ร่วมคิด ร่วมสร้าง ร่วมรักษา

Page 1

ËÇÁ¤Ô´ ËÇÁÊÌҧ ËÇÁÃÑ¡ÉÒ

กรณีศึกษาภายใตโครงการการพัฒนากระบวนการจัดการความรู เพื่อยกระดับความสามารถของบุคคลากรเปาหมาย สูความเปนเลิศดานการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน

B8

การสนับสนุน ชุมชน


หลังปกดานหนา (ขาว)


กรณีศึกษาภายใตโครงการการพัฒนากระบวนการจัดการความรู เพื่อยกระดับความสามารถของบุคคลากรเปาหมาย สูความเปนเลิศดานการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน


GTSC-D Destination

B8 การสนับสนุนชุมชน


ÃÒÂÅÐàÍÕ´¡ÒþÔÁ¾

ËÇÁ¤Ô´ ËÇÁÊÌҧ ËÇÁÃÑ¡ÉÒ

กรณีศกึ ษาภายใตโครงการการพัฒนากระบวนการจัดการความรูเ พือ่ ยกระดับความสามารถ ของบุคคลากรเปาหมายสูความเปนเลิศดานการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน จัดทำโดย องคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) และ มหาวิทยาลัยแมฟา หลวง คณะทำงาน ผูเ ขียนหลัก ผูเ ชีย่ วชาญประจำโครงการ

ผูช ว ยผูเ ชีย่ วชาญประจำโครงการ

ดร.ชัชชญา ยอดสุวรรณ ดร.อภิสม อินทรลาวัณย ผศ.ดร.พลวัฒ ประพัฒนทอง ดร.จิราภา ปราเดรา ดิเอส ดร.ณัฐกร วิทิตานนท ผศ.ดร.พรรณนิภา ดอกไมงาม ดร.ปเนต มโนมัยวิบูลย นางสาวดลพร สุวรรณเทพ นายปตพงษ เวฬุวนารักษ นางสาวมัชฌิมา อุนเมือง

ออกแบบรูปเลม บริษทั ภูมปิ ญ  ญาไทยพัฒนา จำกัด พิมพท่ี บริษทั ภูมปิ ญ  ญาไทยพัฒนา จำกัด พิมพครัง้ แรก 2561 จำนวนพิมพ 250 เลม ISBN : 978-616-8008-15-7



¤Ó¹Ó “ ËÇÁ¤Ô´ ËÇÁÊÌҧ ËÇÁÃÑ¡ÉÒ ” การจัดการความรูเ ปนเรือ่ งทีถ่ อื กำเนิดในวงการการศึกษาโดยมีจดุ ประสงค เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ขององคกรใหสามารถปฏิบัติงานไดดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ตามที่องคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อ การทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน (อพท.) ไดมกี ารทำขอตกลงความรวมมือกับสภาการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนโลก ในการนำหลักเกณฑการทองเที่ยวอยางยั่งยืนของโลกมาใชเปนเครื่องมือในการถายทอดองคความรู ระหวางเจาหนาทีอ่ งคการบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน (อพท.) กับหนวยงาน ภายนอกและผูท ส่ี นใจ โดยจัดทำแผนปฏิบตั กิ ารเพือ่ การจัดการความรู (Knowledge Management Action Plan) ในเรือ่ งการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน โดยอางอิงจากหลักเกณฑ GSTC (Global Sustainable Tourism Council) ในหมวด B การเพิม่ ผลประโยชนและลดผลกระทบเชิงลบ ทางสังคมและเศรษฐกิจ แกชมุ ชนทองถิน่ หลักเกณฑยอ ย B8 การสนับสนุนชุมชน (Support for Community) ทีส่ นับสนุน ใหแหลงทองเที่ยวของชุมชนมีระบบการบริหารจัดการที่สนับสนุนผูประกอบการ นักทองเที่ยว และสาธารณชน ใหมีสวนรวมในการพัฒนาแหลงทองเที่ยวผานโครงการของชุมชน และโครงการ ดานความยัง่ ยืนตาง ๆ โดยคณะผูว จิ ยั ไดเลือกหมูบ า นหวยหินลาดใน จังหวัดเชียงราย และมูลนิธเิ พือ่ สุนขั ในซอย จังหวัดภูเก็ต เพื่อถอดบทเรียนและพัฒนารูปแบบองคความรูเพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรม แลกเปลีย่ นเรียนรูห รือกิจกรรมเผยแพรความรูส ำหรับกลุม เปาหมายทัง้ ภายในและภายนอกองคกร การศึกษาครั้งนี้มีขอจำกัดคือเปนกรณีศึกษาเพียงมิติเดียวซึ่งอาจจะไมครอบคลุมถึงมิติของ การจัดการในหมวด B หลักเกณฑ GSTC-D ไดทง้ั หมด ดังนัน้ การศึกษาในอนาคตจึงควรศึกษาเพิม่ เติม ในมิติอื่น ๆ เพื่อประเมินผล สังเกตการณ และพัฒนาใหเกิดความยั่งยืนของพื้นที่ ตามเกณฑการ ทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนโลกในลำดับตอไป



¤Ó¹ÔÂÁ “¡ÒþѲ¹Ò¡Ãкǹ¡ÒèѴ¡ÒäÇÒÁÃÙŒà¾×่Í¡ÃдѺ¤ÇÒÁÊÒÁÒö ¢Í§ºØ¤ÅÒ¡Ã໇ÒËÁÒÂÊÙ‹¤ÇÒÁ໚¹àÅÔÈ ´ŒÒ¹¡ÒþѲ¹Ò¡Ò÷‹Í§à·Õ่ÂÇÍ‹ҧÂÑ่§Â×¹” ËÅѡࡳ± ´ŒÒ¹¡Ò÷‹Í§à·Õ่ÂÇÍ‹ҧÂÑ่§Â×¹ ÊÓËÃѺáËÅ‹§·‹Í§à·Õ่ÂÇ (GSTC-D) ËÁÇ´ (B) ¡ÒÃà¾Ô่Á¼Å»ÃÐ⪹ ·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨á¡‹ªØÁª¹à¨ŒÒ¢Í§Ê¶Ò¹·Õ่áÅÐÅ´¼Å¡ÃзºàªÔ§Åº È. ´Ã.ÁÔ่§ÊÃþ ¢ÒÇÊÍÒ´

การทองเที่ยวนับเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่นำรายไดมาสูแหลงทองเที่ยวและประเทศ กลุม นักทองเทีย่ วทีเ่ ดินทางทองเทีย่ วจากทีห่ นึง่ ไปยังอีกทีห่ นึง่ มีสว นสำคัญทีก่ อ ใหเกิดความเคลือ่ นไหว ทางเศรษฐกิจในทุกดานทีเ่ กีย่ วของกับบุคคล ซึง่ มีผลโดยตรงตอธุรกิจทองเทีย่ วและมีผลทางออมตอ ธุรกิจอืน่ ในแหลงทองเทีย่ ว การทองเทีย่ วยังกอใหเกิดการกระจายทรัพยากรและรายไดใหแกคนในทองถิน่ สรางอาชีพ และคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี น้ึ แกคนในชุมชนอีกดวย การจัดทำชุดความรูและกระบวนการจัดการความรู เพื่อยกระดับความสามารถของบุคลากร เปาหมายสูความเปนเลิศดานการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ตามหลักเกณฑดานการทองเที่ยว อยางอยางยืนสำหรับแหลงทองเทีย่ วของสภาการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนของโลก GSTC (Global Sustainable Tourism Council) ในหมวด (B) การเพิม่ ผลประโยชนทางเศรษฐกิจแกชมุ ชนเจาของสถานทีแ่ ละลด ผลกระทบเชิงลบ เพือ่ เปนแนวทางในการเผยแพรความรูข อง อพท. ใหบคุ ลากรสามารถปฏิบตั งิ านได ดียง่ิ ขึน้ และบรรลุเปาหมายขององคกรทีต่ ง้ั ไว นัน้ คือ การสงเสริมใหการพัฒนาการทองเทีย่ วในพืน้ ที่ พิเศษเพือ่ เกิดประโยชนอยางยัง่ ยืนตอชุมชนทองถิน่ และมีการดำเนินงานทีส่ อดคลองกับการทำขอตกลง รวมกับสภาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนของโลก ในการนำหลักเกณฑการทองเที่ยวอยางยั่งยืนของโลก มาใชเปนเครือ่ งมือในการถายทอดองคความรูร ะหวางเจาหนาทีข่ อง อพท. กับหนวยงานภายนอก คณะผูเชี่ยวชาญไดทำการศึกษาโดยใชแนวทางเชิงกรณีศึกษา เขาไปศึกษา สังเกตการณ เรียนรู และประมวลผลวิธีการจัดการของแหลงทองเที่ยวที่ไดรับการยอมรับวามีการจัดการอยางเปนระบบ โดยไดเลือกกรณีศกึ ษาทีส่ อดคลองกับประเด็นในหมวด (B) พืน้ ทีศ่ กึ ษาทีไ่ ดรบั การคัดเลือกนัน้ มีกลไก ในการเพิ่มผลประโยชนทางเศรษฐกิจแกชุมชนเจาของสถานที่และลดผลกระทบเชิงลบอยางเห็นผล อันจะชวยสนับสนุนใหการจัดทำชุดความรูแ ละกระบวนการจัดการความรูเ พือ่ พัฒนาเทคนิคการปฏิบตั ิ งานของ อพท. มีประสิทธิภาพ เพื่อใหบุคลากรของ อพท. และองคกรภายนอกที่เกี่ยวของ ไดรับ ประโยชนสงู สุดตอไป È. ´Ã.ÁÔ่§ÊÃþ ¢ÒÇÊÍÒ´



ÊÒúÑÞ ¡ÒûÃÐÂØ¡µ 㪌ͧ¤ ¤ÇÒÁÃÙŒ ˹ŒÒ 27

º·¹Ó ˹ŒÒ 1

¶Í´º·àÃÕ¹¤ÇÒÁÃÙŒ ˹ŒÒ 6

¡ÒùӼšÒÃÈÖ¡ÉÒä»ãªŒ ˹ŒÒ 41

¡Ã³ÕÈ¡Ö ÉÒËÁÙº‹ ÒŒ ¹ËŒÇÂËÔ¹ÅÒ´ã¹ ¨Ñ§ËÇÑ´àªÕ§ÃÒ ˹ŒÒ 8 ¡Ã³ÕÈ¡Ö ÉÒÁÙŹԸàÔ ¾×Íè Êع¢Ñ 㹫Í ¨Ñ§ËÇÑ´ÀÙà¡çµ ˹ŒÒ 18

¢ŒÍÁÙÅ͌ҧÍÔ§ ˹ŒÒ 45

ࡳ± ¡ÒûÃÐàÁÔ¹¾×¹é ·ÕÈè ¡Ö ÉÒ Ë¹ŒÒ 30

·ÕÁ§Ò¹·‹Í§à·ÕÂè ÇÂѧè Â×¹ ˹ŒÒ 51


ÊÒèҡ ;·. องคการบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน (องคการมหาชน) หรือ อพท. มีเปาหมายในการสงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยวใหเกิดประโยชนอยางยั่งยืนตอชุมชนทองถิ่น โดยนำเกณฑการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนโลก (Global Sustainable Tourism Council) มาใชเปนเครือ่ งมือ ในการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตรองคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) พ.ศ. 2560-2563 ดังนั้นเพื่อใหแผนยุทธศาสตรดังกลาว ดำเนินไดตามเปาหมาย อพท. จึงเล็งเห็นความจำเปนในการถอดบทเรียนความรู ในประเด็นความรูที่เกี่ยวกับการบริหาร จัดการการทองเที่ยว เพื่อเปนการนำองคความรูที่ไดรับมาถายทอดใหแกบุคลากรที่เกี่ยวของในการบริหารจัดการ แหลงทองเที่ยว รวมถึงบุคลากรของภาคีเครือขายภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ในพื้นที่ พิเศษและเขตพัฒนาการทองเทีย่ วของ อพท. จนทำใหเกิดการพัฒนาการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน อพท. จึงมอบหมายใหมหาวิทยาลัยแมฟาหลวงถอดบทเรียนความรู และจัดทำชุดความรู รวมถึงกระบวน การจัดการความรู ทีม่ คี วามสอดคลองกับเกณฑการทองเทีย่ วอยางอยางยืนโลก สำหรับแหลงทองเทีย่ ว (GSTC for Destination) อพท. หวังเปนอยางยิ่งวา ชุดความรูเหลานี้จะเปนประโยชนตอวงการการทองเที่ยวไทยในทุก กลุม เปาหมาย ซึง่ หากทุกภาคสวนทีเ่ กีย่ วของมีความรูค วามเขาใจในแนวทางการพัฒนาการทองเทีย่ ว อยางยั่งยืนใหเปนไปในทิศทางเดียวกันแลว จะเปนจุดเริ่มตนที่ดีของการพัฒนาการทองเที่ยวไทย ใหเกิดความยั่งยืนตามมาตรฐานสากลไดอยางแทจริง ͧ¤ ¡ÒúÃÔËÒáÒþѲ¹Ò¾×้¹·Õ่¾ÔàÈÉ à¾×่Í¡Ò÷‹Í§à·Õ่ÂÇÍ‹ҧÂÑ่§Â×¹ (ͧ¤ ¡ÒÃÁËÒª¹)


º·¹Ó ËÅѡࡳ± GSTC ÊÓËÃѺáËÅ‹§·‹Í§à·Õ่ÂÇ ã¹ËÁÇ´ B การศึกษาการจัดการความรูเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืนนี้ เปนการศึกษาในหมวด B การเพิ่ม ผลประโยชนและลดผลผลกระทบเชิงลบ ทางสังคม และเศรษฐกิจแกชุมชนทองถิ่น หลักเกณฑยอย B8 การสนับสนุนชุมชน ซึง่ เปนหลักเกณฑของสภาการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนโลก (Global Sustainable Tourism Council) “B8 ¡ÒÃʹѺʹعªØÁª¹ (Support for Community) áËÅ‹§·‹Í§à·Õ่ÂÇÁÕÃкº ·Õ่ʹѺʹعáÅЪ‹ÇÂãËŒ ¼ÙŒ»ÃСͺ¡Òà ¹Ñ¡·‹Í§à·Õ่ÂÇ áÅÐÊÒ¸Òóª¹ ÊÒÁÒöËÇÁ ʹѺʹعâ¤Ã§¡ÒâͧªØÁª¹áÅÐ â¤Ã§¡ÒôŒÒ¹¤ÇÒÁÂÑ่§Â×¹µ‹Ò§ æ” (GSTC, 2016)

โดยการศึกษาตามแนวทางของเกณฑการทองเที่ยวยั่งยืน เปนการประเมินและถอดบทเรียน การจัดการความรูเ กีย่ วกับการสนับสนุนชุมชน เพือ่ นำไปพัฒนารูปแบบความรูส นับสนุนการจัดกิจกรรม แลกเปลีย่ นเรียนรู และจัดกิจกรรมเผยแพรความรูส ำหรับกลุม เปาหมายทัง้ ภายในและภายนอกองคกร

1


ÀÒ¤Õà¤Ã×Í¢‹Ò·Õà่ ¡ÕÂ่ Ç¢ŒÍ§¡Ñº ¡ÒþѲ¹Ò¡Ò÷‹Í§à·ÕÂ่ ÇÍ‹ҧÂѧ่ Â×¹ หลักเกณฑ B8 ในการสนับสนุนชุมชนนัน้ ตองรับความรวมมือจากภาคคทีเ่ กีย่ วของตามภาพที่ 1 องคการบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน (องคการมหาชน) ผนึกกำลังภาคี เครือขายในประเทศและตางประเทศ ดานการทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดย อพท. เปนกำลังสำคัญ ในการประสานงานภาคีโดยมีคานิยมองคกรดังนี้

ทุมเทมุงมั่น ประสานภาคี มีใจบริการ ทำงานเปนทีม ยิ้มฟงชุมชน

อพท. นักทองเที่ยว

หนวยงาน เอกชน

ชุมชน

องคกรระหวาง ประเทศ

ภาคีเครือขาย การพัฒนาการทองเที่ยว อยางยั่งยืน อาสาสมัคร

2

หนวยงาน ภาครัฐ

สถาบัน การศึกษา

ภาพที่ 1 : ภาคีเครือขายการพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน

สื่อมวลชน


໇ÒËÁÒ¡ÒþѲ¹Ò·ÕÂ่ §่Ñ Â×¹ … à¾×Í่ ¤Ø³ÀÒ¾ªÕÇµÔ áÅÐÊÔ§่ áÇ´ÅŒÍÁ·Õ´ ่ Õ ความสัมพันธระหวางหลักเกณฑดานการทองเที่ยวอยางยั่งยืนสำหรับแหลงทองเที่ยวของ สภาการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนของโลก GSTC (Global SustainableTourism Council) และเปาหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) SDGs คือ เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) ซึ่งเปนกรอบ ทิศทาง การพัฒนาของโลกภายหลังป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ที่องคการสหประชาชาติ (United Nations: UN) กําหนดตอเนื่องจาก MDGs หรือเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ (Millennium Development Goals) ซึ่งสิ้นสุดลงเมื่อเดือนสิงหาคม 2558 เปาหมายที่ 1

ขจัดความยากจน

เปาหมายที่ 10

เปาหมายที่ 2

ขจัดความหิวโหย เกษตรยั่งยืน

เปาหมายที่ 11

เมืองปลอดภัย

เปาหมายที่ 3

สุขภาพและความเปนอยูที่ดี

เปาหมายที่ 12

การผลิตและบริโภคที่ยั่งยืน

เปาหมายที่ 4

การศึกษาเทาเทียมและทั่วถึง

เปาหมายที่ 13

เปาหมายที่ 5

ตอสูกับการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภูมิอากาศ

ความเทาทเียมทางเพศ

เปาหมายที่ 6

เปาหมายที่ 14

อนุรักษทรัพยากรทางทะเล

การจัดการน้ำและสุขาภิบาล

เปาหมายที่ 7

เปาหมายที่ 15

การจัดการระบบนิเวศทางบก

การเขาถึงพลังงานที่ทันสมัย

เปาหมายที่ 8

เปาหมายที่ 16

สังคมเปนสุข

การเติบโตเศรษฐกิจที่ยั่งยืน

เปาหมายที่ 9

พัฒนาอุตสาหากรรม นวัตกรรมและโครงสรางพืน ้ ฐาน

เปาหมายที่ 17

สรางความเขมแข็งในระดับสากล

ลดความเหลื่อมล้ำ

ประเด็น B8 เรื่อง สนับสนุนชมุชน แหลงทองเที่ยวมีระบบที่สนับสนุนและชวยให ผูประกอบการ นักทองเที่ยว และสาธารณชน สามารถรวมสนับสนุนโครงการของชุมชนและโครงการดานความ ยั่งยืนตาง ๆ มีสวนสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) ดังนี้

ที่มา : https://www.gstcouncil.org/gstc-destination-criteria-and-the-sdgs

3


»ÃÐ⪹ ¡ÒôÓà¹Ô¹¡ÒõÒÁËÅѡࡳ± B8 ในหมวด B เนนการเพิม่ ผลประโยชนและลดผลกระทบเชิงลบ ทางสังคมและเศรษฐกิจแกชมุ ชน ทองถิ่น โดย B8 มุงเนนดานการสนับสนุนชุมชน เพื่อพัฒนาแหลงทองเที่ยวใหมีระบบการสนับสนุน และชวยใหผูประกอบการ นักทองเที่ยวและสาธารณชน สามารถสนับสนุนโครงการของชุมชน และโครงการดานความยั่งยืนตาง ๆ ซึ่งสามารถกอใหเกิดประโยชน ดังภาพที่ 2

เสริมสรางความรับผิดชอบ จากการทองเทีย ่ ว และใช ทรัพยากรสิง่ แวดลอม ใหเกิดประโยชนสงู สุด

สงเสริมใหเกิดการ มีสว นรวมระหวาง เจาบานและผูม  าเยือน

เพิม ่ คุณคาแกการรักษา สิง่ กอสรางและมรดก ทางวัฒนธรรม รวมถึง สิง่ แวดลอมใหคงอยูส  บ ื ไป

B8

การสนับสนุนชุมชน

สรางความเชือ่ มัน ่ ดานการพัฒนา ทางเศรษฐกิจและสังคม อยางเปนธรรม

สรางรายไดและโอกาส ทางการทำงานทีม ่ น ่ั คง ใหชม ุ ชนเพือ่ แกไขปญหา ความยากจนทีเ่ กิดขึน ้

ภาพที่ 2 : ประโยชนของการดำเนินการตามหลักเกณฑ B8

4

พัฒนาการทองเทีย ่ ว พรอมกับการรักษา ระบบนิเวศและปกปอง ความหลากหลาย ทางชีวภาพไดเปนอยางดี


º·ºÒ· ;·. องคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) มีบทบาท คือ เปนองคกรกลาง ทำหนาที่ประสานงานกับทองถิ่นหรือพื้นที่ทองเที่ยว มีหนาที่เพื่อสงเสริม ใหมกี ารบริหารจัดการการทองเทีย่ วในเชิงคุณภาพ โดยยึดปรัชญารักษาสมดุลใน 3 มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ดวยกระบวนการมีสวนรวม อพท. มีบทบาทในการสนับสนุนการพัฒนาการทองเที่ยวโดยชุมชนหลายดานรวมถึงการ เชื่อมโยงกับเกณฑ GSTC หมวด B ซึ่งเปนการเพิ่มผลประโยชนในทางเศรษฐกิจแกชุมชนเจาของ สถานที่และการลดผลกระทบเชิงลบ อพท. นั้น ไดมีการเก็บรวบรวมขอมูลในการศึกษาประเด็น เกี่ยวกับการสรางผลประโยชนใหแกชุมชน และมีการประเมินระดับความสุขของคนในพื้นที่ (Gross Village Happiness: GVH) ทีท่ าง อพท. ไดรบั ผิดชอบเพือ่ เปนแนวทางในการกำหนดแผนการดำเนิน การเพื่อสรางความพึ่งพอใจดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ใหเกิดขึ้นในพื้นที่นั้น ๆ ซึ่ง อพท. ไดมีการจัดกิจกรรมภายใตแนวคิด “รักษปานาน” และกิจกรรม “ภูตพิทักษตนไม” เพื่อเปนการ ดำเนินการภายใตหมวด B และโครงการอื่น ๆ อีกมากมาย

5


¶Í´º·àÃÕ¹¤ÇÒÁÃÙŒ

6


¡ÒäѴàÅ×Í¡¾×้¹·Õ่ÈÖ¡ÉÒ วิธีการศึกษาโดยการคัดเลือกกรณีศึกษา “หมูบานหวยหินลาดใน จังหวัดเชียงราย” และ “มูลนิธิเพื่อสุนัขในซอย จังหวัดภูเก็ต” เนื่องจากทั้งสองพื้นที่มีการเปดโอกาสใหบุคคล องคกร และหนวยงานภายนอก สามารถเขามามีสวนรวมในการสนับสนุนกิจกรรมที่จัดขึ้นในพื้นที่ อีกทั้ง มีความโดดเดนในเรื่องของแนวคิดที่สามารถยึดถือเปนคานิยมหลักของแตละพื้นที่ ที่ทำใหบุคคล ภายนอกใหความสนใจและอยากจะเขามาสนับสนุนการดำเนินการทำกิจกรรม/โครงการตาง ๆ ของชุมชน

มีระบบจัดการ แผนงานเป้าหมาย

ได้รับรางวัล เป็นตัวอย่าง ที่ดี

มีระบบ ในการติดตาม วัดผล

เกณฑ์การ คัดเลือก

การมีส่วนร่วม

มีการทำงานมา ไม่น้อยกว่า 20 ปี

อีกทัง้ พืน้ ทีก่ รณีศกึ ษาทัง้ สองแหงนีย้ งั ไดรบั รางวัลทีเ่ ปนทีย่ อมรับในระดับนานาชาติ แมวา ทัง้ สอง พื้นที่จะมีรูปแบบในการสนับสนุนชุมชนที่แตกตางกัน แตสิ่งหนึ่งที่ทั้งสองพื้นที่ยึดถือรวมกันคือ การสรางระบบทีท่ ำใหภาคีทเ่ี กีย่ วของกับการทองเทีย่ ว อาทิ ผูป ระกอบการ นักทองเทีย่ วและสาธารณชน สามารถรวมสนับสนุนโครงการตาง ๆ ของชุมชน และโครงการทีจ่ ะนำไปสูค วามยัง่ ยืนของแหลงทองเทีย่ ว ทั้งสองตอไป 7


กรณีศก ึ ษา หมูบ  า นหวยหินลาดใน จังหวัดเชียงราย

8


¡Òöʹº·àÃÕ¹¾×้¹·Õ่ÈÖ¡ÉÒ: ¡Ã³ÕËÁÙ‹ºŒÒ¹ËŒÇÂËÔ¹ÅÒ´ã¹ ¨Ñ§ËÇÑ´àªÕ§ÃÒÂ

»ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ

หมูบานหวยหินลาดใน ตั้งอยูที่ หมู 7 ต.บานโปง อ.เวียงปาเปา จ. เชียงราย ถูกกำหนดใหเปน พื ้ นที ่ ป  า สงวนแห ง ชาติ ยังไมม ีก ารติด ตั้งระบบไฟฟาในพื้น ที ่ แต มี ก ารติ ด ตั ้ ง แผงโซล า เซลล เพือ่ ใชในการสองแสงสวางยามค่ำคืน โดยชาวบานทีอ่ าศัยอยูเ ปนของชนเผาปกาเกอะญอ ทีด่ ำรงชีวติ ตามวิถีดั้งเดิมโดยอาศัยการพึ่งพิงกับธรรมชาติและหาเลี้ยงชีพดวยการทำไรหมุนเวียน ซึ่งถือเปน ภูมิปญญาปกาเกอะญอมีการปฏิบัติกันมาอยางชานาน มีการปลูกขาวและพืชผลชนิดตาง ๆ ตาม ฤดูกาล อีกทั้งมีการทำไรชาและเลี้ยงผึ้ง จากวิถีการดำรงชีวิตแบบดั้งเดิมนี้ สามารถสรางสมดุล ระหวาง “คนกับปา” ทำใหคนในหมูบานสามารถหาเลี้ยงชีพและอาศัยอยูรวมกับปาไดอยางยั่งยืน ภายในชุมชนมีพื้นที่ทั้งสิ้น 23,143 ไร โดยแบงเปนพื้นที่ปา จำนวน 19,498 ไร ที่ทำกิน จำนวน 3,547 ไร และทีอ่ ยูอ าศัย จำนวน 98 ไร ซึง่ ครอบคลุมพืน้ ทีบ่ า นหวยหินลาดใน บานผาเยือง และบาน หวยหินลาดนอก

9


ปจจุบัน พ.ศ. 2556 รางวัลวีรบุรุษผูรักษาปา (Forest Hero) ในฐานะ ผูแทนทวีปเอเชีย

พ.ศ. 2556 บานหวยหินลาดในไดประกาศเปน “วันสถาปนาสิทธิชุมชน และเขตพื้นที่วัฒนธรรมพิเศษ ชุมชนปกาเกอะญอ”

พ.ศ. 2553 ไดเปนพื้นที่นำรองโฉนดชุมชน และชุมชนนำรองเขตสังคม วัฒนธรรมพิเศษตามมติ ครม.

พ.ศ. 2548 ไดรับรางวัลลูกโลกสีเขียว ประเภทกลุมเยาวชน และรางวัลสิปปนนท เกตุทัต 5 ป แหงความยั่งยืน

พ.ศ. 2548 ไดรับรางวัลรูปธรรม ในการจัดการทรัพยากร โดยกระทรวงทรัพยากร และสิ่งแวดลอม

พ.ศ. 2539 เขารวมกับเครือขายเ กษตรกรภาคเหนือ (คกน.) ในการรักษาปา

พ.ศ. 2542 ไดรับรางวัลลูกโลกสีเขียว ประเภทชุมชนอนุรักษดิน น้ำปา

พ.ศ. 2529-2532

มีการสัมปทานปาไม เกิดขึ้นในพื้นที่หมูบาน

พ.ศ. 2535 ไดรับรางวัล หมูบานประชาธิปไตย ระดับประเทศ

อดีต ภาพที่ 3 : ความเปนมาของหมูบานหวยหินลาดใน

10


ปจจัยที่สงเสริมใหเกิดความรวมมืออยางมีประสิทธิภาพ ในหมูบานหวยหินลาดใน 1. ภาวะผูนำ (Leadership) ผูน ำในการขับเคลือ่ นการสนับสนุนประกอบ ไปดวย จะมีผนู ำสองสวนคือ ผูน ำแบบเปนทางการ คือ ผูใหญบาน (นายชัยประเสริฐ โพคะ) และ ผู  น ำแบบไม เ ป น ทางการ คื อ นายปรี ช า ศิ ร ิ (พะตีชาเนอะ) ผูนำที่ชาวบานเคารพนับถือ ในหมูบ า น และนางสาวดาวใจ ศิริ (โตะ) เยาวชน ทีส่ ามารถสรางขวัญและกำลังใจในหมูบ า นหวยหิน ลาดใน ผูน ำเหลานีม้ สี ว นสำคัญในการขับเคลือ่ น กิจกรรมการสนับสนุนชุมชนในการรักษาปา ภายในหมูบ า น เปรียบเสมือนตัวแทนของบุคคล ในหมูบานแตละชวงวัยที่ทำหนาที่ดำเนินการ สงเสริมใหมรี ะบบภายในหมูบ า นและพืน้ ทีใ่ นการ ดูแลรักษาปาที่ดียิ่งขึ้น

2. การสื่อสาร (Communication) การสื ่ อ สารของหมู  บ  า นห ว ยหิ น ลาดใน แบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ การสือ่ สารรวมกัน ภายในหมูบ า น และการสือ่ สารกับบุคคลภายนอก 2.1 การสื่อสารรวมกันภายในหมูบาน สวนใหญจะกระทำผานผูนำอยางเปนทางการ เปนการสื่อสารเพื่อใหเกิดความเขาใจรวมกัน ในเรื่องนโยบายของรัฐ เพื่อสรางความเขาใจ เกี่ยวกับการรักษาสมดุลของปาในพื้นที่ โดย มีการเชื่อมโยงวิถีชีวิตและความเชื่อในการ ดำรงอยูกับสิ่งแวดลอมโดยสันติ อาทิ เรื่อง ของขวัญมนุษย 37 ประการทีช่ าวปกาเกอะญอ เชือ่ วา ตองประกอบไปดวย ขวัญทีอ่ ยูใ นตัวคน 5 ประการ และในสัตวและธรรมชาติอีก 32 ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับคำสอนของชนเผาที่กลาววา

“ ใชปาตองรักษาปา

ใชน้ำตองรักษาน้ำ ”

นายปรีชา ศิริ

นางสาวดาวใจ ศิริ

»ÃÕªÒ ÈÔÃÔ, ¼ÙŒ¹Ó·ÕèªÒǺŒÒ¹à¤Òþ¹Ñº¶×Í (ÊÑÁÀÒɳ , 20 ¾ÄÉÀÒ¤Á 2561)

เพือ่ เปนการบอกใหคนในพืน้ ทีเ่ ห็นถึงคุณคา ของปาที่ มี ต  อ คนในชุ มชนให ด ำรงชี ว ิ ต เป น แหลงอาหารทีห่ ลอเลีย้ งคนในพืน้ ที่ จนถึงปจจุบนั รวมไปถึงความเชือ่ และเรือ่ งเลาอีกมากมาย ทีไ่ ด สอดแทรกแนวคิดเกีย่ วกับ การรักษาปา จากคำสอน เหลานีต้ า งสงผลตอความเชือ่ และพฤติกรรมของ คนในพืน้ ทีท่ ม่ี ตี อ การรักษาปาและอาศัยอยูร ว ม กับปาได

11


2.2 การสือ่ สารกับบุคคลภายนอก สวนใหญ จะกระทำผานนายปรีชา ศิริ (พะตีซาเนาะ) อดีตผูใหญบาน และนางสาวดาวใจ ศิริ (โตะ) ตัวแทนกลุม เยาวชนบานหวยหินลาดใน เปนการ สือ่ สารเพือ่ ใหบคุ คลภายนอกไดเขาใจถึงวิถชี วี ติ วั ฒ นธรรม และภู ม ิ ป  ญ ญาดั ้ ง เดิ ม ของชาว ปกาเกอะญอ ผานการทำกิจกรรมทีห่ ลากหลาย อาทิ การรวมกันสราง แนวกันไฟ การบวชตนไม รวมไปถึงการแลกเปลีย่ นความรูก บั ผูท ม่ี าเยือน ในเรือ่ งธรรมชาติและสิง่ แวดลอม และการรักษาปา รูจักกับหมูบานมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังสามารถ หาขอมูลสำหรับเขามาทองเที่ยว เพื่อศึกษา เรี ย นรู  และการแลกเปลี ่ ย น เช น กลุ  ม ของ มหาวิทยาลัย องคกรภาครัฐ หรือเอกชนทีม่ คี วาม สนใจ เพื ่ อให เ กิ ด การเผยแพรความรูต อไป ไมเพียงแตเปนการสื่อสารระหวางหมูบาน กับนักทองเทีย่ วหรือหนวยงานภายนอกเทานัน้ แตยังมีการสื่อสารกับหมูบานใกลเคียง อาทิ หมูบ า นหวยหินลาดนอกและบานผาเยือง เพือ่ กอ ใหเกิดความเขาใจ และหันมารักษาปาเชนเดียว กับพื้นที่หมูบานหวยหินลาดใน 3. การบริหารจัดการทรัพยากร (Administrative Resources) การบริหารจัดการทรัพยากรภายในบาน หวยหินลาดใน เปนการบริหารจัดการในรูปแบบ ของการพัฒนาระบบนิเวศ โดยมีการจัดสรรพืน้ ที่ ในการทำพืชหมุนเวียน เลีย้ งผึง้ ทำไรชาพืน้ ถิน่ และการปลูกปาไผเพื่อเก็บหนอไม การจัด บริหารจัดการพื้นที่ของบานหวยหินลาดใน เปนการจัดการที่ทำรวมกับการอนุรักษปาไม ในพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารทำไรหมุนเวียน จึงไมสง ผลกระทบ ตอระบบนิเวศในพื้นที่ 12

3.1 การทำไรหมุนเวียน เปนการทำการ เกษตรแบบโบราณ ไมมกี ารใชสารเคมี หรือนำ เมล็ดพันธุจ ากภายนอกเขามาปลูกในพืน้ ที่ เพือ่ รักษาระบบนิเวศใหคงเดิม โดยถือเปนภูมปิ ญ  ญา ดั้งเดิมในการอาศัยอยูรวมกับปาของชาวบาน หวยหินลาดใน 3.2 การเลีย้ งผึง้ เปนการเลีย้ งผึง้ ตามธรรมชาติ โดยสรางรังที่ทำใหผึ้งสามารถเขาอาศัยและ ผลิตน้ำผึง้ ได โดยโพรงผึง้ ทีช่ าวบานสรางขึน้ นัน้ จะนำไปวางไวใตตน ไมหรือริมน้ำตามปาในพืน้ ที่

3.3 การทำไร ช าพื ้ น ถิ ่ น ในหมู  บ  า น หวยหินลาดในนั้น ไดมีการทำไรชาพันธุอัสสัม โดยปราศจากการใชสารเคมีในการดูแลไรชา จึงทำใหชาในพื้นที่เปนชาที่ปลอดสารพิษ และ สมาชิกในชุมชนสามารถเขาไปเก็บได ไมมีการ แบงแยกวาเปนพืน้ ทีข่ องใคร เพือ่ เปนการสราง รายไดใหคนในพื้นที่ 3.4 การปลูกปาไผเพื่อเก็บหนอไม หนอไมของหมูบานจะเรียกวาหนอหก คือใน หนึ ่ ง ป จ ะมี ห น อ ไม 6 หน อ และมี ก ารเก็ บ บางสวนไวเปนแมพนั ธุข องหนอ โดยหนอจะเติบโต ในชวงเวลาแค 3 เดือน แตจะมีการแบงเวลา การเก็บเกีย่ วหนึง่ เดือนครึง่ และอีกหนึง่ เดือนครึง่ จะเปนการเก็บรักษาพันธุของหนอไมตอไป


4. การไดผลประโยชนรวมกัน (Mutual Benefit) นอกจากการบริหารจัดการทรัพยากรภายใน หมูบ า นแลว ทางหมูบ า นยังไดมกี ารเปดโอกาส ใหบคุ คลภายนอกไดเขามาแลกเปลีย่ น และเรียนรู ภายในหมูบาน เพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับ การดำรงอยูข องบานหวยหินลาดใน ในการรักษา ปาผานการดำรงวิถชี วี ติ ของชาวบาน และรักษา สมดุลของระบบนิเวศภายในหมูบานยังมีการ จัดตัง้ กองทุนหมูบ า น และจัดสรรปนสวนเพือ่ ให ไดรบั ผลประโยชนรว มกันอยางเทาเทียม ซึง่ กองทุน เหลานี้เกิดจากการที่ชุมชนมีรายไดจากการ ขายสินคาและผลิตภัณฑชุมชน โดยแบงรายได สวนหนึง่ ไปบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนผาน 3 กองทุนหลัก ไดแก

ÃÒÂÅÐàÍÕ´ 3 ¡Í§·Ø¹ËÅÑ¡ ÍÂً˹ŒÒ¶Ñ´ä»

13


กองทุนละลาย

ดูแลโดยผูใหญบาน

น้ำผึ้งแบรนด HOSTBEEHIVE และสบูน้ำผึ้ง

กองทุนเยาวชน

หัก 30%

กระจายออกไปในดานตาง ๆ ทั้งการรักษาปา การดูแลยามเจ็บไขไดปวย ของคนในชุมชน

ดูแลโดยกลุมเยาวชน

สนับสนุนเรื่องการทำกิจกรรมของเด็กและเยาวชนในพื้นที่

กองทุน

การศึกษาดูงาน

หัก 30%

การศึกษาดูงาน

หัก 10%

การศึกษาดูงาน

หัก 10%

การศึกษาดูงาน

หัก 10%

กองทุนกลุมสตรี

ดูแลโดยกลุมสตรี

เสื้อผาของชนเผา

หัก 30%

สนับสนุนการจัดทำแนวกันไฟ จัดทำคายเยาวชน เพื่อสรางสัมพันธอันดีระหวางชนเผา สนับสนุนกิจกรรมดูแลรักษาปา

ซื้ออุปกรณใหกลุมแมบานใชในการผลิตเสื้อผา

ภาพที่ 4 : การบริหารจัดการทรัพยากรชุมชนผาน 3 กองทุนหลัก

การดำเนินการของแตละกองทุนนัน้ ตัง้ อยูบ น ความโปรงใส โดยมีการประชุมประจำเดือน ในทุกวันที่ 10 ของแตละเดือน เพือ่ เปนการสรุป ผลการดำเนินการและหารือวางแผนถึงการพัฒนา หมูบ า น และการรักษาปาในพืน้ ทีต่ อ ไป โดยจะมี เหรัญญิกทำหนาทีร่ ายงานดานการเงินของหมูบ า น แจกแจงรายละเอียดเกีย่ วกับการจัดสรรเงินทุน ที่ถูกนำไปใช ทั้งในดานของการจัดทำไฟปา การรักษาปา และการดูแลรักษาคนที่เจ็บไข ไดปวยภายในหมูบาน 5. ความไวเนือ้ เชือ่ ใจ (Credence/Trust) การสรางความไวเนือ้ เชือ่ ใจของบานหวยหิน ลาดในนั้น เริ่มตนจากการสรางความเขาใจ ใหคนในชุมชนเกีย่ วกับการดำเนินการของผูน ำ ในหมูบ า น เพือ่ ใหเห็นเปาหมายตรงกันผานการ ประชุมประจำเดือน โดยผูท ำหนาทีร่ กั ษากองทุน จะทำการรายงานสถานการณทางการเงิน รายรับ รายจายใหแกสมาชิก เปนการสรางความโปรงใส 14

ซึ่งในการดำเนินการสวนนื้ถือเปนสวนสำคัญ ในการสรางความเชื่อมั่นระหวางชาวบานและ ผูน ำใหมคี วามเขมแข็ง จนเกิดเปนการดำเนินการ อยางมีประสิทธิภาพ


Ãкº¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃʹѺʹعªØÁª¹ ã¹ËÁÙ‹ºŒÒ¹ËŒÇÂËÔ¹ÅÒ´ã¹

สำหรับระบบทีใ่ ชในการสงเสริมการสนับสนุน กิจกรรมภายในหมูบ า นหวยหินลาดในนัน้ ไมมกี าร จัดทำเปนลายลักษณอกั ษร แตเปนการดำเนินการ เองโดยหมูบาน เพื่อใหเกิดการรับรูไปสูบุคคล ภายนอก จนเกิดเปนการสนับสนุนเขามาในพืน้ ที่ การสนับสนุนชุมชนบานหวยหินลาดในนัน้ เกิดจาก การเขาไปมีสว นรวมของบุคคลภายนอก ในการ แลกเปลีย่ นเรียนรูเ กีย่ วกับการรักษาปา ผานวิถี การดำรงชีวติ ของคนในพืน้ ที่ โดยมีความเชือ่ ในเรือ่ ง ปกาเกอะญอตองอยูกับปา

…¡ÒôÓç໚¹»¡Òà¡ÍÐÞ͵ŒÍ§ÍÂÙ‹¡Ñº»†Ò à¾ÃÒÐÇÔ¶ÕªÕÇÔµ¢Í§àÃÒ¹Ñ้¹à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº»†Ò àÃÒ¾Í㨡Ѻ¡ÒÃÍÂÙ‹ã¹»†ÒẺ¹Õ้ ´Õ¡Ç‹Ò¡ÒõŒÍ§à»ÅÕ่¹ÇÔ¶ÕªÕÇÔµ.. »ÃÕªÒ ÈÔÃ,Ô ¼Ù¹Œ Ó·Õªè ÒǺŒÒ¹à¤Òþ¹Ñº¶×Í (ÊÑÁÀÒɳ , 20 ¾ÄÉÀÒ¤Á 2561)

15


จากความเชื่อสูโครงการที่ประชาสัมพันธ ใหบุคคลภายนอกรับรูในวงกวาง โดยกิจกรรม ที่เกิดขึ้นภายในชุมชนนั้นไดรับการสนับสนุน จากหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา ตลอดจนบุคคลที่มีความสนใจ ในประเด็นการรักษาปาและการรักษาสมดุล ทางระบบนิเวศ โดยกลุม คนรุน ใหมภายในชุมชน ทีไ่ ดออกไปศึกษายังทีต่ า ง ๆ ไดชว ยประชาสัมพันธ และทำใหเกิดโครงการและกิจกรรมตาง ๆ เขามา สนับสนุนชุมชน อีกทัง้ การเผยแพรขอ มูลของคน ในชุมชนเกี่ยวกับการรักษาปาและการจัดการ ทรัพยากรเพือ่ ใหสามารถอยูร ว มกับปาไดอยางสมดุล เปนสวนสำคัญในการสนับสนุนชุมชน ทัง้ นีส้ ว นของ ภาครัฐนั้นมาจากหนวยงานตาง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกพืน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงราย โดยสวนใหญเปน การเขามาศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนความรู เกีย่ วกับการรักษาปาและบริหารจัดการทรัพยากร ในพืน้ ที่ เชนเดียวกับภาคเอกชนทีเ่ ขามาใหความ ชวยเหลือสนับสนุนโครงการภายในหมูบาน

รวมถึงเขามาแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการ ดำเนินการรักษาปาภายในหมูบ า นและประชาสัมพันธ ใหบคุ คลภายในนอกไดรบั รูต อ ไป อีกกลุ​ุมหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการชวย ประชาสัมพันธกลุมนักวิชาการ มหาวิทยาลัย ตาง ๆ เขามาใหการสนับสนุน และแลกเปลี่ยน ความรูในพื้นที่ อาทิ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และมหาวิทยาลัย อืน่ ๆ อีกมากมาย รวมถึงเรือ่ งการเพิม่ รายไดแก ผลผลิตทางการเกษตรของหมูบานหรือการ เผยแพรขอมูลของหมูบาน ซึ่งในการเขามาทำ กิจกรรมหรือโครงการตาง ๆ ขององคกร บุคคล ภายนอก ทางหมูบ า นจะทำการบันทึกผานสมุด แสดงความคิดเห็นเพื่อเปนการบอกถึงความ รูสึกและความทรงจำเกี่ยวกับการเขามาทำ กิจกรรมและโครงการภายในหมูบานหวยหิน ลาดใน

ชาวบาน สถาบัน การศึกษา

นักวิชาการ

ลูกหลาน

ภาคีของ บานหวยหินลาดใน เอกชน

ภาพที่ 5 : ภาคีของหมูบานหวยหินลาดใน

16

ภาครัฐ


¡ÒÃÁͧàË็¹¤Ø³¤‹Ò สู ¡ÒÃʹѺʹع

17


กรณีศึกษา มูลนิธิเพื่อ สุนัขในซอย จังหวัดภูเก็ต

18


¡Ã³ÕÈÖ¡ÉÒ ÁÙŹԸÔà¾×èÍÊعѢ㹫Í ¨Ñ§ËÇÑ´ÀÙà¡çµ

»ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ

มูลนิธิเพื่อสุนัขในซอย (Soi Dog Foundation) ตั้งอยูที่ หมู4 ซอยไมขาว 10 ต.ไมขาว อ.ถลาง จ.ภูเก็ต เปนมูลนิธิที่จัดตั้งขึ้นเพื่อชวยเหลือสุนัขและแมวจรจัดที่ไรผูดูแลใหไดรับการดูแล มูลนิธิเพื่อสุนัขในซอยมีอาสาสมัครจากหลากหลายประเทศเดินทางเขามาเพื่อดูแลสุนัขและ แมว รวมถึงใหความชวยเหลือในดานอื่น ๆ ทั้งการบริจาคเงิน บริจาคสิ่งของ ตลอดจนยารักษาโรค ตาง ๆ ที่จำเปนตอสุนัขและแมวในมูลนิธิฯ นอกจากอาสาสมัครที่เดินทางมาจากตางประเทศแลว นักทองเที่ยวที่เดินทางมายังจังหวัดภูเก็ตที่มีความสนใจในเรื่องของสุนัขและแมวจรจัด ตางให ความสนใจและเดินทางมายังมูลนิธิเพื่อเยี่ยมชมความเปนอยูของสุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่ของ มูลนิธิฯ โดยภายในมูลนิธิไดมีการจัดเจาหนาที่และกลุมอาสาสมัครที่มีความเขาใจถึงความเปนมา ของมูลนิธิฯ ชวยบอกเลาถึงการดำเนินการ และการดูแลสุนัขและแมวในมูลนิธิฯ แกนักทองเที่ยว ทีเ่ ดินทางเขามาไดรบั รู ทัง้ นีน้ กั ทองเทีย่ วบางกลุม ทีไ่ ดเดินทางเขามาไดมกี ารรับรูถ งึ ความตัง้ ใจของมูลนิธิ ทำใหมกี ารตัดสินใจพักตอในจังหวัดภูเก็ต เพือ่ เขามาดูแลสุนขั และแมวในมูลนิธฯิ

19


ความเปนมาของแหลงทองเที่ยว สำหรับคนรักสัตว “ซอยดอก” พ.ศ .2557

พ.ศ. 2546

มีการกอตั้งมูลนิธิ เพื่อสุนัขในซอย (Soi dog foundation)

พ.ศ. 2548

World Society for the Protection of Animals (WSPA) ไดตัดสินใจสนับสนุนดานการเงิน แกโครงการทำหมัน เปนเวลาสองป

พ.ศ. 2554

มีการเริ่มดำเนินโครงการ รณรงคยุติการสงออก เนื้อสุนัขผิดกฎหมาย

เขารวมเปนคณะกรรมการ พิจารณาราง พรบ.สวัสดิภาพสัตว ในปลายปที่ทำใหการบริโภค เนื้อสุนัขและแมวกลายเปน การกระทำผิดกฎหมาย

อดีต

ปจจุบัน

พ.ศ. 2548

ไดรับการจดทะเบียนเปนมูลนิธิ ในประเทศไทยและไดมีการกอตั้ง คณะกรรมการบริหาร ชาวไทยขึ้น

พ.ศ. 2551

มีการจัดตั้งศูนยพึ่งพิง และสำนักงานใหญของมูลนิธิ ณ จังหวัดภูเก็ต

พ.ศ. 2556

มีการรวมบริจาคทุนทรัพย จากผูสนับสนุนมูลนิธิเพื่อกอสราง ศูนยพักพิงขนาดใหญ ขึ้นบนพื้นที่ของ ดานกักกันบุรีรัมย

ภาพที่ 6 ความเปนมาของมูลนิธิเพื่อสุนัขในซอย จังหวัดภูเก็ต

ที่มา : tripadvisor.com

20

จากการทีก่ ลุม นักทองเทีย่ วใหความสนใจเปนจำนวนมาก จึงทำใหมลู นิธเิ พือ่ สุนขั ในซอยถูกนำไปรีววิ ในเว็บไซตทริปแอดไวเซอร (www.tripadvisor.com) และทำใหเกิดการบอกตอเรื่องราวจนทำให มีผสู นใจเดินทางเขาไปในมูลนิธฯิ มากยิง่ ขึน้ จากการรับรูท เ่ี พิม่ มากขึน้ สงผลใหองคกรตาง ๆ จากทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน รวมถึงกลุมบุคคลที่มีความสนใจในเรื่องสุนัขและแมวเขามาจัดกิจกรรม เพื่อสนับสนุนการดำเนินการของมูลนิธิเพื่อสุนัขในซอย อาทิ การระดมเงินทุนเพื่อสนับสนุนการ ดำเนินการของมูลนิธิ การจัดแคมเปญเพื่อชวยเหลือปญหาสุนัขจรจัด การจัดกิจกรรมอบรมและ ใหความรูเกี่ยวกับสุนัขและแมวแกบุคคลภายนอกพื้นที่ใหเกิดความเขาใจ และกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมายทีเ่ ขามามีสว นรวมในการขับเคลือ่ นการดำเนินการของมูลนิธเิ พือ่ สุนขั ในซอย เพือ่ ชวยเหลือ สุนขั และแมวจรจัดในพืน้ ทีจ่ งั หวัดภูเก็ต และสงผลไปยังพืน้ ทีอ่ น่ื ๆ ทีม่ ปี ญ  หาเรือ่ งสุนขั และแมวจรจัด ในพื้นที่ รวมถึงปญหาการคาขายสุนัขเพื่อการบริโภคที่เกิดขึ้นในบางพื้นที่ของประเทศไทย


»˜¨¨Ñ·Õ่Ê‹§àÊÃÔÁãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁËÇÁÁ×ÍÍ‹ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ ã¹ÁÙŹԸÔà¾×่ÍÊعѢ㹫Í ¨Ñ§ËÇÑ´ÀÙà¡็µ

1. ภาวะผูนำ (Leadership) มูลนิธิเพื่อสุนัขในซอย ไดกอตั้งขึ้นจาก ความตัง้ ใจของคุณจอหนและคุณจิลล ดัลลีย คูส ามี ภรรยาชาวอังกฤษที่เขามาใชชีวิตวัยเกษียณ ที่จังหวัดภูเก็ต และตองการทำงานที่ชวยเหลือ ปญหาสุนขั และแมวจรจัดในเกาะแหงนี้ ซึง่ ใ นอดีต ปญหาสุนขั และแมวจรจัดในพืน้ ทีจ่ งั หวัดภูเก็ตนัน้ มีอยูเปนจำนวนมาก 2. การสื่อสาร (Communication) การสื่อสารหลักของมูลนิธิเพื่อสุนัขในซอย คือการสือ่ สารผานเว็บไซตหลักของมูลนิธฯิ เพือ่ เปนการกระจายขาวสารเกีย่ วกับการดูแลรักษาสุนขั และแมวจรจัดทีถ่ กู ทอดทิง้ ในพืน้ ที่ รวมถึงทีต่ ง้ั ของมูลนิธินั้นไดเปดใหบุคคลที่มีความสนใจ เกีย่ วกับสุนขั และแมวทีถ่ กู ทอดทิง้ และตองการ ที่จะเขามาชวยเหลือหรือดูแลสามารถเขามา ภายในพื้นที่เพื่อดูแลสุนัขและแมวไดเชนกัน โดยจะมีกลุม อาสาสมัครและเจาหนาทีใ่ นมูลนิธฯิ ทำหนาที่ใหความรูและแนะนำในการเขาถึง กลุม สุนขั และแมวจรจัดที่อยูในความดูแล

21


นอกจากการสื่อสารผานเว็บไซตของมูลนิธิแลว ยังมีกลุม ของคนทีเ่ คยเขามายังพืน้ ทีข่ องมูลนิธเิ พือ่ สุนขั ในซอย ไดนำขอมูลไปเผยแพรในเว็บไซตทริป แอดไวเซอร (Tripeadvisor.com) เพือ่ เลาถึงความ ประทับใจในการเขาไปเยีย่ มชม และทำกิจกรรม ภายในมูลนิธิ จึงทำใหเกิดการสือ่ สารในวงกวาง จนทำให ม ี ค นเข า มาในมู ล นิ ธ ิ ฯ มากยิ ่ ง ขึ ้ น นอกจากจะเดินทางมายังจังหวัดภูเก็ตเพือ่ พักผอน แลวนัน้ ยังมีการเลือกเขามาทำกิจกรรมภายในมูลนิธิ รวมถึงรวมสนับสนุนเงินบริจาคและสิง่ ของทีจ่ ำเปน ใหแกสนุ ขั และแมวภายในมูลนิธฯิ

3. การบริหารจัดการทรัพยากร (Administrative Resources) สำหรับการบริหารจัดการทรัพยากรภายใน มูลนิธเิ พือ่ สุนขั ในซอยนัน้ มีการบริหารโดยกลุม เจาหนาที่ภายในองคกรเพื่อจัดสรรเงินบริจาค สิ่งของ อุปกรณเครื่องใช และความเรียบรอย โดยรวมขององคกร ซึ่งภายในจะมีการบริหาร จัดการอยางเปนระบบ โดยมีการแบงการทำงาน เปนแผนกเพื่อใหสะดวกตอการดำเนินการรวม

22

และสามารถตรวจสอบได นอกจากนี้แลวยัง ไดมีการติดตามและประเมินผลการทำงานของ เจาหนาที่ภายในมูลนิธิ เพื่อใหการดำเนินการ เปนไปอยางราบรื่น


4. การไดผลประโยชนรวมกัน (Mutual Benefit)

CNVR มูลนิธิเพื่อสุนัขในซอย ไดมีการดำเนินการ เกีย่ วกับการลดปญหาจำนวนประชากรสุนขั และแมว จรจัดโดยใชกระบวนการ CNVR ซึง่ เปนกระบวน การทีส่ ามารถแกไขปญหาการเพิม่ ขึน้ ของจำนวน ประชากรสุนัขและแมวจรจัดไดอยางยั่งยืน เนือ่ งจากสุนขั ทีไ่ ดรบั การดูแลผานวิธกี ารนีจ้ ะถูก นำกลับไปปลอยยังพื้นที่เดิม เพื่อดูแลพื้นที่ ทีส่ นุ ขั ตัวเดิมอยูแ ละปองกันไมใหสนุ ขั จากตางถิน่ เขามาอยูอ าศัยเพิม่ ซึง่ จากการดำเนินการขางตน ของมูลนิธเิ พือ่ สุนขั ในซอยสงผลใหจำนวนสุนขั และแมวจรจัดในพื้นที่จังหวัดภูเก็ตลดลงอยาง เห็นไดชดั สงผลใหชมุ ชนโดยรอบเกิดความพึงพอใจ เนือ่ งจากไมตอ งกังวลกับโรคทีจ่ ะตามมากับสุนขั และแมวจรจัดในพืน้ ที่ อีกทัง้ ยังสามารถลดปญหา การเกิดอุบตั เิ หตุเกีย่ วกับการเชีย่ วชนสุนขั และ ปญหานักทองเทีย่ วหรือคนในพืน้ ทีถ่ กู สุนขั จรจัด กัดได ซึง่ จากการดำเนินการอยางจริงจังของทาง มูลนิธฯิ พบวาในปจจุบนั พืน้ ทีจ่ งั หวัดภูเก็ตมีสนุ ขั และแมวจรจัดใหเห็นตามทองถนนลดนอยลง และยังไดมีการขยายการดำเนินการไปยังพื้นที่ ใกลเคียง เพื่อกำจัดปญหาสุนัขและแมวจรจัด ที่เกิดขึน้ ในประเทศไทยไดเปนอยางดี

เกร็ดความรู กระบวนการ CNVR เปนกระบวนการจัดการ ที่ชวยขจัดปญหาการเพิ่มขึ้นของประชากรสุนัข และแมวจรจัด ซึ่งกระบวนการ CNVR ประกอบไปดวย • Capture คือ การจับสุนัข • Neuter คือ การทำหมันเพื่อควบคุม จำนวนประชากร • Vaccine คือ การฉีดวัคซีนเพื่อใหปลอดภัย ทั้งตัวสุนัขและบุคคลรอบขาง • Release คือ การปลอยสุนัขกลับไปยัง อาณาเขตเดิมที่จับมา

23


5. ความไวเนื้อเชื่อใจ (Credence/Trust) สำหรับความเชื่อมั่นใจการดำเนินการของ มูลนิธเิ พือ่ สุนขั ในซอยนัน้ ไดรบั รางวัล GuideStar Platinum Seal เปนเครือ่ งหมายระดับ Platinum รั บ รอง "ความโปร ง ใส" จาก GuideStar ซึ่งเปนแหลงรวมฐานขอมูลของมูลนิธิตาง ๆ ทั่วโลก จึงทำใหผูที่ใหการสนับสนุนเกิดความ เชื่อมั่นในตัวองคกรมากยิ่งขึ้น

24


Ãкºã¹¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃʹѺʹعªØÁª¹ ã¹ÁÙŹԸÔà¾×่ÍÊعѢ㹫Í ¨Ñ§ËÇÑ´ÀÙà¡็µ

สำหรับระบบในการสงเสริมการสนับสนุนมูลนิธิเพื่อสุนัขในซอยนั้น สามารถทำไดหลากหลาย รูปแบบ ไดแก 1. การบริจาคเงินผานชองทางออนไลน โดยการโอนเงินเขาบัญชีธนาคารของทางมูลนิธิ

โดยสามารถเลือกไดวาตองการบริจาคเปนรายเดือนหรือเปนจำนวนครั้ง นอกจากนี้ ยังมีการรวมบริจาค ณ สำนักงานหลักของมูลนิธิ โดยจะมีซมุ ประชาสัมพันธของมูลนิธิ ตั้งอยูเพื่ออธิบายถึงการทำงานของมูลนิธิ และใหความรูเกี่ยวกับการดูแลรักษาสุนัข และแมว รวมไปถึงการบริจาคแกมลู นิธฯิ เพือ่ นำไปดูแลและรักษาสุนขั และแมวตอไป 2. การอุปถัมภสน ุ ขั และแมวทีอ่ ยูใ นความดูแลของมูลนิธิ สามารถทำได 2 วิธี คือ การ รับอุปถัมภโดยใหอยูใ นความดูแลของผูท ด่ี แู ลเอง แตจำเปนตองมีการประเมินความพรอม ของผูท จ่ี ะอุปถัมภ เพือ่ ลดการเกิดปญหาของจำนวนของสุนขั และแมวจรจัดภายหลัง นอกจากนี้ยังสามารถเขารวมโครงการผูอุปถัมภเพียง 1,050 บาทตอเดือน เพื่อรับ ขาวคราวของสุนขั ทีร่ บั อุปถัมภเปนประจำตลอดทัง้ ป การอุปถัมภโดยเงินบริจาคทีไ่ ดนน้ั จะถูกนำไปจัดสรรในการดูแลสุนขั ทุก ๆ ตัวในมูลนิธฯิ ตอไป 3. การเปนอาสาสมัครในมูลนิธิ คือ การฝกใหอยูร ว มกันเปนสังคมและการพาสุนขั เดินเลน

รวมทั้งการฝกแมวและสุนัขใหรูจักการอยูรวมกันเปนสังคม สุนัขและแมวที่พักอยูใน ศูนยพักพิงของมูลนิธิจะไดรับการอุปการะไปอยูกับครอบครัวใหม ซึ่งเปนสิ่งจำเปน ที่จะตองมีการเรียนรู สอนใหพวกเขายอมรับและไวใจผูคน และสอนใหสุนัขรูจักการ เดินเลนดวยสายจูงไดอยางถูกตอง

4. การบริจาคสิง่ ของเครือ่ งใช มูลนิธเิ พือ่ สุนขั ในซอย จำเปนตองไดรบั การบริจาคเวชภัณฑ

เพือ่ ใชในการรักษาพยาบาลสุนขั และแมวจรจัดในประเทศไทย แตจำเปนตองไดรบั การ ตรวจเช็คถึงประเภทของสิง่ ของบริจาควาสามารถใชไดหรือไม เพือ่ กอใหเกิดการนำสิง่ ของ บริจาคไปใชใหเกิดประโยชนสงู สุด 25


26 111


¡ÒûÃÐÂØ¡µ 㪌ͧ¤ ¤ÇÒÁÃÙŒ: จากการลงพืน้ ทีศ่ กึ ษาหมูบ า นหวยหินลาดใน จังหวัดเชียงราย และมูลนิธเิ พือ่ สุนขั ในซอย จังหวัด ภูเก็ต จากวิเคราะหขอมูลดานบริบทของพื้นที่ ความเปนมาและปจจัยที่สงเสริมใหเกิดความรวมมือ อยางมีประสิทธิภาพภายในพื้นที่ รวมถึงระบบในการสงเสริมใหองคกรหรือบุคคลภายนอกสามารถ เขามารวมเปนสวนหนึง่ ในการสนับสนุนพืน้ ทีห่ รือชุมชนนัน้ จึงนำมาสูโ มเดล 5Cs ทีเ่ ปนเกณฑสำหรับ การประเมินตนเอง ในดานบริบทของพื้นที่เพื่อกำหนดทิศทางในการสรางความรวมมือในชุมชน และสามารถตอยอดใหเกิดกิจกรรมหรือโครงการทีส่ ามารถสงเสริมสนับสนุนพืน้ ทีห่ รือชุมชนได ซึง่ การ วิเคราะหขอ มูลขึน้ อยูก บั บริบทของแตละพืน้ ที่ อาจไมเหมาะสำหรับการใชประเมินในแหลงทองเทีย่ ว กระแสหลัก (Mass Tourism) โดยโมเดล 5Cs แสดงรายละเอียดดังภาพตอไปนี้

คานิยมหลักขององคกร/ชุมชน (Core Value)

สนับสนุนชุมชน สูความยั่งยืน 5Cs Model

รูปแบบความรวมมือ (Channel of collaboration)

ความไวเนื้อเชื่อใจ (Credence/Trust)

การสื่อสาร (Communication)

ความสนใจรวมกัน (Common Interest)

ภาพที่ 7 : โมเดล 5Cs ที่เปนเกณฑสำหรับการประเมินตนเอง

27


¤‹Ò¹ÔÂÁËÅÑ¡¢Í§Í§¤ ¡ÃËÃ×ͪØÁª¹ (Core Value) เปนการวิเคราะหคณ ุ ลักษณะ และความเชือ่ ของคนภายในองคกรหรือชุมชน เปรียบเสมือนการ วิเคราะหตนเอง เพือ่ ใหทราบถึงสิง่ ทีเ่ ปนเปาหลักขององคกรหรือชุมชนทีส่ ามารถยึดถือรวมกันได ¡ÒÃÊ×่ÍÊÒà (Communication) เปนกระบวนการสงสารขอมูลไปยังผูรับสารโดยมีลักษณะการสื่อสารที่แตกตางกันออกไป ขึน้ อยูก บั ความตองการและความเหมาะสมของพืน้ ที่ ¤ÇÒÁʹã¨Ã‹ÇÁ¡Ñ¹ (Common Interest) เปนการวิเคราะหบุคคลที่เขามายังพื้นที่หรือชุมชน ตองเปนผูที่มีความสนใจรวมกันในเรื่องที่ พื้นที่หรือชุมชนนั้น ๆ ยึดถือเปนคานิยมหลัก (Core Value) เพื่อใหสามารถกำหนดกลุมเปาหมาย ทีม่ คี วามสนใจรวมกันไดอยางชัดเจนมากยิ่งขึ้น ÃٻẺ¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í (Channel of Collaboration) รูปแบบของการทำงานรวมกัน เพื่อวัตถุประสงคใดวัตถุประสงคหนึ่ง โดยเนนการสรางความ รวมมือระหวางคนในชุมชนและบุคคลภายนอก ใหเขามามีสว นรวมในการทำกิจกรรม หรือโครงการ ตางๆจนเกิดเปนการพัฒนาอยางยั่งยืนในพื้นที่หรือชุมชนนั้น ๆ ¡ÒÃäÇŒà¹×้Íàª×่Í㨠(Credence/Trust) เปนการศึกษาเกีย่ วกับหลักธรรมภิบาลขององคกร (Good governance) กลาวคือ มีความสำนึก รับผิดชอบ มีความโปรงใส และมีการปกครองที่เปนธรรม รวมถึงทุกคนสามารถเขามามีสวนรวมได จนทำใหเกิดความไวเนือ้ เชือ่ ใจขึน้ ในพืน้ ทีห่ รือชุมชน และเปนแนวทางทีน่ ำไปสูก ารจัดระเบียบในการ อยูรวมกันเพื่อใหสามารถอยูรวมกันไดอยางสงบสุข 28


29


ࡳ± ¡ÒûÃÐàÁÔ¹¾×้¹·Õ่ÈÖ¡ÉÒ การศึกษานีไ้ ดรวบรวมปจจัยความสำเร็จการสนับสนุนชุมชน จากกรณีศกึ ษาทัง้ สองกรณี ซึง่ นำมาสู ปจจัยความสำเร็จ 5 ดาน ไดแก คานิยมหลัก การสื่อสาร ความสนใจรวมกัน การไวเนื้อเชื่อใจ และ รูปแบบความรวมมือ หรือทีเ่ รียกวา 5Cs Model และไดทำการพัฒนาตอยอดไปสูเ กณฑการประเมิน การสนับสนุนชุมชนสูความยั่งยืน โดยนำปจจัยความสำเร็จแตละดานมาจำแนกเปนลำดับชั้น 0-5 โดยที่ 0 หมายถึง ไมมี และ 5 หมายถึง มีในระดับมากที่สุด ดังตารางดานลางนี้ ระดับ 0

ระดับ

คานิยมหลัก ขององคกร/ชุมชน (Core Values) ไมมี

ระดับ 1

การสื่อสาร (Communication) ไมมี

ระดับ 2

ความสนใจรวมกัน (Common Interest)

ระดับ 3

การไวเนื้อเชื่อใจ (Credence /Trust)

ไมมี

ไมมี

ระดับ 5

รูปแบบความรวมมือ (Channel of Collaboration) ไมมี

มีเฉพาะผูน  ำชุมชนหรือองคกรเทานัน ้ มีการสื่อสารเรื่องทั่วไป ที่เขาใจเปาหมายของคานิยมหลัก ระหวางกันภายในชุมชน ขององคกรหรือชุมชน หรือองคกร

จำนวนความสนใจรวม นอยกวารอยละ 30 จาก คนในชุมชนหรือองคกร

มีความโปรงใส และ มีการตรวจสอบบัญชี โดยคณะกรรมการ

มีรูปแบบของกิจกรรม หรือโครงการที่ชัดเจน เปนรูปธรรม

เฉพาะผูนำและคณะกรรมการ หรือคณะทำงานเทานั้นที่เขาใจ เปาหมายของคานิยมหลัก ขององคกรหรือชุมชน

มีการดำเนินการในระดับ 1 และมีการสื่อสารเกี่ยวกับ คานิยมภายในชุมชนหรือ องคกร

จำนวนความสนใจรวมมีมากกกวา รอยละ 30 จากคนในชุมชน หรือองคกร

มีการดำเนินการในระดับ 1 และมีการประชุมรวมกัน เพื่อตัดสินปญหา

มีการดำเนินการในระดับ 1 และมีการประเมินผลกระทบ ทั้งทางบวกและลบ และมี การดำเนินการอยางตอเนื่อง

สมาชิกมีคุณลักษณะรวม ในเรื่องความเชื่อของคน ภายในองคกรหรือชุมชน สิง่ ทีเ่ ปนเปาหลักทีส ่ ามารถยึดถือ รวมกันได ปฏิบัติตอเนื่อง เห็นผลเชิงประจักษ

มีการดำเนินการในระดับ 1, 2 และมีการสื่อสารในเรื่องคานิยม ขององคกรหรือชุมชนไปสูผูที่ มีสวนเกี่ยวของและบุคคล ภายนอก

มีในการดำเนินการในระดับ 2 และเปดโอกาสใหคนภายนอก เขามามีสวนรวมในโครงการ หรือกิจกรรมตาง ๆ อยางตอเนื่อง ยาวนาน และมีความยั่งยืน

มีการดำเนินการในระดับ 1, 2 และมีกฏเกณฑทส ่ ี รางขึน ้ เพื่อสนับสนุนโครงการ หรือกิจกรรมของชุมชน หรือองคกร

มีการดำเนินการในระดับ 1, 2 และเปดโอกาสใหคน ภายนอกเขามามีสวนรวม กับกิจกรรมหรือโครงการ

มีการดำเนินการในระดับ 2, 3 และมีเปาหมายในการดำเนินการ เพื่อทุกคนที่เกี่ยวของ และมีการ ลงมือปฏิบต ั อิ ยางตอเนือ่ งยาวนาน รวมถึงเปนตัวอยางทีด ่ แี ละสามารถ นำไปปรับใชได

มีการดำเนินการในระดับ 1, 2, 3 และมีการสือ่ สารกับบุคคล ภายนอกเกี่ยวกับการเขามา มีสวนรวมในการสนับสนุน กิจกรรม โครงการ และการ ทำงานของชุมชนหรือองคกร

มีการดำเนินการในระดับ 2, 3 และเปนตัวอยางที่ดี สามารถ เผยแพรความรูไปใชยังพื้นที่อื่นได อยางประจักษ และมีการสืบทอด ไปยังคนรุนใหม

มีการดำเนินการในระดับ 1, 2, 3 และมีการรายงาน ตอสาธารณชน และสามารถ ตรวจสอบได

มีการดำเนินการในระดับ 1, 2, 3 และสามารถขยายผล ไปสูพื้นที่อื่นได และมีการ สนับสนุนจากบุคคลภายนอก อยางตอเนื่อง

มีการดำเนินการในระดับ 2, 3, 4 และเปนตัวอยางที่ดี และไดรับรางวัลการันตี

มีการดำเนินการในระดับ 1, 2, 3, 4 และเปนตัวอยางที่ดี และไดรับรางวัลการันตี

มีการดำเนินการในรระดับ 2, 3, 4 เปนตัวอยางที่ดี และไดรับรางวัล การันตี

มีการดำเนินการในระดับ 1, 2, 3, 4 เปนตัวอยางที่ดี และไดรับรางวัลการันตี

มีการดำเนินการในระดับ 1, 2, 3, 4 และเปนตัวอยาง ที่ดีและไดรับรางวัลการันตี

ตารางที่ 8 : เกณฑการประเมินการสนับสนุนชุมชนสูความยั่งยืน

30

ระดับ 4


" One Health สุขภาพหนึ่งเดียว สูการมีสุขภาพที่ดีโดยองครวม"

31


32


¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹¾×้¹·Õ่ÈÖ¡ÉÒ จากกรอบการวิเคราะหบริบทของพืน้ ทีโ่ ดยโมเดล 5Cs ผานสองกรณีศกึ ษา ไดแก หมูบ า นหวยหินลาดใน จังหวัดเชียงราย และมูลนิธเิ พือ่ สุนขั ในซอย จังหวัดภูเก็ต สามารถสรุปและอภิปรายผลไดดงั นี้ ผลการประเมินตนเอง ในหลักเกณฑยอย B8 การสนับสนุนชุมชน

ËÁÙ‹ºŒÒ¹ËŒÇÂËÔ¹ÅÒ´ã¹ ¨Ñ§ËÇÑ´àªÕ§ÃÒÂ

คานิยมหลักขององคกร/ชุมชน (Core Value)

5 รูปแบบความรวมมือ (Channel of collaboration)

4

3 3

ความไวเนื้อเชื่อใจ (Credence/Trust)

การสื่อสาร (Communication)

4 ความสนใจรวมกัน (Common Interest)

33


¤‹Ò¹ÔÂÁËÅÑ¡¢Í§Í§¤ ¡ÃËÃ×ͪØÁª¹ (Core Value) กรณีศึกษาของหมูบานหวยหินลาดในนั้น คานิยมหลักขององคกรและชุมชน คือ การรักษาปา เพือ่ สรางความยัง่ ยืนและความสมดุลของธรรมชาติ ¡ÒÃÊ×่ÍÊÒà (Communication) กรณีศึกษาของบานหวยหินลาดใน จังหวัดเชียงราย เนนการสื่อสารในรูปแบบการแลกเปลี่ยน เรียนรูโดยตรงกับผูที่มาเยือน เพื่อสรางใหเกิดความเขาใจในพื้นที่อยางแทจริง อีกทั้งยังเปนการ สือ่ สารทีต่ อ งการสงเสริมใหเกิดจิตสำนึกเกีย่ วกับการรักษาปาและการอาศัยอยูร ว มกันปาอยางยัง่ ยืน ¤ÇÒÁʹã¨Ã‹ÇÁ¡Ñ¹ (Common Interest) กรณี ศ ึ ก ษาของหมู  บานหว ยหิน ลาดในนั้น เปน การดึงกลุ  มบุ ค คลที ่ มี ค วามสนใจในเรื ่ อ ง ของการรักษาปาและการจัดการทรัพยากร ใหคนสามารถอยูรวมกับปาไดอยางยั่งยืน ¡ÒÃäÇŒà¹×้Íàª×่Í㨠(Credence/Trust) กรณีศกึ ษาของบานหวยหินลาดในนัน้ สรางความไวเนือ้ เชือ่ ใจ ใหเกิดขึน้ ในพืน้ ทีไ่ ดโดยการนำเรือ่ ง ของความเชื่อของชุมชนเกี่ยวกับการรักษาปามาเปนหลักในการพูดคุยเพื่อใหเกิดความเขาใจ และ เชื่อใจในการรวมกันรักษาทรัพยากรในพื้นที่ ÃٻẺ¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í (Channel of Collaboration) การสรางรูปแบบของความรวมมือในพื้นที่หมูบานหวยหินลาดในเปนการจัดทำกิจกรรม และ โครงการตาง ๆ เกีย่ วกับการรักษาทรัพยากรปาไมในพืน้ ที่ อาทิ การสรางแนวกันไฟ การบวชตนไม และ การผูกสายสะดือเด็กแรกเกิดกับตนไม เพือ่ เปนการรักษาปาในพืน้ ที่ รวมไปถึงการซือ้ สินคาทีจ่ ำหนาย ในชุมชนเพือ่ เปนสวนหนึง่ ในการสนับสนุนการรักษาปาของชุมชน นอกจากนีย้ งั รวมไปถึงการแลกเปลีย่ น เรียนรูเ กีย่ วกับการจัดการทรัพยากรระหวางบานหวยหินลาดในกับหนวยงานภายนอกทัง้ จากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคการศึกษา รวมไปถึงบุคคลทั่วไป 34


“ชาวบานอยูดีมีสุข” แผนพัฒนาและขับเคลื่อน อพท. ระยะ 4 ป (2562 - 2565)

35


การทองเที่ยวของประเทศ มีคุณภาพไดมาตรฐาน แผนพัฒนาและขับเคลื่อน อพท. ระยะ 4 ป (2562-2565)

36


¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹¾×้¹·Õ่ÈÖ¡ÉÒ

ÁÙŹԸÔà¾×èÍÊعѢ㹫Í ¨Ñ§ËÇÑ´ÀÙà¡çµ

คานิยมหลักขององคกร/ชุมชน (Core Value)

4 รูปแบบความรวมมือ (Channel of Collaboration)

4

4

5 ความไวเนื้อเชื่อใจ (Credence/Trust)

การสื่อสาร (Communication)

3

ความสนใจรวมกัน (Common Interest)

37


¤‹Ò¹ÔÂÁËÅÑ¡¢Í§Í§¤ ¡ÃËÃ×ͪØÁª¹ (Core Value) มูลนิธิเพื่อสุนัขในซอย มีแนวคิดวา “คนรักษสัตว สัตวรักษสิ่งแวดลอม” เปนการสรางสุขภาพ หนึง่ เดียว (One health) โดยยึดมัน่ ใหมนุษยและสัตวสามารถเกือ้ กูลซึง่ กันและกันและอาศัยอยูร ว มกัน ไดอยางยั่งยืน ¡ÒÃÊ×่ÍÊÒà (Communication) มูลนิธิเพื่อสุนัขในซอยนั้น เปนการสื่อสารในแบบวงกวางบนสื่อออนไลนหลากหลายรูปแบบ เพือ่ ประชาสัมพันธไปยังกลุม เปาหมายทีม่ คี วามสนใจในเรื่องของการดูแลสัตว

¤ÇÒÁʹã¨Ã‹ÇÁ¡Ñ¹ (Common Interest) มูลนิธเิ พือ่ สุนขั ในซอย ไดนำแนวคิดในเรือ่ งการอยูร ว มกันระหวางคน สัตว และสิง่ แวดลอม มาเปน จุดสำคัญในการสรางจิตสำนึกทีด่ ใี หกบั ผูอ น่ื ในการดูแลสุนขั เพือ่ ลดปญหาสุนขั จรจัดในพืน้ ที่ อีกทัง้ ยังสามารถดึงกลุมคนที่มีความสนใจรวมกันในเรื่องการปกปองและดูแลสัตวใหเขามารวมกิจกรรม กับทางมูลนิธิเพื่อสุนัขในซอยที่เพิ่มขึ้น ¡ÒÃäÇŒà¹×้Íàª×่Í㨠(Credence/Trust) มูลนิธเิ พือ่ สุนขั ในซอย มีความนาเชือ่ ถือในเรือ่ งของความโปรงใสในการบริหารจัดงานดานเงินบริจาค ทีเ่ ขามา โดยไดรบั รางวัลการันตีจาก Guide Star Platinum Seal เปนเครือ่ งหมายระดับ Platinum รับรองความโปรงใส จาก Guide Star จึงทำใหเกิดความเชือ่ มัน่ ทัง้ บุคคลภายในและภายนอกเกีย่ วกับ การบริหารจัดการในพื้นที่นั้น ๆ ÃٻẺ¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í (Channel of Collaboration) มูลนิธเิ พือ่ สุนขั ในซอย ไดมกี ารสรางรูปแบบของการรวมมือกับคนภายนอกผานหลากหลายกิจกรรม อาทิ การเขามาเปนอาสาในพื้นที่ การรวมบริจาคเงินและสิ่งของใหมูลนิธิ และการอุปถัมภสุนัข และแมว เปนตน 38


¡ÒùӼšÒÃÈÖ¡ÉÒä»»ÃÐÂØ¡µ ã¹¾×้¹·Õ่ µÒÁËÅѡࡳ± ¢Í§âÁà´Å 5Cs คานิยมหลักขององคกรหรือชุมชน (Core Value) ปจจัยสำคัญอยางแรกที่พื้นที่หรือชุมชน แตละแหงจำเปนตองมีคือ การสำรวจตนเอง ใหเขาใจถึงคานิยมหลักในองคกรหรือชุมชน เพือ่ ให เกิดความรวมมือกันภายในพืน้ ทีห่ รือชุมชน จนกอ ใหเกิดการพัฒนาทีจ่ ะสามารถนำไปสูค วามยัง่ ยืน ตอไปได การสื่อสาร (Communication) การเลือกวิธกี ารสือ่ สารของพืน้ ทีห่ รือชุมชน ใหเหมาะสมนั้นมีความจำเปน เนื่องจากหากมี การสือ่ สารอยางถูกวิธแี ละถูกกลุม เปาหมายจะ สงผลใหเกิดความยัง่ ยืนในพืน้ ที่ และปองกันการ ลนทะลักของนักทองเทีย่ วทีจ่ ะเขามาในพืน้ ทีไ่ ด เพราะหากไมมกี ารสือ่ สารทีถ่ กู ตองและเหมาะสม กับพื้นที่อาจจะสงผลใหพื้นที่นั้น ๆ เกิดความ เสียหายจากการเพิ่มจำนวนของนักทองเที่ยว ที่มากจนเกินความพอดี ความสนใจรวมกัน (Common Interest) บุคคลที่มีความสนใจรวมกัน เปนปจจัย สำคัญในการกำหนดกลุมเปาหมายที่จะชวย ขับเคลือ่ นคานิยมหลักของพืน้ ทีห่ รือชุมชนนัน้ ๆ ไปสูเปาหมายสูงสุดที่ตั้งไวได

การไวเนื้อเชื่อใจ (Credence/Trust) ความโปรงใสและการตรวจสอบไดของการ ดำเนินการนั้น เปนสิ่งสำคัญในการสรางความ เชือ่ มัน่ และความนาเชือ่ ถือใหกบั คนในพืน้ ทีห่ รือ ชุมชน ที่จะทำใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน รูปแบบความรวมมือ (Channel of Collaboration) รูปแบบของการสรางความรวมมือทีแ่ ตกตาง กันไป ขึ้นอยูกับความตองการและบริบทของ พืน้ ที่ ซึง่ สิง่ ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ในการจะชวยใหกำหนด รูปแบบของความรวมมือคือการกำหนดคานิยม หลักขององคกรหรือชุมชน (Core Value)

39


40


¡ÒùӼŠ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒä»ãªŒ

41


¡ÒùӼšÒÃÈÖ¡ÉÒä»ãªŒ ͧ¤ ¡ÒúÃÔËÒáÒþѲ¹Ò¾×้¹·Õ่¾ÔàÈÉà¾×่Í¡Ò÷‹Í§à·Õ่ÂÇÍ‹ҧÂÑ่§Â×¹ ;·.

สำหรับการนำไปใชขององคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืนหรือ อพท. นั้น สามารถนำขอมูลสวนนี้ไปประยุกตใชในพื้นที่ที่หนวยงานรับผิดชอบเพื่อพัฒนาดานการ สนับสนุนชุมชนใหมปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ อีกทัง้ ยังเปนกรณีศกึ ษาทีม่ คี วามเปนเลิศดานการสนับสนุน ในแงที่แตกตางกัน ทำใหไดมุมมองและแนวคิดในการนำไปประยุกตใชที่กวางมากยิ่งขึ้น ˹‹Ç§ҹÀÒ¤àÍ¡ª¹

สำหรับการนำไปใชของหนวยงานเอกชนนั้น สามารถประยุกตใหเขากับบริบทและลักษณะ ขององคกรของแตละแหง โดยเปนแนวทางในการวิเคราะหลักษณะของหนวยงานหรือองคกรนั้น ๆ อีกทั้งเพื่อเปนแนวทางในการสนับสนุนชุมชนเพื่อพัฒนากิจกรรมและโครงการตาง ๆ ไดดียิ่งขึ้น ˹‹Ç§ҹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

สำหรับการนำไปใชของหนวยงานการศึกษานั้น สามารถนำไปปรับใชเพื่อเปนแนวทางปฏิบัติ และแบบอยางในการเผยแพรความรูเกี่ยวกับการสนับสนุนชุมชน อีกทั้งวิธีการวิเคราะหบริบท และ การสรางความรวมมือที่มีประสิทธิภาพในพื้นที่

42


43


44


¢ŒÍÁÙÅ͌ҧÍÔ§ ณัฐชยา ผิวเงิน. (2554). บทบาททุนทางสังคมในการพัฒนาชุมชนบานปลาคลาว ตําบลปลาคลาวอําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ปรัชญากรณ ไชยคช. (2561). อะไรคือการทองเที่ยวอยางรับผิดชอบ. สืบคนเมื่อ 19 กันยายน 2561, จาก https://www.th.thairt.org/blog/a5adb67e34c. พรธิดา วิเชียรปญญา (2547). การจัดการความรูพื้นฐานและการประยุกตใช. พิมพครั้งที่1. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอรเนท มงคล สิทธิหลอ, จุฬาภรณ ทองสุทธิ, ณัฏฐนนท สายประเสริฐ, อาทิตย ศิริ และเบ็ญจมาส บุญเทพ. (2557). ภูมิปญญาไรหมุนเวียน กรณีศึกษาบานหวยหินลาดใน ตำบลโปง อำเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย. สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย. กระทรวงวัฒนธรรม. วรวุฒิ โรมรัตนพันธ. (2548). ทุนทางสังคม. กรุงเทพฯ: โครงการสรางเสริมการเรียนรูเพื่อชุมชนเปนสุข (สรส.). สุนีย มัลลิกะมาลย. (2545). รัฐธรรมนูญกับการมีสวนรวมของประชาชน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. DASTA. (2015) Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization). DASTA's Research Collection on Sustainable Tourism, 3(1), 1-8. Dean Jr, J. W., & Bowen, D. E. (1994). Management theory and total quality: improving research and practice through theory development. Academy of management review, 19(3), 392-418. Ekins, P., Dresner, S., & Dahlström, K. (2008). The four‐capital method of sustainable development evaluation. European Environment, 18(2), 63-80. Ekins, P., Dresner, S., & Dahlström, K. (2008). The four‐capital method of sustainable development evaluation. European Environment, 18(2), 63-80. Goodwin, N. R. (2003). Five kinds of capital: Useful concepts for sustainable development (pp. 214578-1110886258964). Medford, MA: Tufts University. Gray, B. (1989). Collaborating: Finding common ground for multiparty problems.

45


¢ŒÍÁÙÅ͌ҧÍÔ§ GSTC (2016). GSTC Destination Criteria. Retrived from: https://www. gstcouncil. org/gstc-criteria /gstc-destination-criteria. Henneman, E. A., Lee, J. L., & Cohen, J. I. (1995). Collaboration: a concept analysis. Journal of Advanced Nursing, 21(1), 103-109. Hunter, C. (1997) On the need of re-conceptualise sustainable tourism development. Journal of Sustainable Tourism 3(3), 155-65. Huxham, C., & Vangen, S. (1996). Working together: Key themes in the management of relationships between public and non-profit organisations. International Journal of Public Sector Management, 9(7), 5-17. Huxham, C., & Vangen, S. (2000). Leadership in the shaping and implementation of collaboration agendas: How things happen in a (not quite) joined-up world. Academy of Management Journal, 2000(43), 1159-1175. Leach, W. D. (2006). Public involvement in USDA Forest Service policymaking: A literature review. Journal of Forestry, 104(1), 43-49. Legler, R., & Reischl, T. (2003). The relationship of key factors in the process of collaboration. The Journal of Applied Behavioral Science, 39(1), 53-72. Markandya, A., & Pedroso-Galinato, S. (2009). Economic modeling of income, different types of capital and natural disasters. The World Bank. Mizrahi, T. (1999). Strategies for effective collaborations in the human services. Social Policy, 29(4), 5-5. Mohr, J., & Spekman, R. (1994). Characteristics of partnership success: Partnership attributes, communication behavior, and conflict resolution techniques. Strategic Management Journal, 15(2), 135-152. Olaniyan, D. A., & Okemakinde, T. (2008). Human capital theory: Implications for educational development. Pakistan Journal of Social Sciences, 5(5), 479-483.

46


¢ŒÍÁÙÅ͌ҧÍÔ§ Palmer, A. (1996). Linking external and internal relationship building in networks of public and private sector organizations: A case study. International Journal of Public Sector Management, 9(3), 51-60. Selin, S., & Myers, N. (1995). Correlates of partnership effectiveness: the Coalition for Unified Recreation in the Eastern Sierra. Journal of Park and Recreation Administration, 13(4), 37-46. Sherlock, K. (2001). Revisiting the concept of hosts and guests. Tourist Studies, 1(3), 271 - 293. Sin, H. L. (2009). Volunteer tourism “involve me and I will learn”?. Annals of tourism research, 36(3), 480-501. Smith, V. L. (1989). Host and Guests: The Anthropoglogy of Anthroponlogy of Tourism (2nd. ed.). Philadelphia: University of Pennsylvania press. Waddock, S. A., & Bannister, B. D. (1991). Correlates of effectiveness and partner satisfaction in social partnerships. Journal of Organizational Change Management, 4(2), 64-79 Wenger, E. (1998). Communities of practice: Learning as a social system. Systems Thinker, 9(5), 2-3. Wheeller, B. (1991). Tourism's troubled times: Responsible tourism is not the answer. Tourism Management, 12(2), 91-96. Wondolleck, J. M., & Steven, L. Y. (2000). Making Collaboration Work. Washington, D.C.: Island Press. Wongkit, M. & Kaewsuwan, K. (2016). Factor Influencing Volunteer Tourism in Thailand: A Case Study of Songkla Province. Journal of Thai Hospitality and Tourism, 11(2), 13-22 Wood, D. J., & Gray, B. (1991). Toward a comprehensive theory of collaboration. The Journal of Applied Behavioral Science, 27(2), 139-162. Zhang, J., Inbakarn, R. J., & Jackson, M. S. (2006). Understanding Community Attitudes Towards Tourism and Host - Guest Interaction in the Urban - Rural Border Region. Tourism Geographies, 8(2), 182 - 204.

47


48


49


“à¾ÃÒзӷ‹Í§à·ÕèÂÇ...à¡‹§¤¹à´ÕÂÇäÁ‹ ä´Œ” 50


·ÕÁ§Ò¹·‹Í§à·ÕèÂÇÂÑè§Â×¹

NEW, DIFFERENT, BETTER

Èٹ ºÃÔ¡ÒÃÇÔªÒ¡Òà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂáÁ‹¿‡ÒËÅǧ ÀÒÂ㵌¡ÒÃʹѺʹع¢Í§Í§¤ ¡ÒúÃÔËÒáÒþѲ¹Ò¾×é¹·Õè¾ÔàÈÉ à¾×èÍ¡Ò÷‹Í§à·ÕèÂÇÍ‹ҧÂÑè§Â×¹ (ͧ¤ ¡ÒÃÁËÒª¹) 51


·ÕÁ§Ò¹·‹Í§à·ÕèÂÇÂÑè§Â×¹ ´Ã.¨ÔÃÒÀÒ »ÃÒà´ÃÒ ´ÔàÍÊ หัวหนาโครงการ

เป น อาจารย ป ระจำสำนั ก วิ ช าการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย แม ฟ  า หลวง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกดานการจัดการการทองเทีย่ ว จาก University of Surrey ประเทศสหราชอาณาจักร มีความเชีย่ วชาญดานการทองเทีย่ วยัง่ ยืน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก

´Ã.ªÑªªÞÒ ÂÍ´ÊØÇÃó ทีมงานวิชาการ

เป น อาจารย ป ระจำสำนั ก วิ ช าการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย แม ฟ  า หลวง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกดานการทองเทีย่ วและอุตสาหกรรมการบริการ จาก Griffith University ประเทศออสเตรเลีย มีความเชีย่ วชาญดานการจัดการ การทองเทีย่ ว อุตสาหกรรมการบริการ และไมซ (MICE)

52


·ÕÁ§Ò¹·‹Í§à·ÕèÂÇÂÑè§Â×¹ ´Ã.»à¹µ Áâ¹ÁÑÂÇÔºÙÅ ทีมงานวิชาการ

เป น อาจารย ป ระจำสำนั ก วิ ช าวิ ท ยาศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย แม ฟ  า หลวง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกดานวิศวกรรมอุตสาหกรรมและเศรษฐศาสตร สิง่ แวดลอมจาก Lund University ประเทศสวีเดน มีความเชีย่ วชาญดานนโยบาย สิง่ แวดลอม เศรษฐศาสตรสง่ิ แวดลอม การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการ ขยะมูลฝอย และการทองเที่ยวอยางยั่งยืน

´Ã.ÍÀÔÊÁ ÍÔ¹·ÃÅÒÇѳ ทีมงานวิชาการ

เป น อาจารย ป ระจำสำนั ก วิ ช าการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย แม ฟ  า หลวง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกดานทรัพยากรธรรมชาติ จาก University of Vermont ประเทศสหรัฐอเมริกา มีความเชี่ยวชาญดานนิเวศเศรษฐศาสตร การใชประโยชนของที่ดิน และการประเมินมูลคาของบริการเชิงนิเวศ

53


·ÕÁ§Ò¹·‹Í§à·ÕèÂÇÂÑè§Â×¹ ¼È.´Ã.¾ÅÇѲ »ÃоѲ¹ ·Í§ ทีมงานวิชาการ

เป น อาจารย ป ระจำสำนั ก วิ ช าศิ ล ปศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย แม ฟ  า หลวง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกดานสังคมศาสตร จากมหาวิทยาลัยแมฟา หลวง มีความเชี่ยวชาญดานประวัติศาสตร วัฒนธรรมทองถิ่นไทย วิจิตรศิลป การจัดแสดงงานและพิพิธภัณฑ

¼È.´Ã.¾Ãó¹ÔÀÒ ´Í¡äÁŒ§ÒÁ ทีมงานวิชาการ

เปนอาจารยประจำสำนักวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกดานเทคโนโลยีพลังงาน จากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี มีความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีพลังงาน การประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

54


·ÕÁ§Ò¹·‹Í§à·ÕèÂÇÂÑè§Â×¹ ´Ã.³Ñ°¡Ã ÇÔ·ÔµÒ¹¹· ทีมงานวิชาการ

เป น อาจารย ป ระจำสำนั ก วิ ช านิ ต ิ ศ าสตร มหาวิ ท ยาลั ย แม ฟ  า หลวง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกดานสังคมศาสตร จากมหาวิทยาลัยแมฟา หลวง มีความเชีย่ วชาญดานกฎหมายการปกครอง กฎหมายรัฐธรรมนูญและการเมือง การปกครองไทย

55


Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization) 118/1 Tipco Tower 31st FL. Rama VI Road Phayathai Bangkok 10400 Thailand www.facebook/DASTATHAILAND www.facebook.com/SaiJaiPaiTiew


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.