สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้

Page 1

สุนทรียศึกษา : การสรางสรรคแบบแผนการเรียนรูในทางบวก (วิชาครูที่สํานึกรูถึงคุณคาสิ่งดีงาม) อุทัยวรรณ กาญจนกามล สถาบันเสริมสรางพลังชุมชน

1


ใจความโดยสรุป บทความชิ้นนี้กลาวถึง ประสบการณจากการนําวิชาครูที่รูคุณคาสิ่งดีงามมาใชในหองเรียน โดยเนน การประยุกตใชกระบวนการเรียนรูแบบ“สุนทรียปรัศนี” มาเปนกรอบคิดเพื่อการพัฒนาคน และ ที ม งาน วิ ช าครู ที่ “สํ า นึ ก รู ใ นคุ ณ ค า สิ่ ง ดี ง าม”จะมุ ง เน น การสื่ อ สารระหว า งผู เ รี ย น โดยใช ประสบการณแหงความสําเร็จและปฏิบัติการที่ถือวาดีที่สุดที่เคยไดทํามาของทั้งเหลานักศึกษาและ อาจารยมาเปนตัวแบบและจุดประกายความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงตนเองในทางบวก โดยเชื่อวาการ คนหาประสบการณการทํางานที่เคยทําไดดีที่สุด มาแลกเปลี่ยนเรียนรู จะกอใหเกิดพลังความคิด และการกระทําในทางบวก กระบวนการดังกลาวจะทําใหผูเรียนมีความภาคภูมิใจที่ไดแสดงทัศนะ จากความสําเร็จของตนเอง กอใหเกิดความบันดาลใจระหวางผูเรียนใหรวมกันระดมความคิดและ เรียนรูจากสิ่งดีงาม ทําใหเกิดนวัตกรรมจากการรวมกันคิดรวมกันทํา ยังผลใหเกิดการเรียนรูและ ฝกปฏิบัติงานรวมกันอยางสนุกสนานมั่นใจ และสามารถตอยอดความคิดลึกซึ้งในเนื้อหาใหมที่จะ เรียนรูของผูเรียน อีกทั้งเพิ่มประสิทธิภาพผูสอนไดมากยิ่งขึ้น

อารัมภบท Poor teachers - tell Ordinary teachers - expain Good teachers - demonstrate Great teachers - inspire

พฤติกรรมของ“ครูแย”แคบอกสั่ง “ครูทั่วไป”ใหเด็กฟงนั่งขานไข ทําใหดูคือ“ครูดี”มีทัศนไกล บันดาลใจใหมุงมั่นนั้น“ยอดครู”

ก.)ฉันทาคติ ในประสบการณแหงความสําเร็จ ฐานคิดดั้งเดิมของวิชาครูนั้นเริ่มจากการอนุมาณวา“ผูเรียนไมรู” กระบวนการเรียนรูของ ผูเรียนจึงมักเริ่มจากสิ่งที่มาจากในตํารา และเนื้อหาของตําราก็มักจะมาจากภายนอกประสบการณ และนอกวิถีชีวิตของผูเรียนเปนดานหลัก ดังนั้น โจทยที่นํามาใหคิด ใหทดลอง หรือฝกปฏิบัติจึงมา จากภายนอกผูเรียนเกือบทั้งสิ้น ผลตามของการเรียนรูแบบดั้งเดิมก็คือ ความไมตระหนักถึงคุณคา ของสิ่งที่มีอยูในตนเอง ผูเรียนตระหนักอยูเสมอวาตนเองขาดแคลนความรู การแสวงหาความรูจึง เริ่มตนจากผูอื่น หรือสิ่งอื่นที่ไกลตัวออกไป บริบทของการเรียนจึงไมสอดคลองกับวิถีชีวิต สังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมชุมชน หรือทองถิ่นของตนเอง ดังนั้น ยิ่งเรียนสูงขึ้น ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น เทาใดก็ยิ่งหางจากภูมิธรรมของตนเอง หางไกลจากรากวัฒนธรรมชุมชน ไปจนกระทั่งเกิดความไร สํานึกและไรรากทางวัฒนธรรมในที่สุด นอกจากนั้นผลที่เห็นไดชัดจากกระบวนการการเรียนการ สอนดังกลาวก็คือ เกิด การแขงขันกันไขวควาหาความรู นอกตัวตน เกิดการแกงแยงแขงขัน สราง ความเคยชินใหกับตนเองดวยการ“เรียนพิเศษกับครูกวดวิชา” มีบรรยากาศเอื้ออํานวยใหเกิดการ

2


เรียนรูแบบปจเจกสูงขึ้นเปนเงาตามตัว ขาดความเคารพ นับถือและใหเกียรติระหวางผูเรียนดวยกัน และความนับถือตนเองก็พลอยลดลงไปดวย จากความทาทายตอสิ่งที่เกิดขึ้นดังกลาว ทําใหนักการศึกษารวมสมัยหัวกาวหนาบางกลุม หันมาใหความสนใจกับ สิ่งที่มีอิทธิพลทางจิตใจของผูเรียน ใหความสําคัญกับทัศนคติในการเรียนรู มากขึ้นเปนลําดับ โดยถือวา ทัศนคติคือทุกสิ่ง (Attitude is everything) และในปลายศตวรรษที่ 20 ไดมีการเปลี่ยนแปลงทฤษฏีวาดวย“การเรียนรูจากการใชปญหาเปนตัวตั้ง” และการเนนหนัก ในเรื่องการแสวงหาความรูแบบดั้งเดิม มาเปน “การใชสติปญญาที่มีประสบการณอยูแลวในตัว ผูเรียนเปนฐาน” และเรียนรูในมุมมองตอโลกและชีวิตในดานบวกเปนปจจัยสําคัญ การทดลอง กระบวนการเรียนรูแบบใหมนี้ มีชื่อวา สุนทรียปรัศนี (Appreciative Inquiry) สุนทรีย(Appreciation) หมายถึง ความงดงาม ความรูสึกในคุณคาและความดีงามของสิ่ง ใดสิ่งหนึ่ง และ ปรัศนี (Inquiry) นั้นหมายถึง การแสวงหา การคนพบ หรือการตั้งคําถาม สุนทรียปรัศนี ในวิชาแหงความเปนครู คือกระบวนการเรียนการสอนที่เริ่มตนจากการ สรางบรรยากาศใหผูเรียนไดคนหาและแสดงออกถึงสิ่งดีงามที่ผูเรียนเคยมีประสบการณมากอน มี ความตระหนักถึงคุณคาของสิ่งที่ตนมี ยิ่งมีโอกาสไดแสดงออกก็ยิ่งทําใหเกิดความภาคภูมิใจและ ความมั่นใจในตนเองและนับถือตนเอง ซึ่งเปนความบันดาลใจทําใหเกิดความมุงมั่นที่จะทําใหดี ยิ่งขึ้นกวาเดิม ถือไดวาเปนขั้นตอนแรกของการพัฒนาจิตใจของผูเรียนที่สําคัญยิ่ง การเริ่มตนพูดคุย สนทนาถึงชวงเวลาที่ดีที่สุด ที่นักศึกษาเคยปฏิบัติ และนําเอาสิ่งเหลานั้น มาวิเคราะห แลวนําเสนอถึงปจจัย เครื่องชี้วัดและที่มาแหงความสําเร็จ และสิ้นสุดลงดวยการหาทาง ชื่นชมในสิ่งที่พวกเขาไดกระทํารวมกัน ทําใหเขามีความภาคภูมิใจ ทั้งหมดนี้เปนกระบวนการ เรียนรูในบรรยากาศของความเปนประชาธิปไตย ที่แตละคนตางมีสวนรวมอยางเทาเทียมกัน เปน หมูคณะหรือ ทีมงาน โดยมีภาวะผูนําแบบประชาธิปไตยและสัมพันธภาพที่ดีดวย

ข.) การ เนนย้ําคุณคาแหงความสําเร็จในฐานะที่เปนสวนเสริมสรางวิสัยทัศนในทางบวก ในการเรียนรูแบบสุนทรีย จะมีกระบวนคนหาและพบพานกับประสบการณแหงความสําเร็จของ นักศึกษาเพราะเริ่มจากความเชื่อวาประสบการณที่ดีทั้งหลายเปนปจจัย สําคัญที่จะเสริมสรางความมั่นใจและเปนสวนสําคัญที่จะกอใหเกิดการมองหา โอกาสใหมในทางที่ดียิ่งขึ้นไปอีก ถือวาเปนการทาทายความสามรถในการคิดและจินตนาการของ นักศึกษาไปในเวลาเดียวกัน ประสบการณแหงความสําเร็จจะเปนภูมิหลัง เสริมสงใหนักศึกษาคิดถึงอุดมคติ ในเรื่องการพัฒนาเติบโตงอกงามและพลังที่จะโรมรันมากกวาการรองรับแคปญหาที่ตนเองประสบ 3


อยู และในรูปแบบของ “การปฏิบัติการที่ดีที่สุด” ในชวงเวลาหนึ่ง หรือตนแบบปฏิบัติการใน บรรยากาศของความมีชื่อเสียงเกียติยศจะทําใหเกิดสภาวะความเปนจริงที่เสริมสงใหอนาคตดีตาม ไปดวย ค.) การปลูกฝงความเชื่อวาจินตนาการในเชิงบวกจะนําไปสู “ปฏิบัติการในเชิงบวก”ดวย สุนทรียปรัศนี เนนย้ําในเรื่องการสรางภาพลักษณ ในทางที่ดีจะเสริมสงใหเกิดวัตร ปฏิบัติที่ดี ดังนั้นพิธีกรรมที่นํามาใชในกระบวนการเรียนรูทั้งหลายจึงเริ่มตนจากการใชจินตนาการ ที่เปนอุดมคติเปนพลังขับดันใหเกิดปฏิบัติการที่ดีเลิศ ดังนั้นผูจัดประสบการณเรียนรูทั้งหลาย จําเปนอยางยิ่งที่จะตองตระหนักวา “ความผิดพลาด และปญหาทั้งปวง”จะทําใหเกิดการบั่นทอน กําลังใจและความสําเร็จในอนาคตเชนกัน ดวยเหตุที่วามันกลายเปนแหลงฟกตัวของความวิตกกังวล ความประหวั่นพรั่นพรึง ความเจ็บปวด และความสูญเสียไปโดยใชเหตุ จินตนาการของความเปน อุดมคติตางหาก ที่จะทําใหผูเรียนรู มีความบันดาลใจ ที่จะเรียนดวยความสุข สนุ ก สนาน และมี ความคาดหวังถึงสิ่งที่ทําดวยตัวเองในอนาคตวาจะทําใหไดดีที่สุด ง.) คุณคาแหงการตั้งคําถามกันสองตอสอง ตอกลุม หรือทีมงานเพื่อเสริมสรางพลังทีมงาน เปนโอกาส ในชั้นเรียน ที่จะทําใหนักศึกษาเกิดความอยากรูอยากเห็น และการคนพบความสําเร็จ ในตัวเพื่อนรวมชั้นเรียนซึ่งจะสงผลใหตางฝายตางสนใจ เชื่อใจ ชื่นชมซึ่งกันและกัน และนําไปสู การเคารพนับถือกันและกัน การจัดประสบการเรียนรูที่ใหความสําคัญกับการตั้งชุดคําถาม ที่ นําไปสูการเสริมสรางพลังใจแกผูเรียนและทําใหผูเรียนใครครวญถึงสิ่งที่ตนได เคยทํามาในอดีต ซึ่งการไดแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันและกันถึงประสบการณแหงความสําเร็จ หรือการกลาวขาน ถึงวันเวลาที่ดีที่สุด ตลอดจนการกอใหเกิดความภาคภูมิใจในตัวเองและผูทํางานดวยกันจะนํามาซึ่ง ความบันดาลใจใฝเรียนรูซึ่งเปนพลังอันยิ่งใหญ และกลายเปนเวทีที่ฟกตัวของผูมีพลังขับเคลื่อน สั ง คมไปสู ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ ดี และจุ ด ประกายให ผู ค นในสั ง คมในอนาคต ดั ง นั้ น ท า มกลาง บรรยากาศของการสัมภาษณกันและกัน และนําเสนอสิ่งที่ดี การสนทนาในมุมมองที่หลากหลาย จะกลายเปนสีสันใหมในพื้นที่แหงการเรียนรู และไดแทรกสํานึกแหงความดีงามไดอยางวิเศษสุด ถึงแมวาการจัดประสบการณเรียนรูแบบสุนทรียภาพนี้จะลอกเรียนแบบจากสุนทรียปรัศนี แตบรรยากาศและสภาวะแวดลอมของ การเรียนรูในหองเรียนและโรงประลองของวิทยาลัยจะตาง ไปจาก การทํางานตามสภาวะความเปนจริงของสถาบัน องคกรหรือชุมชนซึ่ง วิสัยทัศนรวมและ ปฏิบัติการรวมกันของทีมงาน จะเปนปจจัยสําคัญของการอยูรอดและเติบโตขององคกรหรือชุมชน ซึ่งเปนผลกระทบโดยตรงตอองคกรหรือชุมชนเอง ในขณะที่ชั้นเรียนหรือโรงประลองในวิทยาลัย นั้นเปนแหลงเรียนรู “ชั่วคราว” หรือเปนไดแค “เสมือนจริง” นี่ถือเปนขอจํากัดที่สําคัญ ที่จะตอง

4


ตระหนักวาเวลาในการคิดและทํารวมกันนั้นสั้นและฉาบฉวยในกลุมเล็กๆในแตละชวงใชนอยเชน 20 นาที หรือ3ชั่วโมงและสวนใหญก็จะอยูในชวงเวลาที่เปน “ปจจุบัน” รวมกัน ดังนั้น สุนทรียศึกษา จึงเปนรูปแบบการเรียนรู ที่จะตองออกแบบใหเขมขนในเรื่องกระบวนการคิด และการมีสวนรวมใหมากยิ่งขึ้นไปอีก โดยเฉพาะการใหความสําคัญกับขอมูลที่มาจากแหลงเรียนรู ใหมากขึ้น

สุนทรียศึกษา ในชีวิตประจําวัน สุนทรียศึกษาชวยใหการเรียนรูโลกในทางบวก มองโลกในแงดี เริ่มจากชั้นเรียน ประจําวันในปการศึกษาใหม มันชวยนําทางใหอาจารยมีจิตสํานึก และตัดสินใจที่จะกาวไปใน ทางบวกรวมกับนักศึกษา ไมวาจะใชบทเรียนหรืออุปกรณใด ๆ มันก็จะชวยใหนักศึกษาสามารถ เขาถึงพลังที่มีอยูในตัวเอง ทั้งทักษะและพรสวรรค แลวนํามันออกมาใชในการเรียนรูไดอยาง มั่นใจ ภาคภูมิใจและนับถือตัวเองและคนรอบขางมากขึ้น ตัวอยางดังตอไปนี้จะชวยทําใหเห็นรูปธรรมของสิ่งที่กลาวมาขางตนชัดเจนยิ่งขึ้น 1. ทีมงาน สุนทรียศึกษาชวยใหนักศึกษาทํางาน เปนทีมไดอยางไรในชั้นเรียน? คําตอบคือ เริ่มตั้งแตการตั้งคําถามที่เสริมสรางพลังใจ จากประสบการณเรียนรูของเขาเอง โดยขอให ทีม งานแตล ะกลุมที่ กอ ตั้งกั น เอง ลองทบทวนถึง สิ่ง ที่ทํา ให เ กิด ความสุ ข คามสํา เร็ จ ความรูสึกถึงความสําเร็จ ความภาคภูมิใจที่เคยมี และโดยไมใชการใหคะแนนในการ สอบมาเปนตัวตั้ง แตละกลุมจะไดรับงาน 2 แบบคือ 1.)เลาประสบการณที่ดีที่สุดที่ทุกคนในกลุมเคยมีไมวาเรื่องใดก็ตาม 2.)เลาเรื่องที่เปนปจจัยเกื้อหนุนทําใหเกิดประสบการณที่ดีที่สุดนั้น จากนั้นก็ใหแตละกลุมนํามาเสนอผลงานของกลุมโดยใช แผนฟลิปชารต และ นําเสนอดวยวาจา กระบวนการเรียนรูเริ่มจากการระดมความคิดในเรื่องปจจัยที่กอ เกิดทีมงานที่ดี และตอจากนั้นใหกลุมจินตนาการถึง สิ่งที่อยากใหกลุมมีเปนอุดมคติ วาทีม ในฝนของกลุมเปนเชนไร เมื่อมีการนําเสนอภายหลังจากที่ไดระดมความคิดแลวในชั้นเรียนที่ประชุมรวม โดยเนนย้ําใหผูที่จะนําเสนอ ใชประเด็นที่เปนองคประกอบของการทํางาน เพื่อใหเปนทีม ในฝน อาจารย มีหนาที่รวบรวมประเด็นสําคัญ ที่นักศึกษาไดนําเสนอ โดยวัตถุดิบตองมา จากความคิดและการระดมสมองของนักศึกษาเปนหลักไมใชความคิดของอาจารย และไมจําเปนตองวิจารณ จากนั้นกลุมยอยจะไดรับงานตอมาอีกก็คือ นําสิ่งที่มีอยูในกลุมอื่นมาเสริมสิ่งที่ กลุมเองมีอยู โดยการแลกเปลี่ยนและสนทนากลุม 5


ในชวงสุดทาย กลุมยอยทุกกลุมไดจะรับงานใหระดมความคิดกันอีกครั้ง ใหระบุ ถึง วิธีการที่จะทําใหทีมงานของตนเอง ไปสูอุดมคติ ในชวงที่มีกิจกรรม อาจารยตองทําใหทีมงานกลุมแนใจวา การระดมความคิด เหลานั้นเปน ประสบการณที่ดีที่สุดของเขา และเปนพลังชีวิตที่เขาไดคิดไดทําจริงๆไมใชสักแตพูดให สวยงาม ประการตอมาคือ จะตองไมเอยถึงประสบการณ ที่ลมเหลวเลย และจะตองไมมี การพูดถึงสิ่งเสื่อมทราม เลวรายใหไดยิน ในระหวางการสนทนา การฟงเรื่องราวของกันและกัน ก็เนนใหฟงกันอยางตั้งใจ ไมขัดจังหวะ ไมขัดคอ เมื่อจะนําเสนอในสิ่งที่แตกตาง ไปจากผูเลาจะตองไมมีคําวา“แต” และแทนที่คําวาแต ดวยคําวา “และ” ตลอดกาล 2. ผูนําชั้นเลิศ สิ่งที่สําคัญประการตอมาคือ การระดมความคิดในเรื่องคุณลักษณะของ ผูนําในอุดมคติและองคประกอบของสวนที่ทําใหเปนผูนําในอุดมคติ เชนเดียวกับประเด็นแรก การระดมความคิดจะใชประสบการณเดิมที่เคยมีมาของผูนําที่ดีที่สุดในสายตาของพวกเขา แต หากมีเวลาก็ใหพวกเขาจินตนาการถึงผูนําในอุดมคติและแลกเปลี่ยนกันในกลุมและในชั้นเรียน เราจะตองเริ่มจากการอภิปรายกันในกลุมเล็กกอนเสมอ แลวรายงานตอกลุมใหญของชั้น เรียน ที่พิเศษยิ่งกวานั้นก็คือ การมอบหมายใหแตละกลุมคัดเลือกผูที่เห็นวาสามารถจะพูดหนาชั้น ไดในเวลา2นาที ในเรื่อง “ผูนําในดวงใจ” ลงทายดวยการอภิปรายถึงแนวทางการลงมือปฏิบัติวา ตอนนี้เราอยูตรงไหน (ทั้งครูและศิษย) และจะไปสูสิ่งที่ปรารถนาโดยทางใดไดบาง ขณะที่นักศึกษากําลังรายงาน อาจารยมีหนาที่คนหาสิ่งดีที่เกิดขึ้นในขณะนั้น เพื่อใหเกิด บรรยากาศแหงความชื่นชม ดังนั้นคําถามจากปากอาจารยจึงควรจะเปน “ผูนําที่ดีที่สุดในสายตา ของทานนั้นทําอะไรบาง จึงไดชื่อวาดีสุดๆ” ก็จะทําใหเกิดการแผวถางทางนําไปสูความคิดในเชิง บวกมากกวาลบ ไมบอกวา ไมดีนั้นเปนเชนไร 3. องคกรที่มีความเปนเลิศ ในสวนที่สําคัญที่ควรแกการเรียนรูและที่นักศึกษาควรสนใจก็ คือ ธรรมชาติขององคกรที่ถือวาดีเลิศนั้นมีคุณลักษณะเปนเชนไรบาง? มีอะไรเปนตัวอยางที่ชัดเจน และเปนรูปธรรม ? แลวหลังจากนั้นใหนักศึกษา ทบทวนวา ภาษาและกิริยาอาการที่แสดงถึง ความเปนเลิศเทาที่เห็นนั้นเปนเชนไรในองคกรดังกลาว? และในชวงทาย ใหนักศึกษารายงานถึง สิ่งที่ไดสังเกตเห็นในเรื่องดีๆโดยปราศจากการ พูดคุยหรือสนทนาในสิ่งที่ไมดี 4. ทฤษฏีองคการ ในชวงป ๒๕๓๕ เดวิด โคออปเปอรริเดอร เริ่มใชสุนทรียปรัศนี เปนรูปแบบของการทําหลักสูตรพํฒนาองคกร ไดนําเอาทฤษฏีองคการมาผสมผสานกัน ทําวิจัยในรูปแบบการพํฒนา ผูนําการเปลี่ยนแปลงไดบงชี้วาความสําคัญที่ทําใหองคกร 6


ประสพความสําเร็จนั้น คือการสื่อสาร 2 ทางที่เทาเทียมกัน และขอมูลที่ไดก็นํามาใช ปรั บ ทั ศ นคติ ข องผู เ รี ย นได รวมถึ ง บอกได ว า มี ป จ จั ย ใดที่ นํ า ไปสู ค วามเป น เลิ ศ ของ องคการ 5. การสัมภาษณผูนําการเปลี่ยนแปลง สวนใหญในหลักสูตรปริญญาตรี มักไมคอยมีการ สัมภาษณ หรือสนทนากับใครในเรื่องที่ตน กําลังศึกษาอยู วิธีการนี้จะมีประโยชนคือ การสรางคําถามชุดหนึ่งขึ้นมา แลวนํามาฝกหัดสัมภาษณกันและกัน แนนอนที่สุด คําถาม เหลานั้นก็จะมุงเนนใหผูเรียนไดทบทวนผลงานที่ยอดเยี่ยมของตัวเองที่เคยทํามา (อาทิ ระบบการทํางาน หรือบุคลิกภาพของตัวเอง ) หรือไมก็ แสดงละครกันในกลุม ถึง “การ เปน ผูนําที่ดีเขาทํากันยังไง?” และ“มันจูงใจยังไงบาง?” 6. การนําเสนอ ตัวอยางสุดทายของปฏิบัติการสุนทรียศึกษาก็คือ ใหทดลองปฏิบัติการ นําเสนอเปนกลุมอยางสรางสรรคและคิดกันเองเปนกลุม เปนโอกาสอันวิเศษที่จะทําให นักศึกษาทํางานกันเปนทีม และการพูดในที่สาธารณะเปนงานใหนักศึกษาทําตองเตรียม อยางประณีต สิ่งที่อาจารยจะตองทบทวนกอนอื่น ลีลาการนําสูบทเรียนแตละครั้งเปนเชนไร? มีความ ตื่นเตน มีชีวิตชีวา และนาสนใจหรือไม ? ประการสําคัญก็คือมีเทคนิกหรือกระบวนการมีสวนรวม ของผูเรียนจริงหรือไม หากมีการจัดประสบการการเรียนรูที่มีลักษณะหรรษาวิชาการดวย ก็ยิ่งทํา ใหมีเสนห ทําใหผูเรียนประทับใจมากขึ้นเปนทวีคูณ กระบวนการดังกลาว สามารถทําใหการเรียนรู มีชีวิตชีวาสดใสสนุกสนานและผลที่ตามมาก็ คือนักศึกษาจะตระหนักมากยิ่งขึ้นถึงความสําคัญของการสนทนาอยางมีสวนรวม การคิดและวาง แผนการทํางานรวมกันในฐานะ “ผูเรียนรู” และออกแบบจัดประสบการณเรียนรูของตัวเองและ ของกลุม ไดอยางดีเยี่ยม ในเวลาตอมาไดเชนเดียวกัน สิ่งที่ชวยไดมากในการเรียนรูก็คือ 1.คําถามที่เสริมสรางพลังใจงายๆ และถามถึง สิ่งที่เขาคุนเคยหรือมีอยูแลว 2.คําถามที่เปดโอกาสใหนักศึกษาไดเห็นถึงสิ่งที่ใชการไดดีในอดีต เปนทุนสํารอง และศักยภาพของตัวเองที่คนพบได บางคนอาจจะหาตัวตนพบไดในเวลาเดียวกัน 3.กิจกรรมการเรียนการสอนที่เปดโอกาสการเรียนรู ตั้งแตการทดลอง การปฏิบัติการ และการสะทอนความรูสึกภายหลังจากที่ปฏิบัติเสร็จแลว และการสรางเงื่อนไขที่ทําให นักศึกษารูสึกถึงสิ่งที่เขาทําสําเร็จเปนหลัก

7


ดังนั้นสิ่งสําคัญที่อาจารยจะตองเตรียมตัวและเตรียมใจก็คือ การปรับบทบาทความ เปนครูแบบดั้งเดิมในฐานะของผูประสาทวิชา โดยมีครูเปนศูนยกลาง มาเปนผูเอื้ออํานวย ใหเกิดการเรียนรูที่ผูเรียนเปนศูนยกลาง จากที่สงเสริมความคิดแบบปจเจกมาเปนความคิด แบบรวมหมู จากที่เคยคับแคบใชวิธีสั่งการและหาคําตอบที่ถูกตองสอดคลองกับครูมาเปน การแสดงความคิดเห็นแบบประชาธิปไตย มีความคิดหลากหลายที่งดงามได นั่นหมายถึง ประชาธิปไตยในรูปแบบพหุนิยม ที่เคารพในความคิดของผูอื่นและตัวเองดวย ซึ่งทาทาย อยางยิ่งตอการจัดการศึกษาในแนวเพาะบม “ความเปนไท”ใหกับผูเรียนเอง โจทยที่อาจารยจะตองขบคิดเพื่อสรางบรรยากาศแหงการเรียนรูใหมก็คือ 1. ทําอยางไรจึงจะทําใหผูเรียนมีความบันดาลใจในการรวมกันระดมความคิดในทีมงาน ของตนเอง ? ดังนั้นผูสอนจะตองพยายามสราง “ชุดคําถาม” ที่นําไปสูการระดมความคิด คนหาความดีงาม และสิ่งเปนประสบการณความสําเร็จที่วิเศษของผูเรียน เปนหลัก ก.)แมนักศึกษาจะนําปญหามาถาม ทางออกก็คือ การใหหลักคิด โดยใหมองหาสิ่ง ที่ใชการไดสถานการณ แหงปญหานั้นแลวเปลี่ยนคําวา“ปญหา”มาเปน“ความทาทายที่จะ เปลี่ยนแปลงไปสูสิ่งที่ดีกวา”เปนสําคัญ แลวนํามาถอดบทเรียน อาทิ “อะไรทําใหทีมงาน ยังสามารถทํางาน หรืออยูกันไดในขณะที่มีปญหาเกิดขึ้น” ข.)หากนักศึกษามีความกังวล หรือกระวนกระวายเมื่อเจอสถานการณบางอยางที่ กดดัน ใหอาจารยอยูกับเขาและแนะนําใหเขาคนหาประสบการณที่ใกลเคียงกับความหมาย เดิมของประเด็นที่เปนปญหา 2.ทําอยางไรจึงจะฉายใหเห็นปจจัยที่ทีผลทําใหทุกสิ่งใชการได และใหมองหาโอกาสและ ความเปนไปได 3.ทําอยางไรจึงจะเราอารมณนักศึกษาสนใจวิธีการที่จะนําไปสูความ สําเร็จเปนสําคัญ เนื่องจาก ประสบการณแหงความสําเร็จและสวนที่ดีที่สุดของปฏิบัติการทั้งหลาย สามารถ ปลดปลอยสิ่งที่ดีที่มีอยูภายในตัวของผูเรียนออกมาไดอยางเปนธรรมชาติ ทําใหเขาจินตนาการเปน และสามารถจิน ตนาการในสิ่งที่ดีที่สุด ไดซึ่ง จะเปน หนทางที่ทํา ใหเขามีปฏิบัติการที่ดีที่สุด ได เชนเดียวกัน

8


ผลพวงของสุนทรียศึกษา นอกจากสุ น ทรี ย ศึ ก ษาจะเป น เครื่ อ งมื อ ที่ มี ป ระโยชน ใ นการจั ด การกั บ ชั้ น เรี ย นแล ว ประโยชนที่ไดรับมากกวานั้นก็คือ ในขณะที่มีการเรียนรู ระหวางกันในสิ่งดีงาม จะทําใหผูเรียน รูจักตนเองมากขึ้น นับถือตนเอง และมีความมั่นใจมากขึ้นกวาเดิม และที่สําคัญก็คือ ผูเรียนเกิดความ บันดาลใจ เมื่อไดรับคําถามที่เสริมสรางพลังจากครู สุนทรียศึกษาจะทําใหเกิดผลลัพธที่ชื่นชูใจกับนักศึกษาทั้งในทันทีทันใด หรือไมก็มีการสั่ง สมไปทีละเล็กละนอย กลาวคือ 1.)เราไดสังเกตเห็นถึงพลังที่เกิดขึ้นจากการเรียนรูและ การปฏิสัมพันธระหวางนักศึกษาดวยกัน ในทางที่ดี เรามักไดยินคําถามบอยครั้งวาเมื่อไหร จะมีการเรียนรูเชนนี้อีก และมีสถานการณที่ นําไปสูระดับที่สูง หรือลึกซึ้งไปกวานี้อีก 2.)นักศึกษามีความรูสึกดีมั่นใจและปลอดภัยเนื่องจากการพูดจาสนทนาถึงสิ่งดี ๆ กับกลุมทําให ความลังเลและหวาดกลัวลดนอยลง การฉายภาพในทางที่ดีตอตัวใครก็ตามเปนการใหเกียรติในประสบการณของเขาไปในตัว และเมื่อคําถามวามันเกิดขึ้นไดอยางไร สิ่งที่ไดรับสะทอนกลับภายหลังจากกิจกรรมผานไปแลวก็ คือ “มันงายมากที่จะพูดถึงใครบางคนที่อยูในระหวางปฏิบัติการที่ดีที่สุดของฉัน” และ “เมื่อพูดถึงความลมเหลว ฉันไดกลบความจริงบางอยางไวมิกลาพูด แมกระทั่งกับตัว ฉันเอง” 3.) ภาพจากจินตนาการที่เปนความหวังในอนาคตจะ ชวยเสริมสรางพลังในตัวเขาเอง( ทําใหเขา สามารถทําอะไรไดในอนาคตไดดีกวา เมื่อเปรียบเทียบกับภาพในจินตนาการที่วางเปลา) พลังที่ เกิดขึ้นจากความบันดาลใจจะทําใหเกิดความคิด และนวัตกรรมที่สรางสรรคไดดีกวา มีผูตั้งคําถามวาเมื่อเราพูดกันแตความสําเร็จและสิ่งดีงามแลว ในสวนทีไ่ มดีละมีหรือไมและ หากมีเราจะทําอยางไรกับมันดี? คํ า ตอบก็ คื อ ก อ นอื่ น เราต อ งเริ่ ม ต น ที่ ชี วิ ต จริ ง มิ ไ ด โ รยด ว ยกลี บ กุ ห ลาบ เราเชื่ อ ว า ภาพลักษณที่เลวรายก็ดึงความสนใจที่จะใหเรียนรูไดเชนเดียวกัน แตเราสามารถเรียนรูไดดีที่สุด ใน สิ่งที่ใชการไดและใชไดผลมากกวาสวนที่เลวราย ดังนั้นแทนที่จะใชเวลาใหสูญเสียไปกับสิ่งปรักหักหักพังเราควรใชสมาธิในสวนที่เปนการ มองโลกในดานดี เหนือสิ่งอื่นใดก็คือ ความปรักหักพัง และความผิดพลาดนั้นเราทําไดอยางดีที่สุด แคซอมแซม แกไข และดูเยี่ยงไวไมใหเอาอยาง ในขณะที่ปญญาที่ไดจากการปฎิบัติดีนั้นสามารถ นํามาตอยอด เสริมสรางใหดียิ่งขึ้น และเสริมสรางพลังทีมงานไดดวย

9


4.) นักศึกษา เชื่อในตัวเองมากขึ้นและมีความมั่นใจในประสบการณของตนเอง การมีสวนรวมจึงมี บรรยากาศที่ดี ซึ่งตรงนี้ถือวาเปนสิ่งเปราะบางเนื่องจากการเรียนรูในโรงเรียนหรือวิทยาลัย ที่อาศัย ตํารา หนังสือและครูคือคําตอบสุดทาย 5.) นักศึกษา มีทักษะและความมั่นใจในสุนทรียปรัศนีวา เปนทางเลือกที่จะทําใหริเริ่มสรางสรรค แทนการวิเคราะหและแกไขปญหา วิธีการแกไขปญหาแบบดั้งเดิม คือกิจกรรมอันทรงพลังที่เราเคย เชื่อวามันใชการไดดี การตรงเขาไปสูปญหาทําใหเรา เขาไปอยูในวังวนของความคิดเดิม คือการ แกไขสิ่งปรักหักพัง ซึ่งในทายที่สุดเราก็พบวา ที่ทําไดอยางดีที่สุดก็คือการลดปญหา หรือการ เยียวยาเทานั้นเอง ในขณะที่การตกผลึกความคิดที่ดีงามที่ตนเองเคยมีประสบการณมาแลวในอดีด นําไปสูการสรางวิสัยทัศนในทางที่ดี ทําใหหลุดจากกรอบความคิดเดิม ที่เอาปญหาเปนตัวตั้ง ซึ่ง เปลี่ยนผานระบบคิดที่อาศัยปญญาเปนตัวจุดประกาย สามารถกอเกิดนวัตกรรมไดอยางคาดไมถึง ยิ่งไปกวานั้นก็คือ สุนทรียปรัศนีแตะเขาไปในเรื่องของการคนพบพรสวรรคที่ซอนตัวอยู ภายในตัวของผูเรียน ซึ่งจะทําใหผูเรียนนําเอาศักยภาพของตนเองออกมาใชไดอยางนาอัศจรรย การเขาถึงชีวิตในฐานะ เปนสิ่งมหัศจรรย ดูจะมีชีวิตชีวาที่จะกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลง ไดมากกวาชีวิตที่รุมลอมดวยปญหาที่จําเปนจะตองไดรับการแกไขเปนแนแท ! 6.) ทัศนคติบวกตอนักศึกษาวาเปนผูรูมีคุณคาและเปนของจริง สุนทรียปรัศนี จะชวยเปดโลกของการเรียนรูในชั้นเรียน พบตัวเองวางอกงาม เจริญเติบโต ในระยะเริ่ ม แรกของการพัฒ นาตนเอง ซึ่ง เปน รากฐาน สําคั ญสํ า หรั บ เรีย นรูท างวัฒ นธรรมที่ สรางสรรคและสรางเสริมสุขภาพตนเองไดอีกตางหาก ไมวา ทางกาย ใจ สังคมหรือจิตวิญญาณ นักศึกษาสวนใหญสามารถรายงานไดอยางกระตือรือรนวาพวกเขามีประสบการณที่ดีใน การทํางานรวมกันเปนทีมมากยิ่งขึ้น มีการคนพบที่นาตื่นเตนรวมกับคนแปลกหนา และเขาใจเพื่อน และมุมมองของเพื่อนมากขึ้น นี่เปนความลึกซึ้งยิ่งขึ้นของการใชพลังชีวิตรวมกันระหวางมนุษยตอ มนุษยในอนาคต และทําใหสัมพันธภาพของผูเรียนในชั้นเรียนแนบแนนขึ้นอีกดวย ในทางกลับกัน การฟงคําบรรยายในชั้นเรียนจากอาจารยเปนวัฒนธรรมแบบปจเจกอยาง เห็นไดชัดกลาวคือ อากัปกิรียาเพงตรงไปที่อาจารยเปนหนึ่งเดียว และแบบตัวใครตัวมัน เพื่อจะซึม ซับในสิ่งที่อาจารยถายทอด ในขณะที่กระบวนการของสุนทรียศึกษา เปนเรื่องของการรับฟง เรื่องราวดีงามของกันและกัน เปนกระบวนการกลุม ที่ทําใหเขาใจสังคม โลก และชีวิตของคนอื่น ไดมากขึ้น ในขณะ เดียวกัน ก็เผยใหเห็นถึงสิ่งดีๆ และสิ่งที่ตนเองคิดวาดีที่สุด ตอคนอื่นไดอยางไม เกอเขิน และเปนโอกาสดีที่ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน มันเปนสํานึกแหงการเกาะเกี่ยวพึง่ พา อาศัยกันและกัน เคารพนับถือซึ่งกันและกัน ในบรรยากาศแหงความเอื้ออาทร การแบงปน การ สนับสนุนและรวมงานกันอยางเคียงบาเคียงไหลหรืออาจไปไกลจนถึงการรวมหัวจมทายในฐานะ พันธมิตรหรือภาคีคนหนึ่งหรือแมกระทั่งในฐานะของแนวรวมแลวแตวาการจัดประสบการณ เรียนรูจะกอใหเกิดความบันดาลใจขนาดไหน 10


7.) สุนทรียศึกษา ใหบทบาทของความเปนครูในฐานะผูจัดประสบการณเรียนรูเปนดานหลัก

นั่นคือ ครูมีบทบาทเปนผูชี้แนะ ผูจุดประกาย เปนวิทยากรกระบวนการ เปนผูประสาน สัมพันธ ผูเสริมสรางพลังใจ และผูกอกระแสกลุมพลัง ซึ่งถือวาเปนผลตามที่ดีของการเรียนการ สอนในปจจุบัน นักศึกษาได มองโลกในแงดี มี่นใจในตนเองและ มีความสุขขณะที่เรียนรูไปดวย เปนหรรษาวิชาการ และทําใหอะไรงายเขา ซึ่งในทางปฏิบัติ เราพบวาเปนความงายยิ่งขึ้นที่จะ กอใหเกิด พัฒนาการในตัวผูเรียนเอง เนื่องจากเปนการเรียนรูจากประสบการณของตัวเอง สิ่ ง ที่ ไ ด พ บเห็ น และได ยิ น เรื่ อ งราวประสบการณ แ ห ง ความสํ า เร็ จ เกิ ด ขึ้ น กั บ นักศึกษาคนแลวคนเลา จะทําใหครูมีความรูสึกยินดี มํากําลังใจสอนมากขึ้นเรื่อย ๆ สิ่งเหลานี้ถือ เปนวัตถุดิบนําเขา เพื่อการเรียนรูใหลึกซึ้งยิ่งขึ้นไปอีก และเมื่อเราพึมพํากับตัวเองว า “เออจริงซิ” หรือ“ใชแลว”ก็ยิ่งทําใหเราเห็นวาเราเดินทางมาในหนทางที่ถูกตอง ทั้งผูจัดประสบการเรียนรู และนักศึกษาเอง การจัดวางกรอบความคิดในทางบวก ถือวาเปนพลังสําคัญในชั้นเรียนที่จะสรางความบันดาลใจ อยากรูอยากเห็นและอยากคนควาหา ความรูใหม ทําใหมองเห็นหนทางที่เปนไปไดใหมๆมากยิ่งขึ้น ซึ่งถือเปนความหมายและทิศทาง ใหมของการศึกษา เราไดพบ การจัดวางกรอบความคิดในความสํานึกถึงคุณคาของความเปนมนุษย ในตัวผูเรียน ซึ่งเปนพลังชุมชนแหงการเรียนรู และเขาใกลวัตถุประสงคที่แทจริงของการศึกษาเพื่อ ความเปนไท ซึ่งเราเชื่อและหวังวา กิจกรรมทั้งหลายที่มีรากเหงามาจาก สัมมาทิฐิ จะมีมากขึ้นใน มวลมนุษยชาติ ซึ่งถือเปนความทาทายอยางยิ่งของวงการศึกษาที่กําลังหาทางปฏิรูปการศึกษาใน แวดวงของตนเอง เพื่อมุงสูอิสรภาพอยางแทจริง ปจฉิมกถา: ผูเขียนขอฝากขอสังเกตเพื่อกอใหเกิดการวิภากษในวันขางหนาเกี่ยวกับกระบวนการ แหงสุนทรียศึกษา ไวอยางยนยอ 6 ประการเพื่อใหเขาใจและจดจําไดงาย กลาวคือสุนทรียศึกษา เปนเรื่องของ...... 1) การเพิ่มเติมเสริมสรางจากขางใน (Internalization) 2) การกอเกิดความบันดาลใจใหรวมคิด (Inspiration) 3) การรวมเนรมิตนวัตกรรม (Innovation) 4) การรวมเหนี่ยวนําสูปฏิบัติการ (Implementation) 5) การรวมสรางพื้นฐานการพัฒนา (Improvement) 6) การศึกษาที่ทําใหเกิดภูมิคุมกัน (Immunity) ดวยความเชื่อในพุทธปรัชญาที่วา สัตวโลกยอมเปนไปตามกรรม (กัมมุณา วัตติ โลโก) เรา สามารถเปนพุทธะได หากเราคนพบ“อริยะมรรค”ไดดังเชนที่พระพุทธองคทรงคนพบ ความเปนพุทธะ คือความเปนผู รู ผูตื่น ผูเบิกบาน สิ่งสําคัญที่พระพุทธเจาทรงคนพบและ สถาปนาตนเองเปนพุทธะไดนั้นคืออริยะสัจจะ การเริ่มตนจากสิ่งดีงาม ที่รํารึกไดวา “เคยทํา” จะ 11


เป น ป จ จั ย หนุ น เนื่ อ งให เ กิ ด สิ่ ง ดี ง ามอี ก หลายหลากตามมา ไม ว า จะเป น ความคิ ด เห็ น ที่ ดี (สัมมาทิษฐิ)( สัมมากัมมันตะ)วาจาที่ไพเราะ( สัมมาวาจา)( สัมมาสังกัปปะ)( สัมมาวายามะ)สติ ดี( สัมมาสติ)มี( สัมมาสมาธิ ) และดวยหลักแหงการหนุนเนื่องนั้นเอง(อิทัปปจจัยตา) ก็สามารถ จะทําให คน กลุมคน ชุมชน และสังคม “จุติใหม” (Reincarnation)ในโลกใบนี้ กองทุกข กองนี้ และเปลี่ยนแปลง ไปสูโลกที่ดีกวาไดไมยากนัก “ใจ” เปนผูนําสรรพสิ่ง “ใจ”เปนใหญ ทุก สิ่งสําเร็จไดดวย”ใจ” หากคิด พูด ทํา ในสิ่งดี หรือชั่ว ฉันใด ความสุข หรือความทุกขก็จะติดตาม ตัว เหมือนลอเกวียนหมุนเตา ตามรอยเทาโคฉันนั้น และทายที่สุดนี้ ขอผนวกบทเพลง 2 ลีลาที่อาจทําใหบทความชิ้นนี้อานแลวผอนคลายไม หนักไปในทางวิชาการมากเกินไป แมจะมีเนื้อหาบริบทตางกัน แตเปาหมายในบทเพลงนั้นพอง พานกันยิ่งนัก

ความรักที่ยิ่งใหญที่สุดทั้งหลายทั้งปวง (อยูที่นี่ และตรงนี้ กับผูเรียนของเรา) ฉันเชื่อวาเด็กทั้งหลายคืออนาคตของเรา ฟูมฟกเขาใหดีและใหโอกาสเขาไดกาวไปในทิศทางที่เขาปรารถนา แสดงใหเขาเห็นถึงความงดงามที่มีอยูภายในจิตใจของเขา ใหเกียรติเขาและปลูกฝงใหเขารูสึกภาคภูมิใจในตนเอง ถาจะใหงายขึ้นอีกก็คือ มาทําใหเขาไดหัวเราะกันอยางเบิกบาน ดังเชนที่เราไดเคยสัมผัสในเยาววัย ทุกชีวิตตางแสวงหาวีรบุรุษในดวงใจของตนเอง ฉันเองก็ไมรูเหมือนกันวาเขาไปหากันที่ไหน และฉันก็ไมพบวาใครจะเปนแบบอยางใหฉันไดดังปรารถนา มันเปนความรูสึกอางวาง ในโลกที่อยูยากในปจจุบัน ดังนั้นฉันจึงเรียนรูที่จะพึ่งพาตนเอง ฉันปรารถนามานานแลวที่จะไมครอบงําหรืออยูภายใตเงื้อมเงาของใคร หากฉันประสพความสําเร็จหรือแมลมเหลวฉันก็ไมหวั่น เพราะ อยางนอยที่สุด ฉันก็ไดทําในสิ่งที่ฉันเชื่อ และแมนใครจะบังอาจยื้อยุดฉุดกระชากวิญญาณของฉันไป ทําใหฉันสูญเสัยทุกอยาง เขาก็ไมอาจฉุดกระชากเกียรติศักดิ์ของฉันไปดวยได เพราะฉันไดพานพบแลววา ความรักอันยิ่งใหญนั้นบังเกิดแลวแกตัวฉัน 12


เพราะฉันไดพานพบแลววา ความรักอันยิ่งใหญที่สุดนั้นอยูภายในตัวของฉันเอง ความรักอันยิ่งใหญทั้งปวงนั้นงายแกการทําอะไร ๆใหสําเร็จได ความรักอันยิ่งใหญนั้นคือรูจัก“รัก”ตัวเอง ซึ่งไมไดหมายถึง“หลงรัก”ตัวเอง หากแตรูซึ้งถึงคุณคาของตัวเอง และการไดเรียนรูที่จะรักตัวเองตางหาก คือ ความรักอันยิ่งใหญทั้งปวง และหากจะมีเหตุบังเอิญตองไปอยูในที่พิเศษแหงหนใดก็ตามที่ทานเคยฝนไว คือไดพบความรัก มีครอบครัวที่อบอุน และประสพความสําเร็จในงานที่ทํา จงเขาไปอยูในมุมสงบ แลวคนหาพลังแหงความรักอันกลาแกรงของทานเองใหเจอ แปลจากเนื้อเพลงยอดนิยมอันดับหนึ่งของ Whitney Houston ป ๒๕๒๙ –The Greatest Love of All

มหาวิทยาลัยในฝน หากจะเปรียบมหา’ลัยเปนดั่งเชนเตาเผา คณะก็คงเหมือนเบา ที่หลอมพวกเราออกมา ถานกอนแดงที่โหมไฟแรงคือ ภาควิชา ที่หลอมคนใหมีคา อีกพัฒนาใหสมคาคน กอนจะสอบเอ็นทรานสเขามาศึกษา แขงขันกันดังเหมือนบา กวดวิชาไปทุกแหงหน ผานเขามามุงหวังปริญญาคาลน กลับพบแตความหมองหมน ไมเหมือนที่ตนตั้งใจ ยามเรียนหางไกลผูใหความคิด จะหวังเพื่อนที่ใกลชิด ก็มีแตความหมองไหม ประคองตัวเองมิใหตองถูกรีไทร ตางเหยียบบากันไป เหมือนไตบันไดอาถรรพ ขอวอนกราบพอพิมพแมพิมพทั้งหลาย ไดโปรดหลอหลอมเหลาบัณฑิตไทย เหมือนที่คนเขาหมายมั่น ประสาทวิชา ประสานดวงใจ คิดใฝสรางสรรค กระตุนใหคนรักกัน บากบั่นเพื่อคนยากไร อยาใหเปรียบมหา’ลัยเปนเชนสนามรบ ที่คิดถึงเพียงวันชีพจบในชวงอนาคตใกล ใหการศึกษา สมดังปรัชญามหา’ลัย บรรลุเปาหมายยิ่งใหญ เพื่อลูกหลานไทยแทจริง

เนื้อเพลง :

อุทัยวรรณ กาญจนกามล

13


14


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.