Asset-Based Community Development(ABCD)

Page 1

การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพยชุมชนเปนฐาน Asset Based Community Development (A B C D)

ตอนที่ 2 คูมือสําหรับผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชนรวมสมัย พัฒนาจากแนวคิดของ 2 นักบุกเบิกทางปญญา John P. Kretzman และ John L. McKnight. ดวยการกาวพนหลมเกาของการพัฒนาแบบดั้งเดิม ที่อาศัยปญหาของชุมชนเปนที่ตั้ง มาสูการคนพบขุมทรัพยทางปญญา ความสามารถ และสินทรัพยชุมชนเปนรากฐานสําคัญ

ชุมชนเขมแข็ง ตองเสริมสรางจากขางใน ดวยมุมมองที่สดใสและสินทรัพยของชุมชน

อุทัยวรรณ กาญจนกามล สถาบันเสริมสรางพลังชุมชน

1


เมื่อเราคิดถึงสิ่งดีๆรวมกัน เมือ่ นั้นพวกเราจะมีความสุขใจ พลังแหงสันติสุขจะเกิดได หากมีใจเปนหนึ่งเดียว การพัฒนาใดๆในชุมชน สังคม หรือประเทศ ที่ใชสินทรัพยชุมชนเปนฐาน จะเปนที่ยอมรับและยั่งยืน หนังสือนีค้ ือคูมือเพื่อการเสริมสรางพลังใหเกิดขึ้นในทุกสังคมที่มคี า เพราะคุณหมออุทัยวรรณ กาญจนกามล ไดอุทิศแรงกายและแรงใจ อีกทั้งมีประสบการณที่ยาวนานในการคลุกคลีกับชาวบาน เพื่อกอกระแสการเสริมสรางพลังชุมชนที่มาจากขางในจิตใจอยางแทจริง หนังสือนี้อานงาย ใชงายและจัดเปนนวัตกรรมสําคัญ ในการเสริมสรางสังคมที่มีคณ ุ ภาพที่นา ภาคภูมิใจ ดร.ถวิลวดี บุรกี ุล 2


การวิเคราะหเปรียบเทียบการพัฒนาชุมชน 2 แบบ การพัฒนาชุมชนดั้งเดิม ใชกรอบคิดและวิธีการมองโดยเอาปญหาเปนตัวตั้ง เมื่อ วิเคราะหผลของการสํารวจปญหาชุมชนทั้งในชนบทและในเมือง ก็จะพบปญหามากมาย หลายดาน ตั้งแตปญหาสังคม ปญหาเศรษฐกิจ ปญหาการเมือง ปญหาสิ่งแวดลอม ปญหา การศึกษา ปญหาสุขภาพ วิถีชีวิตและวัฒนธรรม เมื่อมองลึกลงไปในปญหาแตละดานก็จะยิ่งพบกับความสลับสลับซับซอน อาทิ ความไมรูหนังสือ อาชญากรรมชุกชุม คนติดสารเสพติด โรงงานปลอยน้ําเสีย ปาไมถูก ทําลาย สุขภาพจิตเสือมโทรม คนฆาตัวตาย เด็กถูกละเมิดทางเพศ มีการคามนุษย ฯลฯ การจัดการกับปญหาเหลานี้ตองใชมืออาชีพ ผูที่ถูกระบุวามีปญหากลับตองพึ่งพิง จากคนอื่ น หรื อ คนภายนอกทั้ ง สิ้ น การพั ฒ นาชุ ม ชนส ว นใหญ จึ ง ติ ด หล ม อยู กั บ การ แก ป ญ หา วั น ต อ วั น และนั บ วั น ยิ่ ง วิ ก ฤตเพราะไม ส ามารถใช ม าตรการรองรั บ ได เหมาะสม ทันการณ ผูคนในชุมชนตกอยูในบาวงอุปถัมและการสงเคราะและการบริการ ที่ไมมีวันเพียงพอ

แผนที่ปญหาชุมชน บานเอื้ออาทร

คนตกงาน

อาชญากรรม

เด็กถูกละเมิด แมอายุนอย คน ยากจน

แกงมอเตอรไซค เด็กหนีเรียน

คนปวยโรคจิต

คนอาน หนังสือ ไมออก

คนไรบาน คนติดสารเสพติด

คนไมมสี วัสดิการ

คนฆาตัวตาย

นักเลง หัวไม

ผังภาพที่ 9 แสดงแผนที่ ปญหาและความจําเปนของชุมชน 3


การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพยของชุมชนเปนฐาน ไมไดเพิกเฉย ละเลย ขอเท็จจริงในชุมชนวายังมีความจําเปน ความขาดแคลน แตพยายามชี้ใหเห็นวา พลังแหง ความคิ ด บวกนั้ น มี ผ ลทํ า ให เ กิ ด ผลลั พ ธ ข องการพั ฒ นาที่ ดี ก ว า เพราะการเน น ความสามารถของมนุษย และสิ่งดี ๆรอบตัวเขา สามารถเสริมสรางพลังชุมชนไดมากกวา มีการสรางสรรคสิ่งใหมใหเกิดขึ้น มีบรรยากาศการทํางานที่สดใสรวมกัน ทําใหผูขัน อาสา ในฐานะพลเมือง กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในชุมชนของตนเอง ดังนั้น เมื่อมีการจัดทํา ทําเนียบความสามารถ ความถนัดหรือพรสวรรค ของ ผูคน ในชุมชนเสร็จสิ้นลง สินทรัพยของชุมชนก็สามารถนํามาแสดงได ในแผนที่ซึ่ง จัดกลุมของสินทรัพยหรือขุมพลังไดเปน 3 กลุมใหญไดแก กลุมพรสวรรคของปจเจก ชน ของกลุมที่ทํางานในสถาบัน และกลุมที่ทํางานในสมาคม รายชื่อของกลุมผูคนที่มี ความสามารถ ในดานตางเชน กลุมเยาวชน ในสถาบัน เชนโรงเรียน หรือชมรมตาง ๆซึ่ง จัดอยูในกลุมสมาคมทั้งหลาย ก็จะเผยใหเห็นถึงสิ่งที่เปนศักยภาพมีอยูในชุมชนอยาง หลากหลาย และแตละชนิดของแผนที่สินทรัพยก็จะบอกใหทราบในดานลึกถึงความ เฉพาะดาน ลงไปอีก ที่สําคัญยิ่งก็คือสามารถฉายภาพของสมาชิกชุมชนที่มีพรสวรรคได ชัดเจน และยังชวยดึงดูดความสนใจใหเกิดการทํางานรวมกันของผูกอการดีไดงายขึ้น

แผนทีส่ ินทรัพยหรือขุมพลังชุมชน สถาบันทองถิ่น

ธุรกิจชุมชน

สมาคม

วัด

แมบาน

สตรี

ชางศิลป

ศาลา สหกรณ ประชาคม

โรงเรียน

ชมรม

ศิลปน

หองสมุด

พรสวรรคของสมาชิกชุมชน

เด็ก/เยาวชน

กลุมอาสาสมัคร โรงพยาบาล วิทยุชุมชน

สวนสาธารณะ

ผูสูงอายุ

ภูมิปญญา/ปราชญพื้นบาน/คนชายขอบ กลุม ชวยตนเอง

ธนาคารหมูบาน

กลุมรักดนตรี

องคกรที่ไมหวังผลกําไร

ผังภาพที่ 10 แสดงแผนที่สินทรัพยหรือขุมพลังของชุมชน 4


ประโยชนและความทาทายในการนําความเขมแข็งของชุมชนมาเปนฐาน กระบวนการนําความเขมแข็งของชุมชนมาเปนฐานคิดและทํางานแทนการนําปญหา ความขาดแคลนและความลมสลายของชุมชนมาเปนจุดขายเพื่อ หาทุนสนับสนุนจาก ภายนอก หรือ หาผูอุปถัมภรายใหม ทําใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางนาอัศจรรย

ในสวนของประโยชนมีดังนี้ 1.สมาชิกของชุมชนจะมีความรูสึกภาคภูมิใจในศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิของตนเอง มี ความกระตือรือรนที่จะกระโดดเขามารวมวง ในกระบวนการพัฒนามากยิ่งขึ้น เมื่อเขา ตระหนักวาเขาไดเปนสวนหนึ่งในฐานะเจาภาพในกิจสาธารณะ ไมวาจะเปนการอุทิศ กําลังความคิด กําลังกายหรือกําลังใจก็ตาม 2. ประเด็นของความตองการ ของชุมชนที่ใชเปนจุดเริ่มตน จะนํามาซึ่งความสนใจ ความใสใจและความผูกพัน เนื่องจากทราบดีวาผูรับประโยชนคือชุมชนดวยกันเอง และตอบสนองความตองการของสวนรวม นี่คือการกําหนดมาจาก ประสบการณ ของชุมชนโดยตรง ซึ่งจะมีผลทําใหกระบวนการพัฒนาที่มีคุณลักษณะดังตอไปนี้ 2.1เสริมสรางจากภายใน “ตนเอง ทีมงาน กลุมและชุมชน” (Internalization) 2.2 บรรดาลใจใหรวมกันคิด(Inspiration) 2.3 เนรมิตนวัตกรรม(Innovation) 2.4 เหนี่ยวนําใหเกิดปฏิบัติการ(Implementation) 2.5 วางรากฐานการพัฒนา(Improvement) 2.6 เสริมสรางภูมิปญญา คุณคา และภูมิคุมกัน “ตนเอง ทีมงาน กลุมและ ชุมชน” (Immunity)

5


เราจะสรางสรรคจากสิ่งดี ๆ ที่เคยมีมา หรือจะตั้งหนาตั้งตาแกไขเฉพาะในสิ่งผิด ?

ในสวนของความทาทาย เริ่มตนที่ การจัดเวทีสุนทรียสนทนาในชุมชน สวนประกอบสําคัญของความเปนชุมชนคือการสื่อสารระหวางกันและกัน การ จัดเวทีชุมชนสนทนา กอใหเกิดสัมพันธภาพ ในเชิงอํานาจวาทุกคนเทาเทียมกัน และเมื่อ เริ่มฟงกันมากขึ้นความรูสึกของการมีสวนรวมก็ยิ่งมีมากขึ้นเปนลําดับ ซึ่งสามารถทําให เกิดความเขาใจกันมากขึ้น แมจะมีความคิดไมเหมือนกันก็ตาม การฟงผูที่มีความคิดและ มุมมองที่ไมเหมือนกับเรา ถือไดวาเปนความงดงามของจิตใจ และแทนที่จะเปนความคิด 2 ขั้ว(ทวิคตินิยม)ดังเชนแตกอน ก็จะกลายเปนความคิดที่มากกวา 2 ซึ่งเรียกวาเปนพหุ นิยม ทําใหความเปนประชาธิปไตยในตัวเองและชุมชน กาวหนาไปอีกขั้นหนึ่ง นั่นคือ เห็นความหลากหลายคือความงดงาม กอใหเกิดความสมานฉันทไดงายขึ้น ความทาทายที่ตามมาจึงอยูที่ ผูอํานวยการประชุม หรือวิทยากรกระบวนการ จะ สรางบรรยากาศแหงสมานฉันทและความเปนประชาธิปไตยแบบพหุนิยมไดหรือไม

6


ความทาทายประการตอมาคือ ความเปดเผยและความออนไหวของกระบวนการ ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม ซึ่งถือวาเปนความผุดพรายของวิธีการใหมที่รวมกันคิด และรวมกันฝน เนื่องจากผูคนสวนใหญเคยชินกับการถูกชี้นํา และครอบงํามานาน รูปธรรมธรรมของการมีสวนรวมแบบดั้งเดิมก็คือการระดมมวลชนใหเขารวม ประชุม ฟงการบรรยายใหขอมูล ขาวสารจากทางราชการ ในการทําโครงการตาง ๆ ที่มี การกําหนดอยางสําเร็จรูปแลวจากหนวยเหนือ หรือเบื้องบนโดยปราศการรวมคิดรวม ตัด สินใจจากชุม ชน แลวเปดโอกาสใหมีการซักถามพอเปน พิธีในชวงทายของการ บรรยาย ดังนั้น คนหาสินทรัพยชุมชนและการเริ่มจากสิ่งดีงามของชุมชนจึงเปนกาวยางที่ สําคัญของการพัฒนาชุมชนที่ปรับเปลี่ยนไปสูการเสริมสรางพลังชุมชนซึ่งเปนการเปด โอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในขั้นสูงสุด จึงถือไดวาเปนความทาทายอยางยิ่งตอการ เปลี่ยนแปลงไปสูสิ่งที่ดีกวาในอนาคต ความทาทายที่สําคัญยิ่งประการสุดทายก็คือ แทนการเริ่มตนที่ใชปญหาและความ ขาดแคลนของชุมชนเปนตัวตั้ง การมองที่สินทรัพยของชุมชนโดยเฉพาะอยางยิ่งสิ่งดี งามในวิถีชีวิต วัฒนธรรม และความสําเร็จของชุมชนที่เคนมีมาแตเดิม ตลอดจนมองเห็น ถึงความสามารถ ทักษะ และพรสวรรคที่มีอยูในตัวผูคนในชุมชน อุปมาดั่งการมองเห็น น้ําที่มีอยูในแกว รูคุณคาของน้ําที่มีอยูและใชน้ํานั้นใหเกิดประโยชนสูงสุด แทนที่จะ มองวาน้ําพรองไปครึ่งแกว ขวนขวายหามาเติมจากที่อื่น ความทาทายเชนนี้เปนเรื่องของ การปรับเปลี่ยนทัศนคติในการทํางานเพื่อพัฒนาชุมชนจากภายในชุมชนโดยแท ซึ่ง ผลลัพธที่ดีที่ตามมาก็คือทําใหเกิดพลังสรางสรรคจากชุมชน กอใหเกิดนวัตกรรมของ การมีสวนรวม ซึ่งถือวาเปนการปรับเปลี่ยน กรอบความคิดและวิธีการทํางานพัฒนา ชุมชนอยางมีสวนรวม ที่สอดคลองกัยยุคสมัยและบทบัญญัติที่ตราไวในรัฐธรรมนูญ ฉบับป พ.ศ. 2540 และพ.ศ. 2549

7


ทางเลือกระหวางการใชหลมเกาของปญหา หรือ ใชขุมพลังทางปญญามาพัฒนาชุมชน

การพัฒนาแบบดั้งเดิม ใชปญหาเปนฐาน มองความขาดแคลนของชุมชน สนองตอบตอปญหา มองน้ําพรองไปครึ่งแกว รองรับ สรางวัตถุ พึ่งพิง คนหาความจําเปน เสาะหาบริการมากขึ้น เนนที่ปจเจกชน ใชเงินตรานําหนา โครงการคือคําตอบ รับบริจาค สงเคราะหเปนสรณะ ผูคนคือภาระ

การพัฒนาโดยใชสินทรัพย ของชุมชนเปนฐาน มองสินทรัพยของชุมชน สนองตอบตอโอกาส มองน้ํามีเหลืออยูครึ่งแกว โรมรุก สรางคน พึ่งพา คนหาขุมพลัง เสาะหาบริการนอยลง เนนที่ชุมชนหรือเพื่อนบาน ใชปญญานําหนา ผูคนในชุมชนคือคําตอบ ลงทุนเปนสรณะ ผูคนคือพลัง

8


การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพยของชุมชนเปนฐาน (Asset Based Community Development)

เอกสารชิ้นนี้มีสูตร สําคัญ คือ

สินทรัพยชุมชน + สินทรัพยองคกร = การพัฒนาชุมชนที่อาศัยจุดแข็งของชุมชนเปนฐาน (Community Assets

=

+ Organization Assets

Community Strength Based Community Development)

หรือ

การพัฒนาชุมชนโดยอาศัยสินทรัพยของชุมชนเปนฐาน (Asset Based Community Development)

9


สําหรับนักกิจกรรมที่มีความใสใจกับกระบวนการเรียนรู การจัดการความรู และ การถอดบทเรียนภายหลังจากที่ไดมีประสบการณเรียนรู ตลอดจนการประเมินผลเพื่อ เสริ ม สร า งพลั ง ที ม งาน องค ก รและชุ ม ชนในอนาคต คู มื อ แนะแนวทางในการจั ด กิจกรรมการเรียนรู ตอไปนี้จะเปนดั่งเข็มทิศของการทํางานใหประสพความสําเร็จไดงาย ขึ้น คู มื อ ในการจั ด กิ จ กรรม การคนหาประเด็นของการจัดทําแผนที่ การเรียนรูเรื่อง

ทําเนียบสินทรัพยชุมชน

เพื่อทําใหผูเรียนรูสามารถ คนพบความสนใจ ความตระหนัก ความ ตองการและสรางสัมพันธภาพกับผูรวมงาน ทําใหไดทราบ ลวงหนาในการจัดลําดับความสําคัญ

กิจกรรมนี้ทําเพื่ออะไร?

60 - 90 นาที

ใชเวลาทั้งหมดเทาไหร?

โตะ เกาอี้ ปากกาเคมี กระดาษ โนต กระดาษบัตรคํา กระดาษกาว กระดานติดโปสเตอร

ใชอุปกรณอะไรบาง ?

ตอนที่ตองการสื่อสาร สนทนา แลกเปลี่ยนประสบการณ มุมมอง • กําหนดลําดับความสําคัญ • สํารวจหาประเด็นที่ทาทาย ประเด็นที่ตองการการเปลี่ยนแปลง • หาคําถามรวมศูนย

ใชในตอนใหนไดบาง?

ควรจะรูเกี่ยวกับเรื่องใด มากอนลวงหนา?

หลังจากนี้ควรทําอะไรตอไป?

ประโยชนหรือผลลัพธ ในทางที่ดีคืออะไร?

ทําการบานกอนประชุมอยางดีในเรื่องที่จะสนทนา • พิจารณากอนการประชุมวาอะไรคว รหรือไมควรนํามาสนทนา ไดคําถามที่เสริมสรางพลังทีมงาน • ไดคําถามที่เปนการสืบประเด็น • มีการการวิเคราะหผูมีสวนไดเสีย • ทําการวางแผนปฏิบัติการ ทําใหทราบถึงประสบการณ ความสนใจ ความตองการของชุมชน จะไดทํางานอยางเปนทีม ที่สามารถ ประสพความสําเร็จและยั่งยืน

10


คู มื อ ในการจั ด กิ จ กรรม การเรียนรูเรื่อง

การคนหาคําถามสําคัญ ที่จะใชในการทํางานเสริมสรางพลังชุมชน เพื่อทําใหผูเรียนรู สามารถ คนพบคําถามที่สําคัญ ตามประสบการณ ชุมชน และความสามารถของเขา ทําใหทํางานไดตรงตวามคิด และทิศทางที่ชุมชนตองการ

กิจกรรมนี้ทําเพื่ออะไร?

ใชเวลาทั้งหมดเทาไหร?

30-40 นาที

ใชอุปกรณอะไรบาง ?

โตะ เกาอี้ ปากกาเคมี กระดาษ โนต กระดาษบัตรคํา กระดาษกาว กระดานติดโปสเตอร

ใชในตอนใหนไดบาง?

ตองการใหมีการสื่อสาร สนทนา แลกเปลี่ยนประสบการณ และมุมมอง • คนหาคําถามรวมศูนย • ตอนระดมความคิ ดริ เริ่ ม จุ ด ประกาย โดยไมขัดจั งหวะ ปล อ ยให สมาชิกสนทนาอยางผอนคลาย นอกจากคุมเรื่องประเด็นและเวลา •

ทราบเรื่อง ประเด็นที่จะทํางานรวมกันในอนาคต

ควรจะรูเกี่ยวกับเรื่องใด มากอนลวงหนา?

มีการการวิเคราะหผูมีสวนไดเสีย • ทําการวางแผนปฏิบัติการ • การจัดทําแผนที่สินทรัพยชุมชน

หลังจากนี้ควรทําอะไรตอไป?

ประโยชนหรือผลลัพธในทางที่ดี คืออะไร?

ทําใหผูเรียนรูมีพลังในการทํางานเพราะ เริ่มตนจากคําถามในบริบท ของชุมชนเอง รวมทั้ง ความสนใจ ความตองการของชุมชนจะได ทํางานอยางเปนทีม ที่สามารถ ประสพความสําเร็จและยั่งยืน

11


คู มื อ ในการจั ด กิ จ กรรม การเรียนรูเรื่อง กิจกรรมนี้ทําเพื่ออะไร?

การคนหาสิ่งดีในตัวเองและผองเพื่อน

เพื่อทําใหผูเรียนสามารถ คนพบทั้งตัวเอง และกลุม • สามารถระบุถึงและดึง ความสามารถ ทักษะ และพรสวรรคออกมา จากตนเอง และกลุม ตลอดจนสรางพันธสัญญาที่มีตอกันกอนที่จะ แบงปน ซึ่งกันและกัน แลวนําไปขึ้นทําเนียบสินทรัพยของชุมชน • เพื่ อ ให ผู เ รี ย นรู ได มี โ อกาส ค น พบตนเอง ร ว มกั บ เพื่ อ นพ อ ง ใน บรรยากาศของการเสริมสรางความมั่นใจรวมกัน •

30-45 นาที

ใชเวลาทั้งหมดเทาไหร?

โตะ เกาอี้ ปากกาเคมี กระดาษ โนต กระดาษบัตรคํา กระดาษกาว กระดานติดโปสเตอร

ใชอุปกรณอะไรบาง ?

ใชเปนการอุนเครื่องในทีมงาน “มองโลกดีมีชัยไปกวาครึ่ง” • เพื่อทําใหไดรูคุณคาของกันและกัน • กอนจะมีการขันอาสา แบงปน ควรจะทราบวาใคร มีอะไรดีบาง

ใชในตอนใหนไดบาง?

ควรจะรูเกี่ย?วกับเรื่องใดมากอน ลวงหนา?

ควรทราบเรื่องการกําหนดวิสัยทัศนและ จัดลําดับความสําคัญมากอน

หลังจากนี้ควรทําอะไรตอไป?

กิจกรรมนี้ชวยเปนสปริงบอรดสําหรับการกาวกระโดดไปสูการมอง สินทรัพยของชุมชนไดกวางขวางยิ่งขึ้น โดยเริ่มจากตัวเองกอน ใน การจัดทําแผนที่สินทรัพยชุมชน

ประโยชนหรือผลลัพธในทางที่ดี คืออะไร?

ทําใหผูเรียนรูไดรูคุณคาของตัวเอง และมีพลังในการทํางานอยาง แข็งขัน เพราะเพราะชวยใหไดวิเคราะหตนเองในทางบวก ทราบ ความสนใจ ความตองการของตนเองและชุมชนรวมทั้งมีความมั่นใน ที่จะเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงไดเปนอยางดี • เสริ ม สร า งพลั ง ใจ ไฟชี วิ ต จะได ทํ า งานอย า งเป น ที ม ที่ ส ามารถ ประสพความสําเร็จและยั่งยืน

12


คู มื อ ในการจั ด กิ จ กรรม การเรียนรูเรื่อง

การสื่อสารที่มีประสิทธิผล

เพื่อทําใหผูเรียนรู สามารถรับรูและเขาใจใหขอมูลขาวสาร ที่จําเปนที่จะทํางานใหบรรลุเปาหมายได

กิจกรรมนี้ทําเพื่ออะไร?

30 นาที

ใชเวลาทั้งหมดเทาไหร?

เอกสารประกอบการบรรยาย และ ชุดทําแผนที่ความคิด

ใชอุปกรณอะไรบาง ? ใชในตอนใหนไดบาง?

ควรจะรูเกี่ยวกับเรื่องใดมากอน ลวงหนา?

เมื่อจําเปนตองสื่อสาร สนทนา ทําใหงานเดินรวมกันเปนทีม -

หลังจากนี้ควรทําอะไรตอไป?

ถอดบทเรียนเรื่องผลการทํางานเปนระยะ

ประโยชนหรือผลลัพธในทางที่ดี คืออะไร?

ทําใหสามารถทํางานเปนทีม และประสพความสําเร็จ

13


คู มื อ ในการจั ด กิ จ กรรม การเรียนรูเรื่อง

การรวมหาทางใชสินทรัพยและขุมพลังชุมชน อยางมีคุณคาและไดรับประโยชนสูงสุด

กิจกรรมนี้ทําเพื่ออะไร?

เพื่อทําใหผูคนและกลุมในชุมชน มีการสื่อสาร2ทาง และหาทางใชขุม พลังและสินทรัพยใหเกิดประโยชนสูงสุด ทําใหงานบรรลุเปาหมายได 45 นาที

ใชเวลาทั้งหมดเทาไหร? ใชอุปกรณอะไรบาง ?

ใชในตอนใหนไดบาง?

แผนที่ สิ น ทรั พ ย แ ละขุ ม พลั ง ชุ ม ชน โต ะ เก า อี้ ปากกาเคมี กระดาษ โน ต กระดาษบัตรคํา กระดาษกาว กระดานติดโปสเตอร • • • • •

ตองศึกษาและเรียนรูเรื่องสินทรัพยและขุมพลังหรือตนทุนทาง สังคม ในชุมชนของตนเองอยางถองแท

ควรจะรูเกี่ยวกับเรื่องใดมากอน หนา? หลังจากนี้ควรทําอะไรตอไป ?

ประโยชนหรือผลลัพธ ในทางที่ดีคืออะไร?

เป น ขั้ น ตอนปรึ ก ษาหารื อ ภายในกลุ ม ภายหลั ง จากทํ า แผนที่ สินทรัพยและขุมพลังชุมชน เสร็จแลว ใช ใ นการทํ า ให ส มาชิ ก ของชุ ม ชนได พ บสิ่ ง ดี ง ามในชุ ม ชนของ ตนเองที่มีอยู นํามาชื่นชม ขึ้นทําเนียบ และทําใหมีคายิ่งขึ้นที่สุด ใชเมื่อตองการใหเกิดการขับเคลื่อนชุมชนโดยอาศัยสิ่งที่มีอยูใน ชุมชนเปนลําดับแรก ใชสรางแนวคิดในการพึ่งพากันและกันภายในชุมชน ใชเพื่อการกําหนดและ วางแผนงานอยางมีสวนรวม

ตอ งจั ด บรรยากาศของการชื่ น ชม ยิ น ดี และแบ ง ป น ซึ่ ง จะสร า ง สัมพันธภาพที่ดีใหทีมงานและชุมชน • ตองมีการติดตามและประเมินผลอยางมีสวนรวมเพื่อเสริมสรางพลัง ทีมงาน องคกรและชุมชนดวย • มี ก ารแสดงมุ ทิต าจิต และเฉลิ ม ฉลองในความสํ า เร็ จ และประกาศ เกียรติคุณของผูแบงปนโดยทั่วหนา •

กิจกรรมนี้สามารถทําใหผูเรียนถอยหางจากความคิดในการ ใชปญหาเปนตัวตั้ง และทีมงานเสริมสรางพลังจากภายในชุมชนได

14


คู มื อ ในการจั ด กิ จ กรรม การเรียนรูเรื่อง

การระบุเปาหมายและคนสําคัญในการทํางาน

กิจกรรมนี้ทําเพื่ออะไร?

เพื่อพุงความสนใจไปที่ผูคนที่จะมีผลตอการใหขอมูลขาวสาร ทําใหไดรับ การยอมรับ อาสาเขารวมโครงการ กอใหเกิดอิทธิพลตอกลุม และชุมชน ทําใหงานสะดวก งาย เขาถึงคนและสามารถทําใหบรรลุเปาหมายได

ใชเวลาทั้งหมดเทาไหร?

30นาที

ใชอุปกรณอะไรบาง ?

โตะ เกาอี้ ปากกาเคมี กระดาษโนต กระดาษบัตรคํา กระดาษกาว กระดานติดโปสเตอร

ใชในตอนใหนไดบาง?

• • • • • •

ควรจะรูเกี่ยวกับเรื่องใดมากอน หนา?

ใชเมื่อตองการขับเคลื่อน กอเกิดการมีอิทธิพลทางใจตอผูคน ทําให ผูคน สนใจ เขามามีสวนรวมและใหความรวมมือ วางแผนงาน รณรงค ตองการทราบสถานการณเสี่ยงหรือ ที่ไมยังทราบสถานการณ เพื่อการกําหนดแผนงาน หาผูสนับสนุน หาคนทํางานดวย

ตองรูคน รูงานวาจําเปนตองเขาถึงใคร เครือขานใด เพื่อกําหนดเปาหมาย และกระบวนการทํางาน

หลังจากนี้ควรทําอะไรตอไป?

ตองทราบวาจะใหความสําคัญกับคนเหลานี้อยางไร เขาถึงจิตใจ ความตองการ เพื่อการสรางสัมพันธภาพที่ดี

ประโยชนหรือผลลัพธในทางที่ดี คืออะไร?

เมื่อเสร็จสิ้นกิจการผูเรียนสามารถระบุแกนนํา คนสําคัญ ผูมีสวนไดเสีย ผูสนใจ ผูมีอิทธิพล ผูรับประโยชน จากการทํางาน เพื่อการทํางานรวมกันในอนาคต

15


คู มื อ ในการจั ด กิ จ กรรม การเรียนรูเรื่อง กิจกรรมนี้ทําเพื่ออะไร?

ใชเวลาทั้งหมดเทาไหร? ใชอุปกรณอะไรบาง ?

ใชในตอนใหนไดบาง?

การประชุมเชิงปฏิบัติการอยางมีสวนรวม

เพื่อปรึกษาหารือ ระดมความคิดกอนวางโครงรางของแผนปฏิบัติการ • เพื่อใหผูมีสวนไดเสีย ทุกวัย ความสามารถและวัฒนธรรมสื่อสารกัน • ใหตัดสินใจรวมกันในการกําหนดวิสัยทัศน และจัดลําดับความสําคัญ •

60-90 นาที

โตะ เกาอี้ ปากกาเคมี กระดาดาษบัตรคํา กระดาษกาว กระดานติดโปสเตอร เครื่องเสียง ใชในการกําหนดแผนงานตั้งแตบทบาทคนทํางาน จัดหาอุปกรณ เปาหมาย วิธีการ ประเมินผล และตารางเวลา

ควรจะรูเกี่ยวกับเรื่องใดมากอน หนา?

วิธีการกําหนดเปา หมาย กระบวนการและผลลัพธ

หลังจากนี้ควรทําอะไรตอไป?

การติดตาม และแประเมินผล

ประโยชนหรือผลลัพธในทางที่ดี คืออะไร?

จะไดเตรียมการภายหลังจากวางแผนแลวในเรื่องตาง ๆตั้งแตสิ่งที่ตองจัดหา และการทํางานรวมกันเปนทีมไดอยางมีขั้นตอน และจัดลําดับความสําคัญ

16


คู มื อ ในการจั ด กิ จ กรรม การเรียนรูเรื่อง

การวางแผนปฏิบัติการอยางมีสวนรวม

กิจกรรมนี้ทําเพื่ออะไร?

เพื่อวางโครงรางของแผนงานที่สามารถทําใหบรรลุเปาหมายได

ใชเวลาทั้งหมดเทาไหร?

ไมกําหนดเวลาตายตัว แลวแตวัตถุประสงค เปาหมายและผลลัพธที่ ตองการใหบรรลุ โตะ เกาอี้ ปากกาเคมี กระดาดาษบัตรคํา กระดาษกาว กระดานติดโปสเตอร เครื่องเสียง

ใชอุปกรณอะไรบาง ?

ใชในการกําหนดแผนงานตั้งแตบทบาทคนทํางาน • วางแผนจัดหาอุปกรณ เปาหมาย วิธีการ ประเมินผล และตารางเวลา

ใชในตอนใหนไดบาง?

ควรจะรูเกี่ยวกับเรื่องใดมากอน หนา?

วิธีการกําหนดเปา หมาย กระบวนการ และผลลัพธของโครงการ

หลังจากนี้ควรทําอะไรตอไป?

การติดตาม และประเมินผลอยางมีสวนรวม

ประโยชนหรือผลลัพธในทางที่ดี คืออะไร?

จะไดเตรียมการภายหลังจากวางแผนแลวในเรื่องตาง ๆตั้งแต สิ่งที่ตองจัดหา และการทํางานรวมกันเปนทีม ไดอยางมีขั้นตอน ตามลําดับความสําคัญ

17


กระบวนการและขั้นตอนของการพัฒนาชุมชน โดยอาศัยสินทรัพยของชุมชนเปนฐาน ตอนที่ 1 การคนหาสินทรัพยที่มีอยูในโครงการพัฒนา โครงรางในการคนหาสิ่งสําคัญในโครงการของเรา • ความสัมพันธระหวางโครงการของเรากับกับคนทองถิ่น ความยั่งยืนของโครงการจะมียาวนานเมื่อเกี่ยวของกับคนทองถิ่น ตัวอยาง - ในชุมชนสวนมาก ความสามารถ ทักษะและความสนใจของคนทองถิ่น มักไมไดรับการเอาใจใสดูแล หากแตถูกละเลย ดังนั้น การนําแนวคิดที่ชุมชนทองถิน่ อุดมดวยขุมพลัง และดูที่สมาชิกแตละคน ในชุมชนมีความสามารถ สติปญญา ทักษะและประสบการณ ที่จะมอบใหชุมชน หรือ เรียกสั้นๆวา“พรสวรรค”ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนปจจัยสําคัญที่สามารถเสริมสรางพลังชุมชน ใหเขมแข็งได คําถามตอไปนี้จะใชวัด สัมพันธภาพระหวางโครงการของทานกับคนในชุมชน • โครงการของเรา ไดนําเอาทักษะและความสามารถของคนในชุมชนมามีสวนรวม มาก – นอย เพียงใด ? ไมมี ไมคอยมี มีบาง มี มีมาก 1 2 3 4 5 อธิบาย

18


• โครงการของเรา ทํางานเพื่อเสริมสรางพลังของชุมชน ในเรื่องทักษะ ความสามารถของคนทองถิ่นมาก - นอย เพียงใด ? ไมมี ไมคอยมี มีบาง มี มีมาก 1 2 3 4 5 อธิบาย

• โครงการเปดโอกาสใหคนทองถิ่นชวยกําหนดวัตถุประสงคของโครงการ มาก – นอยเพียงใด ? ไมมี ไมคอยมี มีบาง มี มีมาก 1 2 3 4 5 อธิบาย

• คนทองถิ่นมีบทบาทในฐานะใดบาง ผูใชบริการ

แหลงขอมูล

ผูรวมโครงการ

ผูควบคุม/ตรวจสอบ

อธิบาย

19


• ความสัมพันธระหวางโครงการกับ คนทองถิ่นผูย ากไร ชุมชนจะเขมแข็งไดตอเมื่อองคกรตางๆจุดประกายและสนับสนุนอยาง หลากหลาย แต ใ นชี วิ ต จริ ง ส ว นใหญ ผู ค นในชุ ม ชน อยู ใ นฐานะผู รั บ บริ ก ารตาม สวัสดิการของรัฐ อาทิผูสูงอายุ เยาวชนและชนกลุมนอย ซึ่งอยูชายขอบสังคม และไมจัด อยูในกลุมของพลเมืองเขมแข็ง ตัวอยาง - ในจังหวัดเชียงใหม มีการสนับสนุนผูคนในชุมชนเปนตัวเงินมาก หลายรอยลานบาทและมีโครงการบานเคหะ และสรางอาชีพกวา 20โครงการ คําถามตอไปนี้จะชวยใหเกิดความคิดเกี่ยวกับวัตถุประสงคของโครงการ และ การจัดการ เพื่อใหเกิดการมีสวนรวม และสรางพลังแกเขา • โครงการของเรายอมรับในความหลากหลายของการแสดงความความเห็น ไมมี มีนอย มีบาง มี มีมาก 1 2 3 4 5 อธิบาย

20


โครงการของเรา ไดเชื้อเชิญให“คนชายขอบ”เขามามีสวนรวม ขนาดไหน? ไมมีเลย

ไดรับบริการ

เปนแหลงขอมูล มีสวนรวม ชวยควบคุม

คนกลุมนอย คนพิการ ผูสูงอายุ ผูอพยพ เยาวชน สตรี เด็กเล็ก อื่นๆ

• ความสัมพันธกับสมาคมในทองถิ่น ในชุมชนสวนใหญเครือขายอาสาสมัครในรูปแบบสมาคม ชมรม และ องคกรในชุมชนทั้งใหญนอย ถูกละเลยหรือถูกใชในทางที่ผิด โครงการที่ยั่งยืนและมี ประสิทธิภาพจะเปดโอกาสใหองคกรเหลานี้ เขามามีสวนรวมอยางแข็งขันและโปรงใส ตัวอยาง สวนใหญชุมชนมีกลุมรองเพลง กลุมดนตรี ชมรมนักกีฬา กลุมเยาวชน กลุม อาชีพ กลุมแมบาน และกลุมผูสูงอายุ ความตกลงรวมกันที่จะสนับสนุนใหผูริเริ่มงาน ใหมๆ โดยเฉพาะเยาวชน สตรีและผูสูงอายุพลังในการพัฒนาชุมชนในลักษณะเปนการ สรางความเขมแข็งจากภายใน(Strengthening from the inside out) เปนการ ใหทั้ง โอกาส ความนับถือและใหเกียรติองคกรเหลานั้น ผลตามมาก็คือการเกิดสัมพันธภาพ ที่ดี ทั้งในระหวางโครงการกับองคกร และระหวางองคกรดวยกัน ซึ่งในอุดมคติ โครงการที่มีการรวมคิดรวมทําดวยกันตั้งแตตนจะทําใหสํานึก สาธารณะของชุมชนเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว และงดงาม แทนที่จะเปนเพียงแคการวาจางให เขามาทํางานเฉพาะกิจเปนครั้งคราว และหากไดเริ่มตนจากประสบการณของชุมชนเอง และหรือจากการทํางานที่เคยประสพความสําเร็จของเขาเหลานั้น(Best practice) ที่เคย มีมาแตหนหลัง เปนการตอยอดโดยไมตองเริ่มใหมใหเสียเวลา 21


คํ า ถามต อ ไปนี้ เ ป น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งโครงการของเรากั บ สมาคมทองถิ่น

• ความสัมพันธกับสมาคมทองถิ่น ( Relationship with local Associations) ผูรับบริการ ผูเปนแหลงขอมูล ผูรวมงาน ผูควบคุม กลุมศาสนา พุทธ คริสเตียน อิสลาม กลุมสุขภาพ กลุมโรงเรียน กลุมกิจกรรมกลางแจง ชุมชนที่เปนชมรม กลุมบริการ กลุมเยาวชน กลุมศิลปน กลุมผูสูงอายุ สหกรณ อื่นๆ

22


• ความสัมพันธกับสถาบันทองถิ่น ในทุกชุมชนจะมีองคกรปกครองทองถิ่น องคกรอาสาสมัคร และเอกชน ในแตละองคก รมีขุม พลังทุนของตนเอง อาทิ คน พื้น ที่ ความสามารถความชํา นาญ อุปกรณ และกําลังเงินที่สามารเกี่ยวของกับ โครงการของเราได ตัวอยาง องคกรสวนใหญ อาทิ โรงเรียน สวนสาธารณ โรงพยาบาล ฯลฯ มีพื้นที่ อํานวยความสะดวก ใหโครงการสามารถสราง / แลก เปลี่ยนความรวมมือ โดยเฉพาะ ศูนยชุมชนทั้งหลาย เชนในหองสมุด มีหองประชุม อาจ ใหจัดเปนสถานที่ประชุมหรือ ทํางานในเหตุการณหรือกิจกรรมสําคัญ รายชื่อขางลางนี้ เปนคําถามที่จะชวยสะทอนใหเห็นถึงความรวมมือเกี่ยวของระหวาง โครงการกับองคกรทองถิ่น • โครงการของเรา มีความรวมมือกับองคกรทองถิ่นเชนไร ไมเลย นอย บาง มี มาก 1 2 3 4 5 อธิบาย

23


• โครงการนี้เกี่ยวของ และ / ใช สินทรัพยในองคกรเหลานั้น เพียงใด ? บุคลากร/ความชํานาญ

เงิน สิ่งอํานวยความสะดวก การประสานงาน อื่นๆ

โรงเรียน อธิบาย หองสมุด อธิบาย โรงพยาบาล อธิบาย สถานีตํารวจ อธิบาย องคกรพัฒนา ( NGO) อธิบาย เอกชน อธิบาย

อื่นๆ (ระบุ) อธิบาย

24


• ความสัมพันธของโครงการกับ พื้นที่ของชุมชนทางกายภาพ ทุกชุมชนมีพื้นที่ทางกายภาพ อาทิ สวนสาธารณะ ทางเดิน ทางรถจักยาน อาคาร ถนน สนามเด็กเลน ที่จอดรถ ฯลฯ เปนที่ผูคนใชสําหรับพบปะกัน หากสามารถ จัดการได พื้นที่ตามรายชื่อขางลางนี้ เกี่ยวกับการปฏิบัติสัมพันธของโครงการกับ สินทรัพยประเภทอาคารและพื้นที่ รวมทั้ง พื้นที่สาธารณะ - สวนสาธารณะในชุมชนของเรา - ศาลาประชาชาคมในหมูบานของเรา - สนามเด็กเลนในชุมชนของเรา - ลานวัดในชุมชนของเรา - ขวงบานในหมูบานของเรา - ฯลฯ • โครงการของเรา ใชคุณคาของสินทรัพยเหลานี้เชนไรบาง? ไมใชเลย ใชนอย บางครั้ง ดี มีมาก 1 2 3 4 5 อธิบาย • โครงการของเราใชและสงเสริมการใชพื้นที่สาธารณะ ไมเลย นอย บางครั้ง ดี

มาก

อธิบาย

25


• โครงการของเรา เกี่ยวของกับพลเมืองทองถิ่น และสถาบันการคาเอกชน และมี ความเพียรพยายามจะสนับสนุน องคกรเหลานั้น ไมใชเลย นอย บางครั้ง ดี มาก 1 2 3 4 5 อธิบาย • โครงการวาจางคนทองถิ่นมีหรือไม? • โครงการของเราจัดใหมีขุมพลังทาง ภูมิปญญา ไมเลย 1

นอย 2

บางครั้ง 3

ดี 4

ดีมาก 5

• ตอองคกรทองถิ่น • ตอรานคาทองถิ่น • ตอ NGOs

26


• ความสัมพันธกับเศรษฐกิจทองถิน่ องคกรตางๆ และโครงการของเรามีพลังทางเศรษฐกิจที่เขาวาจาง ,ซื้อขาย ความชํานาญ และขุมพลังที่เขาเสนอใหและมีผลตอเศรษฐกิจทองถิ่น ตัวอยาง ในชุมชนของสวนที่บลูไอแลนด อิลลินอยสและชุมชนอื่นๆ มีกิจกรรมที่ เปนกัลปยานมิตรกันในแหง สมาคมทองถิ่นและสถาบันรณรงคสนับสนุนผลิตภัณฑ ทอ งถิ่ น เพื่อ ประคองการค าขายให อ ยูไ ด คํา ถามขา งลา งนี้ จ ะช ว ยให ทา นได นึก ถึ ง ผลกระทบของโครงการตอชุมชน • โครงการของเราสงเสริมเศรษฐกิจชุมชนทองถิ่น ไมใชเลย 1

นอย 2

บางครั้ง 3

ดี 4

มาก 5

อธิบาย • โครงการของเราเคยจัดทํา และใช แผนที่เดินดิน /แผนที่ชุมชน ไมใชเลย นอย บางครั้ง ดี 1 2 3 4

มาก 5

อธิบาย

27


• โครงการของเราเคยสรางและใช ขุมพลังของชุมชนในทองถิ่น ไมใชเลย นอย บางครั้ง ดี 1 2 3 4

มาก 5

อธิบาย • โครงการของเราระบุและชี้นําผูบ ริโ ภคทองถิ่น ใหใ ชหรือสนับ สนุน ผูผลิต ใน ทองถิ่น ไมใชเลย นอย บางครั้ง ดี มาก 1 2 3 4 5 อธิบาย

• โครงการของเรา ใชการออม และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ไมใชเลย นอย บางครั้ง ดี 1 2 3 4

มาก 5

อธิบาย

28


• การประสานงานกับขุมพลังภายนอกชุมชนทองถิน่ โครงการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพจะมองหาและระบุขุมพลังที่มีอยูใน ชุมชนของตนเอง กอนอื่น หลังจากนั้นแลว จึงคอยมองตอไปยังภายนอกชุมชน เพื่อ การพึ่งพา แลกเปลี่ยนโดยมิการพึ่งพิงอีกตอไป ตัวอยาง เชนชุมชนฟาฮาม เชียงใหมกอตัวชมรมเพื่อการบริโภคที่มีสติปญญา และ พึ่งพาตนเอง ภายหลังการจัดการตลาดสดตอนเชาใหพอคาแมคาหันมาใชใบตองหอ อาหารและชักชวนชาวบานใชกระเปา/ยาม/ปนโตเพื่อลดขยะพลาสติกประสพความ สําเร็จ แลวเชิญชวนใหสํานักงานคุมครองผูบริโภคจังหวัดเชียงใหมจัดทําปายเชิดชู รานคาที่ขายของไมโกงตาชั่ง และทําใหเทศบาลสรางที่จัดเก็บขยะโดยไมสงกลิ่น เหม็นและสวยงามสะอาดตา ซึ่งตอมาไดรับทุน ส.ส.ส.ในการเสริมสรางเครือขายเพื่อ การบริโภคที่ชาญฉลาด ฯลฯ คําถามที่ใชสะทอนภาพการประสานกับขุมพลังภายนอก • โครงการของเราสรางความสัมพันธกับภายนอกชุมชนตอสถาบันเพียงใด?

ไมเลย 1

นอย 2

บางครั้ง 3

ดี 4

ดีมาก 5

• สมาคม • ขุมพลังทาง • รัฐบาล

อธิบาย

29


ตัวอยางแผนที่สินทรัพยชุมชน ชื่อชุมชน….................................................. กรุณาทบทวนตัวอยาง แลวเติมรายชื่อสินทรัพยชุมชน สมาคม ที่พบในชุมชนของทาน ชมรมดูนก ในหนาตอไป หอการคา กลุมนักศึกษา ชมรมศิลปน กลุมนักเขียน ครอบครัวคนเกง กลุมออกกําลังกาย กลุมแมบาน กลุมวัยทอง กลุมเยาวชน กลุมผูชาย กลุมผูหญิง กลุมศาสนา กลุมนําสังคม กลุมชิวิตอิสระ

สถาบัน โรงเรียน มหาลัย วิทยาลั16 ยชุมชน พิพิธภัณฑ โรงพยาบาล หองสมุด มูลนิธิ

กายภาพ

เศรษฐกิจ ชุมชน

สมาคม ชุมชน ของเรา สถาบัน

ปจเจก ชน

ปจเจกชน ความรู ความสามารถ ความชํานาญ พรสวรรค คุณลักษณะพิเศษ ของ พอคา พอบาน แมบาน เยาวชน ศิลปน พระสงฆ ผูพิการ นักกิจกรรม ทหารผานศึกปขจาเจกชน ราชการเกษียณ ผูปกครอง นักเรียน ฯลฯ

พื้นที่ทางกายภาพ สวนสาธารณะ สนามเด็กเลน ที่จอดรถยนต ทางจักรยาน ปา / ปาชุมชน สถานที่ปกนิค ที่ตกปลา สวนสัตว อาคาร ศาลาประชาคม เศรษฐกิจชุมชน / ทองถิ่น รานคาของเกา OTOP เครดิตยูเนี่ยน สาขาของหางใหญ หอการคา ผูประกอบการรายยอย ธุรกิจไมหวังกําไร สมาคมพอคา ธนาคาร ผูประกอบการรายยอย 30


แผนที่สินทรัพยชุมชนของทาน ชื่อชุมชน………………........................................................................ กรุณา สมาคม พื้นที่ทางกายภาพ เติมรายชื่อสินทรัพยชุมชน ที่พบในชุมชนของทาน ในชองวาง ตามที่ทานคนพบลาสุด

กายภาพ

เศรษฐกิจ ชุมชน

สมาคม ชุมชน ของเรา

ปจเจก ชน

สถาบัน

ปจเจกชน

เศรษฐกิจชุมชน / ทองถิ่น

สถาบัน

ปจเจกชน 31


การประสานกับทองถิ่นเพื่อใชสินทรัพยชุมชนของทานกับโครงการนี้ เมื่อมองเขาไปในชุมชนของทาน จะพบวามีสินทรัพยมากมาย ทานแนใจหรือไมวา โครงการของทานสามารถมานําสินทรัพยของชุมชนมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ

สินทรัพยเหลานี้เกี่ยวของกับโครงการ ระบุสินทรัพยในชุมชนของทาน ของเราอยางไรบาง? (อธิบายสั้น ๆ) สมาคม/กลุม/ชมรม/องคกร

สถาบัน

ปจเจกชน

พื้นที่ทางกายภาพ

32


ตัวอยางแบบสํารวจเพื่อคนหา “ขุมพลัง” ชุมชน (Community Assets Survey) ชุมชนของทานมีขุมพลังใดบางที่จะนําไปสู คุณภาพชีวิตที่ดี และชุมชนเขมแข็ง ? ชุมชน.................................................... หมูบาน................................................. ในชุมชนของทานมีสื่อ/องคกร/กิจกรรมอะไรบาง ? ผูเรียนรู........................................ มีสื่อทองถิ่น จดหมายขาวชุมชน/หมูบาน โทรทัศนชุมชน หนังสือพิมพหมูบาน วิทยุชุมชน ที่อานหนังสือพิมพ หองสมุดชุมชน มีกลุม/ชมรม/เครือขาย ผูสูงอายุ แมบาน เยาวชน เกษตรกร พระสงฆ อสม. กลุม/ชมรมอื่น ๆ ชื่อ……………………….. มีกิจกรรม ออกกําลังกาย ฟงเทศน / ฟงธรรม เดิน/วิ่ง เลนดนตรีพื้นเมือง เลนพระเครื่อง เลนกีฬา…………. ปองกันเอดส/เสี่ยงทางเพศ สรางบาน มังสวิรัติ การอนุรักษวัฒนธรรม การคุมครองผูบริโภค พิทักษสิทธิชุมชน การแพทยพื้นบาน การแพทยแผนไทย การดูแล บํารุง รักษาตนเอง ขี่จักรยาน อนุรักษสมุนไพร อนุรักษภาษา/ตัวหนังสือพื้นเมือง เตนแอโรบิก รํามวยจีน/ไทย/ไทฉี จี้กง อนุรักษแมน้ํา/สิ่งแวดลอม ปลูกผักปลอดสารพิษ เกษตรอินทรีย ปองกัน/ตอตานยาเสพติด จัดการปาชุมชน จัดการที่ดินสาธารณะ จัดการเหมืองฝาย สหกรณรานคา สหกรณออมทรัพย กลุมจัดการฌาปนกิจ สภาวัฒนธรรม สภาหมูบาน กลุมเกษตรกร………. ธนาคารควาย ธนาคารขาว ประชาคม…………. พิพิธภัณฑ ………. อื่นๆ (ถามี)......................................................................

33


• อาคารสถานที่ / อุปกรณ สิ่งอํานวยความสะดวกที่มีในหมูบานของทานมีอะไรบาง? วัด โรงเรียนชุมชน ขวง. / ลาน……..……. โรงละคร ศูนยวัฒนธรรม/ศิลปกรรม ศูนยเศรษฐกิจชุมชน ตลาดสด /ตลาดนัด โรงพยาบาล สวนสาธารณะ สนามกีฬาโรงเรียน อาคารเอนกประสงค ศาลาประชาคมในหมูบาน ศูนยสงเสริมสุขภาพ ศูนยการเรียนรูชุมชน สถานีอนามัย ศูนยฯสาธิตผลิตภัณฑในหมูบาน สวนสุขภาพในหมูบาน อาคารออกกําลังกายในหมูบาน สวนสาธารณะในหมูบาน สนามเด็กเลน สํานักงานอบต./ เทศบาล ศูนยฯผลิตภัณฑทองถิ่น ตลาดนัด หองสมุดหมูบาน, ชุมชน สํานักงานชุมชน ศูนยฝกอาชีพ/ ศีลปาชีพ) การเคหะชุมชน ศูนยถายทอดเทคโนโลยี… สถาบัน สํานัก ศูนยอื่นๆ (ถามี) ………………………… • คนที่มีความสามารถในหมูบานทาน มีหรือไม ? ชางกอสราง ชางไฟฟา ชางประปา หมอเมือง นักกีฬา ประธานกลุมหนุมสาว ประธานกลุมผูสูงอายุ ประธานกลุมแมบาน ประธานกลุม… อสม. พระสงฆ ศิลปน… นักกิจกรรมประชาธิปไตย นักกิจกรรมสิ่งแวดลอม นักกิจกรรมสุขภาพ ผูนําธรรมชาติ………… ทรงคุณวุฒิทองถิ่น/ปราชญชาวบาน…….. อื่นๆ (ถามี …………………………………………… 4 .ทุน ธรรมชาติ มีหรือไม ? น้ําตก……………………… ที่ดินสาธารณะ……… ปาไม…………… แมน้ํา……………..

ความเขมแข็งของชุมชนจะเกิดไดอยางยั่งยืนถาวร

“ตองสรางเสริมเพิ่มพลังจากขางใน มิใช “อุปถัมภ ทําใหจากภายนอก”

34


หนาตางภายในองคกรของทาน โปรดทบทวนชนิดของสนทรั ิ พยที่สามารถพบไดในองคกรใดองคกรหนึ่ง แลวใชหนาถัดไป กรอกรายการสินทรัพยขององคกรของทาน

บุคลากร

พื้นที่ / เครื่องอํานวยความสะดวก

ความสามารถ ของแตละคน - ศิลปะ - ดนตรี/เพลง - กีฬา คุณลักษณะแตละคน - ความคิด - พลังงาน - ความกระตือรือรน -การพัฒนาทักษะผูนํา -การอบรมทางเทคนิค - การมีสวนรวม - การสื่อสาร - คอมพิวเตอร ความรูจากชุมชน

หองประชุม หองครัว หองคอมพิวเตอร สวน ลอบบี้

ความเชี่ยวชาญ - ดานศิลปะ - การอานออกเขียนได - ภาษา - ทักษะผูนํา - วิทยากร - บริกรบริการ ฯลฯ - พละ -การกีฬา

ปจจัยสําคัญ

เครือขายประสานงาน

ของแตละคน ความสามารถ / ความสนใจ คุณลักษณสวนตัว ความคิด/พลังงาน/อุดมการณ การติดตอ

*องคกรเอกชน *องคกรสาธารณะ *สมาคม *ปจเจก

อุปกรณ / เครื่องมือ คอมพิวเตอร เฟอรนิเจอร หนังสือ ศิลปะ ขาวสารการเงิน งานศิลป หนังสือพิมพ เครื่องมือ อุปกรณ IT สื่อทั้งหลาย ขอมูลขาวสาร ประวัติศาสตรชุมชน อีเลคโทรนิกส

พลังเศรษฐกิจ - การอบรมอาชีพ - การจางงานทอง - สนับสนุนทุน - การซื้อขาย - พลังงาน ดึงทุน

35


โปรดใชแบบฟอรมตอไปนี้จัดทํา ทําเนียบ สินทรัพยองคกรของทาน องคกรของทานมีผูคน บุคลากร ความรู ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และเครื่องมือ อํานวยความสะดวก • โปรดระบุสินทรัพยองคกรของทาน • จัดทํา ทําเนียบสินทรัพย • ใชหนาตอไปประสานสินทรัพยกับโครงการ บุคลากร พื้นที่และเครื่องอํานวยความ เครื่องมือ / อุปกรณ สะดวก

ความเชี่ยวชาญ

ปจจัยสําคัญ

เครือขายของการ ประสานงาน

พลังเศรษฐกิจ

36


การนําสินทรัพยขององคกของทานไปใช  โครงการพัฒนา เมื่อมองเขาไปในองคกรของทานจะพบสินทรัพยมากมาย ที่สามารถนําไปใชเพื่อทําใหโครงการเขมแข็ง โปรดระบุสินทรัพยองคกรของทาน เราจะนําสินทรัพยชุมชน มาใชงานโครงการไดอยางไร ? บุคคลากร ความชํานาญ / เชี่ยวชาญ

พลังทางเศรษฐกิจ

ปจจัยสําคัญ

การประสานเครือขาย

พื้นที่และเครื่องอํานวยความสะดวก

เครื่องมือ / อุปกรณ

37


ตัวอยาง

การจัดทําเนียบความสามารถในตัวของทาน

บทนํา ฉันชื่อ............................................ทานชื่ออะไร.......................................... ขอบคุณที่มาวันนี้ มีใครคุยกับทานหรือยังวา • การแบงปน “พรสวรรค” หมายถึงอะไร ? • คุณเขาใจวายังไง? ปกติแลวแลวเรามีความเชื่อวา พระเจาประธานชีวิต ความสามารถ และสติปญญามา ใหเรา ซึ่งสามารถนํามาใชในชุมชนได ผมใครขอเวลา พูดคุยกับทานสักนิดหนึ่ง ในเรื่อง ของขวัญและทักษะของทาน

พรสวรรค ( Gift) คือ สิ่งที่เปนความสามารถ ทักษะ ที่ติดตัวมาตั้งแตเกิด เราอาจพัฒนามันขึ้นมาเองโดยไมมีใครสอนเรา 1. อะไรคือสิ่งที่ผูอื่นพูดถึงในตัวเราวาเรามีดี? 2. ใครคือคนที่ในชีวิตของเราที่เรามีแตใหคุณใหยังไง? 3. คุณไดแลกเปลี่ยนครั้งสุดทายเมื่อไหร? 4. คุณเคยใหอะไรผูอื่นที่คุณรูสึกดี

ทักษะ(Skills) บางครั้ง เรามีความเฉลียวฉลาด ในชีวิตประจําวัน เชน ทํากับขาว เลนดนตรี พูดในที่ชุมชนุมชน หรือซอมแซมของใช 1. คุณทําดวยความเริงราหรือไม? 2. หากคุณเริ่มงานธุรกิจ มันจะเปนอยางไร 3. คุณอยากจะทําอะไรที่มีคนจายเงินใหคุณทํา? 4. คุณเคยทําอะไร สําเร็จบาง หรือคุณเคยซอมอะไรหรือไม

ความใฝฝน (Dreams) มีสิ่งใดบางที่ทานอยากจะมีหรืออยากจะทําใหสําเร็จ? 1. ทานมีความใฝฝนอะไรบาง? 2. ถาหากวาทานจะอธิษฐานอะไรก็ได 3ประการทานจะอธิษฐานวายังไง?

38


ตัวอยางของ ทําเนียบพรสวรรค พรสวรรคที่ฉันอยากจะแบงปนใหกับชุมชนของฉัน

พรสวรรคในสวนของหัว

(Head)

(สิ่งที่ฉันรู หรืออยากจะพูดกับใคร ๆบอย ๆเชน ศิลปะ ประวัติศาสตร ภาพยนตร)

พรสวรรคในสวนของมือ

(Hand)

(สิ่งที่ฉันทําเปนอยางคลองแคลว เชนงานชาง กีฬา เลนดนตรี ทําสวน ทํากับขาว )

พรสวรรคในสวนของหัวใจ (Heart) (สิ่งที่ฉันใสใจ เชน สิ่งแวดลอม เด็ก ๆ ชีวิตสาธารณะ)

39


การเรียนรูเกี่ยวกับการกระจายอํานาจ: บทเรียนจากการมีสวนรวมในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน การมีสวนรวมของประชาชนถือเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนา ดังนั้นการพิจารณาถึง สัมพันธภาพแหงอํานาจระหวางภายในและภายนอกชุมชนจึงเปนตัวบงชี้ถึงการมีสวน รวมไดเปนอยางดี ในชวง 3 ทศวรรษที่ผานมามีการวิจัยเรื่องการมีสวนรวมในการพัฒนา ในสวนของ องคกรพัฒนาเอกชน พบวา มีปฏิกิริยาตอตานสูงมากในเรื่องการพัฒนากระแสหลักที่ทํา ให ค นยากขอบและคนเล็ ก คนน อ ยทั้ ง หลายได รั บ ผลกระทบทั้ ง ในเรื่ อ งวิ ถี ชี วิ ต และ วัฒนธรรม ความไมเปนธรรม เกิดความเหลื่อมล้ําทางสังคม ในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งเกิดขึ้น เกิดขึ้นระหวางผูคนในชุมชนดวยกันเองและ การนําเอาผูลงทุนจากภายนอกทั้งภาครัฐ และธุรกิจเอกชนเขาไปในชุมชน (ผังภาพที่ 11) มีงานวิจัยหลายชิ้นไดวิเคราะหในเรื่องนี้วากอนจะมีการพัฒนาเศรษฐกิจในชุมชนจําเปน อยางยิ่งที่จะตองทําใหแนใจกอนวา ผูมีสวนไดเสีย จากการพัฒนา มีคนยากจน และคน ชายขอบ เขามาอยูในกระบวนการการมีสวนรวมดวย และตองดูละเอียดในกระบวนการ การมีสวนรวมดวยวานั้นมีลักษณะเชนไร ไมวา เรื่องความเปนธรรม ความยุติธรรม ความเทาเทียม โอกาส และการตัดสินใจ ฯลฯ ทั้งนี้เพราะผลพวงของการพัฒนาอาจทํา ใหชองวางระหวางคนรวยกับคนจนยิ่งหางมากขึ้น

40


กระบวนการพัฒนา จากภายนอก เนนการปฏิรูป ระบบเศรษฐกิจ

จากภายใน เน น ความสามารถทาง เนนความสามารถ เศรษฐกิจของปจเจกชน ทางเศรษฐกิจของกลุม

การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน เป น เครื่ อ งมื อ ของผู ล งทุ น เป น เครื่ อ งมื อ ทํ า ให ค นจน เปนเครื่องมือ ใหทั้งปจเจก ปจเจกชน พึ่งตนเองได ชนและกลุ ม ให มี พ ลั ง และ ควบคุมสินทรัพยทองถิ่น

ชุ ม ชนถู ก ระบุ เ ป น เขต มีการกําหนดเขต บริหารทางเศรษฐกิจ นิคมพึ่งตนเอง ปจเจกชนคือผูกําหนด นิคมคือผูกําหนด การปฏิรูประบบการคลัง

ระบบเครดิตนิคม

ดึงดูดอุตสาหกรรม

ผูประกอบการรายยอย

ชุมชนคือกลุมผูสนใจใน การลงทุนเรื่องเดียวกัน กลุมตาง ๆ ในชุมชน คือ ผูจัดการสินทรัพย สหกรณ กองทุนหมูบาน เครดิตยูเนี่ยน

สหกรณ วิสาหกิจชุมชน

ผังภาพที่ 11 แสดงใหเห็นถึงกรอบคิดของการพัฒนา ที่เกิดขึ้นไมนานมานี้ใน 3 ยุค ในเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน เมื่อมีการนิยามกระบวนการพัฒนาชัดเจนเปน 3 ยุค จะเห็นไดชัดวายุคแรก ๆ เปนการนําเขานัก ลงทุนจากภายนอก บรรยากาศการลงทุนในลักษณะปจเจกทําใหชุมชนไมมีโอกาสเขามามีสวนรวม ในการพัฒนาและสวนใหญถูกโรมรุกใหอยูในฐานะผูบริโภคหรือผูรับบริการ แต ใ นยุ ค หลัง เมื่ อ ตั้ง หลั กได วิ ถีก ารพั ฒ นาเริ่ ม เปลี่ ย นแปลงมา เป น การเสริ ม สร า งจากขา ง ใน กระบวนการพัฒนาเนนการจัดการกับสินทรัพยชุมชนและผูพัฒนาคือผูคนภายในชุมชนดวยกันเอง ที่รวมกลุมกันจัดการโดยองคกรราชการและองคกรพัฒนาเอกชนริเริ่มให คอยเปนพี่เลี้ยง และ เสริมสรางความสามารถใหชุมชนรวมกันคิดและทํากันเองในที่สุด

41


แบบอยางดีที่“ทุง กลวย” พะเยา ตําบลทุงกลวย อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ไดจัดทําแผนที่ทุนทางสังคมหรือแผนที่สินทรัพยชุมชน เปนโครงการนํารอง 1ใน 2 จังหวัดของประเทศไทย คือจังหวัดพะเยาและจังหวัดกาญจนบุรี ซึ่ง ไดรับการสนับสนุนจากยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการ (CEO) สํานักงานพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย ในป 2549 โดยมีวัตถุประสงคสําคัญคือ เพื่อเสริมสรางใหชุมชน เขมแข็ง ใหชุมชนสามารถจัดทําแผนที่ทุนทางสังคมไดดวยตัวเองและเปนขอมูลเพื่อนําไปพัฒนา คนและสังคมไดอยางมีคุณภาพ

กอนลงมือจัดทําแผนที่ทุนทางสังคมของตําบลทุงกลวย ไดมีการเตรียมการเปนอยางดีกลาวคือ 1) มีการจัดเวทีสนทนาในชุมชน สถานที่พรอมดวยอุปกรณเครื่องเสียง 2) สงจดหมายเชิญแกนนําเชน กํานัน ผูใหญบาน อบต. ผูสูงอายุแมบานและปราชญพื้นบาน 3) เตรียมบันทึกขอมูลดวยเทป ถายภาพและวิดีโอ

มีกระบวนการ ขั้นตอนในการทํางานดังนี้คือ มีการจัดเวทีสนทนา 8รูปแบบ 1) จัดเวทีสรางความเขาใจในระดับแกนนําทั้งในตําบลนํารองและตําบลขยาย 2) จัดเวทีสรางความเขาใจในระดับแกนนําในระดับหมูบาน 3) จัดเวทีอบรมนักจัดเก็บขอมูล 4) จัดเก็บขอมูลทางสังคม ของหมูบาน ตําบลและติดตามการจัดเก็บขอมูล 5) จัดเวทีสังเคราะหขอมูลทางสังคมหมูบาน 6) จัดเวทีสังเคราะหขอมูลทางสังคมตําบลนํารองและตําบลขยาย 7) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 4ตําบลนํารอง 8) จัดเวทีถอดองคความรู ทั้งตําบลนํารองและตําบลขยาย

ภายหลังการจัดเวทีและการสํารวจ มีการจัดทํารายงานแผนที่ทุนทางสังคม และจัดทําเอกสารเผยแพรสูชุมชนขยายผลเพื่อเปนตนแบบ

42


ผลของการดําเนินงานไดขอมูล“ฉบับยอ”ดังตอไปนี้ สภาพทั่วไป ที่ตั้ง ตําบลทุงกลวยอยูทางทิศตะวันออกของกิ่งอําเภอภูซาง อยูหางจากกิ่งอําเภอภูซาง ประมาณ 6 กิโลเมตร และหางจากจังหวัดพะเยา 85 กิโลเมตร อาณาเขต ทิศเหนือ ติดตอกับ ตําบลปาสัก ,ตําบลภูซาง ทิศใต ติดตอกับ ตําบลรมเย็น อําเภอเชียงคํา ทิศตะวันออก ติดตอกับ ส ป ป . ลาว ทิศตะวันตก ติดตอกับ ตําบลสบบง , ตําบลปาสัก เนื้อที่ ตําบลทุงกลวยมีเนื้อที่ประมาณ 68,750 ไรหรือประมาณ 110 ตารางกิโลเมตร พื้นที่และการใชประโยชน ตําบลทุงกลวยมีพื้นที่ทําการเกษตรทั้งสิ้น 32,000 ไร สภาพภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเปนที่ราบเชิงเขา เปนพื้นที่ปาไมสมบูรณ เปนแหลงตนน้ํา ลําธาร ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ประกอบดวย ปาไม , สัตวปา , แมน้ํา, น้ําตก, ถ้ํา จํานวนหมูบาน จํานวนหมูบานอยูในเขตตําบลทุงกลวย ทั้งหมด 12 หมูบาน ไดแก หมูที่ 1 บานกอนอย หมูที่ 7 บานหัวนา หมูที่ 2 บานกอหลวง หมูที่ 8 บานปงใหม หมูที่ 3 บานทุงกวาว หมูที่ 9 บานงุน หมูที่ 4 บานทุงกลวย หมูที่ 10 บานคอดยาว หมูที่ 5 บานทุงกลวย หมูที่ 11 บานกอซาว หมูที่ 6 บานสา หมูที่ 12 บานใหมรุงทวี ประชากร จํานวนหลังคาเรือน ตําบลทุงกลวยจํานวน 1,887 หลังคาเรือน ประชากรรวม 8,295 คน เพศชาย 4,210 คน เพศหญิง 4,085 คน ตามหลักฐานทะเบียนราษฎร ทั้งสิน 8,295 คน สภาพทางเศรษฐกิจ อาชีพ 1. ทํานา 2. ทําไร

43


3. ทําสวน 4. รับจาง 5. หัตถกรรม 6. คาขาย 7. รับราชการ 8. เลี้ยงสัตว

หนวยธุรกิจใน อ.บ.ต. 1. วิสาหกิจชุมชนเกษตรกาวหนาจํานวน 1 แหง 2. บริษัทรับซื้อยางพารา 1 แหง 3. ปมน้ํามันหลอด 9 แหง 4. ตลาดสด 3 แหง 5. รานคาในหมูบาน 30 แหง 6. ศูนยจําหนายสินคา OTOP 1 แหง

ผลผลิตที่สําคัญและมีชื่อเสียงของตําบลทุงกลวย 1. ขาว 2. ยางพารา 3. กระเทียม 4. หอมแดง 5. พริก 6. เครื่องเงิน แคนมง 7. ผาปกชาวเขา 8. ลําไย 9. ผาใย 10. ผาทอ 11. ถั่วลิสง 12. ขาวโพด 13. กัญชง 14. ถักดายโครเช 15.ไมไผรวก

ศูนยพัฒนาอาชีพและรายได , แหลงเรียนรูดานอาชีพ 1. ศูนยถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร

1

แหง

44


2.โรงทอผาจํานวน 4 แหง ประกอบดวย โรงทอผาบานทุงกลวยหมูที่ 5 จํานวน 2 แหง โรงทอผาบานสา จํานวน 1 แหง โรงทอผาบานปงใหม จํานวน 1 แหง วิสาหกิจชุมชนเกษตรกาวหนา ศูนยเรียนรูเรื่องยางพารา 1 แหง ศูนยฝกอาชีพและสรางรายไดแกผูสูงอายุ จํานวน 2 แหง กลุมจักสานผูสูงอายุบานกอหลวงหมูที่ 2 จํานวน 1 แหง กลุมสมุนไพร , และกลุมทําดอกไมจัน ผูสูงอายุบาน กอนอยหมูที่ 1 จํานวน 1 แหง หัตถกรรมในครัวเรือน หัตถกรรมในครัวเรือนการทําแคนมงบานใหมรุงทวี หมูที่ 12 จํานวน 3 แหง หัตถกรรมในครัวเรือนเครื่องเงิน บานใหมรุงทวี 1 แหง ถักดายโครเชบานหัวนาหมูที่ 7 1 แหง ผาปกชาวเขาบานคอดยาวหมูที่ 10 1 แหง ผาบาติก และผาใยกัญชงบานคอดยาว 1 แหง อุตสาหกรรมในครัวเรือน กลุมเครื่องดื่มสมุนไพร, และกลุมสมุนไพรบานกอนอย กลุมเย็บผาจักรอุตสาหกรรม โรงสีขาว จํานวน 18 แหง สภาพทางสังคม การศึกษา 1.โรงเรียนสังกัดประถมศึกษา 5 แหงไดแก โรงเรียนบานกอนอย โรงเรียนบานกอหลวง โรงเรียนบานทุงกลวย โรงเรียนบานสา โรงเรียนบานปงใหม ( โรงเรียนขยายโอกาส ) 2.โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย 1 แหง 3. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กจํานวน 11 แหง 4. ศูนยการเรียนชุมชน ( ก ศ น .) บานกอซาว 1 แหง 5. หองสมุดประจําตําบล 1 แหง 45


6. ที่อานหนังสือประจําหมูบาน 12 แหง องคกรศาสนา ศาสนาพุทธ 96 % , ศาสนาคริสต 4 ไดแก 1.วัด 9 แหง 2.สํานักสงฆ 2 แหง ม. 2 ม.10 3.ที่พักสงฆ 1 แหง ม. 4 4.โบสถคริสต 1 แหง ม. 12 งานประเพณีที่สําคัญ 1. ประเพณีปใหมเมือง ( สงกรานต ) ชวงเวลาจัด 13 – 15 เมษายน 2. ประเพณีขึ้นพระธาตุขุนบง ชวงเวลาจัด วันวิสาขบูชา 3. ประเพณีแหประทีป ชวงเวลาจัด วันลอยกระทง 4. ประเพณีวันสําคัญทางศาสนา ชวงเวลาจัด วันสําคัญทางศาสนา 5. ประเพณีตานกวยสลาก ชวงเวลาจัด ตุลาคม –พฤศจิกายน 6. ประเพณีปใหมมง ชวงเวลาจัด ธันวาคม – มกราคม 7. วันคริสมาสต ชวงเวลาจัด 25 ธันวาคม การสาธารณสุข สถานีอนามัยตําบลทุงกลวย ตั้งอยูบานทุงกลวยหมูที่ 4 การคมนาคม เสนทางการคมนาคม ทั้งที่เปนถนนลาดยาง ถนนคอนกรีตเสริมไม ไผ และถมดิน ลูกรัง ซึ่งเปนถนนเชื่อมตอกันภายในหมูบาน และ ตําบล นอกจากนั้นยังมีเสนทางคมนาคมที่ เชื่อมตอกันระหวางตําบล และอําเภอใกลเคียง ไดแก - ทางหลวงหมายเลข 1093 ตัดผาน หมูที่ 1 4 5 6 7 8 9 11 และ 12 - ทางหลวงหมายเลข 1210 ตัดผาน หมู 3 เชื่อมหมู 11 - ทางโยธาธิการ จัดผานหมู 10 เชื่อม หมู 2 - ถนนลูกรังเขตนิคมสหกรณเชียงคําเชื่อมตอระหวาง บานสา ต.ทุง กลวย – ที่วาการกิ่งอ.ภูซาง ต.ปาสัก ระยะทาง 8 กิโลเมตร - ถนนลูกรังเขตนิคมสหกรณเชียงคําเชื่อมตอระหวาง บานกอนอย ต.ทุงกลวย - บานปาสัก ต.ปาสัก ระยะทาง 4 กิโลเมตร - ถนนลกู รังเขตนิคมสหกรณเชียงคําเชื่อมตอระหวาง บานปงใหม หมูที่ 8 - บานกลวยหมทีู ่ 4 ต.ทุงกลวย ระยะทาง 4 กิโลเมตร - ถนนลูกรังเขตนิคมสหกรณเชียงคําเชื่อมตอระหวาง บานสาหมูที่ 6

46


การโทรคมนาคม - ที่ทําการไปรษณียโทรเลข 1 แหง - โทรศัพทสาธารณะทางไกลประจําหมูบาน 13 แหง

สาธารณูปโภค - ประปาผิวดิน

4 แหง

- ประปาภูเขา

2 แหง

- ฝาย 28 แหง - บอน้ําตื้น 1,252 แหง - บอโยก 20 แหง - อางเก็บน้ํา ( ขนาดกลาง ) 3 แหง - อางเก็บน้ํา ( ขนาดเล็ก ) 4 แหง การบริการดานความปลอดภัย - ที่พักสายตรวจ ขอมูลอื่น ๆ แหลงทองเที่ยวที่สําคัญ - วัดพระธาตุขุนบง - อางเก็บน้ําขุนบง - หมูบาน OTOP บานคอดยาว บานทุงกลวยหมูที่ 5 - สวนยางพาราในเขตตําบลทุงกลวย มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบาน 4 รุน 600 คน - ไทยอาสาปองกันชาติ 2 รุน 250 คน - กองหนุนเพื่อความมั่นคง 2 รุน 100 คน - อปพร. 2 รุน 43 คน - ช ร บ. 1 รุน 300 คน - หมูบาน อ พ ป . 12 หมูบาน - หมูบาน ปชด. 1 หมูบาน ไดแกบานหัวนา - ผูประสานพลังแผนดิน จํานวน 240 คน

* ตัวอยางของสินทรัพยชุมชนทุงกลวย หมูที่ 5 ในรายละเอียดหาดูไดจากภาคผนวก 47


ตัวอยางของการนําสินทรัพยชุมชน“ทุงกลวย”ไปใชประโยชน โอกาสที่พองพาน ภายหลังจากการจัดทําแผนที่ชุมชนเสร็จสิ้นในป พ.ศ. 2549 ทางจังหวัดพะเยาไดเลือกพื้นที่ ในเขตตําบลทุงกลวย อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา จัดทําโครงการเสริมสรางการมีสวนรวมของประชาชนบริหาร ราชการระดับจังหวัดภายใตชื่อโครงการวา “โครงการสงเสริมกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนในการ ดําเนินงานดานเอดส การสงเสริมสุขภาพและภูมิปญญาทองถิ่น” การเลือกพื้นที่ตําบลทุงกลวย อําเภอภูซางเปน พื้นที่ตนแบบในการดําเนินงาน เพราะ พื้นที่ตําบลทุงกลวย มีจุดแข็งและมีความพรอมทั้ง ดานศักยภาพของผูนํา ในชุมชน ตั้งแตกํานัน ผูใหญบาน ตลอดถึงภาคีภาคสวนที่เปนหนวยงานภาครัฐ ภาคประชาชน และ ภาคประชา สังคม ที่มีการบริหารจัดการโดยชุมชน โครงการจึงเนนสงเสริมใหชุมชน ไดเรียนรูและมีสวนรวมในการพัฒนา ที่จะนําไปสูความเขมแข็งของชุมชนอยางยืน

วัตถุประสงคของโครงการ 1. เพื่อพัฒนาบุคลากรในสวนภาคประชาชน และของรัฐบางสวนไดเรียนรูและเขาใจกระบวนการ การมี สวนรวมภาคประชาชนเพื่อที่จะสามารถนําความรูที่ไดรับไปจัดกระบวนการการมีสวนรวมภาคประชาชนใน ชุมชนได 2. เพื่อใหภาคประชาชน รูจักบทบาทของตนเอง และสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชนในการพัฒนา ประเทศรวมกับฝายตาง ๆ ได 3. เพื่อใหชุมชนตนแบบการศึกษาเรียนรู ในการมีสวนรวมของภาคประชาชน

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ภาคประชาชนมีความสามารถและมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาชุมชนและสังคมของตนเอง จาก กระบวนการสงเสริมการมีสวนรวมของภาคประชาชน 2. ภาคีภาคสวนตาง ๆ ไดแกหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนได ดําเนินการปองกันและแกไขปญหาของตนเองโดยอาศัยกระบวนการบูรณาการอยางมีสวนรวมของทุกภาคสวน 3. มีชุมชนตนแบบในการเรียนรูกระบวนการมีสวนรวมของภาคประชาชน

ผูรับผิดชอบโครงการในพื้นที่ คณะทํางานโครงการสงเสริมการสรางระบบบริหารราชการแบบมีสวนรวมระดับจังหวัด ของจังหวัด พะเยา ประกอบดวย รองผูวาราชการจังหวัดพะเยา หัวหนาสํานักงานจังหวัดพะเยา หัวหนากลุมงานยุทธศาสตร จังหวัดพะเยา ผูแทนสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพะเยา ผูแทนจากสํานักงานเกษตรจังหวัดพะเยา ผูแทนจาก สํ า นั ก งานสาธารณสุ ข จั ง หวั ด พะเยา พั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย จั ง หวั ด พะเยา และเจ า หน า ที่ ผูเกี่ยวของ โดยจังหวัดพะเยาไดมอบหมายใหสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดพะเยา เปนแมงานหลักในการรับผิดชอบดําเนินงานตามโครงการ ในระดับจังหวัด ซึ่งคณะทํางานจังหวัดไดมอบอํานาจ ใหประชาชนในพื้นที่ ไดแกตัวแทนจากภาคประชาชนเปนผูรับผิดชอบดําเนินกิจกรรมตางๆ ในพื้นที่ โดยการ สนั บ สนุ น ของภาครั ฐ ซึ่ ง เป น กลุ ม องค ก รประชาชนต า งๆ ดั ง กล า ว ได แ ก กลุ ม ดอกหญ า ตํ า บลทุ ง กล ว ย

48


คณะทํางานผลักดันการมีสวนรวมภาคประชาชนตําบลทุงกลวย และสภาเด็กและเยาวชนระดับตําบลและระดับ จังหวัด

การดําเนินงานตามโครงการ 1. การดําเนินงานระดับจังหวัด - แตงตั้งคณะทํางานระดับจังหวัด - จัดประชุมคณะทํางานระดับจังหวัดพะเยา - พิจารณาคัดเลือกพื้นที่ดําเนินโครงการ ซึ่งไดแกพื้นที่ตําบลทุงกลวย อําเภอภูซาง - จัดทําโครงการเสนอตอสถาบันพระปกเกลาในการสนับสนุนงบประมาณ - ดําเนินการตามกิจกรรมที่กําหนดในโครงการ - ประชาสัมพันธและเผยแพรการดําเนินโครงการ - ติดตามการดําเนินโครงการ - จัดทํารายงานผลการดําเนินโครงการ กล า วโดยภาพรวม การทํ า งานของคณะทํ า งานจั ง หวั ด เน น ในเรื่ อ งของกา รดู แ ลในภาพรวม และ สนับสนุนใหคณะผูดําเนินงานจากภาคประชาชนในพื้อนที่ไดทํางานโดยอิสระ ขณะเดียวกันกลาวไดวาโครงการ นี้มีความ สอดคลอ งกับยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด ยุทธศาสตรดานสังคม พันธกิจสงเสริมใหประชาชนมี คุณภาพชีวิตที่ดี เปาประสงค ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งรางกายและจิตใจ และสอดคลองกับยุทธศาสตรอยูดีมี สุขจังหวัดพะเยา แผนงานดานการสงเคราะหผูดอยโอกาสและผูสูงอายุ 2. การเตรียมการในพื้นที่ - จัดตั้งคณะทํางานในระดับพื้นที่ - จัดประชุมและประสานงานกับแกนนําชุมชนทั้งในลักษณะเปนทางการ และไมเปนทางการ เพื่อจัดทําโครงการและกิจกรรม - จัดทําแผนปฏิบัติงานในตําบล และประชาสัมพันธ โครงการใหผูนําชุมชน และผูเขา อบรมรับทราบ โดยเนนการประชาสัมพันธสรางความรูความเขาใจ เกี่ยวกับการดําเนินกิจกรรมโครงการใหกับ พื้นที่ เพื่อสรางความรวมมือใหเกิดกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนตั้งแตการเตรียมการ การดําเนิน กิจกรรม และประเมินผลตนเอง ทุกกิจกรรม - นําเสนอโครงการ - ปฏิบัติงานตามโครงการ - สรุปประเมินผล 3. ขั้นดําเนินการในพื้นที่ 3.1. จัดเวทีประชาคมชี้แจงโครงการกิจกรรมใหแกผูนําชุมชน เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2550 ณ องคการบริหารสวนตําบลทุงกลวย มีผูเขารวมประชุมจํานวน 36 คน วัตถุประสงค เพื่อเตรียมความพรอมในการดําเนินกิจกรรมตามที่ไดจัดทําขอเสนอโครงการ และสราง ความรูความเขาใจใหกับพื้นที่ กอนดําเนินกิจกรรมยอย ๆ ตาง และเปนการสรางการมีสวนรวมของประชาชนใน พื้นที่และภาคีภาคสวนตางๆที่ตองรวมมือกัน

49


กลุมเปาหมาย ประกอบดวยผูนําชุมชน ไดแกกํานัน ผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน สมาชิกองคการ บริหารสวนตําบล กลุมแมบาน กลุมเด็กและเยาวชน ภายใตชื่อกลุมดอกหญา อาสาสมัครพัฒนาชุมชน สมาชิก กลุมทอผา และเจาหนาที่ปกครอง รวมจํานวน 36 คน รูปแบบกิจกรรมการจัดเวทีประชาคม ชวงเชา กํานันตําบลทุงกลวยเปนผูประสานงานในพื้นที่ของโครงการ ชี้แจงความเปนมาของโครงการ ทั้งหมด จากนั้น มีการระดมความคิดของแตละหมูบาน เกี่ยวกับขอมูลและกิจกรรมตาง ๆ ที่ไดดําเนินการผานมา และแลกเปลี่ยนนําเสนอใหกับผูเขารวมประชุมไดรับทราบรวมกัน เพื่อปูพื้นฐานความคิดของผูเขารวมประชุมให เห็นภาพรวมของกิจกรรมที่เกิดขึ้นในแตละชุมชน ตลอดจนวิธีคิด วิธีการทํางานของแตละหมูบาน ในชวงบาย นายวีระพล อินปน ไดนําเสนอภาพรวมของตําบล และกิจกรรมการพัฒนาชุมชน ใหกับ ผูเขารวมประชุมไดรับทราบ และมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเสนอความคิดเห็นของการพัฒนาชุมชนแตละแหง พรอมทั้งคัดเลือกตัวแทนที่จะเขารวมกิจกรรมในโครงการ 3.2. จัดฝกอบรม กระบวนการเรียนรูกับกลุมแกนนํา ครั้งที่ 1 เดือนพฤศจิกายน 2550 ณ องคการ

บริหารสวนตําบลทุงกลวย วัตถุประสงค เพื่อใหแกนนําที่เขารับการอบรมไดมีทักษะในการเปนวิทยากรกระบวนการ มีทักษะใน การดึงศักยภาพและความสนใจของผูเขารวมอบรมในแตละกิจกรรมได กลุมเปาหมาย ประกอบดวย กลุมเด็ก เยาวชน และ ผูใหญในชุมชน และคนจิตอาสาในชุมชน รูปแบบการฝกอบรม ชวงเชา มีกิจกรรมที่เสริมสรางทักษะในการจัดนันทนาการ มีการเลน บทบาท สมมุติ เพื่อฝกทักษะ ชวงบาย มีกิจกรรมวิเคราะหศักยภาพชุมชนของตนเอง 3.3 จัดฝกอบรม กระบวนการเรียนรูกับกลุมแกนนํา ครั้งที่ 2 เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2550 ณ องคการบริหารสวนตําบลทุงกลวย วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขาอบรมไดมีความรูและทักษะอยางตอเนื่องจากการอบรมในครั้งที่ 1 และได ทบทวนกิจกรรมที่ไดดําเนินการแลว นํามาปรับปรุงและพัฒนาทักษะของตนใหมากขึ้นโดยการอบรมเนนให ความรูในดานเอดส เพศศึกษา เพื่อเปนวิทยากรดานเอดสในชุมชน กลุมเปาหมาย ไดแก กลุมเด็กและเยาวชน ผูใหญในชุมชน และคนจิตอาสาที่อยากเขารวมกิจกรรม และแกนนําที่มีความสามรถในการเปนวิทยากรที่คัดเลือกจากการทํากิจกรรมในชุมชน ลักษณะกิจกรรมการฝกอบรม เปนการอบรมใหความรูดานเอดส และเพศศึกษา มีการโอกาสใหแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจ และฝก ทักษะการเปนวิทยากรเพิ่มเติม หลังจากการฝกอบรมแกนนําจํานวน 2 ครั้ง ผูเขารับการอบรมไดเปนวิทยากร กระบวนการ ในกิจกรรมของชุมชน ไดแก โครงการ TO BE NUMBER ONE งานเอดสภาคประชาชนและ มหกรรมสงเสริมสุขภาพและภูมิปญญา เปนตน และในปงบประมาณ 2551 ตําบลทุงกลวยมีกิจกรรมที่ไดรับการ สนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานภาครัฐตาง ๆ ที่เล็งเห็นศักยภาพของชุมชน ไดแก ศูนยพัฒนาสังคมหนวยที่ 31 จังหวัดพะเยา กิจกรรมสงเสริมอาชีพ เยาวชน กลุมแมบาน และกลุมอาชีพในตําบล ในโครงการครอบครัว เขมแข็ง โครงการครอบครัวอบอุน และงานเอดสของกองทุนโลกที่สนับสนุนงบประมาณผานมูลนิธิพะเยาเพื่อ การพัฒนา

50


3.4. กิจกรรมงานเอดสภาคประชาชน และมหกรรมสงเสริมสุขภาพและภูมิปญญา ในวันที่ 10-11

พฤศจิกายน 2550 วัตถุประสงค เพื่อใหมีเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ ทํางานดานสุขภาพ และการปองกันการแพร ระบาดของเอดสในชุมชน 21 ตําบล และใหชุมชนไดเกิดพลังและมีศักยภาพในการจัดการปญหาดวยชุมชนเอง กลุมเปาหมาย ประกอบดวย ผูแทนชุมชนที่ดําเนินโครงการปองกันการแพรระบาดของเอดสใน ชุมชน จํานวน 21 ตําบล จาก 4 จังหวัด ไดแก จังหวัดพะเยา เชียงใหม ลําปาง และนครสวรรค และสมาชิกใน ชุมชนตําบลทุงกลวย ตั้งแตผูนําชุมชน กํานัน ผูใหญบานทุกหมู สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล กลุมแมบาน กลุม อ.ส.ม. กลุมเด็กและเยาวชน กลุมผูสูงอายุ และชาวบาน ลักษณะการจัดกิจกรรมในงาน มีการจัดกิจกรรมอยางหลากหลายที่สําคัญ เชน การจัดเสวนาเรื่อง “พลังชุมชน เพื่อคน เพื่อสุขภาพ” การจัดขบวนพลังชุมชนที่ผสมผสานเรื่องวิถีชีวิตกับการดําเนินงานเรื่องเอดส การจัดซุมนิทรรศการตามจุดตางๆ เพื่อประชาสัมพันธใหชุมชนและผูรวมงานไดรับทราบขอมูลขาวสารการทํากิจกรรมที่สรางสรรคของเด็กและ เยาวชน นอกจากนั้นยังมีการจัดขบวนแบบลานนา เด็กและเยาวชนแตงชุดพื้นเมือง รวมขบวนตอตานเอดส ยาเสพติด มีการฟอน และตีกลองสะบัดชัย รวมในขบวน ตลอดจนการแสดงบนเวทีของสมาชิกเด็กและเยาวชน จังหวัดพะเยา ไดแก การฟอนสาวไหม ระบํานกยูง โปงลาง และการแสดงละครเวทีเพื่อนําเขาสูการเรียนรู เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน เปนตน ซึ่งกิจกรรมสวนใหญจัดโดยเนนใหเด็กและเยาวชน ไดมีโอกาสเขารวมกิจกรรม ของชุมชน และไดแสดงศักยภาพ และความสามารถใหเปนที่ยอมรับของคนในชุมชน โดย เด็กและเยาวชนเปนผู คัดเลือก เตรียมการแสดง และดําเนินกิจกรรมดวยตนเอง กลุมเยาวชนดังกลาวไดแก สมาชิกกลุมดอกหญา ตําบล ทุงกลวย สมาชิกสภาเด็กและเยาวชน จังหวัดพะเยา และเครือขายเด็กและเยาวชนในอําเภอตาง ๆ จํานวน ประมาณ 100 คน

ผลจากการประเมินโครงการฯ การประเมินเชิงบรรยาย 1. ความกาวหนาในความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารราชการแบบใหม

ทีมงานจังหวัดพะเยามีความเขาใจเกี่ยวกับการบริหารงานแบบใหมเปนอยางดี จะเห็นไดจากการเปด โอกาสใหชุมชนเปนเจาของกิจกรรมและโครงการโดยทางจังหวัดเปนพี่เลี้ยงในโครงการนี้ตั้งแตตนโดยใหการ ฝกอบรมแกนนําชุมชนเปนวิ  ทยากรกระบวนการ ติดตามนิเทศงานและเสริมสรางกําลังใจ ตลอดจนสนับสนุน งบประมาณ

51


2. การปรับเปลี่ยนวิธีการดําเนินงาน

ทางจังหวัดพะเยาไดกาวลวงจากการทํางานแบบดั้งเดิม โดยเปลี่ยนจากการใหบริการสาธารณะ หรือการ สงเคราะห มาเปนการเสริมสรางพลังชุมชนใหมีความสามารถในการจัดการกับสิ่งทาทายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต มากกวาการแกปญหาเหมือนครั้งอดีต 3. ความสําเร็จตามเปาหมาย ความคุมคา และความตอเนื่องของโครงการ

- ความสําเร็จตามเปาหมายของโครงการนี้ เห็นไดจาก การที่ประชาชนไดเขามามีสวนรวมในทุก ขั้นตอนของการดําเนินงาน ตั้งแตการมีสวนรวมในกระบวนการตัดสินใจจัดทําขอเสนอโครงการดวยตนเอง โดย คณะทํางานในระดับจังหวัดทําหนาที่เพียงใหขอมูล และประสานงานการดําเนินโครงการเทานั้น ซึ่งเปนการ เสริมสรางพลังใหแกชุมชน นอกจากนั้นเมื่อไดรับการอนุมัติโครงการแลว ประชาชนในพื้นที่ยังมีโอกาสรวม ตัดสินใจในการกําหนดแผนงาน และปรับแผนงานใหสอดคลองกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม และความตองการของ สมาชิกในชุมชน หลังจากนั้น ประชาชนไดมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมตามโครงการ โดยทุกกิจกรรม ภาค ประชาชน ไดแบงบทบาทหนาที่กันเอง พรอมทั้งรวมกันรับผิดชอบการจัดงาน การบริหารงบประมาณ การ บริหารงาน และสรุปผลการทํางาน โดยทุกคนมีโอกาสรวมตัดสินใจ และ รวมทํากิจกรรมตามความสามารถและ ความถนัดของตน ขณะเดียวกันก็มีความรูสึกวาเปนเจาของงานดวยกันทั้งหมด ไมไดถูกบังคับ ซึ่งสามารถกลาว ไดภายหลังการปฏิบัติงานรวมกัน อยางภาคภูมิใจวา “เราทํากันเอง” ยิ่งไปกวานั้น ประชาชนยังไดรับประโยชนรวมกัน เชน ไดรับการสนับสนุนงบประมาณ ในการพัฒนา ใหชุมชนมีความเขมแข็งยิ่งขึ้น ไดเรียนรู และ เพิ่มทักษะในการจัดการพัฒนาชุมชนของตนเอง ดวยตนเอง ซึ่ง เปนการเพิ่มศักยภาพของคนในชุมชน ในการเรียนรูการทํางานรวมกัน มีความรักความสามัคคี ซึ่งนําไปสูความ เขมแข็งของชุมชนได และที่สําคัญที่สุดคือ ทําใหเกิดผูนําธรรมชาติขึ้นอยางหลากหลายภายหลังจากการคนพบ ตัวเองของผูทํากิจกรรมรวมกัน นอกจากนั้น ประชาชนยังมีโอกาสมีสวนรวมในการประเมินผล เพื่อเสริมสรางพลังทีมงานของตนเอง ภายหลังจากการดําเนินการเสร็จสิ้นลง ซึ่งทําใหไดเห็นถึงคุณคาของตนเองในการทํางานรวมกันอยางรวมหัวจม ทาย ดังนั้นจึงกลาวไดวาโครงการนี้ประสบความสําเร็จตามเปาหมายของโครงการ - ความคุมคาของการใชงบประมาณ เห็นไดจากการใชงบประมาณในวงเงิน 1 แสนบาท สามารถสราง กิจกรรมไดอยางหลากหลายถึง 6 กิจกรรม ซึ่งมีทั้งการระดมความคิด การอบรมเพื่อเสริมสรางศักยภาพของความ เปนผูนํา การประชุมเชิงปฏิบัติการของเครือขายการทํางานดานเอดส การสืนสานภูมิปญญาและสรางเสริมสุขภาพ ตลอดจนการใหสุขศึกษาในเรื่องเพศศึกษาและการปองกันเอดส โดยในแตละกิจกรรมก็มีผูมีสวนรวมทั้งใน ชุมชนเอง และนอกชุมชน - ความตอเนื่องของโครงการ เห็นไดจาก การริเริ่มของทางจังหวัดที่จะคัดสรรชุมชนตน แบบ การศึกษาเรียนรู ในการมีสวนรวมของภาคประชาชน ซึ่งในที่นี้ไดแกชุมชนตําบลทุงกลวย อําเภอภูซาง ภายหลัง จ ากการเสร็จ สิ้น โครงการ มี แ กนนํ าเกิ ดขึ้ นทั้ งในกลุ ม เยาวชน ผู ใหญ และผูสู งอายุ พร อ มที่จ ะเป นวิ ท ยากร กระบวนการ และถายทอดประสบการณการรณรงคกอกระแสกลุมพลัง โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการสรางเสริม สุขภาพและการปองกันโรคเอดสในแนววัฒนธรรมชุมชน ไปยังชุมชนอื่นๆ ใกลเคียง 52


4. รูปแบบของการมีสวนรวมตามโครงการ

มีการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมอยางหลากหลาย มีภาคีเขามารวมหลายกลุม เชน กลุม เด็กและเยาวชน กลุมสตรี กลุมพระสงฆ ผูสูงอายุ ผูนําชุมชน สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล กลุมแมบาน อส ม. กลุมอาชีพ ขาราชการในทองถิ่น และเจาหนาที่ของรัฐ เปนตน รูปแบบการมีสวนรวมของประชาชนมีอยางหลากหลาย อาทิ การระดมความคิดในการจัดทําแผนรวม พัฒนาความสามารถของตนเอง รวมประชุมเชิงปฏิบัติการในระดับภูมิภาค รวมเปนแกนนําในสภาเด็กและ เยาวชน รวมจัดงานสืบสานภูมิปญญาและสรางเสริมสุขภาพ เปนตน 5. ระดับการมีสวนรวมของประชาชน

เกิดการมีสวนรวมอยางแทจริง ตั้งแตการมีสวนรวมแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมวางแผน รวมดําเนินการ รวมตรวจสอบ รวมประเมินผล และรวมรับประโยชนจากการดําเนินงาน 6. นวัตกรรมในการทํางาน

นวัตกรรมการทํางานของงจังหวัดพะเยา ไดแก - การทํางานในแนววัฒนธรรมชุมชน - การเนนหนักใหชุมชนเปนเจาภาพในการจัดกิจกรรม - มีการใชสินทรัพยของชุมชนมาเปนสวนประกอบสําคัญในการจัดกิจกรรม เชน การจัดกิจกรรมใน งานเทศกาลตางๆ โดยสอดแทรกกิจกรรมในลักษณะหรรษาวิชาการ (Edutainment) ทําใหกลุมเปาหมายสนใจ ที่จะเขามามีสวนรวมในการทํากิจกรรม - มี ก ารพั ฒ นาความสามารถวิ ท ยากรกระบวนการเพื่ อ ทํ า ให ก ารประชุ ม เกิ ด การมี ส ว นร ว ม และมี บรรยากาศของความเปนประชาธิปไตย - มีการนําแผนที่ทุนทางสังคมมาใชเปนขอมูลนําเขาในการออกแบบโครงการเสริมสรางการมีสวนรวม ของประชาชน 7. ความพึงพอใจของผูดําเนินการและประชาชน

ผูดําเนินการและประชาชนที่เขารวมมีความพึงพอใจในระดับดี 8. ขอสังเกตที่นาสนใจเกี่ยวกับความสําเร็จหรือความลมเหลวของโครงการ

เบื้องหลังความสําเร็จของโครงการนี้อยูที่ปจจัยสําคัญหลายประการ คือ - การมีผูนําธรรมชาติที่มีวิสัยทัศนในการพัฒนา และไดรับการเสริมสรางความสามารถ จํานวนเพิ่มขึ้น และในประเด็นที่หลากหลาย - แกนนําที่เปนผูนําธรรมชาติไดรับการพัฒนาใหเปนวิทยากรกระบวนการ ซึ่งทํางานเปนทีม

53


- การจัดบรรยากาศของกิจกรรมมีความเปนประชาธิปไตยแบบพหุนิยม (Pluralistic Democracy) ซึ่งเห็นไดจากกลุมตางๆ ในหมูบานมีอยูหลายวัย และมีประสบการณทํางานตางกัน แตมีการยอมรับในความ แตกตางซึ่งกันและกัน โดยถือวาความหลากหลายคือความงดงาม ดังนั้นเยาวชนจึงสามารถเปนแกนนําในการจัด กิจกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งไดรับรางวัลในการประกวดกิจกรรมในระดับจังหวัดหลายครั้ง - การบูรณาการระหวางกิจกรรมของเยาวชนที่ออกมาในแนวโลกาภิวัตน ผสมผสานกับแนววัฒนธรรม ชุมชน แทนที่จ ะเปนความแปลกแยก กลับ สรางความสนใจใหแ กผูเขารวมกิจ กรรม ไดอ ยางกลมกลืน แ ละ นาชื่นชม 9. ขอเสนอแนะ

- จากการดําเนินโครงการเสริมสรางการมีสวนรวมของจังหวัดพะเยาทําใหไดเรียนรูวา การพัฒนาชุมชน โดยอาศัยสินทรัพยของชุมชนเปนฐานตามแนววัฒนธรรมชุมชน สามารถเกิดขึ้นไดโดยอาศัยการมองโลกในแง บวก และความเชื่อมั่นในศักยภาพชุมชนของตนเอง ซึ่งการพัฒนาชุมชนแบบดั้งเดิมมักเนนเรื่องของการพัฒนา วัตถุ และใช ปญ หาเปนตั วตั้ง รวมทั้ งทําลายความเชื่อ มั่นวา สมาชิก ของชุมชนมีค วามสามารถ มีทัก ษะ และ พรสวรรคไมทางใดก็ทางหนึ่ง ผลที่ตามก็คือชุมชนอยูในสภาพพึ่งพิงปจจัยภายนอก และมองเห็นแตความออนแอ ทุกขยากของตนเอง โดยมองขามศักยภาพที่มีอยูมากมายในสมาชิกของชุมชน ดังนั้น หากจะมีการพัฒนาชุมชนใน อนาคตไมวาในดานสุขภาพ การศึกษา เศรษฐกิจ หรือสังคมก็ตาม ควรจะมีการนําแนวคิดในเรื่องการพัฒนา ชุมชนโดยอาศัยสินทรัพยของชุมชนเปนฐาน (Asset Based Community Development) ไปปรับใชใน ชุมชนอื่น - นอกจากโครงการเสริมสรางการมีสวนรวมจะกอใหเกิดความสําเร็จในการพัฒนาชุมชนแลว ยังมีการ ใชแผนที่ทุนทางสังคม ภายใตการสนับสนุนงบประมาณจากสํานักพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด พะเยาตามโครงการจังหวัดบูรณาการ จังหวัดพะเยา มาเปนขอมูลนําเขาในการพัฒนาโครงการนี้ดวย ซึ่งขอมูล ของตําบลทุงกลวยที่ไดจากการจัดทําแผนที่ทุนทางสังคมเปนสวนหนึ่งที่ทําใหประชาสังคมและสมาชิกของชุมชน เปนกลุมพลังในการพัฒนาชุมชนของตนเอง ดังนั้น นอกจากเรื่องของการเสริมสรางการมีสวนรวมแลวควรมี การบูรณาการโครงการแผนที่ทุนทางสังคมเพื่อนําไปใชในชุมชนอื่นดวยเชนกัน

การประเมินเชิงปริมาณ ก. การวัดความพยายามของจังหวัดในการสรางกระบวนการมีสวนรวม 1. การใชเทคนิคที่หลากหลาย - ใช 1-2 วิธี - ใช 3-5 วิธี

ได 1 ได 2

√ (บัตรคํา, ประชุมกลุม, การสนทนากลุม,

เสนอความเห็น, กระดานฟลิบชารต) การเปดเวทีระดมความคิด วิทยากรกระบวนการ การประชุมเชิงปฏิบัติการอยางมีสวนรวม การวางแผนอยางมีสวนรวม

54


2. ภาคีที่เขารวมมีกี่หนวยงาน 2.1 เฉพาะสวนราชการ - ไมมี - มี 1 หนวยงาน - มี 2 -5 หนวยงาน - มีมากกวา 5 หนวยงาน

ได 0 ได 1 ได 2 ได 3 √

2.2 องคกรปกครองสวนทองถิ่น - ไมมี

ได 0 - มี 1 หนวยงาน ได 1 √ - มี 2 -5 หนวยงาน ได 2 - มีมากกวา 5 หนวยงาน ได 3 2.3 จํานวนกลุมประชาชนทั่วไป เชน กลุมประชาชนจากชุมชนตางๆ , ปราชญชาวบาน) - ไมมี ได 0 - มี 1 กลุม ได 1 - มี 2 -5 กลุม ได 2 - มีมากกวา 5 กลุม ได 3 √ 2.4 จํานวนกลุมธุรกิจ - ไมมี ได 0 √ - มี 1 กลุม ได 1 - มี 2 -5 กลุม ได 2 - มีมากกวา 5 กลุม ได 3 2.5 จํานวนกลุมประชาสังคม - ไมมี ได 0 - มี 1 กลุม ได 1 - มี 2 -5 กลุม ได 2 ได 3 √ - มีมากกวา 5 กลุม 2.6 จํานวนกลุม NGOs - ไมมี ได 0 - มี 1 กลุม ได 1 - มี 2 -5 กลุม ได 2 - มีมากกวา 5 กลุม ได 3 √ 2.7 จํานวนกลุมองคกรศาสนา - ไมมี ได 0 - มี 1 กลุม ได 1 ได 2 √ - มี 2 -5 กลุม - มีมากกวา 5 กลุม ได 3

55


2.8 จํานวนกลุมนักวิชาการ - ไมมี

ได 0 ได 1 ได 2 √ ได 3

- มี 1 กลุม - มี 2 -5 กลุม - มีมากกวา 5 กลุม 2.9 จํานวนกลุมเอกชน - ไมมี

ได 0 ได 1 ได 2 √ ได 3

- มี 1 กลุม - มี 2 -5 กลุม - มีมากกวา 5 กลุม 3. การสนับสนุนงบประมาณจากแหลงอื่น - ไมมี - มีนอยกวา 10,000 บาท - มี 10,001- 30,000 บาท - มีมากกวา 30,000 บาท

ได 0 ได 1 ได 2 ได 3 √

4. การสนับสนุนทรัพยากรอื่นๆ - ไมมี

ได 0 ได 1 √

- มี

5. การสนับสนุนบุคคลากรจากหนวยงานเขารวม - ไมมี

ได 0 ได 1 √

- มี 6. ผูเขารวมกิจกรรม - ไมมีความหลากหลาย - มีความหลากหลาย - เขารวมอยางตอเนื่อง - มีความหลากหลาย

และเขารวมอยางตอเนื่อง

ได 0 ได 1 ได 1 ได 2 √

7. จังหวัดมีการขยายผลตอ - ไมมี - มี

ได 0 ได 1 √

8. จํานวนครั้งในการจัดกิจกรรมแบบมีสวนรวม - จัด 1 ครั้ง - จัด 2-5 ครั้ง - จัด มากกวา 5 ครั้ง

ได 1 ได 2 ได 3√ 56


ข. การวัดผลผลิต ผลลัพธ ผลกระทบ 1. นวัตกรรม (คนพบสิ่งใหม เทคนิควิธีการ การมีสวนรวม ผูรับผล การบริหารราชการแบบมีสวนรวม) - ไมมี - มี 1-2 นวัตกรรม - มี 3-5 นวัตกรรม - มีมากกวา 5 นวัตกรรม

ได 0 ได 1 ได 2 √ ได 3

2. เกิดโครงการตอเนื่อง - ไมมี - มี 1-2 โครงการ - มี3-5 โครงการ - มีมากกวา 5 โครงการ

ได 0 ได 1 √ ได 2 ได 3

3. มีหนวยงานราชการมารวมกิจกรรมทําการเปดระบบราชการแบบมีสวนรวม - มีเพียง 1 หนวยงาน - มี 2-3 หนวยงาน - มีมากกวา 3 หนวยงาน

ได 1 ได 2 √ ได 3

4. ความกระตือรือรน/ ใสใจติดตามผลงาน (ทางการ/ไมเปนทางการ) - ไมมี - มี เลขาของงานในที่ประชุม/ เปนทางการ - มี ตามขอ 2 และติดตามอยางไมเปนทางการ - ติดตามขอ 3 นําผลงานมาเผยแพร (ใชผล)

ได 0 ได 1 ได 2 ได 3 √

5. เขียนรายงานการทํากิจกรรมทุกครั้ง - ไมมี

ได 0 ได 1 ได 2 ได 3 √

- มีบาง บางกิจกรรม - มีทุกกิจกรรม - มีทุกกิจกรรม และนําเสนอผูบริหารทุกครั้ง 6. มีเรื่องเดนอยากยกตอเพื่อเปนตัวอยาง (best practice) - ไมมี - มี 1-2 เรื่อง - มีมากกวา 2 เรื่อง

ได 0 ได 1 ได 2 √

7. มีการขยายเครือขายของการบริหารราชการระบบเปดไปยังอําเภอ ทองถิ่น หนวยงานตางๆ

57


- ไมมี

ได 0 ได 1 ได 2√

- มี 1-2 เครือขาย - มีมากกวา 2 เครือขาย

8. ใชความรูจากการทํากิจกรรมมาปรับปรุงการทํางานเปนที่ประจักษ (KM) มีการถอดบทเรียนเพื่อนําความรู

ไปใชในกิจกรรม) - ไมมี ได 0 - มี 1-2 หนวยงาน ได 1 - มีมากกวา 2 หนวยงาน ได 2√ 9. มีการประชาสัมพันธกิจกรรม (วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ cable เสียงตามสาย สื่อบุคคล ฯลฯ) - ไมมี ได 0 - มี 1-2 วิธี ได 1 - มี 2-5 วิธี ได 2 √ - มีมากกวา 5 วิธี ได 3 10. ความเขาใจ ตระหนักของผูบริหารราชการ ขาราชการตอการบริหารราชการแบบใหม

ไมเขาใจเลย 0

1

เขาใจเปนอยางยิ่ง 2

3

4

5

6

7

√8

9

10

11. ความพึงพอใจของผูดําเนินกิจกรรม (ผูรับผิดชอบ หรือคณะทํางาน)

ไมพึงพอใจเลย 0

1

พึงพอใจเปนอยางยิ่ง 2

3

4

5

6

7

√8

9

10

12. ความพึงพอใจของผูดําเนินกิจกรรม (ผูรวมกิจกรรม)

ไมพึงพอใจเลย 0

1

พึงพอใจเปนอยางยิ่ง 2

3

4

5

6

7

√8

9

10

ค. การประเมินภาพรวมเพื่อรับรางวัล 1. ความเหมาะสมในการไดรับรางวัล

เหมาะสม เพราะ - มีการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมอยางแทจริง ในระดับเสริมสรางพลังชุมชน (Community Empowerment) ทุกขั้นตอนของการมีสวนรวมตั้งแตรวมใหขอมูลขาวสาร รวมแสดงความคิดเห็น รวมทํางาน ไดรับการกระจายอํานาจโดยมอบอํานาจในการดําเนินงาน และรวมประเมินผล รวมทั้งใหงบประมาณสนับสนุน โดยสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยเพื่อใหดําเนินงานอยางตอเนื่อง

58


บทสรุป: การเมืองภาคพลเมืองกับวิถีแหงพลเมืองเขมแข็ง ความเปนพลเมืองมีหลายสถานะ(ผังภาพที่ 12) • เริ่มตั้งแตระดับออนแอที่สุดจนถึงระดับเขมแข็งที่สุด ขึ้นอยูกับความคิด การ แสดงตน และการกระทําในชีวิตประจําวัน • พลเมืองในฐานะผูรับการอุปถัมภ รบการสง ั เคราะห คือผูพึ่งพิงราชการ หรือ หนวยงานจากภายนอก เชนองคกรพัฒนาเอกชน มูลนิธิหรือกองทุน มีผูมองวา เขาเปนผูประสพเคราะหกรรม นาสงสาร ชวยตัวเองไมได สมควรไดรับการดูแล • พลเมืองในฐานะผูรับบริการจากแหลงบริการสาธารณะ สถานประกอบการ หรือ แหลงธุรกิจเอกชน เขาเปนผูบริโภค ที่มีสิทธิ์เรียกรองความเปนธรรม เมื่อถูก ละเมิด สิท ธิ์ ตอ งการบริก ารที่ มีคุ ณ ภาพดี สะดวก ปลอดภัย และมีก ารดูแ ล สม่ําเสมอ • พลเมืองในฐานะผูเปนแหลงขอมูล เมื่อหนวยงานราชการหรือเอกชนตองการ ปรับปรุงบริการ หรือนําโครงการใหม ๆ เขาสูชุมชน เขามักไดรับเชิญใหเขารวม ประชุมในวาระตาง ๆ ในฐานะผูเขารวมประชุมปรึกษาหารือ ประชาพิจารณ ให ความเห็นในที่ประชุม ตอบคําถามทางโทรศัพท กรอกแบบสอบถาม ฯลฯ • พลเมืองในฐานะของผูมีสวนรวมกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในชุมชนของ ตนเองและสังคม บทบาทของพลเมืองที่เขมแข็งจะปรากฏก็ตอเมื่อมีโอกาสเขา ไปมีสวนรวมในการกําหนดเปาหมายของความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น หรือเขา รวมกําหนดวิสัยทัศน รวมวางแผน รวมปฏิบัติการและรวมประเมินผล ยิ่งไป กวานั้น พลเมืองสามารถ เปนผูนําการเปลี่ยแปลงเสียเอง ดวยการรวมหมู จุด ประกาย กอกระแสกลุมพลังชุมชนใหมีการรวมคิด รวมทําในสิ่งที่มีผลกระทบ ตอวิถีชีวิตของตนเอง ครอบครัว เพื่อนบาน ชุมชนและสังคมโดยรวม เหนือสิ่งอื่นใด.... • พลเมืองในฐานะผูควบคุม ตรวจสอบนโยบายสาธารณะที่รัฐหรือเอกชนกําหนด เขาสามารถควบคุมโครงการใดก็ตามที่มีผลกระทบตอชุมชนและสังคม

• เขาคือพลเมืองเขมแข็งที่สุดในฐานะผูกําหนดชะตากรรมของชุมชน สังคมและบานเมือง 59


ควบคุม ผูควบคุม ผูมีสวนรวม แหลงขอมูล

ผูรับบริการ ผูถูกอุปถัมภ

การกําหนดนโยบาย

การวางแผน การปฏิบตั ิการ การประเมินผล

มีสวนรวม กําหนดเปาหมาย วางแผน ปฏิบตั ิการ ประเมินผล เปนคณะทํางาน เปนผูกอกระแส

เปนผูใหขอมูล ใหสัมภาษณ ใหความเห็นในกลุม ประชาพิจารณ กรอกแบบสํารวจ ไดรับการบริการ เปนผูบริโภค

ไดรับการบริจาค รับการสงเคราะห

ผังภาพที่ 12 แสดงถึงบทบาทของพลเมืองตอการมีสวนรวมในการพํฒนาชุมชน • เขาไมใชผูบริหารประเทศ หรือผูบริหารทองถิ่น ที่มาจากการเลือกตั้ง แตเขามี สิทธิที่กําหนดไวแลวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ใหมีอํานาจควบคุม ดูแลสิ่งตาง ๆไดตามบทบัญญัติของกฎหมายอยางสมภาคภูมิ • การพัฒนาชุมชนที่อาศัยสินทรัพยของชุมชนเปนฐาน มีหลักการที่สนับสนุน ใหผูคนในชุมชน มีฐานคิดหลักคือ มีทัศนคติในการมองโลกในทางบวก เห็น คุณคาของตนเองและผูคนรอบขาง มีสินทรัพยและเวลาที่จัดสรรใหสังคม ชุมชน ครอบครัวและตัวเองไดอยางลงตัว นั่นหมายถึง ศิลปะการดํารงชีวิตที่มี คุณภาพ ตามความหมายของคําวา “พลเมืองเขมแข็ง”

60


บรรณานุกรม ภาษาไทย กาญจนา แกวเทพ 2538 การพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชน โดยถือมนุษยเปนศูนยกลาง กรุงเทพ ฯ สภาคาทอลิค แหงประเทศไทยเพื่อการพัฒนา, 190 หนา วีรพล อินปน 2549 รายงานการศึกษาเรื่อง แผนที่ทุนทางสังคม ตําบลทุงกลวย อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา เอกสารโรเนียว อุทัยวรรณ กาญจนกามล 2551 รายงานการประเมินผลโครงการสงเสริมการสรางระบบบริหาร ราชการอยางมีสวนรวมระดับจังหวัด: จังหวัดพะเยา 2551 สถาบันพระปกเกลา เอกสารโร เนียว, 32 หนา อุทัยวรรณ กาญจนกามล 2538: วิสัยทัศนในการพัฒนาประเทศเพื่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพของคน ไทย: ความจําเปนเรงดวนในสถานการวิกฤต เอกสารเพื่อการศึกษาและแกไขปญหาทอง ถิ่น ลําดับที่ 10 โรงพิมพสันติภาพพริ้นท, 33 หนา

ภาษาอังกฤษ Brunner, I. and Guzman, A.1996. Participatory evaluation: A tool to assess projects and Organization: Fostering stakeholder empowerment and utilization. Burkey, S. 2003.People First: A guide to Self-Reliant, Participatory RuDevelopment. London: Zed Books. 26. Ndekha, A. et al. “Community Partic Process: Experiences from a Shistosomiasis Control Project in Zimbabwe,” Acta Trop85; 325-338. 84 Castelloe, P., Watson, T.,1999. Participatory education as a communitpractice method: A case study example from a comprehensive. Chambers, R. 1995. Participatory Workshops: a sourcebook of 21 sets of ideas & 8. Fetterman, D. Empowerment Evaluation: Collaboration, Action Research, and a 9. Fetterman, D. The Foundation of Empowerment Evaluations 2000, Syracuse University Press. Chambers, R. 1997.Whose reality counts? Putting the first thing last. London: Intermediate Technology Publications. Crewe, E. and Harrison E., 2000.Whose Development? An Ethnography of Aids. London, Involving People Evolving Behavior. New York

61


Fraser, C., Restrepo-Estrada, S 1998.Communicating for development: Human Change for survival. Kretzmann, J., McKnight 1993. Building communities from the inside out.J.,Chicago, IL: ACTA Publications.

Kretzmann, J.& McKnight, J. and Puntenney D.1996. A Guide to Mapping and Mobilizing the Economic Capacities of Local Residents –presents a model for exploring how individuals make choices about heir purchases, and about how much they spend on specific items. Kretzmann, J.& McKnight, J. and Puntenney D.1996. A Guide to Mapping Local Business Assets and Mobilizing Local BusinessCapacities – outlines a plan for learning about the businesses in a community and how they can be mobilized in community development efforts. Kretzmann, J.& McKnight, J. and Puntenney D.1996. A Guide to Mapping Consumer Expenditures and Mobilizing Consumer Expenditure Capacities – provides instructions for identifying and mobilizing themarketable capacities and skills of local residents. Kanchanakamol, U., 2002 A Vaccine for Globalization: Presented at the final plenary session of the Fulbright New Century Scholar Program,“ Challenges of Health in a Borderless World”. Held at Airlie House, Virginia,USA, Oct. 31Nov. 2002. Kretzmann, J.& McKnight, J. and Puntenney D. Sheehan, G.,Green M., Puntenney D.1997. A Guide to Capacity Inventories: Mobilizing the Community Skills of Local Residents – provides clear examples of how eleven communities across the United States developed and used capacity inventories for community building and offers valuable tips for conducting and using capacity inventories in your community. Kretzmann, J., McKnight J., Puntenney D.1998.A Guide to Creating a Neighborhood Information Exchange: Building Communitiesby Connecting Local Skills and Knowledge – presents a simple method for sharinglocal resources among community members through the operation of a capacitylisting-and-referral service operated by volunteers on a minimal budget. Mathie, A. and Cunningham, G., Occas 2002 from Clients to Citizens: Asset-Based CoDriven Development as a strategy for Community Driven Development, Paper Series The Coady International Institute, Nova Scotia: Canada. Minkler, M. Rutgers 1999. Community Organizing & Community Building for Health. University Press

62


Moore H., Puntenney D.1999. Leading by Stepping Back: A Guide for City Officials on Building Neighborhood Capacity – describes how Savannah created a citizen-centered government that allows it to work with local residents to improve troubled neighborhoods and build a stronger community. Puntenney D., Moore H.1998.City-Sponsored Community Building: Savannah's Grants for Blocks Story –illustrates how a city’s resident controlled small grants program enabled citizens to design and implement projects to improve their neighborhoods. Rans S.,Altman H. 2002.Asset-Based Strategies for Faith Communities – reports the stories of a variety of faith-based initiatives that have increased the well being of both congregations and their communities. Sheehan G.2003.Building the Mercado Central: Asset-Based Development and Community Entrepreneurship – describes how asset-focused and community organizing approaches were combined to unleash the economic power of Minneapolis’ immigrant Latinocommunity. Singhal, A.2001 Facilitating Community Participation through Communication. Submitted to GPP, Programme Division, UNICEF, New York.

Snow L, 2001. The Organization of Hope: A Workbook for Rural Asset-Based Community Development – shares a set of stories and lessons meant to spread the good news that the asset-based approach is working in rural communities Snow L., Ukaegb U.2001.Community Transformation: Turning Threats into An opportunity presents the stories of eight communities that transformed economic threats into opportunities by mobilizing local people to work together to overcome obstacles and build stronger economies. Tom Dewar 1997. A Guide to Evaluating Asset-Based Community Development: Lessons, Challenges, and Opportunities – explores the challenges involved in evaluating community building activity and suggests some promising ways to document the progress and draw out the lessons being learned Turner, N., McKnight, J., and Kretzmann J.1999.A Community Building Workbook ©2005 Asset-Based Community Development Institute-34A Guide to Mapping and Mobilizing the Associations in Local. Turner, N., McKnight, J., Kretzmann J.1999.Neighborhoods -outlines steps for collecting and organizing information about neighborhood citizen associations and for identifying and using their potential to build better communities.

63


ภาคผนวก 1 เราจะทํา เราทําได คํารอง: อุทัยวรรณ กาญจนกามล ทํานอง:เพลง Such As You Such as I

จุดประกาย ในหมูผูคน กอกระแส กลางกลุมชุมชน จากภายใน ไรความหมองหมน เสริมกําลังใจ สรางสิ่งใหม ๆ เพื่ออนาคต สดใส สุขสันต ฉันทําได อยากเปลี่ยนแปลง ในสิ่งที่เห็น ก็ตองพรอม มองบวกใหเปน ไมยอมแพ แมจะลําเค็ญ ทุกขสุขบุกบั่น รักอภัยกัน เพื่ออนาคต สดใส สุขสันต เธอทําได คิดกันจริงจัง ทําเต็มกําลัง เพื่ออนาคต สดใส สุขสันติ์ ถึงแมจะนานสักแคไหน เราจะทํา เราทําได

64


ภาคผนวก 2 ตัวอยางของสินทรัพยชุมชนตําบลทุงกลวย หมูท ี่ 5 โดยละเอียด บานทุงกลวยหมูที่ 5 ตําบลทุงกลวย กิ่งอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ประวัติหมูบาน บานทุงกลวย เริ่มกอตั้งหมูบา นเมื่อป พ.ศ.2418 ราษฎรกลุมแรก อพยพมาจากจังหวัดนาน โดยไดมาตั้งถิน่ ฐานที่ทุงคัวะในปจจุบัน ตอมาเกิดโรคฝดาษจึงไดอพยพยายกลับภูมลิ ําเนาเดิม ราษฎรกลุมที่ 2 ไดอพยพมาจากตําบลศรีษะเกษ ตําบลนานอย มาตั้งรกรากในเขตบานทุงกลวย ปจจุบัน โดยไดมาตั้งชื่อบานนามเมืองวาบานทุงกลวย ตาม สภาพแวดลอมที่มีมาแตเดิม รายนามผูดํารงตําแหนงผูใหญบานจากอดีตจนถึงปจจุบัน 1.นายแสนหลวงวิชา ธนะ 2.นายอุด ธนะ 3.นายนนท อินปน 4.นายเนตร วรรณคํา 5.นายหวีด สุจะคํา 6.นายธนณรงค วรรณคํา กํานัน 7.นายนวล อินปน กํานัน 8.นายวีระพล อินปน กํานันตําบลทุงกลวยดํารงตําแหนง มิถุนายน 2547 – ปจจุบัน ที่ตั้ง บานทุงกลวยหมู 5 ปจจุบนั ตั้งอยูหมูที่ 5 ตําบลทุงกลวย กิ่งอําเภอภูซาง สูงกวา ระดับน้ําทะเลราว 475 เมตร ระยะทางหางจากที่วาการกิง่ อําเภอภูซาง 10 กิโลเมตร อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ ติดกับ บานทุงกลวยหมู 4 ตําบลทุงกลวย ทิศใต ติดกับ บานทุงกวาว ตําบลทุงกลวย ทิศตะวันออก ติดกับ บานสา บานงุน ชายแดนลาว ทิศตะวันออก ติดกับ บานทุงกวาวหมูที่ 3 ตําบลทุงกลวย

65


ลักษณะภูมิประเทศ เปนภูเขาและพื้นที่ราบลุม มีทุงนาอยูโดยรอบ มีน้ําบงไหล น้ําหวยตาง ไหลผาน มีตน กําเนิด แมน้ํารองอยูมนหมูบา น มีลําธารอยูโดยรอบหมูบา น รวม 4 สาย การปกครอง บานทุงกลวยหมูที่ 5 อยูในเขตองคการบริหารการปกครองขององคการบริหารสวนตําบล ทุงทุงกลวย มีผูนําชุมชนในเขตตําแหนงกํานัน ที่ไดรับการเลือกตั้งมาจากประชาชนในหมูบาน มี จํานวนหลังคาเรือนทั้งหมด 268 ครัวเรือน จํานวนประชากร 410 คน คนในหมูบานมีการแบงเขต พื้นที่รับผิดชอบออกเปนคุมตางๆจํานวน 7 คุม และแตละคุมมีหัวหนาคุม ที่รับผิดชอบดูแลสมาชิก ของตนเองโดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหประชาชนสามารถพึ่งตนเองไดในการแกไขปญหาของชุมชน เองและทําใหเกิดการคลองตัวในการบริหารการจัดการในเรื่องตางๆของหมูบาน สภาพทางเศรษฐกิจ ประชากรสวนใหญในหมูบานมีอาชีพเกษตรกรรม เกษตร ไดแก การทํานา ทําสวนผลไม และพืชเศรษฐกิจที่สําคัญที่สําคัญไดแกสวนยางพารา ซื่งที่นี่เปนแหลงศึกษาดูงานการปลุกยางพารา ในภาคเหนือ ประชาชนในหมูมีที่ดินเปนของตัวเอง ประกอบอาชีพของตัวเอง ประกอบอาชีพโดย ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ศาสนาและวัฒนธรรม ประชากรในหมูบาน นับถือศาสนาพุทธ มีจารีตประเพณีที่ถือปฏิบัติสืบทอดกันมา ไดแก ประเพณี ใหทานขาวใหม สงกรานต ขึ้นธาตุเดือนแปดเปง เขาพรรษา ออกพรรษา ตานกวย สลาก ประเพณียี่เปงซึ่งบานทุงกลวยถือวาเปนประเพณีที่นาเที่ยวชมเปนอยางมาก วันสําคัญทาง ศาสนา เลี้ยงผีปูยา เลี้ยงผีขุนน้ํา งานบุญตางๆ เชน ขึ้นบานใหม แตงงาน งานศพ งานปอยหลวง ดา ปอยลูกแกว (บรรพชาอุปสมบท) เปนตน สถานที่สําคัญ วัด 1 แหง โรงเรียน 1 แหง หอประชุมหมูบ าน 1 แหง โรงทอผา 2 แหง ศูนยสาธิตการตลาด 1 แหง ยุงขาว 2 แหง

66


แหลงน้ําที่สําคัญ มีสายน้ําไหลผานจํานวน 3 สาย 1. น้ําแมบง 2. น้ําเหมืองกลวย 3. ลําเหมืองกวาว มีสระน้ํา 2 สระ 1.อางเก็บน้ําน้ํารอง 2.อางเก็บน้ําหวยตางนอก ฝายตั๋น แหลงทรัพยากรธรรมชาติ 1.บอดินลูกรัง 1 แหง 2.ปาชุมชน 82 ไร การประกอบอาชีพของราษฎรในหมูบาน 1. อาชีพทําการเกษตร 151 ครอบครัว 2.รับจาง 65 ครอบครัว 3. ธุรกิจสวนตัว 4 ครอบครัว 4.คาขาย 7 ครอบครัว 5.รับราชการ 3 ครอบครัว แหลงรายได 1.ขายผลผลิต 2.รับจางทั่วไป 3.คาขาย

67


รายจายสําคัญของครัวเรือน 1.ใชจายในชีวติ ประจําวัน 2.ใชจาย ในการศึกษาบุตร 3.ใชจาย ในการลงทุน ทรัพยากร ธรรมชาติที่เปนทุนทางเศรษฐกิจของหมูบาน 1.ที่ดิน 2.แหลงน้ํา 3.นวดแผนโบราณ 4.ทําปราสาทใสศพ กลุมตางๆในหมูบาน 1.กลุมทอผา 2.กลุมทอผายอมสีธรรมชาติ 3.กลุมผูสูงอายุ 4.กลุมแมบาน 5.กลุมเยาวชน 6.กลุมผูเลี้ยงวัว 7.วิสาหกิจชุมชน เกษตรกาวหนา 8.กองทุนหมูบ าน 9.กลุมออมทรัพยวนั ละบาท 10.ศูนยสาธิตการตลาด งบ SML 11.วิสาหกิจชุมชน กลุมผูเลี้ยงสุกร

68


ธรรมนูญหมูบาน บานทุงกลวยหมูที่ 5 ตําบลทุงกลวย กิ่งอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา 1.ผูใดเสพ หรือ จําหนายยาเสพติดใหโทษ ตามที่กฎหมายกําหนด จะถูกปรับเปนเงินเขาหมูบาน 3,000 บาท 2.กอเหตุทะเลาะวิวาทในหมูบ าน ผูกอเหตุ จะถูกปรับเปนเงิน 3,000 บาท 3.ทิ้งสิ่งปฎิกูล ไดแก รถสูบสวม,ขยะทีก่ อใหเกิดมลภาวะเปนพิษ ในทีส่ าธารณะ หรือพื้นที่สวน บุคคล โดยไมได รับอนุญาตจะถูกปรับเปนเงินเขาหมูบาน 3,000 บาท 4. หามนําไกไวในบาน หากฝาฝน จะถูกปรับ ตัวละ 100 บาท 5. หามตัดไม หรือถางปา ในเขตปาชุมชน ที่หมูบานกําหนด หากผูใดฝาฝน จะถูกปรับ ตารางเมตร ละ 400 บาท ตนไมตนละ 1,000 บาท 6. ยิงปนในหมูบานโดยไมไดรับอนุญาต จะถูกปรับครั้งละ 500 บาท 7. ครัวเรือนทีข่ าดพัฒนา ประจําเดือน ชวงเชา ตองชวยบํารุงหมูบาน ครั้งละ 20 บาท ขาดพัฒนา ครึ่งวัน 50 บาท ,ขาดพัฒนา 1 วัน 100 บาท ผูที่กระทําผิดแลวไมแกไข ทางหมูบาน จะทําการคว่ําบาตรไมคบคาสมาคม และตัดออกจากเปน สมาชิกสมาคมฌาปนกิจสงเคราะหของหมูบาน และหากทําผิดเกิน 3 ครั้ง ทางหมูบาน จะตัด ออกจากการเปนสมาชิกของหมูบาน ตัดสิทธิประโยชนในหมูบานทัง้ หมด โดยไมมีเงื่อนไข ขอควรปฎิบัติในชุมชน 1. ไมขับรถเร็ว ในหมูบาน เนื่องจากมีคนพลุกพลาน กอใหเกิดอุบัติเหตุไดงาย 2.ไมขับรถอีแตน ไปสูพื้นทีก่ ารเกษตร ในขณะที่ฝนตกหนัก เนื่องจากทําใหถนนชํารุด 3.การพนยาฆาหญา หรือสารเคมีที่มีอันตราย จะตองหางหมูบาน อยางนอย 500 เมตร 4.งดเวนการดืม่ สุราในงานศพ(ประชาคม ตําบล) 5.งดเวนการฉายสื่อลามกในงานศพ 6.งดเวนเลนการพนันในงานศพ 7.การนําไมในสวนในไรหรือในหมูบาน เห็นสมควรมาทําประโยชน จะตองขออนุญาตจาก คณะกรรมการหมูบาน 8. ไมเลี้ยงสุกรในหมูบานและงดเวนการกระทําที่กอใหเกิดมลภาวะเปนพิษในหมูบาน 9. คนในชุมชนจะตองปฎิบตั ิตามกฎระเบียบของหมูบานอยางเครงครัด ควรกระทําในสิ่งที่เปน ประโยชนตอ หมูบานและชุมชนโดยรวม งดเวนการกระทําใหเกิดความเสียหายในหมูบาน และ งดเวนการกระทําที่กอใหเกิดความแตกสามัคคีของคนในชุมชน

69


ทุนทางสังคม กลุม / องคกร / สถาบัน บานทุงกลวย หมูที่ 5 ตําบลทุงกลวย กิ่งอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ลําดับ ชื่อกลุม/องคกร/สถาบัน 1.

ศูนยสาธิตเกษตร

2

กลุมทอผา ยอมสีธรรมชาติ

3

เปาหมาย

กิจกรรม

ดาน

-สรางรายไดเสริม ใหกับครอบครัว -ลดสารพิษ -สรางรายไดเสริม -สืบทอดภูมิ ปญญา

จําหนายสินคาการเกษตร เศรษฐกิจ ใหกับคนในชุมชน -รวมกลุมกันทอผา -ออกแบบสินคา -จําหนายสินคา

เศรษฐกิจ

กลุมจักสานผูส ูงอายุ

-รวมกลุมเพื่อ ทํากิจกรรมรวมกัน -สรางรายได -สืบทอดภูมิปญ  ญา

-จักสารเครื่องใชในครัว เรือน เชน ชะลอม,ตะกรา,ไม กวาด

เศษรฐกิจ

4

กลุมออมทรัพยวันละบาท

-สงเสริมใหคนใน -ระดมทุนโดยการออม ชุมชนรูจักอดออม จากสมาชิกกลุม -เพื่อชวยเหลือ สงเคราะหสมาชิก ภายในกลุม

สังคม

5

วิสาหกิจชุมชนเกษตร กาวหนา

-รวมกลุมกันเพื่อ -รับซื้อสินคาเกษตรจาก รับซื้อสินคาของ สมาชิก สมาชิกแกปญหา -ระดมทุน การถูกกดราคา จากพอคาคนกลาง

เศรษฐกิจ

70


ทางสังคม ทุนภูมิปญญา และวัฒนธรรม บานทุงกลวย หมูที่ 5 ตําบลทุงกลวย กิ่งอําเภอภูซาง จังหวัด พะเยา ลําดับ ชื่อภูมิปญญา เปาหมาย 1. รดน้ําดําหัววันสงกรานต -แสดงความเคารพตอผูอาวุโส

ดาน วัฒนธรรม

2.

ยี่เปง ,ลอยกระทง

-ทําบุญถวายดวงประทีบเปนพุทธบูชา วัฒนธรรม

3.

ปอยหลวง

-เพื่อทําบุญศาสนาสถานที่สรางสําเร็จ วัฒนธรรม,สังคม แลว

4.

-สิ่งสักการะในพระพุทธศาสนา,อุทิศ ใหผูตาย

5.

คัวตาน(สิ่งของบริจาค) ปราสาท(พาหนะบรรจุ โลงศพ) ทอยอมผาสีธรรมชาติ

6.

ภาษาลานนา

-แสดงความเปนอารยชน -คนควาคัมภีรโบราณอันเปนแหลง เรียนรูที่สําคัญของบรรพบุรุษ

วัฒนธรรม การศึกษา

7.

ฟอนเจิง,ฟอนดาบ

-สืบทอดภูมิปญ  ญา -สรางความรักและภูมใิ จใน ศิลปะวัฒนธรรมของตนเอง

วัฒนธรรม การศึกษา

สังคม

เศรษฐกิจ -สรางรายได -สืบทอดภูมิปญ  ญา -พัฒนางานหัตถกรรมใหเหมาะสมกั  บ ยุคสมัยและความตองการของตลาด

71


ทุนทรัพยากรและสิ่งแวดลอม บานทุงกลวย หมูที่ 5 ตําบลทุงกลวย กิ่งอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ลําดับ ชื่อทรัพยากร เปาหมาย 1. อางเก็บน้ํา -เปนแหลงกักเก็บน้ําไวใชเพือ่ การเกษตร -เปนแหลงเพาะพันธปลา

ดาน สิ่งแวดลอม

2.

วัดทุงกลวย

-เพื่อนเปนศูนยรวมจิตใจคนในชุมชน

สิ่งแวดลอม

3.

บอดิน

-เปนแหลงดินไวเพื่อไวใชเพือ่ ถมพื้นที่ตางๆใน หมูบาน

สิ่งแวดลอม

4.

ปาชุมชน

-เพื่อเปนแหลง อนุรักษปาไม -เปนแหลงหาของปาของชุมชน -สรางรายไดใหกับคนในชุมชน

สิ่งแวดลอม

5.

สวนยางพารา -เปนแหลงเศรษฐกิจ -เปนแหลงเรียนรู -เปนแหลงทองเที่ยวเชิงวิถีชวี ิตชุมชน

สิ่งแวดลอม

72


ทุนทางสังคม ทุนมนุษย บานทุงกลวย หมูที่ 5 ตําบลทุงกลวย กิ่งอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24.

ชื่อ-สกุล นายแอ ปญญาดี นายสมนึก ปุกคํา นายศรายุทธิ์ บุญแรง นายสวย อินสุยะ นายปน ปุกคํา นายสี อินปน นายแกว บัวลา นายสวย อินสุยะ นายวีระพล อินปน นายสวย ผิวงาม นายเปลง เตวิน นายแกว ชมคํา นายถนอม อินปน นายตา ศรียะตา นายไพลิน กาวิชยั นางเปลี่ยน ดีจิตร นางอําพร อินปน นายอรุณ อินปน นายลือ เมืองคํา นายยอด สุจดา นายจันทร ธนะ นายสุมน ธนะ นายจวน อินสุยะ นายอรุณ อินสุยะ

ความสามารถ -เลนดนตรีพนื้ เมือง -ทําปาย,วาดรูป -ทําปราสาทศพ,คัวตาน,บั้งไฟ -หมอสูขวัญ,ทําพิธีทางศาสนา -ทําปราสาท,คัวตาน,บั้งไฟ -หมอเปา -หมอเปา -หมอเมื่อ(เสี่ยงทาย) -ฟอนดาบ, ฟอนเจิง(กํานัน) -จักสาน -จักสาน -ชางซอมรถ -ชางเชื่อม -สลาสรางบาน -สลาสรางบาน -ทอผา -ยอมผาสีธรรมชาติ -ผลิตและปลูกยางพารา -ชางไม . ประธาน อสม -ชางไม -ชางไม -ชางไม -ชางไม -ชางไม

ดาน วัฒนธรรม เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ สังคม เศรษฐกิจ สังคม สังคม สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ

บานเลขที่ 108 81 222 9 36 64 14 9 136 10 78 31 148 46 129 89 156 156 96 77 25 8 48 139

73


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.