การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ • International Business Management 1
กลยุทธ์การจัดการธุรกิจ ระหว่างประเทศ
หัวข้อที่เรียน • การวางแผนกลยุทธ์ระดับสากล • รูปแบบกลยุทธ์การดาเนินงานของธุรกิจระหว่าง ประเทศ
การวางแผนกลยุทธ์ระดับสากล • ธุรกิจในตลาดสากล – เผชิญกับการแข่งขันรุนแรง สภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ทรัพยากรจากัด – จาเป็นต้องกาหนดกลยุทธ์การดาเนินงานอย่าง เฉพาะเจาะจง กลยุทธ์การปฏิบัติงานอย่างแข็งขัน จึง สามารถก้าวสู่ตลาดสากลและประสบความสาเร็จที่ ยั่งยืน
กิจการธุรกิจในฐานะที่เป็นเครือข่ายของการ สร้างคุณค่า Fig 12.3
กลยุทธ์ธุรกิจระหว่างประเทศ
• การกาหนดและการดาเนินงานที่ทาให้ต้นทุนลดลงในการ สร้างคุณค่าให้กบ ั สินค้าและ/หรือทาให้เกิดความแตกต่าง ในผลิตภัณฑ์โดยมีการออกแบบ การบริการ ความสามารถในการใช้งานต่างๆ ที่เหนือกว่า
ขั้นตอนการวางแผนธุรกิจระหว่างประเทศ 1. การทาความเข้าใจและปรับกลยุทธ์หลัก
2. การสร้างกลยุทธ์ในระดับสากล
3. การพัฒนาเป้าหมายในระดับสากล
4. การดาเนินการตามกลยุทธ์
การทาความเข้าใจและปรับกลยุทธ์หลัก 1. การวิเคราะห์ ตลาดและการ แข่งขัน
2. การวิเคราะห์ ภายใน
การสร้างกลยุทธ์ในระดับสากล 1. การเลือกกลยุทธ์ 2. การแบ่งส่วน ที่เหมาะสม ตลาดในแต่ละ ประเทศ • Cost Leadership • Differentiation • Focus Strategy
• การแบ่งกลุ่มลูกค้าตาม ตัวแปรด้านสิ่งแวดล้อม • ตัวแปรด้านโอกาสใน การใช้ • ตัวแปรด้านประโยชน์ที่ ได้รับ ฯลฯ
3. การเลือกตลาด เป้าหมาย
การพัฒนาเป้าหมายในระดับสากล 1. เป้าหมาย ระดับประเทศแต่ละ ประเทศ
2. เป้าหมายเชิง ปริมาณในกิจกรรมด้าน ต่างๆ
การดาเนินการตามกลยุทธ์ มิติที่พิจารณา
กลยุทธ์ทางเลือก
• การลดต้นทุนการผลิต • การตอบสนองต่อท้องถิ่น
• Global Strategy • Multi-domestic / Localization Strategy • International / Home Replication Strategy • Transnational Strategy
รูปแบบกลยุทธ์การดาเนินงานของธุรกิจ ระหว่างประเทศ • กลยุทธ์ที่สาคัญในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศ: – กลยุทธ์ระหว่างประเทศ (International strategy) – กลยุทธ์มุ่งเน้นความเป็นท้องถิ่น (Multi-domestic strategy / Localization strategy) – กลยุทธ์ความเป็นมาตรฐานระดับโลก (Global strategy) – กลยุทธ์ข้ามชาติ (Transnational strategy)
รูปแบบกลยุทธ์การดาเนินงานของธุรกิจ ระหว่างประเทศ
แรงกดดันในด้านต้นทุน • กิจการจาเป็นต้องทาให้ต้นทุนของการสร้างคุณค่าสินค้าต่าลง – การผลิตเป็นจานวนมาก – ผลิตสินค้าที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
แรงกดดันในด้านการตอบสนองต่อท้องถิ่น • ความแตกต่างในรสนิยมและความชอบ – อเมริกาเหนือใช้รถกระบะเป็นรถครอบครัว ชาวยุโรปใช้เป็นรถ เอนกประสงค์ • ความแตกต่างในระบบสาธารณูปโภคและการปฏิบัติตามประเพณี – North America ใช้ไฟฟ้า110 volts; Europe ใช้ไฟฟ้า 240 volts • ความแตกต่างในด้านช่องทางการจัดจาหน่าย – ระบบการจัดจาหน่ายยาของประเทศไทยแตกต่างจากสหรัฐอเมริกา • อุปสงค์สาหรับรัฐบาลในประเทศที่เข้าไปลงทุน – ระบบการดูแลสุขภาพและสาธารณสุขในแต่ละประเทศแตกต่างกัน บริษัทผู้ผลิตยาจึงต้องมีวิธีการในการดาเนินการและกลยุทธ์การ ติดต่อที่แตกต่างกันไป