ล้อมวงกลางลานบ้าน สืบสานธารปัญญา v 5

Page 1

สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน

ล้ อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา อุทัยวรรณ กาญจนกามล

(Institute for Community Empowerment)

ล้อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา

คู่มือปฏิบัตกิ าร

สุ นทรียปรัศนี เริ่มต้นด้ วยการตั้งคาถามทีเ่ สริมสร้ างพลัง ร่ วมสนทนากันอย่างออกรส

ก่ อให้ เกิดการมีส่วน“ร่ วมคิด ร่ วมทา”อย่ างสร้ างสรรค์

ของทีมงาน องค์ กรและชุมชน --------------------------------------------------------------------อุทัยวรรณ กาญจนกามล ผู้อานวยการ สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน 1


สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน (Institute for Community Empowerment)

ล้ อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา อุทัยวรรณ กาญจนกามล

สุ นทรียปรัศนี....... กระบวนการพัฒนาที่ “คนตายแล้ วเสี ยดาย ที่ไม่ ได้ ทา”

แนวความคิดและหลักการ .......ไปยังไงมายังไง? ล้อมวงกลางลานบ้าน สื บสานธารปัญญา มีแนวคิดและหลักการมาจากความเชื่อที่ว่า..... 1. ความรู้ / ประสบการณ์ / ทักษะ/ สติปัญญา/ที่จาเป็ นต้องใช้น้ นั มีอยูแ่ ล้วในตัวคน และสามารถผุดพรายได้ เข้าถึงได้หากมีวิธีการที่ชาญฉลาดในการค้นหา 2. เราสามารถค้นพบ”ปัญญารวมหมู่”ที่น่าอัศจรรย์ได้ดีกว่าการให้แต่ละคนคิด”แล้วเรา มารวมกัน 3. การมีมุมมองที่เป็ น(+) ก่อให้เกิดผล (+) 4. ผลที่ได้จากการใช้พลัง (+) ร่ วมกัน แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ กนั มีพลังการเปลี่ยนแปลงสูง 5. ความเปลี่ยนแปลงในระบบใดหรื อ องค์กรใดก็ตาม จะเกิดขึ้นจาก การมีส่วนร่ วมอย่างแท้จริ ง - ความภาคภูมิใจ เลื่อมใส ศรัทธาในตัวเอง พี่นอ้ งผองเพื่อนและชุมชน แรงดลใจที่จะทาความดี ความต่อเนื่องจากความคิดสู่การกระทา -เมื่อสานึกว่าเรามีความสามารถ ความคิดและการทางานอย่างขันอาสาก็ตามมา 6. ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าผูค้ นกลุ่มเล็ก ๆ ที่ยืนหยัดในพันธสัญญาร่ วมกัน สามารถ เปลี่ยนแปลงโลกได้(Small groups of Committed People can Change the world) “ความชาญฉลาดและสติปัญญาจะผุดพรายได้จากร่ วมกันคุย / คิด ในวิธีการทีใหม่ ๆและหลากหลาย” - อุทยั วรรณ (2543) “เมื่อใดก็ตามที่มีผพ ู้ ดู ......เขากาลังเสนอมุมมองซึ่งจะทาให้ส่วนรวมมีความชาญฉลาดเพิม่ ขึ้น

และเกิดการหยัง่ รู้ตามมาภายหลัง......อย่างน่าพิศวง - อุทยั วรรณ (2549) “แท้จริ งแล้ว ความน่ าอัศจรรย์ของความคิดสร้างสรรค์ ไม่ได้หมายความถึงการสร้างสิ่ งใหม่ ๆ เป็ นหลัก หากแต่เป็ นเรื่ องของ การมองในมุมใหม่ ในสิ่งที่ มีอยู่แล้วแต่ เดิม ต่างหาก” - อุทยั วรรณ (2554) 2


สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน (Institute for Community Empowerment)

ล้ อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา อุทัยวรรณ กาญจนกามล

เวทีชาวบ้ านมีลักษณะเป็ นเช่ นไร? - เป็ นการจัดเวทีง่าย ๆ เช่น ปูเสื่ อนัง่ สนทนาใต้ร่มไม้ วงน้ าชา จนถึง ในโรงแรมที่มีเก้าอี้ - บรรยากาศสบาย ๆ ไม่มีพิธีรีตองให้รู้สึกอึดอัด - ลักษณะกลุ่มย่อย ล้อมเป็ นวง เหมือนวงน้ าชา ร้านกาแฟ จะนัง่ กับพื้น หรื อเก้าอี้ตาม ถนัด (อาจมีน้ าชาสักป้ าน น้ าเปล่า คนโทรับรอง) - ลักษณะกลุ่มย่อย เหมือนวงกาแฟนัง่ บนเก้าอี้ (อาจมีกาแฟ น้ าเปล่า คนโทรับรอง) -จานวนคนมีต้งั แต่ 4-8 คน ต่อ 1 วงสนทนา - อาจมีต้งั แต่ 3 – 300 วง หรื อ 12 – 1,200 คน - มีทีมงาน “คุณเอื้อ” ที่เฉี ยบคม / สามารถ ผู้เอือ้ อานวยการประชุม / “คุณเอือ้ ” ทาหน้ าทีอ่ ะไร?  โอภาปราศรัยต้อนรับ  บอกถึงประเด็นการสนทนาโดยติดใบงานไว้บนโต๊ะที่ทา้ ทาย  บอกกฎกติกามารยาท / หารื อข้อตกลงกันก่อนการประชุม  บอกทิศทางการเคลื่อที่ของกลุ่มที่จะขยับจากวงหนึ่งไปสู่อีกวงหนึ่ง หรื อโต๊ะหนึ่งสู่อีกโต๊ะหนึ่งโดยไม่สบั สน มีความเป็ นระเบียบและมีประสิทธิภาพ แค่รู้เท่ านั้นยังไม่ พอ ต้องนาไปใช้ ด้วย แค่เจตนาดียังไม่ พอ ต้องลงมือทาด้ วย  บอกลักษณะการสนทนาเป็ นการระดม ความคิดที่ สร้างสรรค์ มองในมุมบวก -เกอเต้

ลักษณะของสุ นทรียสนทนา  เริ่ มจากการตั้งคาถามที่เสริ มสร้างพลัง คือ ถามถึงสิ่ งดีที่มีอยูใ่ นตัวของผูส้ นทนา ก่อน เช่น สิ่ งที่ตนเองรู้สึกว่ามีคุณค่า ความสุข ความสามารถ ความสาเร็ จ ความ ใฝ่ ฝัน สิ่ งที่ปรารถนาจะให้เกิดขึ้นในอนาคต  ขอบเขตการสนทนาเริ่ มจากแคบไปหากว้าง อาทิ เรื่ องของตัวเอง ทีมงาน องค์กร ชุมชน จนถึงสังคมใหญ่

3


สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน (Institute for Community Empowerment)

ล้ อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา อุทัยวรรณ กาญจนกามล

 ประเด็นการสนทนา เริ่ มจากสิ่ งที่กลุม่ สนใจ ภูมิปัญญาเดิมของท้องถิ่น วัฒนธรรมของชุมชน ประเพณี เทศกาล  ผูเ้ ข้าร่ วมสนทนาจะพูดคุยและบันทึกการสนทนาตามประเด็นแล้วทิ้งหลักฐานที่ น่าสนใจติดตามและมีศิลปะไว้ที่โต๊ะนั้น เช่นบัตรคา โปสเตอร์ ภาพที่วาดทิ้งไว้ หรื อ ประโยคสาคัญ ๆ โดยใช้ กระดาษสี หลายขนาด ป้ ายผ้าดิบที่มีรูป ถ้อยคา ที่บรรเลงด้วยสีเทียน ปากกาเคมี

แล้ วจะทาได้ ยังไง ? แท้จริ งแล้วสามารถทาได้ในพื้นที่โล่ง ตั้งแต่ ข่วงบ้าน ลานวัด ศาลาประชาคม ห้อง ประชุมอบต. เทศบาล ร้านกาแฟ จนถึงวงน้ าชา และจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีปัจจัยสาคัญ มาประกอบกัน คือ ทีมวิทยากรกระบวนการ (Facilitator) ทาหน้าที่ดาเนินการประชุม 1 มีการตั้ง คาถามที่เป็ นสุ นทรียะและทรงพลัง คาถามที่ก่อเกิดความคิด จุดประเด็น ให้อยากสนทนามีลกั ษณะ จุดประกาย/กระตุน้ สร้างสรรค์  ปลุกเร้า จงเป็ นผูเ้ ปลี่ยนแปลง ในสิ่งที่เราต้องการจะเห็น ดลใจ ในโลกใบนี้ โดนใจ -มหาตมะ คานธี มีสาระ มีคุณค่า 4


สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน (Institute for Community Empowerment)

ล้ อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา อุทัยวรรณ กาญจนกามล

2. มีการสร้ างบรรยากาศและเตรียมที่ทางเอือ้ อานวยต่อการประชุม ทุกคนเท่ าเทียมกัน ไม่ มีใครใหญ่ ใครเล็ก นั่งพืน้ ขัดสมาธิได้ ยิ่งดี ยังไงก็ได้..ขอให้ รู้สึกอบอุ่นใจ รู้สึกอยูท่ ่ามกลางกัลยาณมิตร ไม่เป็ นทางการ จบแล้วจบเลยไม่ ค้างคา รู้สึกปลอดภัย กล้าที่จะพูด ไม่รู้สึกถูกทาโทษ ภายหลังจากพูดอะไรบางอย่างผิด ไม่มีผมู้ ีอานาจค้ าคออยู่ สะดวก สบาย 3.. ที่ประชุมมีการสนทนาอย่ างอารยะ และถ้ อยทีถ้อยฟังกัน” อาศัยสติ / ปัญญา / ความรู้ อยูใ่ นตัวของคู่สนทนา ถือว่าการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ เป็ น ศิลปะชั้นสูง ยิ่งคุยยิ่งออกรส ผุดพรายสติปัญญารวมหมู่ มีการยอมรับ / นับถือกัน - มีการให้ เกียรติ และชื่นชมกันและกัน 4. มีคาถามที่เจาะใจ ปลุกจิตวิญญาณและก่ อเกิดการเสาะแสวงหา  ผูค้ นมาพูดคุยกัน เอาความรู้และประสบการณ์ของตนมาแบ่งปัน  ในคาถามเจาะใจ ปลุกจิตวิญญาณ เป็ น กุญแจดอกสาคัญคือเมื่อค้นพบร่ วมกัน แล้วชื่นชมก็จะเกิดการ“สื บค้นอย่างลึกซึ้ ง”ยิ่งขึ้นไปอีก เขาเหล่านั้นเอา”สิ่ งที่เขารู้มาด้วย “รู้สึก” “คิด / นึก (ซึ่ งมีอยูแ่ ล้วในคาถามบนโต๊ะ) มากเกินกว่านั้นก็คือพลังในการทางานร่ วมกันที่จะเห็นว่ามีความหยัง่ รู้ในมุมมองที่ หลากหลายยิ่งขึ้น 5 มีความอยากรู้อยากเห็นของผู้เข้ าร่ วมประชุม ในสิ่ งที่ไม่เคยได้รู้ได้เห็นจะช่วย เอาชนะการต่อต้านความคิดใหม่และความคิดที่ไม่เหมือนตน

5


สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน (Institute for Community Empowerment)

ล้ อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา อุทัยวรรณ กาญจนกามล

ดังนั้นหน้ าที่ของคุณเอือ้ ที่จะทาให้ การประชุมประสพความสาเร็จคือ 1. วางเป้ าหมายการประชุมให้ชดั 2. จัดบรรยากาศเหมาะสม 3. ทาให้คนอารมณ์แจ่มใส 4. ชักชวนให้ทุกคนมีส่วนร่ วม 5. “เริ่ ม”ด้วยคาถามที่ทรงพลัง ขับประเด็นสนทนาให้ทุกคนรู้ว่าพวกเราใส่ใจจะคุยกัน ในเรื่ องอะไร? 6. เกาะติดและใช้วิธีการเชื่อมโยง / ตกผลึก / หลอมรวม / ความคิด / ที่หลากหลาย 7. ฟังอย่างตั้งใจ / ลุ่มลึก (Silent = Listen) 8. ตรองตรึ กในส่วนที่ได้คน้ พบ ในแต่ละช่ วงการขยับไปสู่ โต๊ะใหม่ จะมีเหตุการณ์ ต่อไปนี้เกิดขึน้ คือ  ผูเ้ ข้าร่ วมสนทนาจะแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ในประเด็นสาคัญที่วางอยูบ่ นโต๊ะ  พวกเขาจะศึกษาสิ่ งที่อยูบ่ นโต๊ะ และใช้ให้เป็ นประโยชน์ในการสนทนา  ผูส้ นทนาจะเริ่ มสนทนา ต่อเนื่องจากกลุ่มที่ทิ้งสาระ หรื อสิ่ งของไว้ให้เมื่อการ สนทนาจบลงก็ทิ้งหลักฐานการสนทนาไว้ที่น้ นั อีก  การนาเสนอทิ้งไว้จะมีลกั ษณะเครื อข่ายความคิดดุจดัง ผึ้งเกาะบนดอกไม้ที่มี เกสร แล้วโบยบินจากดอกหนึ่งไปสู่อีกดอกหนึ่ง นาผงเกสรติดขาไปด้วยทาให้ เกิดการผสมเกสรดอกไม้โดยปริ ยาย

6


สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน (Institute for Community Empowerment)

ล้ อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา อุทัยวรรณ กาญจนกามล

เราคาดหวังผลที่ได้ ว่าอย่ างไร? ความสามารถในการ“ชูความคิดในลักษณะทาให้เกิดการหยัง่ รู้ (Insight) เป็ นละลอก ได้ความคิดใหม่ๆ เกิดขึ้น ไปเรื่ อย ๆ ซึ่งมาจากการตั้งคาถามทั้งสิ้น ในลักษณะดังต่อไปนี้คือ 1. ระเบิดจากภายใน เป็ นถามที่มี เริ่ มจากสิ่ งที่เขารู้ สามารถกล่าวได้อย่าง ภาคภูมิใจ 2. บันดาลใจให้ ร่วมคิด เป็ นมีคาถามระดมความคิด ที่ มาจากสมอง สติปัญญา ความทรงจา และความประทับใจ 3. เนรมิตนวัตกรรม เป็ นคาถามที่ทาให้เกิดความคิดใหม่ ๆ นาไปสู่สิ่งใหม่ที่ ดีกว่าเดิม หรื อเป็ นอุดมคติ 4. เหนี่ยวนาให้ เกิดปฏิบัตก ิ าร เป็ นคาถามที่ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ที่ สามารถออกแบบแล้วนาไปใช้ได้เลย หรื อเป็ นความคิดที่กลุ่มสามารถทาได้เอง มากว่าคิดให้คนอื่นทา

7


สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน

ล้ อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา อุทัยวรรณ กาญจนกามล

(Institute for Community Empowerment)

บทสรุป ของการสนทนาจะทาให้ เกิดคลังแห่ งความคิดที่เรียกว่า “ปัญญารวมหมู่” (Collective Intelligence) เป็ นพัฒนาการ ผ่านกระบวนการกลุ่มที่เรี ยกว่า “สุ นทรียปรัศนี”คาถามที่นาไปสู่การคิด ดี พูดดีและทาดีร่วมกัน กล่าวคือ

ร่ วมค้ นพบ สิ่ งดีแล้วชื่นชม (Discovery)

ร่ วมสร้ างสรรค์

ร่ วมถักทอฝัน

สิ่ งดีเพื่อสั งคม

อย่ างสมศักดิ์ศรี

(Destiny)

(Destiny)

ร่ วมออกแบบ ทางานอย่ างสุ นทรี ยะ (Design)

ผังภาพ 1 วงจรการสนทนา “สุ นทรียปรัศนี” 4 ขั้นตอน ปรับจาก 4 ไซเคิลโมเดลของเดวิด โค เปอร์ริเดอร์และคณะ (1999) Appreciative Inquiry:วิธีคิดใหม่เพื่อพัฒนาองค์กร มนุษย์ไปสู่การเปลี่ยนแปลงในเชิงบวก

8


สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน (Institute for Community Empowerment)

ล้ อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา อุทัยวรรณ กาญจนกามล

ความคิดดีๆ ในวงสนทนาจะไปสู่ การกระทาได้ ด้ วยคาถามของคุณเอือ้ ต่ อไปนี้ 1) สิ่ งที่อยากให้เกิดในกลุ่มเป้ าหมายหรื อ ภาคหุ้นส่วนของเรา คืออะไร? ท่านใฝ่ ฝันอยากจะเห็นอะไรเกิดขึ้นที่ชุมชน ? 2) กลุ่มเป้ าหมายหรื อ ภาคหุ้นส่วนของเรา เป็ นใคร? นักเรี ยน เจ้าของสุขภาพ ผูบ้ ริ โภค อสม. ผูน้ าธรรมชาติ ชาวบ้าน ฯลฯ 3) หากจะให้บรรลุเป้ าหมายจะต้องอาศัยเทคนิค/วิธีการ/กระบวนการ/กลยุทธ์ กลวิธี อะไร? 4) มีใครเข้ามาเกี่ยวข้องในการทางานครั้งนี้บา้ ง? พหุภาคีเป็ นอยูใ่ นส่วนใหน? ภาคีหุ้นส่วนเป็ นใคร? 5) ภาคีหุ้นส่วนต้องปรับเปลี่ยนบทบาทอย่างไรเพื่อทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง? จาก ผูใ้ ห้บริ การ/ ปฏิบตั ิการ/เจ้าของโครงการฯ มาเป็ นผูจ้ ุดประกาย ก่อกระแส ส่งเสริ ม สนับสนุน ที่ปรึ กษา ครู ฝึกและพี่เลี้ยง 6) มีการท้าทายกลุ่มว่าท่านจะเติมเต็มอย่างไรในกลุม่ สนทนาของตนเอง? (ที่เวียนกลับมาแล้วภายหลังการไประดมสมองในกลุ่มอื่นและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้) 7) เมื่อประมวลจากสิ่งที่ปรับเปลี่ยนร่ วมกัน เพื่อนาไปสู่การปฏิบตั ิอย่างแท้จริ ง คาดว่าว่าเจ้าของสุขภาพ หรื อกลุ่มเป้ าหมายจะเป็ นไปตามที่วาดหวังหรื อไม่? (เช่น จะมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรื อไม่? ) 8) ท่านมีความรู้สึกอย่างไรภายหลังการบรรลุเป้ าหมายของการดาเนินงาน ?

9


สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน (Institute for Community Empowerment)

ล้ อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา อุทัยวรรณ กาญจนกามล

ปัจฉิมบท......ด้ วยคาถามชวนให้ คดิ ในวงสนทนา เมื่อยามผู้คนมาพบปะกัน  ผู้ยิ่งใหญ่ มักคุยกันเรื่ อง ความคิดอ่ าน...... เราจะทาอะไรกันดี? (Great people talk about IDEAS)  คนธรรมดา มักคุยกันเรื่ อง ดินฟ้าอากาศ...สั พเพเหระ (Ordinary people talk about THINGS)  คนเล็กคนน้ อย มักคุยกันเรื่ อง คนอื่น.......สุ มหัวนินทา (Small people talk about OTHER PEOPLE) โปรดลองตั้งข้อสังเกตว่า.....ทุกครั้งที่คยุ กัน วงของท่ านจัดอยู่ในแบบใหน?

บรรณานุกรม Coopderrider D., Sorensen P.F.Whitney,D.,&Yaeger,T.F.,(1999). Rethinking Human Organization Toward a Positive Theory of Change., Champaign, IL: Stripe Publishing, L.L.C. Creighton J. L.(2005). The Public Participation Handbook: Making Better Decisions Through Citizen Involvement. San Francisco: Jossie-Bass. Putnam R.D. (2002). Democracies in Flux. New York: Oxford University Press. Smith S (1991). Why no egg? Building competency and self - reliance: a primary health care principle.Canadian Journal of public health,82(1):16-18. Smith S, Pyrch T.(1993). Lizardi AO: Participatory action research for health, World Health Forum, WHO ,Geneva . 14 :319-324. Tandon R. (1981). Participatory research in the empowerment of people, Convergence,14(3): 20-27. Tichy Noel. (2002) The Cycle of Leadership. New York : Harpercollins. 10


สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน (Institute for Community Empowerment)

ล้ อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา อุทัยวรรณ กาญจนกามล

อุทยั วรรณ กาญจนกามล.(2551) การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพย์ของชุมชนเป็ นฐานและ สุนทรี ยปรัศนี เอกสารการเรี ยนรู้ ในหลักสูตรการยกระดับบริ การสาธารณะโดยการมีส่วน ร่ วมของประชาชน ระดับ ก้าวหน้า ลาดับที่ 3.2 สนับสนุนโดยโครงการพัฒนาแห่ง สหประชาชาติ (UNDP)โรงพิมพ์ ส.เจริ ญการ พิมพ์ กรุ งเทพมหานคร , 192หน้า . อุทยั วรรณ กาญจนกามล(2551) การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสิ นทรัพย์ชุมชนเป็ นฐาน คู่มือสาหรับ ผูน้ าการเปลี่ยนแปลงชุมชนร่ วมสมัย เอกสารโรเนียว, 98 หน้า อุทยั วรรณ กาญจนกามล.(2538). วิสยั ทัศน์ในการพัฒนาประเทศเพื่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพของ คนไทย:ความจาเป็ นเร่ งด่วนในสถานการณ์วิกฤต. เอกสารเพื่อการศึกษาและพัฒนา ท้องถิ่น ลาดับที่ 10 โรงสันติภาพพริ้ นท์ , 33หน้า . อุทยั วรรณ กาญจนกามล, Appreciative Inquiry: สุนทรี ยปรัศนี ศิลปะแห่งการตั้งคาถามเพื่อ เสริ มสร้างพลังชุมชน,http://www.scribd.com/full/14353614?access_key=key827yrozmhe4w3d6w9la อุทยั วรรณ กาญจนกามล,Appreciative Inquiry (AI) สุนทรี ยปรัศนี โดย อุทยั วรรณ กาญจนกามล, http://www.scribd.com/full/3949315?access_key=key-1ej1p5js8jxmuzj5agup อุทยั วรรณ กาญจนกามล,.การมีส่วนร่ วมของประชาชนในโครงการสร้างเสริ มสุขภาพชุมชน, http://www.scribd.com/full/4615140?access_key=key-5yov60a3pdgemymtik8 อุทยั วรรณ กาญจนกามล, ผูน้ าการเปลี่ยนแปลงกับ การเสริ มสร้างพลังชุมชน , http://www.scribd.com/full/4442474?access_key=key-134x37jflfjtd1y8dly3 อุทยั วรรณ กาญจนกามลม, การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพย์ชุมชนเป็ นฐานตอนที่ 1, http://www.scribd.com/full/3884951?access_key=key-1ipiqpms9k8rsqovflk7 อุทยั วรรณ กาญจนกามล, การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพย์ชุมชนเป็ นฐานตอนที่ 2, http://www.scribd.com/full/3884227?access_key=key-1jsvj7d26242i2npz0eb อุทยั วรรณ กาญจนกามล, A Globalization Vaccine, http://www.scribd.com/full/3953953?access_key=key-1iy80423qauq3ebkkus6 อุทยั วรรณ กาญจนกามล, Health Promotion for the Marginalized Thai People in the North, http://www.scribd.com/full/7375338?access_key=key-1u9onq3clxbtmpb8qmww อุทยั วรรณ กาญจนกามล, People's Audit: บริ การสาธารณะโดยการมีส่วนร่ วมของประชาชนของ ตารวจที่อาเภอแม่จนั เชี ยงราย, 2548. http://www.scribd.com/full/7454424?access_key=ke2l9fo1g97ide3bgo27fv 11


สถาบันเสริมสร้ างพลังชุมชน (Institute for Community Empowerment)

ล้ อมวงกลางลานบ้ าน สื บสานธารปัญญา อุทัยวรรณ กาญจนกามล

อุทยั วรรณ กาญจนกามล. การศึกษาอย่างมีส่วนร่ วมปฏิบตั ิการเพื่อสร้างเสริ มสุขภาพชุมชน. http://www.scribd.com/full/16806888?access_key=key-1c580a1xtc52uqbfo2mt

12


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.