3/5/2012
ปฏิปทาพระโพธิสัตว์
ปฏิปทาพระโพธิสัตว์ เมื่อเอ่ยถึงพระโพธิสตั ว์ คนทัว่ ไปมักจะนึกถึงภาพพระโพธิสตั ว์กวนอินที่สูงส่งด้วยพระลักษณะงดงาม จนหาที่ติมิได้จะนึกถึงพระบารมีคุณยิ่งใหญ่สว่างใสดังดวงจันทร์ วนั เพ็ญที่แผ่รัศมีสีนวลอยูบ่ นท้องฟ้ า นึกถึงพระมหากรุ ณาอันอบอุ่นที่พระองค์โปรดสนิทชิดใกล้เราจนเหมือนกับพร้อมที่จะเอื้อมพระหัตถ์ มาอุม้ ชูเราได้ทุกขณะเวลาเมื่อเอ่ยถึงพระโพธิสตั ว์ ชาวจีนในศาสนาพุทธฝ่ ายมหายานจะนึกถึงพระ โพธิสตั ว์ใหญ่สี่พระองค์ คือ 1. พระโพธิสัตว์มัญชุศรี สัญลักษณ์แห่งมหาปัญญา 2. พระโพธิสัตว์กวนอิน สัญลักษณ์แห่งมหากรุ ณา 3. พระโพธิสัตว์กษิตคิ รรภ์ สัญลักษณ์แห่งมหาปณิ ธาน และ 4. พระโพธิสัตว์สมันตภัทร สัญลักษณ์แห่งมหาปฏิปทา เมื่อเอ่ยถึงพระโพธิสตั ว์ คนทัว่ ไปจะคุน้ เคยแต่พระโพธิสตั ว์กวนอิม คนทัว่ ไปจึงมักจะจํากัด ขอบเขตของพระโพธิสตั ว์ไว้ว่าจะต้องเป็ นสตรี เพศ แท้ที่จริ ง พระพุทธะมากมายก่อนจะเจริ ญธรรม มาถึงขั้นพระพุทธองค์ ต่างปฏิบตั ิบาํ เพ็ญด้วยปฏิปทาในฐานะพระโพธิสตั ว์กนั มาก่อน เช่น พระสมณโค ดมพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบนั ของเรา พระศรี อาริ ยเมตตรัยพระพุทธเจ้าซึ่ งจะโปรดเสด็จมาในอนาคตกาล อันใกล้น้ ี พระพุทธกษิติครรภ์ (ตี้จ้ งั อ๋ วงกู่ฝอ) ซึ่ งทรงโปรดสัตว์อยูใ่ นยมโลกมาเป็ นเวลาช้านาน ฯลฯ ท่านอดีตธรรมปริ ณายกหันเต้าจัง่ หรื อธรรมอธิการหันเหล่าเฉี ยนเหยินของเราได้โปรดแสดง ธรรม เรื่ อง ตั้งความมุ่งมัน่ และตั้งคุณสมบัติตน ข้อความตอนหนึ่งท่านได้โปรดว่า ก่อนหน้าปี หมินกัว๋ ที่ 25 คือ ประมาณหกสิ บกว่าปี ก่อน (ก่อน พ.ศ. 2479) พระวจนพระโอวาทของสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ทุกพระองค์ไม่ มีคาํ ว่า พระพุทธะกษิติครรภ์ มีแต่พระโพธิสตั ว์กษิติครรภ์พระโพธิสตั ว์กวนอิมก็เช่นกัน ปี หมินกัว๋ ที่ 25 แล้วจึงปรากฏพระนามว่า พระบรรพพุทธาทะเลใต้ (หนันไห่ก่ฝู อ)
บัดนี้คมั ภีร์ธรรมทุกเล่ม พระโอวาทพระวจนะของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทุกพระองค์ที่ได้โปรดประทาน ในที่ต่าง ๆ ทัว่ โลกล้วนสรรเสริ ญอดีตพระโพธิสตั ว์กษิติครรภ์และพระโพธิสตั ว์กวนอิมว่า พระพุทธะ พระโพธิสัตว์ คือ อย่ างไร พระโพธิสตั ว์ตามความเป็ นจริ งจากมหากรุ ณาปฏิปทา พระโพธิสตั ว์คือ พระผูโ้ ปรดสัตว์ พระผู้ อยูใ่ กล้ชิดกับสัตว์โลกทั้งหลาย พระผูป้ กป้ องคุม้ ครองนําพาปวงชีวิตให้พน้ ภัยไปสู่ความสว่างไปสู่ความ สงบสุขและหลุดพ้น แต่ถึงแม้จะต้องสดับรับรู้ความทุกข์เทวษของสัตว์โลกทั้งหลายขนาดไหน แม้จะต้องสัมผัสรับอารมณ์ทุกอย่างของสัตว์โลกทั้งหลายถึงปานใด พุทธภาวะในพระองค์ก็มิได้อบั เฉา ไปพุทธรัศมีแห่งพระองค์ก็มิได้เสื่อมคลายไป พระองค์ยงั ทรงพระภาวะบริ สุทธิ์สูงส่งอยูใ่ นโลกีย ์ แต่ มิได้กลั้วโลกีย ์ อยูใ่ นตมแต่มิแปดเปื้ อนตม พระโพธิสตั ว์แม้จะขึ้นล่องระหว่างสุญญตาภาวะกับกระแส การเกิดตายในสังสารวัฏ ก็ยงั คงโปร่ งใสได้เหมือนไม่มีอะไรต่างกัน เฉกเช่น ผืนแผ่นดินอันได้ให้พืช พันธุ์ไม้ก่อเกิดเจริ ญเติบโตไปแล้วนับไม่ถว้ นผืนแผ่นดินเองก็ยงั ดํารงคงอยูเ่ ป็ นผืนแผ่นดินต่อไป พระโพธิสตั ว์จึงได้รับการเทิดทูนพระสมญานามอีกว่า มหาจิตตะสามัญชน ธรรมจิตตะมวลชน ทั้งนี้เนื่องจากพระองค์ทรงอยูร่ ่ วมกันสามัญชนแต่พระองค์ทรงเป็ นสามัญชนที่มีจิตภาพยิ่งใหญ่ และเป็ นธรรมะอันบริ สุทธิ์โดยแท้นนั่ เอง ตามความหมายจากมหากรุ ณาปฏิปทา พระศาสนาของทุก ศาสนาล้วนได้รับ การสรรเสริ ญว่าเป็ นพระโพธิสตั ว์เพราะพระโพธิสตั ว์ หมายถึง ผูฉ้ ุดช่วยปวงชีวิตให้ เกิดสัมมาทิฐิช่วยให้ผหู้ ลงผิดดํารงตนให้ถูกต้องต่อไป ในธรรมกาลยุคขาวนี้ ด้วยกรุ ณาปฏิปทานี้ ใน อาณาจักรธรรม เราจึงได้เห็น พระโพธิสตั ว์เดินดินซึ่ งยังครองกายสังขารกันอยูม่ ากมาย นับตั้งแต่ท่าน เหล่าเฉี ยนเหยิน เฉี ยนเหยิน เตี่ยนฉวนซื อ ฯลฯ ซึ่ งล้วนทุ่มเทอุทิศชีวิตเพื่อการนี้กนั อย่างจริ งใจ ทุกท่าน ล้วนมุ่งมัน่ จริ งจังและได้ต้งั ปณิ ธานข้อสําคัญคือ เส่อเซิ นปั้นเต้า จะอุทิศตนเพื่องานแพร่ ธรรมช่วยให้ สาธุชนได้พบชีวิตสว่างของตน กันมาแล้วทั้งนั้น พระโพธิสตั ว์ตามความหมายของศาสนาพุทธฝ่ าย หิ นยานบันทึกว่า พระโพธิสตั ว์เป็ นพระผูย้ งั ตนให้บรรลุโพธิญาณแล้วจึงสัง่ สอนโปรดผูอ้ ื่นให้บรรลุ ส่วนฝ่ าย มหายานบันทึกว่า พระโพธิสตั ว์เป็ นพระผูบ้ าํ เพ็ญบารมี ด้วยการขนสัตว์อื่นให้ล่วงพ้นกองทุกข์ จนเหลือ
ตนเองเป็ นคนสุดท้ายแล้วจึงจะขอบรรลุโพธิญาณ ความหมายของพระโพธิสตั ว์ฝ่ายหิ นยานและ มหายานดูอย่างกับแตกต่างกันโดยสิ้ นเชิง อาจทําให้คิดว่าฝ่ ายใดจะถูกผิดอย่างไร แต่หากพิจารณาโดย ละเอียดแล้วก็จะเห็นว่าถูกต้องทั้งสองฝ่ ายกล่าวคือ ฝ่ านหิ นยานที่ว่า พระโพธิสตั ว์เป็ นพระผู้ ยังตนให้ บรรลุโพธิญาณ แล้วจึงสัง่ สอนโปรดผูอ้ ื่นให้บรรลุ การจะ ยังตนให้บรรลุโพธิญาณ ของพระโพธิสตั ว์ นั้นก่อเกิดจากจุดเริ่ มต้นในการ สร้างบารมี เพื่อ ตรัสรู้ การสร้ างบารมีของพระโพธิสัตว์คอื 1) ทาน คือ การเสี ยสละ เสี ยสละได้ทุกอย่างเพื่อประโยชน์สุขอันแท้จริ งแก่ปวงชีวิต พระพุทธองค์ใน พระชาติเวสสันดรโพธิสตั ว์ยอมสละแม้กระทัง่ พระมเหสี บุตร ธิดา พระโพธิสตั ว์กวนอิมในพระชาติ พระธิดาเมี่ยวชัน่ ยอมสละราชฐานันดร ยอมสละความสุขส่วนพระองค์ยอมลดองค์ลงรับรู้กอบกูค้ วาม ทุกข์ของไพร่ ฟ้าประชาชนยอมควักพระเนตรพร้อมตัดพระกรทั้งสองข้างของพระองค์เองถวายเป็ นพระ โอสถแด่พระบิดา 2) ศีล คือ การควบคุมตนเองได้ถึงที่สุดจนกระทัง่ อายตนะหกอยูใ่ นภาวะปกติทกุ ขณะเวลา แม้อยูใ่ น ภาวะปกติทุกขณะเวลา แม้อยูใ่ นศีลก็มิได้กาํ หนดรู้ว่าอยูใ่ นศีล 3) เนกขัม คือ ความสมถะ สละความสุขทางโลกได้ เช่น พระโพธิสตั ว์กวนอิม ท่านหันเต้าจัง่ แห่งธรรม กาลยุคขาวนี้ ไม่ตอ้ งการลาภยศสรรเสริ ญ บวชจิตบวชกายจนจิตเป็ นอิสระจากกระแสกามคุณของโลก ได้โดยสิ้ นเชิง 4) ปัญญา คือ ธาตุแท้ของจิต ความคิดอันละเอียดประณี ตตรงต่อสัจธรรม มีวิจารณญาณอันลึกซึ้ งเข้าถึง อริ ยสัจสี่ พาตนให้พน้ จากทุกข์ภยั ได้ทุกประการ 5) วิริยะ คือ ความเพียร ความมุ่งมัน่ พยายามที่จะพันฝ่ าอุปสรรคทั้งภายในจิตใจและสภาพการทุกอย่าง ภายนอกที่ขดั ขวางบัน่ ทอนการสร้างบารมี 6) ขันติ คือ ความอดทน ความสงบ ความสุขมุ เยือกเย็น เมื่อต้องเผชิญกับอุปสรรคสิ่งบัน่ ทอนสามารถ ฝ่ าฟันอุปสรรคที่ขดั ขวางการสร้างบารมีทุกประการ ไม่ว่าหนาว ร้อน เดินทางไกล อันตราย หิ วกระหาย หรื อได้พบสิ่งเย้ายวนใจต่าง ๆ ก็มิได้หวัน่ ไหว 7) สั จจะ คือ ความจริ งใจอันไม่เปลี่ยนแปร แม้จะต้องตกอยูก่ บั สถานการณ์อย่างไรก็จะไม่ผิดไปจาก ความจริ งใจอันได้ต้งั ความมัง่ มัน่ แล้วตั้งแต่ตน้
8) อธิษฐาน คือสร้างความมุ่งมัน่ ตั้งใจให้สมบูรณ์แม้ผิดจากความมุ่งมัน่ ตั้งใจ จะยอมสละชีวิตให้เป็ น ที่สุด เช่นอธิษฐานจิตของพระผูม้ ีพระภาคเจ้าที่ว่า จะไม่กลับหลังเด็ดขาด แม้เลือดเนื้อจะเหือดแห้งเหลือ แต่หนัง เอ็น กระดูก ก็จะไม่คลายความพากเพียร 9) เมตตา คือ มีไมตรี จิต คิดดี ปรารถนาดีต่อทุกชีวิต ทุกข์เมื่อเขามีทุกข์ อยากให้เขาพ้นทุกข์ 10) อุเบกขา คือ วางเฉยไม่ยึดหมายในกุศลบุญคุณความดีที่ได้ทาํ ไม่จดจ่อไม่วอนขอสิ่งต่างๆ ไม่ขอ้ ง เกี่ยวกับอะไรที่ไม่ใช่ธุระตน ไม่แวะเวียนวกวนกับสิ่งที่พน้ ผ่านไปแล้ว เหล่านี้ คือ การสร้างบารมี เพื่อ ตรัสรู้ การตรัสรู้ คือ การบรรลุความรู้สูงสุ ด ความรู้สูงสุดในธรรมกาลยุคแดง ก็คือ เริ่ มจากรู้ ทุกข์ รู้สมุห์ทยั รู้นิโรธ แล้วรู้มรรค บัดนี้เป็ น ธรรมกาลยุคขาวสุดท้าย แม้เบื้องบนจะโปรดประทานหนทางสะดวกง่ายดาย ให้เราเข้าถึงความรู้สูงสุด นั้นอย่างชัดเจนโดยตรงแล้วก็ตาม หากเราไม่ศึกษาไม่พิจารณา ไม่ปฏิบตั ิให้รู้ชดั ต่อความรู้สูงสุดนั้น เรา ก็จะยังเข้าไม่ถึงแม้แต่การ รู้ทุกข์ อันเป็ นบันไดขั้นแรกของอริ ยสัจสี่ ชีวิตที่เวียนว่ายเกิดตายล้วนมีทุกข์ การจะเรี ยนรู้ทุกข์จึงต้องเรี ยนรู้จากชีวิต เท่ากับว่า การจะบรรลุความรู้สูงสุดนั้นได้อย่างแท้จริ ง คือ จะต้องรู้จกั และเข้าถึงชีวิตของตนเองอย่างแท้จริ งอีกทั้ง จะต้องรู้จกั และเข้าถึงชีวิตทั้งปวงอย่างแท้จริ ง พระโพธิสตั ว์จึงเป็ นพระผูอ้ ยูก่ บั ชาวโลก มีชาวโลกเป็ นเป้ าหมายในการเสริ มสร้างบารมี ปฏิปทานั้น เรี ยกว่าการ โปรดสัตว์ หรื อการฉุดช่วยขนสัตว์อื่นให้ล่วงพ้นกองทุกข์ ความหมายของพระโพธิสตั ว์ฝ่าย มหายานที่ว่า พระโพธิสตั ว์เป็ นพระผูบ้ าํ เพ็ญบารมีดว้ ยการขนสัตว์อื่นให้ล่วงพ้นกองทุกข์ จนเหลือ ตนเองเป็ นคนสุดท้ายแล้วจึงจะขอบรรลุโพธิญาณ ความถูกต้องที่ตรงต่อกันโดยข้อเท็จจริ งทั้งฝ่ าย หิ นยานและมหายาน ซึ่ งถึงแม้ขอ้ ความที่แสดงไว้จะแตกต่างกันก็ตาม มีอยูว่ ่า ในขณะที่พระโพธิ สตั ว์ โปรดสัตว์ โดยมีชาวโลกเป็ นเป้ าหมายในการเสริ มสร้างบารมี บารมีของพระองค์ก็ยอ่ มจะต้องสูงส่ง ยิ่งขึ้นเป็ นแน่แท้ การขนสัตว์อื่น ให้ล่วงพ้นกองทุกข์ กับการ ยังตนให้บรรลุโพธิญาณ จึงเป็ นงานที่ทาํ พร้อม ๆ กันไปและบังเกิดผลพร้อม ๆ กันไป อาทิ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรา ในครั้งที่ยงั ทรงโปรด สัตว์อยูจ่ นแม้กระทัง่ ใกล้จะดับขันธ์เข้าสู่ปริ นิพพาน พระองค์ยงั คงจะปรารภสัตว์โลกก่อนจะปรารภ พระองค์เองเสมอ นัน่ คือ ปฏิปทาของความเป็ นพระโพธิสตั ว์ แม้ในขณะนี้ก็ตาม, การที่พุทธานุภาพของ พระองค์ยงั คงดํารงอยู่ จะด้วยบุญญาธิการที่ทรงปรกแผ่คมุ้ ครองรักษาชาวเราก็ดีหรื อพุทธานุภาพที่
กําซาบอยูใ่ นจิตใจของเราทั้งหลายให้เลื่อมใสใฝ่ ดีกนั เรื่ อยมาถึงสองพันห้าร้อยกว่าปี ก็ตาม พุทธานุภาพ นี้ก็ยงั คงเป็ นพระมหากรุ ณาของพระโพธิสตั ว์อยูน่ นั่ เอง คําที่ว่า เหลือตนเองเป็ นคนสุดท้ายแล้วจึงจะขอ บรรลุโพธญาณ จึงน่าจะพิจารณาว่าเป็ น มหาปณิ ธาน อันเกิดจาก พระมหากรุ ณา ของพระองค์เสี ย มากกว่า ดังจะเห็นได้ว่า มหาปณิธาน มหาปณิ ธาน อันเกิดจาก มหากรุ ณา ของพระโพธิสตั ว์มากมายหลายพระองค์ที่เราได้รู้มาว่า หลังจากจะสังขารกลับคืนเบื้องบนไปได้ไม่นาน พระองค์กร็ ี บอุบตั ิมาโปรดสัตว์อีกต่อไป อย่างเช่น พระ พุทธจี้กง ของเราที่เจริ ญปฏิปทาพระโพธิสตั ว์อยูใ่ นสมัยราชวงศ์ซ้อง เมื่อละสังขารไปแล้วก็ได้อุบตั ิมา โปรดสัตว์อีกในสมัยราชวงศ์ซิงพระองค์ก็คือ ซื อจุน พระพุทธบรรพจารย์เทียนหยานของเรา ในพระ ชาติสงฆ์จ้ ีกง พระอาจารย์ของเรา ได้ต้งั มหาปณิ ธานไว้สามข้อใหญ่ ๆ คือ สําหรับในชั้นโลกุตตรเหนือโลก หรื อที่เรี ยกว่า อนุตตรภาวะ คือ การเข้าถึงจิตเดิมแท้ธรรมญาณ พระอาจารย์ได้โปรดแสดงมหาปณิ ธานว่า (1) จะฉุดช่วยเวไนยสัตว์ท้งั หลายให้กลับสู่ตน้ ธาตุตน้ ธรรมรากฐานเดิม สําหรับในชั้นโลกิยะ คือ ชาวโลกทัว่ ไปหรื อที่เรี ยกว่า ปุถุชนคนทั้งหลาย คือ การเข้าถึงสามัญสํานึกของ จิตใจพระอาจารย์ได้โปรดแสดงมหาปณิ ธานว่า (2) จะแปรเปลี่ยนสมัยนิยมตกตํ่าให้โลกเป็ นเอกภาพสันติสุข (3) จะสื บทอดวัฒนธรรมอันดีงามดั้งเดิมของจีนให้เฟื่ องฟู จะเห็นได้ว่าด้วยมหาปณิ ธานในข้อที่หนึ่งของพระอาจารย์นนั่ เอง วันนี้เราทั้งหลาย จึงมีโอกาส ได้รับวิถีอนุตตรธรรมบําเพ็ญจิตเดิมแท้ได้โดยตรงจากการจุดเบิกจากพระอาจารย์ พระพุทธจี้กงแบ่ง พระภาคมาจาก มหาพรหมราชเจ้าวิเสสสัทธธรรมญาณ หลิงเมี่ยวเทียนจุน ในพระภาคพระสงฆ์จ้ ีกง ปฏิปทาของพระองค์คือ พระโพธิ สตั ว์ พระนามของ พระองค์คือ พระโพธิสตั ว์ จี้ แปลว่า สงเคราะห์ คือ การให้ทานทุกสิ่ งทุกอย่างอันเกิดประโยชน์สุขแก่มวลชีวิต กง แปลว่า เสมอภาคทัว่ หน้าบัดนี้ แม้พระ อริ ยฐานะของพระองค์จะสูงส่งอยูใ่ นระดับพระพุทธะแล้วก็ตาม แต่มหาปณิ ธานและพระนามของ พระองค์ก็ยงั คงความเป็ นโพธิสตั ว์อยูต่ อ่ ไป
ท่านหันเหล่าเฉี ยนเหยินของเราก็เช่นกัน ท่านเจริ ญปฏิปทาพระโพธิสตั ว์ มากกว่าหกสิ บปี ชัว่ ชีวิตของท่านดําเนินอยูบ่ นหนทางของการสร้างบารมีท้งั สิ้ น ท่านเคยแสดงปณิ ธานไว้ว่า กลับคืนไปแล้ว จะกลับมาใหม่ เพื่อสานต่องานโปรดสัตว์ในธรรมกาลยุคสุดท้ายนี้ให้สมบูรณ์ คําที่ว่า เหลือตนเองเป็ น คนสุดท้ายแล้วจึงขอบรรลุโพธิญาณ จึงน่าจะเป็ น การแสดง มหาปณิ ธาน อันเกิดจาก มหากรุ ณา ด้วย เหตุผลดังกล่าว พระโพธิสตั ว์กวนอิมทรงมีมหาปณิ ธานอยูข่ อ้ หนี่งว่า เมื่อใดที่เสียงคร่าครวญทุกข์ ร้อนของชีวติ ทั้งหลายยังไม่ หมดไปจากโลกนี้ เราจะไม่ ขอ เข้ าสู่ ปรินิพพาน พระโพธิสตั ว์กษิคิครรภ์ก็ทรงมีมหาปณิ ธานอยูข่ อ้ หนึ่งว่า เมื่อใดทีวญ ิ ญาณผีท้ งั หลายยังไม่หมดไปจากนรก เราจะไม่ ขอเข้ าสู่ ปรินิพพาน เมื่อพระองค์ไม่ ขอเข้ าสู่ ปรินิพพาน เช่นนี้ จะเป็ นข้อแสดงว่า พระองค์ยงั ไม่อาจ บรรลุสมั มาสัมโพธิญาณกระนั้นหรื อ อีกทั้ง บารมี อันเกิดจาก มหากรุ ณา ของทั้งสองพระองค์ที่ทรงบําเพ็ญเพียรเรื่ อย มานับพัน ๆ ปี ยังไม่ เพียงพอกับการเข้าสู่ปริ นิพพานได้หรื ออย่างไร น่าจะกล่าวได้ว่า แม้มิใช่ ปณิ ธาน อันเกิดจากพระ มหา กรุ ณา ของพระองค์ในอันที่ จะโปรดกอบกูอ้ มุ้ ชูชีวิตทั้งปวงเรื่ อยไปแล้วไซร้ ชาวโลกที่ประสบเคราะห์ ภัยคงจะหยุดร้องหา พระโพธิสตั ว์กวนอิม ช่วยด้วยไปแล้วนับร้อยนับพันปี ดังจะเห็นได้ว่าบัดนี้ แม้ท้งั สองพระองค์ จะทรงพระฐานะเป็ น พระพุทธกษิติครรภ์ และ พระบรรพพุทธาทะเลใต้ มาหกสิ บกว่าปี แล้วก็ตาม แต่ พระองค์ก็ยงั คงโปรดสัตว์นรกโปรดสัตว์โลกอยูต่ ่อไปตามปฏิปทา มหาปณิ ธาน มหากรุ ณา ของพระ โพธิสตั ว์ที่อยูใ่ กล้ชิดกับสัตว์นรกและสัตว์โลกเสมอมา พลานุภาพจากมหากรุ ณาของพระโพธิสตั ว์ มีคาํ เปรี ยบเทียบแสดงให้เห็นไว้ว่า ทันทีที่ได้สดับ รับรู้ความทุกข์ของชาวโลก มหากรุ ณานั้นดุจดวงตะวันขณะโผล่พน้ เหลี่ยมเขายามเช้าตรู่ พลันรัศมีเจิด จ้าก็ฉาบฉายไปทัว่ พื้นพสุธา พลานุภาพนั้นก็แผ่ซ่านไปทัว่ สิ บทิศดุจอากาศกว้างอันมิอาจประมาณ ขอบเขตได้เลย เช่นนี้ในความรู้สึกนึกคิดของสาธุชน พระมหากรุ ณาของพระโพธิสตั ว์จึงเป็ นความ สว่างสดใส เป็ นความอบอุ่น เยือกเย็นเป็ นความสงบสบาย และดํารงคงอยูใ่ นจิตใจของชาวโลกเรื่ อยไปไม่ดบั สูญ พระมหากรุ ณาจึงปรกแผ่ทวั่ ถึงทุกชีวิตโดยมิได้เลือกที่รักมักที่ชงั จึงเปรี ยบได้ดงั ดวงจันทร์ ที่ทอดเงาลง สู่ผืนนํ้าทั้งขุ่นใสทั้งมหาสมุทรใหญ่และแอ่งนํ้า น้อย ๆ พระมหากรุ ณาของพระโพธิสตั ว์จึงน่าจะ
สรรเสริ ญได้ดว้ ยธรรมวจนะที่พระอาจารย์ หย่งเจีย มหาเถระได้รจนาไว้ว่า หนึ่งจันทร์ เพ็ญที่เห็นอยู่คู่เวหา ทอดดวงมาปรากฏในทุกสายน้า แม้ แอ่ งจ้อย บ่ อน้ อยนิด เพียงติดน้า จันทร์ ก็นากาซาบไว้ในดวงเพ็ญ พระโพธิสตั ว์จึงได้รับการเทิดทูนสรรเสริ ญว่าเป็ น มหาจิตตะสามัญชน และ ธรรม จิตตะมวลชน เพราะพระองค์อยูร่ ่ วมกับคนทุกชนชั้นได้โดยไม่รังเกียจ แม้แอ่งจ้อยบ่อน้อยนิดเพียงติดนํ้า จันทร์ ก็นาํ กําซาบไว้ในดวงเพ็ญ จึงเป็ นอุทาหรณ์อย่างดียงิ่ สําหรับผูป้ รารถนาเจริ ญมหาปณิ ธาน และปฏิปทาพระ โพธิสตั ว์ต่อไป พระโพธิสตั ว์ทกุ พระองค์ทรงพระนามตามคุณสมบัติแห่งมหาปณิ ธาน ทรงพระนาม ตาม คุณสมบัติแห่งมหาปฏิปทาของพระองค์ เช่น พระโพธิสตั ว์ กวนซื่ ออิน พระผูท้ รงกรุ ณาสดับเสียงร้องทุกข์ของชาวโลก พระโพธิสตั ว์ กวนจื้อไจ้ (กวนอิม) พระผูท้ รงเกษมธรรมอันปลอดโปร่ ง พระโพธิสตั ว์ ซวีคงจิ้ง พระผูส้ ถิตอยูใ่ นอากาศกว้างแห่งอุทรธรรม พระโพธิสตั ว์ เอวี้ยฮุ่ย พระผูท้ รงปัญญาอันวิสุทธิ์แจ่มกระจ่างดัง่ เดือนเพ็ญ พระโพธิสตั ว์ วัชรครรภ์ (จินกังจั้งผูซ่า) พระผูท้ รงรัศมีธรรมอันลํ้าเลิศดุจวัชรอันกล้าแกร่ ง พระโพธิสตั ว์ ไภษัชยคุรุฯ (เอี้ยวซือผูซ่า) พระผูท้ รงมหากรุ ณาปณิ ธานจะรักษาโรคทุกชนิด ปฏิปทาของพระโพธิสตั ว์ นอกจากการสร้างบารมีท้งั สิ บแล้ว ในขณะเดียวกันยังจะต้องเพิ่มพูน คุณความดี ด้านต่าง ๆ โดยลําดับจนกว่าบารมีจะสมบูรณ์อีกด้วย คือ ความประพฤติของพระโพธิสตั ว์ใน ทุกชาติ เป็ นความประพฤติที่ปราศจากการติเตียนและไม่สร้างกรรมใหม่ท้งั ประกอบด้วยความรู้ กาย วาจาใจ ก็อยูใ่ นกุศลกรรมบทสิบยิ่งกว่านั้น คุณความดีดา้ นต่าง ๆ ล้วนตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของ มหากรุ ณา ร่ วมตัวตน ถงถี่ตา้ เปย มหากรุณาร่ วมตัวตน มหากรุ ณาร่ วมตัวตน เป็ นมหากรุ ณาอันมิได้แบ่งแยก ฉะนั้น มหากรุ ณาของพระโพธิสตั ว์จึงเป็ นพุทธภาวะตามปกติที่บงั เกิดขึ้นโดยไม่ตอ้ งมีผใู้ ด
แนะนํา เพราะพระโพธิสตั ว์เป็ นผูท้ ี่มีอิสระ ไม่ถูกจํากัดด้วยภาวะและสิ่ งใด ๆ ในทุกประการ พระโพธิสตั ว์มิได้ถกู จํากัดด้วยอายุ มิได้ถูกจํากัดด้วยจิต มิได้ถูกจํากัดด้วยสิ่งเกื้อกูล มิได้ถูกจํากัดด้วยกรรม มิได้ถูกจํากัดด้วยการอุบตั ิ มิได้ถูกจํากัดด้วยการหลุดพ้น มิได้ถูกจํากัดด้วยธรรมปฏิบตั ิ มิได้ถูกจํากัดด้วยปณิ ธาน มิได้ถูกจํากัดด้วยฤทธานุภาพ และมิได้ถูกจํากัดด้วยฌาณปัญญา พระโพธิสตั ว์จึงรู้วิธีช่วยสัตว์ให้หลุดพ้น รู้จกั แสดงยานที่ประเสริ ฐอันเหมาะแก่จริ ตของสัตว์ดว้ ยความฉลาดในอุบาย พระโพธิสตั ว์จึง สงเคราะห์สตั ว์ท้งั ปวงด้วยสังคหวัตถุสี่ (สังคหวัตถุสี่ คือ ทาน, ปิ ยวาจา, ทําประโยชน์ , เสมอต้นเสมอ ปลาย) จึงแสดงทางแห่งความหลุดพ้นจากสังสารวัฏและทางแห่งพระนิรมาร พระโพธิสตั ว์จึงฉลาดใน การบําเพ็ญเพียรโยคธรรม(โยคธรรมหรื อโยคเกษมธรรม คือ ธรรมอันเป็ นแดนเกษมจากโยคะ คือ ปลอดโปร่ งปลอดภัยจากโยคกิเลสสี่ คือ กาม, ภพ, ทิฐิ, อวิชชา) ไม่ทอ้ ถอยในการแสวงหาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ซึ่ งยังผลให้รู้ธรรมทั้งหลาย พระองค์จึงเป็ นผูอ้ ดทนได้ต่อกองทุกข์ท้งั ปวงและเปลี้ องสัตว์ท้งั ปวงให้พน้ จากทุกข์เหล่านั้น พระองค์จึงชักนําให้โลกทั้งปวงถึงความเกษม และพระโพธิสตั ว์ ไม่หวัน่ ไหวในปณิ ธานที่จะบรรลุถึงความเป็ นสัพพัญํูในท่ามกลางหมู่ชนและสาวกผูโ้ ง่เขลา