ทอสีสัมพันธ์ ๕๙/๒

Page 1

ฉบบัประจำปการศกึษา

๒๕๕๙ ภาคเรียนท่ี ๒ ฉบับพระราชาในนิทาน ฉันเกิดในรัชกาลที่ ๙


ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ภาคเรียนที่ ๑

บทบรรณาธิการ ผมเคยได้ ไ ปสั ม ผั ส สถานที่ พิ เ ศษเป็ น ดอยสู ง ที่ สุ ด ใน ประเทศไทยรถยนต์เข้าไปไม่ถึงต้องใช้การเดินเท้าขึ้นไปและ ต้องมีผชู้ ำ� นาญทางเดินน�ำทางเท่านัน้ ทางกรมป่าไม้ไม่อนุญาต ให้ ขึ้ น ไปโดยไม่ มี ผู ้ น� ำ ทางโดยเด็ ด ขาด เพราะอาจจะเกิ ด อันตรายและเหตุรา้ ยต่างๆได้ ระหว่างทางนัน้ พบเจอกับปัญหา และอุปสรรคในการเดินทางต่างๆมากมาย ทั้งสัตว์มีพิษต่างๆ บางช่วงทางลื่นและชันมากแต่ก็ต้องคอยจับต้นหญ้าคาซึ่งคม มากและอาจจะบาดมือความรู้สึกคล้ายๆหนีเสือปะจระเข้ ต้น หญ้าถูกแหวกออกเป็นทางเดินเลียบเขาแคบๆ ในบางช่วงข้าง ทางมองลงไปด้านล่างคือหุบเหวลึก ทางเดินมีความลื่นซึ่งถ้า ก้าวพลาดลื่นล้มอาจจะตกลงไปเมื่อไรก็ได้ ไม่มีราวไม้ให้จับ ยึดในช่วงที่ทางชันมากๆมีแต่เพียงสองมือตนเองเท่านั้นที่ต้อง จับยึดสิง่ ต่างๆเอง สิง่ ทีจ่ บั ยึดพยุงตัวขึน้ ไปส่วนใหญ่คอื ก้อนหิน ที่แหลมคมที่อาจจะบาดมือหรือบางช่วงเป็นต้นไม้เล็กๆที่ดู เหมือนจะแข็งแรงให้พอจับยึดดึงตัวเองขึ้นไปได้ ซึ่งบางครั้ง ก้อนหินหรือต้นไม้เล็กๆเหล่านัน้ อาจจะหลุดออกมาได้ การเดิน ทางจ�ำเป็นต้องเริ่มตั้งแต่เช้าเพื่อให้ไปถึงที่ตั้งแค้มป์บนยอด ดอยให้ทันพระอาทิตย์ตกด้วยเวลาที่จ�ำกัด สิ่งที่ผมคิดในตอน นั้นคือ “อยู่ดีๆไม่น่าหาเรื่องมาเที่ยวสถานที่แบบนี้เลย” จุดสูงสุดของยอดดอยคือ ๒,๒๒๕ เมตร จากระดับน�ำ้ ทะเล เมือ่ ขณะเดินทางได้ขนึ้ ไปถึงบนยอดดอยและเห็นป้ายทีว่ างเอา ไว้มคี ำ� ว่า “ดอยหลวง” ผมจึงสอบถามผูน้ ำ� ทางว่าท�ำไมถึงเรียก ว่า “ดอยหลวง” ผู้น�ำทางตอบว่า “เพราะในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงเสด็จมาที่นี่แล้ว” ผมรู้สึกทึ่งและตกใจมาก การเดินทางที่ ล�ำบากขนาดนี้ พระองค์ท่านเป็นถึงพระมหากษัตริย์ พระองค์ ท่านไม่จ�ำเป็นต้องทรงล�ำบากตรากตร�ำถึงเพียงนี้เลย ผมมาที่ นี่เพียงเพื่อการท่องเที่ยว แต่ส�ำหรับในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่นี่คือ ที่ที่พระองค์ท่านมาทรงงาน ผมไม่เคยรับเสด็จในหลวงรัชกาลที่ ๙ เลยในชีวิต ไม่เคย อยู่ในเหตุการณ์ที่พระองค์ท่านประทับอยู่ตรงหน้า แต่ความ รูส้ กึ ทีอ่ ยูบ่ นดอยหลวงในตอนนัน้ เป็นความรูส้ กึ ทีซ่ าบซึง้ ในพระ มหากรุณาธิคุณที่แผ่ซ่านไปทั่วกาย ดอยหลวงนั้นชื่อเต็มๆว่า “ดอยหลวงเชียงดาว” จากข่าวการสูญเสียทีท่ ำ� ให้คนไทยต่างเสียน�ำ้ ตาในการจากไป ของพระองค์ท่าน ทอสีสัมพันธ์ฉบับนี้จึงตั้งใจไว้ว่าจะต้องเป็น เรื่องราวที่ร�ำลึกถึงพระองค์ท่าน ปวงช้าพระพุทธเจ้าร�ำลึกใน พระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ ครูเหม-เหม อุตรพันธ์ สื่อสารองค์กร

สารบัญ ๐๒ ๑๖ ๑๘ ๒๐ ๒๒ ๒๔ ๒๘ ๓๒ ๓๔ ๓๖ ๓๙ ๔๐

เรื่องปก ทอสีรักษ์โลก น�้ำใจนักกีฬา ค�ำถามนี้ช่วยกันตอบ ห้องเรียนพ่อเเม่ รู้จักครูทอสี อ่านเเล้วชื่นใจ เด็กทุกคนคือศิลปิน เรื่องเล่าจากปัญญาประทีป หน้านิทานอ่านด้วยกัน เปิดหูเปิดตา รอบรั้ว

คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน ที่ปรึกษา ครูอ้อน-บุบผาสวัสดิ์ รัชชตาตะนันท์, ครูแหม่ม-อาภาภัทร ไชย ประสิทธิ์, แม่แจง-จุฬารัตน์ อินทรมหา, แม่เจี๊ยบ-กังสดาล ทองค�ำ บรรณาธิการ ครูเหม-เหม อุตรพันธ์ กองบรรณาธิการ ครูป่าน-อนิวรรต อัครสุทธิกร, ครูทราย-วิลาสินี มีทรัพย์, ครูม่อน-คณพศ ลภิศพงษ์, แม่รุ่ง-รุ่งนภา ธนะภูมิ, แม่น้อย-คีตะวรรณ วิบูลย์สันติพงศ์, แม่เชง-ขวัญพัฒน์ วิวัฒน์วิชา, แม่เกต-ฐาดิณี รัชชระเสวี ภาพปก ครูและนักเรียนทอสี พิสูจน์อักษร : Dropkick Design ศิลปกรรม : Dropkick Design ด�ำเนินการพิมพ์ : บริษัท ไฮเรส จ�ำกัด โทรศัพท์ : ๐ ๒๒๐๔ ๑๙๕๕ โทรสาร : ๐ ๒๒๐๔ ๑๙๕๔

จัดท�ำโดย

โรงเรียนทอสี ๑๐๒๓/๔๖ ซอยปรีดีพนมยงศ์ ๔๑ ถนนสุขุมวิท ๗๑ คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ ๑๐๑๑๐ โทรศัพท์ : ๐ ๒๗๑๓ ๐๒๖๐-๑ โทรสาร : ๐ ๒๓๙๑ ๗๔๓๓ อีเมล : info@thawsischool.com เว็บไซต์ : www.thawsischool.com อ่านย้อนหลังทอสีสัมพันธ์ ฉบับ Flip Book ได้ที่ issuu.com/tssp


ตลอด ๗๐ ปีที่พระองค์ทรงงาน เสมือนสายน�้ำที่หล่อเลี้ยงทุกชีวิต ให้เติบโตงดงาม โรงเรียนทอสี วิถีพุทธปัญญา ในฐานะส่วนหนึ่งของสังคมไทย ได้มุ่งมั่นบ่มเพาะเด็กๆให้เติบโตเป็นผู้ ใหญ่ เพื่อเป็นผู้ “ให้” และรู้จัก “สุขเป็น” กับความพอเพียง “เราทุกคนขอตั้งปณิธานว่า...จะเดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาท จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด จะไม่ท้อถอยคอยสร้างสิ่งที่ควร จะไม่เรรวนพะว้าพะวังคิดกังขา จะไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา จะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา แด่พระราชาผู้ทรงธรรม”

ด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ บุบผาสวัสดิ์ รัชชตาตะนันท์ : ครูอ้อน

3


ฆ.ระฆัง

ก. ไก่

เรื่องปก ในหลวงรัชกาลที่ ๙ พยัญชนะไทย ก-ฮ เรื่อง / ภาพ : ครูเหม-เหม อุตรพันธ์ สื่อสารองค์กร

ก.ไก่

กังหันน�้ำชัยพัฒนา “กษัตริย์นักประดิษฐ์” ผู้ทรงเป็นกษัตริย์ หนึง่ เดียวในโลก ทีม่ สี ทิ ธิบตั รสิง่ ประดิษฐ์ เป็ น ของพระองค์ นานาประเทศต่ า ง ทู ล เกล้ า ฯ ถวายรางวั ล หลากหลาย ประเภท หนึ่งในนั้นคือ The Belgian Chamber of Inventor องค์ ก รสิ่ ง ประดิษฐ์ที่เก่าแก่ที่สุดของยุโรป ด้วย พิ จ ารณาในเกณฑ์ ที่ ว ่ า ทุ ก สาขาต้ อ ง สามารถน�ำไปใช้งานได้กว้างขวาง เกิด ประโยชน์ ต ่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และสิ่ ง แวดล้ อ มทั่ ว โลก กั ง หั น น�้ ำ ชั ย พั ฒ นาถื อ เป็ น สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ดี เ ด่ น ที่ น ่ า สรรเสริ ญ ในหลวงรั ช กาลที่ ๙ คณะ กรรมการต่างๆ ได้กล่าวประกาศยกย่อง พระอัจฉริยภาพ และเฉลิมพระเกียรติ คุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ว่า “พระมหากษัตริยข์ องไทย ทรงเป็นนักพัฒนามีพระวิรยิ ะอันสูงส่ง มี พระอัจฉริยภาพ และพระวิสัยทัศน์ที่ดี ทรงงานหนักเพื่อประชาชนของพระองค์ เอง ทรงใช้ เ ทคโนโลยี ที่ เ รี ย บง่าย สิ่ง ประดิษฐ์ในพระองค์สามารถน�ำไปใช้งาน ได้อย่างกว้างขวางทัว่ โลก” กังหันน�้ำชัยพัฒนาเป็นการท�ำงาน แบบใช้ใบพัดขับเคลือ่ นน�ำ้ หมุนรอบเป็น 4

ภาคเรียนที่ ๒

ค.ควาย

วงกลมและวิดน�ำ้ ขึน้ ไปสาดกระจายเป็น ฝอย เพื่อให้สัมผัสกับอากาศได้อย่างทั่ว ถึงเป็นผลให้ออกซิเจนในอากาศสามารถ ละลายผสมกับน�ำ้ ได้เร็ว ขณะเดียวกันใน ช่วงที่น�้ำเสียถูกยกขึ้นมากระจายสัมผัส กับอากาศ และตกลงไปยังผิวน�้ำ จะเกิด ฟองอากาศจมตามลงไป ก่อให้เกิดการ ถ่ายเทออกซิเจนส่วนหนึ่ง ข.ไข่

ข.ไข่

ควบคุมน�ำ้ พอถึงหน้าแล้งก็ไม่มนี ำ�้ ใช้ใน การเกษตรเขื่ อ นสิ ริ กิ ติ์ เ ป็ น เขื่ อ น อเนกประสงค์ประโยชน์ที่ได้จากเขื่อนมี หลายประการคือ การชลประทาน การ บรรเทาอุทกภัย การผลิตกระแสไฟฟ้า การ ประมง การคมนาคมทางน�ำ้ การท่องเทีย่ ว ค.ควาย

คอมพิวเตอร์ สารสนเทศ

ในหลวงรั ช กาลที่ ๙ ทรงสนพระราช หฤทัยในด้านคอมพิวเตอร์สารสนเทศ เ ดิ ม ชื่ อ “ เ ขื่ อ น ผ า ซ ่ อ ม ” ต ่ อ ม า เป็นอย่างมาก ทรงเล็งเห็นว่าเมื่อสมัย กรมชลประทานได้รับพระบรมราชานุ เปลี่ยนไป เทคโนโลยีจะเข้ามามีอิทธิพล ญาตให้อัญเชิญพระนามาภิไธย สมเด็จ ต่ อ ชี วิ ต คนมากขึ้ น ก่ อ นหน้ า ที่ จ ะมี พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ อินเทอร์เน็ตความเร็ว ๕๖k ทรงท�ำนาย ขนานนามว่า “เขื่อนสิริกิติ์” เมื่อวันที่ ๒๔ ว่าคอมพิวเตอร์จะกลายเป็นส่วนหนึ่ง พฤษภาคม ๒๕๑๑ เป็นเขื่อนดินที่ใหญ่ ของชีวิตประจ�ำวัน และครอบคลุมพื้นที่ ที่สุดในประเทศไทย เป็นเขื่อนกักเก็บน�้ำ ต่ า งๆอย่ า งกว้ า งขวาง ทรงคิ ด ค้ น จากแม่น�้ำน่าน ต้นน�้ำเกิดจากดอยภูแว ประดิษฐ์รูปแบบตัวอักษรไทยเพื่อแสดง ในเทือกเขา หลวงพระบาง สาธารณรัฐ ผลบนจอภาพและเครื่องพิมพ์ หรือ font ประชาธิปไตย ประชาชนลาว ไหลผ่าน ทรงประดิ ษ ฐ์ แ บบฟอนต์ เ ป็ น ของ จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดน่าน จังหวัด พระองค์ เ องด้ ว ย เพื่ อ ใช้ ใ นงานพิ ม พ์ พิษณุโลก จังหวัดพิจิตร ไปบรรจบกับ เอกสารและดี ไ ซน์ ส.ค.ส.ที่ ท รงท� ำ แม่ น�้ ำ ยมและแม่ น�้ ำ ปิ ง จั ง หวั ด พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยช่วงวัน นครสวรรค์ เป็นแม่น�้ำเจ้าพระยาต่อไป ปีใหม่ คือ ฟอนต์จิตรลดา และฟอนต์ภู ซึ่งแต่ก่อนพื้นที่ที่แม่น�้ำน่านไหลผ่านมัก พิงค์ ถูกน�้ำท่วมเป็นประจ�ำเพราะไม่มีระบบ

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

เขือ่ นสิริกิติ์


ง.งู

ฆ.ระฆัง สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ พระพรหมคุ ณ าภรณ์ (ป.อ.ปยุ ต โต) สมเด็จพระราชาคณะองค์สดุ ท้ายในสมัย รัชกาลที่ ๙ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิร าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระ ราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ ประกาศว่า โดยทีท่ รงพระราชอนุสรณ์คํา นึงถึงในหลวงรัชกาลที่ ๙ สมเด็จพระบรม ชนกนาถว่า ท ร ง เ ป ็ น พุ ท ธ ม า ม ก ะ แ ล ะ อั ค ร ศาสนูปถัมภก ทรงใส่พระราชหฤทัยใน การทะนุ บํารุ ง และสื บ ทอดพระพุ ท ธ ศาสนา โดยทรงพระกรุณาโปรดสถาปนา เลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ถวายแก่พระสัง ฆาธิการ ซึ่งดํารงในสมณคุณ มีอุปการะ ยิ่งแก่การพระศาสนาเป็นประจําทุกปี เพื่ อ เป็ น การบําเพ็ ญ พระราชกุ ศ ล ถวายแด่ในหลวงรัชกาลที่ ๙ จึงสมควรจะสถาปนาอิสริยยศและ เลื่อนอิสริยฐานันดรพระสงฆ์ที่ดํารงอยู่ ในสมณคุณ และมีอุปการะยิ่งแก่การ พระศาสนาดั ง กล่ า วสู ง ขึ้ น เพื่ อ จั ก ได้ บริ ห ารพระศาสนาให้ เ จริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง สถาพร ตามโบราณราชประเพณีสืบต่อ ไป จึงทรงพระกรุณาโปรดสถาปนา พระ พรหมคุณาภรณ์ ขึน้ เป็น สมเด็จพระราชา คณะ มี ร าชทิ น นามตามที่ จ ารึ ก ใน

สุพรรณบัฏว่า สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ญาณ อดุ ล สุ น ทรนายก ปาพจนดิ ล ก วรานุ ศาสน์ อารยางกู ร พิ ล าสนามานุ ก รม คัมภีรญาณอุดมวิศิษฏ์ ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรั ญ วาสี สถิ ต ณ วั ด ญาณเวศกวั น จั ง หวั ด นครปฐม มี ฐ านานุ ศั ก ดิ์ ตั้ ง ฐานานุกรมได้ ๑๐ รูป ง.งู

งานฉลองสิริราชสมบัติ ๖๐ ปี

พิธีจัดขึ้นเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙ พระราชด�ำรัสตอนหนึ่งในพิธี “ข้าพเจ้ามี ความยินดีเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้มาอยู่ใน ท่ามกลางมหาสมาคม พร้อมพรั่งด้วย บุคคลจากทุกสถาบันในชาติตลอดจน ประชาชนชาวไทย ขอขอบใจในค� ำ อ�ำนวยพรและการเฉลิมฉลองยิ่งใหญ่ที่ ทุกคนตั้งใจจัดให้ข้าพเจ้าเป็นพิเศษ ความเป็นอันหนึง่ อันเดียวกันของทุก คนทุกฝ่ายนี้ ท�ำให้ข้าพเจ้าเห็นแล้วมี ก�ำลังใจมากขึ้น นึกถึงคุณธรรมซึ่งเป็นที่ ตั้งของความรักความสามัคคี ที่ท�ำให้คน ไทยเราสามารถร่วมมือร่วมใจกันรักษา และพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเริง สืบต่อกันไปได้ตลอดรอดฝั่ง

ประการแรก คือการที่ทุกคน คิด พูด ท�ำ ด้วยความเมตตา มุง่ ดีมงุ่ เจริญต่อกัน ประการที่สอง คือการที่แต่ละคน ต่างช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ประสานงาน ประสานประโยชน์กัน ให้งานที่ท�ำส�ำเร็จ ผล ทั้งแก่ตน แก่ผู้อื่น และแก่ประเทศ ชาติ ประการที่ ส าม คื อ การที่ ทุ ก คน ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในความสุจริต ใน กฎกติกาและในระเบียบแบบแผนโดย เท่าเทียมเสมอกัน ประการที่ สี่ คื อ การที่ ต ่ า งคนต่ า ง พยายามท�ำความคิดความเห็นของตนให้ ถูกต้องเที่ยงตรงและมั่นคงอยู่ในเหตุใน ผล หากความคิดจิตใจและการประพฤติ ปฏิบตั ทิ ลี่ งรอยเดียวกันในทางทีด่ ที เี่ จริญ นี้ ยังมีพร้อมมูลอยู่ในกายในใจของคน ไทย ก็มั่นใจได้ว่าประเทศชาติไทยจะ ด�ำรงมั่นคงอยู่ตลอดไปได้ ขออ�ำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลจงคุ้มครองรักษา ประเทศชาติไทยให้ปลอดพ้นจากภัยจาก อั น ตรายทุ ก สิ่ ง และอ� ำ นวยความสุ ข ความเจริญสวัสดีให้เกิดมีแก่ประชาชน ชาวไทยทั่วกัน”

5


ฉ.ฉิ่ง

ซ.โซ่

จ.จาน

จ.จาน

จิตรกรรม

ในหลวงรัชกาลที่ ๙ โปรดงานจิตรกรรม ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ ทรงศึกษาศิลปะ ด้วยพระองค์เองจากต�ำราต่างๆ เมื่อสน พระราชหฤทัยผลงานศิลปะของศิลปิน คนใดก็จะเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมเพื่อทอด พระเนตรการท� ำ งานและมี พ ระราช ปฏิสันถารกับศิลปินคนนั้นถึงที่พัก ทรง เขียนภาพอย่างต่อเนื่อง ส่วนใหญ่เป็น ภาพคน ภาพหุ่นนิ่ง ภาพทิวทัศน์ รวมถึง ภาพเชิงนามธรรมต่างๆ นอกจากนี้ยัง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ศิลปินเข้า เฝ้าฯ กราบบังคลทูลเพือ่ แนะน�ำเกีย่ วกับ งานศิลปะ ศิลปินที่เคยได้รับพระมหา กรุณาให้เข้าเฝ้าฯมีหลายท่าน เช่น เหม เวชกร, เขียน ยิม้ ศิร,ิ จ�ำรัส เกีรติกอ้ ง, เฟือ้ หริ พิ ทั ก ษ์ , ไพฑู ร ย์ เมื อ งสมบู ร ณ์ , จุลทรรศน์ พยาฆรานนท์, เฉลิม นาคี รักษ์, อวบ สาณะเสน, พิริยะ ไกรฤาษ์ และเฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ เป็นต้น โดย พระองค์มักจะมีพระราชปรารภเกี่ยวกับ ภาพวาดฝีมอื พระหัตถ์วา่ “พอไปได้ไหม”

6

ภาคเรียนที่ ๒

ฉ.ฉิ่ง อัจฉริยภาพมาจากการเล่นสมัย ทรงพระเยาว์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิ วัฒนากล่าวถึงในหลวงรัชกาลที่ ๙ สมัย ยังทรงพระเยาว์ในหนังสือเจ้านายเล็กๆ – ยุวกษัตริย์ว่า “วันประสูติครบ ๓ ขวบ ของพระองค์ เ ล็ ก ในวั น ที่ ๕ ธั น วาคม ๒๔๗๓ มีการใส่บาตร ปล่อยนก ปล่อย ปลา ดูของขวัญ” “การเล่นต่างๆ การไป เทีย่ ว เปิดหูเปิดตา ในสมัยนัน้ วังสระปทุม ยังนับว่าอยู่ชานเมือง อากาศยังบริสุทธิ์ แม่จึงอยากให้ลูกๆ ได้อยู่กลางแจ้งให้ มากที่สุด ท่านจัดที่ทาง สิ่งก่อสร้าง และ อุปกรณ์ให้ทีละเล็กทีละน้อย สิ่งแรกที่ สร้ า งขึ้ น คื อ ที่ เ ล่ น ทราย ซึ่ ง เป็ น แบบ เดียวกันกับทีเ่ ห็นได้ในสวนสาธารณะใน ต่างประเทศ คือเป็นกรอบไม้สี่เหลี่ยมซึ่ง มีทรายอยู่ข้างใน มี กระป๋องรดน�้ำ ในไม่ ช้าการเล่นในกองทรายนั้นจะรู้สึกว่าไม่ สนุกนักเพราะเมือ่ เอาน�ำ้ เทลงไปในทราย น�้ำก็จะซึมลงไปหมด จึงย้ายกันออกมา เล่นข้างนอก ขุดคลองในดิน น�ำน�้ำมาใส่ ให้มาไหลในคลองแล้ววิ่งไปเก็บกิ่งไม้ที่ พุ่มไม้ วิ่งกลับมา ปลูกไว้ริมคลอง นี่คือ การสัมผัสครั้งแรกกับงานชลประทาน และการปลูกป่า รดน�ำ้ ต้นไม้ ช่วยกันปลูก จนป่างาม”

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

ช.ช้าง

ช.ช้าง

ชัง่ หัวมัน โครงการในพระราชด�ำริ

โครงการชั่งหัวมันตามพระราชด�ำริ ตั้ง อยู่ใน อ. ท่ายาง จ. เพชรบุรี เกิดขึ้นจาก ความเอาพระราชหฤทัยใส่ของในหลวง รัชกาลที่ ๙ ที่ทรงมีต่อเกษตรกรในการที่ จะพัฒนาส่งเสริมอาชีพเกษตรกรรมให้ ประสบความส�ำเร็จ และสามารถเลี้ยงดู ตั ว เอง และครอบครั ว ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ประวัติที่มาของโครงการนี้ เริ่มตอนที่ พระองค์ท่านประทับอยู่ ณ วังไกลกังวล แล้วมีชาวบ้านน�ำมันเทศมาถวาย ช่วง นั้นพระองค์ ต้องเสด็จกลับกรุงเทพเลย รับสั่งให้ เจ้าหน้าที่น�ำหัวมันเทศนั้นไป วางไว้บนตาชั่งในห้องทรงงานจากนั้นก็ เสด็จกลับกรุงเทพ เวลาล่วงเป็น เดือน เมือ่ เสด็จกลับมาหัวหินทรงพบว่ามันเทศ นั้นได้แตกใบ เลยตรัสว่า “มัน อยู่ที่ไหน ก็ขึ้น” ดังนั้นจึงมีพระราชด�ำริให้จัดหา ที่ดิน เพื่อท�ำโครงการด้านการเกษตร และต่อมา ทรงซื้อที่ดินแปลงติดกันเพิ่ม อีก ณ บ้านหนองคอไก่ ต�ำบลเขากระปุก อ.ท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี เพือ่ พัฒนาเป็น ศูนย์รวบรวมพืชเศรษฐกิจนานาชนิด เพือ่ เป็นแนวทางให้กับเกษตรกรโดยเฉพาะ ในพื้นที่ อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี ที่มีพ้ืนที่ ค่อนข้างแห้งแล้ง ทรงพระราชทานพันธุ์ มันเทศ ซึง่ งอกออกมาจากหัวมันทีต่ งั้ โชว์


ญ.หญิง

ไว้บนตาชัง่ ในห้องทรงงานทีว่ งั ไกลกังวล ใ ห ้ น� ำ ม า ป ลู ก ไ ว ้ ที่ ที่ ดิ น แ ป ล ง นี้ พระราชทานชือ่ โครงการว่า “โครงการชัง่ หัวมัน ตามพระราชด�ำริ” โดยในหลวง รัชกาลที่ ๙ได้เสด็จพระราชด�ำเนินมา เยี่ยมโครงการนี้ด้วยพระองค์เอง มีพระ ต�ำหนักทรงงานที่ตั้งอยู่ภายในโครงการ เป็นบ้านไม้สองชัน้ เรียบง่ายทีใ่ ช้ทรงงาน และพักผ่อนพระอิริยาบถเมื่อครั้งเสด็จ เยี่ยมโครงการนี้ รวมถึงรถที่ทรงใช้ทรง งานก็จอดอยู่ภายในบริเวณพระต�ำหนัก ด้วย ซ.โซ่

โซฮอล์ แก๊สขับเคลื่อประเทศไทย

หลายคนอาจเกิดมาในยุคทีพ่ ลังงานทาง เลือกกลายเป็นที่รู้จักกันดีของตลาด แต่ อาจจะไม่รู้ว่า ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรง ใช้พระปรีชาสามารถมองการณ์ไกลถึง พลังงานที่เราใช้ในชีวิตประจ�ำวันว่า ใน วั น หน้ า น่ า จะเป็ น ปั ญ หาส� ำ คั ญ ของ ประเทศไทย และอาจจะเป็นการดีที่เรา จะมีพลังงานทีเ่ ป็นทางเลือกมากกว่าการ คอยจะเฟ้นหาหรือน�ำเข้าขุดเจาะน�้ำมัน “แก๊สโซฮอล์” เชื่อว่าหลายคนคงจะ รูจ้ กั กันดีในวันนี้ แต่ทหี่ ลายคนอาจจะไม่ ทราบและควรตระหนักคือ เราโชคดีแค่

ไหนที่มีพระมหากษัตริย์นักพัฒนา จุ ด เริ่ ม ต้ น ของพลั ง งานทางเลื อ ก อย่างแก๊สโซฮอล์ทเี่ ราคุน้ เคยกันดี ใครจะ คิดมาก่อนว่า เกิดจากในหลวงรัชกาลที่ ๙ โดยพระองค์ มี ส ายพระเนตรต่ อ เศรษฐกิจว่า ในอนาคตอาจะเกิดการ ขาดแคลนน�้ำมันได้ หรืออ้อยอาจจะมี ราคาตกต�่ำในอนาคต พระองค์จึงทรงมี พระราชด� ำ รั ส ศึ ก ษาต้ น ทุ น การผลิ ต แอลกอฮอล์จากพืช โดยโปรดให้ทดลอง น�ำพืชเกษตร อย่าง “อ้อย” มาทดลอง ศึ ก ษาวิ จั ย ในการท� ำ ออกมาเป็ น แอลกอฮอล์จากพืช นับเป็นจุดเริ่มต้น ของโครงการศึกษาพลังงานทางเลือกชีว มวล ในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรดา ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงพระราชทานทุน การวิจัยใช้ในการจัดสร้างอาคาร และ จัดหาอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นในการวิจัย ต่อมาในหลวงรัชกาลที่ ๙ทรงเสด็จ ด้วยพระองค์เอง พร้อม สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีในการ เปิดอาคารโครงการค้นคว้าน�้ำมันเชื้อ เพลิ ง และเริ่ ม ผลิ ต เอทานอลจากอ้ อ ย หากแต่ว่าในการผลิตยังคงมีต้นทุนสูง มาก และผลิตได้น้อย โดยในระหว่างที่ ศึกษาวิจยั พบว่า วัตถุดบิ ในการใช้ในการ ผลิตไม่เพียงพอจึงเริ่มเปลี่ยนมาใช้กาก

น�้ำตาล และมีการเปิดอาคารวิจัยเพิ่ม เติ่มอีกด้วย ญ.หญิง หญ้าแฝก โครงการพัฒนาดิน การที่หญ้าแฝกถูกน�ำมาใช้ปลูกในการ อนุ รั ก ษ์ ดิ น และน�้ ำ เนื่ อ งมาจากมี ลักษณะเด่นหลายประการ ดังนี้ ๑. มีการแตกหน่อรวมเป็นกอ เบียด กันแน่น ไม่แผ่ขยายด้านข้าง ๒. มีการแตกหน่อและใบใหม่ ไม่ ต้องดูแลมาก ๓. หญ้าแฝกมีข้อที่ล�ำต้นถี่ ขยาย พันธุ์โดยใช้หน่อได้ตลอดปี ๔. ส่วนใหญ่ไม่ขยายพันธุด์ ว้ ยเมล็ด ท�ำให้ควบคุมการแพร่ขยายได้ ๕. มีใบยาว ตัดและแตกใหม่ง่าย แข็งแรงและทนต่อการย่อยสลาย ๖. ระบบรากยาว สานกันแน่น และ ช่วยอุ้มน�้ำ ๗. บริ เ วณรากเป็ น ที่ อ าศั ย ของ จุลินทรีย์ ๘. ปรั บ ตั ว กั บ สภาพต่ า งๆ ได้ ดี ทนทานต่อโรคพืชทั่วไป ๙. ส่วนที่เจริญต�่ำกว่าผิวดิน ช่วยให้ อยู่รอดได้ดีในสภาพต่างๆ

7


ฏ.ปฏัก

ฎ.ชฎา

ฑ.มณโฑ

ฎ. ชฏา ชฎาของพระมหากษัตริย์ไทย ชฎาพระกลีบสร้างในสมัยรัชกาลที่ ๑ ท�ำ ด้วยทองค�ำลงยาประดับเพชร เครื่อง ประกอบมีใบสนและกรรเจียก ส�ำหรับ พระมหากษัตริยท์ รง บางโอกาสทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระบรมราชวงศ์ได้ ทรงในพระราชพิธีส�ำคัญต่างๆ เป็นพระ ชฎาลักษณะเดียวกับพระชฎาทีพ่ ระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงใน พระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๑

ฐ.ฐาน รัฐศาสตร์ ตลอดระยะเวลาทีท่ รงครองสิรริ าชสมบัติ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ล อดุลยเดชทรงปฏิบัติตามพระปฐมบรม ราชโองการทีว่ า่ “เราจะครองแผ่นดินโดย ธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาว สยาม” ทรงใช้ ท ศพิ ธ ราชธรรมในการ ครองราชย์ พ สกนิ ก รอย่ า งไม่ ข าดตก บกพร่อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชทรงอยู่เหนือการเมือง พระองค์ ท รงใช้ อ� ำ นาจอธิ ป ไตยทาง รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล เมื่อเกิด ฏ.ปฏัก ปัญหาบ้านเมืองขึ้นก็พระราชทานพระ ปฏิบัติบูชา ราชด�ำรัสและพระบมราโชวาทเพื่อแก้ พระราชวรคุณ (หลวงปู่โพธิ์) เจ้า ปัญหานั้นๆ อย่างแยบคาย นอกจากนี้ อาวาสวัดบูรพาราม พระอารามหลวง วิกฤตการณ์รุนแรงต่างๆ ของบ้านเมือง เฉลิมพระเกียรติ อดีตพระเลขา พระรา เช่น เหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ และ ชวุฒาจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล)หลวงปู่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ รวมทั้งพฤษภาทมิฬก็ โ พ ธิ์ ก ล ่ า ว ว ่ า พ ร ะ บ าท สมเด็ จ ล้วนยุติลงด้วยพระปรีชาและพระบารมี พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่าน ของพระองค์ทั้งสิ้น ทรงกราบไหว้พระอริยสงฆ์ในหลายพืน้ ที่ พระองค์ ท รงสนพระทั ย ในเรื่ อ งธรรม ฑ.มณโฑ ปฏิบตั ิ และเสด็จกราบไหว้ครูบาอาจารย์ บัณฑิต ฝ่ายกัมมัฏฐานผู้มีความละเอียดอ่อนใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที๙่ กระแสธรรมหลายรูป แสดงถึงตลอดพระ เริม่ พระราชทานปริญญาบัตรแก่สถาบัน ชนมชีพพระองค์ท่านมีความซาบซึ้งใน อุดมศึกษาต่าง ๆ ของรัฐตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ เป็ น ต้ น มา หนั ง สื อ พิ ม พ์ เ คย คุณธรรม หรือในกระแสธรรมต่างๆ 8

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

ฐ.ฐาน

ค� ำ นวณว่ า หากเสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น พระราชทานปริญญาบัตร ๔๙๐ ครั้ง ประทั บ นั่ ง ครั้ งละประมาณ ๓ ชั่ ว โมง เท่ากับทรงยื่นพระหัตถ์พระราชทานใบ ปริญญาบัตร ๔๗๐,๐๐๐ ครั้ง น�้ำหนัก ปริญญาบัตรฉบับละ ๓ ขีด รวมน�้ำหนัก ทั้งหมด ๑๔๑ ตัน จึงมีผู้กราบบังคมทูล ขอพระราชทานให้ทรงลดการพระราชทาน ลง โดยเสนอให้พระราชทานปริญญา บั ต รเฉพาะระดั บ มหาบั ณ ฑิ ต ขึ้ น ไป เท่ า นั้ น แต่ มี พ ระราชกระแสรั บ สั่ ง ว่ า “เสี ย เวลายื่ น ปริ ญ ญาบั ต รให้ บั ณ ฑิ ต คนละ ๖-๗ วินาทีนั้น แต่ผู้ได้รับนั้นมี ความสุขเป็นปี ๆ เปรียบกันไม่ได้เลย” ฒ.ผู้เฒ่า กษัตริย์นักพัฒนา ดังพระราชด�ำรัสที่ว่า การด�ำรงชีวิตที่ดี ต้ อ งปรั บ ปรุ ง ตั ว เองตลอดเวลา พระ ราชด� ำ ริ เ ริ่ ม แรกอั น เป็ น โครงการช่ ว ย เหลื อ ประชาชนเริ่ ม ขึ้ น ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. ๒๔๙๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด กระหม่ อ มให้ ก รมประมงน� ำ พั น ธุ ์ ป ลา หมอเทศจากปี นั ง ซึ่ ง ได้ รั บ จากผู ้ เชีย่ วชาญด้านการประมงการอาหารและ การเกษตรแห่งสหประชาชาติเข้าไปเลีย้ ง ในสระน�้ำพระที่นั่งอัมพรสถาน และเมื่อ


ด.เด็ก

ฒ.ผู้เฒ่า

ปี พ.ศ.๒๔๙๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อม พระราชทานพันธุ์ปลา หมอเทศ นี้ แ ก่ ก� ำ นั น ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า นทั่ ว ประเทศ น�ำไปเลี้ยงเผยแพร่ขยายพันธุ์ แก่ ร าษฎรในหมู ่ บ ้ า นของตน เพื่ อ มี อาหารโปรตีนเพิ่มขึ้น ณ.เณร สามเณรในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อ ๕๖ ปีก่อน มีเรื่องราวที่ได้รับการ กล่ า วขวั ญ ถึ ง ในวงการคณะสงฆ์ ไ ทย หลั ง มี ส ามเณรรู ป หนึ่ ง จากจั ง หวั ด มหาสารคาม สอบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค ถื อ เป็ น สามเณรรู ป แรกใน รั ช กาลที่ ๙ เป็ น รู ป ที่ ๓ แห่ ง กรุ ง รัตนโกสินทร์ ต่อมาทรงรับสามเณรรูปนัน้ ไว้เป็นนาคในพระบรมราชูปถัมภ์ รูปแรก ในรัชกาลของพระองค์ สามเณรเสฐียรพงษ์ วรรณปก ใน พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อปี ๒๕๐๓ ยังคงแจ่มชัดในความทรง จ�ำ แม้ผ่านมากว่า ๕๖ ปี อดีตสามเณร เสฐียรพงษ์ ยังคงจดจ�ำความรูส้ กึ ครัง้ นัน้ ได้เป็นอย่างดี สามเณรเสฐียรพงษ์ได้ถวายปณิธาน ว่าจะบวชยาวนานเพือ่ เป็นคุณประโยชน์ ต่ อ พระพุ ท ธศาสนา แต่ ท รงมี ก ระแส

ณ.เณร

รับสั่งว่า “ไม่ส�ำคัญ อยู่ในภาวะใดก็ได้ แค่ท�ำคุณประโยชน์ได้ก็พอ” “ไม่มีพระ ราชาพระองค์ไหน ท�ำได้เหมือนพระองค์” คือสิ่งที่สามเณรเปรียญธรรม ๙ ประโยค รู ปแรกในรั ชสมั ยของพระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลเดช น้อม ระลึกไว้อยู่เสมอ ด.เด็ก

ดนตรีเพลงพระราชนิพนธ์

บทเพลงพระราชนิพนธ์ ๔๓ บทเพลงเป็น เครื่ อ งยื น ยั น ถึ ง พระอั จ ฉริ ย ภาพทาง ดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชได้เป็นอย่างดี พระองค์ มีพระราชด�ำรัสตอนหนึ่งว่า “ดนตรีเป็น ส่วนหนึ่งของข้าพเจ้า จะเป็นแจ๊สหรือ ไม่ใช่ก็ตาม ดนตรีล้วนอยู่ในตัวทุกคน เป็นส่วนยิ่งใหญ่ในชีวิตคนเรา ส�ำหรับ ข้าพเจ้า ดนตรีคือสิ่งประณีตงดงามและ ทุ ก คนควรนิ ย มในคุ ณ ค่ า ของดนตรี ดนตรีทกุ ประเภทต่างก็มคี วามเหมาะสม ตามแต่โอกาสและอารมณ์ที่ต่างๆกันไป พระองค์โปรดเครือ่ งเป่าทุกชนิดโดย เฉพาะอย่างยิ่งแซกโซโฟน ครั้งหนึ่งเมื่อ ทรงพระประชวร แพทย์กราบบังคมทูล แนะน� ำ ให้ ห ยุ ด ทรงเครื่ อ งเป่ า ทุ ก ชนิ ด กระนั้นพระองค์ก็ทรงพระกรุณาโปรด

ต.เต่า

เกล้าฯ ให้ ม.จ. จักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ ทรงเป่าลมใส่แซกโซโฟนแล้วพระองค์ก็ ทรงเอื้อมพระหัตถ์จากพระแท่นมาทรง กดคี ย ์ จ นสามารถเล่ น เป็ น เพลงได้ พระองค์ทรงเคยทรงดนตรีกับนักดนตรี แจ๊สชื่อดังระดับโลกมากมาย อาทิ Benny Goodman, Jack Teagarden, Lionel Hampton และ Stan Getz พระอัจฉริย ภาพทางดนตรีเป็นที่ชื่นชมยกย่องอย่าง มาก Lionel Hampton กล่าวว่า “He is simply the coolest king in the land” ต.เต่า ติโต พระราชนิพนธ์แปลชิ้นแรกของในหลวง รัชกาลที่ ๙ เป็นเรือ่ งของโจซิป โบรซ ติโต (Josip Broz Tito) ประธานาธิบดีผู้สร้าง ชาติยโู กสลาเวียช่วงหลังสงครามโลกครัง้ ที่สอง ดินแดนแถบนี้ปัจจุบันแยกเป็น หลายประเทศ ได้แก่ โครเอเชีย เซอร์เบีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ฯลฯ (ล้วนแต่ เป็นประเทศเกิดใหม่หลังยุคสงครามเย็น) ประเทศทั้ ง หมดแตกออกมาจาก ยูโกสลาเวียเดิม ซึง่ รวมชาติโดยติโตในยุค หลังสงครามโลก

9


ธ.ธง

ท.ทหาร

ถ.ถุง

ถ.ถุง ถ่ายภาพ ภาพพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว “ในหลวง รัชกาลที่ ๙” ที่ชาวไทยเห็นจน ชินตาภาพหนึง่ คือ ทรงสะพายกล้องถ่าย ภาพไปทุกหนทุกแห่ง พระองค์ทรงสน พระราชหฤทัยการถ่ายภาพอย่างยิ่ง เริ่ม ถ่ายภาพเมือ่ พระชนมายุเพียง ๘ พรรษา และได้รับพระราชทานกล้อง Coronet Midget จากสมเด็จฯ พระบรมราชชนนี เป็นกล้องแรกเมื่อปี ๒๔๗๙ ท.ทหาร คุณทองแดง คุณทองแดง สุนขั ทรงเลีย้ ง ประจ�ำรัชกาล ที่ ๙ อดีตสุนัขจรจัด แต่ได้รับพระเมตตา จากในหลวง จนได้เข้ามาอยู่ในวัง คุณทองแดง เป็นสุนัขเพศเมีย เป็น ลูกของนังแดง สุนัขจรจัดบริเวณถนน พระราม ๙ เกิดเมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๑ มีพี่น้อง ๗ ตัว ซึ่งชาวบ้าน ตั้งชื่อให้ว่า ทองแดง จากนั้นได้มีนายแพทย์คนหนึ่งน�ำ ทองแดงมาทูลเกล้าฯ ถวายให้ในหลวง รัชกาลที่ ๙ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงยก คุณทองแดง ให้ “คุณมะลิ” สุนัขแม่ลูก อ่อนทรงเลี้ยงในวังเป็นผู้เลี้ยงดู 10

บ.ใบไม้

น.หนู

ภาคเรียนที่ ๒

“คุณทองแดง” มีลักษณะพิเศษต่าง จากลูกสุนขั ตัวอืน่ ลักษณะคล้ายคลึงกับ สุ นั ข พั น ธุ ์ บ าเซนจิ ซึ่ ง เป็ น สุ นั ข พั น ธุ ์ โบราณ มีถนิ่ ก�ำเนิดทางแอฟริกาใต้ นิยม ใช้งานในการล่าสัตว์ แต่คุณทองแดงมี ขนาดตั ว ใหญ่ ก ว่ า สุ นั ข พั น ธุ ์ บ าเซนจิ ทั่วไป เมื่อเข้ามาอยู่ในวังคุณทองแดงก็ เป็นทีโ่ ปรดปรานของในหลวงรัชกาลที่ ๙ เนื่ อ งจากเป็ น สุ นั ข ที่ ฉ ลาดมาก เมื่ อ ในหลวงรั ช กาลที่ ๙ ทรงเรี ย กให้ คุ ณ ทองแดงขึ้นเฝ้าเพื่อที่จะชั่งน�้ำหนัก แค่ เพียงรับสัง่ ว่า ทองแดงไปชัง่ น�ำ้ หนัก คุณ ทองแดงก็จะเดินขึ้นตาชั่ง เวลาในหลวงรั ช กาลที่ ๙ เสด็ จ พระราชด�ำเนิน คุณทองแดงจะน�ำเสด็จ อยู่หน้าพระองค์ท่าน เวลาพระองค์ท่าน ประทับนัง่ คุณทองแดงก็จะนัง่ หมอบอยู่ ด้านหน้า ใช้สองขาหน้าเกยกันเหมือนคน ก�ำลังหมอบคลาน แล้วหันหน้าออกไป ด้านนอก คอยระแวดระวังด้านนอกอย่าง เดียว แต่หากระยะเวลาในการเข้าเฝ้าฯ นาน คุณทองแดงจะเงยหน้าขึน้ มองพระ พักตร์และผูม้ าเข้าเฝ้าฯ พร้อมกับถอนใจ ยาว แต่ก็ไม่ลุกไปไหน ยังคงหมอบเฝ้า อยู ่ เช่ น นั้ น ทุ กครั้ ง ที่ ใ นหลวงรั ช กาลที่ ๙เสด็จประทับพักผ่อนอิรยิ าบถทีใ่ ด คุณ ทองแดง ก็จะตามเสด็จฯ ด้วย ด้วยเหตุนี้ คุณทองแดง สุนัขทรง

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

เลี้ ย งสุ นั ข ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว จึงได้รับการตั้งฉายาว่า เป็น สุนัขประจ�ำรัชกาล และในหลวง รัชกาลที่ ๙ได้ทรงพระราชนิพนธ์ หนังสือ “เรื่อง ทองแดง (The Story of Tongdaeng)” ออกเผยแพร่เป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ธ.ธง

ธรรมชาติบ�ำบัด

ขยะคือปัญหาใหญ่ที่ทั้งโลกต้องรับมือ คิดค้นเทคโนโลยีเพือ่ ก�ำจัดด้วยเครือ่ งกล แต่ไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาในพระวิสัยทัศน์ ของในหลวงรัชกาลที่ ๙ พระราชด�ำริของในหลวงรัชกาลที่ ๙ คือการแก้ปญ ั หาขยะและน�ำ้ เน่าเสียด้วย ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ ยุคสมัยนั้นเรา เห็นเทคโนโลยีสมัยใหม่จากต่างประเทศ เข้ามาในไทย แต่แนวพระราชด�ำริในการ แก้ปัญหาน�้ำเสียกลับไม่ใช่การทุ่มเงิน ก้ อ นโต แต่ เ ป็ น การอาศั ย วิ ธี ต าม ธรรมชาติหลายรูปแบบ ซึง่ ทัง้ ง่าย ใช้วสั ดุ ท้องถิ่น ค่าใช้จ่ายน�้ำ ทุกคนสามารถ ท�ำได้ และแก้ปัญหาได้อย่างไม่น่าเชื่อ วิธกี ารหนึง่ ทีห่ ลักแหลมคือ การน�ำขยะที่ ย่ อ ยสลายได้ ม าท� ำ ปุ ๋ ย หมั ก ในกล่ อ ง คอนกรีต ส่วนน�้ำเสียแก้ด้วยการกักน�้ำ เสีย ๕ บ่อ แต่ละบ่อจะเก็บในระยะเวลา


ป.ปลา

ต่างกัน จากนั้นก็เติมออกซิเจนด้วยการ ชีวิตของนายวิลเลียม สตีเฟนสัน (Sir ปล่อยแพลงก์ตอนและสาหร่ายในบ่อ William Samuel Stephenson) ผูเ้ ป็นทัง้ ทหาร, นักบิน, นักธุรกิจนักลงทุน, ตัวแทน น.หนู อาวุ โ สแห่ ง หน่ ว ยข่ า วกรองสหราช นายอินทร์ ผู้ปิดทองหลังพระ อาณาจักร ในแถบประเทศในภาคพื้น “นายอินทร์ ผูป้ ดิ ทองหลังพระ” ในหลวง ต ะ วั น ต ก ทั้ ง ห ม ด ร ะ ห ว ่ า ง ช ่ ว ง รั ช กาลที่ ๙ ทรงแปลมาจากหนั ง สื อ สงครามโลกครัง้ ที่ ๒ และบทบาททีส่ ง่ ให้ ต้นฉบับภาษาอังกฤษที่มีชื่อว่า “A Man เขาโดดเด่นเป็นที่กล่าวขานมาจนทุกวัน Called Intrepid” ซึง่ เป็นผลงานทีม่ คี วาม นี้ก็คือการเป็นสายลับผู้ได้ฉายาเพื่อเป็น สลั บ ซั บ ซ้ อ นในด้ า นเนื้ อ หาอย่ า งมาก รหัสลับในการปฏิบัติงานว่า “Interpid” เนื่องจากเป็นเรื่องราวที่อิงอยู่กับความ อันเป็นหนึ่งวลีที่มาของชื่อหนังสือ เป็นจริงทางประวัตศิ าสตร์ โดยผูเ้ ขียนนัน้ เขี ย นขึ้ น มาจากเรื่ อ งราวจริ ง ในสมั ย บ.ใบไม้ บวร บ้าน วัด โรงเรียน สงครามโลกครั้งที่สอง ความยากในการ แปลจึงทบเท่าทวีคูณ และวันเวลากว่า พระราชด�ำรัสในหลวงรัชกาลที่ ๙ ตอน สามปีที่พระองค์ทรงใช้ในการแปล จึงมิ หนึ่ ง ว่ า “โรงเรี ย นก็ คื อ วั ด วั ด ก็ คื อ อาจกล่าวเป็นอย่างอื่นไปได้ นอกเสีย โรงเรียน” ชุมชนตัวอย่างตามพระราช ประสงค์ของในหลวงรัชกาลที่ ๙ จึงได้รบั จากว่า นี่คือพระวิริยะแห่งมหาราชา โดยหลักใหญ่เนื้อหาใจความ การพั ฒ นาในรู ป แบบสามประสานที่ “A Man Called Intrepid” บอกเล่าเรื่อง เรียกว่า “บวร” ซึ่งหมายถึงการให้ บ้าน ราวของสายลับหน่วยจารกรรมข่าวกรอง วัด และโรงเรียน เกือ้ กุลกัน เพือ่ ให้ชมุ ชน ที่เสี่ยงชีวิตเพื่อปฏิบัติการใต้ดิน ต่อต้าน ใกล้ชดิ การศึกษาและศาสนามากขึน้ ใน ฮิตเลอร์และนาซีในสมัยสงครามโลกครัง้ พ.ศ. ๒๕๓๘ วัดพระราม ๙ กาญจนา ที่สอง เขียนขึ้นโดยนายวิลเลียม สตีเวน ภิเษก และโรงเรียนพระราม ๙ กาญจนา สัน (William Henry Stevenson) นักข่าว ภิเษก จึงได้ด�ำเนินการก่อสร้างขึ้นตาม และนักเขียนสายเลือดอังกฤษซึ่งเกิดใน ล�ำดับ โครงการนี้น�ำรูปแบบชุมชนในอดีต ประเทศแคนาดา เขาเขี ย น “A Man Called Intrepid” เพื่อถ่ายทอดประวัติ ที่มีวัดเป็นศูนย์กลางกิจกรรมและการ

เรี ย นรู ้ ม าใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ ท� ำ ให้ โครงการไปไกลกว่าแค่การแก้ปญ ั หาจุด ต่างๆ แต่ยังเน้นให้เกิดความยั่งยืนด้วย การพัฒนาคนด้วยความรูท้ างการศึกษา ขัดเกลาจิตใจด้วยศาสนา และรวมคนใน ชุ ม ชนให้ เ ป็ น กลุ ่ ม ก้ อ นสามั ค คี มี ก าร ออกแบบให้ มี ป ระตู เ ดิ น เชื่ อ มจาก โรงเรียนมายังวัด เพื่อสนองพระราชด�ำริ ให้ชุมชนบริเวณบึงพระราม ๙ ถูกเชื่อม ต่อและเกิดการสร้างสัมพันธ์ร่วมกัน ป.ปลา

ปลานิล

“ปลานิล” เป็นปลาน�้ำจืดที่คนไทยนิยม กิ น กั น เป็ น จ� ำ นวนมาก ด้ ว ยเพราะมี ประโยชน์มากคุณค่า หาซื้อง่าย น�ำมา ปรุ ง เป็ น เมนู อ าหารจานอร่ อ ยได้ ม าก หลาย ใครเลยจะรูบ้ า้ งว่า “ปลานิล” ทีก่ นิ อยูท่ กุ วันนีน้ นั้ เป็นปลาทีใ่ นหลวงรัชกาล ที่ ๙ ได้พระราชทานชื่อให้ และให้เป็น อาหารแก่คนไทย เรือ่ งราวความเป็นมาของ “ปลานิล” เกิดขึน้ เมือ่ วันที่ ๒๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโต เมื่อครั้ง ทรงด�ำรงพระอิสริยยศมกุฏราชกุมารแห่ง ประเทศญี่ปุ่น ได้น้อมเกล้าฯ ถวายปลา น�้ำจืดในตระกูลทิลาเปีย (tilapia) มีชื่อ วิทยาศาสตร์ว่า Tilapia nilotica Linn. 11


ฝ.ฝา

ผ.ผึ้ง

จ�ำนวน ๕๐ ตัว แด่ในหลวงรัชกาลที่ ๙ และทรงพระราชทานชื่อปลาชนิดนี้เป็น ภาษาไทยว่า “ปลานิล” มีความหมายว่า มีสดี ำ� คือสีนลิ และออกเสียงตามพยางค์ ต้นของชื่อชนิด คือค�ำว่า “nil” มาจาก “nilotica” ซึ่งชื่อพระราชทานนี้เป็นชื่อที่ สั้น มีความหมายชัดเจนและง่ายแก่การ จดจ� ำ ส� ำ หรั บ ประชาชนทั่ ว ไป ทรง พระราชทานแนวทาง ในการอนุรกั ษ์พนั ธุ์ ปลานิ ล จากการทดลองเลี้ ย งด้ ว ย พระองค์เอง

ท่านก้มอยู่กับพื้น แล้วเอากาวติดแผนที่ เข้าด้วยกัน แล้วหัวกระดาษต่างๆ ท่านก็ ค่อยๆ ตัดแล้วเรียงแปะเป็นหัวแผนทีเ่ ข้า ด้ ว ยกั น ใหม่ เ พื่ อ จะได้ ท ราบว่ า แผนที่ ระวางไหนบ้าง...การปะแผนที่ท่านก็ท�ำ อย่างพิถพี ถิ นั และถือเป็นงานทีใ่ ครจะมา แตะต้ อ งช่ ว ยเหลื อ ไม่ ไ ด้ เ ลยที เ ดี ย ว สาเหตุที่ทรงโปรดท�ำทุกสิ่งด้วยพระองค์ เองนั้น “...ท่านบอกว่าคนเป็นช่าง ช่าง หมายถึงงานท�ำด้วยมือทัง้ หลายแหล่ ซึง่ การท�ำอะไรด้วยมือได้ ไม่ใช่หมายความ ว่ามือท�ำเอง มันมาจากสมอง สมองสัง่ ให้ ผ.ผึ้ง มือท�ำจึงท�ำได้งานช่างคืองานทีผ่ นวกกัน แผนที่ ระหว่างสมองกับมือ เพราะฉะนัน้ ต้องท�ำ ในการทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ ๙ใน เอง ขีดเอง ลูบคล�ำมันไปแล้ว มันจะได้ แต่ละพืน้ ทีน่ นั้ ภาพทีค่ นุ้ ตาประชาชนคน จากมือทีล่ บู คล�ำ จากตาทีด่ ู ย้อนกลับมา ไทยทั้ ง ประเทศคงเป็ น ภาพแผนที่ ใ น ที่สมอง ท�ำให้คิดอะไรขึ้นมาได้ พระหัตถ์ ซึง่ ทรงถือติดพระองค์สำ� หรับใช้ เป็นเครื่องมือส�ำคัญในการทรงงาน ฝ.ฝา ฝนหลวง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ซึง่ ได้ตามเสด็จทรงงานใน โครงการพระราชด�ำริฝนหลวง เกิดขึ้น หลายพื้นที่ ทรงเล่าถึงเรื่องแผนที่ของ จากพระราชด�ำริสว่ นพระองค์ ในในหลวง ในหลวงไว้ในรายการวิทยุ “พูดจาภาษา รัชกาลที่ ๙ เมือ่ คราวเสด็จพระราชด�ำเนิน ช่าง” ทางสถานีวิทยุจุฬาฯ ความว่า.... เยี่ยมราษฎรในพื้นที่แห้งแล้งทุรกันดาร “...แผนที่ ที่ พ ระองค์ ท รงใช้ คื อ ๑๕ จังหวัด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มาตราส่วน ๑ : ๕ หมื่น ส�ำนักงานของ ระหว่างวันที่ ๒-๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ท่านคือห้องกว้างๆ ไม่มีเก้าอี้ มีพื้นแล้ว ๒๔๙๘ ในวันจันทร์ที่ ๑๔ พฤศจิกายน 12

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

พ.ศ.๒๔๙๘ เสด็จพระราชด�ำเนินโดย รถยนต์ เ ดลาเฮย์ ซี ด านสี เ ขี ย ว จาก จังหวัดนครพนมไปจังหวัดกาฬสินธุ์ ผ่าน จังหวัดสกลนครและ เทือกเขาภูพาน ได้ ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อน ทุกข์ยาก ของราษฎร และเกษตรกรทีข่ าดแคลนน�ำ้ อุปโภคบริโภค และการเกษตร เมื่อเสด็จ พระราชด�ำเนินกลับถึงกรุงเทพมหานคร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หม่อม ราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล วิศวกรและนัก ประดิษฐ์ควายเหล็กที่มีชื่อเสียงเข้าเฝ้าฯ แล้วพระราชทานแนวความคิดการท�ำฝน หลวงเพื่ อ แก้ ไ ขความแห้ ง แล้ ง นั้ น แก่ หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล พ.พาน ผู้พิการ เพลง ยิม้ สู้ ทีใ่ นหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงพระ ราชนิพนธ์ในปี ๒๔๙๕ เพื่อให้ก�ำลังใจ คนตาบอดโดยเฉพาะ ซึ่งเพลงนี้มีความ หมายและส�ำคัญอย่างยิง่ ส�ำหรับพวกเขา จากบทเพลงพระราชนิพนธ์ทีมีท�ำนอง ดนตรีสนุกสนาน และมีเนื้อร้องเน้นให้ ก�ำลังใจ ให้สู้ชีวิต แม้หนทางข้างหน้าจะ มีอุปสรรค แต่ถ้ายิ้มรับ จะผ่านพ้นไปได้ ซึ่ ง คนตาบอดหลายคนรั บ รู ้ ถึ ง ความ หมายของเพลง และมีอีกหลายคนที่ใช้


พ.พาน

ภ.ส�ำเภา

ฟ.ฟัน

เพลงนี้บรรเทาจิตใจเวลาพบความยาก ล�ำบาก ความท้อแท้ในชีวิต ส�ำหรับคนตาบอด ที่ไม่มีโอกาสได้ ชื่นชมพระบารมีในหลวงรัชกาลที่ ๙ ได้ เหมือนคนปกติทวั่ ไป เพลง “ยิม้ สู”้ กลาย เป็นตัวแทนสื่อกลางที่เชื่อมร้อยความ จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ที่พวกเขา บอกว่ า จั บ ต้ อ งได้ ทั้ ง โครงการพระ ราชด� ำ ริ ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาถึ ง ระดั บ ปริญญาตรี และทักษะอาชีพให้กลุ่มคน พิการ ท�ำให้พวกเขาไม่เป็นภาระ และ เป็นส่วนหนึง่ ในการขับเคลือ่ นประเทศ มี สิทธิ์ทัดเทียมเท่ากับคนปกติทั่วไป ฟ.ฟัน กังหันไฟฟ้าพลังน�้ำ คลองลัดโพธิ์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ มีพระราชด�ำริความ ว่ า “คลองลั ด โพธิ์ เมื่ อ ปรั บ ปรุ ง แล้ ว สามารถลดระยะทางการไหลของน�้ำใน แม่น�้ำเจ้าพระยาบริเวณคุ้งน�้ำ ช่วงไหล ผ่ า นเขตพื้ น ที่ บ างกะเจ้ า จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ จากระยะทาง ๑๘ กิโลเมตร เป็นระยะทาง ๖๐๐ เมตร จะ ช่วยระบายน�ำ้ ในแม่นำ�้ เจ้าพระยาไหลลง สู่ทะเลสะดวกและเร็วขึ้น ซึ่งจะเป็นผลดี ต่ อ การป้ อ งกั น และบรรเทาปั ญ หาน�้ ำ ท่วมในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้ดีขึ้น”

ม.ม้า

ในหลวงรัชกาลที่ ๙ พระราชทาน พระราชด�ำริเพิ่มเติมว่าจะใช้พลังงานน�้ำ ทีร่ ะบายผ่านคลองท�ำประโยชน์อย่างอืน่ ได้อีกหรือไม่จึงเป็นที่มาของโครงการ ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพของคลองลัด โพธิ์ ด้านไฟฟ้าพลังน�้ำและการปรับปรุง คุ ณ ภาพน�้ ำ ท� ำ การศึ ก ษาวิ จั ย จนได้ ต้นแบบ กังหันพลังน�ำ้ อาศัยพลังงานจลน์ จากความเร็วของกระแสน�้ำไหลขึ้น ๒ แบบ ท�ำการเชือ่ มต่อเข้ากับเครือ่ งก�ำเนิด กระแสไฟฟ้า ติดตั้งบริเวณประตูระบาย น�้ำเพื่อผลิตไฟ้ฟ้าพลังน�้ำ ภ.ส�ำเภา เขื่อนภูมิพล เขื่อนภูมิพลเป็นเขื่อนคอนกรีตโค้งและ เป็น เขื่อนอเนกประสงค์แห่งแรกของ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ได้พระราชทาน พระปรมาภิไธย ให้เป็นชื่อเขื่อนว่า เขื่อน ภู มิ พ ล ลั ก ษณะของเขื่ อ น เป็ น เขื่ อ น ค อ น ก รี ต โ ค ้ ง เ พี ย ง แ ห ่ ง เ ดี ย ว ใ น ประเทศไทย และ เอเชียอาคเนย์ และ เป็นอันดับ ๘ ของโลกสร้างปิดกั้น ล�ำน�้ำ ปิง ที่ บริเวณเขาแก้ว อ�ำเภอสามเงา จังหวัดตาก อาคารโรงไฟฟ้าได้ติดตั้ง เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าที่เขื่อนนี้ เขื่อนภูมิพล มีภารกิจหลัก คือ ระบายน�้ำ ผลิตไฟฟ้า

ให้ ต รงตามแผนที่ ก รมชลประทาน ก�ำหนดมาให้ โดยปริมาณน�้ำที่ระบาย ออกไปจากเขือ่ นจะถูกน�ำไปใช้ ประโยชน์ หลายด้าน ทั้งด้านการเกษตรที่อุปโภคบริโภค คมนาคม ท่องเที่ยว ม.ม้า พระมหาชนก พระมหาชนก เป็ น พระราชนิ พ นธ์ ใ น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพล อดุลยเดชฯ พระองค์ทรงเริ่มค้นคว้าเรื่อง พระมหาชนกจากพระไตรปิ ฎ กในปี พุทธศักราช ๒๕๒๐ ต่อจากทีไ่ ด้ทรงสดับ พระธรรมเทศนาของสมเด็จพระมหาวีร วงศ์ (วิน ธมฺมสาโร มหาเถร) แห่งวัดราช ผาติการาม เรือ่ ง พระมหาชนกเสด็จทอด พระเนตรพระราชอุทยาน ในกรุงมิถิลา ข้อคิดทีไ่ ด้จากเรือ่ ง คือความเพียร ความ พยายาม ความกล้าที่จะลงมือท�ำ เป็น แนวทางให้ด�ำเนินไปสู่ความส�ำเร็จตาม วัตถุประสงค์ กล้าเผชิญกับความทุกข์ ยาก ปั ญ หาและอุ ป สรรคที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น หากมีอุปสรรคข้อขัดข้องใดๆ ไม่ย่อท้อ ไม่สิ้นหวัง เดินหน้าเรื่อยไปจนกว่าจะ บรรลุเป้าหมายคือความส�ำเร็จ ดังเช่น พระมหาชนกทีม่ คี วามเพียร อดทน ว่าน�ำ้ ในทะเลนาน ๗ วัน ๗ คืน 13


ย.ยักษ์

ล.ลิง

ร.เรือ

ย.ยักษ์

ยาสีฟัน

ตัวอย่างทีด่ ที สี่ ดุ และสูงค่าทีส่ ดุ ทีเ่ ราควร จะเอาเป็ น แบบอย่ า งก็ คื อ ในหลวง รัชกาลที่ ๙ พระองค์ทา่ นทรงเป็นตัวอย่าง ที่ดีที่สุด ในการแสดงให้เห็ น ถึ ง ความ ประหยัดและใช้ประโยชน์ของสิ่งของได้ อย่างสูงสุด และมีประสิทธิภาพ คนไทยเกื อ บทุ ก คนจะทราบเรื่ อ ง เกีย่ วกับสีพระทนต์ของในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่ถูกน�ำมาตีพิมพ์เป็นโปสเตอร์ ซึ่งต่อ มาก็ถูกเผยแพร่เป็นจ�ำนวนมาก ภาพ หลอดยาสีพระทนต์พระราชทานนีแ้ สดง ให้เห็นว่า พระองค์ท่านทรงใช้จนราบ เรี ย บคล้ า ยแผ่ น กระดาษ โดยเฉพาะ บริเวณคอหลอดที่มีรอยบุ๋มลึกลงไปถึง เกลี ย วคอหลอด เพราะทรงใช้ ด ้ า ม แปรงสีฟนั รีดและกดเพือ่ ให้ได้ยาสีฟนั จน เกลี้ยงหลอดนั่นเอง ร.เรือ เรือใบ “เรื อ ใบ” ของ ในหลวง รั ช กาลที่ ๙ ในหลวงเคยทรงเรือใบคนเดียวจาก ประ จวบฯ-สัตหีบ ในวันเดียวมาแล้ว พระองค์ ท่านทรงชอบและรักในกีฬาเรือใบอย่าง มาก พระองค์ท่านทรงเรือใบจากวังไกล กังวลประจวบฯ ข้ามอ่าวไทยมาถึงสัตหีบ ชลบุรี เป็นกีฬาพิเศษทีพ่ ระองค์ทา่ นสร้าง ความโดดเด่นด้วยพระปรีชาของพระองค์ 14

ภาคเรียนที่ ๒

เองมานาน ทั้ ง ยั ง โปรดที่ จ ะต่ อ เรื อ ใบ พระที่นั่งด้วยพระองค์เองด้วย ทรงจด ลิขสิทธิเ์ ป็น สากลประเภท International Moth Class ที่ประเทศอังกฤษ ทรงเป็ น นั ก กี ฬ าที่ ป ระสบความ ส�ำเร็จมากมาย จนประวัติศาสตร์วงการ กีฬาระดับโลกต้องจารึกไว้ในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๑๐ ทรงคว้าชัยการแข่งขัน เรือใบประเภท OK ในการแข่งขันกีฬา แหลมทอง ครั้งที่ ๔ ที่ประเทศไทย ในครั้ ง นั้ น พระองค์ เ ป็ น พระมหา กษัตริย์พระองค์แรกและพระองค์เดียว ในเอเชี ย ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ การ แข่งขันเรือใบในระดับนานาชาติ พระองค์ ท ่ า นทรงเคารพในกติ ก า อย่างเคร่งครัด มีอยู่ครั้งหนึ่งเสด็จออก จากฝั่งไปได้ไม่นานก็ทรงแล่นเรือใบเข้า ฝั่ง ก่อนจะตรัสกับผู้ที่มาเข้าเฝ้าฯ ว่า เสด็จฯ กลับเข้าฝั่งเพราะเรือใบพระที่นั่ง แล่นไปโดนทุ่นเข้า ซึ่งในกติกาการแข่ง เรือใบถือว่าฟาวล์ ทั้งๆ ที่ไม่มีใครเห็น นอกจากเรือ่ งทีท่ รงเคารพกติกาแล้ว ยังทรงยึดถือเรือ่ งน�ำ้ ใจนักกีฬาเป็นอย่าง ดี เนื่องจากการแข่งขันกีฬาเรือใบเป็น กีฬาที่โปรดที่สุด นักกีฬาจึงต้องแข่งเรือ ใบกับพระองค์ท่านจริงๆ ไม่ต้องมีการ ออมแรง หากในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรง ทราบว่ามีการออมแรงแล้ว พระองค์ทา่ น จะไม่พอพระราชหฤทัย

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

ว.เเหวน

ล.ลิง แก้มลิง โครงการแก้ ม ลิ ง อั น เนื่ อ งมาจากพระ ราชด�ำริ พระองค์ได้แรงบันดาลพระราช หฤทั ย จากการได้ เ คยทอดพระเนตร พฤติ ก รรมกิ น กล้ ว ยของลิ ง ในสวน จิตรลดา “...ลิงโดยทัว่ ไป ถ้าเราส่งกล้วยให้ลงิ ก็จะรีบปอกเปลือกแล้วเอาเข้าปากเคีย้ ว ๆ แล้ ว เอาไปเก็ บ ที่ แ ก้ ม จะกิ น กล้ ว ย เข้าไปไว้ทกี่ ระพุง้ แก้มได้เกือบทัง้ หวี โดย เอาไปเก็บไว้ทกี่ ระพุง้ แก้มก่อนแล้วจะน�ำ ออกมาเคีย้ วและกลืนกินเข้าไปภายหลัง ด้ ว ยพฤติ ก รรมการน� ำ เอากล้ ว ยหรื อ อาหารมาสะสมไว้ทกี่ ระพุง้ แก้มก่อนการ กลืนนี้ จึงเป็นพฤติกรรมตัวอย่างที่จะน�ำ มาใช้ในการระบายน�ำ้ ท่วมออกจากพืน้ ที่ น�้ ำ ท่ ว มขั ง บริ เ วณทิ ศ ตะวั น ออกและ ตะวันตกของแม่น�้ำเจ้าพระยา...”ความ ตอนหนึ่ง ในพระราชด�ำริของในหลวง รั ช กาลที่ ๙ ที่ ไ ด้ พ ระราชทานไว้ เ พื่ อ ป้องกันน�้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล


ศ.ศาลา

ว.แหวน

วิทยุสื่อสาร

พล.ต.ต.สุชาติ เผือกสกนธ์ กราบบังคม ทู ล ในหลวงรั ช กาลที่ ๙ ขอพระราช วินิจฉัย ให้ใช้วิทยุสื่อสารเพื่อประโยชน์ สาธารณะ ให้ถกู กฎหมาย ไม่ตอ้ งแอบใช้ กันจึงมีการตั้งชมรมวิทยุอาสาสมัคร ( Volunteer Radio = VR ) โดยรหัส VR ๐๐๑ คือ พล.ต.ต.สุชา ติ เผือกสกนธ์ พร้อมการนั้นถวายควอ ไซท์ VR ๐๐๙ แด่พระองค์ทา่ นในวันที่ ๕ ธันวาคม ทีเ่ ป็นวันเปิดศูนย์ฯ และตรงกับ วันเฉลิมพระชนมพรรษา พล.ต.ต.สุชาติ เป็นคนน�ำพิธีถวายพระพรชัยมงคลทาง วิทยุด้วย จนจบ พระองค์ท่านทรงติดต่อ เข้ามาว่า “ขอบใจ VR ๐๐๑ (พล.ต.ต.สุชา ติ) ทีม่ าอวยพรวันเกิดให้กบั VR ๐๐๙ ใน วันนี”้ ซึง่ ทุกคนตืน่ เต้นดีใจทีพ่ ระองค์ทา่ น ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ ต่อวงการวิทยุ สมัครเล่น ท่านทรงใช้วิทยุท�ำโครงการหลาย โครงการในการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน เช่น รถหาย รายงานอุบัติเหตุต่างๆ และ ชมรมวิทยุสมัครเล่นท�ำโครงการร่วมกับ ต�ำรวจ ในการเป็นสายตรวจร่วมตระเวน ภาคกลางคืน ในช่วงเหตุวาตภัยที่อ�ำเภอสวนผึ้ง จั ง หวั ด ราชบุ รี ซึ่ ง มี นั ก วิ ท ยุ ส มั ค รเล่ น อยากออกไปช่วยเหลือชาวบ้าน และ

ติดต่อเข้ามายังศูนย์สายลม เพือ่ ขอความ ช่วยเหลือ ต้องเตรียมการอย่างไร ขณะ นั้ น พระองค์ ท ่ า นติ ด ต่ อ เข้ า มา เพื่ อ แนะน�ำวิธที ถี่ กู ต้องให้อาสาสมัครในการ ออกไปช่วยเหลือประชาชน ทรงรับสั่งว่า “สิ่งส�ำคัญ คือ การไม่เข้าไปเป็น ภาระของคนในพื้นที่ พร้อมเตรียมระบบ เครื่องมือสื่อสารที่มีความพร้อม ด้วย การน�ำวิทยุในรถยนต์ไปติดตัง้ ในตัวเมือง โดยให้หาพื้นที่สูงติดกับเสาสัญญาณ เพื่อให้นักวิทยุที่เข้าไปในพื้นที่สามารถ ติดต่อออกมาได้” และยังละเอียดถึงขั้น ต้องเตรียมเรื่องแบตเตอรี่ส�ำรอง ต้องมี ฉนวนหุ ้ ม แบตเตอรี่ ป ้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ โ ดน โลหะ หรือเศษสตางค์ท�ำให้ช็อตขั้ว และ ไม่มีพลังงานใช้ พระองค์ ท ่ า นทรงมี ร ะเบี ย บวิ นั ย เคร่ ง ครั ด ต่ อ ระเบี ย บและใส่ ใ จราย ละเอียดทุกเรื่องมาก และทรงใช้วิทยุ อย่างคล่องแคล่ว ศ.ศาลา เศรษฐกิจพอเพียง พระราชด�ำรัสในหลวงรัชกาลที่ ๙ “...ฉัน พูดเศรษฐกิจพอเพียงความหมายคือ ท�ำ อะไรให้เหมาะสมกับฐานะของตัวเอง คือ ท�ำจากรายได้ ๒๐๐-๓๐๐ บาท ขึ้นไป เป็นสองหมื่น สามหมื่นบาท คนชอบเอา ค�ำพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูด

กันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือท�ำ เป็น Self-Sufficiency มันไม่ใช่ความ หมายไม่ใช่แบบที่ฉันคิด ที่ฉันคิดคือเป็น Self-Sufficiency of Economy เช่น ถ้า เขาต้องการดูทวี ี ก็ควรให้เขามีดู ไม่ใช่ไป จ�ำกัดเขาไม่ให้ซอื้ ทีวดี ู เขาต้องการดูเพือ่ ความสนุกสนาน ในหมู่บ้านไกลๆ ที่ฉัน ไป เขามีทีวีดูแต่ใช้แบตเตอรี่ เขาไม่มี ไฟฟ้า แต่ถ้า Sufficiency นั้น มีทีวีเขา ฟุม่ เฟือย เปรียบเสมือนคนไม่มสี ตางค์ไป ตัดสูทใส่ และยังใส่เนคไทเวอร์ซาเช่ อัน นี้ก็เกินไป...” แนวพระราชด�ำริในการด�ำเนินชีวิต แบบพอเพียง ๑. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้ จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยใน การใช้ชีวิต ๒. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วย ความถูกต้อง ซื่อสัตย์สุจริต ๓. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ และแข่งขันกันในทางการค้าแบบต่อสู้ กันอย่างรุนแรง ๔. ไม่ ห ยุ ด นิ่ ง ที่ จ ะหาทางให้ ชี วิ ต หลุ ด พ้ น จากความทุ ก ข์ ย าก ด้ ว ยการ ขวนขวายใฝ่หาความรูใ้ ห้มรี ายได้เพิม่ พูน ขึ้ น จนถึ ง ขั้ น พอเพี ย งเป็ น เป้ า หมาย ส�ำคัญ ๕. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละ สิ่งชั่ว ประพฤติตนตามหลักศาสนา 15


ฬ.จุฬา

อ.อ่าง

ส.เสือ

ษ.ฤาษี ต้นธูปฤาษี จากทฤษฎี แ ละแนวคิ ด ธรรมชาติ ช ่ ว ย ธรรมชาติตามแนวพระราชด�ำริ ได้ศกึ ษา ออกแบบการใช้เทคโนโลยีในการบ�ำบัด น�ำ้ เสียอย่างเรียบง่ายและหาได้ตามท้อง ที่ ระบบพื ช และหญ้ า กรองน�้ ำ เสี ย (Plant and Grass Filtration) เป็ น ระบบที่ ใ ห้ พื ช ช่ ว ยดู ด ซั บ ธาตุ อาหารจากการย่อยสลายสารอินทรียเ์ ป็น สารอนินทรีย์ที่พืชต้องการของจุลินทรีย์ ในดิ น การปลดปล่ อ ยออกซิ เ จนจาก กระบวนการสังเคราะห์แสงจากระบบ ราก สาหร่าย และแพลงค์ตอน โดยการ ปล่อยให้น�้ำเสียไหลผ่านแปลงพืชหรือ หญ้า โดยน�้ำเสียจะไหลผ่านผิวดินและ ต้นพืชหรือหญ้า เมื่อครบระยะเวลา ๙๐ วัน จะตัดพืชและหญ้าเหล่านั้นออก เพื่อ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ ซึ่ง หญ้าเหล่านี้น�ำไปใช้ในการเลี้ยงสัตว์ได้ เนือ่ งจากการปนเปือ้ นของมลสารไม่เกิน มาตรฐานส�ำหรับสัตว์ ส่วนพืชทั่วไปน�ำ ไปใช้ในการจักสานได้เป็นอย่างดี

16

ภาคเรียนที่ ๒

ส.เสือ สโมสรปาตาปุม ชมรมเล็กๆ ของ ๒ ยุวกษัตริย์ ทีม่ ตี เู้ สือ้ ผ้า เป็นที่ประชุม สมเด็จพระพี่นางฯเล่าถึง “สโมสรปาตาปุม” ไว้ว่า... ตอนเด็ ก ๆ ร.๘ และร.๙ ทรงตั้ ง สโมสรปาตาปุม (Club Patapoum) ขึ้น มา เข้าใจว่าเอาอย่างในหนังสือการ์ตนู ที่ มักมีเด็กๆ มาร่วมกลุ่มสร้างสโมสรท�ำ กิจกรรมต่างๆ กัน สโมสรฯ นีม้ ชี อื่ สมาชิก อยูเ่ ยอะมาก แต่มีตวั ตนจริงๆ แค่ ๒ องค์ คือ ร.๘ และ ร.๙ ในรายชื่อสมาชิกสโมสรนั้น จะระบุ ชื่ อ และต� ำ แหน่ ง ต่ า งๆไว้ เช่ น นายก สโมสรฯ รองนายก เหรั ญ ญิ ก และ ประชาสัมพันธ์ เป็น โดยทั้งสองพระองค์ ก็จะสลับกันเป็นต�ำแหน่งโน้นต�ำแหน่งนี้ กันไป ส่วนวัตถุประสงค์ของการก่อตั้ง และด�ำเนินการสโมสรนี้ก็ไม่มีใครทราบ แต่ ที่ แ น่ ๆ ก็ เ พื่ อ หาผลประโยชน์ เ ข้ า สโมสร สโมสรปาตาปุมมีการหารายได้ผา่ น การจ่ายค่าบ�ำรุงสมาชิก ซึง่ เงินค่าสมาชิก ก็มาจากค่าขนมของ ร.๘ และ ร.๙ เอง แต่ ร.๘ ซึ่ ง เป็ น พี่ ก็ ต ้ อ งจ่ า ยค่ า บ� ำ รุ ง มากกว่า เพราะได้ค่าขนมมากกว่า นอกจากค่าบ�ำรุงสมาชิกแล้ว ถ้าใคร ได้ของขวัญเป็นเงิน ก็ต้องเสียภาษี และ

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

ษ.ฤาษี

ก็มกี ารน�ำของทีม่ ไี ปออกสลากขาย มีการ แบ่งรายได้ไว้ท�ำบุญ ๕๐% ด้วย (สมเด็จ ย่าฯ แม่ของทั้งสองพระองค์ ท�ำกล่อง ส� ำ หรั บ ใส่ เ งิ น ท� ำ บุ ญ ไว้ ใครอยากท� ำ เท่าไรก็น�ำเงินไปใส่กล่อง) เวลาสโมสรมีเงินมาก ก็จะน�ำไปฝาก ธนาคาร และนอกจากของเล่นก็ยังมี เหรียญทองสวิสที่ค่อยๆ ซื้อมาเก็บ และ หนังสือด้วย ถ้าเป็นหนังสืออ่านเล่นก็จะ ซื้ อ กั น เอง แต่ ถ ้ า เป็ น หนั ง สื อ ความรู ้ รัฐบาลจะเป็นผู้ซื้อสนับสนุน (รัฐบาล ก็ คือแม่ หรือสมเด็จย่านั่นเอง นอกจากหารือกันสร้างรายได้หรือ ซื้อของแล้ว บางครั้งสโมสรปาตาปุมก็ ออกหนังสือในนามสโมสรด้วย หนังสือ และของที่ออกในนามสโมสรปาตาปุม ส่วนใหญ่ก็มักเป็นเชิงหยอกล้อเอาสนุก แต่ก็มีครั้งหนึ่งเหมือนกัน ทีส่ มเด็จพระพีน่ างฯ ซึง่ ป่วยอยูท่ โี่ รงเรียน ประจ�ำในขณะนั้น ได้รับจดหมายและ กล่องจากสโมสรปาตาปุมนี้ สมเด็จพระ พี่นางเล่าว่า “ออกจะไม่ไว้ใจนัก” แต่พอ เปิดกล่องออกดู ก็พบว่าเป็นไก่ย่างตัว เล็กๆ และขนม พร้อมค�ำอวยพรให้หาย ไวๆ แถมลงท้ายก�ำกับไว้ว่า “นี่สโมสร ออกเงินเอง ไม่ใช่แม่” การเล่นของสองพระองค์ แสดงให้ เห็นพระอัจฉริยภาพหลายๆ ด้าน “การ


ห.หีบ

ฮ.นกฮูก

เล่นที่ดีคือพื้นฐานของผู้ใหญ่ที่ท�ำงาน ๙ ได้ ท รงพระราชนิ พ นธ์ เ พลง ”มหา เก่ง” ก็แบบนี้นี่เอง จุ ฬ าลงกรณ์ ” พระราชทานให้ แ ก่ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย และมี ห.หีบ ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยา ในหลวง และนายสุ ภ ร ผลชี วิ น เป็ น ผู ้ ป ระพั น ธ์ ค�ำ “ใน” นั้น หมายความตรงข้ามกับค�ำ ค�ำร้อง ด้วยพระปรีชาญาณ พระอัจฉริย “นอก” ค�ำว่า “หลวง” นั้น โดยล�ำพังค�ำ ภาพทางการดนตรี และพระวิ ริ ย ะ ชัน้ เดิมหมายความว่า “ใหญ่โต” ดูเหมือน อุตสาหะที่ทรงตั้งพระทัยพระราชนิพนธ์ ค�ำภาษาอังกฤษว่า Great เป็นคุณศัพท์ เพลงนี้ให้มีความพิเศษแตกต่างจากบท Adjective ส�ำหรับประกอบกับค�ำที่เป็น เพลงอื่นๆ จึงทรงพระราชนิพนธ์เพลงนี้ นามศัพท์ ยกตัวอย่างดัง “เขาหลวง” ด้วย Pentatonic scale หมายถึงใน หมายความว่ า ภู เ ขาที่ ใ หญ่ ก ว่ า เพื่ อ น บทเพลงนีจ้ ะประกอบไปด้วยโน้ตเพียง ๕ “บางหลวง” หมายความว่าคลองต้นที่ เสียงเท่านั้นที่ซ่อนรูป และร้อยเกี่ยวอยู่ ใหญ่ ย าวยิ่ ง กว่ า เพื่ อ น “เมื อ งหลวง” ภายในบทเพลงอย่างลึกซึ้ง จนกระทั่งผู้ หมายความว่าเมืองใหญ่ที่เป็นราชธานี ฟังจะไม่รู้สึกเลยว่าใช้หลักการประพันธ์ “วังหลวง” หมายความว่าวังที่เป็นใหญ่ ประเภทใด และทรงเลือกใช้สำ� เนียงทีใ่ ห้ (อันเป็นที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน) สีสันความเป็นโลกตะวันออกแต่กลับให้ ค�ำว่า “ในหลวง” ก็อยู่ในค�ำพวก ท่วงท�ำนองสง่างามแบบสากลโดยไม่ เดียวกัน เห็นจะมาแต่ “ในวังขุนหลวง” ปรากฏความขัดแย้งแต่ประการใด หรือ “ในกิจการของขุนหลวง” แล้วก็เลย เรี ย กหมายความต่ อ ไปถึ ง พระองค์ อ.อ่าง อุตุนิยมวิทยา พระเจ้ า แผ่ น ดิ น ตามสะดวกปากว่ า ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธชิ ยั “ในหลวง” พัฒนา บรรยายพิเศษเรื่อง “ในหลวง รั ช กาลที่ ๙ กั บ นวั ต กรรมเพื่ อ สั ง คม ฬ.จุฬา ไทย”ตอนหนึ่ ง ว่ า ในหนั ง สื อ พระราช เพลง มหาจุฬาลงกรณ์ ศาสตราจารย์ ม.ร.ว.สุมนชาติ สวัสดิกุล นิ พ นธ์ พ ระมหาชนก ได้ ตี พิ ม พ์ ภ าพ ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานเพลง พยากรณ์ ข องกรมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาซึ่ ง ใน ประจ�ำมหาวิทยาลัย ซึง่ ในหลวงรัชกาลที่ ภาพมีนางมณีเมขลาอยู่ทางซ้าย ส่วน

ด้านขวาเป็นภาพตารางการผูกดวงทาง โหราศาสตร์ ซึ่งพระองค์ทรงผูกดวงด้วย พระองค์เอง และทรงท�ำนายได้วา่ พายุจะ ไม่เข้าประเทศไทย ซึ่งมีความหมายว่า ทรงให้ความเคารพกับศาสตร์ทุกศาสตร์ ซึ่งเราต้องใช้ให้ถูกที่ถูกเวลา ฮ.นกฮูก เฮฮาอารมณ์ขันของ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ เมื่อคราวที่ทูลกระหม่อมฟ้าหญิง จุฬาภรณ์ประทับที่โรงพยาบาลศิริราช ช่วงเช้าตรูม่ เี สียงโทรศัพท์ดงั ขึน้ พยาบาล ที่ ถ วายงานอยู ่ จึ ง ไปรั บ สาย ก็ มี เ สี ย ง ปลายทางพูดมาว่า “ขอสายฟ้าหญิง” พยาบาลที่รับสายจึงถามกลับไปว่า “ขอประทานโทษค่ะ ใครจะเรียนสายด้วย คะ” “บอกเขาว่าคนในแบงก์โทรมา” อีก ฝ่ายตอบกลับมา พยาบาลจึงถามกลับไปว่า “ธนาคาร ไหนคะ” และคิดในใจว่ายังเช้าอยู่อย่าง นี้ โ ทรมาเรื่ อ งอะไร แต่ พ อกลั บ มานั่ ง ทบทวนว่าคนในแบงก์โทรมา ถึงกับตื่น เต้ น ตกใจขนลุ ก ขนพอง เพราะคนใน แบงก์ก็คือ “ในหลวง” นั่นเอง

17


ทอสีรักษ์โลก เรื่อง / ภาพ : แม่เชง-ขวัญพัฒน์ วิวัฒน์วิชา (น้อง น�้ำหอม ม.๑ โรงเรียนปัญญาประทีป)

ตามรอยพ่อ...รักษ์โลก

จากทอสีสู่การซับเหงื่อ งานอาจริยบูชา หลวงปู่ชา ๒๕๖๐

“ความพอเพียง” เป็นค�ำที่พสกนิกรชาวไทยส่วน ใหญ่เข้าใจดีว่า เป็นหลักค�ำสอนที่ทรงคุณค่ามากมาย ทีใ่ นหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงเมตตาให้ไว้เป็นสมบัตลิ ำ�้ ค่า แก่พวกเราลูกพ่อหลวงทุกคน หลักทีว่ า่ ด้วยการสอด แทรกเรื่องการกิน การอยู่อย่างรู้จักพอดี ซึ่งรวม หมายถึงการใช้ชีวิตที่ไม่กินเกินพอดี ไม่ใช้ไม่เสพเกิน พอดี.... โรงเรี ย นทอสี . ..ซึ่ ง เป็ น โรงเรี ย นที่ เ น้ น การศึ ก ษา แนวทางพุทธปัญญาได้น้อมน�ำหลักค�ำสอนของพระองค์ ท่านมาบูรณาการในระบบการศึกษาของโรงเรียนแต่ไหน แต่ไรมา ครอบคลุมวิถีชีวิตทั้งนักเรียน ครูและผู้ปกครอง ดังตัวอย่างทีช่ มุ ชนโรงเรียนให้ความสนใจเรือ่ งการบริโภค อย่างรู้คุณค่าแท้ คุณค่าเทียม บริโภคพอประมาณ ไม่กิน ทิง้ กินขว้าง ไล่เลียงเรือ่ ยมาจนถึงเรือ่ งการจัดการ “ขยะ” ที่ เป็นขั้นตอนสุดท้ายจากการบริโภคที่มากเกิน “พอดี” ผู้เขียนในฐานะที่เป็นผู้ปกครองคนหนึ่งในชุมชนแห่ง นี้ จ�ำได้แม่นย�ำว่าตั้งแต่เริ่มก้าวย่างเท้าเข้ามาเป็นหนึ่งใน สมาชิกชุมชนนี้ ภาพที่เห็นๆและประทับใจ จนถึงชินตา มากคือ การทีเ่ ด็กๆอนุบาลดืม่ นมแล้วล้างกล่องใส่นมและ 18

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

ตากแห้งเป็นระเบียบเรียบร้อย รวมถึงการที่เด็กนักเรียน และผู้ปกครอง พกพากระติก หรือภาชนะใส่น�้ำดื่มติดตัว จนเป็นภาพชินตา เป็นวิถีชีวิตในชุมชน ไล่รวมถึงการซื้อ ของจากร้านพอเพียง สมาชิกชุมชนทุกคนต้องน�ำภาชนะ มาเพื่อรับอาหารที่ซื้อ ทางร้านไม่มีภาชนะใส่ให้ กรณีไม่มี ภาชนะมา ลูกๆ หรือผู้ปกครองไม่สามารถซื้ออาหาร ขนม จากร้านพอเพียงได้เลย ในส่วนอาหารกลางวันของคณะ ครู ซึง่ ทางโรงเรียนจัดอาหารเป็นสวัสดิการไว้ให้ คุณครูทกุ ท่านต้องน�ำภาชนะ กล่องใส่อาหาร หรือปิน่ โตมารับอาหาร เอง ไม่มีภาชนะจานชามแบบนักเรียนจัดไว้บริการ เหล่า นี้เป็นวิถีชีวิตจริงประจ�ำวันในโรงเรียนแห่งนี้ เห็นได้ถึง ความสอดคล้องที่ทางโรงเรียนได้น้อมน�ำกระแสพระราช ด�ำรัสต่างๆของพระองค์ท่านมาปฏิบัติจริง เรื่องราวที่สะท้อนให้เห็นความใส่ใจที่มากยิ่งขึ้นอีก ระดับจาก “การบริโภคอย่างพอดี” โรงเรียนทอสีให้ความ สนใจการรักษ์ดิน รักษ์น�้ำ รักษ์ป่า ที่ในหลวงท่านทรงสอน ไว้ โดยได้ให้ความส�ำคัญต่อการลดปริมาณขยะ การ จ�ำแนกประเภทขยะเพือ่ ให้ขยะเหล่านัน้ ได้เดินทางไปในที่


เหมาะสม เริ่มต้นจากเหล่าสมาชิกในชุมชน อันประกอบ ด้วยคณะครู ผู้ปกครอง ร่วมจิตร่วมใจเป็นจิตอาสาช่วย เหลืองานจัดการ “ขยะ” ในงาน “ม่วนชืน่ น้องพี่ ทอสีสเู่ หย้า ครัง้ ที่ ๒” หลังจากทีม่ ปี ระสบการณ์พบปริมาณขยะทีม่ าก เกินไปในการจัดงานครั้งที่ ๑ คณะท�ำงานจัดงานจึงจัดตั้ง ให้มกี ลุม่ งาน “ทอสีรกั ษ์โลก” ขึน้ โดยมีคณ ุ ครูออ้ น และครู อั๋น เป็นที่ปรึกษา โดยทีมงานจิตอาสาซึ่งประกอบด้วยผู้ ปกครองแต่ละชั้นปี ร่วมกันคิดร่วมกันวางแผนท�ำงาน รณรงค์กนั เข้มแข็ง มีความสุข สนุกสนานในการท�ำงานร่วม กัน ในครั้งนั้น ทีมงานได้รณรงค์ให้มีการน�ำ “ตะกร้าเดียว เทีย่ วทัว่ งาน” ซึง่ เป็นผลทีท่ ำ� ให้ปริมาณขยะเมือ่ จบงานลด ลงเมื่อเทียบกับการจัดงานครั้งที่ ๑ ในสัดส่วนที่ลดลง ๒ ใน ๓ ส่วน ผลจากครั้งนั้นสมาชิกทุกคนในชุมชนได้รับ

โอกาสเรียนรู้ วิถชี วี ติ ทีม่ คี วามสุขมากขึน้ จากความสามัคคี ที่ร่วมมือร่วมใจกันคนละเล็กๆน้อยๆในการดูแลใส่ใจสิ่ง แวดล้อมของเรา ด้ ว ยประสบการณ์ ค วามอิ่ ม เอมใจที่ ไ ด้ เ รี ย นรู ้ กระบวนการจัดการเพื่อช่วยลดปริมาณขยะในงาน event ของโรงเรียนทอสีทมี งานได้คดิ ต่อยอดในการขยายผลเพือ่ มีส่วนร่วมในการเป็นจิตอาสาสู่ภาคสังคมภายนอก เพื่อ แบ่งปันประสบการณ์ออกไปนอกรั้วทอสี จึงได้มีการเข้า ร่วมรณรงค์คัดแยกขยะ ในงานนอกรั้วทอสี ซึ่งทางโรงเรียนทอสี น�ำโดยคุณครูอ้อนและโรงเรียน ปัญญาประทีป น�ำโดยคุณครูวทิ ติ และคุณครูแจ๊ด ได้ผนึก ก�ำลังความเข้มแข็งของจิตอาสาคณะครู นักเรียน และผู้ ปกครอง ท�ำการรณค์งดใช้ภาชนะโฟมอย่างเต็มที่ในปี ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ ที่ผ่านมา แม่วรรณได้สรุปผลจากการรณรงค์ไว้ว่า ในปี ๒๕๕๙ สามารถลดการใช้ภาชนะโฟมในงานอาจริยบูชา “หลวงปู่ ชา” ได้จ�ำนวน ๗๕,๖๗๐ ใบ และ ลดปริมาณภาชนะ โฟมจ�ำนวน ๑๐๐,๐๐๐ ใบในปี ๒๕๖๐ ผลลัพธ์นี้เป็น ตัวเลขและข้อมูลทางสถิติจากการท�ำงาน ซึ่งเป็นเรื่องน่า ยินดีอย่างยิง่ .....หากแต่สงิ่ ทีน่ า่ ยินดีมากกว่าคือ ความอิม่ เอมใจของจิตอาสาทุกคน ทัง้ ผูใ้ หญ่และเด็ก ทัง้ ครู นักเรียน และ ผู้ปกครอง เด็กเล็ก เด็กโต ทั้งมาจากโรงเรียนทอสี โรงเรี ย นปั ญ ญาประที ป รวมหลายๆโรงเรี ย นและ มหาวิทยาลัยในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ล้วนได้รับ ประสบการณ์ที่มีคุณค่าต่อจิตใจของคนท�ำงานจิตอาสา เหล่านี้กลับไปมากมาย อิ่มบุญอิ่มกาย อิ่มใจ ที่ได้ท�ำงาน ถวายพ่อแม่ครูอาจารย์ “หลวงปูช่ า” ทีเ่ คารพและรักยิง่ ของ เหล่าลูกศิษย์และได้ท�ำงานสอดคล้องตามกระบวนการที่ พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ทรงสอนพวกเรา เหล่าพสกนิกร ของพระองค์ทา่ นในเรือ่ งการสร้างประโยชน์แก่ตนเองและ ประโยชน์ต่อส่วนรวม ผู ้ เ ขี ย นขอแบ่ ง ปั น ความชื่ น ใจกั บ หนึ่ ง มิ ติ ข อง ประสบการณ์นดี้ ว้ ยตัวอย่างเล็กๆ ในภาพสุดท้ายนี้ ที่ แอบคิดฝากความหวังของชาติไว้ หากเราได้เป็นพ่อ แม่ผแู้ สดงโลกและเปิดพืน้ ทีใ่ ห้ลกู ๆ เรียนรูก้ ารท�ำงาน จิตอาสาของเด็กๆ ตัง้ แต่อายุยงั น้อย..... ขออนุโมทนา สาธุกบั เด็กหญิงทีอ่ ดึ สุดๆ ในภาพนีด้ ว้ ยค่ะ... เธอออก ภาคสนามเรื่องการจัดการขยะถึง ๘ สนามในระยะ เวลา ๑ ปีที่ผ่านมาค่ะ สาธุ...สาธุ... สาธุ... :D 19


น�้ำใจนักกีฬา เรื่อง : ครูอ๊อด-วัฒนา อ่อนค�ำ หัวหน้าสาระพละศึกษา, ครูแสบ-อดุลย์ สืบดี, ครูเปิ้ล-ลักษณาวดี จงวัฒนา ครูสาระพลศึกษาอนุบาล

น�ำ้ ใจนักกีฬา

ผม.....ก็เป็นอีกคนหนึ่งที่เกิดในรัชกาลที่ ๙ ตั้งแต่เด็กจนโต ขึ้นมาถึงปัจจุบันนี้ กิจกรรมที่ชื่นชอบและปฏิบัติเรื่อยมา คือ การเล่นกีฬา โดยเฉพาะกีฬาฟุตบอลจะชื่นชอบเป็นพิเศษ การเล่นฟุตบอลในช่วงแรกๆของผมนั้น ผมจะท�ำทุกวิถี ทางเพื่อให้ทีมของตนเองชนะ โดยไม่ค�ำนึงถึงอะไรทั้งสิ้นแม้ กระทั่งสัจธรรมตามความเป็นจริงจากการเล่นฟุตบอล (มี ชนะ,แพ้,เสมอ) ผลที่ตามมาคือ ความผิดหวัง เมื่อทีมของผม เองแพ้ ตนเองเกิดอารมณ์(โกรธ,อิจฉา) ขาดความยั้งคิด ขาด สติปัญญาที่จะแก้ไขปัญหา ไม่ฟังใคร มั่นใจตนเองมากเกิน ไป เพื่อนๆก็ทยอยตีตัวออกห่าง วันหนึ่งในโรงเรียนที่ผมเรียนอยู่ (ช่วงมัธยม) มีการจัด นิทรรศการวันพ่อ (๕ ธ.ค.) ได้อ่านบทความตอนหนึ่ง ในพระบรมราโชวาท ว่า “ การกีฬานั้น ย่อมเป็นที่ทราบกันอยู่ทั่วไปแล้วว่า เป็นปัจจัยในการบริหารร่างกายให้แข็งแรง และฝึกอบรม จิตใจให้ผ่องแผ้ว ร่าเริง รู้จักแพ้และชนะ ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน มีการให้อภัยซึ่งกันและกัน สามัคคีกลมเกลียวกัน อย่างที่เรียกว่า มีน�้ำใจเป็นนักกีฬา “ เมื่ออ่านบทความดังกล่าวแล้ว ผมได้ย้อนกลับมาทบทวน ดูพฤติกรรมของตนเองในการเล่นฟุตบอลที่ผ่านมาต้องร้อง อ๋อ เป็นอย่างนี้นี่เอง ปัญหาที่เกิดขึ้น มันมีค�ำตอบอยู่ในบทพระบรมราโชวาทเกือบทั้งหมด ตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นมากระทั่งทุกวันนี้ได้ เดินตามรอยพ่อ ยึดเอาพระบรมราโชวาทเป็นคติ แนวทางตลอดมา ผมมีความสุขมากในการเล่นฟุตบอล ผมมีเพื่อน มีสุขภาพ ที่แข็งแรง และสิ่งดีๆตามมาอีกมากมาย ผมรักในหลวงมากครับ ครูอ๊อด-วัฒนา อ่อนค�ำ หัวหน้าสาระพลศึกษา 20

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙


ภาพ : ครูเหม-เหม อุตรพันธ์ สื่อสารองค์กร

ความประทั บ ใจต่ อ พระบรมราโชวาทที่ แ ทรกค� ำ สอนของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ พอได้อา่ นแล้วรูส้ กึ มี ก�ำลังใจทีจ่ ะต่อสู้ และลุกเดินต่อไป ดังพระราชด�ำรัสทีพ่ ระองค์ ท่านกล่าวไว้ว่า “ชาติไทยเป็นชนชาตินกั รบมาแต่โบราณกาล ได้ชอื่ ว่า เป็นผู้กล้าหาญยืดหยัดต่อสู้อุปสรรคทุกอย่างโดยไม่ยอม ถอย ทั้งมีเมตตากรุณาเห็นอกเห็นใจผู้แพ้มีจิตใจเป็น นั ก กี ฬ าโดยแท้ จ ริ ง เราทั้ ง หลายเป็ น ผู ้ สื บ สายมาแต่ บรรพบุรษุ จึงสมควรพยายามฝึกฝนตนเองให้มคี วามแข็ง แรง ถึงพร้อมด้วยการเป็นนักกีฬาให้สมกับที่มีเลือดเป็น นักรบและสามารถรักษาความเป็นไทยของประเทศชาติ สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดส�ำหรับนักกีฬาคือ การเอาชนะใจตนเอง และชนะใจของคูแ่ ข่งขัน และเช่นเดียวกัน ชนะใจของผูท้ มี่ าชม การแข่งขันด้วย” รู้สึกประทับใจมากครับ ครูแสบ-อดุลย์ สืบดี พลศึกษาอนุบาล

ครูเปิ้ลเกิดในสมัยรัชกาลที่ ๙ ซึ่งก็คงเหมือนกับทุกๆคนที่เห็น ในหลวงรัชกาลที่ ๙ พระองค์ทา่ นทรงงานไปตามทีต่ า่ งๆทัว่ ทุก พืน้ ทีบ่ นแผ่นดินไทย สงสัยจังว่าท�ำไมพระองค์ทา่ นถึงได้ทรงมี พระก�ำลังวังชาเดินได้เป็นสิบๆกิโลเมตร ไม่เคยเห็นพระองค์ ท่านทรงเหนื่อย ทรงท้อ ทรงบ่น ถ้าเป็นเราๆคงเลิกท�ำไปนาน แล้ว ทีพ่ ระองค์ทา่ นทรงมีพระก�ำลังได้ขนาดนีเ้ พราะว่าพระองค์ ท่านทรงดูแลร่างกาย ทรงเล่นกีฬาและออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำ พระองค์ท่านทรงเห็นความส�ำคัญของการออกก�ำลังกาย ซึ่ง พระองค์ท่านทรงมีพระราชด�ำรัสที่แสดงให้เห็นถึงพระราช ปณิธานในเรื่องการออกก�ำลังกายว่า “การออกก�ำลังกายนัน้ ถ้าท�ำน้อยไปร่างกายและจิตใจ ก็จะเฉา แต่ถา้ ท�ำมากไปร่างกายและจิตใจก็จะช�ำ้ การออก ก�ำลังกายแบบมีระบบ ท�ำให้รา่ งกายแข็งแรงตลอดเวลา...” ท�ำให้ตัวครูเปิ้ลได้น้อมน�ำมาฝึกฝนทั้งต่อตัวเองและเด็กๆ ชาวทอสีให้มรี า่ งกายและจิตใจทีส่ ดใส เบิกบาน มีความอดทน เหมือนพระองค์ท่าน ครูเปิ้ลสัญญากับตัวเองว่าจะน้อมน�ำค�ำ สอนของพระองค์ท่าน เพื่อมาปรับปรุงตนเองและต่อเด็กๆ ให้ดีที่สุด ครูเปิ้ล-ลักษณาวดี จงวัฒนา พลศึกษาอนุบาล

21


ค�ำถามนี้...ช่วยกันตอบ

เรื่อง / ภาพ : ครูเหม-เหม อุตรพันธ์ สื่อสารองค์กร

ครั้งแรกที่รู้จักในหลวงรัชกาลที่ ๙

รูจ้ กั ในหลวงครัง้ แรกจากคุณพ่อประมาณ ๒-๓ ขวบจากที่บ้าน คุณพ่อเคยบอกผม ว่าในหลวงเป็นคนดี ตอนดูขา่ วในโทรทัศน์ ก็เห็นข่าวในหลวงทรงช่วยเหลือประชาชน ผมประทับใจในหลวงเรื่องกีฬา ชอบเล่น ฟุตบอลเป็นทีมได้ความสามัคคี ที่ชอบ เล่ น กี ฬ าเพราะมี ใ นหลวงรั ช กาลที่ ๙ เป็นแรงบันดาลใจจากกีฬาเรือใบ อยาก เล่นกีฬาเก่งเหมือนในหลวง ด.ช.ปริชญ์ วงศ์โอสถพานิช (พีท) ป.๓/๒

รู้จัก ในหลวงครั้งแรกตอนที่ ห นู เห็ น รู ป ท่านในหนังสือพิมพ์คะ่ แล้วทีนหี้ นูกถ็ าม คุณแม่ว่า ท่านคือใครหรือคะ คุณแม่ ตอบว่าในหลวงค่ะ หนูเลยถามต่อว่า ในหลวงในประเทศไทยมีกี่พระองค์แล้ว คุณแม่ตอบว่ามีมาหลายองค์แล้ว หนูก็ ถามต่อว่าท่านเป็นรัชกาลที่เท่าไร แม่ ตอบว่ารัชกาลที่ ๙ ค่ะ หนูประทับใจในหลวงท่านตรงที่ว่าท่าน ทรงดนตรี แ ละมี อั จ ฉริ ย ภาพทางด้ า น ดนตรี หนูชอบเล่นเปียโน หนูเห็นท่าน ทรงเปียโน หนูก็เลยชอบเปียโนค่ะ ด.ญ.ณชนก วิภานุรัตน์ (เอวา) ป.๓/๒

22

ภาคเรียนที่ ๒

รู้จักในหลวงครั้งแรกที่โรงเรียนทอสีครับ ในวันพ่อ ก็ได้รู้ว่าท่านเป็นใครท่านทรง ท�ำอะไรให้ประชาชนบ้าง ภูมิใจที่อยู่ใน ประเทศไทยที่ มี ใ นหลวงเป็ น พระมหา กษัตริย์ ผมประทับใจในพระอัจฉริยภาพทางด้าน กี ฬ าของในหลวง ท่ า นทรงเคารพกฎ กติกาอย่างยิ่งครับ ในเหตุการณ์หนึ่งที่ ในหลวงทรงแข่ ง เรื อ ใบแล้ ว ไปชนทุ ่ น ท่านทรงแล่นเรือกลับมาโดยไม่มใี ครเห็น เหตุการณ์ ก็ประทับใจจากเหตุการณ์ นั้ น ครั บ ในหลวงมี ค วามซื่ อ สั ต ย์ แ ละ เคารพกฎกติกามากครับ ด.ช.อิศศิระ ประภากมล (ฮีโร่) ป.๖/๑

รู้จักในหลวงครั้งแรก ก็คือรู้จักจากทีวีค่ะ แต่ก็ยังไม่รู้จักท่านเพราะเห็นท่านทรง งานหนั กมาก ทรงไม่ เหมื อ นพระมหา กษั ต ริ ย ์ พอมารู ้ อี ก ที ต อนที่ มี ง านใน โรงเรียนก็คืองานวันพ่อค่ะ ด้ า นพระอั จ ฉริ ย ภาพที่ ป ระทั บ ใจก็ คื อ ด้านดนตรี เพราะว่าท่านทรงเป่าแซ็ก โซโฟน แล้วก็ทรงเล่นเปียโน และท่านก็ ทรงพระราชนิ พ นธ์ บ ทเพลงไพเราะ มากมายเลยค่ะ ด.ญ.มาดาธาดา ลิม้ โสภาธรรม (นาน) ป.๕/๑

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

แป๋มรูจ้ กั ในหลวงจากทีพ่ อ่ แม่บอก แป๋ม ก็ไม่แน่ใจว่าเมื่อไร แต่พ่อแม่น่าจะเป็น คนบอกและเห็นท่านในทีวี ในหนังสือพิมพ์ แป๋มประทับใจท่านเพราะว่าท่านทรงเล่น ดนตรีเก่ง แป๋มชอบเล่นเปียโน ชอบเพลง พระราชนิพนธ์ “ยามเย็น” ค่ะ ด.ญ.พาขวัญ พิพัฒน์เมฆินทร์ (แป๋มแป๋ม) ป.๒/๑ รู ้ จั ก ในหลวงครั้ ง แรกเพราะว่ า พ่ อ แม่ คุยกันที่บ้าน ปันนาก็เลยถามพ่อแม่ว่า ในหลวงคื อ ใคร ต่ อ มาก็ เ ห็ น ท่ า นใน หนังสือพิมพ์ ในทีวี ปันนาประทับใจท่าน เพราะว่าท่านทรงเล่นกีฬาเก่ง จึงเป็น แรงบัลดาลใจให้ชอบเล่นกีฬา ปันนาชอบ เล่นแชร์บอล ฟุตบอล กระโดดเชือกค่ะ ด.ญ.ศุทรา บริสุทธิ์ (ปันนา) ป.๒/๑

ผมรู้จักในหลวงครั้งแรกตอนยังเด็กอยู่ ครับ แล้วก็เคยดูพระราชกรณียกิจเกี่ยว กับท่าน คุณแม่เล่าให้ฟังส่วนหนึ่งด้วย ครับ สิ่งที่ประทับใจในตัวท่านก็คือ เกี่ยวกับ ด้านภาษาโดยท่านทรงพูดได้ทงั้ ๗ ภาษา ทีป่ ระทับใจเพราะว่าสามารถน�ำไปใช้ใน ชีวติ ประจ�ำวันได้ และได้เรียนรูภ้ าษาต่าง ประเทศหลายภาษาครับ ด.ช.นรบดี บุญวรพัฒน์ (บัดดี้) ป.๓/๑


ครัง้ แรกทีผ่ มได้เห็นในหลวง ได้เห็นในทีวี ทีท่ า่ นไปช่วยเหลือประชาชน ไปแจกจ่าย เสบียงอาหาร แล้วก็ไปในที่ธุระกันดาร ต่างๆ สิง่ ทีผ่ มประทับใจก็คอื โครงการฝนหลวง ที่ท่านทรงคิดค้นขึ้นมา เพราะน�้ำคือชีวิต ในหลวงถึงให้ความส�ำคัญในเรื่องนี้ครับ แล้วในหลวงก็ได้ขนึ้ เครือ่ งบินฝนหลวงไป ทดลองเลยว่า ถ้าเกิดปล่อยแก๊ซอันนี้ไป ก้อนเมฆจะมีฝนตกลงมาให้เกษตรกร ชาวนาได้ปลูกข้าวปลูกพืชไร่ได้ครับ ด.ช.วรจิต มานะไชยรักษ์ (ตาต้า) ป.๕/๒

ผมรู ้ จั ก ในหลวงครั้ ง แรก เท่ า ที่ ผ มพอ จ�ำได้ ตอนผมอายุ ๔ ขวบคุณพ่อพาผม รับเสด็จท่านที่วังไกลกังวล อ�ำเภอหัวหิน เนื่องในวันคล้ายวันเกิดท่าน เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ครับ ประทั บ ใจในพระอั จ ฉริ ย ภาพด้ า น ฝนหลวงครับ และฝนหลวงก็มีสารเคมี ทั้ง ๘ ชนิดครับ ๒ ชนิดน�ำเข้ามาจาก ต่างประเทศ ต่อมาประเทศไทยก็ผลิต เองได้แล้วครับ ด.ช.ณฐภัทร จิวรัตนวงศ์ (โอม) ป.๒/๒

ตอนหนูอายุประมาณ ๓ ปี หนูได้เข้าเรียน อนุบาล ครูสอนให้รกั ในหลวง แต่หนูไม่เคย เห็นข่าวทีม่ ภี าพพระองค์ยนื แล้วรับสัง่ ว่า ให้รกั พระองค์หรือเคารพพระองค์เลย แต่ เมื่อโตขึ้นมาจึงรู้ว่าที่ประชาชนรักและ เคารพพระองค์นั้นก็เพราะสิ่งที่พระองค์ ทรงท�ำให้ประชาชน โดยไม่หวังสิ่งตอบ แทนใดๆ เลย ซึง่ ผูไ้ ด้รบั ประโยชน์คอื ลูกๆ ทัง้ ประเทศของพระองค์ พระอัจฉริยภาพ ทีป่ ระทับใจ คือ ด้านดนตรี เพราะหนูชอบ ฟังเพลง เพลงที่ในหลวงพระราชทาน ท� ำ นองก็ มี เ พลง ใกล้ รุ ่ ง และ เมนู ไ ข่ ส่วนเพลงพระราชนิพนธ์ที่หนูชอบที่สุด คือ เพลงความฝันอันสูงสุด เพลงๆ นี้ เกิดขึ้นจากพระสุบินของสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ด.ญ.ธนิดา ศุภเวศมานนท์ (อิง) ป.๔/๒

ผมรู้จักในหลวงครั้งแรกตอนอายุน้อย รู้จักท่านในหลายๆ ทาง คือ จากคุณ พ่ อ คุ ณ แม่ บ อก และก็ ดู ใ นโทรทั ศ น์ ดู ในมือถือ และอีกอย่างที่ส�ำคัญผมได้ไป เข้าเฝ้ารับเสด็จของท่าน ผมชอบการท�ำเรือใบของท่าน และท่าน ก็ทรงแข่งได้ที่ ๑ ท่านทรงต่อเรือใบเอง ผมชอบด้านกีฬาโดยเฉพาะเรือใบมาก ที่สุดแล้วครับ ด.ช.ปัณณะ อินทสา (ปัณ) ป.๔/๑

ตอนนั้นมิกกี้ ๔ ขวบ ที่คอนโดมีจัดงาน วันพ่อ มีรูปในหลวงรัชกาลที่ ๙ อยู่ มิกกี้ เลยถามแม่ว่ารูปนี้คือใคร แม่ตอบว่านี่ คือในหลวงรัชกาลที่ ๙ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ เปรียบเสมือนพ่อของแผ่นดิน เปรียบ เสมือนพ่อของคนไทยทุกคน ประทั บ ใจท่ า นในด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ โครงการฝนหลวง เพราะว่าโครงการฝน หลวงช่วยให้ที่แห้งแล้งมีน�้ำแล้วก็พืชก็ ไม่ตายท�ำให้คนมีน�้ำใช้ดื่ม ด.ช.ชินกฤต ตันอนุชิตติกุล (มิกกี้) ป.๒/๒

ผมรูจ้ กั สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ครัง้ แรกตอน ที่ผมยังเด็กอยู่ ครั้งนั้นผมเห็นพระบรม ฉายาลักษณ์ของสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั กับ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ที่ยืนคู่กันอยู่ แล้วผมก็เลยถามคุณพ่อ ว่านั่นเป็นรูปของใคร พ่อก็เลยตอบว่า เป็ น รู ป ของสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว กั บ สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ก็เลยเป็นครั้งแรกที่ผมรู้จักท่านทั้งสอง ในวันนั้นครับ ส่วนพระอัจฉริยภาพที่ผมประทับใจนั้น คือด้านภูมิศาสตร์ ที่แสดงออกมาเป็น โครงการต่างๆ เช่น คลองลัดโพธิ์ แก้มลิง เป็นต้นครับ ด.ช.จักราวุธ อ�ำนาจผ่านศึก (ฟิน) ป.๖/๒ 23


ห้องเรียนพ่อแม่ เรื่อง : แม่เกต-ฐาดิณี รัชชระเสวี (คุณแม่น้องมันดา อ.๑) ภาพ : โรงเรียนทอสี

๗ วิธีการเลี้ยงลูกของสมเด็จย่า

ที่ทรงคุณค่าและควรน�ำมาเป็นแบบอย่าง โรงเรี ย นทอสี ไ ด้ จั ด อบรมเรื่ อ ง เลี้ ย งลู ก แบบสมเด็ จ ย่ า โดย คุณหญิงพวงร้อย ดิศกุล ณ อยุธยา อดีตข้าหลวงในพระองค์ มาร่วมเล่า ประสบการณ์และแบ่งปันค�ำสอนของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือ สมเด็จย่า ของปวงชนชาวไทย ถึงวิธีการเลี้ยงดูลูกของพระองค์ ที่มีทั้ง ความปราดเปรือ่ ง หลักแหลม และมีเป้าหมายทีช่ ดั เจน จนสมควรใช้เป็นแบบ อย่างเป็นอย่างยิ่ง ๑. ลูกไม้ย่อมหล่นไม่ไกลต้น สมเด็จย่าทรงเริ่มจากการเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับลูก ท�ำเป็นต้น แบบในเรือ่ งของการมีวนิ ยั การรักการค้นคว้าศึกษาหาความรู้ การประพฤติตวั ที่ถูกต้องตามท�ำนองคลองธรรม ทั้งหมดนี้คือการตั้งตนเป็นแบบอย่างให้กับ ลูก เพราะเด็กเล็กจะมีพฤติกรรมเลียบแบบจากคนใกล้ชิด เพราะฉะนั้นคุณ พ่อคุณแม่ต้องลองตัง้ ค�ำถามกลับมาทีต่ ัวเองว่า ทุกวันนี้ที่เราอยากให้ลูกเป็น แบบนั้นแบบนี้ แล้วเราล่ะ เป็นแล้วหรือยัง ๒. ตั้งเป้าหมายในการเลี้ยงลูก สมเด็จย่าทรงเป็นพระมารดาที่มีเป้าหมายในการเลี้ยงลูกอย่าง ชัดเจน คือทรงตั้งใจพัฒนาอบรมลูกๆ ให้ดีในทุกๆ ด้าน เพื่อให้เป็นบุคคลที่ ท�ำประโยชน์ให้กบั ชาติบา้ นเมือง ทรงไม่คดิ ถึงประโยชน์ของพระองค์เอง ของ พระโอรส หรือ พระธิดา แต่ทรงมองถึงประโยชน์สว่ นรวมเป็นส�ำคัญ ในปัจจุบนั หลายครั้งที่เราเห็นพ่อแม่ส่งลูกเรียนพิเศษในทุกวิชา โดยที่ไม่ได้ถามลูกว่า อยากเรียนอะไร หรือ พ่อแม่ที่คาดหวังเรื่องผลการเรียนสูงๆ เหล่านั้น คือ การ ตั้งเป้าหมายกับลูก โดยเอาความคาดหวังของตัวเองไปให้กับลูก เราจึงต้อง มองย้อนกลับมาดูใหม่ว่า เป้าหมายที่เราตั้งไว้ หรือ ความคาดหวังนั้น เป็นไป เพื่อใคร เพื่อลูก เพื่อตนเอง หรือ เพื่อคนอื่นๆ ด้วย

24

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

๓. จัดแบบแผนสร้างระเบียบวินยั ตัง้ แต่ลกู ยังเล็ก สมเด็จย่าทรงวางแผนการด�ำเนินชีวติ ให้กบั พระ โอรส พระธิดา ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ เนื่องจากต้อง ทรงเป็นทั้ง “พ่อ” และ “แม่” ในเวลาเดียวกัน ทรง จัดการทุกอย่างเป็นเวลา โดยมีผู้ช่วย คือพระพี่เลี้ยง เพียงหนึ่งคนเท่านั้น เนื่องจากในเวลาที่เด็กยังเล็ก เขาไม่มคี วามรูเ้ รือ่ งขอบเขตของเวลา พ่อแม่จงึ จ�ำเป็น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งจั ด เวลาให้ กั บ พวกเขา เช่ น นอน รับประทานอาหาร เล่น ไปโรงเรียน อาบน�้ำ ออกก�ำลังกาย เป็นต้น สิง่ เหล่านีจ้ ะสร้างวินยั ให้กบั ลูก ซึ่ ง สมเด็ จ ย่ า ทรงเน้ น เรื่ อ งวิ นั ย ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต พระองค์รบั สัง่ ถึงค�ำว่า “ระเบียบวินยั อย่างมีหลักการ” คือ การก�ำหนดขอบเขตของเวลา ในการท�ำกิจกรรม ต่างๆ เพื่อสร้างความสมดุลให้กับชีวิต ซึ่งจะเป็น พื้นฐานที่ส�ำคัญในการเติบโตของเด็กๆ ต่อไป ๔. เล่นอย่างถูกวิธี เมื่อถึงเวลาเล่น จะปล่อยให้พระโอรสและพระ ธิดาเล่นอย่างอิสระ โดยจะทรงให้เล่นกับธรรมชาติ ต้ น ไม้ น�้ ำ ทรงเน้ น ให้ เ ล่ น กั บ สิ่ ง ที่ มี ใ นธรรมชาติ มากกว่าของเล่น ทรงอนุญาตให้พระโอรสเล่นจุดไฟ แต่จะทรงบอกวิธีในการเล่นที่ถูกต้อง เพื่อไม่ให้เกิด อันตราย ผลจากการเล่นที่พระโอรส พระธิดา ได้ทรง เล่นคลุกดินคลุกทราย หรือ ได้ท�ำการทดลองกับ ธรรมชาติเหล่านี้ ส่งผลให้ทั้งสามพระองค์ ได้พัฒนา ความคิดและความสามารถ โดยไม่ทรงรู้ตัว ตัวอย่าง เช่น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างหลุมที่ เกิดจากการปลูกต้นไม้ ตัง้ แต่ยงั ทรงพระเยาว์ ทดลอง ขุดดิน ใส่น�้ำ ปลูกต้นไม้ จนสามารถสร้างแอ่งน�้ำ


ได้ด้วยพระองค์เอง ซึ่งนับเป็นรากฐานที่ดีงามที่ทรงน�ำมาใช้พัฒนา ประเทศชาติ จนถึงทุกวันนี้ การเล่นอย่างถูกวิธี โดยเฉพาะการเล่น กับธรรมชาติ จึงมีความส�ำคัญ ซึง่ เด็กๆ ชาวเมืองยุคใหม่อาจจะขาดไป ๕. ประหยัดอดออมไม่ฟุ่มเฟือย สมเด็จย่าทรงสอนพระโอรส พระธิดาให้รจู้ กั ใช้เงินของขวัญทีท่ งั้ สามพระองค์จะได้มีวันเดียว คือ วันคล้ายวันประสูติ ถ้าพระองค์ใด อยากได้สิ่งใดนอกจากนั้น ต้องทรงเก็บเงินเพื่อซื้อ หรือ ทรงได้รับ อนุญาตให้หนุ้ กัน เพือ่ ซือ้ มาได้ หรือ จะทรงซือ้ ให้กต็ อ่ เมือ่ ต้องใช้ประโยชน์ เช่น แผ่นเสียง ถ้าเป็นเพลงโปรดของ แต่ละพระองค์ จะทรงให้เก็บสตางค์ซื้อเอง แต่ถ้า เป็นเพือ่ การศึกษา เช่น เพลงคลาสสิค จะทรงซือ้ ให้ ๖. เรียนไปพร้อมๆ กับลูก สมเด็จย่าจะไม่เคยเน้นเรื่องคะแนนของพระ โอรส และ พระธิดา แต่ทรงช่วยในทุกขัน้ ตอนของการ เรียน ไม่ว่าจะช่วยท�ำการบ้าน ช่วยศึกษาค้นคว้า จะ ทรงใช้วิธีท�ำให้ลูกดู เพื่อให้ลูกได้ท�ำตาม เช่น ถ้าไม่ทรงทราบเรื่อง ไหน จะต้องไปค้นคว้าจาก Encyclopedia หรือ มีครั้งหนึ่ง พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ต้องทรงท่องกลอนเป็นภาษา เยอรมัน แต่ไม่ทรงโปรดที่จะท่อง สมเด็จย่าทรงไม่เคยเรียนภาษา เ ย อ ร มั น ม า ก ่ อ น ไ ด ้ เ ส ด็ จ ไ ป ห า คุ ณ ค รู เ พื่ อ เ รี ย น ท ่ อ ง ค�ำกลอนนั้นจนคล่อง และน�ำมาท่องให้พระโอรสฟัง ท�ำให้พระโอรส รูส้ กึ ประหลาดใจ และเป็นแรงบันดาลใจ ให้ทรงหันมาเริม่ ท่องกลอน นัน้ การสอนของสมเด็จย่า จึงเน้นทีก่ ระบวนการ หรือ วิธกี ารมากกว่า ค�ำตอบ ท�ำให้พระองค์ รวมถึงพระโอรส พระธิดาทั้งสาม เป็นผู้ที่ทรง รู้อะไร รู้ลึก และ รู้จริง ในทุกๆ เรื่องที่ทรงค้นคว้า ๗. เน้นการพัฒนา EQ มากกว่า IQ ทรงสอนให้ พ ระโอรสพระธิ ด ารู ้ จั ก ความรั บ ผิ ด ชอบ นั่ น คื อ มาตรฐานในการใช้ชีวิต ที่ทรงอบรม เวลาพระโอรส พระธิดา ทรงท�ำ ผิ ด จะทรงเรี ย กมาอธิ บ ายเหตุ ผ ล ให้ เ ข้ า ใจเสี ย ก่ อ น ทรงเน้นในเรื่องการท�ำตัวเป็นคนดี ซื่อสัตย์ มีระเบียบวินัย และ แข็งแรง โดยทักษะเหล่านี้จะเป็นพื้นฐานในการ เผชิญกับโลกเมื่อลูกโตขึ้น ทรงมีหลักในการพัฒนา พระโอรส พระธิดา เช่นต้องมีจริยธรรม ซื่อตรง ที่ส�ำคัญคือการเน้นเรื่องการพัฒนาจุดแข็ง โดย ทรงตรัสไว้วา่ ในโลกนี้ ไม่มใี ครดี 100% ต้องหา จุดอ่อน และ จุดแข็งของลูกให้เจอ เพือ่ พัฒนา ในส่วนนั้นได้ตรงจุด นอกจากนี้ ยังทรงเน้นในอีกหลายเรือ่ ง เช่น ต้องเสวยให้หมดจาน ห้ามทิ้งอาหาร หรือ ช่วยให้ลูกได้ช่วยเหลือตัวเองได้ ค�ำสอน ของพระองค์ทรงเป็น Practical Wisdom คือท�ำ ตามได้อย่างง่ายดาย เหล่านี้ เป็นสิง่ เล็กๆ ทีอ่ าจ ลืมไป เพราะมัวไปโฟกัสในสิ่งอื่นๆ ในชีวิต

วิธีการเลี้ยงลูกของสมเด็จย่าเป็นวิธีที่พ่อแม่ทุกคน สามารถน�ำมาปรับใช้ได้อย่างง่ายดายและแน่นอนว่ามี ประสิทธิภาพ โดยสามารถดูได้จากพระโอรส พระธิดา ทัง้ สามพระองค์ ทีเ่ ติบโตมาเป็นบุคคล ทรงคุณภาพทีส่ ดุ สามพระองค์ เท่าที่ประวัติศาสตร์ชาติไทยเคยมีมา

ขอขอบคุณข้อมูลจาก นิตยสาร Custard Dec 2015

25


อ่านแล้วชื่นใจ เรื่อง / ภาพ : ครูเหม-เหม อุตรพันธ์ (สื่อสารองค์กร)

26

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙


27


อ่านแล้วชื่นใจ เรื่อง / ภาพ : ครูเหม-เหม อุตรพันธ์ (สื่อสารองค์กร)

28

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙


29


รู้จักครูทอสี เรื่อง / ภาพ : ครูเหม-เหม อุตรพันธ์ (สื่อสารองค์กร)

ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ผู้ทรงประทับตราตรึงในดวงใจ รู้จักในหลวงรัชกาลที่ ๙ ครั้งแรก คงเป็นภาพต่างๆที่ประทับในจิตใจเราท�ำให้เรา รู้จักพระองค์ท่านโดยไม่รู้ตัว คงเป็นสมัยเด็กๆทุกวันที่ ๕ ธันวา คุณป้าจะพาไปที่บ้าน คุณป้าและก็พาไปพับดอกไม้ดอกบัวจัดดอกมะลิเพื่อที่จะสวดมนต์ให้ในหลวงทุกๆ วันที่ ๕ ธันวาคม ซึ่งภาพเหตุการณ์นั้นเป็นภาพที่สะท้อนให้เราเห็นว่าในหลวงรัชกาล ที่ ๙ ส�ำคัญกับเราอย่างไร มีบุญคุณกับเราอย่างไร ท่านเป็นผู้ที่เสียสละ เมตตา เป็นผู้ที่เป็นแบบอย่างที่ดีมากๆให้กับเรา เลยเหมือนเป็นภาพที่ท�ำให้เราประทับใจ พระองค์ท่านตั้งแต่ตอนนั้นเป็นต้นมา พระอัจฉริยภาพทีร่ สู้ กึ ประทับทีส่ ดุ ก็คงจะเป็นเรือ่ งของการถ่ายภาพ พระองค์ทา่ น จะเสด็จพระราชด�ำเนินไปที่ใดก็ตาม พระองค์ท่านจะมีกล้องถ่ายรูปติดตัวอยู่เสมอ ซึ่งตอนนั้นครูกิ๊กก็ยังไม่ทราบว่าที่พระองค์ท่านถือกล้องไปมีจุดประสงค์อะไรเป็นจุด ประสงค์หลัก แต่จ�ำได้มีคนเล่าว่าครั้งหนึ่งพระองค์ท่านทรงยกกล้องขึ้นมาถ่ายภาพ พื้นที่ที่ว่างเปล่า และอีกไม่กี่ปีต่อมาพื้นที่ตรงนั้นก็กลายเป็นเขื่อน แสดงว่าภาพถ่าย ที่พระองค์ท่านถ่ายทุกภาพย่อมจะมีความหมาย และอีกครั้งหนึ่งที่ประทับใจเลย คือ ดูข่าวในพระราชส�ำนัก พระองค์ท่านเสด็จออกจากโรงพยาบาลเพื่อไปพักที่วังไกล กังวล พระองค์ทา่ นทรงนัง่ รถเข็นและทรงยกกล้องถ่ายภาพขึน้ มาถ่ายภาพประชาชน ทีม่ าเฝ้ารับเสด็จ ภาพนัน้ เป็นภาพทีป่ ระทับใจมากเพราะว่า คนทีถ่ า่ ยภาพทุกคนเมือ่ ย กกล้องขึน้ มาถ่ายภาพเมือ่ ไร แปลว่าภาพนัน้ ต้องมีความหมาย แสดงว่าประชาชนทุก คนก็มคี วามหมายกับพระองค์ทา่ น แล้วครูกกิ๊ ก็เชือ่ ว่าทุกครัง้ ทีพ่ ระองค์ถา่ ยภาพ ภาพ ทุกภาพจะอยู่ในใจของพระองค์ ตอนนี้พระองค์ท่านอาจจะจากพวกเราไปแล้ว แต่ พระองค์ทา่ นก็ยงั ตราตรึงอยูใ่ นใจของพวกเราตลอดไปเหมือนกับภาพถ่ายทีพ่ ระองค์ ถ่ายพวกเราค่ะ

ครูกิ๊ก ชุติภาดา อาจศิริ อนุบาล ๓

ครูแหวว กานต์สินี ศรีเชาวน์นนท์ หัวหน้าช่วงชั้นอนุบาล

30

ภาคเรียนที่ ๒

รูจ้ กั พระองค์ทา่ นครัง้ แรกไม่แน่ใจเลยค่ะ เพราะว่าเท่าทีจ่ ำ� ความได้จะมีพระองค์ ท่านอยูใ่ นความทรงจ�ำอยูแ่ ล้วตัง้ แต่เล็กๆอาจจะเป็นเพราะว่าทางบ้านทางครอบครัว ได้ปลูกฝังหรืออาจจะเป็นเพราะว่าเราได้เห็นการทรงงานของท่านเพราะว่าในถิน่ ทีเ่ กิด ก็คือ จังหวัดเชียงรายในตอนนั้นเป็นจังหวัดที่ยังถือว่าเป็นดินแดนที่อันตราย แต่ พระองค์ท่านก็ยังได้เสด็จไปทรงงานที่นั่นอยู่บ่อยครั้งท�ำให้เราได้รับเสด็จท่านบ่อยๆ ส�ำหรับความประทับใจในพระอัจฉริยภาพของพระองค์ท่านเป็นเรื่องของความ เป็นครูของพระองค์ทา่ น ด้วยอาชีพเราเป็นอาชีพครู ก็มพี ระองค์ทา่ นเป็นแบบอย่างที่ ดีเพราะว่าพระองค์ท่านทรงใช้หลักการท�ำให้เห็นท�ำให้เป็นตัวอย่าง ไม่ใช่สอนแค่ค�ำ พูด อย่างที่ประทับใจมากๆในเรื่องหนึ่งก็คือ สมเด็จพระเทพฯท่านทรงอยากทราบว่า ข้าว ๑ กิโลกรัมมีกเี่ ม็ด พระองค์ทา่ นทรงไม่ปล่อย พระองค์ทา่ นทรงให้ทำ� อย่างไรก็ได้ ให้สมเด็จพระเทพฯได้ไปหาค�ำตอบด้วยพระองค์เอง ท่านก็จะมีวธิ กี ารบอกให้วา่ ข้าว ๑ กระสอบมีกี่กิโลกรัม และก็ทอนมาเป็นส่วนย่อยๆจนกระทั่ง ๑ ช้อน และให้นับ ๑ ช้อนคูณลงไปจนให้หาค�ำตอบให้ได้ จ�ำได้วา่ เท่าทีอ่ า่ นเรือ่ งราว สมเด็จพระเทพฯท่าน ทรงบอกว่าไม่อยากรู้แล้ว พระองค์ท่านทรงบอกไม่ได้ถ้าอยากรู้ก็ต้องท�ำให้ถึงที่สุด นี่ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งที่ท�ำให้เราประทับใจว่าความเป็นครูของพระองค์ท่านเป็นครูทุก กระเบียดนิ้วและเป็นครูที่เป็นต้นแบบของเรา

ปีการศึกษา ๒๕๕๙


ครูนุช กนิษฐา ชูขันธ์ สาระภาษาไทยประถม

รูจ้ กั ในหลวงเมือ่ ตอนนัน้ อายุซกั ประมาณ ๕-๖ ขวบ อย่างแรกเลยทีร่ จู้ กั ก็รจู้ กั จาก เงินทีเ่ ราใช้ทกุ วัน รูจ้ กั จากปฏิทนิ ทีด่ วู นั เวลาวันที่ แต่ทตี่ วั เองจ�ำได้และเริม่ รูส้ กึ ประทับ ใจมากก็คือ ครั้งหนึ่งเมื่อตอนนั้นตัวเองอายุ ๖ ขวบ แล้วมีเรื่องของการสู้รบกัน ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ซึ่งพ่อเป็นคนชอบอ่านหนังสือพิมพ์ให้ฟัง พ่อบอกให้ฟังว่าเขาหยุด การทะเลาะหยุดการรบกันได้เพราะในหลวง ในหลวงสามารถหยุดพฤติกรรมการ ทะเลาะกันได้ พระองค์มบี ญ ุ มากมีบารมีสงู ก็เลยรูส้ กึ ว่าประทับใจ พอตอนโตขึน้ มาก็ เริ่มเรียนหนังสือ เริ่มรู้จักในหลวงมากขึ้นจากการอ่านหนังสือได้อ่านพระราชประวัติ ต่างๆและเป็นคนที่ชอบอ่านเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยเกี่ยวกับในหลวงว่าท่านทรงงานอะไร ท่านท�ำอะไรที่ไหนชอบอ่านมากๆคิดว่ารู้จักในหลวงจากการอ่านหนังสือเหล่านี้ จาก นัน้ พอเริม่ เข้าสูม่ ธั ยมเริม่ มีไฟฟ้าเข้าทีบ่ า้ นเริม่ มีทวี ดี กู จ็ ะรูจ้ กั ในหลวงผ่านจอโทรทัศน์ ว่าพระองค์เสด็จไปทีไ่ หนท�ำอะไรบ้างเวลาเราดูตรงนีเ้ ราจะมีความสุข เคยอ่านหนังสือ เจอในหลวงทรงกล่าวว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพือ่ ประโยชน์สขุ แห่งมหาชน ชาวสยาม” เราดูขา่ วทีพ่ ระองค์เสด็จไปตามทีต่ า่ งๆพระองค์ทา่ นรักษาสัญญามีสจั จะ แล้วรักคนไทยจริงๆ พอได้เริ่มมาเป็นครูเวลามีงานถวายพระพรทุกๆวันที่ ๕ ธันวาคม ก็จะรับอาสาเขียนกลอนเพื่อถวายพระพร ซึ่งท�ำมาตลอดเลย เวลาเราเขียนกลอนจะ ท�ำให้เรารูส้ กึ อยากถ่ายทอดความรักทีเ่ รามีตอ่ พระองค์ทา่ น ทีแรกตัง้ ใจไว้วา่ อยากรับ ปริญญากับในหลวง แต่ในทีส่ ดุ ก็ไม่ได้รบั ปริญญากับพระองค์ทา่ น แต่ได้มโี อกาสรับ เสด็จพระองค์ท่านถึง ๓ ครั้ง ครั้งแรกในงานพระราชทานเพลิงศพของคุณหมออุดม โปษะกฤษณะ ตอนนัน้ ตืน่ เต้นมาก เห็นพระองค์ทา่ นแบบใกล้ๆเลยมองพระองค์แบบ ชื่นชม พระองค์มีบารมีมาก รับเสด็จครั้งที่ ๒ ที่วัดปทุมวนาราม ตอนนั้นพระองค์ไป พระสุหร่าย เพื่อจะส่งพระพุทธรูปไปที่อินเดีย รับเสด็จครั้งล่าสุดที่ในหลวงทรงนั่งเรือ กับพระราชินลี อ่ งแม่นำ�้ เจ้าพระยา ทีโ่ รงพยาบาลพระนัง่ เกล้า ทุกครัง้ ทีร่ บั เสด็จเราจะ ตื่นเต้นและอดทนมากขนาดเราต้องยืนนานๆเปียกฝนเราก็รู้สึกว่าคุ้มที่ได้รับเสด็จ พระองค์ท่าน เพราะว่าพระองค์ท่านทรงท�ำเพื่อคนไทยมากมายโดยที่พระองค์ไม่ได้ คิดถึงความยากล�ำบาก บางครั้งท่านเสด็จไปภาคใต้เราจะดูข่าวซึ่งภาคใต้อันตราย มากแต่ท่านก็ไม่เคยกลัวเพราะประชาชนรอท่านอยู่ เราจะเห็นภาพต่างๆ ให้ครูนุชจึง ชอบสะสมรู ป ในหลวงจากหนั ง สื อ พิ ม พ์ ต ่ า งๆเก็ บ ไว้ เพื่ อ ไว้ ส อนเด็ ก และสอน ตัวเองด้วยว่าพระองค์ท่านเป็นแบบอย่างที่งดงาม พระอัจฉริยภาพด้านใดที่ประทับใจ จริงๆประทับใจในค�ำสอนของพระองค์ทา่ น อย่างเช่น ความเป็นครู เราสอนเด็กแต่วิชาการไม่ได้ เราต้องสอนเด็กเป็นคนดีด้วย อันนีเ้ ป็นสิง่ ทีน่ ำ� มาใช้ในชีวติ ใช้ในอาชีพครูตลอด เวลาสอนเหนือ่ ยๆเราจะคิดถึงภาพ ของในหลวงทีม่ พี ระเสโทหยดทีป่ ลายจมูก จะท�ำให้เรามีกำ� ลังใจมากขึน้ แม้วา่ เหนือ่ ย หรือบางครัง้ ไม่สบายก็ทำ� ให้เราลุกขึน้ มาท�ำงานได้ ประทับใจฝนหลวงทีพ่ ระองค์ทา่ น ทรงคิดได้อย่างไรทีจ่ ะเอาชนะธรรมชาติ และเรือ่ งแก้มลิงคิดไม่ถงึ ว่าท�ำไมน�ำเรือ่ งของ แก้มลิงมาปรับใช้ แสดงว่าพระองค์ท่านทรงศึกษาเรื่องนั้นชัดเจน และด้านของ บทเพลงพระราชนิพนธ์ซึ่งได้น�ำมาสอนเด็กๆได้เรียนรู้ภาษาไทยในเพลงด้วย รูจ้ กั พระองค์ทา่ นจากโครงการเศรษฐกิจพอเพียง สือ่ แขวนต่างๆและธนบัตร โดย เฉพาะธนบัตรทุกใบจะมีพระองค์ท่านคอยเตือนสติเราในการใช้จ่ายเพราะส่วนใหญ่ คนเราจะรู้จักมูลค่าแต่ไม่เห็นถึงคุณค่าของเงินเท่าที่ควร สิ่งที่ประทับใจในพระองค์ท่านก็ในเรื่องของการถ่ายภาพส่วนใหญ่พระองค์ท่าน จะทรงถ่ายภาพเป็นภาพของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และทั้งยังเป็น รูปของพระองค์ที่เสด็จราชการตามสถานที่ต่างๆเพื่อใช้ประกอบการทรงงาน

ครูทราย วิจิตรา พูลสวัสดิ์ วิชา เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว

31


รู้จักครูทอสี เรื่อง / ภาพ : ครูเหม-เหม อุตรพันธ์ (สื่อสารองค์กร)

รู้จักในหลวงครั้งแรกน่าจะเป็นตอนเด็กๆที่จ�ำความได้ก็คือดูโทรทัศน์และก็จะมี ข่าวในพระราชส�ำนักก็จะได้ดูทุกวัน จะเห็นภาพที่ท่านทรงงานไปตามสถานที่ต่างๆ ในประเทศไทยเป็นภาพที่เราซึมซับมาตลอดหลายสิบปี ท�ำให้เรารู้สึกส�ำนึกในพระ มหากรุณาธิคณ ุ อันยิง่ ใหญ่นที้ ที่ ำ� ให้ประเทศไทยเราก้าวหน้าและตัวเราก็อยูอ่ ย่างสุข สบาย ประทับใจในพระอัจฉริยภาพหลายๆด้าน พระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถอย่าง มหาศาลที่ แ บบคนๆหนึ่ ง อาจจะต้ อ งใช้ เ วลาฝึ ก เฉพาะวิ ช าหนึ่ ง สิ บ ยี่ สิ บ ปี ถึ ง จะ เชีย่ วชาญ แต่วา่ ในหลวงท่านทรงเป็นแทบจะทุกสาขาอาชีพ ไม่วา่ จะเป็นวิศวกร เป็น นักวางแผน ไม่รู้จะกล่าวว่าอะไรดี เป็นสิ่งที่มีมากมหาศาลต้องให้พระองค์ท่านเป็น แบบอย่างในการด�ำเนินชีวติ เวลาทีเ่ กิดปัญหาใดๆพระองค์ทา่ นก็เป็นนักแก้ปญ ั หาที่ ยิ่งใหญ่ของโลกคนหนึ่ง

ครูโก้ ปิยะ ตั้งพงศ์ธิติ หัวหน้าสาระภาษาไทย

รู้จักในหลวงรัชกาลที่ ๙ ตั้งแต่เด็กๆ เพราะว่าที่บ้านเราเราจะเห็นรูปๆหนึ่งที่ติด อยู่บนผนังเป็นรูปของใครคนหนึ่งที่ยังเห็นพ่อยกมือไหว้ทุกวัน และก็เป็นรูปที่เราไม่ เคยเห็นตัวจริงของท่านเลย เราเห็นตัง้ แต่เด็กๆเราก็มคี วามสงสัยว่าท�ำไมพ่อต้องยกมือ ไหว้ ท่านคือใคร ค�ำตอบที่เราได้ก็คือในหลวงของเรา ซึ่งนอกจากจะเห็นรูปภาพที่ ติดตามผนังบ้านเราแล้ว หลังจากนั้นมาก็จะเห็นท่านตามสื่อต่างๆซึ่งท�ำให้เราเข้าใจ ว่านี่คือพ่อหลวงของเราพระองค์หนึ่งที่เราเคารพบูชานะคะ ส�ำหรับความประทับใจทีม่ ใี นพระองค์ทา่ นก็ตอบได้เลยว่าประทับใจในการด�ำรง ชีวติ ของพระองค์ทา่ น คนอืน่ อาจจะมีความประทับใจในเรือ่ งของโครงการต่างๆทีท่ า่ น ช่วยเหลือ แต่วา่ ส�ำหรับเราแล้วเราสามารถทีจ่ ะน�ำการด�ำรงชีวติ ของท่านมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ในการด�ำเนินชีวิตได้ ดูจากที่ท่านทรงงานหรือว่าการใช้ชีวิตในครอบครัว ต่างๆท่านไม่มีข้อบกพร่องในเรื่องใดๆเลย ท่านทรงท�ำอย่างเต็มที่ในทุกเวลาไม่ว่าจะ เป็นเรื่องงานหรือเรื่องครอบครัว ซึ่งทุกวันนี้เราก็พยายามที่จะน้อมน�ำเข้ามาสู่ตัวเรา ในฐานะที่เป็นลูกคนหนึ่งของท่าน

ครูตา ลาวัลย์ สภาพญาติ หัวหน้าการเงิน

รูจ้ กั พระองค์ทา่ นครัง้ แรกก็สมัยเป็นเด็กน้อย ตอนนัน้ เป็นเด็ก ป.๑ ครับ ดูสารคดี ในโทรทัศน์อยู่ ดูกบั คุณพ่อคุณแม่ ก็ถามคุณพ่อคุณแม่วา่ ท่านคือใคร ท�ำไมท่านดูสง่า จัง ทีบ่ า้ นก็เล่าให้ฟงั ครับ สิง่ ทีป่ ระทับใจก็คอื ความกตัญญูทพี่ ระองค์ทา่ นมีให้สมเด็จ ย่า รู้สึกว่าท่านทรงงานหนักทุกวันตลอด ๗ วันต่อสัปดาห์ แต่ทุกๆวันพระองค์ท่านก็ จะมีเวลากลับมาหาสมเด็จย่าเพื่อที่จะรับประทานอาหารค�่ำและก็ดูแลสมเด็จย่า ซึ่งตรงนี้ถึงแม้ว่าเหมือนจะเป็นสิ่งเล็กน้อยอาจดูไม่ส�ำคัญแต่กลับเป็นแบบอย่างที่ดี ที่เราอยากน�ำไปปรับใช้กับบุคคลในครอบครัว ไม่อยากจะอ้างว่าไม่มีเวลา ทุกคนมี เวลาอยู่ที่ว่าจะบริหารจัดการเวลาได้ดีแค่ไหนครับ

ครูตูล เสนีย์ นุ่มสุวรรณ สาระคณิตศาสตร์ประถม 32

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙


ครูแพม ชฎาลักษ์ ประทุมชัย เจ้าหน้า ที่จัดซื้อ

ครูปิ๊ง อธิการ ทรัพย์เพ็ญภพ เจ้าหน้าที่วิชาชีวิตครู

รู้จักพระองค์ท่านตอนไหนก็คงตั้งแต่จ�ำความได้ เพราะว่าเราก็เห็นรูปพระองค์ ท่านตั้งแต่เด็กจนโตก็มีรูปอยู่ที่บ้าน และผ่านสื่อต่างๆไม่ว่าจะเป็นหนังสือ ทีวี ข่าวใน พระราชส�ำนักต่างๆทีเ่ ราได้ดเู ราก็เห็นพระองค์ทา่ นผ่านทางทีวี ไม่วา่ จะเสด็จไปทีไ่ หน มีพระราชกรณียกิจอะไร เราก็เห็นตั้งแต่เด็ก แต่เราก็อาจจะยังไม่เข้าใจเท่าไรว่าคือ อะไร แต่พอเราโตขึ้น เราได้เรียนหนังสือที่โรงเรียนคุณครูก็อธิบายยกตัวอย่างสิ่งที่ พระองค์ท่านทรงท�ำให้ประเทศไทย ก็ท�ำให้เราเข้าใจหลายๆอย่างมากขึ้น สิ่งที่ท�ำให้ เรารู้สึกประทับใจมากๆก็คือ เราเป็นคนอีสานเราอยู่ในภาคอีสาน ถือว่าเป็นภาคที่มี ความแห้งแล้งมาก และก็ครอบครัวเรา และคนในหมูบ่ า้ นมีอาชีพหลักก็คอื ท�ำนา พ่อ แม่เราก็เล่าให้ฟังว่าสมัยก่อนมันแห้งแล้งมากๆ ผลผลิตที่ได้ก็อาจจะไม่ได้พอที่จะ เหลือในการเลีย้ งชีพหรือส่งให้ใครในครอบครัวเราเรียนได้ คือพระองค์ทา่ นทรงมาท�ำ ทุกอย่างให้พวกเราจริงๆ ที่บ้านเราก็มีเขื่อนเกิดขึ้นเพื่อจะกักเก็บน�้ำให้เราท�ำนาได้ และก็มโี ครงการต่างๆเกิดขึน้ มากมายไม่วา่ จะเป็นโครงการแก้มลิง หรือว่าฝนหลวงที่ ท�ำให้เรามีน�้ำเพียงพอที่จะท�ำการเกษตรของเรา ท�ำให้วิถีชีวิตของคนในหมู่บ้าน ในจังหวัดเรา หรือในประเทศเรา ดีขึ้นมากจริงๆ ที่บ้านจะบอกว่าที่เราเรียนหนังสือได้ จากการท�ำนาจากการขายข้าวของเรา ถ้าไม่มพี ระองค์ทา่ นชีวติ พวกเราก็คงจะล�ำบาก มากว่านี้ พระองค์ทรงท�ำให้เราเห็น พระองค์ทรงท�ำเพื่อคนไทยท�ำเพื่อประเทศชาติ จริงๆ และก็ไม่มีเหตุผลอะไรที่เราจะไม่รักพระองค์ทา่ น ดีใจที่เกิดมาในประเทศไทย และเกิดมาในรัชกาลที่ ๙

รู้จักพระองค์ท่านจากไหนเป็นครั้งแรกก็คงจะเป็นจากโทรทัศน์ตั้งแต่สมัยเด็กๆ คิดว่าทุกครอบครัวพ่อแม่ทกุ ๆคนก็คงมีโอกาสดูรว่ มกันกับลูกในสมัยก่อน สิง่ ทีไ่ ด้เห็น พระองค์ทา่ นเพราะเรารอทีจ่ ะดูการ์ตนู หลังข่าวซึง่ การทีจ่ ะได้ดกู าร์ตนู หลังข่าวเราต้อง ผ่านการดูขา่ วในพระราชส�ำนักก่อน เราก็จะได้เห็นพระราชกรณียกิจของพระองค์ทา่ น นานัปการ ไม่ว่าท่านจะทรงส่งมอบปริญญาบัตรให้กับนักศึกษา หรือว่าไปช่วยผู้ตก ทุกข์ได้ยากตามถิ่นทุรกันดารต่างๆน�ำมาซึ่งความประทับใจมากมาย ชืน่ ชมในพระอัจฉริยภาพด้านใดของพระองค์เป็นพิเศษนัน้ ก็คอื จ�ำได้วา่ สมัยตอน เด็กๆที่เรียนอยู่ประถม ๖ ประมาณพฤษภาคมปี ๒๕๓๕ ตอนนั้นเป็นเหตุการณ์ครั้ง ส�ำคัญของประเทศไทยอย่างหนึง่ คือ พฤษภาทมิฬ จ�ำได้วา่ มีการประกาศปิดโรงเรียน เลื่อนประกาศการเปิดเทอมออกไป ความรู้สึกตรงนั้นถึงแม้ว่าเราจะเป็นเด็กนะครับ แต่ก็รู้สึกว่ากลัว พ่อแม่ผู้ใหญ่ก็พูดกันต่างๆนาๆว่ากลัวจะซ�้ำรอยกับเหตุการณ์ตุลาปี ๒๕๑๔ หรือเปล่า ประเทศชาติจะเป็นอย่างไร แล้วเราจะอยูก่ นั อย่างไร จนได้มโี อกาส ดูข่าวทีวีว่าในหลวงท่านทรงเชิญพลเอกสุจินดา และพลตรีจ�ำลอง ซึ่งตอนนั้นเป็น เหมือนคู่กรณีเข้ามาพูดคุย และสิ่งหนึ่งที่รู้สึกถึงความเป็นอัจฉริภาพในการสื่อสารก็ คือ “จะมีประโยชน์อะไรถ้าเราจะเอาชนะกันบนกองซากปรักหักพัง ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ชนะไป แต่ว่าประเทศชาติพ่ายแพ้” ซึ่งความรู้สึกนี้เหมือนกับว่าตอนเด็กๆเราก็เข้าใจ ประมาณหนึ่ง แต่ว่าตอนเมื่อโตมาเป็นผู้ใหญ่แล้วเรารู้สึกว่าพระองค์ท่านเป็นแบบ อย่างทีใ่ ห้สติคนได้ดี ก็ไม่มคี ำ� พูดใดๆทีจ่ ะพูดถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์ทา่ น ได้ดีไปกว่านี้แล้วครับ พระองค์ท่านมีพระมหากรุณาธิคุณต่อพวกเรามากมายจริงๆ

33


เด็กทุกคนคือศิลปิน เรื่อง / ภาพ : ครูป่าน-อนิวรรต อัครสุทธิกร

ความประทับใจ ในพระอัจฉริยะภาพด้านศิลปะ ของในหลวงรัชกาลที่9 ผมเชื่อว่าเกือบทุกคนต้องเคยวาดรูปในหลวง ไม่ว่าจะ เป็นการวาดรูปเนือ่ งในวันพ่อในตอนทีเ่ ราเป็นนักเรียน หรือเรียก ว่ารูปที่ทุกคนเคยวาด ส่วนคนศิลปะหรือนักวาดรูปก็จะได้วาด บ่อยหน่อย เช่นตัวครูป่านเองก็ได้มีโอกาสวาดหลายครั้ง ไม่ว่า จะเป็นการวาดเพือ่ ฝึกหัดการวาดใบหน้าบุคคล การวาดเพือ่ ลง สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ หรือวาดเก็บไว้ดูเป็นแรงบันดาลใจ อย่างที่หลายๆท่านทราบกันว่าในหลวงรัชกาลที่9 มีความ สามารถหลายด้าน อีกทัง้ ความสามารถนัน้ ๆยังลึกซึง้ และถือว่า เข้าขัน้ มืออาชีพในแต่ละวงการเลยทีเดียว เช่นดนตรี การเกษตร วิทยาศาสตร์ และอื่นๆรวมถึงศิลปะแขนงการวาดภาพ งานจิตรกรรมแบบ Expression เป็นงานที่แสดงออกถึง ความกล้าหาญ พลังที่จริงแท้ และความคล้อยตามที่เหมาะสม และสมดุลโดยที่ไม่สูญเสียความเป็นตัวเอง ซึ่งเราจะเห็นองค์ ประกอบเหล่านีอ้ ยูใ่ นงานของในหลวงรัชกาลที9่ ทีน่ า่ สนใจคือ งานของท่านถือว่าล�้ำหน้ามากๆในยุคสมัยนั้น และที่น่าสนใจ มากกว่านั้นอีกคือความวิรยะและความมานะของท่านในการ ฝึกฝน ท่านทรงอนุญาตให้ศิลปินท่านอื่นๆแนะน�ำ วิจารณ์ และ ติผลงานของท่านได้อย่างเต็มที่ เพือ่ ทีจ่ ะได้พฒ ั นาโดยทีไ่ ม่ถอื ตัว แม้แต่นอ้ ย แสดงให้เห็นถือความอ้อนน้อมของท่าน อีกสิง่ ทีผ่ ม ประทับใจคือท่านทรงเป็นพระราชามีพระราชกรณียกิจมากมาย แน่นอนเวลานั้นต้องมีน้อยแน่ๆ แต่ก็ยังทรงสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะที่ดีออกมาได้ บ่อยครัง้ ทีเ่ ราจะชอบอ้างว่าไม่มเี วลา เหนือ่ ย แต่เมือ่ ครูปา่ น มองรูปบุคคลหนึ่งที่วาดและติดไว้ที่ผนังห้องท�ำงาน ก็จะพบว่า เรานัน้ ช่างมีเวลามากเสียเหลือเกิน ความเหนือ่ ยทีเ่ รามีเทียบไม่ ได้เลยกับบุคคลในภาพ เหตุใดยังอ้างอยู่เช่นนี้ เมื่อนั้นแล้วจึง หยิบดินสอแล้วเริ่มลงมือทันที

34

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙


35


เรื่องเล่าจากปัญญาประทีป เรื่อง / ภาพ : โรงเรียนปัญญาประทีป

สืบเนื่องจากเหตุการณ์การเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ อันสัน่ สะเทือนหัวใจทุกดวงของคนไทย เมือ่ วันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ ที่ผ่านมา คุณครูวิชาภาษาไทย สังคม และศิลปะ พร้อมด้วยนักเรียนชั้น ม.๑-๖ โรงเรียนปัญญาประทีป จึงรวมใจกันจัดแสดงผลงานทีบ่ รู ณาการระหว่าง ๓ วิชา ใน “นิทรรศการรัชกาลที่ ๙” ซึ่งเป็นนิทรรศการที่ประมวลผลจากการ อ่าน ดู ฟัง ศึกษาพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ พระราชด�ำรัส และพระอัจฉริยภาพของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ จากนัน้ จึงกลัน่ กรองความรูส้ กึ ถ่ายทอด เป็นผลงาน สร้างสรรค์ตามแบบฉบับของตนเองในรูปแบบของงานเขียนและงาน ศิลปะ เพื่อน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดไม่ได้ของท่าน จึงขอคัดเลือกผลงานของพี่ ๆ ปัญญาประทีปทั้งงานเขียน (ตัดตอน) และงานศิลปะมาลงในทอสีสมั พันธ์ฉบับนี้ เพือ่ ให้ทกุ ท่านได้ชนื่ ชมกันค่ะ ตัดตอนมาจากเรียงความเรื่อง “ฝนหลวง” โดย ด.ญ. ศุภิสรา ทองเลิศ (เซร่า) ชั้น ม.๑

ตัดตอนมาจากเรียงความเรื่อง “วันนั้น” โดย นายพีรณัฐ วาจานนท์ (พีพี) ชั้น ม.๔

“... โครงการนีแ้ สดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพรอบด้าน ทัง้ ยังมีสายพระเนตรที่กว้างไกลจึงสามารถคิดค้นโครงการเช่นนี้ ขึ้นมาได้ด้วยพระองค์เอง ซึ่งพระองค์ต้องใช้ความอดทน และ เสียสละความสุขส่วนพระองค์ เพือ่ ทุม่ เทให้กบั พสกนิกรชาวไทย อย่างเราได้อยู่ดีมีสุข จนข้าพเจ้าตระหนักว่า พระองค์ทรงเป็น พระมหากษัตริย์ที่ “รักและห่วงใย” ประชาชนราวกับว่า “เป็น ลูกแท้ ๆ ของพระองค์” ทั้งนี้พระองค์ยังทรงประกอบด้วย ทศพิธราชธรรมอย่างครบถ้วนทุกประการ ประชาชนทุกหมูเ่ หล่า จึงรักและเทิดทูนพระองค์เป็นที่สุด

“... ๑๘.๔๖ น. ความสับสนอลหม่านเกิดขึน้ ในครัวตลอดเวลาทีเ่ ขา เฝ้ามองผ่านกระจกบานใหญ่ โต๊ ะ รอบข้ า งของเขาต่ า งประดั บ ประดาไปด้ ว ย อาหารนานาชนิดสุดจะพรรณนา มองไปทางไหนก็มีแต่ผู้คน มากหน้าหลายตาไม่ซ�้ำกัน ตั้งแต่เด็กน้อยที่ดูเด็กเกินไปกว่าที่ จะเข้าใจโลก จนถึงผู้ใหญ่วัยกลางคนที่ดูจะเครียดจากการ ท�ำงานมาอย่างเหน็ดเหนือ่ ย ความเครียดสะสมน่าจะท�ำให้เขา ปลดปล่อยทางการสนทนาอย่างออกรสกับเพื่อนฝูง อีกทั้งเต็ม ไปด้วยผู้สูงอายูที่ดูจะ... “เฮ้ย...” เสียงของเพื่อนเขาที่คอยติดตามโทรทัศน์ แบบออนไลน์ขัดจังหวะการนั่งเหม่อของเขา “แถลงการณ์มาแล้ว” เขามองดูนาฬิกาข้อมือ ๑๘.๔๗ น. ภาพที่ทุกคนในกลุ่มเห็นในขณะที่จ้องมองหน้าจอ ขนาดเล็กของโทรศัพท์คือภาพผู้ประกาศข่าวในชุดสีด�ำสนิท ผู้ประกาศข่าวคนนั้นเริ่มพูด “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรม นาถบพิตร” ผู้ประกาศข่าวคนนั้นพูดพระนามเต็มได้ แต่ไม่ควร พูดค�ำต่อจากนั้น “สวรรคต” เงียบ มันเงียบจริงๆ

... จากวันนี้ไปข้าพเจ้าขอตั้งปณิธานว่า จะทบทวนตนเอง ทุก ๆ ครั้ง เวลาเมื่อท้อแท้กับเรื่องอะไร เพราะเราไม่ได้ท�ำอะไร ทีเ่ ทียบได้กบั การทรงงานของพระองค์ทา่ นเลย ทัง้ ๆ ทีพ่ ระองค์ เป็นถึงพระมหากษัตริย์ สามารถใช้ชีวิตได้อย่างสุขสบาย แต่ พระองค์กลับท�ำงานอย่างเหนือ่ ยยากเพือ่ เรา แล้วความเหนือ่ ย ของเรานั้น เทียบไม่ได้กับพระองค์เลยแม้แต่นิดเดียว”

ภาพวาด โดย คิตตี้ ชั้น ม.๓

36

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙


๑๘.๕๐ น. ทุกคนก้มหน้าจ้องมองแต่โทรศัพท์ บรรยากาศรอบข้างเหมือนไฟดับทัง้ ๆ ทีย่ งั มีแสงไฟ จากที่ยังรื่นเริงกลับกลายเป็นหม่นหมอง ผู้คนที่เดินไปมาอยู่ แถวหน้าร้านในตอนแรกก็ดูมีความสุขดี แต่ในตอนนี้ต่างอยู่ กลับตนเองไม่สนใจใคร เพือ่ นของเขาทีม่ ามุงดูแถลงการณ์ถอย กลับไปที่นั่งตนเองรวมถึงตัวเขาด้วย ความอึมครึมมีขีดจ�ำกัด ในที่สุดก็มีคนร้องไห้ออกมา ๒๐.๒๙ น. เขานั่งรถไฟสายเดียวกับทางที่เขามาในตอนกลับ คนแน่นขนัดจนแทบจะไม่มีที่ให้ยืน ไม่มีใครพูดจาหรือแม้ กระทัง่ สบตากัน บ้างก็นงั่ ตาลอย บ้างก็ใส่หฟู งั เพือ่ ฟังเพลง ส่วน ตัวเขาเลือกทีจ่ ะยืนอยูเ่ ฉย ๆ ไม่เล่นโทรศัพท์หรือท�ำอะไรทัง้ สิน้ เพราะเพียงแค่สิ้นประโยคแรกของแถลงการณ์ก็ท�ำให้เขาท�ำ อะไรไม่ถูกตั้งแต่นั้น การที่เขาเดินขึ้นรถไฟถูกขบวนเป็นเพราะ สัญญาเก่า ส่วนความคิดและสติหลุดลอยไปพร้อมกับคนไทย ทั้งประเทศ ตลอดการเดินทางกลับมีคนร้องห่มร้องไห้อยู่เป็น ระยะ แต่มักจะพยายามให้คนอื่นไม่เห็นเพราะอับอาย ถึงแม้ จะกลัน้ น�ำ้ ตาได้แต่เสียงสะอึกสะอึน้ ยังคงได้ยนิ อยู่ คนส่วนใหญ่ ที่พอจะมีสติจะพยายามเปิดโทรศัพท์เพื่อดูว่าแถลงการณ์นั้น เป็นของจริงหรือไม่ ซึ่งเปิดไปก็เท่านั้นเพราะสื่อต่าง ๆ เตรียม โพสต์ข้อความถวายความอาลัยตั้งแต่แถลงการณ์ยังไม่ออก อากาศ ถ้าเปิดโซเชีย่ ลเน็ตเวิรค์ ในตอนนีก้ เ็ หมือนกับโดนตอกย�ำ้ ความรู้สึกและเหมือนมันตบหน้าเราอย่างจังพร้อมบอกว่า “นี่คือเรื่องจริง” ... ”

ท่ามกลางประชาชน คงมีกษัตริย์พระองค์เดียวที่คุกเข้านั่งคุย กับประชาชนและไปหาประชาชนถึงที่ คงเป็นกษัตริย์พระองค์ เดียวที่ใช้ยาสีฟันจนหมดหลอดบีบแม้กระทั้งหยดสุดท้าย คง เป็นกษัตริยพ์ ระองค์เดียวทีเ่ มือ่ กางเกงขาดแล้วเอาไปปะแทนที่ จะซื้อใหม่ เมื่อมีอะไรที่ข้าพเจ้าบอกตัวเองว่าจะท�ำไม่ได้ ผม มักจะถามตัวเองเสมอว่าแค่นี้น่ะเหรอที่เราท�ำไม่ได้ ดูพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั สิ ท่านท�ำงานหนักกว่าเราหลายเท่านัก แต่ ท�ำไมท่านถึงท�ำได้ ท่านทรงเป็นแบบอย่างที่ดีอันดับหนึ่งในใจ ข้าพเจ้าตลอดไป ข้าพเจ้ากล้าพูดว่าข้าพเจ้าสามารถให้ได้ ทุกอย่างแม้กระทั่งชีวิต ถวายแด่ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ...”

ภาพวาด โดย ป่าน ชั้น ม.๓

ตัดตอนมาจากเรียงความเรื่อง “วันนั้น” โดย นายรุจน์สกุล ศรีสุพรรณราช (ฟ้าคราม) ชั้น ม.๖ ภาพวาด โดย เปียโน ชั้น ม.๑

“... เมื่อมองย้อนกลับมา พระองค์ทรงเป็นแบบอย่างที่ดี อย่างมากส�ำหรับข้าพเจ้า ถึงแม้ขา้ พเจ้าจะเกิดในยุคทีพ่ ระองค์ มิได้แข็งแรงมากแล้ว จึงอาจจะท�ำให้ไม่คอ่ ยได้เห็นถึงพระราช กรณียกิจของพระองค์มากมาย แต่ข้าพเจ้าก็สามารถรู้สึกได้ และรับรู้ว่าพระองค์ทรงรักประชาชนของพระองค์มาก ๆ ไม่มี ใครหรอกที่จะสามารถท�ำเพื่อคนอื่นได้มากเท่าในหลวง ไม่มี ใครหรอกที่ท�ำงานหนักได้เท่าในหลวง ไม่มีใครหรอกที่รัก ประชาชนและประเทศไทยได้มากเท่าในหลวง ไม่มใี ครหรอกที่ จะอดทนได้เท่าในหลวง ไม่มใี ครหรอกทีจ่ ะท�ำได้อย่างในหลวง คงจะมี เ พี ย งไม่ กี่ ค นที่ จ ะสามารถท� ำ ให้ ค นไทย สามารถสามัคคีกันได้ด้วยค�ำพูดเพียงไม่กี่ค�ำ คงจะมีเพียงคน เดียวทีค่ นไทยทัง้ ประเทศยอมให้ได้แม้กระทัง่ ชีวติ คงมีเพียงคน ภาพวาด โดย ตาล ชั้น ม.๖ ภาพวาด โดย ปั้นหยา ชั้น ม.๖ เดียวทีค่ นไทยทัง้ ประเทศยอมเทิดพระบาทไว้เหนือหัว คงมีเพียง คนเดียวที่เป็นศูนย์รวมดวงใจของคนไทยทั้งประเทศ คงเป็น งานเขียนและงานศิลปะทีต่ ดั ตอนและคัดเลือกมานีเ้ ป็นเพียงงานส่วน กษัตริย์พระองค์เดียวของโลกที่มีห้องท�ำงานกลางแจ้งที่กว้าง หนึ ง ่ ของนั กเรียน ท่านสามารถอ่านและชมงานเขียนฉบับเต็มและงานศิลปะ ใหญ่มที งั้ พืน้ ดินและท้องฟ้า คงมีกษัตริยพ์ ระองค์เดียวทีท่ ำ� งาน ที่ได้รับการคัดเลือก ได้ทาง goo.gl/C8DZLJ

37


หน้านิทานอ่านด้วยกัน เรื่อง / ภาพ : แม่น้อย-คีตะวรรณ วิบูลย์สันติพงศ์ (คุณแม่น้องฟ้า ป.๕)

38

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙


39


เปิดหูเปิดตา เรื่อง / ภาพ : แม่รุ่ง-รุ่งนภา ธนะภูมิ (คุณแม่น้องลูกบัว ป.๖)

คือพรของพระราชา จากฟากฟ้าสู่แดนดิน ....ถึงอยู่แคว้นใด ไม่สุขส�ำราญ เหมือนอยู่บ้านเรา ชื่นฉ�่ำค�่ำเช้าสุขทวี...ส่วนหนึ่งจากบทเพลงพระราช นิพนธ์ ล�ำดับที่ ๓๔ “ แผ่นดินของเรา “ ยิ่งท�ำให้รู้ ว่า เราโชคดีมากที่ได้เกิดมา และเติบโตในรัชสมัย ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ของปวงชนชาวไทย ๗๐ปี แห่ง ความร่ ม เย็ น ภายใต้ พ ระบรมโพธิ ส มภาร ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์ผู้เปี่ยมไปด้วยพระเมตตาที่มีต่อ พสกนิกรชาวไทย แม้ในถิน่ ทุรกันดาร จะห่างไกลแค่ ไหนบนผืนแผ่นดินไทยแห่งนี้ มีรอยพระบาทย�ำ่ ไปทุก ที่ เพื่อชี้แนวทางแก้ไข แก้ปัญหาความทุกข์ยากให้ พสกนิกรชาวไทยเสมอมา

40

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

พระปฐมบรมราชโองการในพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ๕ พ.ค. ๒๕๙๓ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เขียนเล่าไว้ในหนังสือ “ตามรอยพระยุคลบาท ครู แห่งแผ่นดิน” ว่า พระองค์ใช้ค�ำว่า ครอง ไม่ใช่ ปกครอง... เพราะครอง เป็นค�ำพูดที่ให้ความเคารพ ความรับผิดชอบ ความเมตตา ความรัก เช่น ครองชีวิตคู่ ครองเรือน หากเป็นปกครอง จะหมายถึงการใช้อ�ำนาจ นี่คือ ความเมตตาที่พระองค์ทรงมีต่อปวงชนชาวไทยตลอดมา ส่วนธรรมะ ที่พระองค์ทรงใช้เพื่อขจัดทุกข์บ�ำรุงสุขให้เราชาวไทยนั้น คือทศพิธราช ธรรม...ด้วยธรรมะของพระราชานี้ พระองค์ไม่ใช่ทรงครองแผ่นดินไทย เท่านั้น แต่ยังคงครองหัวใจพสกนิกรชาวไทยไว้ทั่วทั้งแผ่นดิน เมื่ อ หวนนึ ก ถึ ง วั น เก่ า ๆ ภาพในวั ย เยาว์ ก็ แ จ่ ม ชั ด ขึ้ น มาได้ ทั น ที ครอบครั ว เล็ ก ๆ ของเราอาศั ย อยู ่ ท างภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของ ประเทศไทย เราได้รับรู้ข่าวพระราชกรณียกิจของในหลวงร.๙ ผ่านทาง หนังสือพิมพ์ และทางโทรทัศน์ ทุกๆ คืน เมื่อถึงเวลาชมข่าว ทุกคนใน ครอบครัวของเราจะนั่งรอชมข่าวพระราชกรณียกิจอยู่หน้าโทรทัศน์กัน ทุกวัน ในเวลาเดียวกันนี้เองประชาชนชาวไทยทั่วแผ่นดินไทยนี้ ก็คง เฝ้าชมพระบารมีของพระองค์อยู่เช่นเดียวกัน มีครั้งหนึ่งแม่เล่าให้ฟังว่า เคยไปรอรับเสด็จฯ ในหลวง พระองค์เสด็จ พระราชด�ำเนินเยีย่ มราษฎรที่ จ.อุบลราชธานี ครัง้ นัน้ แม่และคุณยาย พร้อม ด้วยน้าชายซึ่งยังเล็กอยู่มาก มารอรับเสด็จฯ ในหลวง-พระราชินี ...เมื่อ เสด็จพระราชด�ำเนินมาถึง น้าชายก�ำลังร้องไห้เสียงดัง พระองค์มีรับสั่งให้ กางร่มให้ เพราะร้อนจึงร้องไห้จ้า...เรื่องเล่านี้จึงน่าประทับใจ เพราะพระ เมตตาที่พระองค์ทรงมีต่อพสกนิกรของพระองค์อย่างแท้จริง


นอกจากนี้แล้ว ยังจ�ำได้ว่าทุกๆ ปี จะได้อ่านหนังสือ วันเด็ก และได้อา่ นพระบรมราโชวาทพระราชทานเนือ่ งในโอกาส วันเด็กแห่งชาติทุกปี (พระราชทานไว้ระหว่างปีพ.ศ.๒๕๑๕๒๕๓๕) เช่นพระบรมราโชวาทวันเด็กแห่งชาติในปี พ.ศ.๒๕๒๑ มีดังนี้ “เด็กๆ ท�ำอะไร ต้องหัดให้รู้ตัว การรู้ตัวอยู่เสมอจะท�ำให้ เป็นคนมีระเบียบ และคนที่มีระเบียบดีแล้ว จะสามารถเล่าเรียน และท�ำการงานต่างๆ ได้โดยถูกต้องรวดเร็ว จะเป็นคนที่สร้าง ความส�ำเร็จและความเจริญให้แก่ตนเอง แก่ส่วนรวมในอนาคต ได้อย่างแน่นอน” (พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน วันที๑่ ๒ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐) พระบรมราโชวาทนี้ เปีย่ มไปด้วยความห่วงใยทีม่ ตี อ่ เยาวชน ของชาติ หากครอบครัวไทยน้อมน�ำค�ำสอนเหล่านีม้ าปฏิบตั แิ ล้ว ย่อมเกิดประโยชน์ตอ่ ตนเองและสังคมโดยส่วนรวมในอนาคตได้ อย่างแน่นอน เราคนไทยทั่ ว ผื น แผ่ น ดิ น นี้ ต่ า งมี ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจเป็ น หนึ่งเดียว คือความรักที่มีต่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช เรามีรูปที่มีทุกบ้านคือ พระบรมฉายาลักษณ์ ของในหลวงร.๙ และพระราชินี หรือบางบ้านในชนบทห่างไกล จะมีปฏิทินรูปในหลวงและพระบรมวงศานุวงศ์ ที่ได้รับเป็นของ ขวัญจากร้านค้าในวันขึ้นปีใหม่ ประดับบนฝาบ้านไว้กราบไหว้ บูชา บ้านของเราเป็นร้านค้า ทุกๆ ปลายปีจะสัง่ ปฏิทนิ ไว้มอบให้ ลูกค้าเป็นของขวัญปีใหม่ ตอนเด็กๆ จ�ำได้วา่ เวลาแจกปฏิทนิ ทุก คนอยากได้รูปของพระองค์...โดยเฉพาะคนเฒ่าคนแก่ หากเป็น รูปวิวหรือรูปอื่นๆ ลูกค้าไม่ค่อยอยากได้ ดังนั้นในปีต่อมาเราจึง สั่งพิมพ์มากขึ้นเพราะทุกคนจะได้รับปฏิทินภาพในหลวงอย่าง ทัว่ ถึง เพือ่ เป็นสิรมิ งคลของชีวติ ในวันขึน้ ปีใหม่....เคยอ่านพบว่า มีคุณยายคนหนึ่ง ทั้งบ้านมีรูปในหลวงจากปฏิทินเพียง ๑ ภาพ คุณยายแขวนไว้กราบไหว้บชู า ภาพของพระองค์จงึ มีความหมาย และเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจพสกนิกรของพระองค์ตลอดมา และแล้วเสียงเพลงบทหนึง่ ก็ดงั ก้องกังวาน....ผ่านลมหนาว ที่ก�ำลังมาเยือนเมืองในชนบทแห่งนี้ ลมหนาวที่พัดมา แต่พาให้ อุ่นหัวใจได้ทุกปี พร้อมพรปีใหม่ผ่านบทเพลงแห่งความสุข ที่ พ ระองค์ ไ ด้ ม อบให้ พ สกนิ ก รของพระองค์ ทุ ก คน...สวั ส ดี วันปีใหม่พา ให้บรรดาเราท่านรืน่ รมย์ ฤกษ์ยามดีเปรมปรีดชิ์ นื่ ชม ต่างสุขสมนิยมยินดี........ เพลงพรปีใหม่ทเี่ ป็นดัง่ ของขวัญอันแสนพิเศษ บทเพลงพระ ราชนิพนธ์ ล�ำดับที่ ๑๓ ทีพ่ ระองค์ทรงพระราชทานไว้ให้พสกนิกร ชาวไทยมาตั้งแต่เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๔ จ�ำได้ว่าแม่จะเปิดเพลงนี้ทุกๆ วันในช่วงเทศกาลปีใหม่ จนร้องได้คล่องโดยไม่รู้ตัว และไม่รู้ความหมายอันลึกซึ้งของพร อันแสนพิเศษนี้ จนกระทัง่ เติบโตจึงได้เข้าใจถึงความรักทีใ่ นหลวง ทรงห่วงใย และมอบความรักผ่านบทเพลงพรปีใหม่เป็นของขวัญ ให้พวกเราชาวไทยทุกคนมานานแสนนาน (พรวิเศษของพระองค์ นัน้ มีอยูจ่ ริง...ระหว่างทีน่ งั่ เขียนต้นฉบับถึงตอนเพลงพรปีใหม่อยู่ นี้ เมื่อวันที่ ๖ ธ.ค.๒๕๕๙ เวลา๑๕.๑๒ น. ขณะเขียนและเปิดเพ ลงเบาๆ คลอไปด้วย ทันใดนั้นเอง เสียงเพลงพรปีใหม่จากรายการวิทยุรายการหนึง่ ก็ดงั ขึน้ มา อย่างน่าอัศจรรย์....เห็นจะเป็นเพราะว่าไม่มพี รใดจะยิง่ ใหญ่เท่า

พรจากบทเพลงของพระราชาเป็ น แน่ แ ท้ . ..จึ ง ยกมื อ ท่วมหัว กราบระลึกถึงพระคุณของพระองค์..พระเจ้าอยู่หัวของ พสกนิกรชาวไทย) และแล้ว คืนวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ เวลา๑๙.๐๐น ค�ำ่ คืน แห่งการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ของปวงชนชาวไทยก็มาถึง เมื่อทาง ส�ำนักพระราชวังประกาศข่าวการสวรรคตของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช น�้ำตาแห่งความจงรักภักดีที่ มีต่อในหลวงของปวงชนชาวไทยก็ไหลออกมา น�้ำตาแห่งความ อาลัย ทีไ่ หลออกมานัน้ ไม่รวู้ า่ อีกนานแค่ไหน จึงจะเหือดแห้งหายไป ต่อแต่นี้ไปพสกนิกรชาวไทยต้องเข้มแข็ง และน้อมน�ำค�ำ สอนของพระองค์มาใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิต เพราะ พระองค์ได้ทรงจุดเทียนน�ำทาง น�ำความสว่างไสว มาให้ทั่วผืน แผ่นดินนี้ ตลอด ๗๐ ปี ตลอดรัชสมัยของพระองค์ “เราโชคดีมา ตั้ง ๗๐ ปีแล้ว” หรือ “พระองค์ท�ำสิ่งต่างๆ มากมาย พัฒนาไว้ให้ ลูกหลานไทยล่วงหน้าแล้วเป็น ๑๐๐ ปี” ...ค�ำพูดเหล่านีล้ ว้ นเป็น ค�ำปลอบใจที่ดีในยามนี้ ในยามที่คนไทยก�ำลังเสียก�ำลังใจ แต่ เราต้องก้าวผ่านความทุกข์ร่วมกันและอยู่กับปัจจุบันให้ได้...ดั่ง ค�ำสอนในทางพุทธศาสนาที่สอนให้เราอยู่กับปัจจุบัน ในวาระดิถีขึ้นปีใหม่ ๒๕๖๐ หากเราน้อมน�ำค�ำสอนของใน หลวงร.๙ มาเป็นแนวทางการใช้ชีวิต และเริ่มต้นสิ่งดีๆ ในวันปี ใหม่นี้ ต่อแต่นี้ไป...พรปีใหม่ของพระองค์จะยังคงอยู่กับเราชาว ไทยตลอดไปทุกๆ ปี ต่อแต่นไี้ ปเชือ่ ว่าเราคนไทยจะฟัง “เพลงพร ปีใหม่” ในมุมมองทีเ่ ปลีย่ นไป และใช้หวั ใจในการฟังมากขึน้ กว่า เดิม ด้วยระลึกถึงพระองค์ รวมถึงบทเพลงพระราชนิพนธ์ที่ พระราชทานให้ไว้ จะยังดังก้องในหัวใจพสกนิกรชาวไทยตลอด ไป ดร.ภาธร ศรีกรานนท์ (นักดนตรีของพระราชา) เคยเล่าไว้วา่ ในหลวงร.๙ ทรงมีพระราชด�ำรัส “อยากใหัประเทศของเรานีม้ แี ต่ เสียงดนตรี” เราจะมีปฏิทินปีเก่าไว้เพื่อสติ..ให้อยู่กับปัจจุบันและมีพลัง ในการสร้างความดีให้สมกับทีไ่ ด้เกิดมาในรัชสมัยในหลวงรัชกาล ที่ ๙ และปฏิทินวันใหม่ปีใหม่ ในปีนี้จะยิ่งมีความหมายมากขึ้น เพราะเราจะมีสติ...ในการใช้ชีวิตให้มากกว่าเดิม ๑ ปีต่อจากนี้ ไป เราจะกลับมาทบทวนการใช้ชวี ติ และการน้อมน�ำค�ำสอนของ พระองค์ มาปฏิบตั เิ พือ่ เป็นแนวทางในการใช้ชวี ติ ดัง่ พระพรจาก พระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” ที่พระราชทานแก่พสกนิกร เพื่อ เป็นสิริมงคลและใช้ในการด�ำเนินชีวิต “ขอจงมีความเพียรที่ บริสุทธิ์ ปัญญาที่เฉียบแหลม ก�ำลังกายที่สมบูรณ์”

คือพรจากฟากฟ้า ประทานมาให้ชาวไทย ร้อยรักร้อยดวงใจ ร่มเย็นใต้พระบารมี พระองค์จักคงอยู่ คอยเฝ้าดู ท�ำความดี ค�ำสอนองค์ภูมี สถิตไว้ในใจ นิรันดร์ ขอน้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ อันหาที่สุดมิได้

41


รอบรั้ว เรื่อง / ภาพ : ครูทราย-วิลาสินี มีทรัพย์

ด.ช. ยศ ศรีมญ ั จัณทา วัย 11 ปี จากกรุงเทพมหานคร ได้น�ำรูปพระบรมสาทิสลักษณ์ที่ตนเองเป็นคนวาดขึ้น มาด้วย เนื่องจากเป็นสิ่งที่ตั้งใจท�ำเพื่อพระองค์ท่าน “เศร้าใจที่รู้ว่าพระองค์สวรรคต และก็ดีใจที่ได้มี โอกาสเข้ามากราบพระบรมศพ” น้องพูดพร้อมรอย ยิ้ม และที่ยิ้มเพราะคิดว่าท่านคงอยากให้พวกเรายิ้ม อย่างมีความสุขและท�ำวันนี้ให้ดีที่สุด แม้ท่านจะไม่อยู่ กับพวกเราแล้ว

วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ระดับชั้นอนุบาล ๓ ร่วมร้องเพลง พระราชาในนิทาน

ข่าวและภาพจาก คุณชาลินี ถิระศุภะ (Chalinee Thirasupa)

วันที่ ๖ มกราคม ๒๕๖๐ เด็กๆระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ท�ำโบว์ส�ำหรับไว้ทุกข์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ภาพโดย คุณครูหนุงหนิง

42

ภาคเรียนที่ ๒

ปีการศึกษา ๒๕๕๙

วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ คณะผู้บริหาร ครู นักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนทอสี ร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีกับชาวไทยทุกหมู่ เหล่าทั่วประเทศ


คณะครูโรงเรียนทอสีและโรงเรียนปัญญาประทีปร่วม กันร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี ภายหลังการปฏิบัติ ธรรมครูประจ�ำปี ๒๕๕๙

วันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๙ กิจกรรมน้อมร�ำลึกรัชกาลที่ ๙

เด็กนักเรียนและคุณครูโรงเรียนทอสีไปเป็นจิตอาสา แจกอาหารให้กับประชาชนที่มาร่วมสักการะพระบรม ศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช งานเขียน เรื่อง ธ สถิตในดวงใจ ของนักเรียนโรงเรียนทอสี

ภาพโดยคุณครูเปิ้ล คุณครูแนน

43


“ พระราชนิพนธ์เรื่อง พระมหาชนก มีคติธรรมแสดงไว้ว่า การงานใดไม่ท�ำให้จบสิ้นไปด้วยความพากเพียร ก็ไร้ผล เป็นคน ก็ควรพยายามเรื่อยไป ไม่ยอมแท้แท้ ” สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตโต)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.