Creative Tourism “การท่องเที่ยวที่สนับสนุนให้นักท่องเที่ยวได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อท�ำความเข้าใจในคุณค่าทางสังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม ของพื้นที่ท่องเที่ยวอย่างลึกซึ้ง โดยผ่านประสบการณ์ตรง ร่วมกับ เจ้าของพื้นที่หรือเจ้าของวัฒนธรรม”
พิมพ์ครั้งที่ 1 : พฤษภาคม 2560 ที่ปรึ กษา : พั นเอก ดร.นาฬิกอติภัค แสงสนิท, ดร. ชูวิ ทย์ มิตรชอบ, สุชญา อัมราลิขิต, ดร.ชุมพล มุสกิ านนท์ คณะท�ำงาน : ประภัสสร วรรธนะภูติ, ณวรรณ ทินราช, ธนกฤต ภัทร์ธราธร, ศราวุธ ทาค�ำ, กรกช พบประเสริฐ, ชัชวาล ม่วงพรวน, กัลย์ลัญญา ปลั่งกมล งานองค์ความรู้ ส�ำนักบริหารยุทธศาสตร์ องค์การบริหารการพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) 118/1 อาคารทิปโก้ ชั้น 31 ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร 0 2357 3580-7 แฟกซ์ 0 2357 3599 เว็บไซต์ http://www.dasta.or.th http://www.ctthailand.net https://www.facebook.com/SaiJaiPaiTiew ผลิตโดย บริษัท โคคูน แอนด์ โค จ�ำกัด เลขที่ 32 ซอย โชคชัย 4 ซอย 84 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 โทร 0 2116 9959, 08 7718 7324 แฟกซ์ 0 2116 9958 อีเมล cocoonjob@gmail.com ซีรีสค์ วามรู้ “ใส่ ใจไปเที่ยวกับ อพท.” จั ดท�ำภายใต้งานองค์ความรู้ ส�ำนักบริหารยุทธศาสตร์ องค์การบริ หารการพั ฒนาพื้นที่ พิเศษเพื่อการท่องเที่ ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ในรูปแบบ ที่เข้าใจง่าย เพือ่ จุดประกายความคิด สร้างแรงบันดาลใจให้คนรุน่ ใหม่หรือผูท้ ี่สนใจน�ำองค์ความรู้ ไปต่อยอด ทั้งในด้านเพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงาน หรือโอกาสในการท�ำงาน สร้างรายได้ สร้างธุรกิจ รวมถึงการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมนักท่องเที่ยวเพื่อน�ำไปสู่การพั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ในที่สุด ข้อมูลภายในหนังสือเล่มนีจ้ ั ดท�ำขึ้นเพื่อเป็นสาธารณประโยชน์แก่บุคคลทั่ วไปและไม่มี การผลิตเพื่อจ�ำหน่ายในเชิงพาณิช ย์
ค�ำน�ำ
สารบัญ
พบกับซีรีสค์ วามรู้ “ใส่ ใจไปเที่ยวกับ อพท.” เรื่องการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism) เล่ม 2 พร้อมกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ใหม่ของ อพท. 11 กิจกรรม ที่จะพา คุณไปท�ำความรูจ้ ักให้ลกึ ซึง้ มากยิง่ ขึน้ ซีรสี ค์ วามรูเ้ รือ่ งการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เล่ม 2 นี้ จะฉายภาพการด�ำเนินงานการพัฒนาการ ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของ อพท. ให้ชดั เจนและเป็นรูปธรรมมากยิง่ ขึน้ จากเดิมที่เคยน�ำเสนอ ไปแล้วในเล่ม 1 จ�ำนวน 13 กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ และเล่ม 2 นี้ จะมีการน�ำเสนอ 11 กิจกรรมใหม่ที่ นา่ สนใจ อาทิ การปัน้ และเขียนลายสังคโลก การทอผ้าจกไทยพวน การท�ำผาสาด ลอยเคราะห์ รวมทั้งแนวคิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ในมิตติ า่ งๆ กรณีศกึ ษาของต่างประเทศ ที่สามารถประยุกต์ ใช้ได้จริง พร้อมมุมมองการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่หลากหลายทั้ งจาก นักวิชาการ นักเขียน และนักท่องเที่ยว อพท. คาดหวังว่า ซีรีสค์ วามรู้ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: Creative Tourism เล่ม 2 นี้ จะ ท�ำให้ผอู้ า่ นได้เข้าใจแนวคิด มุมมอง เรื่องราว การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของ อพท. ได้ลกึ ซึง้ มาก ยิง่ ขึน้ และเพลิดเพลินกับ 11 กิจกรรมใหม่ของ อพท. ที่มงุ่ เน้นการสร้างคุณค่า (Value Creation) บนพืน้ ฐานแก่นแท้แห่งความเป็นไทย วิถีชี วิต ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรม ซีง่ เป็นอัญมณี ที่ซอ่ นอยู่ (Hidden Gem) และรอคอยนักท่องเที่ยวมาร่วมเรียนรู้ ลงมือท�ำ และสร้างประสบการณ์ โดยตรงร่วมกับ เจ้าของกิจกรรม และร่วมสร้างประโยชน์ ให้ชุมชนท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง
6 ท�ำความรูจ้ ักการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์
8 การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ในมิตขิ อง อพท.
14 11 กิจกรรมท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์ของ อพท. รุน่ ที่ 2
12 13 กิจกรรมท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์ของ อพท. รุน่ ที่ 1
55 แบบประเมินความพึงพอใจ
พันเอก (ดร.นาฬิกอติภคั แสงสนิท) ผูอ้ ำ� นวยการ อพท.
56 กรณีศกึ ษาในต่างประเทศ
60 มุมมองการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์
62 บทความและภาพถ่าย ที่ ได้รับรางวัล
ท�ำความรู้จักการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ นิยามการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ การท่องเที่ยวที่สนับสนุนให้นักท่องเที่ยวได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อท�ำความเข้าใจใน คุณค่าทางสังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมของพื้นที่ท่องเที่ยวอย่างลึกซึ้ง โดย ผ่านประสบการณ์ตรงร่วมกับ เจ้าของพื้นที่หรือเจ้าของวัฒนธรรม ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ = เรียนรู้ ลงมือท�ำ น�ำสู่ประสบการณ์ ใหม่ การท่องเที่ ยวเชิงสร้างสรรค์แม้จะเป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ ยวเชิงวัฒนธรรม แต่ รูป แบบของการท่ องเที่ ย วนั้ น มี ค วามแตกต่ างกัน แล้วจะแตกต่างกันในเรื่ อง อะไรบ้าง มาดูกันเลย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ชม-ชิม-แชะ-ช้อป นักท่องเที่ยว เป็นเพี ยงผู้ชม อยู่ห่างๆ และถ่ายภาพ ยืนชมการสาธิตและซื้อของที่ระลึก ไม่ได้ร่วมท�ำกิจกรรม ไม่เกิดความผูกพั นหรือการมีส่วนร่วมกับชุ มชน
6
ชุ มชน นักท่องเที่ยวมาเที่ยวเฉพาะช่วงที่มีการจั ดงานหรือเทศกาล นักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นในพื้นที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่มีชื่ อเสียง ส่งผลให้เกิด ปัญหาทางสภาพแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม เกิดการเปลี่ยนแปลงวิ ถีชี วิ ตเพื่อตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว การท่องเที่ยวของท้องถิ่นเกิดความไม่ยั่งยืน ชุ มชนไม่ได้รับผลประโยชน์อย่างเต็มที่
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เรียนรู้-ดูของจริง-ลงมือท�ำ นักท่องเที่ยว มีส่วนร่วมและลงมือท�ำกิจกรรมเพื่อเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ร่วมกับชุ มชน พั ฒนาศักยภาพและการสร้างสรรค์ผ ่านการลงมือท�ำด้วยตัวเอง พูดคุยเพื่อแลกเปลี่ยนเรื่องราวกับคนในชุ มชน เกิดความประทั บใจ ความผูกพั นที่ดี กับชุ มชน นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางมาท่องเที่ยวได้ตลอดทั้ งปี ชุ มชน ชุ มชนไม่ต้องเปลี่ยนแปลงวิ ถีชี วิ ตของตนเอง เกิดความเข้มแข็งเพื่อรักษาตัวตนที่แท้จริง การท่องเที่ยวของท้องถิ่นเกิดความยั่งยืน ชุ มชนได้รับผลประโยชน์อย่างแท้จริง
7
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ในมิติของ อพท. ในฐานะที่ อพท. มีหน้าที่หลักในการประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนการ พั ฒนาการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน จึงได้คน้ หาเครื่องมือในการพั ฒนาการท่องเที่ยว ชุ มชนให้เกิดความยั่งยืน ด้วยการน�ำแนวคิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ หรือ Creative Tourism มาเป็นแนวทางในการท่องเที่ยวในประเทศไทย มุ่งเน้น การสร้างคุณค่าด้านการท่องเที่ ยวอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานแห่งความเป็นไทย วิ ถีชี วิ ต ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ ปัจจุบัน อพท. มีกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 24 กิจกรรม ในพื้นที่ พิเศษทั้ ง 6 แห่ง โดยกิจกรรมที่ ถูกคัดเลือกนั้นมีความเหมาะสมที่ จะน�ำมา พั ฒนาเป็นกิจกรรมท่องเที่ ยวเชิงสร้างสรรค์อย่างแท้จริ ง เพราะสามารถ สร้างประสบการณ์ สร้างความผูกพั น สร้างความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ทั้ งยังเปิด โอกาสให้นกั ท่องเที่ยวได้แลกเปลีย่ นเรียนรูข้ า้ มวัฒนธรรม ได้มปี ระสบการณ์ตรง ร่วมกับ เจ้าของพื้นที่ผ ่านการลงมือปฏิบัติ ซึ่งจะน�ำไปสู่ความชื่ นชมและเข้าใจใน จิ ตวิ ญญาณของพื้นที่ ในขณะเดี ยวกันนักท่องเที่ ยวยังได้พั ฒนาศักยภาพของ ตัวเองไปพร้อมกัน ทั้ งนี้เป้าหมายส�ำคัญของการด�ำเนินงานคือ ‘ความสุขที่ แท้จริงของชุ มชนบนการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน’
8
นิยามการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของ อพท. การท่องเที่ยวที่สัมพั นธ์กับประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม วิ ถีชุ มชนและ เอกลักษณ์ของสถานที่ โดยนักท่องเที่ยวได้เรียนรู้เพื่อสร้างประสบการณ์ตรง ร่วมกับ เจ้าของวัฒนธรรม วิ ถีชุ มชนและเอกลักษณ์ของสถานที่ ไม่ ใช่กิจกรรม ที่เน้นรายได้ของชุ มชน แต่เป็นกิจกรรมที่เน้นคุณค่าของชุ มชน
เที่ยวอย่างไรถึงเรียกว่าการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
ความผูกพั นระหว่าง นักท่องเที่ยวกับ เจ้าของบ้าน
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้ามวัฒนธรรม
มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ในพื้นที่ท่องเที่ยว
การเข้าร่วมเชิงปฏิบัติ ในกิจกรรม
9
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในมิติของ อพท. กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของ อพท. หัวใจหลักของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ความจริงแท้-ดัง้ เดิม (REAL) ที่ นกั ท่องเที่ยวจะได้เรียนรูม้ รดกวัฒนธรรมของพืน้ ที่ ท่องเที่ยวผ่านการมีประสบการณ์ตรงเพื่อน�ำไปสู่ความเข้าใจและชื่ นชมจิ ตวิ ญญาณอัน เป็นลักษณะเฉพาะของพื้นที่ ซึ่งจะน�ำไปสู่การเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ และเพิ่มพูนศักยภาพของ นักท่องเที่ยวอย่างไม่สิ้นสุด
Creative Tourism Thailand : REAL
Reciprocating แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม
Experiencing มีประสบการณ์ตรงในพื้นที่ท่องเที่ยว
Appreciating ชื่ นชมและเข้าใจจิ ตวิ ญญาณของพื้นที่
Lifelong Learning เรียนรู้สิ่งใหม่เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพของ ตนเองอย่างไม่สิ้นสุด
10
อพท. ได้ ให้ ค วามส� ำคั ญ กั บ นโยบายการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้ า งสรรค์ ให้ ความส�ำคัญที่ คุณค่าของชุ มชน เพื่อให้ชุ มชนภูมิ ใจความเป็นเนื้อแท้ของตนและ สามารถท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี ทั้งนีเ้ ป้าหมายส�ำคัญของการด�ำเนินงานของ อพท. ภายใต้นโยบายการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์คือ “ความสุขที่แท้จริงของชุ มชนบน การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน” อพท. และคณะท�ำงานโครงการท่องเที่ ยวเชิงสร้างสรรค์ ได้ค้นหากิจกรรม ที่มีต้นทุนทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่มีศักยภาพ เพื่อพั ฒนาให้เป็นการท่อง เที่ยวเชิงสร้างสรรค์ โดยค้นพบ 24 กิจกรรมของพื้นที่พิเศษทั้ ง 6 แห่งของ อพท. เป็นเป้าหมายในการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ในประเทศไทย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ เกีย่ วเนือ่ งกับวิถีชี วิต ศิลปหัตถกรรม อาหาร การแสดงและงานสร้างสรรค์ที่ตา่ ง เป็นส่วนหนึ่งของอัตลักษณ์ วิ ถีชี วิ ตและมรดกทางวัฒนธรรมของชุ มชน กิจกรรม ที่ถูกคัดเลือกนั้น มีความเหมาะสมที่จะน�ำมาพั ฒนาเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์อย่างแท้จริง สามารถสร้างความผูกพั น สร้างความเข้าใจอย่างลึกซึง้ ทั้ ง ยั ง เปิ ด โอกาสให้ นั ก ท่ องเที่ ย วได้ แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ข ้ า มวั ฒ นธรรมได้ มี ประสบการณ์ตรงร่วมกับ เจ้าของพื้นที่ผ ่านการปฏิบัติ อันจะน�ำไปสู่ความชื่ นชม และเข้าใจในจิ ตวิ ญญาณของพื้นที่ และในขณะเดี ยวกันก็ ได้พั ฒนาศักยภาพของ ตัวเองไปพร้อมกัน
11
13
กิจกรรมท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์ของ อพท. รุ่นที่ 1
12
หลายคนคงได้ทำ� ความรูจ้ ักกับกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 13 กิจกรรม ของ อพท. รุ่นที่ 1 กันไปบ้างแล้วแต่ส�ำหรับใครที่ยังไม่รู้จั ก นีเ่ ป็นโอกาสที่ดี ที่จะมาท�ำความรูจ้ ักอีกครั้ง เพราะกิจกรรมทั้ง 13 กิจกรรมนีม้ ที ั้งความโดดเด่น น่าสนุก และทรงคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรม ซึ่งหากได้ลงมือท�ำกิจกรรมด้วย ตัวเองแล้ว นอกจากจะได้รับประสบการณ์ ใหม่ๆ ยังสามารถน�ำประสบการณ์ที่ ได้เรียนรู้มาปรับใช้กับชี วิ ตหรือการงานของตัวเองภายหลังได้อีกด้วย
1
เรียนรู้วิ ถีชี วิ ตมุสลิมจาม บ้านน�้ำเชี่ ยว จ.ตราด
8
เรียนรู้การท�ำสังคโลก บ้านเกาะน้อย จ.สุโขทั ย
2
เรียนรูว้ ิถีชี วิตประมงพืน้ บ้าน บางละมุง จ.ชลบุรี
9
เรียนรูก้ ารท�ำพระพิมพ์ดนิ เผา บ้านลักษมณ์ศลิ ป์ จ.สุโขทัย
3
เรียนรู้นาฏศิลป์สุโขทั ย วิ ทยาลัยนาฏศิลป์สุโขทั ย จ.สุโขทั ย
10
เรียนรู้การท�ำอาหารพื้นบ้าน ด่านซ้าย แม่ค�ำพั น จ.เลย
4
เรียนรู้งานปั้นและเขี ยนลาย สั ง คโลก (สุ เทพสั ง คโลก) จ.สุโขทั ย
11
เรียนรู้การท�ำผ้าห่มนวม เชี ยงคาน ร้านสุณีพร จ.เลย
5
เรียนรู้งานปั้นและเขี ยนลาย สังคโลก ( โมทนาเซรามิค) จ.สุโขทั ย
12
เรียนรู้การท�ำตุงค่าคิง วัดพระเกิด จ.น่าน
6
เรียนรู้การวาดลายสังคโลก บนผืนผ้า บ้านปรีดาภิรมย์ จ.สุโขทั ย
13
เรียนรู้การท�ำลูกปัด แบบโบราณอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี
7
เรียนรู้การท�ำเซรามิคสัตว์มงคล บ้านสวน กิ่งก้อย ดอยปุย จ.สุโขทั ย
13
11
กิจกรรมท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์ของ อพท. รุ่นที่ 2
มาท�ำความรูจ้ ักกับ 11 กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของ อพท. รุน่ ที่ 2 ที่มีการสร้างสรรค์กิจกรรมส�ำหรับนักท่องเที่ยวไว้อย่างครบรส ทั้ งโดดเด่น น่ า สนุ ก และทรงคุ ณ ค่ า ทางศิ ล ปวั ฒ นธรรม โดยทุ ก กิ จ กรรมจะเน้ น ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ เรี ย นรู ้ แ ละลงมื อ ท� ำ กิ จ กรรมด้ ว ยตั ว เอง ถื อ เป็ น การสร้างประสบการณ์ ใหม่ๆ และสามารถน�ำประสบการณ์ที่ ได้เรียนรูม้ าปรับ ใช้กับชี วิ ตหรือการงานของตัวเองได้อีกด้วย
1
เรียนรู้วิ ถีชี วิ ตประมงพื้นบ้าน ชุ มชนแหลมกลัด จ.ตราด
7
เขี ยนลวดลายหน้ากากผี ตาโขน เมืองด่านซ้าย บ้านหัวนายูง จ.เลย
2
ปั้นและเขี ยนลายสังคโลก กะเณชาสังคโลก จ.สุโขทัย
8
เรียนรู้วิ ถีชี วิ ตไทด�ำ บ้านนาป่าหนาด จ.เลย
3
ปั้นและเขี ยนลายสังคโลก บัวสังคโลก จ.สุโขทั ย
9
ท�ำผาสาดลอยเคราะห์ ชุ มชนริมโขงเชี ยงคาน จ.เลย
4
ปั้นและเขี ยนลายสังคโลก อุษาสังคโลก จ.สุโขทั ย
10
ปักผ้าหน้าหมอนโบราณ โฮงเจ้าฟองค�ำ จ.น่าน
5
เรียนรู้การทอผ้าจกไทยพวน สุนทรีผ้าไทย จ.สุโขทั ย
11
หล่อเหรียญทวารวดี เมืองอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี
6
อาหารนครชุ ม ชุ มชนนครชุ ม จ.ก�ำแพงเพชร
14
15
เรียนรู้วิถีชีวิตประมงพื้นบ้าน ชุมชนแหลมกลัด จ.ตราด ต�ำบลแหลมกลัด จ.ตราด เป็นชุ มชนที่มีความผูกพั นกับท้องทะเล โดยคนใน ชุ มชนร่วมกันสืบทอดวิ ถี ประมงชายฝั่งแบบดั้งเดิม ด�ำรงชี วิ ตด้วยวิ ถี ประมงที่ สามารถเลี้ยงชี พได้ตลอดทั้ งปี นอกจากการท�ำประมงชายฝั่งแล้ว คนในชุ มชนยัง ร่วมกันอนุรักษ์และรักษาสภาพแวดล้อมของท้องทะเลให้อดุ มสมบูรณ์อย่างยัง่ ยืน เช่น การเพาะพั นธุ์ปูม้าไข่นอกกระดอง การท�ำหญ้าทะเลเทียมเพื่อเป็นแหล่งที่อยู่ สัตว์น�้ำ ฯลฯ
เรียนรู้&ลงมือท�ำ กิจกรรมในชุ มชน
เรียนรู้วิ ถีรักถิ่น รักทะเลของชาวแหลมกลัด วิ ถีประมงพื้นบ้านของชาวแหลมกลัดจะท�ำให้เห็นภาพวิ ถี ชี วิ ตของชาวประมง ได้อย่างชัดเจน โดยมีกฎกติกาของการอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับธรรมชาติอย่าง สอดคล้องกัน จะเห็นได้จากระบบของความรู้ พิธีกรรม ความเชื่ อของชาวประมง ความคิดและภูมิปัญญาที่แฝงอยู่ ในเครื่องมือจั บสัตว์น�้ำ วิ ธีการจั บสัตว์น�้ำ และ วิธกี ารจัดการของกลุม่ ประมงพืน้ บ้านที่รวมกลุม่ กันเพือ่ รักษาระบบนิเวศของชุมชน ให้มีความอุดมสมบูรณ์อย่างยั่งยืน
สัตว์น�้ำที่พบมากในชุ มชนแหลมกลัด : กุ้ง หอย ปู ปลา ปูม้า : สามารถพบได้ตลอดทั้ งปี และมีขนาดใหญ่ มีความยาว 10 - 12 ซม. เนื้อของปูม้าจะมีความหอมหวานที่สุดในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม เพราะ ปูม้าจะได้รับ แร่ธาตุและสารอาหารอย่างเต็มที่
สัมผัสวิ ถีชี วิ ตประมงพื้นบ้าน มาเรียนรูป้ ระมงพืน้ บ้านแหลมกลัดที่มคี วามหลากหลาย โดดเด่น และสามารถ ท�ำได้ตลอดทั้ งปี เช่น การจั บปูม้า กิจกรรมที่ชาวประมงในพื้นที่ท�ำกันทุกๆ วัน หรือเรียนรู้การวางอวนจั บปู การวางลอบดักปู การสาวอวนปู และเรียนรู้การท�ำ อาหารจากปู ตั้งแต่การคัดเลือกปู การต้มปู การแกะเนื้อปู วิ ธีปรุงอาหารจากปู และการท�ำน�้ำพริกเกลือ (น�้ำจิ้ มทะเล) สูตรเด็ดของที่ นี่
16
17
เข้าใจความเชื่ อของพิธีไหว้เรือ พิธี ไหว้เรือเป็นพิธีที่ จั ดขึ้นในช่วงตรุษจีนและสารทจีนของทุกปี เพื่อเป็นสิริ มงคลในการประกอบอาชี พประมงของคนในชุ มชน นอกจากนีย้ ังเป็นการสักการะ บูชาเจ้าแม่พิกุลทองซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คนในชุ มชนให้ความเคารพนับถือ โดย ในเวลาเช้าของวันตรุษจีนชาวบ้านจะน�ำเรือของตนออกมาเพื่อเตรียมการไหว้เรือ ของไหว้จะประกอบไปด้วย ผลไม้ 5 อย่าง ของคาว ของหวาน กุ้งหรือปู เพื่อเป็น สิริมงคลในการประกอบอาชี พประมง และเชื่ อว่าจะท�ำให้สามารถจั บสัตว์น�้ำได้ จ�ำนวนมาก
ท�ำความรู้จั กกับอุปกรณ์ท�ำประมง อวนกุ้ง : มีลักษณะเป็นอวน 2 ชั้น ชั้นแรกมีลักษณะตาห่างเพื่อให้กุ้งสามารถ ผ่านเข้ามาได้ ชั้นถัดมาเป็นอวนที่มีตาแคบกว่าชั้นแรกเล็กน้อยเพื่อให้กุ้งเข้ามาติด และไม่สามารถออกได้ อวนปู : มีลักษณะคล้ายอวนกุ้ง แต่จะเป็นอวนที่มีชั้นเดี ยว ลอบดักปู : มีลักษณะคล้ายกรง ในการวางลอบจะใช้เหยื่อล่อปู ให้เข้ามาติด ในลอบดังกล่าว
18
สูตรลับฉบับชาวแหลมกลัด สิง่ ที่ โดดเด่นอีกอย่างของชุมชนแหลมกลัด คือ การท�ำน�ำ้ พริกเกลือหรือน�ำ้ จิ้ม ทะเลตามสูตรของชุ มชน เตรียม พริกขี้ หนูสด กระเทียม เกลือ และน�้ำมะนาว ลงมือท�ำ โขลกพริ กและกระเที ยมให้แหลก จากนั้นใส่เกลือลงไป แล้วจึงเติม น�ำ้ มะนาวเพือ่ ปรุงรสและยังช่วยให้พริกและกระเทียมที่ตำ� เอาไว้ไม่เปลีย่ นเป็นสีดำ� เติมน�้ำต้มสุกพอประมาณ ปรุงรสด้วยน�้ำตาล
คุณธิติ ถาวรธนนท์ “ชุ มชนของเราเป็นชุ มชนที่มีวิ ถีชี วิ ตของชาวประมงพื้นบ้าน ซึ่งวิ ถี ประมงพืน้ บ้านจะค่อนข้างแตกต่างจากประมงพาณิชย์ ประมงพืน้ บ้าน จะเป็นการท�ำมาหากินแบบครอบครัว เป็นวิ ถีธรรมชาติของคนเรา ถ้านักท่องเที่ยวต้องการจะมาเรียนรู้วิ ถีชี วิ ตของเราก็จะได้สัมผัสและ ลงมือท�ำด้วยตัวเองในทุกกิจกรรม ซึ่งการที่เขาได้ลงมือท�ำด้วยตัว เองท�ำให้เขาเข้าใจและเห็นถึงคุณค่าของทุกสิ่งมากขึ้น เช่น กว่าจะได้ กินปูหรือกุ้งสักตัว มันมีที่มา มีขั้นตอนอย่างนี้ ต้องล�ำบากอย่างไร กว่าจะได้มา ผมก็ภูมิ ใจที่ ได้เป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์และสืบสาน ภูมิปัญญาของชุ มชน” ติดต่อสอบถามได้ที่ 089-097-8457 พิกัด GPS : 12.095158 102.727746
19
ปั้นและเขียนลายสังคโลก กะเณชาสังคโลก จ.สุโขทัย
HOW TO ปั้นดินให้เป็นช้าง
1 ด้วยความศรัทธาและความช�ำนาญในการฝึกฝนการปัน้ ช้างและองค์พระพิฆเนศ สังคโลกที่สืบทอดมาจากครอบครัว กะเณชาสังคโลกจึงได้ ใช้นาม “Ganesha” จึงเป็นทั้ งชื่ อของโรงปั้นและหน้าร้านของกะเณชา ซึ่งผลงานของทางร้านได้ เชื่ อมโยงประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับช้าง สัตว์มงคลที่มีบทบาทส�ำคัญทั้ งในทาง พุ ทธศาสนาและศึกสงครามในสมัยสุโขทั ย จึงได้ผลิตงานสังคโลกที่มีอัตลักษณ์ เฉพาะตนที่หลอมรวมฝีมือและความศรัทธาเข้าด้วยกัน
แบ่งดินออกจากถุงพลาสติกใน สัดส่วน 3 ใน 4 นวดดินเป็นก้อนกลม
2 ปั้นดินที่แบ่งไว้ข้างต้น เป็นทรงกรวย ขนาดความยาวจากปลายกรวยถึงโคน จิ นตนาการสมดุลตามขนาดช้าง จาก ปลายงวงถึงก้น
3 เรียนรู้&ลงมือท�ำ กิจกรรมในชุ มชน เรียนรู้ความเป็นมาเครื่องสังคโลกสุโขทั ย ให้เข้าใจเกี่ยวกับ เครื่องปั้นดินเผาสังคโลกสุโขทั ยและชุ มชนสังคโลกสุโขทั ย รวมถึงประวัติความเป็นมาของชุ มชนสังคโลกและโรงปั้นกะเณชา ลงมือปั้นช้างหรือพระพิฆเนศสังคโลก เรียนรู้การปั้นช้าง สัตว์มงคลที่มีความหมายคู่กับศาสนาพุ ทธ ทั้ งยังปรากฏ ในประวัติศาสตร์สุโขทั ย ในสถาปัตยกรรมทางศาสนา ช้างจึงเป็นสัตว์ที่มีความ ส�ำคัญในสมัยสุโขทั ย หรือจะลงมือปั้นพระพิฆเนศ เทพแห่งความส�ำเร็จและ เทพแห่งศิลปะวิ ทยาการตามคติของพราหมณ์-ฮินดู ที่มีอิทธิพลในความเชื่ อและ วัฒนธรรมมาจนถึงปัจจุบัน
20
จากนั้นใช้นวิ้ โป้งแบ่งกรวยออกเป็น 3 ส่วน แบ่งเป็นส่วนงวง ส่วนหัว และล�ำตัว ตามล�ำดับ และรีดให้งวงโค้งงอน อย่างสวยงาม และใช้ไม้จิ้ มปลายงวง ให้เป็นรู คล้ายรูจมูกช้าง
4 แล้วขยุ้มดินที่ส่วนหัวให้เป็นก้อน สองก้อนตามลักษณะโหนกของหัวช้าง
5 ต่อมาจึงท�ำการแบ่งใต้ท้องช้างเป็น เครื่องหมายบวก และรีด ดินจากมุม ทั้ ง 4 ด้านให้เป็นขาช้าง โดยให้ขาหน้า ยาวกว่าขาหลังเล็กน้อย
21
ปั้นและเขียนลายสังคโลก บัวสังคโลก จ.สุโขทัย
6 จากนั้นจึงใส่หูช้างด้วยดินเล็กๆ ปั้นกลม ก่อนจะกดให้แบนขนาดพอดี กับตัว แปะ เข้าที่ ข้างส่วนหัวและดัดความพลิ้วของหู ตามธรรมชาติ
7 แล้วแต่งตา ปากช้าง เสริมงวง และ วาดเล็บ เพื่อความอุดมสมบูรณ์ของช้าง ให้สมจริงมากที่สุด
คุณหทั ยรัตน์ พรมเพ็ชร “การเขี ยนลายสังคโลกเป็นการสืบสานวัฒนธรรมไทยและเป็น งานประณีตศิลป์ ที่ ส่งเสริ มภูมิปัญญาและอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย มาตัง้ แต่อดีตสูป่ จั จุบนั ซึง่ กิจกรรมที่ นา่ สนใจของที่ นคี่ อื การปัน้ ช้าง ในอิ ริ ยาบถต่ างๆ ที่ เป็ น ลั ก ษณะ กายวิ ภาค(Anatomy) ของ ช้างแบบง่ายๆ จึงมีความโดดเด่นกว่าที่ อื่ นเพราะสามารถท�ำได้ ในเวลาหนึ่งชั่วโมงครึ่ ง รวมถึงเมื่อนักท่องเที่ ยวได้ลงมือปฏิบัติ เองและได้ ซึ มซั บ จนเห็ น คุ ณ ค่ าจากการที่ ได้ ล งมื อ ท� ำ ได้ เห็ น รากเหง้ า ของอดี ต ที่ บ รรพบุ รุ ษ สั่ ง สมสื บ ทอดมา สิ่ ง เหล่ า นี้ เปรี ย บเสมื อ นการส่ ง ต่ อ คุ ณ ค่ า และท� ำ ให้ เ กิ ด ความภาคภู มิ ใจ ที่ ได้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการเผยแพร่ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ซึ่ ง ถื อ เป็ น จุ ด ประสงค์ ห ลั ก ที่ ท� ำ ให้ เราตั ด สิ น ใจท� ำ กิ จ กรรมท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สร้างสรรค์ เพราะมีเป้าหมายหลักคืออยากจะเผยแพร่ภูมิปัญญา วัฒนธรรมนี้ ไม่ ให้สูญหายไป” ติดต่อสอบถามได้ที่ 089-999-4402, 083-872-0175 พิกัด GPS : 17.01418 99.70899 22
สั่งสมความเชี่ ยวชาญในการปั้นและวาดลวดลายสุโขทั ยที่ ปรากฏอยู่ ในถ้วยและชามสังคโลก โดยเฉพาะลายปลาแม่น�้ำ (ปลากา) และลายดอกบัว ปัจจุ บันบัวสังคโลกถือได้ว่าเป็น ศูนย์เรียนรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาท้องถิ่นเรื่องสังคโลกที่สำ� คัญอีกแห่งหนึง่ ใน จ.สุโขทั ย ที่เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้เข้ามาเรียนรู้เกี่ยวกับลวดลายเฉพาะ ของอาณาจั กรสุโขทั ยและจิ ตวิ ญญาณของพื้นที่ เมืองสุโขทั ยในอดี ตที่ ยังสืบทอด มาจนถึงปัจจุบัน
เรียนรู้&ลงมือท�ำ กิจกรรมในชุ มชน เรียนรู้ลวดลายบนแผ่นดินเผา สั ง คโลกสุ โขทั ย นั้ น มี ล วดลายเป็ น เอกลั ก ษณ์ ที่ ส ะท้ อ นให้ เห็ น ถึ ง โลกทั ศ น์ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มของ อาณาจั กรสุโขทั ยในอดี ต มาเรียนรู้ลวดลายที่ ปรากฎ ในภาชนะสังคโลกซึง่ มักเป็นลวดลายเฉพาะที่พบมากใน จาน ชาม เช่น ลายปลา กงจั กร ดอกไม้ เป็นต้น
23
สร้างสรรค์ลวดลายบนแผ่นดินเผาและงานปั้น เรี ย นรู ้ แ ละลงมื อ วาดลวดลายสั ง คโลกสุ โขทั ย อย่ า งลายปลากาและลายดอกบั ว ลงบนเครื่ อ ง สังคโลกใต้เคลือบ โดยก่อนที่จะลงมือวาดจะได้เรียนรู้ ลักษณะลาย และการวางลายตกแต่ง พร้อมกับวิธกี าร ใช้อุปกรณ์ ในการวาดลายทั้ งเครื่องมือและสี
Good to Know
รูปปลาในเครื่องสังคโลกสุโขทัยไม่่ ใช่ปลาตะเพียน ตามที่ เราเข้าใจกัน เพราะมีการค้นพบชามสังคโลก ใบหนึ่ ง ที่ มี อั ก ษรลายสื อ ไทเขี ย นบอกชื่ อ ปลาไว้ ว ่ า ‘แม่ปลาก่า’อยู่ ใต้ตัวปลา ลวดลายปลาและดอกบัวในชามสังคโลก ชี้ ให้เห็น ว่าในอดี ตผู้คนใน จ.สุโขทั ยล้วนมีวัฒนธรรมและวิ ถี การด�ำเนินชี วิตที่เรียบง่าย ผูกพั นและยึดติดกับแม่นำ�้ ล�ำคลองเป็นส�ำคัญ
การเลื อ กแผ่ น ดิ น มี ค วามเชื่ อ มโยงกั บ การ ใช้ สี โดยจะมี ค วามยากง่ า ยแตกต่ า งกั น ดั ง นี้
แผ่นดินเปล่า = นักท่องเที่ ยว จะต้ องเป็ น ผู ้ วาดลวดลายด้ ว ย ตัวเอง โดยใช้ดินสออาจจะเลือก ลายได้จากในหนังสือลายสังคโลก หรือขอค�ำแนะน�ำจากผู้สอน
แผ่นดินทีร่ า่ งลาย = แผ่นดินชนิดนี้ จะข้ามขั้นตอนการวาดด้วยดินสอ และสามารถลงสีได้เลย
24
คุณบัว เขี ยวบาง “บัวสังคโลกโดดเด่นในด้านงานศิลปะ เป็นงานที่ ปั้นด้วยมือ เป็ นวิ ถี ชี วิ ตของคนในชุ มชน รวมถึงเป็นธุรกิจในครอบครั วที่ ส ่ง เสริ มรายได้ ให้ กั บ คนในชุ ม ชนได้ ด ้ ว ย และภู มิ ใจที่ ได้ ถ ่ า ยทอด ความรู้ภูมิปัญญาของท้องถิ่ นให้กับนักท่องเที่ ยวให้เขาได้มีความรู้ เพิ่มมากขึ้น มีการสอนปั้นและเขี ยนลายแล้วแต่ว่านักท่องเที่ ยว จะสนใจในงานด้านไหน เริ่ มแรกอาจะไม่ค่อยเข้าใจเรื่ องสังคโลก แต่พอได้มาจั บได้ลงมือท�ำ เขาก็ ได้ความรู้ออกไปมากมาย ตอนแรก เขาก็คิดว่าง่ายแต่พอท�ำขึ้นมาแล้วก็ถึงได้รู้ว่ายากและคิดว่าคุณค่า มันเหมาะสมกับราคาของสินค้า เขาก็จะซื้อไว้เก็บ และซื้อไว้ ใช้ ท�ำให้ นักท่องเที่ยวเห็นคุณค่ามากขึ้น” ติดต่อสอบถามได้ที่ 083-166-1370 พิกัด GPS : 17.01542 99.70966
25
ตุก๊ ตาสังคโลกคนค่อม : คุม้ ครองบ้านเรือน เปรียบเสมือนผู้ใหญ่คมุ้ ครอง
ปั้นและเขียนลายสังคโลก อุษาสังคโลก จ.สุโขทัย
ตุก๊ ตาสังคโลกเรือโบราณ : วิถีชีวิตที่ผกู พันกับสายน�ำ้ ของอาณาจักรสุโขทัย
HOW TO ปัน้ ตุก๊ ตาไก่ เพราะมองเห็นความงามและคุณค่าทางสุนทรียะของผลงานที่ สร้างไว้ของคนยุคก่อน และด้วยความประทั บใจและผูกพั นกับ สังคโลก โดยเฉพาะตุก๊ ตาสังคโลกรูปสัตว์ชนิดต่างๆ ทีส่ ะท้อนให้เห็น ถึงวิถีชีวิตและสภาพแวดล้อมของชุมชนในอดีต ท�ำให้อษุ าสังคโลก พร้อมที่จะถ่ายทอดและแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ ารปัน้ ตุก๊ ตาสังคโลกรูป สัตว์ทมี่ รี ปู ลักษณ์และการประดับตกแต่งทีเ่ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะของ สุโขทัย
1
ปัน้ ดินเป็นแผ่นทรงกลมแบน ข้อแนะน�ำ : ปั้นดินเป็นแผ่นวงกลมขนาดใหญ่ พอสมควรเพือ่ ท�ำให้เป็นรูปวงรี (ตามลักษณะของไก่) ภายในไก่จะกลวงเพือ่ ป้องกันการแตกเมือ่ เข้าเตาเผา
2
เรียนรู้&ลงมือท�ำ กิจกรรมในชุ มชน ปั้นตุ๊กตาสังคโลก เอกลักษณ์ตุ๊กตาสังคโลกรูปสัตว์ของอุษาสังคโลก คือ การสวมใส่เครือ่ งทรงให้กบั ตุก๊ ตาสังคโลกหรือมีการ แต่งตัวให้สตั ว์ เช่น ไก่มสี ร้อยคอ ม้ามีอานและพู่ นอกจาก จะได้ลงมือปัน้ ตุก๊ ตาสังคโลกรูปสัตว์แล้ว ยังจะได้เข้าใจ ความหมายและประเภทของตุก๊ ตาสังคโลกด้วย
26
3
ปัน้ และลูบเนือ้ ดินให้ได้สดั ส่วนตามลักษณะไก่ แล้ว ดัดเนือ้ ดินให้เป็นหัวไก่และหางไก่ จากนัน้ ปัน้ ดินให้ เป็นแผ่นขนาดใหญ่กว่าไก่ เพือ่ วางตัวไก่ (ประสาน ติดกันด้วยน�ำ้ ดิน) และท�ำส่วนประกอบอื่นๆ ตาม ความชอบ
ปัน้ ดินเป็นเส้นยาวได้ขนาดและใส่เป็นสร้อยคอของ ตัวไก่
4
ปัน้ ดินให้เป็นรูปแผ่นตามภาพ ให้ได้ขนาดเท่าตัวไก่ และประสานกับตัวไก่ดว้ ยน�ำ้ ดิน (น�ำ้ สลิป) เมือ่ ได้ ประดับองค์ประกอบของไก่ครบถ้วนจึงท�ำการขูด ลวดลายไก่เพือ่ ให้เกิดความสวยงามและคล้ายคลึง กับไก่ดว้ ยไม้ขดู ลาย ข้อแนะน�ำ : ระวังไม่ให้ดนิ แห้งให้พยายามชุบน�ำ้ ดิน รวมถึงการต่อเติมส่วนต่างๆ ให้ใช้นำ�้ ดินประสาน
27
คุณอุษา ทัพสิริเวทย์ “การปั้นและเขี ยนลายสังคโลกของเราจะโดดเด่นในเรื่องลาย ที่มีเฉพาะท้องถิ่น โดยเปิดให้นกั ท่องเที่ยวเข้ามาร่วมท�ำกิจกรรม ท�ำให้ พวกเขาได้เห็นวิถีชี วิตปัจจุบนั ของคนในชุมชน และเครื่องสังคโลกยัง เป็นวัสดุที่คงทนถาวร ไม่แตก ไม่บุบสลาย มีคุณค่าทางสุนทรียะ ของอารมณ์ เป็นความภาคภูมิ ใจของคนโบราณที่สร้างไว้และภูมิ ใจใน สิ่งที่ ท�ำ ถึงแม้งานของเราอาจจะไม่ดี ที่ สุดแต่ว่าคนอื่ นก็ยังแวะมา เยีย่ มชม มาช่วยอุดหนุนให้เรามีอาชี พ เพื่อจะได้สืบทอดไปยังชั่วลูก ชัว่ หลาน ลูกหลานจะได้ไม่ตอ้ งเข้าไปหางานท�ำในเมืองหลวง” ติดต่อสอบถามได้ที่ 086-446-5076, 081-853-7604 พิกัด GPS : 17.0152026 99.7093241
เครื่องสังคโลกสุโขทั ย ส�ำคัญอย่างไร เป็นงานหัตถอุตสาหกรรมที่ ส�ำคัญของอาณาจั กร สุโขทัยมาตัง้ แต่อดีต ซึง่ ลวดลายบนสังคโลกหรือการปัน้ เครือ่ งสังคโลกล้วนมีความส�ำคัญและสัมพั นธ์กบั วิถีชี วิต ของคนอาณาจั กรสุโขทั ย ทั้ งในสภาพสังคม ความเชื่ อ ศาสนา โดยเครื่องสังคโลกในแต่ละพืน้ ที่จะมีความเป็น เอกลักษณ์ที่แตกต่างกันเพราะลวดลายน�้ำเคลือบของ สังคโลกจะบอกถึงแหล่งเตาเผาของสังคโลก ซึง่ รวมถึง ช่างฝีมอื ที่มเี อกลักษณ์แตกต่างกันไปในแต่ละพืน้ ที่ดว้ ย
เรื่องราวน่ารูข้ องเครื่องสังคโลกสุโขทัย
รู้ไหม?
เครือ่ งสังคโลกคือเครือ่ งปัน้ ดินเผาที่ถกู ผลิตและใช้กนั อย่างแพร่หลายมาตัง้ แต่สมัยสุโขทัย มีอายุ ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 18-19 ในรูปแบบของภาชนะเครือ่ งใช้และประติมากรรมประดับโบราณสถาน โบราณวัตถุ เช่น ถ้วย ชาม จาน ไหดิน ตุก๊ ตาสังคโลก พระพุทธรูป เป็นต้น โดยมีความโดดเด่นที่เป็น เครือ่ งปัน้ ดินเผาเคลือบเนือ้ ละเอียด และมีลวดลายเฉพาะที่สวยงาม เช่น ลายปลา กงจักร ดอกไม้ ฯลฯ
28
ค�ำว่า ‘สังคโลก’ มีผู้สันนิษฐานไว้ว่า อาจเพี้ยนมาจากค�ำว่า ‘ซ้องโกลก’ ซึง่ แปล ว่าเตาแผ่นดินซ้อง บ้างว่ามาจากค�ำว่า ‘ซัน โกโรกุ’ หรือ ‘ซังโกโรกุ’ ในความพยายาม ออกเสียงด้วยภาษาญี่ปุ่น ซึ่งได้เข้ามาท�ำ การค้า และสันนิษฐานว่าอาจจะเพี้ ยนมา จากค�ำว่า ‘สวรรคโลก’ ซึง่ เป็นแหล่งหรือ เตาเผาที่เมือศรีสชั นาลัย ต่อมาจึงเพี้ยนเป็น ค�ำว่า ‘สังคโลก’
29
เรียนรู้การทอผ้าจกไทยพวน สุนทรีผ้าไทย จ.สุโขทัย ผ้าซิ่ นตีนจกสุโขทั ยถือเป็นงานหัตถกรรมที่ สะท้อน ภูมปิ ญ ั ญาดัง้ เดิมของชาวไทยพวนบ้านหาดเสีย้ วทีอ่ าศัยอยูใ่ น อ�ำเภอศรีสชั นาลัย จ.สุโขทัย ซึง่ ชาวไทยพวนเป็นกลุม่ คนที่ อพยพมาจากเมืองพวน แขวงเชียงขวาง ประเทศลาว ปัจจุบนั สุนทรีผา้ ไทยได้มงุ่ มั่นในการอนุรกั ษ์และสืบทอดวัฒนธรรม ผ้าของชาวไทยพวนเพือ่ ให้เป็นทีร่ จู้ ักในวงกว้างและยัง่ ยืนสืบไป
ผ้าทอไทยพวน โดดเด่นมีเอกลักษณ์ ภูมิปัญญาและอัตลักษณ์เฉพาะตัวในการทอผ้าของชาวไทยพวน คือ การใช้ ขนเม่นจกฝ้ายสลับสีลงในผืนผ้าเพื่อสร้างลวดลายและสีสันให้สวยงาม ซึ่งถือเป็น เทคนิคพิเศษที่หาชมได้ยาก ปัจจุ บันชาวไทยพวนสุโขทั ยยังคงสืบทอดการทอผ้า ตามกรรมวิ ธีดั้งเดิม ตั้งแต่ปลูกฝ้าย ปั่นฝ้าย จนถึงการทอให้เป็นผืนผ้า โดยใช้ วัตถุดบิ และเทคนิคเฉพาะของท้องถิ่นเพือ่ รักษาชื่ อเสียงและวัฒนธรรมผ้าของชุมชน ให้ยั่งยืนสืบไป และยังคงรักษาอัตลักษณ์ของตนเองผ่านภาษาพูด ประเพณีและ พิธกี รรม รวมถึงวัฒนธรรมผ้าผ่านการแต่งกาย อย่างการนุง่ ผ้าซิ่นตีนจกที่ถอื เป็น เอกลักษณ์ที่ โดดเด่นของชุ มชน
ท�ำความรูจ้ ักผ้าทอไทยพวน ผ้าทอไทยพวนเป็นภูมปิ ญ ั ญาของคนไทยเชื้อสาย พวนทีส่ บื ทอดกันมารุน่ ต่อรุน่ ปัจจุบนั ผ้าไทยพวนหรือ ผ้าหาดเสีย้ วเป็นผ้าทอทีม่ ชี ื่อเสียงเป็นทีร่ จู้ ักเพราะเป็น ผ้าทอที่มคี วามประณีต งดงาม โดยเฉพาะผ้าตีนจก หาดเสี้ยว ซึ่งเป็นที่ ยอมรับว่าเป็นผ้าจกที่ มีความ สวยงาม เป็นสัญลักษณ์ที่ บ ่งบอกถึงความขยัน หมั่นเพียรของบรรพบุรษุ ชาวไทยพวน
30
31
เรียนรู้&ลงมือท�ำ กิจกรรมในชุ มชน รู้ไหม?
เรียนรูว้ ิธที อผ้าของชาวไทยพวน การทอผ้าซิ่ นตีนจกนั้นใช้เทคนิคการทอที่ เป็น เอกลักษณ์คอื ใช้ ‘ขนเม่น’ ในการสอดฝ้ายลงบนผืน ผ้าเพือ่ ให้เกิดลวดลายตามที่ตอ้ งการ การทอผ้าแต่ละ แถวจะต้องใช้ความวิ ริ ยะ อุตสาหะ เพราะต้องนับ เส้นด้ายแต่ละเส้นเพือ่ ใส่ดา้ ยสี ในการจกเข้าไปโดยใช้ ขนเม่นในการสอดด้ายสีนนั้ ๆ ระยะเวลาในการทอผ้า ตีนจกจึงต้องใช้เวลานานกว่าผ้าประเภทอื่นๆ แต่เมือ่ เสร็จแล้วจะเป็นผ้าที่มคี วามงดงาม ประณีตกว่าผ้าผืน ใดๆ ของชาวไทยพวน โครงสร้างของผ้าตีนจกแบบดั้งเดิมจะมี 3 ส่วน ได้แก่ หัวซิ่น ตัวซิ่นและตีนซิ่น โครงของสีสนั ผ้าซิ่น โดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้ตวั ซิ่นสีเขียวและตีนซิ่นจะเป็นพืน้ แดง และลายจกจะใช้สเี หลืองเป็นหลัก ลายตีนจกแบบ ดัง้ เดิมจะมีอยู่ 9 ลาย ได้แก่ ลายเครือน้อย ลายเครือ กลาง ลายเครือใหญ่ ลายสีขบ ลายแปดขอ ลายอ่างน�ำ้ ลายสองท้อง ลายมนสิบหก และลายสิบสองหน่วยตัด ลงมือทอผ้าเช็ดสบด้วยวิธจี ก ผ้าเช็ดสบหรือผ้าเช็ดปากของชาวไทยพวนเป็นผ้า ผืนเหลีย่ มคล้ายผ้าเช็ดหน้า ทอด้วยผ้าฝ้ายโดยสร้าง ลวดลายด้วยวิธกี ารทอจากแบบเดิม ซึง่ ถือเป็นหนึง่ ในวัฒนธรรมผ้าของชาวไทยพวนในอดีตที่ยงั คงใช้สบื เนือ่ งมาจนถึงปัจจุบนั
32
แต่เดิมชาวไทยพวนจะปลูกฝ้ายและน�ำฝ้าย มาปั่นด้วยมือ เรียกว่า ฝ้ายเข็น และย้อมสี ธรรมชาติ ในการทอผ้า สีที่ ใช้ในการทอผ้าส่วน มากจะเป็นสีแหล้ (สีเข้ม) ซึ่งปัจจุ บันการเข็น ฝ้ายนัน้ หาดูได้ยาก เพราะส่วนใหญ่จะใช้ฝา้ ยจาก โรงงาน ท�ำให้กระบวนการบางอย่างในการทอผ้า ค่อยๆ หายไป
คุณรวีวรรณ ขนาดนิด “เพราะวิธกี ารทอผ้าของเรามีความพิเศษกว่าที่อ่ืนๆ จึงน�ำมาเป็น กิจกรรมให้นักท่องเที่ยวได้มาลงมือเรียนรู้วิ ธีการทอผ้าและสามารถ น�ำชิน้ งานที่ทำ� เสร็จกลับบ้านไปพร้อมกับความภาคภูมิ ใจ ถือเป็นการ ต่อยอดทางภูมปิ ญ ั ญา ได้เรียนรูค้ วามอดทน ความตัง้ ใจ และเป็นการ ฝึกสมาธิไปในตัว ซึง่ นักท่องเที่ยวที่ ได้เข้าร่วมกิจกรรมมักจะบอกว่าท�ำ ยาก แต่เมือ่ พวกเขาได้เรียนรู้ ได้ลงมือท�ำจนสามารถเข้าใจและท�ำได้ สิง่ ที่พวกเขาจะได้กลับไปนอกจากผ้าทอที่ทำ� ด้วยความตัง้ ใจและเกิดความ ภูมิ ใจแล้ว ยังได้เรียนรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาของชาวไทยพวนโดยตรง เพราะการท�ำ กิจกรรมของที่ นจี่ ะสอนตัวต่อตัว ท�ำให้ชาวบ้านที่เป็นคนสอนและนัก ท่องเที่ยวได้มปี ฏิสมั พั นธ์ สร้างความผูกพั นร่วมกัน และนักท่องเที่ยว ได้เข้าใจวิถีชุมชนมากขึน้ ” ติดต่อสอบถามได้ที่ 089-858-8576 พิกัด GPS : 17.50185 99.75825 33
อาหารนครชุม ชุมชนนครชุม จ.ก�ำแพงเพชร
เรียนรู& ้ ลงมือท�ำ กิจกรรมในชุมชน
เมืองนครชุม เป็นชุมชนพืน้ ถิน่ ทีม่ คี วามส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์ ในสมัยสุโขทั ย และยังเป็นรอยต่อของดินแดนที่ ส�ำคัญในอดี ต 3 ดินแดน คือ ล้านนา อยุธยาและสยาม กลุม่ ชนปกากะญอและ พม่า ท�ำให้นครชุ มมีความโดดเด่นอย่างมากในฐานะเมืองที่เป็น ชุมชนทางวัฒนธรรมเป็นแหล่งรวมผูค้ นที่หลากหลาย ซึง่ ได้สง่ ผล ให้อาหารท้องถิ่นของนครชุมมีความโดดเด่นจากการผสมผสานทาง วัฒนธรรมและมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างไปจากพืน้ ที่อื่นๆ
เรียนรูว้ ฒ ั นธรรมอาหารนครชุม
จากความหลากหลายทางวัฒนธรรมของชุ มชน ท�ำให้เกิดอาหารท้องถิ่นที่มคี วามโดดเด่น มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว เช่น ข้าวตอกอัด ไส้เมี่ยงนครชุ ม บะหมี่ นครชุม แกงถัว่ มะแฮะ หมี่นครชุม ขนมผักห่อ ขนมจีบ แป้งสด ฯลฯ พร้อมรูถ้ งึ วิถีความเชื่อของชุมชนเกีย่ วกับ อาหาร เช่น การกินแกงขี้เหล็ก การกินผักห่อ เป็นต้น
เมืองแห่งความหลากหลายทางวัฒนธรรม คนนครชุ ม : คนพื้นถิ่นนครชุ มที่ลงหลักปักฐานตั้งชุ มชนแถบนี้ พบ หลักฐานความเป็นชุมชนตัง้ แต่ยคุ ก่อนสุโขทัย คนล้ า นนา : การอพยพของคนล้ า นนาแถบจ.ตาก และล� ำ ปาง มาอาศัยรอบนครชุม ท�ำให้มวี ฒ ั นธรรมภาษา อาหารที่เป็นเอกลักษณ์ คนที่สงู : ชนเผ่าทั้งปกากะญอ ม้ง ในผืนป่าตะวันตก รวมทั้งมอญได้เข้า มาร่วมอาศัยในชุมชน โดยใช้คลองสวนหมากเป็นเส้นทางเชื่ อม คนจีน : ช่วงรัตนโกสินทร์ตอนกลางมีกลุ่มคนจีนเข้ามาตั้งถิ่ นฐาน เพือ่ ท�ำการค้าและด�ำรงอยูจ่ นปัจจุบนั
ลงมือท�ำขนมจีบแป้งสดนครชุม
ขนมจีบแป้งสดนครชุมได้คดิ ค้นสูตรขึน้ โดยคนใน ชุมชน โดยใช้วตั ถุดบิ ที่มอี ยูใ่ นชุมชนและภูมปิ ญ ั ญาใน การท�ำอาหารของคนสมัยก่อน จนสามารถพั ฒนา ขึ้นมาเป็นอาหารของพื้นที่ ปัจจุบันมีการท�ำขนมจีบ แป้งสดแค่ที่ นที่ ี่เดียวเท่านัน้
ขนมจีบแป้งสดนครชุม สะท้อนอิทธิพลของวัฒนธรรมจีนที่ผสานกับวัฒนธรรมท้องถิ่น บ่งบอกถึงการเดินทาง การแลกเปลีย่ นทางวัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิ่น และวิถีชี วิตในอดีต
คนเวียงจั นทน์ : มีการอพยพของกลุ่มคนเวียงจั นทน์เข้ามาหลายช่วง ตามกลุม่ ญาติพี่ นอ้ งอันเป็นต้นตระกูลของหลายครอบครัว 34
35
HOW TO ขนมจีบแป้งสดนครชุม
1 น�ำแป้งข้าวเจ้ากวนกับน�ำ้ ให้สกุ และน�ำ 2 ลงมานวดพร้อมกับแป้งมันส�ำปะหลัง แล้ว น�ำแป้งที่ผสมไว้เทลงในกระทะ คนช้าๆ เพือ่ ให้แป้งหนืดรวมกันเป็นเนือ้ เดียว
ขั้นตอนการท�ำไส้ขนมจีบ น�ำหน่อไม้ หมูสบั กุง้ แห้ง พริกไทยป่น ต้นหอม ผักชี สับ เกลือ น�ำ้ ตาล ผสมให้เข้ากัน (ควรแช่เย็น 1 คืน เพือ่ ให้จับตัว)
4
5
น�ำไส้ที่คลุกเคล้าไว้ มาใส่ในแป้งที่รีดไว้ แล้วห่อให้เป็นก้อนเล็กให้ได้ขนาดพอดีคำ�
คุณอัจฉรา แสงจันทร์ “ขนมจีบแป้งสดเป็นอาหารตามชาติพั นธุ์ ของตระกู ล เก่ า แก่ ที่ มี เชื้ อ สายกะเหรี่ ย ง มอญ ไทใหญ่ ความโดดเด่นคือ การท�ำด้วย มือ ทั้งรีดแป้ง กวนและหมักเอง ซึง่ มีสตู ร เฉพาะของตระกูล ท�ำให้ชุ มชนนครชุ มขึ้น ชื่ อในเรื่องของอาหาร ฝีมอื เป็นที่ยอมรับทั้ง จ.ก�ำแพงเพชร ต่างจ.และก�ำลังไปถึงระดับ ประเทศ โดยคุณค่าของขนมจีบ แป้งสดคือ ความไม่เหมือนใคร วัตถุดิบที่หายากไม่ได้ มีทกุ ฤดู การพิถีพถิ นั ในการลงมือท�ำ ท�ำให้ ขนมจีบ แป้งสดนครชุ มไม่ใช่การท�ำขายเพี ยง อย่างเดียวแต่แสดงให้เห็นถึงเรื่องราวความ เป็ น มาและความภาคภู มิ ใจที่ ได้ เชิ ญ ชวน ลู ก หลานให้ อ อกมาท� ำ และร่ ว มอนุ รั ก ษ์ ทั้ งยังเป็นการกระจายรายได้ ให้กับชุ มชน รวมถึงมีการสืบสานโดยให้นักท่องเที่ ยวมี ส่วนร่วมในการลงมือท�ำผ่านกิจกรรมท่องเทีย่ ว เชิงสร้างสรรค์” ติดต่อสอบถามได้ที่ 095-335-8887 พิกัด GPS : 16.4831812 99.4939804
3
เมือ่ แป้งที่ตง้ั ไฟไว้สกุ พอดี จึงน�ำมาแบ่ง เป็นก้อน ขนาดเท่าหัวแม่มอื และรีดให้แบน ด้วยขวดแก้ว
ใส่ซงึ้ นึง่ ประมาณ 15 นาที เมือ่ สุก ดี แล้วน�ำลงมาพั กและคลุกกับน�้ำมันโรย กระเที ยมเจียว เสิร์ฟพร้อมเครื่ องเคียง แตงกวา ผักชี ใบยาว พริ กขี้ หนู ให้เข้ากัน อย่างลงตัว
36
37
เขียนลวดลายหน้ากากผีตาโขน เมืองด่านซ้าย บ้านหัวนายูง จ.เลย ชาวเมืองด่านซ้ายมีความเชื่ อว่าขบวนผี ตาโขนเป็นส่วน หนึ่งของการสักการะวิ ญญาณอันศักดิ์สิทธิ์ที่ เคยเป็นผู้มี อ�ำนาจสูงสุดในเมืองด่านซ้าย และยังเป็นส่วนหนึ่งของ พิธีกรรมแห่บั้งไฟขอฝน เพือ่ ความอุดมสมบูรณ์ของชุ มชน หน้ากากผีตาโขนจึงไม่ใช่เพียงส่วนประกอบของการละเล่น เพื่อความสนุกสนาน แต่เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมชุ มชน ที่จะสะท้อนให้เห็นถึงความมั่งคั่งในทางศิลปะวัฒนธรรม และความเชื่ อ
เรียนรูง้ านศิลปะบนหน้ากากผีตาโขน ลวดลายที่ ปรากฏบนหน้ากากผี ตาโขนในปัจจุ บัน เป็น ลวดลายที่เกิดจากการสร้างสรรค์ โดยศิลปินผูว้ าดหน้ากาก แต่ เดิมนัน้ ยังไม่มกี ารวาดลวดลายใดๆ ลงไป มีเพียงส่วนตา จมูก และปากเท่านัน้ เพือ่ เป็นตัวแทนผีบรรพบุรษุ ที่คนในชุมชนเคารพ ต่อมาการวาดลวดลายลงบนหน้ากากผี ตาโขนได้รับลวดลาย แบบ “ไทยๆ” มาใช้มากขึ้น รับ เอาลวดลายอันงดงามมาจาก ลายไทย ท�ำให้หน้ากากผีตาโขนมีความวิจิตรงดงามมากขึน้ สือ่ สาร ความเป็นไทยออกไปจนท�ำให้ชาวโลกได้รบั รูถ้ งึ การละเล่นผีตาโขน
ท�ำความรูจ้ ักประเภทของผีตาโขน
เรียนรู้&ลงมือท�ำ กิจกรรมในชุ มชน สัมผัสวัฒนธรรมประเพณีความเชื่ อ ‘ธรรมชาติ’ และ ‘ผี’ ประเพณีบญ ุ หลวงและการละเล่นผีตาโขน จัดขึน้ เดือน 7 เป็น งานบุญใหญ่ประจ�ำปีของ ชาวอ�ำเภอด่านซ้าย จ.เลย โดยรวมเอางาน “บุญพระเวส หรือบุญเผวส” (ฮีตเดือนสี)่ และ “งานบุญบัง้ ไฟ” (ฮีตเดือนหก) เข้าไว้เป็นงานบุญเดี ยวกัน ซึ่งมีรากประเพณีเดิม มาจากปูเ่ ยอ ย่าเยอของชาวหลวงพระบาง ซึง่ เป็นความเชื่ อเกีย่ ว กับธรรมชาติและผีบรรพชนผูอ้ ารักษ์ชุมชนให้อยูเ่ ย็นเป็นสุข ดังนัน้ ผีตาโขนที่ปรากฏในงานบุญเผวสต่างก็มเี รื่องเล่าในหลายลักษณะ ที่สะท้อนความเชื่ อเกี่ยวกับผี บรรพบุรุษและธรรมชาติของชุ มชน และพื้นถิ่ นอันเป็นความเชื่ อที่ ฝังรากและสะท้อนผ่านประเพณี วัฒนธรรมของชาวด่านซ้าย 38
ผีตาโขนใหญ่ : มีลกั ษณะท�ำจากหุน่ ไม้ไผ่ขนาด ใหญ่ มีความสูงประมาณ 2 เมตร ใช้กระด้งท�ำเป็นส่วนของใบหน้า ตกแต่งให้มคี วามน่ากลัวด้วยวัสดุตา่ งๆ
ผีตาโขนน้อย : มีลกั ษณะเป็นการละเล่นที่สวม ใส่หน้ากากและใช้ผา้ คลุมร่างกายให้มดิ ชิด โดยจะมีอปุ กรณ์สำ� คัญ 2 อย่างคือ ดาบหรือง้าว เพือ่ เป็นอาวุธประจ�ำกาย
39
องค์ประกอบหน้ากากผีตาโขน
วาดลวดลายและลงสีบนหน้ากากผีตาโขน
ส่วนหัว : หรือที่เรียกว่า หน้ากากนัน้ ท�ำด้วย หวด หรือ ภาชนะที่ ใช้นงึ่ ข้าวเหนียว ซึง่ เป็น ส่วนด้านบนดูคล้ายหมวก
ส่วนหน้า : ท�ำจากส่วนโคน ของก้านมะพร้าว น�ำมาตัดปาดให้ เป็นรูปหน้ากากและเจาะช่องตา ปาก : เขียนลวดลายเขี้ยว
จมูก : ท�ำจากไม้เนือ้ อ่อน แกะให้เป็นรูปทรงต่างๆ
คาง : วาดลวดลาย หนวดเครา
ผ้าคลุม : เย็บ เศษผ้าติดไว้ บริเวณด้านบน (หลัง) เพือ่ ให้คลุม ส่วนคอของผู้ใส่ไปจนถึงหลัง
40
ลงมือวาดลวดลายและลงสีบนหน้ากากผี ตาโขน โดยสามารถวาดลวดลายตามจินตนาการหรืออาจท�ำ ตามต้นแบบลวดลายต่างๆ ตามต้องการ เพียงแต่ ค�ำนึงถึงกฎว่าด้วยเรื่อง “ความสมมาตร” เนือ่ งจาก ผีตาโขนมีลกั ษณะคล้ายคลึงกับใบหน้าของคน มักเน้น ลวดลายบริเวณส่วนหัว (บริเวณหวด) ดวงตา และปาก รวมไปถึงส่วนที่เป็นเขาทั้งสองข้างอีกด้วย
หน้ากากผีตาโขนท�ำขึน้ จากวัสดุธรรมชาติจากท้องถิ่น สะท้อนให้เห็นถึงงานศิลปหัตถกรรมของ ชุมชน ลวดลายบนหน้ากากมาจากแรงบันดาลใจของสิง่ แวดล้อมในธรรมชาติตามบริบทที่แวดล้อมอยู่ ดวงตาและเขี้ยว : สัตว์ตา่ งๆ เช่น ลูกอ๊อด นก เสือ ลิง ลายที่มาจากต้นไม้ เช่น ลายเครือเถา ซึง่ ถือเป็นลายโบราณ หรือแม้แต่ลายที่มาจากอสูรในเรื่องเล่า เช่น ยักษ์ เป็นต้น คุณศรศักดิ์ เจริญทรัพย์ “กิจกรรมการเขียนลวดลายหน้ากากผีตาโขนมีเอกลักษณ์และความ โดดเด่นตามประเพณี ซึง่ มีหนึง่ เดียวในโลกที่เมืองด่านซ้าย จ.เลย เรา จึงสานต่อให้มนั เป็นกิจกรรมที่ นกั ท่องเที่ยวสามารถเข้ามามีสว่ นร่วม ได้ ด้วยการให้นกั ท่องเที่ยวได้มาเรียนรูป้ ระวัตเิ รื่องราวผีตาโขน ลงมือ เขียนลวดลายหน้ากากผีตาโขนและน�ำกลับไปไว้ที่บา้ น ซึง่ มันจะมีคณ ุ ค่า เพราะเขาตัง้ ใจที่จะท�ำ มันเป็นคุณค่าทางจิตใจอย่างหนึง่ และน�ำไปสู่ ความภาคภูมิ ใจ หลังจากก่อตัง้ กิจกรรมนีม้ าได้หนึง่ ปีผลตอบรับก็เป็น ที่พอใจ นักท่องเที่ยวได้รจู้ ักเรา ได้เข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่นมากขึน้ และ เข้าใจอย่างแท้จริง” ติดต่อสอบถามได้ที่ 085-466-1653 พิกัด GPS : 17.27320 101.14074
41
เรียนรู้วิถีชีวิตไทด�ำ บ้านนาป่าหนาด จ.เลย
ชุ มชนบ้านนาป่าหนาดตั้งอยู่ที่อ�ำเภอเชี ยงคาน จ.เลย คนในชุ ม ชนเป็ น กลุ ่ ม ชาติ พั น ธุ ์ ช าวไทด� ำ ที่ ยั ง คงรั ก ษา เอกลักษณ์ดา้ นภาษา ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่ อ อาหาร และเครื่ องแต่งกายของตนมาจนถึงปัจจุ บัน รวมถึงได้ ร่วมกันก่อตัง้ ศูนย์วฒ ั นธรรมไทด�ำ บ้านนาป่าหนาดขึน้ เพือ่ เปิดโอกาสให้ผู้ที่ สนใจเข้ามาสัมผัส และเรียนรู้วิ ถี ชี วิ ตของ ชาวไทด�ำผ่านทางประสบการณ์จากกิจกรรมท่องเที่ ยวที่ บริหารจัดการโดยคนในชุมชน
ลงมือท�ำตุม้ นกตุม้ หนู ตุม้ นกตุม้ หนู ใช้สำ� หรับน�ำมาประดับต้นปางในพิธแี ซปาง ใช้ เป็นเครื่องบรรณาการเพือ่ ขอบคุณ ‘ผีบรรพบุรุษ’ หรือ ‘ผีฟา้ ’ ผูป้ กป้องรักษาชาวไทด�ำให้อยูเ่ ย็นเป็นสุข ท�ำจากไม้ ไผ่และเส้น ฝ้ายหลากสีพั นเข้าไว้ดว้ ยกันเป็นรูปทรงต่างๆ หลังจากเสร็จพิธี ชาวไทยด�ำจะน�ำตุ้มนกตุ้มหนูกลับมาแขวนที่บ้านเพื่อความเป็น สิริมงคล ความโชคดีและอยูเ่ ย็นเป็นสุข
ความหมายของรูปทรงต่างๆ
รูปทรงไทด�ำ
เรียนรู้&ลงมือท�ำ กิจกรรมในชุ มชน
สือ่ ถึงความอบอุน่ ในครอบครัว
ตุม้ นก
สือ่ ถึงการท�ำมาหากิน
ตุม้ หนู สือ่ ถึงการป้องกันภัย
อันตรายไม่ให้เข้ามากล�ำ้ กลาย
ความเชื่ อและการละเล่นของชาวไทด�ำ คนไทด� ำ มี ค วามเชื่ อ เรื่ อง ‘แถน’ และผี บ รรพบุ รุ ษ จึ ง มี พิ ธี แซปางหรื อ การกิ น เลี้ ย งปาง เพื่ อ ไหว้ ค รู ห มอมดหรื อ ผู ้ ที่ ค อยช่ ว ยเหลื อ รั ก ษาคนป่ ว ยไข้ ป ระจ� ำ ชุ ม ชนและเพื่ อ เชิ ญ ผี ที่ อาศั ย อยู ่ ในบ้ า นมาร่ ว มกิ น ปางหรื อ เครื่ องเซ่ น ร� ำรอบต้ น แซปาง ฟ้อนแคนโยนมะกอนและเชิญผีขนึ้ แถน (เชิญขึน้ ฟ้า)
42
ตุม้ ต่อตุม้ แตน สือ่ ถึงตัวแทน ของการป้องกันภัยอันตรายต่างๆ
หัวใจไทยด�ำ
สือ่ ถึงความรักและความสามัคคี
43
ท�ำผาสาดลอยเคราะห์ ชุมชนริมโขงเชียงคาน จ.เลย
เรียนรูก้ ารท�ำมะกอนส�ำหรับการละเล่น
ผาสาด (ปราสาท) ลอยเคราะห์ คื อ พิธีกรรมสะเดาะเคราะห์ตามความเชื่ อของชาว เชี ยงคาน จ.เลย การท�ำผาสาดลอยเคราะห์เป็น ภูมปิ ญ ั ญาที่มลี กั ษณะของท้องถิ่น ไม่วา่ จะเป็น งานใบตองหรือการท�ำขี้ ผึ้งให้เป็นดอกไม้ซ่ึงถือ เป็นงานฝีมอื เฉพาะของท้องถิ่น และยังสะท้อน ให้เห็นถึงความหมายในวัฒนธรรมความเชื่อเรือ่ ง ผี เทวดาและเจ้ากรรมนายเวร ขณะเดียวกันก็ เป็นพิธกี รรมที่เกีย่ วโยงกับพืน้ ที่คอื แม่นำ�้ โขง ที่ มีความส�ำคัญกับชุมชนอย่างมาก ทั้งในการท�ำ มาหากินและความเอื้ออาทรในการช่วยพั ดพา ความทุกข์ ให้ไหลไปตามสายน�ำ้
ลูกมะกอนท�ำมาจากผ้าฝ้าย เย็บ เข้าด้วย กันโดยวางประกบกันสี่ด้านให้เป็นรูปทรงที่ ต้องการก่อนจะบรรจุเมล็ดพืช เช่น เมล็ดนุ่น หรือเมล็ดมะขาม แล้วเย็บปิดให้สนิท
การละเล่นมะกอน เปิดโอกาสหนุ่มสาวไทด�ำได้สร้างความสนิทสนมคุ้นเคยระหว่างกัน การร�ำแคน อิ่นกอน (เล่นกอน) ถือเป็นประเพณีรื่นเริงของชาวไทด�ำ
เรียนรู้&ลงมือท�ำ กิจกรรมในชุ มชน คุณส�ำลาน กรมทอง “การเข้าร่วมท�ำกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ดี ต่อชุ มชนเรา มาก หนึ่งท�ำให้คนรู้จั กชุ มชนมากขึ้น เข้าใจวัฒนธรรม ความเชื่ อ วิถีชี วิตอย่างแท้จริง และยังท�ำให้เกิดการกระจายรายได้ชุมชนมากขึน้ สิง่ ส�ำคัญคือท�ำให้คนในชุมชนรูส้ กึ ภูมิ ใจกับสิง่ ที่มี กับตัวตนที่แท้จริง ของเรา ส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่สนใจจะเข้ามาเรียนรูว้ ิถีชีิ วตของเราก็จะ มีหลากหลายเรื่องราว หลากหลายกิจกรรมให้ได้เรียนรู้ เช่น การทอผ้า มูของพืน้ บ้านไทด�ำ มาเรียนรูภ้ าษาพูด ตัวอักษรต่างๆ หรือวัฒนธรรม ที่ชาวไทด�ำอนุรักษ์สบื สานมาหลายชัว่ อายุคน” ติดต่อสอบถามได้ที่ 086-035-4738 พิกัด GPS : 17.79697 101.73802
44
เข้าใจความเชื่ อของชาวเชี ยงคาน ท�ำความเข้าใจกับความคิด ความเชื่ อของชาวเชี ยงคาน กับพิธีกรรมการลอยผาสาดลอยเคราะห์ ความเชื่ อที่ผูกพั นกับวิ ถี ชี วิ ตของชุ มชนท้องถิ่นริมน�้ำโขง ซึ่งสะท้อนความเชื่ อเรื่องขวัญ ชี วิ ตและ เคราะห์กรรม นอกจากนีร้ ูปลักษณ์ของผาสาดยังแฝงไว้ด้วยความหมายในเชิงวัฒนธรรมที่ผูกพั น กับ พื้นที่ การใช้วัส ดุอุปกรณ์ ในท้องถิ่ น สะท้อ นถึง ความผูกพั นของชุ ม ชนกับธรรมชาติและ ระบบนิเวศ การประกอบพิธีกรรมและความเชื่ อที่เกี่ยวข้องสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่ อของท้องถิ่น ที่ผสมผสานความเชื่ อดัง้ เดิมคือ เรื่องผี เรื่องขวัญ ธรรมชาติ ความเชื่ อทางพุทธศาสนาและอิทธิพล ความเชื่ อของพราหมณ์-ฮินดู
45
รู้ไหม?
ผาสาดลอยเคราะห์มี 2 แบบ
1
ผาสาดลอยเคราะห์ : เป็นการสะเดาะเคราะห์
จากลางร้าย โดยใช้ผาสาดที่ตกแต่งด้วยกรวย ใบตอง ดอกผึง้ ธงชัยและช่อธง พร้อมกับตัด เล็บหรือเส้นผมเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของตนเอง ลงไปในผาสาดเพือ่ น�ำไปลอยเคราะห์ ในล�ำน�ำ้
2
ผาสาดสะเดาะเคราะห์ : เน้นหนักไปในการ
ท�ำเครือ่ งบูชา และเครือ่ งสังเวยเคราะห์จากการ รอดพ้นจากความตายและเคราะห์กรรมหนัก ประกอบไปด้วยอาหารคาวหวาน ผลไม้ และ เครื่องบูชา 9 ชนิด เพือ่ ประกอบพิธกี รรม
คนโบราณเชื่ อเรื่องลางสังหรณ์ เมือ่ ผูค้ นมีความไม่สบายใจ มี ความกังวล และเกิดความทุกข์ หมอชาวบ้านหรือผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่จะบอก ให้ไปท�ำผาสาดลอยเคราะห์ เพือ่ ปัดเป่าสิง่ ชัว่ ร้าย สิง่ ไม่เป็นมงคล ไปลอยน�้ำโขง โดยที่ ไม่หันกลับไปมองอีก เปรียบได้กับว่าเป็น การทิง้ ทุกข์ ทิง้ เคราะห์กรรมและสิง่ ไม่ดีออกไปจากชี วิต
ลงมือท�ำผาสาดลอยเคราะห์ ผาสาดลอยเคราะห์ทำ� ขึน้ อย่างง่ายๆ ด้วยวัสดุธรรมชาติ และอุปกรณ์ ในท้องถิ่น เช่น ใบตองส�ำหรับการท�ำกรวย กาบ กล้วยส�ำหรับการท�ำกระทง เทียนชุบ ส�ำหรับการท�ำดอกไม้ การประดับตกแต่งกระดาษสา กระดาษแก้วส�ำหรับการท�ำ ธงและธูปเทียน การเรียนรู้วิ ธีท�ำผาสาดจะท�ำให้นักท่องเที่ยวได้เข้าใจ และฝึกสมาธิ ความละเอียดอ่อนตลอดจนได้เรียนรู้การใช้ วัสดุจากธรรมชาติ เช่น การชุบ เทียนขี้ผงึ้ ให้เป็นรูปดอกไม้ การประกอบโครงกาบกล้วย การกลัดกรวยใบตอง และ การประดับผาสาดเพือ่ ให้เกิดความสวยงามด้วยธงกระดาษ การลอยผาสาดจะท�ำในช่วงวันออกพรรษา โดยถือว่าเป็นการปลดปล่อยทุกข์ โศก ความไม่สบายทั้ งกายและใจให้ลอยไปกับ แม่น�้ำโขง แต่ปัจจุบันการลอยผาสาดสามารถ กระท�ำได้หากรูส้ กึ ไม่สบายใจหรือต้องการปลดปล่อยความทุกข์ ให้หลุดลอยไป
46
47
เรียนรู& ้ ลงมือท�ำ กิจกรรมในชุมชน ใบตอง กาบกล้วย ไม้กลัด ไม้ปลายแหลม เปรี ย บ เส มื อ นเครื่ อ งบู ช าเทว ดาและ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ตามความเชื่ อ
ปักผ้าหน้าหมอนโบราณ โฮงเจ้าฟองค�ำ จ.น่าน
น่าน เป็นอาณาจักรโบราณที่ ได้รบั เอาศิลปะ วัฒนธรรมของล้านนาทางด้านศาสนาและศิลป หัตถกรรมชั้นสูงมาไว้เป็นส่วนหนึ่งของวิ ถี ชี วิ ต อย่างการปักลายผ้าหน้าหมอนโบราณหรือการ ปักลายผ้าหน้าหมอนผา ที่เป็นงานหัตถกรรม ที่มคี วามโดดเด่นและส�ำคัญของเมืองน่าน เพราะ ต้องอาศัยความช�ำนาญในการปักลวดลายโบราณ ที่มคี วามละเอียดเป็นอย่างมาก
แผ่นผึง้ (แผ่นเทียน) ส�ำหรับการชุบดอกผึง้ เชื่ อว่าเป็นดอกไม้ชนั้ สูงส�ำหรับบูชาพระธาตุ
กระดาษสา กระดาษแก้ว ที่ประดับทั้ ง 4 ด้าน ใช้ในการบูชาเทวดาและท้าวจตุโลกบาล ทั้ง 4 ทิศ
คุณอมร ณรงค์ศกั ดิ์ (ป้านาง) “คุณค่าของการมาท�ำกิจกรรมท�ำผาสาดลอยเคราะห์คือ สมัย โบราณที่ยงั ไม่มแี พทย์ เวลาที่เจ็บป่วยหรือฝันไม่ดี มีความไม่สบายใจ เราก็จะท�ำผาสาดลอยเคราะห์ ไปลอย ซึง่ คุณค่าของผาสาดคือ รักษา คนให้หาย มีคณ ุ ค่าด้านจิตใจ หรือเปรียบได้กบั ว่าถ้าคนเรามีความเชื่ อ หรือศรัทธาในสิง่ ที่ทำ� ก็จะมีคณ ุ ค่ามาก เราก็รสู้ กึ ภูมิ ใจมากที่ ได้สอน นักท่องเที่ยวให้ ได้รู้จั กได้เข้าใจความเชื่ อของชุ มชนและการท�ำผาสาด ลอยเคราะห์ ก็อยากจะอนุรักษ์ ให้คงอยูไ่ ว้รนุ่ ต่อรุน่ ” ติดต่อสอบถามได้ที่ 089-841-1453 พิกัด GPS : 17.89417 101.65376
48
เรียนรู้&ลงมือท�ำ กิจกรรมในชุ มชน เขียนลวดลายผ้าหน้าหมอนโบราณ
เรียนรูว้ ิธเี ขียนลวดลายล้านนาโบราณที่มคี วาม วิจิตรเป็นศิลปะอันโดดเด่นและมีคณ ุ ค่ามากส�ำหรับชาว น่าน ซึง่ การปักลายผ้าหมอนโบราณด้วยลวดลายโบราณ ยังมีคณ ุ ค่าและมีความส�ำคัญในการแสดงฐานันดรศักดิ์ ฐานะ และเพศของผูท้ ี่เป็นเจ้าของ เพราะจะมีลวดลาย เฉพาะ แตกต่างกันออกไป โดยเป็นลวดลายล้านนา โบราณตามแบบฉบับของจ.น่านที่ ท�ำผ้าหน้าหมอนมี ทั้ งหมด 12 ลาย และยังมีลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ ส�ำคัญประจ�ำของโฮงเจ้าฟองค�ำ 49
ลวดลายล้านนาโบราณตามแบบฉบับน่าน หมอนผาเป็นหมอนรูปทรงสามเหลีย่ มสูงชันคล้ายหน้าผา ส่วนหมอนหกมีลกั ษณะเป็นรูปทรงสีเ่ หลีย่ ม
ลายหม้อดอกบูรณฆฎะ : ลายที่มคี วาม
เกี่ ย วข้ อ งกั บ ศาสนาพุ ท ธ และถื อ เป็ น ลวดลายประจ�ำท้องถิ่นของเมืองน่าน
ลายเครือเถาต่างๆ : แสดงให้เห็นถึงความงดงามอ่อนช้อยและความอุดมสมบูรณ์ ความมัง่ มี ลวดลายนกยูง : แสดงถึงความสง่า สูงส่ง
มักใช้กบั บุรุษและสตรีผมู้ ยี ศฐาบรรดาศักดิ์ หรือบุคคลที่มคี วามงดงาม
ลายครอบเครือเถา : มีความพิเศษที่จะ
เว้นบริเวณส่วนกลางไว้สำ� หรับปักชื่ อด้วยตัว อักษรน�ำหน้าชื่ อตัวเอง ตามความเชื่ อของ ชาวล้านนาว่าเป็นศิริมงคล
ลายดอกบัวประกบด้วยหงส์คู่ : ลายเอกลักษณ์สำ� คัญของโฮงเจ้าฟองค�ำ
50
51
หล่อเหรียญทวารวดี เมืองอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี
รู้ไหม?
“หมอนผาและหมอนหก” มักจะท�ำขึน้ มาคูก่ นั เสมอ เพือ่ ใช้ประโยชน์ ในหลายลักษณะ เช่น ใช้ในการหนุน ใช้ เป็นเครื่องหมายบอกที่ นั่งประจ�ำบุคคล ใช้ ในงานพิธี ส�ำคัญต่างๆ เช่น พิธแี ต่งงาน จึงนับว่าเป็นสิง่ ของมี คุณค่า นอกจากนีล้ วดลายผ้าปักหน้าหมอนยังแสดง ให้เห็นถึงฐานะและบรรดาศักดิ์ของผู้ที่ครอบครองได้ เช่น ลวดลายผ้าปักหน้าหมอนที่แสดงสัญลักษณ์ประจ�ำ ตระกูลหรือประจ�ำคุม้ ที่แตกต่างกันไป ส่วนวัสดุที่ ใช้ใน การปักสมัยโบราณนัน้ จะนิยมใช้เส้นไหมเงิน ไหมทอง เครื่องเงินแท้ รวมถึงทองค�ำแท้ดว้ ย
คุณพีระวัฒน์ ถาเป็ง “การปักผ้าหน้าหมอนโบราณของน่าน ทางโฮงเจ้าฟองค�ำได้เห็น ถึงความส�ำคัญจึงได้อนุรักษ์ ไว้ มีหมอนตัวอย่าง เช่น หมอนเจ้ามโน และหมอนเจ้าฟองค�ำ ซึง่ การที่ นกั ท่องเที่ยวมาลงมือท�ำกิจกรรมนีถ้ อื เป็นการมาฟืน้ ฟูอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมเก่าแก่เอาไว้ ปัจจุบนั ใน เมืองน่านจะมีแค่ที่ โฮงเจ้าฟองค�ำที่เดียวเท่านัน้ ที่เปิดสอนให้คนที่สนใจ อยากเรียนรู้ อยากจะอนุรักษ์ และมี ใจรักจริงๆ” ติดต่อสอบถามได้ที่ 087-305-9660 พิกัด GPS : 18.789655 100.7844327
52
ศิลปะแบบทวารวดีมอี ทิ ธิพลต่อวัฒนธรรม ในภูมิภาคเอเชี ยอาคเนย์ โดยเฉพาะในพื้นที่ อู่ทอง ทั้ งในด้านจิ ตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม อิทธิพลของทวารวดี ได้แผ่ เข้ามาหลอมรวมกับศิลปะดั้งเดิมของอู่ทองซึ่ง มีพั ฒนาการมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ในปัจจุบนั ได้มกี ารขุดค้นพบเจอโบราณวัตถุอนั ทรงคุณค่าและมีความเป็นเอกลักษณ์ภายใน พืน้ ที่อทู่ อง และได้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้กบั ศิลปินและช่างปัน้ ชาวอูท่ อง
เรียนรู้&ลงมือท�ำ กิจกรรมในชุ มชน เรียนรูล้ วดลายที่ปรากฏบนเหรียญทวารวดี เหรียญทวารวดี หรือเงินตราทวารวดี ที่ ได้ถูกสร้างขึ้นใน สมัยทวารวดี เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนระหว่าง การค้า เมือ่ ราวประมาณพุทธศตวรรษที่ 11–16 เหรียญทวารวดี มีลักษณะเป็นเหรียญโลหะกลมแบนถูกหลอมขึ้นมาจากโลหะ ทองเงิน หรือทองแดง บนเหรียญทวารวดีแต่ละเหรียญ จะมี ลวดลายและความหมายที่แตกต่างกัน
53
ตัวอย่างลวดลายบนเหรียญ
คุณสมศักดิ์ กลิ่นจันทร์ “กิจกรรมหล่อเหรียญทวารวดีมคี วามโดดเด่นทางด้านเอกลักษณ์ ของตัวมันเอง รวมไปถึงมีลกั ษณะเฉพาะที่ นกั ท่องเที่ยวจะได้ทั้งลงมือ ท�ำและได้ความรูเ้ รือ่ งราวประวัตศิ าสตร์ ซึง่ เหรียญทวารวดีเป็นเหรียญ ที่ ขุดพบในเมืองอู่ทอง และเหรียญรุ่นแรกของคนไทยหรือถือเป็น เหรียญยุคแรกที่คนไทยได้ใช้ พวกเราชุมชนอูท่ องจึงเกิดความภาคภูมิ ใจ ที่ทกุ วันนีส้ ามารถท�ำให้ผคู้ นได้รจู้ ักมากขึน้ ” ติดต่อสอบถามได้ที่ 092-696-6306, 084-801-6617 พิกัด GPS : 14.3583007 99.8822694
ศรีวตั สะ : ลวดลายที่มลี กั ษณะเป็นเรือนหรือปราสาทขนาดเล็ก ใช้แทนสัญลักษณ์
ของพระศรีหรือพระลักษมี ชายาของพระวิษณุ เทพธิดาแห่งโชคลาภและความอุดม สมบูรณ์ ลายศรีวตั สะจึงมีความหมายสือ่ ถึงความอุดมสมบูรณ์และโชคลาภ
สังข์ : ลวดลายรูปหอยสังข์ รอบข้างหอยสังข์เป็นลายคลื่นน�ำ้ เป็นสัญลักษณ์ของ น�ำ้ ซึง่ เป็นบ่อเกิดของความอุดมสมบูรณ์
ดวงอาทิตย์ : ตามความเชื่อดัง้ เดิมของจีน หมายถึง ความเป็นเจ้าแผ่นดิน และ เป็นที่ยอมรับกันว่าคือตัวแทนทางธรรมชาติของเพศชายและความสดใส
แม่โคลูกโค : สัญลักษณ์พลังอ�ำนาจด้านการผลิตของธรรมชาติ โดยสัมพั นธ์ กับคติการนับถือพระแม่หรือเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ของพืชพั นธุธ์ ญ ั ญาหาร
แบบประเมินความพึงพอใจ ผลส�ำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวในปี 2559 ที่ ได้มาเรียนรูล้ งมือท�ำกิจกรรมท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์ จากการส�ำรวจความพึงพอใจ 4 ด้าน (ด้านพืน้ ที่ , ด้านกระบวนการ , ด้านการบริหาร จัดการ และด้านสภาพแวดล้อม)
ลงมือหล่อเหรียญทวารวดีเมืองอูท่ อง กิจกรรมหล่อเหรียญทวารวดี เมืองอู่ทอง เป็นความพยายามในการ รื้อฟืน้ วัฒนธรรม รวมถึงส่งต่อคุณค่าของอูท่ องดัง้ เดิมให้แก่นกั ท่องเที่ยว และคนภายนอกได้สัมผัสความจริงแท้ของอู่ทองที่เชื่ อมโยงอย่างไม่อาจ แยกออกจากทวารวดี ได้ รู้ไหม? การพบเหรียญเงิน 2 เหรียญที่มจี ารึกภาษาสันสกฤตอายุราวพุทธ ศตวรรษที่ 13 จากเมืองนครปฐมโบราณ มีขอ้ ความว่า ‘ศรีทวารวดีศวรปุณยะ’ ซึง่ แปลได้วา่ บุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดีหรือบุญของ ผูเ้ ป็นเจ้าแห่งศรีทวารวดี เป็นหลักฐานส�ำคัญที่นา่ เชื่อถือเกีย่ วกับอาณาจักร ทวารวดี จึงได้สนั นิษฐานว่าเมืองนครปฐมโบราณเป็นศูนย์กลางหรือเมือง หลวงของอาณาจักร และต่อมาได้พบเหรียญลักษณะคล้ายกันอีก 2 เหรียญ ที่อำ� เภออูท่ อง จ.สุพรรณบุรี และที่อำ� เภออินทร์บรุ ี จ.สิงห์บรุ ี เหรียญทวารวดี จึงเป็นโบราณวัตถุที่มคี ณ ุ ค่า แสดงให้เห็นถึงการรับ อิทธิพลมาจากอินเดียผ่านการค้าทางไกล และแสดงให้เห็นถึงความส�ำคัญ ของเมืองอูท่ องนับตัง้ แต่อดีต 54
ชุ มชนนครชุ ม จ.ก�ำแพงเพชร กิจกรรมเรียนรู้ อาหารชาวนครชุ ม = 91.38%
กะเณชาสังคโลก สุโขทั ย ปั้นและเขี ยนลายสังคโลก = 93.20%
สุนทรีผ้าไทย จ.สุโขทั ย ทอผ้าจกไทยพวน = 96.19%
เมืองด่านซ้าย จ.เลย เขี ยนลายหน้ากากผี ตาโขน = 90.27%
บ้านนาป่าหนาด จ.เลย เรียนรู้วิ ถีชี วิ ตไทด�ำ = 93.03%
เมืองอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี หล่อเหรียญทวารวดี = 92.88%
55
Case Study กรณีศกึ ษาในต่างประเทศ มาดูตัวอย่างไอเดี ยในการท�ำธุรกิจท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ที่สามารถน�ำไปประยุกต์ ใช้ ได้จริงๆ กัน เรียนรูก้ ารจิบไวน์
เมืองบาร์เซโลนา ประเทศสเปน
ท่องเที่ยวพร้อมจิ บไวน์รสเลิศที่ห้องหมักไวน์ ใต้ดินและโรงงาน ผลิตไวน์ชื่ อดังหลายแห่ง ซึ่งการจิ บไวน์จะท�ำให้เห็นถึงความ แตกต่างของแต่ละวัฒนธรรมผ่านการชิมไวน์ ทราบแหล่งผลิต วัตถุดบิ กระบวนการกรรมวิธกี ารผลิตที่ตอ้ งใช้ความตัง้ ใจและ ความช�ำนาญเป็นอย่างมาก ทริปการจิ บไวน์นี้ ได้รับการการัน ตีจากนักท่องเที่ ยวมากมายว่าจะสร้างความทรงจ�ำที่ ดี ให้คุณ อย่างแน่นอน
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของเมืองบาร์เซโลนา ประเทศสเปน เริ่มขึน้ ในปี 2005 ถือได้วา่ เป็นการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ประเทศแรกๆ ของโลก และเป็นต้นแบบ ของการท่องเที่ยวที่ ให้นกั ท่องเที่ยวเกิดการเรียนรู้ในเรือ่ งศิลปวัฒนธรรม ที่เป็นอัตลักษณ์ ของเมืองผ่านกิจกรรมการท่องเที่ยวในรูปแบบต่างๆ ทั้งยังส่งเสริมให้เกิดการสร้างเครือข่าย การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ขึ้นมาเพื่อท�ำงานร่วมกับทั่ วโลก จุดเด่นของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ในประเทศสเปน
เรียนรูก้ ารเต้นสไตล์สเปน
เป็นผูร้ ิเริ่มการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ และก่อตัง้ เครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่มี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และท�ำให้ดี ที่สุด เป็นประเทศที่มีการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์บนพื้นฐานทางวัฒนธรรมมากว่า สามทศวรรษ จากกิจกรรมเล็กๆ จนกลายเป็นที่รู้จั กแพร่หลาย มี ที ม งานที่ เชี่ ย วชาญ ภู มิ ใจ รั ก และรู ้ ทุ ก ซอกมุ ม ของเมือง พร้อ มกับ ต้องการแบ่ง ประสบการณ์ที่คุ้มค่าให้กับนักท่องเที่ยวทุกคน
มาโยกย้ายส่ายสะโพกในคลาสเรียนเต้นที่ จะสอนทั้ งการเต้น ฟลาเมงโก (Flamenco) การเต้นระบ�ำ Sevillanas การเต้น รุ ม บ้ า (Rumba) ซึ่ ง จะสอนเต้ น โดยเหล่ า มื อ อาชี พ อย่ า ง สนุกสนานและเป็นกันเอง นอกจากจะได้เรียนรู้ท่าเต้นแล้วยัง จะท�ำให้นักท่องเที่ยวได้เข้าใจถึงศิลปะและวัฒนธรรมของชาว สเปนอีกด้วย เข้าร่วมเทศกาลดนตรีและเต้นร�ำ
กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เดินเล่นในถนนแห่งอาหาร มาเดินเล่นหาของกินอร่อยๆ ในถนนอาหารนานาชาติที่จั ดขึ้น ในบาร์เซโลนา โดยบรรดาเชฟที่หลงใหลและรักการท�ำอาหาร ที่ สุด สองข้างทางจะมีเชฟน�ำ เมนูสุดพิเศษมาเสิร์ฟให้ ได้ลิ้ม ลอง เปรียบได้วา่ ถนนทั้งสายจะกลายเป็นเหมือนสนามเด็กเล่น ส�ำหรับคนที่ รักการกิน และภายในงานยังมีตลาดที่ จ�ำหน่าย สินค้าสดๆ จากฟาร์มของเกษตรกร มีเวิ ร์คช็อปการท�ำอาหาร และสามารถหาเบี ยร์ที่ขึ้นชื่ อของเมืองนีล้ ิ้มลองได้ที่ นอี่ ีกด้วย 56
สมาคมเต้นร�ำ King’s Square (Placa del Rei) ส่งเสริมให้ ชาวเมืองบาร์เซโลนามีสว่ นร่วมกับงานเต้นร�ำและเทศกาลดนตรี ดัง้ เดิมชาวคาตาลัน โดยนักท่องเที่ยวสามารถเข้าร่วมเทศกาลได้ ตัง้ แต่ชว่ งเทศกาลอีสเตอร์จนถึงปลายเดือนมิถนุ ายน และช่วง เดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม
เทศกาลดนตรีแบบดัง้ เดิมของชาวคาตาลันที่จัดขึน้ ถือเป็นสัญลักษณ์ ของเมืองบาร์เซโลนา 57
เมืองคานาซาวะ ประเทศญี่ปุ่น คานาซาวะ เมืองหลวงของจ.อิชิกาวา ประเทศญี่ปุ่น เป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม เพราะเป็นเมืองที่มีแร่ทองค�ำเยอะ ชื่ อของเมืองจึงตั้งตามเอกลักษณ์ ซึ่งมีความหมายว่าล�ำธารทองค�ำ ปัจจุบันเมืองคานาซาวะได้รับการบันทึกให้เป็นสมาชิก เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ที่จั ดตั้งขึ้นโดย UNESCO เพื่อสนับสนุนเมืองต่างๆทั่ วโลก ที่ส่งเสริมอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมให้มีความร่วมมือ และแลกเปลี่ยนกันระหว่างประเทศ
กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
ปัน้ เซรามิคโบราณ ผลิตภัณฑ์เซรามิคของที่ นเี่ ป็นหนึง่ ในภูมปิ ญ ั ญาที่สบื ทอดกันมา หลายชัว่ อายุคน เช่น ตระกูล Kutani Kosen-gama ที่มกี าร สืบทอดกิจการเป็นทายาทรุน่ ที่ 5 โดยมีการรักษารูปแบบการ ผลิตที่ โดดเด่น การวาดลวดลายแบบดัง้ เดิม จึงถือเป็นผลิตภัณฑ์ ที่มเี อกลักษณ์เฉพาะและมีคณ ุ ค่ามาก
ท�ำแผ่นทองค�ำ
ดืม่ ด�ำ่ กับการชมศิลปะการแสดงโน
นักท่องเที่ยวจะได้สมั ผัสประสบการณ์จริง ทดลองท�ำแผ่นทองค�ำ กับร้านเก่าแก่ชื่อดังของเมือง ซึง่ แผ่นทองค�ำที่ผลิตที่นจี่ ะมีความ บางเป็นพิเศษถึง 0.2 ไมครอน ท�ำให้มกี ารผลิตแผ่นทองค�ำจาก ที่ นมี่ ากถึง 99% เพือ่ ใช้กนั ทั่วประเทศญีป่ นุ่ ในการตกแต่งภายใน อาคาร ประดับผลิตภัณฑ์หัตถกรรมต่างๆ และที่ส�ำคัญแผ่น ทองค�ำของคานาซาวะได้รับการก�ำหนดให้เป็นหนึง่ ในผลิตภัณฑ์ ดัง้ เดิมที่ยงั คงเอกลักษณ์ของตนเองในระดับประเทศ
ที่ นมี่ ีพิพิธภัณฑ์ละครโน รวมถึงการจั ดแสงหน้ากาก เวทีการ แสดง เครื่องแต่งกาย ดาบซามูไร และพั ดสีสันต่างๆ ที่ ใช้ ใน การแสดงละคร การแสดงละครโนจะมีความส�ำคัญคือใช้แสดง เพื่อบูชาเทพเจ้า มีความเชื่ อว่าพืช ผลทางเกษตรกรรมจะมีความ บริ บูรณ์เพราะมีเทพเจ้าช่วยอวยพร โดยใช้สัญลักษณ์ที่ มีฉาก หลังเป็นต้นสนใหญ่ เพราะมีความเชื่ อว่าเทพเจ้าจะสถิตอยู่ใน ต้นสนใหญ่
เรียนรู้ ลงมือท�ำขนมประจ�ำถิ่น เมืองคานาซาวะเป็นแหล่งผลิตขนมญี่ปุ่นหลายชนิด จนได้รับ การยอมรับว่าเป็นหนึ่งในสามของแหล่งผลิตขนมที่ขึ้นชื่ อที่สุด ของประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน มาฟินสุดๆ กับการชิมขนมท้อง ถิ่นรสอร่อย พร้อมลงมือท�ำขนมหวานที่ขึ้นชื่ ออย่างขนม โมจิ และวากาชิ (ขนมดั้งเดิมของญี่ปุ่น) 58
ละครโนเป็นศิลปะการแสดงดัง้ เดิมเลือ่ งชื่ อของญีป่ นุ่ ที่มาจากเมือง โตเกียว/เกียวโต เมือ่ 600 ปีกอ่ น ต่อมามีซามูไรน�ำละครโนเข้ามา เล่นที่เมืองคานาซาวะเมือ่ ราวๆ 400 ปีมาแล้ว และได้มกี ารสืบทอด ศิลปะการแสดงละครโนมาจนถึงปัจจุบนั จนกลายเป็นศูนย์กลาง ละครโนที่สำ� คัญของประเทศล�ำดับที่ 3 รองจากโตเกียวและเกียวโต
59
มุมมองการทอ่ ง
เที่ยวเชิงสร้างสรรค์
ผศ.ดร.จุฑามาศ วิ ศาลสิงห์ อาชี พ กรรมการบริหารบริษัท Perfect Link Consulting Group “การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์คอื วิถีที่ถกู ออกแบบให้เป็นกิจกรรม การท่องเที่ยวที่มีกิจกรรมที่สร้างสรรค์มาจากรากวัฒนธรรม โดย ให้คนที่เป็นเจ้าบ้านกับนักท่องเที่ยวได้มโี อกาสเรียนรูด้ ว้ ยการลงมือ ท�ำด้วยกันได้ประสบการณ์ที่ ไม่ใช่แค่การไปดู การไปถ่ายรูปเพี ยง อย่างเดี ยว” คุณนัฏพร เกาจารี อาชี พ Chief Executive Officer บริษัท วีไอพี ไฮบริด จ�ำกัด “การท่องเที่ ยวเชิงสร้างสรรค์เป็นการท่องเที่ ยวที่ จะพานักท่อง เที่ยวไปแลกเปลีย่ นความรู้ ให้ได้เห็นคุณค่าของวิถีชี วิต วัฒนธรรม เน้นให้นักท่องเที่ยวได้รู้ว่ามาเที่ยวแล้วจะได้อะไรบ้าง เช่น ได้ลงมือ ท�ำกิจกรรมจริงๆ ได้สัมผัสวิ ถีชี วิ ตที่แท้จริง” คุณโอฬาร โสภณสิริรักษ์ ผู้ร่วมก่อตั้งเพจท่องเที่ยว ไปไง มาไง และ www.wheredowego.in.th “การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์คือ การท่องเที่ยวแบบที่ ไม่ได้สนใจ ตัวเองเพี ยงอย่างเดี ยว แต่คือการเดินทางที่ต้องใส่ใจคนรอบข้าง มากขึ้น ดูสิ่งที่ น่าสนใจระหว่างทางและเรียนรู้วัฒนธรรมในที่ นั้นๆ ให้รู้รอบด้านมากกว่าการไปพั กผ่อน” คุณธนปกรณ์ สุขสาลี อาชี พ Digital Content Manager Trip Travel Gang “การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์คือ การท่องเที่ยวที่ ไปแล้วเราได้ เรียนรูก้ บั สิง่ นัน้ ๆ อย่างลึกซึง้ และเข้าใจในวัฒนธรรมการท่องเที่ยว โดยที่เราไม่ได้เข้าไปเปลี่ยนแปลงหรือเอาไปเปรียบเทียบกับที่อื่น” 60
คุณถนิมพร สวรรค์ศิริ ชัย อาชี พคณะกรรมการอ�ำนวยการ สมาคม ไว ดับยู ซี เอ กรุงเทพฯ “การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์คือ การน�ำทรัพยากร สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมของท้องถิ่นมารวมกันและท�ำให้น่าสนใจดึงดูดนักท่อง เที่ยว ซึ่งนักท่องเที่ยวมาท�ำกิจกรรมก็จะได้มาเรียนรู้วิ ถีชี วิ ตจริงๆ แตกต่างจากการท่องเที่ยวแบบทั่ วไป คือการท่องเที่ยวแบบนีม้ ัน มีอะไรนอกเหนือจากการท่องเที่ยวแบบเดิมๆ ที่ ไปเที่ยวกลับมา แล้วก็ลืม”
คุณนภาลัย วงค์ทองค�ำ อาชี พธุรกิจส่วนตัว “ การท่องเที่ ยวเชิงสร้างสรรค์ท�ำให้ ได้สัมผัสกับวิ ถี ชี วิ ตความ เป็นอยู่ของชุ มชนอย่างแท้จริง และยังมีกิจกรรมที่สามารถให้นัก ท่องเที่ยวได้เรียนรู้และลงมือท�ำ ซึ่งแต่ละชุ มชนจะมีเอกลักษณ์ มี กิจกรรมที่แตกต่างกัน” คุณคฑาวุฒิ ใจดี อาชี พ พนักงานรัฐวิ สาหกิจ “ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ คือ การไปเที่ยวและมีกิจกรรมให้ เราท�ำร่วมกับชุ มชน ซึ่งถ้ากิจกรรมน่าสนใจนักท่องเที่ยวก็จะสนใจ เอง ดังนั้นกิจกรรมจึงต้องน่าสนใจ ใช้เวลาไม่นานมาก ไม่มีค่าใช้ จ่ายสูง เป็นกิจกรรมต่อเนื่องที่สามารถให้นักท่องเที่ยวได้กลับมา ท�ำกิจกรรมได้ตลอด” คุณเพ็ญวิ ษา เกียรติดุริยกุล นักท่องเที่ยว “การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์คือ การสร้างประสบการณ์ ใหม่ให้ นักท่องเที่ยว ให้ ได้เข้าไปใช้ประสบการณ์ร่วมกับในชุ มชน หรือว่ามี กระบวนการที่ ใช้เอกลักษณ์ทางท้องถิ่นมาน�ำเสนอ นักท่องเที่ยว สามารถเข้าไปมีประสบการณ์ร่วมกันกับชุ มชนได้” 61
บทความที่ได้รับรางวัลจากการประกวด กิจกรรมการท่องเที่ยวไทยจะยั่งยืนได้ ต้องมีการบริหารจัดการที่ดี “ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เปลี่ยนชีวิต” ที่แห่งนี้ ไม่มีกาแฟแบรนด์นอกแก้วละร้อยกว่าบาทให้นั่งละเลียดในห้องแอร์เย็นฉ�่ำมีแต่ชาร้อน หอมกรุ่นที่เก็บจากไร่ของชาวบ้าน ให้ ได้นั่งจิ บท่ามกลางบรรยากาศเขี ยวชอุ่มของต้นไม้นานาพั นธุ์ ที่แห่งนี้ ไม่มโี รงหนัง บาร์ หรือคาราโอเกะ ไว้คอยปรนเปรอนักท่องเที่ยว จะมีก็แต่ห้องเรียนชี วิ ต ไว้ ให้ผู้มาเยือนได้แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม เรียนรู้วิ ถีชี วิ ต และท�ำกิจกรรมร่วมกับ เจ้าของพื้นที่ เช่น เข้า ป่าไปเก็บใบชา จากนั้นมาทดลองท�ำเมี่ยง (อาหารทานเล่นของภาคเหนือท�ำจากใบชาแก่) รวมถึงลอง ท�ำอาหารพืน้ บ้านของชาวอาข่าโดยใช้วตั ถุดบิ จากสวนผักปลอดสารพิษของชาวบ้าน และโชว์เสน่หป์ ลาย จวักในการท�ำอาหารพืน้ บ้านของชาวจีนยูนนานอย่างแคบหมูเจ ที่แห่งนีค้ อื บ้านโป่งน�ำ้ ร้อน ต.ดอยฮาง อ.เมือง จ. เชี ยงราย แหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ในดินแดนเหนือสุดของประเทศไทย ผมได้สมั ผัสวิถีชี วิตของชาวบ้านพืน้ ถิ่นภาคเหนือที่พงึ่ พาธรรมชาติ ในท้องถิ่นมากกว่าพึง่ พาปัจจัย ภายนอก จากการเดินทางร่วมขบวนไปกับชาวบ้านเพื่อไปเก็บใบชาในไร่และในป่าธรรมชาติ มือใหม่หัด เก็บชาท�ำได้ ไม่เลวเพราะได้ชาวบ้านคอยให้ค�ำแนะน�ำ ว่าใบชาแบบไหนที่สมบูรณ์เหมาะกับการเก็บไป ท�ำเมี่ยง เก็บได้พอสมควรก็กลับมาที่หมู่บ้านเพื่อน�ำใบชาพั นธุ์อัสสัมมานึ่งในถังไม้ จากนั้นน�ำมาหมัก ให้มีรสเปรี้ยวและฝาด ผลผลิตที่ ได้คือเมี่ยง ใช้ส�ำหรับอมให้ชุ ่มคอและช่วยย่อยอาหาร ก่อนส่งไปขาย สร้างรายได้ ให้กับชุ มชน รสชาติความเปรี้ยวของเมี่ยงในปากยังไม่ทั นจางหาย ได้เวลาไปตะลุยกันต่อ ที่บ้านของชาวจีนยูนนานของหมู่บ้าน ซึ่งมีอาหารขึ้นชื่ อคือแคบหมูเจ ท�ำจากแป้งโปรตีนข้าวบาร์เล่ย์ ผมได้ลองท�ำแคบหมูเจ ท�ำแล้วก็จดวัตถุดิบ และขั้นตอนการท�ำอย่างละเอียดยิบไว้ ในสมุด หลังกลับ จากทริปท่องเที่ยวบ้านโป่งน�้ำร้อน พฤติกรรมการบริโภคของผมค่อยๆ เปลี่ยนแปลงไป จากที่ปกติ เคยฝากท้องไว้กับร้านขายอาหาร พอได้เห็นวัฒนธรรมอาหารของชาวบ้านบ้านโป่งน�้ำร้อนที่ปลูกผักไว้ ทานเอง ผมเกิดแรงบันดาลใจในการหันมาทานอาหารออร์แกนิค ตอนนีเ้ ริ่มศึกษาการปลูกผัก อนาคต อยากเนรมิตแปลงปลูกผักเล็กๆ ขึ้นในพื้นที่บ้าน ตามด้วยหัดท�ำอาหารทานเองในบางครั้งคราว สูตรการท�ำแคบหมูเจที่จดไว้ก็ ไม่สญ ู เปล่า ครั้งหนึง่ ตอนงานเลีย้ งปีใหม่ของบริษทั ผมท�ำแคบหมู เจไปให้เพื่อนๆ ในออฟฟิศทาน ปรากฏว่าหลายคนยกนิว้ ให้ แถมชมว่าอร่อยและดี ต่อสุขภาพ นีค่ ือ ความเปลี่ยนแปลงของผมที่ ได้แรงบันดาลใจมาจากเมื่อครั้งไปเที่ยวบ้านโป่งน�้ำร้อน จ. เชี ยงราย
“เที่ยวสนุก… สุขอย่างสร้างสรรค์ที่ ก้องวัลเล่ย์” การเดินทางเพื่อเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ แท้จริงแล้วไม่ใช่แค่การค้นหาทิวทั ศน์ ใหม่ๆ แต่คือการมอง สิ่งเหล่านั้นในมุมมองใหม่ ๆ ด้วย ซึ่งเราอยู่ในโลกที่เต็มไปด้วยความงดงาม เสน่ห์ และการผจญภัย มากมายที่ ไม่มคี ำ� ว่าสิน้ สุด ถ้า เพี ยงเราเปิดตาค้นหาความงดงามเหล่านัน้ ซึง่ สถานที่เหล่านัน้ ไม่มี ใคร รูจ้ ักมันได้จาการบอกเล่าเท่านัน้ แต่คนเราจะต้องเดินทางท่องเที่ยวเพือ่ ท�ำความรูจ้ ักกับสิง่ เหล่านัน้ ด้วย ตนเอง เป็นการเรียนรู้เพื่อหาประสบการณ์ ใหม่ๆ “ก้องวัลเลย์” เป็นสถานที่หนึ่งที่ น่าไปเรียนรู้และค้นหาประสบการณ์ ใหม่ๆ ซึ่งมีความเงียบสงบ และความเป็นส่วนตัวท่ามกลางธรรมชาติ “ก้องวัลเลย์”ตัง้ อยูใ่ นหุบ เขาบกกราย อ�ำเภอกระบุรี จ.ระนอง เมือ่ เดินทางมาถึงที่กอ้ งวัลเลย์เราก็เริ่มได้กลิ่นกาแฟหอมกรุน่ และเมือ่ เข้าไปที่ โรงคัว่ กาแฟ กลิ่นกาแฟ ก็จะยิ่งชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ และเราก็จะพบกับคุณก้อง ผู้เป็นเจ้าของก้องวัลเลย์ มักจะอยู่ที่ นเี่ พื่อให้ความรู้ และถ่ายทอดความรูต้ า่ ง ๆเกีย่ วกับกาแฟให้กบั นักท่องเที่ยว ซึง่ ในแต่ละวันก็จะมีนกั ท่องเที่ยวให้ความ สนใจในการเดินทางมาที่ นจี่ �ำนวนมาก กิจกรรมที่ ไม่ควรพลาดของที่ นคี่ ือ การคั่วเมล็ดกาแฟด้วยตนเองในกระทะเล็กๆ และเตาแก๊ส ปิคนิคโดยคุณก้องจะให้ความรู้ถงึ การคัว่ กาแฟในแบบต่าง ๆ และเมื่อคัว่ ได้ที่แล้วก็จะท�ำการบดเมล็ด กาแฟด้วยเครื่องมือแบบคลาสสิคจนเมล็ดกาแฟละเอียดดี แล้ว ก็จะท�ำการชงกาแฟ และเราก็จะได้ชิม กาแฟฝีมือตนเอง ซึ่งมีความหอมละมุนมาก และรสชาติกลมกล่อม นอกจากกาแฟแล้วก็ยังมีการเก็บ เอาดอกกาแฟมาคัว่ ด้วยไฟอ่อนๆ แล้วน�ำมาชงเป็นชาดอกกาแฟที่มกี ลิ่นหอมอย่างเหลือเชื่ อ และที่ นยี่ งั มี คอร์สชงกาแฟเพือ่ ประกอบกิจการส�ำหรับผูส้ นใจท�ำร้านกาแฟของตนเอง และยังมีที่พั กให้นกั ท่องเที่ยว ได้มาพั กผ่อนในรูปแบบโฮมสเตย์อกี ด้วย และที่ นยี่ งั มีกจิ กรรมให้ทำ� หลากหลาย นักท่องเที่ยวสามารถ ท�ำกิจกรรม OneDay Trip ซึ่งภายในหนึ่งวันนีก้ ็จะมีการเรียนรู้การชงกาแฟและการไปล่องเรือแม่น�้ำ กระบุรี และที่ก้องวัลเลย์นยี้ ังมีร้านอาหารและเครื่องดื่มให้บริการแก่นักท่องเที่ยว ซึ่งมีรสชาติอร่อย และเครื่องดื่มก็มีความกลมกล่อมมาก การที่ ได้เดินทางไปที่ นถี่ ือว่าเป็นสิ่งที่คุ้มค่ามาก ๆ รางวัลที่ยิ่งใหญ่และความสุขที่ ได้รับจากการ เดินทางคือ การหาประสบการณ์ ใหม่ๆ ความรู้ ใหม่ๆ มิตรภาพ ความสุขที่หาได้ง่ายๆ ในชุ มชนของเรา และถ้าหากถามถึงแรง บรรดาลใจในการออกเดินทางแต่ละครั้งของฉันมันไม่ได้มาจากผูค้ นหรือสิง่ ต่าง ๆ แต่หากว่ามันมาจากการเดินทาง ท่องเที่ยวไปสัมผัสกับกับแหล่งท่องเที่ยวนัน้ ๆ ด้วยตนเองต่างหาก และสิง่ ส�ำคัญที่ฉนั ได้อกี อย่างจากที่ นกี่ ค็ อื “หลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง”ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่ สามารถน�ำมาใช้ ใด้ ในชี วิ ตจริง นางสาวชวิศา อดุลเดชากุล
นายพันธ์ศกั ดิ์ วรรณค�ำ 62
63
ภาพถ่ายที่ได้รับรางวัลจากการประกวด กิจกรรมการท่องเที่ยวไทยจะยั่งยืนได้ ต้องมีการบริหารจัดการที่ดี
“เรียนรู้การปั้นดินเผา”
“ร่วมกันสืบสาน งานบุญกระธูป” นางสาวรัตมา อ้อทอง เรียนรูว้ ิธกี ารท�ำกระธูป ในงานบุญเทศกาลออกพรรษา เพือ่ สืบสานประเพณีอนั ดีงาม สถานที่ : อ�ำเภอหนองบัวแดง จ.ชัยภูมิ
64
นายสุกฤษติ์ ใจวงค์ ฟาร์มสวรรค์บนดิน หมู่บ้านสันตาลเหลือง ต.ริมกก อ. เมือง จ.เชี ยงรายจั ดเตรียม กิจกรรมท่องเที่ยงเชิงสร้างสรรค์ ไว้ ให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้ประสบการณ์แปลกใหม่ หนึ่งในนั้นคือการปั้นดินเผาขั้นตอนแรกของการปั้นเริ่มจากการนวดดิน คุณชูเกียรติ เวสารัชชพงศ์เจ้าของฟาร์มฯ เริ่มต้นให้นักท่องเที่ยวฝึกนวดดินก่อนเพราะคุณชูเกียรติ สอแบบใกล้ชดิ และเป็นกันเองท�ำให้ไม่รสู้ กึ เกร็งสุดท้ายจะปัน้ ถ้วยดินเผาได้ตามที่ตงั้ ใจ ไว้หรือไม่ก็คงไม่ส�ำคัญเท่ากับประสบการณ์แสนงดงามที่ ได้รับจากที่ นี่
65
ขอบคุณข้อมูล หน้า 6-21 - สุดแดน วิสทุ ธิลกั ษณ์. (2558) “องค์ความรู้ ว่าด้วยการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ : คู่มือ และแนวทางปฏิบัติ” : องค์การบริหารการ พั ฒนาพื้ นที่ พิเศษเพื่ อ การท่ องเที่ ยวอย่ าง ยั่งยืน (องค์การมหาชน) - ธนกฤต ภัทร์ธราธร. (2556) “การท่องเทีย่ ว เชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism)” : องค์การ บริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การท่องเทีย่ ว อย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) - เอกสารการท่องเที่ ยวเชิงสร้างสรรค์ ใน ประเทศไทย (Creative Tourism New Destinations) : องค์การบริหารการพั ฒนา พื้ นที่ พิ เ ศษเพื่ อ การท่ องเที่ ย วอย่ า งยั่ ง ยื น (องค์การมหาชน) - เอกสารการพั ฒนาต่อยอดทางเศรษฐกิจ จากการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ : ดร.แก้วตา ม่วงเกษม และ ดร.วลัญชลี วัฒนาเจริญศิลป์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและบริการวิ ทยาลัยนานาชาติ มหาวิ ทยาลัยมหิดล - ธนกฤต ภัทร์ธราธร. (2556) “การท่องเทีย่ ว ยั่งยืนด้วยการท่องเที่ ยวเชิงสร้างสรรค์” : องค์การบริ หารการพั ฒนาพื้นที่ พิเศษเพื่อ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) - เอกสารหลั ก สู ต รการเรี ย นรู ้ กิ จ กรรม ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รุน่ ที่ 2. (2559) : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และองค์การบริหาร การพั ฒนาพืน้ ที่พเิ ศษเพือ่ การท่องเที่ยวอย่าง ยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) - คุณธิติ ถาวรธนนท์ ชุมชนแหลมกลัด จ.ตราด
- คุณหทั ยรัตน์ พรมเพ็ชร กะเณชาสังคโลก จ.สุโขทัย หน้า 22-55 - เอกสารหลั ก สู ต รการเรี ย นรู ้ กิ จ กรรม ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รุน่ ที่ 2. (2559) : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และองค์การบริหาร การพั ฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่าง ยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) - รายงานผลการประเมินความพึงพอใจต่อ กิจกรรมท่องเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์. (2559): งาน ท่องเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์ ส�ำนักท่องเทีย่ วโดยชุมชน (สทช.) : องค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) - คุณสุดสุดา บัวสังคโลก จ.สุโขทัย - คุณอุษา ทัพสิริเวทย์ อุษาสังคโลก จ.สุโขทัย - คุณรวีวรรณ ขนาดนิด สุนทรีผา้ ไทย จ.สุโขทัย - คุ ณ อั จ ฉรา แสงจั นทร์ ชุ ม ชนนครชุ ม จ.ก�ำแพงเพชร - คุณศรศักดิ์ เจริญทรัพย์ เมืองด่านซ้าย จ.เลย - คุณส�ำลาน กรมทอง บ้านนาป่าหนาด จ.เลย - คุณอมร ณรงค์ศกั ดิ์ ชุมชนริมโขงเชี ยงคาน จ.เลย - คุณพี ระวัฒน์ ถาเป็ง โฮงเจ้าฟองค�ำ จ.น่าน - คุ ณ สมศั ก ดิ์ กลิ่ นจั น ทร์ เมื อ งอู ่ ท อง จ.สุพรรณบุรี หน้า 56-65 - http://www.creativetourismnetwork. org/barcelona/ - http://www.kanazawa-tourism.com/ - ผศ.ดร.จุฑามาศ วิศาลสิงห์ กรรมการบริหาร บริษทั Perfect Link Consulting Group 66
- คุณนัฏพร เกาจารี อาชีพ Chief Executive Officer บริษทั วีไอพี ไฮบริด จ�ำกัด - คุณโอฬาร โสภณสิริรักษ์ ผูร้ ว่ มก่อตัง้ เพจ ท่องเที่ยว ไปไง มาไง และ www.wheredowego.in.th - คุณธนปกรณ์ สุขสาลี อาชีพ Digital Content Manager Trip Travel Gang - คุณถนิมพร สวรรค์ศริ ชิ ยั อาชีพ คณะกรรมการ อ�ำนวยการสมาคม ไว ดับยู ซี เอ กรุงเทพฯ - คุณนภาลัย วงค์ทองค�ำ อาชีพ ธุรกิจส่วนตัว - คุณคฑาวุฒิ ใจดี อาชี พ รัฐวิสาหกิจ - คุณเพ็ญวิษา เกียรติดรุ ิยกุล นักท่องเที่ยว - คุณพั นธ์ศักดิ์ วรรณค�ำ ผู้ช นะประเภท บทความ หัวข้อ “เที่ยวสนุกสุขอย่างสร้างสรรค์ - คุณชวิ ศา อดุลเดชากุ ล ผู้ช นะประเภท บทความ หัวข้อ “เที่ยวสนุกสุขอย่างสร้างสรรค์ - คุณสุกฤษติ์ ใจวงค์ ผูช้ นะประเภทภาพถ่าย หัวข้อ “เที่ยวสนุกสุขอย่างสร้างสรรค์ - คุณรัตนา อ้อทอง ผูช้ นะประเภทภาพถ่าย หัวข้อ “เที่ยวสนุกสุขอย่างสร้างสรรค์
- คุ ณ อั จ ฉรา แสงจั นทร์ ชุ ม ชนนครชุ ม จ.ก�ำแพงเพชร - คุณศรศักดิ์ เจริ ญทรัพ ย์ เมืองด่านซ้าย จ.เลย - คุณส�ำลาน กรมทอง บ้านนาป่าหนาด จ.เลย - คุณอมร ณรงค์ศกั ดิ์ ชุมชนริมโขงเชี ยงคาน จ.เลย - คุณพีระวัฒน์ ถาเป็ง โฮงเจ้าฟองค�ำ จ.น่าน - คุ ณ สมศั ก ดิ์ กลิ่ นจั นทร์ เมื อ งอู ่ ท อง จ.สุพรรณบุรี หน้า 60-65 - ผศ.ดร.จุฑามาศ วิศาลสิงห์ กรรมการบริหาร บริษทั Perfect Link Consulting Group - คุณนัฏพร เกาจารี อาชี พ Chief Executive Officer บริษทั วีไอพี ไฮบริด จ�ำกัด - คุณโอฬาร โสภณสิริรักษ์ ผูร้ ว่ มก่อตัง้ เพจ ท่องเที่ยว ไปไง มาไง และ www.wheredowego.in.th - คุ ณ ธนปกรณ์ สุ ข สาลี อาชี พ Digital Content Manager Trip Travel Gang - คุณถนิมพร สวรรค์ศริ ชิ ยั อาชีพ คณะกรรมการ อ�ำนวยการสมาคม ไว ดับยู ซี เอ กรุงเทพฯ - คุณนภาลัย วงค์ทองค�ำ อาชี พ ธุรกิจส่วนตัว - คุณพั นธ์ศัก ดิ์ วรรณค�ำ ผู้ช นะประเภท บทความ หัวข้อ “เที่ยวสนุกสุขอย่างสร้างสรรค์ - คุณชวิ ศา อดุลเดชากุ ล ผู้ช นะประเภท บทความ หัวข้อ “เที่ยวสนุกสุขอย่างสร้างสรรค์ - คุณสุกฤษติ์ ใจวงค์ ผูช้ นะประเภทภาพถ่าย หัวข้อ “เที่ยวสนุกสุขอย่างสร้างสรรค์ - คุณรัตนา อ้อทอง ผูช้ นะประเภทภาพถ่าย หัวข้อ “เที่ยวสนุกสุขอย่างสร้างสรรค์
ขอบคุณรูปภาพ
หน้า 14-55 - คุณธิติ ถาวรธนนท์ ชุ มชนแหลมกลัด จ.ตราด - คุณหทัยรัตน์ พรมเพ็ชร กะเณชาสังคโลก จ.สุโขทัย - คุณสุดสุดา บัวสังคโลก จ.สุโขทัย - คุณอุษา ทัพสิริเวทย์ อุษาสังคโลก จ.สุโขทัย - คุ ณ รวี ว รรณ ขนาดนิด สุ นทรี ผ ้ า ไทย จ.สุโขทัย 67
Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization) 118/1 Tipco Tower 31st FL. Rama VI Road Phayathai Bangkok 10400 Thailand
www.dasta.or.th
68 www.facebook.com/SaiJaiPaiTiew