกชมจันทร์ และถั่วฝักยาว
106 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ฐานคัดข้าว ด้วยหวี
• ประโยชน์ของผักปลอดสาร 1. พืชผักสวนครัวปลูกเอง กินเอง ท�ำให้ได้ ผักทีส่ ดใหม่และปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ 2. ท�ำเป็นรั้วบ้านได้ คือ ปลูกล้อมกั้นเป็นเขต ของบ้าน ซึง่ เป็นทีม่ าของค�ำว่า “ผักสวนครัว รั้วกินได้” 3. สามารถน�ำไปขาย เพิม่ รายได้ให้แก่ครอบครัว
• กิจกรรมการเรียนรู้ ฐานกิจกรรมคัดข้าวทุกเม็ดด้วยมือ นักท่องเทีย่ ว สามารถเรี ย นรู ้ แ ละลงมื อ ทดลองคั ด ข้ า ว แบบโบราณเพื่ อ ให้ ไ ด้ ข ้ า วสารที่ มี คุ ณ ภาพ ทั้งขนาดเม็ดและความสมบูรณ์ของเม็ดข้าว อันเป็นกรรมวิธีที่สืบทอดกันมาตั้งแต่ในอดีต และชุมชนดงเย็นก็ยังอนุรักษ์กรรมวิธีคัดข้าว มาถึงทุกวันนี้
• ความเป็นมา คุณปิ่นเติบโตมากับครอบครัวที่พ่อแม่ ประกอบอาชีพท�ำนา เมือ่ โตขึน้ ได้เข้าไปท�ำงานเป็นสาวโรงงาน ที่กรุงเทพฯ มีความคิดถึงบ้าน และอยากกลับไปดูแลพ่อแม่ ที่มีอายุมากขึ้น จึงกลับมา สานต่ออาชีพเดิมของ พ่อแม่ คือ การท� ำ นา และท� ำ โรงสีี ข ้ าวเป็น เกษตรกรอย่างเต็มตัว • การท�ำนา - นาปี: ข้าวหอมมะลิแดง ข้าวหอมมะลิขาว - นาปรั ง : ข้ า วหอมปทุม ข้ า วไรซ์ เ บอรี่ ข้าว กข 43 • ข้าวที่ได้จากการท�ำนาสามารถ น�ำมาแปรรูป ข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ น�ำ้ ข้าวกล้อง ข้าวหมาก ขนมจากข้าว
ชุมชนบ้านดงเย็น
107
เรื่องนี้ ต้องขยาย ชุมชนบ้านดงเย็น
ฐานกิจกรรมท�ำ ขนมครกโบราณ • ความเป็นมา พศ. 2562 อพท.พาไปชุมชนบ้านกาแฟ จ.ระนอง เรียนรูก้ ารเพิม่ มูลค่าให้กาแฟ จึงน�ำแนวคิดนัน้ มาต่อยอดกับผลิตภัณฑ์ขา้ วของชุมชน จากเดิม ขายปลายข้าวเป็นอาหารไก่ได้กก.ละ 10 บาท มาบดเป็นแป้งข้าว ท�ำข้าวชง แปรรูปเป็นสินค้า เพือ่ สุขภาพ ได้กก.ละ 100 บาท และมีกจิ กรรม ต่างๆ จากข้าวให้นกั ท่องเทีย่ วได้เรียนรู้ • การท�ำขนมครกโบราณ - เป็นขนมในวัยเด็กทีช่ อบท�ำทานในครอบครัว - ใช้โม่โบราณอายุกว่า 80 ปี ท�ำขนมต่างๆของ ชาวลาวครั่ง เช่น ขนมแปร ขนมดาดกระทะ - วัตถุดิบปลูกเอง เช่น ข้าว ต้นหอม มะพร้าว • วิธีการท�ำขนมครกโบราณ - อุปกรณ์ เครื่องโม่ เบ้าขนมครก เตาถ่าน หม้อดิน เปลื อ กมะพร้ า วเช็ ด หลุ ม กระบวยหยอด ช้อนแคะ จานสังกะสี ฝาหม้อ ฝารมี (ฝาปิด หม้อดิน) - ส่วนผสม 1. ข้าวหอมมะลิแดง ½ กิโลกรัม 2. ข้าวขาวหุงสุก (ไม่ใช้ยีสต์) 3. เกลือ 1 ช้อนชา 4. น�้ำตาลทราย 5 ช้อนโต๊ะ 5. น�้ำกะทิ (หัวกะทิ/หางกะทิ) 6. น�้ำมันพืชและต้นหอมซอย 108 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
- ขั้นตอนการเตรียมวัตถุดิบ 1. แช่ข้าวหอมมะลิแดงผสมข้าวขาวหุงสุก กับน�้ำ ทิ้งไว้ 5-6 ชั่วโมง 2. น� ำไปโม่ ในเครื่ อ งโม่ หลายรอบจนข้า ว ละเอียด มีกลิ่นหอมของข้าวออกมา 3. ใช้กระต่ายขูดมะพร้าวขูดและคัน้ มะพร้าว ให้ได้หัวกะทิและหางกะทิ 4. น�ำหัวกะทิผสมต้นหอมซอย ไว้โรยหน้า ขนมครก น�ำหางกะทิผสมข้าวทีโ่ ม่เป็นน�ำ้ แล้วจนใส ผสมเกลือและน�้ำตาลทราย ไว้ ท�ำตัวขนมครก - วิธีการท�ำ 1. ทาน�้ำมันพืชที่เบ้าขนมครกด้วยเปลือก มะพร้าวเช็ดหลุมให้เบ้าร้อน (การเผาเบ้า) 2. เช็ดน�้ำมันแรกออก ทาซ�้ำใหม่ ใช้ไฟอ่อน 3. หยอดตัวขนมครกที่ผสมไว้ลงในเบ้าให้ เหลือด้านบนเล็กน้อย (คนก่อนหยอด) 4. หยอดหน้าด้วยหัวกะทิ ปิดฝาให้สุก 5. เมื่อสุกแล้ว ใช้ช้อนสั้นแคะออกจากหลุม เสิร์ฟบนฝารมีที่วางใบตองด้านบน - ขนมครกโบราณบ้านดงเย็น 1. ใช้ขา้ วขาวหุงสุกเป็นส่วนผสมก่อนโม่เพือ่ ให้กรอบนอก นุม่ ในได้เนือ้ สัมผัสของข้าว 2. สูตรโบราณโรยหน้าด้วยต้นหอมซอยและ กะทิสดใหม่ ขูดคั้นเอง 3. หวาน มัน เค็ม มีกลิ่นหอม จากเตาถ่าน
ฐานกิจกรรม
ข้าวหมากสมุนไพร
3. ใบหม่อน (ต้มเป็นน�้ำชา กรองให้สะอาด) 4. ภาชนะใช้หมัก (ลวกน�้ำร้อนฆ่าเชื้อก่อน) 5. ตะแกรงร่อนและไม้พาย - ลูกแป้ง คือหัวเชือ้ ไว้หมัก มีสขี าวนวล กลมแห้ง เป็นกล้าเชือ้ ราและยีสต์ผสมชะเอมเทศ ดีปลี - วิธีท�ำ 1. ซาวเมล็ดข้าวเหนียวให้สะอาด น�ำไปนึ่ง 2. ผึ่งข้าวเหนียวนึ่งสุกให้เย็นในภาชนะที่ใช้ หมัก ไม่ต้องล้างน�้ำทิ้งก่อน 3. ใช้ตะแกรงร่อนผงลูกแป้งให้ทั่ว 4. ใช้ไม้พายคนข้าวเหนียวกลับไปมา 5. ร่อนผงลูกแป้งอีกครั้งแล้วใช้ไม้พายกลับ ข้าวไปมา 4-5 รอบ 6. เทน�้ำชาใบหม่อนพอขลุกขลิก ไม่เช่นนั้น จะเปรี้ยวเกิน เกลี่ยหน้าข้าวให้เรียบ 7. ก่อนปิดฝากล่อง น�ำหลักคิดการท�ำงานใน ชีวิตมาใช้กับการท�ำข้าวหมากโดยวางใบ หม่อนบนหน้าข้าว 5 ใบ อธิษฐานขอพร พระแม่โพสพ ใบแรกเพือ่ ท�ำบุญ ใบทีส่ อง เพือ่ ท�ำทาน ใบทีส่ ามเพือ่ ท�ำกิน ใบทีส่ เี่ พือ่ ท�ำเก็บ และใบที่ห้าเพื่อท�ำขาย 8. หมักไว้ 3 คืน 4 วันที่อุณหภูมิห้อง ห้าม เปิดฝา ถ้าจุลนิ ทรียเ์ ดินแล้วเนือ้ ข้าวจะนิม่ เอง เก็บได้หลายวันโดยแช่ตู้เย็น
• ความเป็นมา - ข้าวหมาก คือข้าวเหนียวนึง่ หมักราและยีสต์ ในรูปของแป้ง เพื่อเปลี่ยนเป็นน�้ำตาลหรือ แอลกอฮอล์ ข้าวจะนุ่ม หวาน มีกลิ่นหอม - ต่อยอดภูมปิ ญ ั ญาการท�ำสาโทของพ่อในอดีต - ประโยชน์ของข้าวหมาก 1. กระบวนการหมักจะได้จุลินทรีย์ดีหรือ โพรไบโอติก ช่วยการท�ำงานของล�ำไส้ 2. บ�ำบัดโรคหัวใจ ความดันสูง ภูมิแพ้ บ�ำรุง ธาตุ มีสารต้านอนุมูลอิสระ บ�ำรุงเลือด 3. ไอน�้ำที่ฝาถ้วย ทาหน้าช่วยบ�ำรุงผิว 4. เนื้อข้าวหมากที่คั้นเอาน�้ำออกแล้วเป็น กากน�ำไปผสมน�ำ้ ใช้เป็นฮอร์โมนบ�ำรุงพืช • การท�ำข้าวหมาก - สูตรเฉพาะบ้านดงเย็นใช้สมุนไพรหลักคือ ใบหม่อน (ความฝาดจากชาใบหม่อนช่วย ถนอมอาหาร เหมื อ นความฝาดของไม้ มะเกลือย่างในการท�ำสาโท) และผลไม้ตาม ฤดูกาล เช่น มะม่วงหาวมะนาวโห่ อัญชัน มะนาว กระเจี๊ยบ (มีรสเปรี้ยว) - น�ำข้าวเหนียวนึ่งไปหมักเลย ไม่ต้องล้างน�้ำ • การท�ำตลาด เอาเมือกออก ปล่อยไปตามธรรมชาติ - มีรสชาติหวาน นุ่ม เคี้ยวหนึบ หอม ฉ�่ำน�้ำ - ต่อยอดผลิตภัณฑ์จากวัตถุดบิ ในชุมชน สนใจ สั่งซื้อได้ที่บ้านดงเย็น อาทิ น�้ำข้าวหมาก น�้ำ หม่อนโซดามะนาว มะนาวโห่ลอยแก้ว • วิธีการท�ำข้าวหมากสมุนไพร - ชุมชนยึดมั่นและพัฒนาผลิตภัณฑ์รวมถึง - วัตถุดิบและอุปกรณ์ กิจกรรมต่างๆ ด้วยแนวคิด “ของดี สุขภาพดี 1. เมล็ดข้าวเหนียว 2 กิโลกรัม ส่งต่อความหวังดี จากบ้านดงเย็น” 2. ลูกแป้งข้าวหมาก 1 ลูก (ต�ำให้เป็นผง) ชุมชนบ้านดงเย็น
109
ภาษาไทย
อันนี้ท�ำจาก This is made from … ดิส อิส เมด ฟรอม
ภาษาอังกฤษ
ตัวสะกดการออกเสียง
ยินดีต้อนรับสู่ชุมชน... Welcome to + ชื่อชุมชน + community เวลเคิ่ม ทู + ชื่อชุมชน + คอมมิวนิตี้ หรือ เราดีใจที่ได้ต้อนรับคุณสู่ชุมชน ... We are happy to welcome you to + ชื่อชุมชน + community. วี อาร์ แฮปปี้ ทู เวลเคิ่ม ยู ทู + ชื่อชุมชน + คอมมิวนิตี้ เรามี … กิจกรรมในจุดต่างๆ ส�ำหรับคุณ We have + จ�ำนวนกิจกรรม + activities in different locations for you. วี แอฟ + จ�ำนวนกิจกรรม + แอคทิวิตี้ส์ อิน ดิฟเฟรนท์ โลเคชั่นส์ ฟอร์ ยู หรือ วันนี้เราเตรียม ... กิจกรรมสนุกๆ ไว้ให้คุณ Today we prepare + จ�ำนวนกิจกรรม + fun activities for you. ทูเดย์ วี พรีแพร์ + จ�ำนวนกิจกรรม + ฟัน แอคทิวิตี้ส์ ฟอร์ ยู อันแรก เราจะไป ... ต่อจากนั้นเราจะย้ายไป ... สุดท้ายคุณจะไปที่... First, we will go to …. Next, we will move to…. Lastly, you will go to … เฟิร์สท์ วี วิล โก ทู ... เน็กซ์ วี วิล มูฟ ทู... ลาสท์ลี่ ยู วิล โก ทู ...
110 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
.................................................................................................................................................................................
หัวข้อที่ 1 การกล่าวต้อนรับ
นี่คือกิจกรรมแรก คุณจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ This is the first one. You will learn about ... ดิส อิส เดอะ เฟิร์สท์ วัน ยู วิล เลิน อะเบาท์ ... ตอนนี้คุณท�ำกิจกรรมที่หนึ่งเสร็จแล้ว ผม/ฉันจะพาคุณไปจุดที่สอง โปรดตามมา Now you have finished the first activity. I will take you to the second stop. Please follow me. นาว ยู แฮฟ ฟินิชท์ เดอะ เฟิร์สท์ แอคทิวิตี้ ไอ วิล เทค ยู ทู เดอะ เซกั้นด์ สต็อป พลีส ฟอลโล มี ตอนนี้ได้เวลาไปจุดสุดท้ายแล้ว เชิญทางนี้ Now it’s time to move to the last stop. This way please. นาว อิทิส ไทม ทู มูฟ ทู เดอะ ลาสท์ สต็อป ดิส เวย์ พลีส หัวข้อที่ 2 การอธิบายกิจกรรม ในกิจกรรมนี้คุณจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ... In this activity, you will learn about + สิ่งที่จะได้เรียนรู้ในกิจกรรม อิน ดิส แอคทิวิตี้ ยู วิล เลิร์น อะเบาท์ + สิ่งที่จะได้เรียนรู้ในกิจกรรม คุณจะได้เรียนรู้การท�ำ ... You will learn to make + สิ่งที่จะเรียนรู้การท�ำ ยู วิล เลิร์น ทู เมค + สิ่งที่จะเรียนรู้การท�ำ คุณจะได้เรียนรู้การท�ำ ... You will learn to cook + อาหาร ยู วิล เลิร์น ทู คุค + อาหาร
เหล่านี้คือสมุนไพรที่เราใช้ These are the herbs we use. ดีส อาร์ เดอะ เฮิร์บส์ วี ยูส เชิญชิมเครื่องดื่ม นี่คือชามะนาวสมุนไพร Please try this drink. This is lemon herbal tea. พลีส ทราย ดิส ดริ้งค์ ดิส อิส เลม่อน เฮอบัล ที หัวข้อที่ 3 การกล่าวเมื่อจบกิจกรรม ขอบคุณ ขอรับข้อเสนอะแนะ และแนะน� ำชุมชนถัดไป ตอนนี้คุณได้ท�ำกิจกรรมกับเราครบแล้ว หวังว่าคุณได้รับความสนุกสนาน Now you have completed all activities with us. We hope you had a great time. นาว ยู แฮฟ คอมพลีทเท็ด ออล แอคทิวิตี้ส์ วิธ อัส วี โฮป ยู แฮด เออะ เกรท ไทม ขอบคุณที่มาเยี่ยมเยียนเราและร่วมกิจกรรม Thank you for visiting us and joining our activities. แท็งกิ้ว ฟอร์ วิซิตติ้ง อัส แอนด์ จอยนิ่ง อาเวอร์ แอคทิวิตี้ส์ เราอยากรู้ว่าคุณชอบอะไรมากที่สุดในกิจกรรมวันนี้ We would like to know what you like best in today’s activities? วี วู้ด ไลค์ ทู โน ว็อท ยู ไลค์ เบสท์ อิน ทูเดส์ แอคทิวิตี้ส์ คุณชอบอะไรในชุมชนเรา What do you like about our community? ว็อท ดู ยู ไลค์ อิน เอาเวอร์ คอมมิวนิตี้ มีอะไรที่เราควรปรับปรุงไหม
..............................................................................................................................................................................................................................
บท สนทนา Conversation
Is there anything we can improve? อิส แดร์ เอนี่ติง วี แคน อิมพรูฟ คุณมีค�ำแนะน�ำหรือข้อเสนอแนะส�ำหรับชุมชนเราไหม Do you have any comments or suggestions for our community? ดู ยู แฮฟ เอนี่ คอมเม้นต์ส์ ออร์ ซักเจสชั่นส์ ฟอร์ เอาเวอร์ คอมมิวนิตี้ ชุมชนต่อไปคือ ... คุณจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ... The next community is + ชื่อชุมชน. You will learn about + สิ่งที่น่าใจของชุมชนถัดไป. เดอะ เน็กซ์ คอมมิวนิตี้ อิส + ชื่อชุมชน ยู วิล เลิร์น อะเบาท์ + สิ่งที่น่าใจของชุมชนถัดไป
หัวข้อที่ 4 การกล่าวลาเมื่อจบทุกกิจกรรม เราหวังว่าจะได้พบคุณอีก We hope to see you again. วี โฮป ทู ซี ยู อะเกน กลับมาเยี่ยมพวกเราอีกนะ เราหวังว่าจะได้ต้อนรับคุณในอนาคต Please visit us again. We hope to welcome you again in the future. พลีส วิสิต อัส อะเกน วี โฮป ทู เวลเคิ่ม ยู อะเกน อิน เดอะ ฟิวเจอร์ ขอให้เดินทางปลอดภัย Have a safe trip. แฮฟ เออะ เซฟ ทริป
บทสนทนา
111
บท สนทนา Conversation
ยาดมประกอบด้วยสมุนไพรเก้าชนิด Thai Herbal Inhaler consists of nine types of herbs ไทย เฮอร์บัล อินเฮลเลอร์ คอนซิส ออฟ นายน์ ไทป์ส์ ออฟ เฮิร์บส์ กลิ่นของยาดมท�ำให้สดชื่น แก้อาการคลื่นไส้ The aroma of the inhaler is refreshing. It can helps relieve nausea. ดิ อโรมา ออฟ เดอะ อินเฮเลอร์ อิส รีเฟรชชิ่ง อิท แคน เฮลป์ รีลีฟ นอเซีย ยาหม่องบรรเทาปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และสามารถใช้เมื่อมีแมลงกัดต่อย The ointment helps relieve muscle pain and you can also use it for insect bites. ดิ ออยน์เม้นต์ เฮลป์ส์ รีลีฟ มัสเซิล เพน แอนด์ ยู แคน ออลโซ ยูส อิท ฟอร์ อินเซ็คท์ ไบท์ส์
112 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
มีหนึ่งคนในชุมชนเราปวดขามาก หลังจากใช้ ไม้ตาลต้านตึงสุขภาพดีขึ้น เดินแล้วไม่ปวดขา One guy in our community had severe leg pain. After using palmyra palm massage stick, his health improved and now he can walk without pain. วัน กาย อิน เอาเวอร์ คอมมิวนิตี้ แฮด ซีเวียร์ เลก เพน อาฟเตอร์ ยูสซิ่ง ปาล์มมีรา ปาล์ม มาสสาจ สติ๊ก ฮิส เฮลธ์ อิมพรูฟด์ แอนด์ นาว ฮี แคน วอล์ค วิธเอาท์ เพน ชุมชนของเราโฟกัสที่การพึ่งพาตนเอง Our community focuses on self reliance. เอาเวอร์ คอมมิวนิตี้ โฟกัสซึส ออน เซลฟ์ รีไลอันซ์ เราปลูกผักเองขายและกินในครอบครัว We grow our own vegetables for selling and for our family. วี โกรว์ เอาเวอร์ โอน เว็จเทเบิ้ลส์ ฟอร์ เซลลิ่ง แอนด์ ฟอร์ เอาเวอร์ แฟมมิลลี่ เราเน้นอาหารสุขภาพ กินผักเยอะ We promote healthy food with lots of vegetables. วี โพรโมท เฮลตี้ ฟู้ด วิธ ล็อทส์ ออฟ เว็จเทเบิ้ลส์
เราท�ำย�ำหลายอย่าง We make many kinds of Thai spicy salad. วี เมค เมนี่ คายน์ด์ส์ ออฟ ไทย สไปซี่ สลัด เราใช้เตาถ่านท�ำอาหาร We use traditional charcoal stove to cook. วี ยูส ทรัดดิชันเนิล ชาร์โคล สโตฟ ทู คุค ชุมชนมีขนมไทยหลายชนิดที่หาที่อื่นไม่ได้ Our community has many kinds of Thai dessert that you can only eat here. เอาเวอร์ คอมมิวนิตี้ แฮส เมนี่ คายน์ด์ส์ ออฟ ไทย ดีเสิร์ท แด็ท ยู แคน โอนลี่ อีท เฮียร์ ของหวานสุดพิเศษของชุมชนคือสาคูเปียก ล�ำไยอัญชันมะพร้าวอ่อน Our specialty dessert is Sago longan butterfly pea and young coconut. เอาเวอร์ สเปเชีลตี้ ดีเสิร์ท อิส ซาโก ลองแกน บัตเตอร์ ฟลาย พี แอนด์ ยัง โคโคนัท น�้ำลูกหม่อนโซดาเป็นเครื่องดื่มที่ขายดีมากที่นี่ Mulberry soda drink is a popular drink here. มัลเบอรรี่ โซดา อิส เออะ พ็พพิวลาร์ ดริ้งค์ เฮียร์ ข้าวหมากสมุนไพร ต้านอนุมูลอิสระ ช่วยเลือดลม ไหลเวียนดี ช่วยสมดุลร่างกาย นอนหลับสบาย สดชื่น ลดความเครียด มีโพรไบโอติก Fermented herbal rice is antioxidant and helps your blood circulation and body balance. You will sleep well and feel refreshed. It reduces stress and also contains probiotic. เฟอร์เม้นเท็ด เฮอร์บัล ไรซ์ อิส แอนไทอ็อกซิแดนท์ แอนด์ เฮลป์ส์ ยัวร์ บลัด เซอร์คิวเลชั่น แอนด์ บอดี้ บาลานซ์ ยูวิล สลีป เวล แอนด์ ฟีส รีเฟรชท์ อิท รีดิวซึส สเตรส แอนด์ ออลโซ คอนเทนส์ พรีไบโอทิค
..............................................................................................................................................................................................................................
สมุนไพรต�ำนานดินช่วยเพิ่มกลิ่นหอมให้กะละแม Tum Nan Din herb adds good aroma to Thai caramel candy. ต�ำนานดิน เฮิร์บ แอดส์ กู้ด อโรมา ทู ไทย คาราเมล แคนดี้
..............................................................................................................................................................................................................................
กลุ่มต�ำลึงหวานประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ จากชุมชนหลายที่ รากของสมุนไพรต�ำนานดินท�ำให้ไม่เหนื่อยง่าย Tumlungwan group consists of many activities The roots of Tum Nan Din herb can relieve fatigue. from different communities. เดอะ รูตส์ ออฟ ต�ำนานดิน เฮิร์บ แคน รีลีฟ ฟาทีก ต�ำลึงหวาน กรุ๊ป คอนซิสท์ส์ ออฟ เมนี่ แอคทิวิตี้ส์ ฟรอม ดิฟเฟร้นท์ คอมมิวนิตี้ส์ ท�ำให้ร่างกายแข็งแรง ดีต่อปอดและหัวใจ It also strengthens your health. ไม้ตาลต้านตึงดีส�ำหรับการยืดเส้นสาย เพิ่มการไหล It is good for your lungs and heart. เวียนเลือด ลดอาการตะคริวและปวดกล้ามเนื้อ อิท ออลโซ สเตรงเท็นส์ ยัวร์ เฮลธ์ Palmyra Palm massage stick is good for อิท ทส กู้ด ฟอร์ ยัวร์ ลังส์ แอนด์ ฮาร์ท stretching, increasing blood circulation, reducing cramps and muscle pain. ช่วยการไหลเวียนเลือด ปาล์มมีรา ปาล์ม มาสสาจ สติ๊ก อิส กู๊ด ฟอร์ It helps your blood circulation. สเตร็ชชิ่ง อินครีสซิ่ง บลัด เซอร์คิวเลชั่น อิท เฮล์พส์ ยัวร์ บลัด เซอร์คิวเลชั่น รีดิวซิ่ง แครมป์ส์ แอนด์ มัสเซิล เพน ประโยคต่างๆ จากชุมชน
สายคล้องแมสก์ Face Mask chain holder เฟซ แมสก์ เชน โฮลเดอร์ กระเป๋ายาดม Inhaler pouch bag หรือ Inhaler purse อินเฮลเลอร์ เพาช์ แบ็ก หรือ อินเฮลเลอร์ เพิร์ส เรามีน�้ำยาสี่อย่าง: น�้ำยากะทิ รสชาติไม่จัด น�้ำยาป่า น�้ำพริก มีถั่ว และแกงเขียวหวาน We have 4 kinds of curry: coconut cream curry (mild taste), spicy jungle curry, chili paste curry (contains nuts), and sweet green curry วี แฮฟ โฟร์ คายน์ส์ ออฟ เคอรรี่ โคโคนัท ครีม เคอรรี่ (ไมล์ด์ เทสท์) สไปซี่ จังเกิล เคอรรี่ ชิลลี่ เพสท์ เคอรรี่ (คอนเทนส์ นัทส์) แอนด์ สวีท กรีน เคอรรี่ อันนี้นักท่องเที่ยวชอบมาก This one is tourists’ favourite. ดิส วัน อิส ทัวร์ริสท์ เฟเวอริท มีความเชื่อว่าเส้นขนมจีนที่ยาวน�ำมาซึ่งโชคดี It is believed that long rice noodles bring good luck. อิท ทิส บีลีฟท์ แด็ท ลอง ไรซ์ นูดเดิ้ลส์ บริง กู๊ด ลัค 3 ถุง 100 Buy 3 for 100. บาย ทรี ฟอร์ วัน ฮันเดร็ด เรารับเงินสดและช�ำระผ่าน QR code We accept cash and QR code payment. วี แอ็ตเซ็พท์ แคช แอนด์ คิว อาร์ โค้ด เพย์เมนท์ โปรดสแกน QR code เพื่อช�ำระเงิน Please scan QR code for payment. พลีส สแกน คิว อาร์ โค้ด ฟอร์ เพย์เมนท์
บทสนทนา
113
ข้อควรปฏิบัติ ส�ำหรับนักท่องเที่ยว
ก
การท่องเที่ยวโดยชุมชน/แหล่งเรียนรู้
ารท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นการท่องเที่ยว ทีส่ ร้างการพบเจอระหว่างผูป้ ระกอบการ การท่องเทีย่ วในพืน้ ที่ ทีม่ หี น้าทีน่ ำ� นักท่องเทีย่ ว ศึกษาวิถชี วี ติ สิง่ แวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม ของชุมชน โดยชุมชนมีบทบาทเป็นเจ้าของ ในการจัดการดูแลเพื่อให้เกิดการเรียนรู้แก่ ผู้มาเยือน ส่วนแหล่งท่องเที่ยวประเภทแหล่ง เรี ย นรู ้ คื อ การท� ำ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ รู ้ จั ก องค์ความรู้ต่างๆ ในการท่องเที่ยวที่พิพิธภัณฑ์ ศูนย์การเรียนรู้ หรือการประกอบอาชีพที่มี ลักษณะเฉพาะภายในชุมชน นั ก ท่ อ งเที่ ย วต้ อ งยึ ด หลั ก ปฏิ บั ติ ตั ว ส� ำ หรั บ การท่องเที่ยวในชุมชนและแหล่งเรียนรู้เพื่อ ป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ ไม่สร้างความเสีย หายต่อทรัพย์สิน สภาพแวดล้อม ชุมชน และ แหล่งเรียนรู้ ดังนี้ 1. ด้ ว ยสถานการณ์ โรคติ ด ต่ อ โควิ ด -19 (COVID-19) นั ก ท่ อ งเที่ ย วต้ อ งรั ก ษา ระยะห่ า งตามมาตรการการป้ อ งกั น โรคติดต่อและใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้ง ในการประกอบกิจกรรมชุมชน
114 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
2. นักท่องเที่ยวต้องแจ้งว่ามีโรคประจ�ำตัว ทุกครัง้ ก่อนมีการท�ำกิจกรรม เช่น อาการ หอบหืด การแพ้ผงึ้ หรือสัตว์มพี ษิ สารเคมี 3. การประกอบกิ จ กรรมต้ อ งระมั ด ระวั ง การเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ต ่ อ ตั ว เองและผู ้ อื่ น เช่น ของมีคม การใช้ความร้อน สัตว์มีพิษ 4. ไม่ ค วรหยิ บ ฉวยหรื อ ขโมยสิ่ ง ของตาม แหล่งท่องเที่ยว 5. นักท่องเที่ยวต้องระมัดระวังทรัพย์สิน จากมิจฉาชีพ 6. รั ก ษาความสะอาดภายในพื้ น ที่ ชุ ม ชน และสิ่งแวดล้อม 7. เมื่ อ ใช้ บ ริ ก ารห้ อ งน�้ ำ สาธารณะต้ อ ง รักษาความสะอาดทุกครั้ง 8. ไม่ ทิ้ ง ขยะมู ล ฝอยต่ า งๆ ในที่ ห ้ า มทิ้ ง เพราะท�ำให้เสียทัศนียภาพ 9. ไม่ ค วรใช้ เ สี ย งดั ง รบกวนต่ อ สถานที่ และภายในชุมชน 10. ปฏิ บั ติ ต ามกฎจราจรของพื้ น ที่ แ หล่ ง เรียนรู้ เช่น การจอดรถตรงพื้นที่อนุญาต เป็นต้น
โ
แหล่งท่องเที่ยวประเภท โบราณสถาน/วัด ศาสนสถาน
บราณสถานเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ ในประวัติศาสตร์ โบราณคดี หรือศาสนา ที่มีรากฐานบ่งบอกถึงยุคสมัยต่างๆ ปัจจุบัน การท่องเที่ยวในรูปแบบอนุรักษ์ทางโบราณ สถานเป็นที่นิยม มีการผลักดันให้เกิดธุรกิจ การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ส่วนวัดหรือ ศาสนสถานเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ผู้คนให้ ความสนใจเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น เหตุ ใ ห้ วั ด หรื อ ศาสนสถานบางแห่ ง ปรั บ บทบาทจากเดิ ม ที่จ�ำกัดไว้เป็นสถานที่ปฏิบัติกิจของสงฆ์และ ศาสนพิธีมาเป็นสถานที่รองรับนักท่องเที่ยว มากขึ้ น เกิ ด การผลั ก ดั น การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ศาสนาและศิลปวัฒนธรรม
4. ห้ามนั่งหรือปีนป่ายโบราณสถานเพราะ อาจเกิดการช�ำรุดเสียหายได้ 5. ทิ้ ง ขยะมู ล ฝอยหรื อ สิ่ ง ปฏิ กู ล ในจุ ด ที่ เจ้าหน้าที่จัดไว้ให้เท่านั้น 6. ไม่ แ สดงพฤติ ก รรมที่ น ่ า รั ง เกี ย จ เช่ น ลบหลู่ดูหมิ่นองค์พระ สร้างความร�ำคาญ แก่ผู้อื่น หรือพฤติกรรมลามกอนาจาร 7. ควรแต่งกายสุภาพ และให้เกียรติสถานที่ 8. ห้ า มสนทนากั บ พระสงฆ์ ด ้ ว ยถ้ อ ยค� ำ ที่หยาบคาย 9. ห้ามถ่ายรูปผู้อื่นที่ก�ำลังท�ำกิจกรรมทาง ศาสนา หรือการถ่ายรูปคู่พระสงฆ์หรือ องค์พระต้องส�ำรวมทุกครั้ง 10. ห้ามส่งเสียงดังรบกวนพระและผู้ปฏิบัติ พระราชบั ญ ญั ติ โ บราณสถาน โบราณวั ต ถุ ธรรมภายในวัด ศิ ล ปวั ต ถุ แ ละพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ 11. ห้ า มน� ำ อุ ป กรณ์ ก ารพนั น สารเสพติ ด พ.ศ.2535 ได้วางกฎและข้อปฏิบตั เิ พือ่ ป้องกัน ทุกชนิดเข้ามาภายในบริเวณวัด การช�ำรุดเสียหายจากการท่องเที่ยว ดังนี้ 12. ห้ า มฆ่ า สั ต ว์ ห รื อ ก่ อ เหตุ ท ะเลาะวิ ว าท เนื่องจากวัดเป็นเขตอภัยทาน 1. ไม่เคลื่อนย้ายสิ่งต่างๆ ในโบราณสถาน 2. ไม่ ขี ด เขี ย นหรื อ ท� ำ สั ญ ลั ก ษณ์ ล งบน โบราณสถาน โบราณวัตถุ ก�ำแพงฝาผนัง 3. ห้ า มน� ำ วั ต ถุ อั น ตรายเข้ า ไปในโบราณ สถาน เช่น สารเคมี เป็นต้น
ข้อควรปฏิบัติส�ำหรับนักท่องเที่ยว
115
ศีลธรรมและจรรยาบรรณ ส�ำหรับนักสื่อความหมายในชุมชน
เ
แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
ป็นการท่องเที่ยวที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ 3. ห้ามน�ำสารเคมี วัตถุทเี่ ป็นอันตรายต่อพืช เป็นสิง่ ดึงดูดให้นกั ท่องเทีย่ วหลัง่ ไหลเข้ามา สัตว์ หรือส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ อย่างต่อเนือ่ ง อาจส่งผลต่อระบบนิเวศน์ทมี่ อี ยู่ เข้าในเขตอุทยานแห่งชาติ และสร้างความเสียหายให้กบั ทรัพยากรธรรมชาติ 4. เมือ่ เกิดเหตุรา้ ยให้แจ้งเจ้าหน้าทีใ่ ห้ทราบ เกิดการรบกวนสัตว์ป่าได้ โดยด่วนเพื่อการช่วยเหลือได้ทันที 5. ต้องรักษาความสงบห้ามส่งเสียงดัง พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562 6. ห้ามใช้ยานพาหนะดัดแปลงที่ก่อให้เกิด กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชจึง เสียงดังรบกวนพืน้ ทีธ่ รรมชาติและสัตว์ปา่ ได้การวางกฎและข้อปฏิบัติเพื่อป้องกันปัญหา 7. ห้ามทิ้งสิ่งปฏิกูล ขยะมูลฝอย นอกพื้นที่ ต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากนักท่องเที่ยว ดังนี้ จัดเตรียมของอุทยานแห่งชาติ 8. ห้ามปิดประกาศ โฆษณา หรือขีดเขียนใน 1. ต้องศึกษากฎข้อห้ามของการปฏิบัติตัว ที่ต่างๆ ที่ก�ำหนดไว้ของทางกรมอุทยานทุกครั้ง 9. ห้ามท�ำให้ป้ายสัญลักษณ์หรือป้ายบอก 2. ห้ามพกพาอาวุธทุกชนิดเข้าไปในแหล่ง ทางเกิดความเสียหาย ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ 10. ห้ามจ�ำหน่ายหรือดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ 11. ห้ามนักท่องเที่ยวสูบบุหรี่ เพราะอาจจะ เกิดไฟป่าได้
116 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
ใ
นหัวข้อนี้นั้นถือได้ว่าเป็นพื้นฐานของการ เป็นนักสือ่ ความหมาย โดยยึดหลักศีลธรรม และจรรยาบรรณทีค่ วรมีตอ่ การปฏิบตั หิ น้าทีๆ่ เสมือนเป็นตัวแทนของคนทั้งชุมชนเพื่อส่งต่อ ประสบการณ์ที่ดีและประทับใจแก่ผู้มาเยือน ความเข้าใจเพื่อนมนุษย์ นักสื่อความหมาย ควรปฏิ บั ติ ต นต่ อ ผู ้ ม าเยื อ นอย่ า งเสมอภาค หลีกเลี่ยงการพูดคุย หรือให้ความส�ำคัญกับ นักท่องเที่ยวคนใดคนหนึ่งเป็นพิเศษ ระมัด ระวังการกระท�ำ หรือพูดจาที่ก่อให้เกิดความ กระทบกระเทือนจิตใจโดยมิได้เจตนา การตระหนักในหน้าที่และความรับผิดชอบ นักสื่อความหมายพึงปฏิบัติหน้าที่ของตนเต็ม กําลังความสามารถ และมีความรับผิดชอบ ตลอดเวลาที่ ป ฏิ บั ติ ง านไม่ ล ะเลย หรื อ ขาด การดูแลความสะดวกแก่ผู้มาเยือน ควรระมั ด ระวั ง ให้ ข ้ อ มู ล ทางการเมื อ งที่ มี แนวคิดแตกต่างกัน การนําเสนอข้อมูลทาง ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ อ ่ อ นไหว การเหยี ย ดสี ผิ ว ความหลากหลายทางเพศ เชื้อชาติ อาจก่อให้ เกิ ด ความเข้ า ใจผิ ด ได้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ความเชื่อและความศรัทธาของชุมชนในพื้นที่ ถ้าข้อมูลใดเป็นความคิดเห็นส่วนตัวควรบอก ให้นกั ท่องเทีย่ วได้ทราบอย่างเป็นกิจจะลักษณะ หลีกเลีย่ งการตกแต่งข้อมูล หรือนําเสนอข้อมูล ที่ผิดๆ
ทัศนคติทด่ี ตี อ่ ชุมชนในพืน้ ที่ นักสือ่ ความหมาย ควรเป็ น แบบอย่ า งในการอนุ รั ก ษ์ พั ฒ นา ศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ อนึ่ง กิจกรรมการสื่อความหมายควรกลมกลืนกับ เอกลักษณ์ของพืน้ ที่ และเคารพต่อขนบธรรมเนียม ประเพณีของคนในชุมชน ความซื่อสัตย์สุจริตไม่หลอกลวงนักท่องเที่ยว หลีกเลี่ยงการค้าก�ำไรเกินควร โดยไม่ค�ำนึงถึง ความเหมาะสมของคุณภาพสินค้าบริการและ ราคาทีน่ กั ท่องเทีย่ วต้องจ่ายไป หรือการให้ขอ้ มูล ของสินค้าและบริการเพียงด้านเดียว มีเจตนา แอบแฝง (ไม่บริสุทธิ์) ท�ำให้เกิดการเข้าใจผิด การรู้จักประมาณตนและระมัดระวังกิริยา ลักษณะท่าทาง การแต่งกาย การวางตัวให้ เหมาะสม เคารพและให้ เ กี ย รติ ผู ้ ม าเยื อ น นักสื่อความหมายไม่ควรพูดจาหยอกเล่นกับ นักท่องเที่ยวจนเกินควร รู้จักควบคุมอารมณ์ แสดงสีหน้าไม่พอใจ เมื่อผู้มาเยือนมีค�ำถาม หรือไม่เข้าใจในเนือ้ หาทีน่ าํ เสนอ รวมทัง้ พลาด เวลานัดหมาย การดูแลความปลอดภัย นักสื่อความหมาย ควรดูแลสวัสดิภาพของผู้มาเยือน ทั้งในด้าน สุขภาพและทรัพย์สินส่วนตัว ใส่ใจต่อความ สะอาดอนามัยของอาหารและเครือ่ งดืม่ ระมัด ระวังไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ การโจรกรรม และการ ลักทรัพย์ของผู้มาเยือน
ข้อควรปฏิบัติส�ำหรับนักท่องเที่ยว
117
ข้อควรปฏิบัติ ส�ำหรับนักสื่อความหมายในชุมชน
ก
ที่ปรึกษา
ารปฏิบัติตามกฎระเบียบในพื้นที่ถือเป็น เรื่องส�ำคัญในหัวข้อนี้ จะแนะนําถึงสิ่งที่ นักสื่อความหมายควรยึดถือเสมอในการบอก กล่าวข้อควรปฏิบัติหรือกฏระเบียบในพื้นที่ เพื่อสร้างความเข้าใจและความปลอดภัยแก่ ผู้มาเยือน
ส�ำหรับกิจกรรมเดินป่านักสื่อความหมายควร สามารถให้ขอ้ มูลการปฏิบตั ติ นเมือ่ เข้ามาในป่า ทั้ ง นี้ เ พื่ อ คุ ้ ม ครอง รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มและ ทรั พ ยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะป่ า ไม้ แ ละ สั ต ว์ ป ่ า รวมทั้ ง ความสวยงามของทิ ว ทั ศ น์ ให้อยู่ในสภาพเดิม
นักสื่อความหมายควรสํารวจนักท่องเที่ยวถึง ความพร้อมของร่างกายว่าสามารถจะเดินทาง ได้หรือไม่ นอกจากนี้ควรแนะนําให้ผู้มาเยือน ศึ ก ษาข้ อ มู ล พื้ น ฐานจากสื่ อ ต่ า งๆ เกี่ ย วกั บ ชุมชน หรือแหล่งท่องเที่ยวที่จะไปเยี่ยมชม ก่อนเดินทางควรศึกษาเส้นทางเดินทาง สภาพ ภูมิประเทศ อากาศ ความเชื่อ การแต่งกาย และวัฒนธรรมของชาวบ้านในพื้นที่
ในการท�ำกิจกรรมสือ่ ความหมายทางน�ำ้ ควรจัด เตรียมน�้ำดื่มให้เพียงพอ เพราะสภาพอากาศ ที่ร้อนอบอ้าว ท�ำให้ร่างกายสูญเสียน�้ำได้ง่าย ท�ำให้เกิดอาการกระหายน�้ำบ่อย
ขณะล่องเรือน�ำเที่ยว ควรแนะนํานักท่องเที่ยว ว่ า ไม่ ค วรทิ้ ง ภาชนะที่ ใ ส่ อ าหารและน�้ ำ ดื่ ม ลงแหล่งน�้ำธรรมชาติเป็นอันขาด เพราะท�ำให้ แหล่งน�้ำนั้นสกปรก และเป็นภัยอันตรายต่อ ขณะอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวควรแจ้งผู้มาเยือน สัตว์น�้ำที่อาศัยอยู่ ทั้งนี้ควรรวบรวมภาชนะ ให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบและค�ำแนะนําของ ที่ใช้แล้วน�ำกลับมาทิ้งบนบก นักสือ่ ความหมาย เมือ่ เข้ามาในสถานศักดิส์ ทิ ธิ์ ควรปฏิบัติตามระเบียบทางศาสนา เช่น ถอด แนะน�ำให้นักท่องเที่ยวเข้าใจว่าไม่ควรเก็บ หมวก ถอดแว่ น กั น แดด และรองเท้ า ก่ อ น ปะการัง เปลือกหอย รวมทั้งทรัพยากรทาง เข้าไปสักการะสถานที่จิตวิญญาณ ไม่ปีนป่าย ทะเลอืน่ ๆ มาเป็นทีร่ ะลึก สิง่ เหล่านีจ้ ะมีคณ ุ ค่า โบราณวัตถุ โบราณสถาน ไม่แสดงการลบหลู่ ที่สุดก็ต่อเมื่อได้อยู่ในที่ควรอยู่ ความเชื่ อ วั ฒ นธรรมประเพณี ข องชุ ม ชน ในพื้นที่
118 คู่มือนักสื่อความหมายชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
คณะผู้จัดท�ำคู่มือนักสื่อความหมาย ชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง
เครดิต
1. นาวาอากาศเอกอธิคุณ คงมี 2. ดร.ชูวิทย์ มิตรชอบ 3. ดร.ชุมพล มุสิกานนท์ 4. ดร.สมจินต์ ชาญกระบี่ 5. นายสมเกียรติ อ�ำนวยสุวรรณ
ผู้อ�ำนวยการ อพท. รองผู้อ�ำนวยการ อพท. (1) รองผู้อ�ำนวยการ อพท. (2) ผู้จัดการส�ำนักงานพื้นที่พิเศษ 7 (อพท.7) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ (อพท.7) คณะผู้จัดท�ำ
1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนวนเกษตรบ้านดงเย็น 2. ชุมชนบ้านเขาพระ 3. กลุ่มต�ำนานดิน 4. ศูนย์เรียนรู้ยาดมยาหม่องหัวโตป้าต้อย 5. กลุ่มต�ำลึงหวาน 6. ศูนย์เรียนรู้โรงหล่อวิเชียร 7. บ้านขนมจีนโบราณ 8. ดร.แก้วตา ม่วงเกษม 9. นางสาวสุปรียา ม่วงรอด 10. อาจารย์อาภาพร เอี่ยมอุบล 11. นางสาวดรุณี วิริยะเอี่ยมพิกุล 12. นางสาวปารมี พรหมตุ๊ 13. นางพรรณวดี พัฒนจันทร์
ชุมชนต้นแจงพัฒนา ชุมชนท่าพระตะวันออก อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาการจัดการ การท่องเที่ยวและการบริการ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์พิเศษสาขาวิชามนุษยศาสตร์และ ภาษาต่างประเทศ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล เจ้าหน้าที่พัฒนาพื้นที่พิเศษ เจ้าหน้าที่พัฒนาพื้นที่พิเศษ เจ้าหน้าที่พัฒนาพื้นที่พิเศษ 119
3 Inch
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) โดยส�ำนักงานพื้นที่พิเศษ 7 789 อาคารโตโลโปตี้ชั้น 2 หมู่ที่ 3 ต�ำบลอู่ทอง อ�ำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี 72160 โทรศัพท์ : 035 528 573 เว็บไซต์ : http://www.dasta.or.th