โครงการยกระดับบริการสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน(People's Audit )

Page 1

(People’s Audit for Thailand)

การยกระดับการใหบริการสาธารณะ โดยการมีสวนรวมของประชาชน สถาบันพระปกเกลา

อุทัยวรรณ กาญจนกามล


เปนโครงการที่ดําเนินการโดยสถาบันพระปกเกลา รวมกับเครือขายหลายๆหนวยงาน อาทิ –สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ หรือ กพร. –โครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ หรือ UNDP –กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น –หนวยงานราชการตางๆ และสถาบันการศึกษา องคกร พัฒนาเอกชน


แนวคิด........


ความจําเปนที่ตองใหประชาชนเขามามีสวนรวม ในการยกระดับการใหบริการสาธารณะที่รฐั และ ทองถิ่นจัดใหแกประชาชน

เพราะจะทําใหประชาชนไดแสดงความพึง พอใจ ความตองการหรือความหวงกังวลตอ การบริการ


การสรางการเปนภาคีของการทํางาน รวมกัน เกิดความไววางใจกันในการทํางาน ภาคผูใหบริการก็จะไดรับการรวมมือ ที่ดี ผูรบั บริการซึง่ หมายถึงประชาชน ก็จะไดรับการบริการที่ดี


การบริการสาธารณะ

อะไรบางที่เปนการบริการสาธารณะ ทานใหบริการอะไรบาง


การบริการสาธารณะคืออะไร เปนกิจกรรมทีร่ ัฐบาลตองรับผิดชอบตอ ประชาชน ซึ่งมีทางเลือก หลายทาง ไมใชเพียงการออกกฎระเบียบหรือให งบประมาณไปดําเนินการ


เปนการบริการเพื่อคนจํานวน มาก เปนการสรางความ รับผิดชอบตอสังคมและสราง ความไววางใจใหกับประชาชน


ไมแสวงหากําไร เปนไปเพื่อประโยชนสุข และคุณภาพชีวิตที่ดีของ ประชาชน


หลักการทีผู่ ผดู าํ เนินการโครงการ People’s Audit ตองมี และยึดไวเพือ่ ใหสามารถ ดําเนินการใหสําเร็จคือ


กวาจะมาเปน

People’s Audit


การผูกมัดที่จะทํา และกําหนดไวเปน นโยบายสําคัญของหนวยงาน ความชัดเจน ความเขาใจตรงกัน เขาใจ รวมกันในวัตถุประสงค เปาหมาย กระบวนการมีสวนรวม และขอมูล ยอนกลับที่ไดจากการประเมิน และที่ สําคัญมีกิจกรรมการมีสวนรวมและได สื่อสารกันเขาใจแลวดวย


ทั่วถึง - สรางการเขาถึงโครงการโดย

ทั่วถึงเพือ่ แนใจวาคนพืน้ ฐานตางกันก็ สามารถเขาถึงกิจกรรมนี้ไดเชนเดียวกัน เคารพกันและกัน เพือ่ แนใจวาทุกคน รับผิดชอบรวมกันและยอมรับฟงความ คิดเห็นของผูอนื่


มีความรับผิดชอบ –เพื่อแนใจวาเจาหนาที่ ผูมีสวน รวม และประชาชนรับผิดชอบ รวมกัน –และแนใจวาโครงการนี้จะบรรลุ เพราะมีทรัพยากรตางๆ ตลอดจน ใหเวลาที่พอเพียง


สํานึกรับผิดชอบ –เพื่อแนใจวาขอมูลที่ไดจากการประเมิน เปนระยะจากผลการมีสวนรวมไดรับการ ถายทอดใหผเู ขารวมทุกคน –และแสดงใหทราบวาผลการศึกษาที่ไดนี้ ถูกนําเขาไปสูกระบวนการกําหนดนโยบาย


มีการรวมมือกัน –เพื่อแนใจวาหนวยงานตางๆเขามาเกี่ยวของ และ ปฏิบตั ิ รวมทั้งมีการกําหนดขอตกลงรวมกันวาจะ ดําเนินการรวมกัน

ความไววางใจกัน –เพื่อแนใจวาการติดตอสื่อสารและมีการสราง ความสัมพันธกัน


มีการบูรณาการ –การคิดเปนองครวม –การทํางานเปนพหุภาคี เพื่อแนใจวามีการมี สวนรวมอยางกวางขวางและครอบคลุมคน ทุกกลุมที่มีความสนใจและอาจไดรับ ผลกระทบจากการตัดสินใจของรัฐและ ทองถิ่น


โครงการวัดระดับการใหบริการ ของหนวยงานของรัฐและ องคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยกระบวนการมีสวนรวมของ ประชาชน


ทําอยางไรประชาชนจะไดรับ การบริการที่ดี ประเมินใหบริการของหนวยงานของรัฐ และองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดย กระบวนการมีสวนรวมของประชาชน

PEOPLE’S AUDIT


วัตถุประสงค สรางความตระหนักในการมีสวนรวมของ ประชาชนในเรื่องของการใหบริการสาธารณะ สรางองคความรูในการประเมิน พัฒนารูปแบบการประเมิน สรางเครือขายในการประเมิน


กระบวนการ

เรียนรูจากการแนะนําของ ผูเชี่ยวชาญของ UNDP สรรหาเครือขาย เชิญชวนใหเขารวม เรียนรูจากประสบการณของประเทศ ตางๆโดยการสํารวจวรรณกรรม


เรียนรูจากประสบการณของ ประเทศตางๆโดยการศึกษาดูงาน สรุปผลการศึกษา เชิญผูเชีย่ วชาญจากตางประเทศมา แนะนําวิธีการ ( Social Audit)


รับความรูเพิ่มเติมในเรื่องเทคนิคของการมี สวนรวมและการบริการที่เปนเลิศ จาก วิทยากรประเทศฟลิปปนส เรียนรูวิธีการตางๆเพิ่มเติมจากการเขารวม สัมมนาที่ประเทศฮองกง สรุปรวบรวมสิง่ ที่ไดรับ ตั้งคณะทํางานรางแนวทางการทํา People’s Audit ในประเทศไทย


คณะทํางานจัดประชุม หารือราง แนวทางการฝกอบรมเพื่อดําเนิน โครงการและจัดทําคูมือในการทํา โครงการ เขียนเอกสารประกอบการทํา โครงการ


ทดสอบรูปแบบการแนะนําการทํา people’s audit ปรับปรุงแนวทางการใหความรูในการทํา people’s audit


รับสมัครหนวยงานเขารวมโครงการ ทดลองดําเนินการในจังหวัดนํารอง สรุปผลการดําเนินการ ศึกษาเปรียบเทียบและสรุปบทเรียน


ศึกษาความเปนไปไดในการทําโครงการ และความตองการของหนวยงาน

จ. สกลนคร


จัดสัมมนาเรื่องหลักสูตร ในการสราง กระบวนการในการมีสวนรวม


โดยสรุป วิธีการดําเนินงาน ระยะที่ 1 –เรียนรูรว มกัน สรางองคความรู เรียนรู จากประสบการณของหลายประเทศ –สรางเครือขาย ระยะที่ 2 ดําเนินการในพื้นที่นํารอง


แนวทางการทํางาน การตกลงใจเขารวมเปนเครือขาย สงพนักงาน เจาหนาที่มารวมเรียนรู และรับการฝกอบรม ควรเปนกลุม เดียวกันตลอด รวมดําเนินกิจกรรม รับทราบผล ปรับปรุงอยางตอเนื่อง


ใชการทํางานที่ยึด หลักธรรมาภิบาล บาล


จากแรงบันดาลใจ (inspiration) เกิดการปรับปรุงทันตาเห็น (Improvement)

ทําดวยใจ (Internalization)

นําไปสูก ารปฏิบัติ (Implementation)

สรางนวตกรรม ในการมีสวนรวม (Innovation)


สรางแรงบันดาลใจใหเกิด นวตกรรมเพือ่ การใหบริการ สาธารณะอยางมีสวนรวม อันจะ นําไปสูการปรับปรุงการใหบริการ อยางตอเนื่อง



แนวคิดหลักในการเริ่มดําเนินการโครงการ head ความรู  ความรู

ปฏิการปฏิบัตบัติ​ิ hand

ตระหนัก

ความตระหนัก

heart


ประชาชนตองมีสวนรวมอยางเต็มใจมิใชการบังคับ การดําเนินการโครงการนี้เปนทั้งการเริ่มดําเนินการ จากผูใหบริการที่ เรียกวา inside out และเปนการเริ่มจากภายนอกโดยประชาชนและผูมี สวนไดสวนเสียผลักดัน เรียกวา outside in ทั้งสองวิธีจะรวมกันเปนหนึ่งเดียวเพื่อมุงสูการบริการ ทีเ่ ปนเลิศเพื่อประชาชนอยางแทจริง


จากภายนอก (outside in)

คนหาความตองการของประชาชน การเขาถึงชุมชนทางบวก การสรางกระบวนการมีสว นรวม

–การถกประเด็น...สนทนาอยางมีสวนรวม –การประชุมเชิงปฏิบัติการ –การวางแผน


เริ่มจากขางในหนวยงานเอง inside out

การสรางการบริการที่เปนเลิศ Public Service Excellence Program


การบูรณาการทั้ง 2 วิธี

การเปนภาคีตอกัน การสรางธรรมนูญการทํางาน

“ธรรมนูญพลเมือง”


การสรางตัวแบบในการดําเนินการ

การวางแผนในการดําเนินการ การประเมินผลแบบมีสวนรวม


•มีสวนรวมอยางแทจริง

•ปรับปรุงอยางตอเนือ่ ง •ผูรบั บริการพึงพอใจ


โครงการนี้อาจเริ่มชาๆ และตองใชเวลาในการเรียนรู และสรางเครือขายในการทํางาน (แตเปนการเริ่มชาเพื่อเดินหนาอยางรวดเร็วในอนาคต แทนการเริ่มเร็วทําเร็วและในทีส่ ดุ ตองหยุดแกไขและมี ปญหาในทีส่ ดุ )


ทดลองใชแลวใน5 จังหวัด จังหวัดเชียงราย จังหวัดสกลนคร จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสงขลา




วงจรของการยกระดับการบริการสาธารณะแบบมีสวนรวม แรงบันดาลใจ สรางนวตกรรมในการบริการ

ปรับปรุงการบริการใหดีขึ้น นําไปปฏิบัติ


จากแรงบันดาลใจ (inspiration) เกิดการปรับปรุงทันตาเห็น (Improvement)

ทําดวยใจ (Internalization)

นําไปสูก ารปฏิบัติ (Implementation)

สรางนวตกรรม ในการมีสวนรวม (Innovation)


การยกระดับการใหบริการสาธารณะ โดยการมีสวนรวมของประชาชน (People’s Audit for Thailand)

พื้นที่จังหวัดเชียงราย สถาบันพระปกเกลา

อุทัยวรรณ กาญจนกามล


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

วัตถุประสงค เพื่อศึกษาถึงความสามารถและทักษะของหนวยงานราชการ พื้นที่อําเภอแมจนั จังหวัดเชียงราย ในการประยุกต ปรับใช กระบวนการยกระดับการใหบริการสาธารณะ โดยการ มีสวนรวมของประชาชนในหนวยงานของตนเอง

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

พื้นที่การศึกษา 1) เขตเทศบาลตําบลแมจัน 2) เขตองคการบริหารสวนตําบลปาตึง อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

หนวยงานราชการที่รวมโครงการในระดับพหุภาคีทองถิ่น 1) เทศบาลตําบลแมจัน อําเภอแมจัน 2) องคการบริหารสวนตําบลปาตึง อําเภอแมจัน 3) สถานีตํารวจภูธรอําเภอแมจนั 4) หนวยอนุรักษและจัดการตนน้ําแมจัน 5) สถานีอนามัยตําบลปาตึง อําเภอแมจัน องคกรประชาชนในอําเภอแมจัน 1) องคกรชุมชน ในเขตเทศบาลตําบลแมจัน 2) ชมรมผูส ูงายุ ชมรมแมบานและเยาวชน ตําบลปาตึง 3) กลุมเหมืองฝายลุมน้ําแมจัน 4)เครือขาย อสม. แมจัน 5) กลุมชนเผาอาขา และลาหู ในอําเภอแมจนั


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

ภายหลังจากการอบรมตามหลักสูตรการยกระดับบริการสาธารณะแลว ไดมีการลงนามในบันทึกชวยจํา (MOU) ระหวางผูแทนของหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิดการสนับสนุนการดําเนินการโครงการนํารองดังนี้ 1) ผูแทนจากสถาบันพระปกเกลา 2) นายกเทศมนตรีเทศบาลตําบลแมจัน 3) นายกองคการบริหารสวนตําบลปาตึง 4) ผูแทนจากสถาบันเสริมสรางพลังชุมชน

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

กรณีศึกษา 1) การปรับปรุงการใหบริการสาธารณะ ของเทศบาลตําบลแมจัน

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

กรณีศึกษา 2) การจัดการลุมน้ําของ เครือขายการจัดการลุมน้ําจัน

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

กรณีศึกษา 3)การจัดทําใบแทนใบขับขี่เพื่อพี่นองบนพื้นที่สูง ที่ไมสามารถมีใบอนุญาตขับขี่

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

กรณีศึกษา 4) การสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพชุมชน ของสถานีอนามัยตําบลปาตึง

*

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006


King Prajadhipok’s Institute

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

People’s Audit for Thailand

Thai Politics Forum 2006


King Prajadhipok’s Institute

• โอกาสในการมีสวนรวม • ภาวะผูนํา • บริบทขององคกร • โครงสรางและสัดสวนของประชาชน • การมีสวนรวมแบบเกือ้ กูล • ความรูในเรื่องการยกระดับบริการ • กระบวนการเขาถึงประชาชน • ชนิดของบริการสาธารณะ

People’s Audit for Thailand

พลังชุมชน ประสิทธิผล การมีสว นรวม

ปจจัยสําคัญที่มีผลตอความสําเร็จ ของโครงการนํารอง พื้นที่เชียงราย


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

การติดตามและประเมินผลกรณีศึกษาที่เห็นวาเปนปฏิบัติการที่ดที ี่สุด (best practice)

การสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพชุมชนของสถานีอนามัยตําบลปาตึง ปจจัยทีม่ ีผลตอความสําเร็จ 1) ทีมงานเจาหนาสาธารณสุขตําบล สวมบทบาท“ผูนําการเปลี่ยนแปลง” แสดงเจตนารมณที่จะเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมอยางแทจริง สามารถใชเทคโนโลยีการมีสวนรวม ในฐานะ ผูจุดประกาย ผูเอื้ออํานวย ผูประสานงานและผูเสริมสรางพลังกลุมไดอยางเหมาะสม 2) ผูนําธรรมชาติในชุมชน มีทักษะในการสื่อสาร 2 ทางไดอยางมีประสิทธิภาพ

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

การติดตามและประเมินผลกรณีศึกษาที่เห็นวาเปนปฏิบัติการที่ดที ี่สุด (best practice) 3) มีการระดมสรรพกําลังจากพหุภาคีโดยมีเจาของสุขภาพรวมเปนเจาภาพอยางแข็งขัน 4) มีการเขาถึงชุมชนในเชิงบวก โดยเริ่มจากสิ่งที่ชาวบานมี อาทิ ภูมปิ ญญาทองถิ่น วัฒนธรรมชุมชน กอใหเกิดการเสริมสรางพลังชุมชนอยางแทจริง 5) บริบทขององคกร มีการบูรณาการงานสาธารณสุขไดอยางเหมาะสม โดยพลิกฟนวิถีชีวิตวัฒนธรรม ทองถื่นทีม่ ีคุณคา มากอกระแส กลุม พลัง ทั้งผูสูงอายุ แมบานและเยาวชน

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

การติดตามและประเมินผลกรณีศึกษาที่เห็นวาเปนปฏิบัติการที่ดที ี่สุด (best practice)

6) การนําธรรมนูญพลเมืองหรือขอตกลงรวมกันระหวางพหุภาคีมาใช ทําใหเกิดพันธสัญญาที่ผนึกแนนมั่นคงตอกัน 7) โครงสรางและสัดสวนของประชาชนตอการมีสวนรวม 8)

ความรูในเรื่องการยกระดับบริการสาธารณะ

งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

Thai Politics Forum 2006


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

ความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ตําบลแมจนั และตําบลปาตึงตอบริการสาธารณะ

ความพึงพอใจของประชาชน

การจัด การขยะ ความปลอดภัย สาธารณ ะ การพั ฒ นาสิ่ง แวดลอม งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

ก อน

หลัง

(n=500) 61.3

(n=500) 77.3

76.5

79.7

+3.2

85.5

82.7

-2.8

+/-

รอยละ +16.0

Thai Politics Forum 2006


King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

ก ารประเมิ นผ ลอย างมี ส วนรวม ในการสรางเสริมสุขภาพชุมชน

ใ นก ลุ ม ผู สู ง ายุ แม บ า นและ เย าวช น ตํ า บลป า ตึ ง อํ า เภอแม จั น เชี ย งราย

ตัวแปรของการเปลี่ยนแปลงชุมชน ค า เฉลี่ ย ค า มัธยฐาน ค า ฐานนิย ม พิ สยั

ความสามัค คี การมีสว นรวมในโครงการ สรา งเสริมสุข ภาพ สุข ภาพกาย สุข ภาพจิ ต ความอบอุนในครอบครัว ความมีชี วติ ชี วา

4.55

5

5

4-5

4.55

5

5

4-5

4.21

4

4

3-5

4.45

4.5

5

3-5

4.45

4

4

4-5

4.33

4

4

4-5


การประเมินอยางมีสว นรวม กลุมผูสูงอายุ แมบา น และเยาวชน King Prajadhipok’s Institute

People’s Audit for Thailand

5

มีสวนรวมในโครงการฯ

4.55

มีชีวติ ชีวา

5

5

4.55

มีความสามัคคี

4.33

1

มีความอบอุน 5 ในครอบครัว

4.45

4.21

5

สุขภาพกายดี

4.45

5

งานสัามตึมนาการเมื องการปกครองไทย Thai Politics ตําบลป ง เชียงราย างเสริ มสุขForum ภาพชุ2006 มชน สุข2549 ภาพจิตดี โครงการสร


King Prajadhipok’s Institute

ริเริ่มจากรากหญา เรียนรูจากใจคน รองรับความตองการ ประชามิใชไพร งานสัมมนาการเมืองการปกครองไทย 2549

People’s Audit for Thailand

เรงศึกษาจากชุมชน รับรูคนคิดอะไร ไมหักหาญซึ่งน้ําใจ ตองกาวไปคูเ คียงกัน

Thai Politics Forum 2006



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.