三清四正 ซัน ชิง ซื่อ เจิง้ สามบริสุทธิ์ สี่ เทีย่ งตรง โอวาทองค์ประทานคุมสอบสามภูมิ “ ขอบเขตหญิงชายแบ่งเป็ นเกณฑ์ สามชัดเจนสี่ เที่ยงตรงจงเคร่ งครัด ทั้งสี หน้าอาการรู้จากัด ให้ฝึกหัดวาจาให้เที่ยงตรง” Vithidham
21/01/55
2
三清四正
ซัน ชิง ซื่อ เจิง้ สามบริสุทธิ์ สี่ เทีย่ งตรง คานา ทุกคนที่กา้ วเข้ามาสู่อาณาจักรธรรม เมื่อได้มาศึกษาแล้วจะต้องรู้จกั และเข้าใจในการปฏิบตั ิตน ให้ถูกต้องตาม พุทธวินยั มีเรื่ องสาคัญอยูเ่ รื่ องหนึ่งที่ทุกคนจะต้องเข้าใจ และนาไปปฏิบตั ิได้เป็ นอย่างดีดว้ ย คือ สามบริ สุทธิ์ สี่ เที่ยงตรง องค์ประทานคุมสอบสามภูมิ ประทานพระโอวาทว่า “ ขอบเขตหญิงชายแบ่ งเป็ นเกณฑ์ สามชัดเจนสี่ เที่ยงตรง จงเคร่ งครัด ทั้งสี หน้ าอาการรู้จากัด ให้ ฝึกหัดวาจาให้ เที่ยงตรง” หมายถึง ไม่ว่าจะนัง่ จะยืน จะเดิน จะนอน ต้องให้ถูกต้องตามขนบธรรมเนี ยมประเพณี ที่ทอ้ งถิ่นของ เราปฏิบตั ิอยู่ 三清 ซัน คือสาม ชิง คือสะอาดหมดจด สามบริสุทธิ์ 1. ทางานธรรมะและทางานทางโลกให้ชดั เจน 2. เรื่ องเงินทองต้องชัดเจน 3. เรื่ องชายหญิงต้องชัดเจน 1. 聖凡清 (ซิ่ง ฝัน ชิง) ทางานธรรมะและทางานทางโลกให้ ชัดเจน เซิ่ง คืออริ ยะ ทางธรรมะอริ ยะ ฝัน คือทัว่ ไป ทางโลก 1.1 มาสถานธรรม มาเพื่อทางานธรรมะในสถานธรรม พาญาติธรรมมาสร้ างบุญกุศล เคารพเทิ ดทูน อาจารย์ มีอาจารย์ถ่ายทอดธรรม อาจารย์บรรยายธรรมและผูแ้ นะนา – รับรอง ฯลฯ เมื่อมาถึงแล้ว ต้องทาแต่ งานในสถานธรรม อย่าได้นาเอาเรื่ องของส่ ว นตัว มาพูด มาทาให้เป็ นที่ราคาญนัยน์ตา ราคาญหู ของผูอ้ ื่น 1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างญาติธรรม อย่าให้เ ป็ นเหมื อนความสัมพันธ์ทางโลก ต้องไม่มีความรั กอย่างทาง โลก ต้องไม่คุยกันเรื่ องทางโลก ถ้าเป็ นญาติก็ให้ถือเสมือนเป็ นญาติธรรม ปฏิบตั ิต่อกันให้เสมเหมือนกัน ใน
3
สถานธรรม ทุก ๆ คนต้องเป็ นเสมอญาติธรรมเท่า ๆ กัน ทั้งที่เป็ นสามี ภรรยากัน ก็ตอ้ งทาตนเป็ นเหมือนญาติ ธรรมเหมือนกัน 1.3 ไม่เอางานธรรมะมาบังหน้า แล้วมาขายของ ของส่วนตัวในสถานธรรม มาขายของในอาณาจักรธรรม ด้วย ความเกรงใจ ญาติธรรมจาต้องรับซื้ อไว้ อีกประการหนึ่ งการขายของในสถานธรรม ทาให้แลดูเป็ นเหมือน ตลาดขายสิ นค้า ไม่ใช่สถานธรรม เสี ยงพูดคุยกันดัง จนทาให้ผอู้ ื่นฟังธรรมะไม่รู้เรื่ อง ไม่รู้ว่าจะฟังเรื่ องอะไร ดีฟังธรรมะดี หรื อฟั งเสี ยงขายของดี ทาให้กาลังใจผูฟ้ ั งเสี ย เบื่อสถานธรรม เลยไม่มาถ้าเป็ นเช่นนี้ เป็ นการ สร้างบาปโดยไม่รู้ตวั ที่ทาให้ผอู้ ื่นหลุดออกไปนอกวงการธรรมะ 1.4 อยูใ่ นอาณาจักรธรรม ขณะออกงานธรรมะอย่าพูดคุยกันเรื่ องทางโลก อย่าหาเสี ยงหรื อวิจารณ์งานทางการ เมือง อย่าเอาความสนิทสนมกันทางญาติมาบอกงานเพื่อหวังผลประโยชน์ของตนเอง ถ้าจาเป็ นให้พูดกันข้าง นอกสถานธรรม 1.5 ถ้าต้องการให้ญาติธรรมช่วยเหลือ ในงานที่เป็ นเรื่ องเฉพาะตนอย่าใช้ตาแหน่งงานทางธรรมมาเกี่ ยวข้องเพื่อ ประโยชน์ของตนเอง ต้องจ้างหรื อให้ผลประโยชน์ตอบแทนที่เสี ยเวลามาทางานให้ เพราะมาด้วยความรัก ด้วย ความเกรงใจ ต้องตอบแทนให้พอสมควรกับงานที่มาทาให้ และหาโอกาสไปตอบแทนด้วยการทางานให้กบั ผูอ้ ื่นบ้าง 1.6 ต้องฝึ กหัดทางานในหน้าที่อื่น ๆ ใน 10 หน่วยงาน ให้เป็ นหลาย ๆงาน เผื่อบางทีเจ้าของงานไม่อยู่ จะได้ ช่วยทาให้ได้ ทาให้งานธรรมะไม่เสี ย ส่ วนในงานของตนเอง เมื่อทาแล้วต้องสารวจดูดว้ ยว่าดีหรื อไม่ดี ต้อง แก้ไขอีกบ้างหรื อเปล่าเพื่อการทางานในคราวต่อไปจะได้ดีข้ ึน 2. 錢財清 เงินทองต้องให้ ชัดเจน 2.1 ถ้าต้องทางานเกี่ยวกับการเงิน ต้องลงบัญชีให้ชดั เจน สามารถชี้แจงและให้ตรวจสอบได้ทุกเวลา ต้องลง รายการรับบริ จาคให้ละเอียดชัดเจน ลงบัญชีรายจ่ายให้ชดั เจน ถูกต้อง มีหลักฐานอ้างอิงได้ ทาประกาศให้ ญาติ ธรรมทราบเป็ นครั้ งคราว ไม่ควรจัดทาบัญชี แต่ ผูเ้ ดี ย ว ควรจัดเป็ นคณะกรรมการท างานให้ถูกต้อ ง 2.2 ถ้าทาไม่ถูกต้อง ด้วยการเอาไปใช้เอง หรื อทาหาย หรื อบอกจานวนผิดไป เป็ นบาปอย่างมหันต์ ดังพุทธ พจน์ที่ว่า “เงินกุศลเพียงหนึ่งเฟื้ องไพ ยิ่งใหญ่หนักกว่าพระสุเมรุ เบียดบังฉ้อโกงลวงเล่น ต้องเกิดเป็ นสัตว์เขาเอาใช้คืน” ถ้าหากขาดจ านวนไป ผูจ้ ัดทาต้องจัดหามาให้ครบถูก ต้อ งตามจานวนของตัวเลข อย่าปล่อยไว้จ นผูอ้ ื่ นมา เจอ เป็ นการไม่ดี 3. 男女清 ชายหญิงให้ ชัดเจน 3.1 การพูดจาต้อ งดังพอที่ผอู้ ื่นได้ยินด้วย ต้องพูดด้วยวาจาที่สุภาพผูอ้ ื่นได้ยินแล้วจะได้ไม่เอาไปติฉิน นิ นทา ว่าพูดไม่เพราะ เวลาพูดต้องรู้ ว่าขณะนี้ เราพูดอยู่กบั ใคร พูดอยู่กบั ผูใ้ หญ่ หรื อพูดกับเด็ก หรื อพูดกับ
4
บุ ค คลที่ เ ท่ า กัน กับ ตัว เรา เวลาพู ด ต้อ งมี ห างเสี ย ง มี ค รั บ มี ผ ม มี ค ะ มี ข า จึ ง จะแลดู ง ามดี 3.2 ในการทางานธรรมะ ต้อ งแบ่งแยกชาย-หญิงไว้ให้ชดั เจน ไม่รวมกัน ต้อ งนัง่ แยกกัน ชายอยู่ขา้ ง หนึ่ง หญิงอยู่อีกข้างหนึ่ ง ขึ้น-ลงบันไดต้องแยกกันคนละข้างไม่ปนกัน เวลากราบพระต้องแยกกัน ใครกราบ ก่อน กราบหลัง ให้ดูที่อาวุโส 3.2 การใช้วาจาระหว่างชาย-หญิง ต้องบริ สุทธิ์ไม่มีเรื่ องของทางโลกเข้ามาเกี่ ยวข้อง เป็ นการพูดกันดัง่ ญาติพี่ น้องที่ทางานร่ วมกัน 3.3 ชาย-หญิง อย่าอยูใ่ กล้กนั เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกตาหนิ เพื่อป้ องกันความสงสัย ถ้าทาอะไรหละหลวมจะถูก นาไปวิพากษ์วิจารณ์หรื อนินทา 3.5 ปากบอกว่าฉันบริ สุทธิ์ใจ แม้จะถูกนินทา ก็ยงั ประพฤติเหมือนเดิม ทาไม่ได้ ต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไข - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 四正 สี่ เที่ยงตรง 1. 2. 3. 4.
กายตรง ใจตรง วาจาตรง ความประพฤติตรง
1. กายตรง 1.1 ต้องทาอะไรไม่ผิดประเพณี ไม่ผิดในศีลทั้งห้าข้อ 1.2 เวลาเดินผ่านสวนหรื อไร่ นาของผูอ้ ื่น ไม่ควรก้มหลัง หรื อยื่นมือขึ้นเหนือศีรษะ เพราะเวลามองแต่ไกลจะ เห็นเป็ นว่า ตั้งใจเก็บพืชผลของเขา เหมือนที่ท่านขงจื๊อกล่าวว่า แม้ แต่ ตามองเห็นเองก็ยังผิดได้ เช่น ศิษย์ของ ท่านขงจื๊ อหุ งข้าวต้มให้ท่านขงจื๊ อ ขณะที่หุงข้าวอยู่ มีเศษผงตกจากหลังคาลงไปในหม้อข้าว ศิษย์ผนู้ ้ นั จึ งเอา ช้อนตักออก เผอิญมีเมล็ดข้าวติดมาด้วย จะทิ้งก็เสี ยดาย เลยใส่ ปากตนเอง พอดีท่านขงจื๊ อเห็นเข้าพอดี และ ตาหนิว่า กินก่อนเจ้านาย ทางที่ดี ควรถามเหตุผลให้ดีก่อนแล้วค่อยลงโทษ 1.3 เวลาเข้าไปในบ้านของผูอ้ ื่น อย่าไปอยู่ในที่ลบั หรื อห้องน้ า อันอาจทาให้เจ้าของบ้านสงสัยว่าไปทา อะไร ถ้าเกิ ดของเขาหายขึ้นมา เราจะกลายเป็ นคนไม่ดี ทาให้ไม่เป็ นที่ไว้วางใจอีกต่อไป เมื่อเรื่ องนี้ รู้ไปถึง บุคคลอื่นแล้ว ตัวเราจะเป็ นผูเ้ สี ยหายตลอดชีวิต 1.4 ให้รักตัวเอง ไม่ไปในสถานที่ ที่ผิดจริ ยธรรม เช่น ซ่องนางโลมหรื อตามบาร์ ฯลฯ ต้องไม่เกี่ยวข้องกับ เรื่ องที่ผิดจริ ยธรรม (เรื่ องฉุดคร่ า เรื่ องปล้น ฯลฯ)
5
1.5 ต้องไม่แต่งหน้าตา หรื อแต่งตัวตามสมัยมากเกินไป อันอาจทาให้ไม่เหมะสมในการมาสถานธรรม และ อาจเป็ นภัยต่อตนเองในอนาคต อาจถูกผูไ้ ม่หวังดีทาอันตรายก็ได้ 1.6 กิริยาอาการที่แสดงออก ต้องสารวมอยูใ่ นพุทธระเบียบ ต้องหมัน่ ดูพุทธระเบียบอยูเ่ สมอ จะได้เข้าใจ และ ทาได้ถูกต้อง 2. ใจตรง 2.1 ไม่หลอกลวงเขาหากิน ไม่ขายของปลอม ให้ยอ้ นมองส่ องดูตนเองทุกขณะ ว่าได้ทาผิดอะไรไปบ้าง จะ ได้ไม่ทาซ้ าอีก และต้องฟั ง ผูอ้ ื่นพูดด้วย ถ้าหากว่ามีผมู้ าพูดเตือนตัวเรา เราต้องขอบคุณเขา แล้วรี บสารวจ ตนเอง แล้วแก้ไขใหม่ทนั ที 2.2 ยังมีความโลภอยูอ่ ีกหรื อเปล่า ถ้ามีอยูจ่ ะทาให้เกิดความกลัดกลุม้ ทาให้ตอ้ งพูดจาตัดพ้ออยู่บ่อย ๆ มาสถาน ธรรมรั บ ประทานอิ่ ม แล้ว ก็ แล้ว กัน ไม่ค วรเอาของในสถานธรรมไป ถ้า จ าเป็ นควรสละเงิ น ทาบุญ บ้า ง เล็ก น้อ ย เพราะของที่ เ ขาเอามาทาบุญ เขาได้จ บแล้ว จบอี ก จบเพื่ อ สะเดาะเคราะห์ เ ภทภัยอัน ตรายให้ หายไป เมื่ อ เราเอาของมาใช้ หรื อมารั บ ประทาน ก็ เ ท่ า กั บ เราเอาเคราะห์ ภ ัย มาใส่ ต ัว เรา 2.3 ยังมีใจชอบคิดเปรี ยบเทียบระหว่างตัวของเรากับผูอ้ ื่นอยูอ่ ีกหรื อไม่ ยังเห็นใครดีไม่ได้ ชอบอิจฉาริ ษยา ยังมี อยูอ่ ีกหรื อเปล่า ถ้ายังมีอยูต่ อ้ งรับขจัดให้สิ้นไป ในมหาปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร สอนให้เราทาตนในขณะที่ ยังมีชีวิตอยู่ ให้เราทาเหมือนตายไปแล้ว ถ้าตายแล้ว ในจิตใจของเราจะไม่มีกิเลสเหลืออยูเ่ ลย 2.4 ตัวเราเคยได้รับการละเลยจากผูอ้ ื่น หรื อไม่ได้รับมารยาทตอบ ทาให้ใจยังมีความแค้นเคืองอยู่หรื อเปล่า ถ้า มีตอ้ งรี บให้อภัย เราต้องทาใจเราให้เหมือนฟ้ า เหมือนดิน ให้ทุกอย่างแก่ทุกคนได้เท่าเทียมกัน ให้ได้ทุกอย่าง ตามอัต ภาพไม่ มี ค วามโกรธแค้น เคื อ ง เหมื อ นฟ้ าเหมื อ นดิ น ที่ ไ ม่ เ คย โกรธใครเลย มี แ ต่ ใ ห้ อ ย่ า งเดี ย ว 2.5 ตัวเราเองยังมีความหยิ่งจองหองในใจอยูห่ รื อเปล่า ตัวของเราขาดความใจกว้าง ไม่ให้อภัยแก่ผอู้ ื่น โดยคิด ว่าตัวเราเองถูกเสมอใช่หรื อเปล่า ถ้ามีตอ้ งรี บแก้ไข เราต้องคิดว่า ผูม้ าทีหลังอาจมีคุณธรรมสูงกว่าเราก็ได้ ถ้าเรา คิดได้อย่างนี้ อาจทาให้เราหายหยิ่งผยองลงได้ การให้อภัย แก่ผอู้ ื่น เป็ นสิ่ ง ดีที่ไม่ต้องลงทุนอะไรเลย เมื่ อ ให้ แ ล้ว มี แ ต่ ไ ด้ก ับ ได้ ตัว เราเองก็ เ ป็ นสุ ข ผู้อื่ น ก็ เ ป็ นสุ ข พบหน้ า กัน วัน หลัง ยัง พู ด คุ ย กัน ได้ 2.6 ต่อตนเองและเรื่ องราวต่าง ๆ ยังไม่ทนั เข้าใจให้ถ่องแท้ก็สงสัยเอาไว้ก่อน คิดไปในทางที่ไม่ดีไว้ก่อน แล้ว ใช้ความคิดของตนปล่อยข่าวลือออกไป ทาให้เกิดความเสี ยหาย ถ้าผูอ้ ื่นเขารู้เข้าแล้ว ตัวเองแหละจะเสี ยหายต่อ ภายหลังมาก 3. วาจาตรง 3.1 ให้พูดแต่เรื่ อ งของตนเอง พูดแต่พอสมควร อย่าให้มากไป ไม่ควรพูดเรื่ องของคนอื่ น การพูดเพ้อ เจ้อ พูดทั้งวัน เมื่อหมดเรื่ องของตนเองแล้ว ก็จะพูดแต่เรื่ องของชาวบ้าน การพูดจริ งเป็ นสิ่ งที่ดี แต่การพูด
6
ตามความจริ ง โดยเอาเรื่ องของสามีไปเล่าให้ภรรยาฟัง เป็ นสิ่ งที่ไม่ดี เพราะอาจทาให้เขาต้องทะเลาะเบาะแว้ง กัน เพราะเราเป็ นสาเหตุ ท าให้ เ ป็ นที่ ร ะแวงแคลงใจอยู่ร่ า ไป ไม่มี ที่ สิ้ น สุ ด อาจท าให้ เ รื่ องที่ ไ ม่ เ ป็ น เรื่ อง กลายเป็ นเรื่ องใหญ่ไปก็ได้ 3.2 คิดเสี ยก่อนว่าเรื่ องใดควรพูด ค่อยพูด เรื่ องใดที่พูดแล้วทาให้เกิ ดความเสี ยหาย อย่าพูด แม้เป็ นเรื่ อง จริ งก็ไม่ควรพูด ยิ่งเป็ นเรื่ องหลอกลวงด้วยแล้วยิ่งไม่ควรพูด 3.3 อย่าทาตนเป็ นคนปากร้ าย พูดจาหยาบคาย ด่าคนอยู่เสมอด่าจนเกิ ดความเคยชิน เลยทาให้พูดไม่ เพราะ ผู้อื่ น ฟั ง แล้ ว ถ้ า เขาไม่ รู้ จ ั ก เรามาก่ อ นเขาจะหาว่ า เราเป็ นคนร้ ายกาจไม่ น่ า คบ 3.4 อย่าทาตนเป็ นคนลิ้นสองแฉก นินทาว่าร้ าย ยุแหย่ผอู้ ื่นให้เขาแยกกัน การทาให้คนโกรธกันเป็ นสิ่ งไม่ ดี ยิ่งเป็ นเรื่ องของสามี ภรรยาด้วยแล้ว ยิ่งไม่ควร การทาให้เขาแยกกัน เป็ นความบาป เป็ นสิ่ งไม่ดี ควรพูดให้ เขาประนีประนอมกันยอมความกัน ไม่แยกจากกัน 3.5 อย่าทาตนเป็ นคนชอบประจบสอพลอ สรรแสร้งแต่งคาทาให้ผอู้ ื่นพอใจตนเอง แต่คาพูดที่พูดไปแล้ว เป็ น การให้ร้ายแก่ผอู้ ื่นทางอ้อม เป็ นการเหยียบบ่าเพื่อน เพื่อเอาคุณงามความดีเป็ นของตนเอง การทาเช่นนี้ ให้คุณ แก่ตนเองชัว่ คราว แต่บาปกรรมที่ทาไว้ จะทาให้ชีวิตของเราไม่เจริ ญรุ่ งเรื อง 3.6 อย่าพูดเพ้อเจ้อไร้สาระ พูดในเรื่ องที่ไม่มีเหตุผล พูดเรื่ องนี้แล้วก็หาเรื่ องอื่นมาพูดต่อ ทาให้เสี ยเวลาทาการ ทางาน เสี ยเวลาของตนเอง และทาให้ผอู้ ื่นเสี ยเวลาด้วย 3.7 อย่าพูดเสี ยดแทงทาร้ายผูอ้ ื่น ทั้งต่อหน้าและลับหลัง การพูดฝากผูอ้ ื่นให้ไปบอกแก่ผทู้ ี่เราโกรธเป็ นสิ่ งไม่ ดี อันอาจทาให้ผทู้ ี่เราพูดฝากไปกลายเป็ นคนพูดเสี ยเอง ถ้าเกิดการยืนยันหาตัวผูพ้ ูด ก็ทาให้ผทู้ ี่รับฝากเราไป เกิ ดความยุ่ง ยากแต่ตวั ผูร้ ั บ ฝาก ถ้าฟั ง แล้ว เก็บ เงี ย บไว้ไม่พู ดต่อ ก็จ ะเป็ นการดี จะได้ไม่มีเ รื่ อ งท าให้เ กิ ด ความยุง่ ยากในภายหลัง 3.8 ไม่ควรรับปากพล่อย ๆ รับงานแล้วไม่ทา หรื อทาไม่ได้ ไม่มีวาจาสัตย์ เมื่อรับงานมาแล้ว ต้องทาให้สาเร็ จ โดยเร็ ว อย่าปล่อยให้ล่าช้า เนื่ องจากที่เขาวานทาก็เพราะ อยากได้เร็ ว ๆ ถ้าเราไม่ทาก็อย่าไปรับเอามาทา 3.9 เป็ นคนเจ้าอารมณ์ มีโมโห ใช้อารมณ์ไปทัว่ ทุกแห่ง ใช้โทสะวาจาทาร้ายคน ถ้าเป็ นตัวเราเอง ควรจะหัด ระงับอารมณ์ไว้ อย่าปล่อยให้วู่วาม ฉุนเฉี ยว คนโมโหร้ าย ถ้ากิ นเจแล้ว จะทาให้จิตใจสงบเยือกเย็นลง ความ เร่ า ร้ อ นภายในใจก็ จ ะน้อ ยลงไป ความเจ็ บ ไข้ไ ด้ป่ วยก็ จ ะพลอยหายไปด้ว ย การเจ็ บ ป่ วยบางโรคมา จากที่เราทาตัวเราเอง ด้วยความหยิ่งผยอง ด้วยความร่ ารวย ด้วยความที่มีตาแหน่งงานใหญ่โต เลยทาให้ มองเห็นผูอ้ ื่นต่าต้อยกว่าตน ควรแก้ไข 4. ความประพฤติตรง 4.1 ต้องเป็ นคนอ่อนน้อมถ่อมตน 4.2 ต้องเคารพผูอ้ าวุโส 4.3 ต้องเคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับ ทั้งปณิ ธาน 10 และพุทธวินยั 15 ข้อ 4.4 ต้องประพฤติตนเป็ นคนโปร่ งใส ไม่มีเบื้องหน้าเบื้องหลัง
7
4.5 การพูดของเรา อย่าให้คาพูดของเราไปละเมิดสิ ทธิประโยชน์ของผูอ้ ื่น 4.6 จะทาการใด อย่าทาตนเป็ นคนเห็นแก่ตวั มีใจคอคับแคบชอบเอาเปรี ยบผูอ้ ื่น 4.7 อย่าทาบุญจอมปลอม ทาอย่างขอไปที ขาดความศรัทธาจริ งใจ
三清四正 中級講員班 第一組
壹、前言: 一、我們原本清淨莊嚴的本性,不增不減,不垢不淨,不生不滅清淨無染,自由 自在。落於後天,陰陽對待,氣稟 อยู่ภ ายใน 所拘 การจับ กุ ม ,物欲所蔽 บัง ,ป้ องกัน ,必須藉 ยื ม 著 修道恢復本來面貌 ลักษณะเดิม。(新民班手冊 p146) 放眼當今社會,人心不古,綱常失守,倫理道德觀念頹敗 เ สื่ อ ม ,一般世俗之人往往隨著 此不好的風氣而潮流。因此嗿、嗔、癡、三毒惡習甚深,而無法自拔,「呂祖說:我 命生來本自然,果然由我不由天」(明德新民進修錄 22p)所以人生的旅途是彩色或黑 白都是自選的。 二、眾生因為迷昧無知,犯上(三最大、錯、過、罪) 1.不承認自己有錯(不敢面對現實。) 2.不曉得自己犯過(吃飯桶中、不知天地幾斤重。) 3.不害怕自己造罪(闖了禍、面不改色。)更不知生死事大,輪迴不止,果報無數,業 障現前也無法挽回累世的過錯。今我們有幸求得自古不輕傳的大道,它是一條脫離生 死輪迴的明路。(尼伯爾新民班 2004
)
求道以後,我們一定要遵守「十五條佛
規,」實踐「十條大愿」好好依法修行,將來必定能了愿還鄉。 三、有位前賢隨南極老仙翁遊天堂細說「罪過樓」:這裡頭記載著修道辦道以來 的罪過錯,南極老仙翁云:佛堂每講一次三清四正,道親就進步一次,道親一回來佛 堂道氣就不一樣,愈不講道氣就往下沉淪,道能夠辦這麼久,就是靠三清四正,因佛 堂辦道傳道是要長久永恆的,所以要講修道人應該必修的功課,也就是基本的佛規和 戒律,就是三清四正,佛規禮節。(三關九口對印信 153p)
8
貮、本文:三清四正 一、所謂三清,聖凡清、錢財清、男女清。 是修道者外在修為的基本應對態度,也是內在真修實煉的功夫。(林經理慈悲) (一)何謂聖凡清: 為人則聖,救渡眾生,佛堂事務,修己立人之神聖天事。為已則凡,私人事務, 無關道場,係道親之個人凡情俗務也。道場乃為渡化眾生之神聖場所,亦即眾人共同 使用之場所,所謀之事,及眾生之事,我們應將眾人之聖事與個人之凡情俗務劃分清 楚,切勿混淆不清(佛規禮節 185p)(柯經理慈悲。) 以下有七條重點與大家共同參考、共同勉勵: 1、不借道做生意:開班講師常說:修道修心、辦道盡心、一位修道者絕 不為人情所綁,如:不利用道親不易拒絕他人的情誼,從事保險、推銷貨品、生意投 資、找工作、私人借款等、、、、如順利就沒事,不順的話就會影響道親及道場。比 方說前些日,後學與幾位前賢到南部,拜訪成全道親時,在談話過程中,談到他附近 有位道親很誠心也很熱心,如佛堂開班時,常到佛堂幫忙及成全其他道親,有一天這 位道親竟開口要向他借錢或合夥做生意即可。當時他很為難並回答說,後學沒那麼多 錢,也不懂做生意,但這位道親告知沒關係,可先向佛堂或其它道親借,並說這是投 資性質,如有賺取之錢財,是要用於佛堂開班之經費為題,這位前賢自覺得這樣有點 像借道做生意,就直接回絕,並告知這位道親,我們修道者要聖凡清楚,不要把屬於 個人之凡事,與佛堂,混在一起,而誤導眾生修辦的方向與退道的念頭,且犯下無可 彌補的業障。 2、不做選舉宣傳:「勿於佛堂大談政治話題,導致因政治認知不同,而造 成道場之困擾」(佛規禮節實務 186p)我們的張前人常說:修道者絕不可參與政治背 景,只要國泰民安,誰當領導人都一樣。 3、不假公濟私:在道場上,公私要分明,絕不以道場之名義,來提升個人 的聲望。(尼泊爾 新民班 2004)後學曾參加一個活動,在過程中,當任會長常以團體 名義之活動,而造勢自己的聲勢,如登報亮相,記者訪問等、、、此類,我們修辦道 者絕不宜此行為而造成罪愆。 4、不挪用公物:佛堂的一桌一椅一紙一筆,及辦法會活動之茶飲、餐點, 都是道親發心了愿佈施的,我們不可隨意取得,更不能輕意損棄,(比方說:法會及 活動開完後,有剩餘之餐點,要先請示前人或點傳師慈悲,告知剩餘的東西很多怕浪
9
費掉,可否分給道親们帶回家呢?)我們要遵守佛規,遵前提後,愛惜公物。 5、不攀緣認親:俗語說「話不投機半句多」佛堂是個大家庭,兄弟姊妹很 多,誰跟誰好沒關係,最怕誰跟誰不好:就大條了、(有了分黨的差別。)佛堂裡, 有了好與不好,就出現利益分別,譬如認乾爹、乾妹、乾女兒或結拜等……大家都是 一母之子,一師之徒,要一視同仁,無緣大慈,同體大悲,才能修出一條清靜解脫之 道,否則凡情中的緣已夠束縳了,還來道場攀親引戚,這豈不混亂了「道之宗旨」自 惹牽纏」。(佛規禮節實務 187p)所以大家要遵守「道之宗旨」,敦品崇禮,信朋友 和鄉鄰,在佛堂都是一家人要以平等心對待。 6、不談論是非:不必言而言是謂多言,多言招尤,不當言而言是謂盲言, 盲言賈禍。(晨鐘 149p 正一出版社) (1)言多必失,關聖帝君言:一個人造口過有多少?就要擔多少條的 罪,上天斷我們的業力,就是依照影響有多大來判定的,這也會影響到道場的慧命, 將來回天鐵定關「天牢」所以,道場上千萬不要談是非。多鼓勵、多慈悲、多勉勵, 多成全(三關九口對印信、159
p)
(2)因果報:是非多果報就來了。「今生吐血為何因,前世挑撥離間 人。今生缺口為何因,前世多說是非人。」(三世因果經 14-17p 越南中華研究班院長 明本法師結緣品) 因此佛堂是清境聖地,不是凡人來說長論短的是非之地。所以我們修辦道者,勿 明知故犯,而造成因果經的果報。切遵守佛規,謹言慎行。 7、不借前賢名,在社會人生觀念裡,財勢、名利、是為世人所誘惑的第一 條件,因此上梁不正下梁歪,子女如有過錯或其它人際之過節,老爸就會仗著某人之 財勢,名氣來解決問題,如這樣就會影響子女永遠不知過錯在那裡,而造成社會的少 年負擔事件,日日益增,今逢大道普傳,我們身為一貫道之師尊師母的徒弟,要以身 作則,如有過錯不得借道場名義或前賢(前人及點傳師)之名來掩飾自已的罪名,而要面 對現實,勇敢於認錯並在仙佛師尊師母面前,實心懺悔立願了願,而負責一切過錯行 為,才不愧是一貫道之弟子呀! (二)何謂錢財清: 佛家一文錢,大似須彌山,虛心不實報,披毛戴角還(明德新民進修錄 41p) (錢雖是萬能、無錢是萬萬不能,君子要財、取之有道。) 1、因果經文:今生牛馬為何因、前世欠債不還人「輪迴畜牲道」。種什麼因得 什麼果,最後還是受到輪迴報。(三世因果經 15p 越南中華研究班院長明本法師結緣
10
品) 2、現世報:在這「三期末刧時期,善惡分班」很清楚也很快成為現世報,比方 某個佛堂,有位道親因向佛堂借錢急用,至今遲遲未還而產生他在事業上不順利,而 在人生觀也無形中被折扣了人格,不值得吧!所以身為修道者絕不可知法犯法而罪加 一等,請大家共同勉勵吧! 3、不貪佔功徳:若有前賢佈施財務給佛堂,辦道及經手人應將財務公告,帳目 出入要清楚,不能隨便將道親佈施財務轉移,並交代財務是哪位道親佈施的,因為有 些道親很在意自己的付出是不是有被肯定,若我們在這方面常常疏漏,可能導致道親 不再來佛堂,我們不就是變相思考了嗎?不但佔人家功徳,還考倒道親之過(三關九 口對印信 163p) (三)何謂男女清: 仙佛亦云(愛河千里浪,慾海萬重波)愛慾男女都是流浪生死的繫縛,一落凡 塵,吸收天地五濁之氣漸長,又有生理、飲食、男女,五色五音之欲,不得自在解 脫,使得原本清境的本性受到蒙蔽(佛規禮節實務 174p) 1、清靜經云:常能遣其慾而心自靜,澄其心而神自清,自然六慾不生,三毒消 滅。所以不能者,為心未澄,慾未遣也。能遣之者,內觀其心,心無其心,外觀其 形,形無其形,遠觀其物,物無其物,三者既無,唯見於空。 2、『漢關公,保皇嫂。秉燭心穩』當年在不得已的情況下,帶著劉備兩位夫 人,投靠曹營、曹操有意安排,欲使關公亂叔嫂之禮。晚上置於一處,但他卻持著青 龍偃月刀,通宵達旦,夜讀(左傳春秋)保護兩位夫人的安全,同時也維護了夫人的 名節,實屬不易(關聖帝君戒淫經 15p) 3、仙佛云:(瓜田不納履、李下不整冠,男女不親授,乾坤不並肩,同車勿並 座,路行分後前,乾坤勿私語,私室勿交談)。我們修辦道之人對男女界限,因應時 刻注意,多避嫌以壯外觀,言語行動務宜端莊嚴肅。故修行戒律之ㄧ的男女清,乃藉 此已斷生死輪迴的根(佛規禮節實務 174p) 4、『柳下惠坐懷不亂,何等清高』春秋時魯國的柳下惠當年遇到一位女子前來 坐他的懷中,他卻一點也不受影響而動心,這是何等清高的行為啊!所以當時的人稱 他為聖人。(三關九口對印信、55
p)
5、『魯仲連閉門不納,何等意義』:戰國時代齊國人魯仲連當年遇到一位婦 人。因晚上遇到下雨,家中屋子漏雨。所以前來他家借屋躲雨,他怕男女授受不親,
11
竟然把門關閉了,不肯收留,這在男女的劃分界線恐怕越逾而發生糾纏的行為,具有 非常重要的意義。(三關九口對印信、55-56p)
二、所謂四正:身正、心正、言正、行正, 是修道者內在人格素養的自我要求,也就是道場常提的內德涵養。(尼泊爾新民 班 2004) (一)何謂身正: 佛家有云﹕百千萬劫得此身,此身不向今生渡,更待何時渡此身?
(尼泊爾新民班
2004) 1、潔身自愛:在世間的男女,如果能守身如玉,不去觸犯姦淫之事,保持冰清 玉潔的身心本性,必然如無瑕美玉一般晶瑩剔透,有朝一日,回天之日,必然會有神 仙來接引返回天堂,如果在世時能夠潔身自愛,不去行淫作樂,當陽間結束的那一 天,到地府報到的時候,各殿閻王一定親自下殿來迎接你(關聖帝君戒淫經白陽弟子 倡印) 2、以身作則:佛家說:此身乃是臭皮囊,但是成仙做佛要靠它,做人變鬼也由 它﹔無怪乎老子說:吾愛此身,吾患此身。所以我們一定要珍惜這個肉體,不要讓不好 的惡習染汙了有用之軀。如:殺、盜、淫。(尼泊爾
新民班 2004)
(1)殺:上天有好生之德,戒殺生、害命、螻蟻雖小勿傷,勿存心凶毒。 佛云:(欲知世上刀兵劫,但聽屠門夜半聲),後學某日經過一個地方,巧逢一 台小貨車上載著一隻羊,後學看到這隻羊在流眼淚,後學暗想:可見這隻羊知道自己 的命運將如何。所以修道當發慈悲心,戒殺,放生(明德新民進修錄 33p) (2)盜:天下沒有白吃的午餐、世間無不勞而獲的成功,人如好吃懶做,心 懷不軌,而偷取他人財物,立下不好的榜樣遺世人,如此行為不恥,讓父母蒙羞而造 下因果輪迴存在。 (3)淫:「淫為萬惡之首」,姦人妻女玷人閨門,在地獄中受苦五百劫不得 脫生,為騾為馬又五百劫乃復人身,為娼為妓以報應前生,所造的惡業」。(關聖帝 君戒淫經 110p) ◎衡諸事實,在新聞節目上,或時有所聞,這是在道場內的修士,心有所偏 邪,沒有及時改正,恐怕會使淫心另闢淫場,污染道場聖地。造下如此的惡業,將來 勢必到地獄受苦,這是不變的事實,並非是虛言,難道不值得我們相信嗎?(關聖帝 君戒淫經 73p)
12
(二)何謂心正: 俗語云:害人之心不可有,防人之心不可無。(人要防備的是心地善不善良。) 活佛師尊經常慈悲我們修道修心,萬法由心生,一切唯心造,一個人內心的想法是很 重要的,正確的念頭可以帶領我們走向康莊、回到天堂,錯誤的念頭推我們走向黑 暗、墮入地獄。可見心是造罪的起源,也是行功的原動力。因此不能讓人心容易犯 到。如:貪、嗔、癡 1、貪:「貪是貧字殼」:即貪得無厭,酒色財氣無所不貪,有十想百,百想千 萬,想盡辦法倒人家的錢,皆由貪心所起,修道之人萬不可有貪念,如能安貧樂道, 知足常樂,自然不所貪求。(明德新民進修錄 32p)。 (1)心正言順,慈悲化世,無貪無念,立志堅定,與眾生同離苦海(晨鐘 339p) (2)故事分享:有一天,十殿輪轉王對著甲、乙兩個小鬼說:「你們兩個投 胎作人的時間到了。你們要轉生哪種人,任由你們去選擇和商量吧!一個是經常拿東 西給別人的,一個是經常可以從別人處獲得東西的,任由你們去選擇和商量吧!」小鬼 甲早就是個好佔便宜的人,冥王剛講完,就趕快跪下來求道:「大王作主,我要去做 那個常常可以從別人處得到東西的人,因為這是我夢寐以求的事啊!」小鬼乙看了,當 然十分生氣,但他還是默默不語,靜候冥王的安排。冥王看見小鬼甲的沾沾自喜,大 笑一聲,贊嘆因果報應的不差。大聲判道:「令小鬼甲投胎到人間做乞丐,可以隨時 向人乞討東西,小鬼乙投胎富貴人家,可以時常周濟別人。宣判至此,押走!」兩個小 鬼頓時愕然,相對無言。(修德故事集 37p)。 2、嗔:嗔恚也,若看人不順眼,便嫉妒怨恨,就是嗔心太重,我們修道人必須 去掉嗔心,否則「一念嗔心起,百萬障門開」,即使有多大功德,「一把無明火,能 燒萬里功德林」亦將毀諸一旦。(明德新民進修錄 32p)。 (1)故事分享:唐朝魚朝恩者,嘗啟請於南陽國師。國師善講無明,有日問 於國師曰:「國師善講無明,何不將無明拿出一見?」國師曰:「現下國勢衰危,國奴 何敢來問佛法?」一語「國奴」言出,氣得魚朝恩大叫:「和尚欺人太甚」。國師破口 微笑曰:「此即是無明。」魚朝恩言下領悟,速收怒容,自滅無明之火。上例,可知 魔火生於一時,若能迴光返照,低心下氣,無明從何而起呢?修道者能不慎重乎?(明德 心明修錄 63p) 3、癡:對人對事,深刻執著「痴心的人看不到真理,痴心的人聽不到真心話」 清淨經云:執著之者,不明道德,眾生所以不明真道者,為有妄心,既有忘妄心,即
13
驚其神,既驚其神,即著萬物,既著萬物,即生貪求、既生貪求,即是煩惱;煩惱妄 想,憂苦身心,便遭濁辱,流浪生死,常沈苦海,永失真道。 (1)故事分享:從前有一個經濟學者,自以為學識蓋世,無人能比,故對他 人常起傲慢之心,而且力斥宗教、靈魂之說為邪異迷信,不合時代朝流。一回,學者 的獨生女兒雪莉身染重疾,躺在床上達數十天之久。到臨死的夜晚,雪莉奄奄一息的 問說:「爸爸!我們永別的時刻到了。這幾天,在我心中一直哽著一個我認為最重要 的問題,希望爸爸能答覆我,我已經不能再等了。」學者傷心的說:「我的小雪莉, 你快說吧!爸爸一定答覆你,一定的!」「爸!我是一個將死的人了,我要知道,我 死了以後,會往那裏去呢?」平常自以為了不起的學者,此時茫然自失,眼睛眶紅, 一股如刀割的痛苦,湧上心頭,聲音哽咽,難以出口。「爸爸!快說!快說!我 我....。」學者看女兒含怨斷氣後,熱淚奪眶而出,悔恨不已。這時候,他才領 悟到一個臨死的人,絕不可能接受「人死如燈滅」的說法;從再也不敢輕視「生死」 的問題了。生從何來?死歸何處?乃人生一大事,不明此,再大的學問,再大的財 勢,足以倚恃嗎?(修德故事集 8p) (三)、何謂言正: 日常生活中則是謹言慎行,不妄言、不綺語、不惡口、不兩舌,乃修道者最基本 的戒律之一,亦是一個標準現代人的必修課程。(柯經理慈悲) 1、台語有一句話說﹕心歹無人知,嘴歹大利害,病從口入,禍從口出,修道人不 該有此口業。 2、俗話說::好言一句三冬暖,惡言一句六月寒。修道人要三好一公道,說好 話、存好心、做好事。 (四)何謂行正: 古人說過﹕讀萬卷書,不如行萬里路。坐而言,不如立而行。 1、古聖要我們知行合一,即知即行。恩師要我們聖凡並進,內外兼修。腳踏實 地去做,要學就要學得像,要行就要行得正。(尼泊爾
新民班 2004)
2、俗語:讀經不如講經,講經不如照經行。「知而不行、猶如無知」修道人必 須致知力行(修道程序備要 195p 正一善書出版社。) (1)故事分享:唐朝一位大詩人叫白樂天相識了鳥巢禪師,二人感情很好有 一天白樂天向鳥巢禪師請教說:「如何是道呢?」禪師認真答道:「諸惡莫作,眾善 奉行。」大詩人一聽,覺的道理太過平凡淺薄,於是就輕慢道:「三歲小兒得道!」鳥 巢禪師立刻回答說:「三歲小兒得道,八十老翁行不得。」白樂天頓知自己的輕率,
14
冒了一身冷汗,默然而退。 其實,道德條目是很簡單的,連八、九歲的小孩也懂,但是能夠力行實踐的人, 就不多了。
叁、結論: 一、既為一個修道辦道之人,就是社會的清流,後學及眾人之典範。一切佛規戒 律的精神,`當要在身心言行,各得其正,表裡如一,言行一致,隨時隨地嚴密檢點, 深切反省,必須毫無不當之處,方能顯出道之尊貴與修道之殊勝。倘如有身心不檢 點,舉止放蕩,心失克制,私欲滿腔,言語不謹,信口雌黃,行為苟且,動輒顛倒, 果有此類似行為,則是空擔修道辦道之名,試問與名利場中之凡夫俗子又有什麼不同 呢?(柯經理慈悲。) 二、師尊云:「修行路上多考驗,磨其心性主善焉,路途說遙在眼前了,且看爾 等何以觀,若明其理人亦佛,端賴清靜覺性源,知易行難難行易,一念之差轉坤 乾」。(老師的話第二輯 94p)修道是要修覺與迷,覺者道就在眼前,迷者道就很遙遠。 比方有位前賢平常對道很注重,常到佛堂幫忙做無畏施,不知為何。某日心血來潮起 了一把無名火,燒掉了他所做的功德林,所以我們修道者絕不可妄形,得到(道)了就不 知珍惜,等失去了才來婉惜,最後才覺得可惜,可是一切的功德已經毀於一旦。 三、師尊云(天災人禍,道劫並降、善惡分班)三清四正,是我們修道辦道之 人,應絕對要遵守的戒條,如想把道辦得好,定要以身作則,嚴守三清四正之戒條, 不得違犯,才能把道宣揚世界,「道之宗旨」...已立立人、已達達人,挽世界為 清平、化人心為良善、冀世界為大同。 本文練講稿內容來源如下: 1.明德新民進修錄(天道之光出版社) 2.三關九口對印信(大道文化) 3.晨鐘(正一出版社) 4.修德故事集(正一出版社) 5.修道程序備要(正一善書出版社) 6.老師的話第二輯(明德出版社) 7.三世因果經(明本法師結緣品) 8.關聖帝君戒淫經(多識界圖書文化有限公司) 9.尼泊爾新民班 2004(網站資訊)
15
10.佛規禮節實物(柯點傳師慈悲影印)。 11.新民班手冊