ทัศนะคติการบาเพ็ญปฏิบัติธรรม (บาเพ็ญจริงตามหลักสั จธรรม และ ไม่ ติดยึดในรู ปลักษณ์ )
2012
All Right Reserve ®
ทัศนะคติการบาเพ็ญปฏิบัติธรรม (บาเพ็ญจริงตามหลักสั จธรรม และ ไม่ ติดยึดในรู ปลักษณ์ )
2
ทัศนะคติการบาเพ็ญปฏิบัติธรรม ขอบข่ ายเนือ้ หา บาเพ็ญจริงตามหลักสัจจธรรม(เหยิน่ หลี่ซือซิว) และไม่ตดิ ในรูปลักษณ์ (ม่อจ่าวสิงเซี่ยง) 1. คานา ๑. ซือจุนกล่าวว่า : “จุดประสงค์ของธรรมะ คือ การอาศัยหลักธรรมมาชําระโลกียอ์ อกจากจิตเดิม และ หวนคืนสู่จิตญาณเดิมอันบริ สุทธิ์” กําจัดความฟุ้ งซ่าน ฟื้ นฟูโฉมหน้าเดิมที คือการบําเพ็ญธรรม ซึ่งเป็ นขั้นตอนการบําเพ็ญปฏิบตั ิ เปลี่ยน จากความหลงเป็ นการรู้แจ้ง หล่อเลี้ยงในสิ่งลํ้าค่านัน่ คือคุณธรรมและปัญญา และเป็ นการสําแดงความแยบยล ของจิตญาณเดิม วันนี้มีบุญได้รับการเบิกธรรมจากพระวิสุทธิอาจารย์ จําต้องอาศัยหลักสัจธรรมบําเพ็ญอยูเ่ สมอ จึงจะไม่ ผิดไปจากธรรมวิถีมหาญาณ (ญาณระดัยสูง คือการบําเพ็ญเข้าหาจิตพุทธะ บรรลุจิตฉับพลัน) และจะไม่เสียเปล่า ที่มีบุญได้บาํ เพ็ญในกาลธรรมยุค ๓ ๒. เด็กไม่ว่าสถานะยศถาบรรดาศักดิ์และรู ปลักษณ์เป็ นอย่างไร ของเพียงมีความบริ สุทธิ์ เด็กที่มีความ บริ สุทธิ์ไร้เดียงสาล้วนดีงาม แต่หลังจากที่มียศถาปรากฏขึ้น ความดีงามที่มีอยูก่ ็หดหายสิ้น เมื่อก้าวเขาสู่โลกจึงมี ความฉลาดมีความรู้และความเป็ นทางโลก ลักษณะทางโลกจึงได้ปรากฏรู ปลักษณ์ข้ ึนในจิตใจและสูญสิ้นความ บริ สุทธิ์ของจิต ตนเองจึงเริ่ มถูกจองจําในกรงขัง ๓.รู ปลักษณ์ภายนอกได้บดบังความเป็ นธรรมชาติของจิตญาณจากฟ้ า หลงใหลดุจตาบอดหลงยึดติดพิง อาศัยอยู่กบั ชื่อเสี ยง ลาภยศ อารมณ์ต่างๆ จึงทําให้จิตญาณตนไม่เป็ นนาย จิตใจถูกสภาพแวดล้อมสรรพสิ่ ง ภายนอกลากจูงไป เหตุมาจากความโลภยึดหลง โลภอยากไม่รู้จกั พอ จึงเป็ นเหตุให้เกิดความกัดกลุม้ และทุกข์ ทรมาน 2. การบาเพ็ญปฏิบัตแิ ละการยึดสัจธรรมบาเพ็ญ เป็ นเรื่องเดียวกัน ๑.อันธรรมะคือสัจธรรม หากไม่กระจ่างในหลักธรรม จะบําเพ็ญได้อย่างไรเล่า ? ซือจุนกล่าวว่า : “หลักสําคัญที่พวกเราจะนําพาผูค้ นนัน่ คือการให้เขามีแนวคิดที่ถกู ต้อง..... หาก เจ้าไม่ทาํ ให้เขามีทศั นะคติที่ถกู ต้อง เขาจะไม่มีทางเข้าใจถึงคุณ วิเศษอันเหลือคณาของธรรมะได้ว่าอยู่ตรงไหน หากจิตไม่ตรงแล้วกายจะตรงได้อย่างไร? หากขาดซึ่งพลังความดีงามอบอุ่นอ่อนโยน (อี้ถวนเสียงเหอจื่อชี่) กายก็จะไร้ดีงามอบอุ่นอ่อนโยน(เสี ยง เหอ)มาเกื้อหนุน นานเข้าพลังแห่งความไม่ดีจะหมุนเวียนแทน สุดท้าย แต่ละคนต่างเหมือนกับปราชญ์ผทู้ ี่ไม่มี ธรรมะ หากตัวเราเป็ นคนมีทศั นะคติที่ไม่ถูกต้องไม่มีมโนธรรม แล้วจะฉุ ด ช่วยผูค้ นช่วยโลกได้อย่างไร กลับ กลายเป็ นผูท้ ี่ทาํ ให้ลกู หลานคนอื่นเสียอนาคตไปเสียหมด และมิอาจที่จะมีวิธีที่ถูกต้องในการฉุ ดช่วยให้เขาพ้น จากทะเลทุกข์ ในทางกลับกันกลายเป็ นการฉุดดึงเขาขึ้นจากทะเลทุกข์แห่ งนี้ แล้วโยนเขาทิ้งในทะเลทุกข์อีกที่ แทน ๒.พุทธะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทรงพระเมตตา แต่เกลงเพียงว่าเวไนยไม่เข้าใจในหลักธรรม ด้วยเวไนยไม่เข้าใจในหลักธรรม จึงได้ทุกข์กงั วล สร้างเวรกรรมและได้รับความทุกข์จากการเวียน ว่ายในหกวิถี เวียนว่ายหมุนวนไม่สิ้นสุด อวิชา ยึดติด โลภะ ทุกข์กงั วล สร้างกรรม อวิชา
ทัศนะคติการบาเพ็ญปฏิบัติธรรม (บาเพ็ญจริงตามหลักสั จธรรม และ ไม่ ติดยึดในรู ปลักษณ์ )
-
3
สร้างสรรค์การกระทําที่มงคลและสภาวะจิตใจที่สมบูรณ์พร้อม เมื่อกระจ่างในหลักธรรมก็จะบําเพ็ญได้ง่ายจะสามารถชนะอุปสรรค แม้ทดสอบไม่ถอย และรู้ สํานึกคุณฯสํานึกผิดฯ หลักสัจธรรมแท้จริ งมาจากจิต (จิตใจเราสบายก็ไร้กงั วล สิ่งที่เรากังวลก็มแี ต่เรื่ องการฉุดช่วยเวไนยเท่านั้น เมื่อกังวลต่อเวไนย ก็จะไปฉุดช่วย) คัมภีร์เว่ยหล่างกล่าวว่า:“จิตพุทธะแห่งตน แต่เดิมทีสะอาดหมดจด อาศัยจิตเช่นนี้ ก็บรรลุพุทธ ธรรมได้” “ไม่เข้าใจกระจ่างจิ ตเดิมที จะศึกษาธรรมวิถีก็ไม่ง่าย หากเข้าใจจิตแต่เดิมที ..1.. คัมภีร์จินกังจิง กล่าวว่า:“ควรบังเกิดจิตที่ไม่ยดึ หมาย ดํารงและสยบไว้ในภาวะจิตเช่นนี้ ” กลับกัน หากติดยึดในรู ปลักษณ์ก็ยากแก่การบําเพ็ญธรรม เป็ นปฏิปัก กันอย่างสิ้นเชิง เมื่อคนละ ทางต่อธรรมยิง่ บําเพ็ญก็ยงิ่ เพี้ยน ยิง่ ปฏิบตั ิก็ยงิ่ แคบคับ โทษฟ้ าว่าคน ๓. ผูท้ ี่ชอบติดยึดจะมิรู้ว่าตนยึดติด - ยึดติดจนชิน จะเห็นปลอมเป็ นจริ ง วางไม่ลง จนลุ่มหลงสูญ สิ้ นในหลักสัจธรรม(ความเป็ นจริ ง) คัมภี ร์จิน กังจิ งกล่าวว่า:“หากจะนํารู ปให้เห็น เรา นําเสี ยงมาขอเรา นั่นคือคนปฏิบัติที่ผิดทางวิถี ธรรม ก็จะไม่เห็นเราหยูไหล (หยูไหล=ตถตา , ความเป็ นมาแต่เดิมที ,พุทธองค์)” “กลับกัน สรรพสิ่ งที่มี รู ป นัน่ คือลวงตา(มายา) หากพบรู ปก็ไร้ซ่ึงรู ป นัน่ คือการพบหยูไหล” - อารมณ์ ความเคยชินที่ ไม่ดี (ความอยากหก อารมณ์ เจ็ด) ล้วนเป็ นเครื่ องอุปสรรคกั้นทางธรรม หาก คนเราสะอาดสงบอยูบ่ ่อย ก็จะคืนสู่ฟ้าดิน(ความเป็ นธรรมะแห่งจิตญาณเดิม ) คัมภีร์เว่ยหล่างกล่าวว่า: “หากเป็ นผูท้ ี่บาํ เพ็ญธรรมอย่างแท้จริ ง จะไม่พบความผิดของโลก(อุปมาว่าความผิดของใครๆ) แต่เห็น ในความผิดของตน เช่นนี้ก็ไม่ต่างไปจากธรรม(สภาวะจิตสอดคล้องในธรรมวิถี) - เคล็ดลับ ของการบําเพ็ญ ให้ยิ่งบําเพ็ญยิ่งสุ ขสราญ คือเปลี่ยนความคิดซึ่ งเป็ นทางลัดของการพ้น ทุกข์ วางก้อนหินที่กลางใจลง ซือจุนตรัสว่า:“ที่พวกเรายิ่งบําเพ็ญยิ่งมีความสุ ขเป็ นเพราะเหตุใด? ก็ดว้ ยพวกเราได้เห็นว่า แท้จริ งแล้วพวกเรามีความผิดบาปมากมายเหลือ คณา แท้จริ งพวกเราก็มี ช่วงเวลาที่ปฏิบตั ิไม่สมบูรณ์ก็มากมาย (เมื่อได้เห็นความผิดตน)ดุจดัง่ ได้พบกับรัตนะอันลํ้าค่า จึง รี บเร่ งแก้ไข นี่คือ ยิง่ บําเพ็ญยิง่ มีความสุข” - การทดสอบนัน่ คือความเติบโตของสภาวะจิตใจในหนึ่งธรรมญาณ ทั้งด้านการทดสอบ หนี กรรมและเวรกรรม ก็อาศัยจิตที่สงบอยู่เป็ นนิ จมาพิจารณามาปะคอง จิตอย่าพึ่งขยับ(วุ่นวาย) ขณะอยูใ่ นขั้นตอนสยบการทดสอบ หนี้ กรรมและเวรกรรม ณ เวลานั้นก็จะ สามารถสําผัสถึงการกัน่ เอิน ความเด็ดเดี่ยวและปั ญญาที่ใช้ในการเผชิญหน้า จิตที่ดีงามปั ญญา อันลุ่มลึกที่อยูภ่ ายในจิตญาณเดิม เมื่อได้หนั กลับมาย้อนมองส่องตนจะพบตัวของเราที่แท้จริ ง หลุด พ้นจากจิตที่วุ่นวายสับสน กลายเป็ นจิตของเราที่มีแต่ความสะอาดความสงบ 3. อย่างไรคือรูปลักษณ์ ? อย่างไรคือยึดติด? อย่างไรคืออาศัยรูปให้ เห็นแจ้งในหลักสัจธรรม? ๑. จิตที่ยดึ ติดลุ่มหลง ติดพันอยูก่ บั สภาพแวดล้อม ทั้งเรื่ องราวของคน ธรรมะ ปาฏิหาริ ย ์ พระคัมภีร์ พิธี การ อาณาจักรธรรม ฯลฯ นี่คือการยึดติด เรี ยกได้ว่ารู ปลักษณ์ทงั่ หลาย แต่ขอเพียงใช้ในทางดีไม่ลุ่มหลง จําเป็ น ใช้ถึงจะใช้ ดังนั้นรู ปลักษณ์คือคนลุ่มหลงเขาสร้างขึ้นด้วยตัวของเขาเอง
ทัศนะคติการบาเพ็ญปฏิบัติธรรม (บาเพ็ญจริงตามหลักสั จธรรม และ ไม่ ติดยึดในรู ปลักษณ์ )
4
๒. เหตุใดคนถึงยึดติ ดรู ปลักษณ์ ? เพราะความโลภอยาก เพ้อเจ้อ หลงใหล สุ ข ใจเมื่อได้รับ แต่กลัว สูญเสีย (รู ปเพื่อใช้สอย แต่หนักสุดคือโลภการเกิด กลัวการตาย) หกอวัยวะ(ตับ ไต หัวใจ ม้าม ปอด ดี)ไม่เป็ นนาย ไม่ กระจ่างจริ งปลอม ไม่เที่ยงแท้(เกิดมาตัวเปล่า ไปตัวเปล่า ไม่มีอะไรติดไปได้จะมีกเ็ พียงกรรมตามตัวเท่านั้น ผ่านสวนดอกไม้ป่าดงมาก็มาก แม้แต่ใบก็ไม่แตะกาย ไม่มีอะไรติดมือ) จะปล่อยไปตามเหตุ ปัจจัย ได้อย่าไรได้(ชี วิตเมื่ อมี เริ่ ม ก็มีการสิ้ นสุ ด ชี วิตไม่ มีเวลาให้วอนขอ ปั จจัยไร้ดีร้าย สิ่ งที่รักษาคือบุญสัมพันธ์ หากเสี ยหายไปคือกรรมสัมพันธ์)
๓. ไม้เข้าใจในทุกข์เรื่ อง แก้ดว้ ยตัวเองไม้ได้ นั่นก็คือการติดในรู ปลักษณ์ คนที่ติดในรู ปลักษณ์จะมิ อาจเห็นจิตได้ แต่จะเกิดความทุกข์กงั วลเหลือคณา ตัวอย่างเช่น เห็นคนที่ปฏิบตั ิธรรม เมื่อพบกับปาฏิหาริ ยก์ ็เกิด จิตศรัทธาในธรรมะนั้นๆกับเขา ติดในความลับของฟ้ า จึงไปเสี่ ยงทายขอเทพสิ่ งศักดิ์สิ ทธิ์ ศรัทธาแบบหลงผิด เช่นนี้คือการไม่มีหลักสัทธรรมเป็ นหลักในการบําเพ็ญ กลับกลายเป็ นการสร้างความวุ่นวายกังวลแก่ตนแทน ๔. อาศัยรู ปให้เห็นกระจ่างในหลักธรรม - ชนสามัญรู้เพียงแค่สาระแต่ไม่รู้ธรรมะ ปราชญ์รู้ธรรมะแต่อาจปฏิบตั ิ อริ ยะรู้และนําธรรมะ ดําเนินปฏิบตั ิ สรรพสิ่งมีรูป แต่ธรรมะนั้นปราศจากรู ปใดๆ - เกิด แก่ เจ็บ ตาย เดี๋ยวอนิจจัง เมื่อเห็นก็ให้ฉุกคิดอย่างรู้ตื่น อย่าเป็ นตามความเห็นของคน อื่น - ประตูธรรมไร้ขอบเขต นําอักษรมาแสดงถึงธรรมะ สดับอย่างรู้ตื่น ทุกวิธีก็วิถีธรรม - ฟ้ าดินสรรพสิ่ง มิติดในรู ปลักษณ์ ดําเนินอย่างรู้ตื่น เพ่งหาพุทธะแห่งตน - ซือจุนกล่าวว่า :“การบําเพ็ญธรรมต้องบําเพ็ญจิต ก้าวพ้นจากความยึดติดในจิตนั้นคือความ พ้นเกิดตาย นี่คือสภาวะนิ พพาน(ไม่เกิด) รู้กระจ่างถึงวิถีนิพพาน แดนนิพพานก็อยู่ ณ เดี่ยวนั้น” “พระ อาจารย์คือจิตพุทธะงดงามของตัวเจ้า ส่วนศิษย์คือจิตที่ลุ่มหลงของตัวเจ้าเอง” 4. อย่างไรคือบาเพ็ญติดยึดในรูปลักษณ์ ? ๑. คนที่ติดในรู ปลักษณ์เช่นนั้นง่ายๆ? - รู ปเงิน : มีเงิน ไม่มีเงิน สมบัติพสั ถาน ฯลฯ (ตัวกําหนดในความสําเร็ จ) - รู ปสีเสียง(กาม) : งดงาม ขี้เหล่ สูง ตํ่า อ้วน ผอม ฯลฯ (เคารพในมายาภาพลวงตา) - รู ปชื่อเสียง : ยศถา อํานาจ ความสามารถ การศึกษา คุณวุฒิ สถานะภาพ ตําแหน่งหน้าที่ ฯลฯ - รู ปอารมณ์ความรัก : รักอย่างเพื่อน รักอย่างใคร่ รักอย่างญาติมิตร ฯลฯ - รู ปทางสังคม : ความเป็ นอยูท่ างสังคมอย่างสมบูรณ์ตามกระแส ฯลฯ (ขาดจุดยืนของตนไหล ตามกระแส) - รู ปบุญกุศล : ทําดียอ่ มมีดีสนองเป็ นแน่ (คิดหวังผล) จํานวนคนที่เราฉุดช่วยมีมากน้อย ทานเจ มีบุญกุศล บําเพ็ญธรรมวันข้างหน้าได้กลับคืน ฯลฯ (คิดหวังผลตอบแทนในการสร้างความดี) - รู ปวิธีการของคน : แบ่งแยกธรรมะว่า น่าฟัง ไม่น่าฟัง แบ่งแยกมีคนดีคนไม่ดี ฯลฯ (วิจารณ์ ว่าอย่างไรคือความเป็ นมาตรฐาน) - รู ปปาฏิหาริ ย ์ : พุทธะคือขันธ์ของธรรมะ คือภาคกายของสัจธรรม เดิมนั้นมิอาจกล่าวออกเป็ น วาจาได้ อันพุทธะและมารนั้นเดิมคือหนึ่งร่ างแต่สองหน้า อยูท่ ี่ความคิดมากําหนด การสัมผัสในอภิญา ความต้องการของคนหลงอันไม่เป็ นรู ปลักษณ์
ทัศนะคติการบาเพ็ญปฏิบัติธรรม (บาเพ็ญจริงตามหลักสั จธรรม และ ไม่ ติดยึดในรู ปลักษณ์ )
5
- รู ปความสมบูรณ์พร้อม : ติดยึดในอาณาจักรธรรมว่าเล็กใหญ่ ญาติธรรมมากน้อย คนร่ วม ประชุมธรรมมากน้อย อริ ยฐานะสูงส่ง ฯลฯ กล่าวรวมคื อ สี่ ลกั ษณะทางพุทธศาสนา ได้แก่ รู ปลักษณ์ ตวั ตน รู ปลักษณ์ ตวั คน รู ปลักษณ์ เวไนย รู ปลักษณ์ชีวิต ๒.บําเพ็ญปฏิบตั ิจริ ง ไม่ยดึ ติดในรู ปลักษณ์ หากหนึ่งยึดติดพบมื่นเภทภัย - เน้นนัง่ สมาธิ คิดว่าสิ่ งปลอมเป็ นธรรมจริ ง แต่กลับไม่รู้ความหมายที่แท้จริ งในการนําตรัย รัตน์วิถีแห่งจิต -ไร้ศรัทธาสวดท่อง เห็นสรรพสิ่งเป็ นไปตามวาสนา ก็เพียงแต่เน้นในรู ปไม่บาํ เพ็ญอารมณ์ให้ ว่าง ยึดในตัวอักษรตํารา เรี ยนมาเพื่ออยูส่ ูง แต่จะบําเพ็ญจิตเรี ยนธรรมะนั้นรู้ได้ยาก คิดหนักเรื่ องบรรลุ ว่าบุญกุศลมากน้อย เป็ นการยึดติดในยศถาชื่อเสียงทางธรรม ดูถกู คนอื่นเขา วิจารณ์อาณาจักรธรรม ไม่อาจจะส่งเสริ ม เคารพ โอบอุม้ เรื่ องราวใดๆได้ ผูน้ อ้ ยมากน้อย อาณาจักรธรรมเหล็กใหญ่ นี่คือการเปรี ยบเทียบการบําเพ็ญปฏิบตั ิธรรม - ชอบคุยเรื่ องความลับ(เจตนารมณ์อนั เป็ นความลับ)ของฟ้ า ติดอยูใ่ นอภิญญา เป็ นการผิดในความ เมตตาที่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ได้เมตตาประทัพญาณ - บรรยาย,สดับในธรรมะ คิดว่าคือการบําเพ็ญปฏิบตั ิ แต่มิอาจอ่อนน้อมถ่อมใจกระจ่างมุ่งมัน่ นําไปปฏิบตั ิ - ติ ด ใน ซื่อเซียง(รู ปลัก ษณ์ สี่) เห็น ความคิด ตนเป็ นหลัก เป็ นเพียงแค่ ภาพรู ปให้ค นชม มิ อาจจะตําหนิแนะได้ - ติดในความว่าง (เจ๋ าคงอ๋ วนกู่) โลภในอาหารบํารุ งกาย ลืมปณิ ธานที่ต้ งั ศูนย์สิ้นความเมตตา กรุ ณา ๓. อันบําเพ็ญธรรมนั้น ดัง่ เช่นชื่อเสียง ผลประโยชน์ในทางโลก ต้องผ่านพ้นก้าวข้าม และยิ่งผูบ้ าํ เพ็ญ ติดในผลบุญมรรคผลนัน่ คือรู ปของอัตตาตัวตนและอัตตาตัวเขา เป็ นดัง่ ผ่านรู ปนี้ไปติดรู ปนั้นนัน่ เอง 5. สรุป ๑. ยุค ท้ายแล้ว การทดสอบปั ญญาเป็ นสิ่ งที่สําคัญมาก รู้ แจ้งในหลัก ธรรมะถึงจะบําเพ็ญ ผ่านพ้นได้ ปลอดภัย ดัง่ ซือจุนได้กล่าวไว้ว่า: “จุดเน้นหนักในการปฏิบตั ิธรรม นัน่ คือพริ กแพงใช้หลักสัจธรรมให้เหมาะสม ไม่อย่างนั้นแล้วก็จะติดอยูแ่ ต่อย่างนั้นไม่ผา่ นพ้น เลยเถิดจนไม่อาจเกิดผลดีในภายหลังได้ จุดเน้นในการบําเพ็ญ ธรรมนัน่ คือนําสัจธรรมเป็ นหลักในการบําเพ็ญ ไม่ใช่นาํ คนหรื อสถานที่มาเป็ นแบบอย่างนํา มาดําเนิ น ก็มิใช่ก็ เป็ นการผิดคนเพราะยังไม่รู้ตนเองแล้วหรื อ?” ๒. สละของปลอมให้เหลือแต่ของจริ ง รักษาความศรัทธาความจริ งใจเอาไว้ นําคุณธรรมมาหล่อเลี้ยง ตน โอบรักอภัยให้กว้างๆ แสดงออกถึงความรักและความเมตตาของจิต ไม่ ละทิ้งความสงบและสมาธิ ไม่โลภ ไม่ฟงซ่ ุ้ าน พบความผิดของตนให้มากๆ แก้ไขอุปนิ สัยและอารมณ์ที่ไม่ดีทิ้งไป อาศัยรู ปลักษณ์มากระจ่างใน
ทัศนะคติการบาเพ็ญปฏิบัติธรรม (บาเพ็ญจริงตามหลักสั จธรรม และ ไม่ ติดยึดในรู ปลักษณ์ )
6
หลักสัจธรรม ดํารงบําเพ็ญปฏิบตั ิในรู ปของณาน อันเป็ นศูนย์กลางของจิต และไม่นาํ รู ปลักษณ์มาเป็ นเครื่ องกาง กั้น ดุจดัง่ ตนได้สมั ผัสด้วยตน จึงเป็ นผูห้ ลุดพ้นการเวียนว่ายทั้งสามโลกได้ ๓. ศึกษากระจ่างแจ้งในจิตญาณจริ ง ปฏิบตั ิกระจ่างในญาณจิตที่แท้จริ ง บําเพ็ญธรรมเพื่อเพียงแค่กระจ่างความเดิมที(จิตญาณ) ไม่ใช่เพื่อบรรลุธรรม คือ ศึกษาอย่างพุทธะเพื่อมาฉุดช่วยเวไนย จะไม่ยอมถอย บําเพ็ญธรรมคือการยึดในหลักสัจธรรมเท่านั้น กระจ่างแจ้งอย่างแท้จริ ง คือ ทุกเวลานาทีมีธรรมะอิสละเสรี สร้างกุศลเพียงเพื่อฉุดช่วยเวไนย ไม่ใช่เพื่อหวังได้บุญกุศล คือ กุศลอันมากมายนัน่ คือ การทําบุญโดยไร้รูป (ปิ ดทองหลังพระ) สร้างกุศลคือยุทธ์แห่งการพบจิตญาณ ดําเนินในปัญญาอันลุ่มลึก คือ การหันกลับมาขัดเกลาจิตญาณตนให้สมบูรณ์