135 402 cross cultural management4 ทฤษฎี แนวคิด การศึกษาวัฒนธรรม

Page 1

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม 135-402 Cross-Cultural Management


การศึกษาพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม 1. 2. 3. 4. 5.

การศึกษาตามตัวแบบของ Hofstede การศึกษาตามตัวแบบของ Trompenaars การศึกษาตามตัวแบบของ Kluckholn และ Strodtbeck การศึกษาตามตัวแบบของ Laurent การศึกษาตามตัวแบบของ Hall

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

หัวข้อที่ 4

2


ทฤษฎี แนวคิดวัฒนธรรมการจัดการ • ศตวรรษที่ 1930 เริ่มใช้คาว่า “วัฒนธรรมข้ามชาติ” (Cross Cultural) – การศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมของประเทศที่แตกต่างกัน – การศึกษาในเชิงลึกของวัฒนธรรมต่างๆ – การศึกษาเพื่อใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์/ธุรกิจ

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

3


Geert Hofstede and Fons Trompenaars: They established dimensions to measure the impact of national culture on management.

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

4


การศึกษาตามตัวแบบของ Hofstede หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

5


• "Culture is more often a source of conflict than of synergy. Cultural differences are a nuisance at best and often a disaster." - Dr. Geert Hofstede ที่มา :

หัวข้อที่ 4

http://www.cyborlink.com/besite/hofstede.htm

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

6


Hofstede’s Cross Cultural Dimension หรือ มิติข้ามวัฒนธรรมของ Hofstede • การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมและสถานที่ ทางาน โดย กีร์ท ฮอฟสตีด (Geert Hofstede) 1967-73

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

7


• เป็นผลงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของจัดการข้ามวัฒนธรรม (Cross Cultural Management) ที่สาคัญชิ้นหนึ่ง • เป็นงานวิจัยขนาดใหญ่ที่ศึกษาค่านิยมในที่ทางานที่เป็น ผลมาจากวัฒนธรรม • ช่วงปี ค.ศ.1976-1973 ขณะที่ทางานอยู่ใน IBM • เก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ที่สุด จาก 40 ประเทศ

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

8


• ศึกษาเพิ่มอีกใน 50 ประเทศ 3 ภูมิภาค • ต่อมามีการศึกษาเพิ่มเติมในอีกกว่า 23 ประเทศ ประกอบด้วย – นักศึกษาและนักบิน ของสายการบินพาณิชย์ จาก 19 ประเทศ – ผู้บริโภคขั้นสุดท้ายจาก 15 ประเทศ – ข้าราชการระดับผู้บริหาร ใน 14 ประเทศ

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

9


การนาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ • การวิจัยนี้เป็นประโยชน์มากในหลายแขนงทั้งเพื่อ การศึกษาและในเชิงพาณิชย์

ทฤษฎีด้านวัฒนธรรมการจัดการที่ ยึดฐานค่านิยมและความเชื่อของแต่ ละชาติที่แตกต่างกัน ในการทางาน

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

10


• สามารถใช้ทฤษฎีในการวิเคราะห์ผลกระทบของค่านิยม ความเชื่อที่แตกต่าง ในประเด็นต่างๆ เช่น • • • • • • •

หัวข้อที่ 4

การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร การฝึกอบรม รูปแบบของผู้นา การสร้างแรงจูงใจ การสื่อสารในองค์กร การเจรจาต่อรอง กระบวนการตัดสินใจ

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

11


การศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรม Hofstede • แยกศึกษาวัฒนธรรมออกเป็น 4 มิติ ( + 1 มิติ ภายหลัง) – Power distance – Individualism VS Collectivism – Masculinity VS Femininity – Uncertainty avoidance – Long-Term Orientation VS Short-Term Orientation (เพิ่มภายหลัง)

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

12


Power Distance ( มิติช่องว่าง / ความแตกต่างทางด้านอานาจ )  ความไม่เท่ากัน ( Inequality ) ในหน้าที่การงาน  สภาวะที่ผู้น้อยยอมรับถึงการกระจายอานาจที่ไม่เท่า เทียมกันในองค์กร

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

13


ความเป็นปัจเจกชนและกลุ่ม (Individualism VS Collectivism) • ชีวิตของบุคคลที่มีแนวความคิดและรูปแบบการ ดารงชีวิตยึดความเป็นส่วนตัว (individualism กับสังคมที่ ยึดความสัมพันธ์ของบุคคลกับกลุ่ม (collectivism)

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

14


ความสาคัญของเพศชายมากกว่าเพศหญิง หรือ การมุ่งงานหรือมุ่งคน (Masculinity VS Femininity) การทางานที่มุ่งงาน / ความสาเร็จ หรือการทางานที่มุ่งคน / ความสัมพันธ์และคุณภาพชีวิต รวมถึงการที่สังคมมีความคาดหวัง ในบทบาทของชายและหญิงในการทางานที่แตกต่างกัน

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

15


การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน (Uncertainty avoidance) • ความรู้สึกของคนทั่วๆ ไปที่มีต่อความไม่แน่นอนในอนาคต และพยายามหลีกเลี่ยงความเสี่ยง เพื่อให้ตนเกิด ความรู้สึกที่มั่นคงปลอดภัย

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

16


การมุ่งระยะยาว (Long-Term Orientation) เป็นมิติที่ Hofstede ได้ศึกษาเพิ่มเติมจากเดิมที่เคยศึกษาไว้ 4 มิติ และได้เห็นว่าสังคมมีการมุ่งให้เกิดผลที่แตกต่างกันในเรื่องของ ระยะเวลา • ในวัฒนธรรมที่มุ่งผลระยะสั้น ผู้นามีระบบการให้รางวัล การเลื่อน ตาแหน่งอย่างรวดเร็ว การตัดสินใจให้คุณค่ากับการวิเคราะห์เชิง ตรรกะ • ในวัฒนธรรมที่มุ่งผลระยะยาว การคัดเลือกคนเข้าทางานจะดูที่ คุณลักษณะและภูมิหลังที่เหมาะสม การตัดสินใจให้คุณค่ากับการ วิเคราะห์เชิงค่านิยม เน้นความมั่นคง ความสัมพันธ์ระยะยาว หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

17


ค่านิยมที่เกี่ยวกับการทางานใน 20 ประเทศ

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

18


การศึกษาตามแนวคิดของ TROMPENAARS หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

19


http://www2.thtconsulting.com/

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

20


The Seven Dimensions of Culture • ตัวแบบวัฒนธรรม 7 คู่ ( 7d Cultural Model ) • เผยแพร่ปี 1997 ในหนังสือชื่อว่า "Riding the Waves of Culture“ ของ Fons Trompenaars และ Charles Hampden-Turner • เกิดจากผลงานวิจัยเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันของ ผู้คน และการแสดงออกต่อสิ่งแวดล้อม ใช้เวลาศึกษา 10 ปี จากผู้จัดการกว่า 15,000 คน ใน 28 ประเทศ

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

21


หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

22


หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

23


1. ลักษณะความเป็นสากล กับ ความเฉพาะ 2. ลักษณะของปัจเจกชน และ ของกลุ่ม 3. ลักษณะอย่างเป็นกลาง หรือ แบบแสดงออก 4. ลักษณะเฉพาะเจาะจง กับ ลักษณะการกระจัดกระจาย 5. วัฒนธรรมที่มุ่งความก้าวหน้า หรือ วัฒนธรรมที่ติดตัวมา 6. ลักษณะการแยกเรื่องเวลา 7. การควบคุมหรือการยอมรับกับสภาพธรรมชาติแวดล้อม

9/53


ความเป็นสากล (Universalist) ประเทศ อเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น สวิสเซอร์แลนด์ ออสเตรเลีย การยอมรับในความแตกต่าง  เน้นที่กฎระเบียบมากกว่าความสัมพันธ์ ส่วนตัว  การต่อรองก็คือการต่อรอง  ความสัมพันธ์ ค่อยเป็นค่อยไป เคล็ดลับในการทีเ่ ราจะทาธุรกิจด้วย  มุ่งสู่เรื่องธุรกิจ  เตรียมเอกสารอิงแง่มุมกฎหมายให้ดี จะจัดการเมื่อไร หรือถูกจัดการโดยใคร  ขยายระบบเพือ ่ ทีจ่ ะขยายบทบาทของคุณ  การเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ในที่สาธารณะ  ดาเนินการอย่างเท่าเทียมในทุกกรณี

ความเฉพาะ (Particularist) ประเทศ เกาหลีใต้ อินโดนีเซีย จีน มาเลเซีย ฮ่องกง การยอมรับในความแตกต่าง  มุ่งความสัมพันธ์ส่วนตัวมากกว่า  บุคคลที่ไว้เนื้อเชื่อใจ คือบุคคลที่พูดได้อย่างน่า เชื่อ  บุคคลที่มีเกียรติและเชื่อถือได้สามารถ เปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ฉันเพือ่ นได้ เคล็ดลับในการทีเ่ ราจะทาธุรกิจด้วย  เรียนรู้ตัวบุคคลและทัศนคติกน ั ก่อน  มองดูว่าความสัมพันธ์กบ ั บุคคล มีส่วนช่วยในแง่ ทาความตกลงเพือ่ เป็นเกราะป้องกันด้วย จะจัดการเมื่อไร หรือถูกจัดการโดยใคร  พยายามสัมพันธ์กบ ั คุณ เพื่อที่คุณจะได้ไปโน้ม น้าวระบบ  เป็นลักษณะส่วนบุคคล  พิจารณาความเหมาะสมเป็นรายๆไป 13/53


ปัจเจกชน (Individualism)

กลุ่ม (Collectivism)

ประเทศ อเมริกา รัสเซีย สวีเดน การยอมรับในความแตกต่าง  มีการใช้สรรพนามแทนตัวว่า “ผม”  การตัดสินใจด้วยผู้แทน(Representative)  ก้าวหน้าด้วยตนเอง และรับผิดชอบด้วยตนเอง เคล็ดลับในการทีเ่ ราจะทาธุรกิจด้วย  เตรียมพร้อมที่จะตัดสินใจอย่างรวดเร็วต่อ ข้อเสนอที่จะเกิดขึ้น โดยไม่จาเป็นต้องติดต่อ กับสานักงานใหญ่  เป้าหมายคือ ต่อรองอย่างรวดเร็ว จะจัดการเมื่อไร หรือถูกจัดการโดยใคร  ใช้การจูงใจด้วยการจ่ายค่าตอบแทน การ ประเมินผลงานบุคคล การใช้การบริหารงาน โดยวัตถุประสงค์  คาดว่าจะมีการเข้า-ออกจากงานสูง  เสาะหาผู้ที่ทางานได้อย่างเยี่ยมยอด เพื่อให้ การยกย่อง

ประเทศ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย ฝรั่งเศส การยอมรับในความแตกต่าง  ใช้สรรพนามว่า “เรา”  ตัดสินใจด้วยบุคคลผู้รับมอบอานาจจากองค์กร (Delegate)  สู่ความก้าวหน้าด้วยกลุ่มและรับผิดชอบร่วมกัน เคล็ดลับในการทีเ่ ราจะทาธุรกิจด้วย  อดทนต่อการใช้เวลา เพื่อให้มีการเห็นชอบร่วม และปรึกษา  เป้าหมาย เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ยั่งยืน จะจัดการเมื่อไร หรือถูกจัดการโดยใคร  ให้ความสาคัญกับสปิริตของกลุม ่ และความ ประสานกลมเกลียว  มีการเข้า - ออกจากงานต่า  ให้ความสาคัญกับกลุม ่ ทั้งหมด หลีกเลี่ยงยกย่อง รายตัว 14/53


ความเป็นกลาง (Neutral)

การแสดงออก (Affective)

ประเทศ อังกฤษ อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น การยอมรับในความแตกต่าง  ไม่เปิดเผยว่าคิด / รู้สึกอย่างไร แต่บางครั้ง ก็เปิดเผยโดยบังเอิญจากสีหน้า  การสัมผัสทางกาย หรือแสดงออกทางสีหน้า ถือว่าเป็นข้อห้าม เคล็ดลับในการทีเ่ ราจะทาธุรกิจด้วย  จัดเตรียมเอกสารและส่งล่วงหน้าไปให้กอ ่ น ให้ได้มากที่สุด  การไม่แสดงอาการ ไม่ได้แปลว่าเขาเห็นว่า ไม่น่าสนใจหรือน่าเบื่อ เพียงเพราะไม่อยาก แสดงออกเท่านั้น  การเจรจาต่อรอง พุ่งเป้าที่ข้อเสนอทีก ่ าลัง หารือ จะจัดการเมื่อไร หรือถูกจัดการโดยใคร  หลีกเลี่ยงในเรื่องการแสดงออกอย่างอบอุน ่ อารมณ์ความรู้สึก หรือกิริยากระตือรือร้น

ประเทศ อเมริกา อิตาลี สิงคโปร์ การยอมรับในความแตกต่าง  เปิดเผยความคิดและความรู้สึก โปร่งใสและ ค่อนข้างผ่อนคลาย  การสัมผัสทางกาย การแสดงอาการและการ แสดงออกทางสีหน้าถือว่าเป็นเรื่องปกติ ธรรมดา เคล็ดลับในการทีเ่ ราจะทาธุรกิจด้วย  เมื่อเขาแสดงความปรารถนาดี เราก็ตอบสนอง ไปอย่างอบอุน ่  การกระตือรือร้นหรือพร้อมที่จะเห็นชอบด้วย ยังไม่ได้แปลว่าเขาได้ตดั สินใจไปแล้ว  การเจรจาต่อรองเป็นเรื่องระหว่างบุคคล จะจัดการเมื่อไร หรือถูกจัดการโดยใคร  หลีกเลี่ยงพฤติกรรมทีก ่ ระอักกระอ่วน (จะถูกตีความว่าไม่ชอบ ห่างเหิน) 12/53


ความเฉพาะเจาะจง (Specifity)

ความกระจัดกระจาย (Diffuseness)

ประเทศ ฮ่องกง อเมริกา อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ ประเทศ จีน อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย การยอมรับในความแตกต่าง การยอมรับในความแตกต่าง  มีเล่ห์เหลี่ยม ไม่ชัดเจน ไม่โปร่งใส  มีความชัดเจน ตรงไปตรงมา โปร่งใส  ขึ้นอยู่กบ ั สถานการณ์ สภาพแวดล้อมและแต่ละ  หลักการและศีลธรรมมีการใช้อย่างเป็นอิสระ บุคคล เคล็ดลับในการทีเ่ ราจะทาธุรกิจด้วย เคล็ดลับในการทีเ่ ราจะทาธุรกิจด้วย  รวดเร็ว ตรงประเด็น และมีประสิทธิภาพ  มีถนนหลายสายที่ไปกรุงโรมได้  จะไม่มีการใช้ตาแหน่งหรือทักษะความรู้ทไี่ ม่  ปล่อยให้การประชุมไหลลื่น และขัดจังหวะบ้าง เกี่ยวกับประเด็นที่มกี ารหารือ ในบางครั้ง จะจัดการเมื่อไร หรือถูกจัดการโดยใคร จะจัดการเมื่อไร หรือถูกจัดการโดยใคร  การจัดการเป็นเรื่องของวัตถุประสงค์และมี  การจัดการเป็นกระบวนการปรับปรุงมาตรฐาน ผลตอบแทนให้พนักงานที่ทาได้ อย่างต่อเนือ่ ง ด้วยการปรับปรุงคุณภาพ  เรื่องส่วนตัวกับเรื่องธุรกิจแยกกัน  ไม่แยกกันระหว่างเรื่องส่วนตัวกับเรื่องธุรกิจ  มีการสั่งการชัดเจน แน่นอน และมี  การสั่งการเคลือบคลุม โต้แย้ง และปฏิบัติได้ รายละเอียด 11/53


วัฒนธรรมที่มุ่งความก้าวหน้า

วัฒนธรรมที่เป็นสภาวะที่ติดตัวมา

ประเทศ อเมริกา อังกฤษ แคนาดา นอร์เวย์ การยอมรับในความแตกต่าง  ผู้จัดการอาวุโส มีอายุ เพศ หลากหลายแต่มี ความสามารถในงานนั้นๆ เคล็ดลับในการทีเ่ ราจะทาธุรกิจด้วย  ต้องมั่นใจว่าการเจรจาของคุณมีขอ ้ มูล และ ผู้เชี่ยวชาญเป็นที่ปรึกษา  ให้ความนับถือความรูข ้ องผูร้ ่วมงาน แม้ว่า เขาขาดอิทธิพลหนุน จะจัดการเมื่อไร หรือถูกจัดการโดยใคร  ให้ความนับถือผูจ ้ ัดการ โดยดูถึงความรู้และ อาวุโส  การบริหารงานโดยวัตถุประสงค์และติดตาม ผลงาน  การตัดสินใจมีพน ื้ ฐานจากการท้าทายและ หน้าที่

ประเทศ อียิปต์ ออสเตรีย อินโดนีเซีย การยอมรับในความแตกต่าง  ผู้จัดการมักเป็นผู้ชาย วัยกลางคนดารง ตาแหน่ง เพราะมีภูมิหลังดี เคล็ดลับในการทีเ่ ราจะทาธุรกิจด้วย  ต้องมั่นใจว่าในการเจรจาต่อรอง คุณมีอาวุโส และมีตาแหน่งอย่างเป็นทางการ  ให้ความนับถือสถานะคู่ธุรกิจคุณ แม้คุณสงสัย ว่าเขาขาดความรู้ จะจัดการเมื่อไร หรือถูกจัดการโดยใคร  ให้ความนับถือผูจ ้ ัดการ โดยดูความมีทักษะ  การจ่ายค่าตอบแทนสาคัญน้อยกว่ารางวัลจาก ผู้จัดการ  การตัดสินใจขึ้นกับบุคคลทีม ่ ีอานาจและหน้าที่ที่ สูงกว่า 10/53


เวลา อดีต ปัจจุบัน และอนาคต • รูปแบบการนาเวลามาพิจารณา • แยกเวลา » เวลาในอดีต » เวลาในปัจจุบน ั » เวลาในอนาคต • ผสมผสาน เรื่องในอดีต ปัจจุบัน และอนาคตเข้าด้วยกัน

• สังคมที่มุ่งในเรื่องอนาคต vs สังคมที่เน้นอดีต

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

30


• อดีต / ปัจจุบัน อิสราเอล

หัวข้อที่ 4

รัสเซีย

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

อนาคต

เกาหลีใต้

31


การควบคุมภายใน vs การยอมรับและการ ควบคุมภายนอก • การควบคุมภายใน : สังคมที่เน้นการควบคุมธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม • • • • •

หัวข้อที่ 4

การครอบงาสิ่งแวดล้อม การต่อสู้ฝ่าฟัน เน้นที่ตนเอง หรือกลุ่ม การใช้อานาจ การครอบงาลูกน้อง

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

32


• การควบคุมภายนอก : สังคมที่เน้นการยอมรับซึ่งกันและกันกับ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • • • • • •

การประนีประนอม การปรับตัวและการกลมกลืน ปรับตัวตามวัฎจักร ความอดทน ความสัมพันธ์กับลูกน้อง ความเท่าเทียม และเน้นที่ผลทีไ่ ด้ทงั้ 2 ฝ่าย

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

33


การควบคุมภายใน vs การยอมรับและการ ควบคุมภายนอก

การควบคุมภายใน

โปแลนด์

หัวข้อที่ 4

บราซิล

การควบคุมภายนอก

กรีซ

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

เอธิโอเปีย

จีน

34


การศึกษาตามแนวคิดของ KLUCKHOR และ STRODTBECK หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

35


• Kluckholn และ Strodtbeck (1961) ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของ วัฒนธรรม และพัฒนาตัวแบบทางวัฒนธรรมเปรียบเทียบ

Fred L. Strodtbeck หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

36


มิติทางวัฒนธรรมตามตัวแบบของ Kluckholn และ Strodtbeck ( 1. ธรรมชาติของมนุษย์ - the nature of people – ดี / เลว / ผสมกัน

2. ความสัมพันธ์ระหว่างคน - the relationship to other people – เป็นแบบตัวใครตัวมัน / เป็นแบบกลุ่ม

3. ความสัมพันธ์ระหว่างคน กับธรรมชาติ - the relationship to nature – ธรรมชาติอยู่เหนือมนุษย์ / พึ่งพาอาศัยกัน / มนุษย์ควบคุม ธรรมชาติ หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

37


4. วัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่ทา - the modality of human activity – doing มีเป้าหมายชัดเจน มุ่งทาให้สาเร็จ / being ทาตามที่ ชอบ ที่อยากทา ตามความพอใจ

5. เวลา - the temporal focus of human activity – ให้ความสาคัญกับเวลาส่วนใดมากที่สุด future / past / present

6. อาณาบริเวณ - the conception of space – พื้นที่ส่วนตัว ระยะห่างระหว่างพูดคุย ชิด / ห่างออกไป หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

38


http://williamhartphdsnotes.blogspot.com/20 14/09/interculturalcom-cultural-values_5.html

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

39


การศึกษาตามตัวแบบของ Laurent หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

40


André Laurent • งานวิจัย (1983) – ทาการสารวจความคิดเห็นของผู้จัดการ ใน ยุโรปและสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับค่านิยมในเรื่อง - ระบบการเมือง (political systems) - ระบบอานาจ (authority systems) - ระบบการจัดบทบาท (role forming systems) - ระบบความสัมพันธ์ตามลาดับชั้น (hierarchical relationship systems) (Mead 2002)


สถานภาพทางการบริหาร บทบาทของผู้จัดการ ก็ยัง ติดตัวอยู่ ถึงจะนอกเวลา ทางานแล้วก็ตาม

(Mead 2002)

Denmark UK Netherlands Germany Sweden USA Switzerland Italy France

32% 40% 45% 46% 54% 52% 65% 74% 76%


การข้ามสายการบังคับบัญชา • เพื่อที่จะมีความสัมพันธ์ ในการทางานอย่างมี ประสิทธิภาพ ก็อาจ จาเป็นต้องมีการข้ามสาย การบังคับบัญชากันบ้าง (Mead 2002)

Sweden UK

22% 31%

USA

32%

Denmark

37%

Netherlands

39%

Switzerland

41%

Belgium

42%

France

42%

Germany

46%

Italy

75%

China

66%


ผู้เชี่ยวชาญ vs ผู้อานวยความสะดวก ผู้จัดการจาเป็นจะต้องมีคาตอบที่ ชัดเจนแน่นอนไว้ในมือก่อนตอบ คาถามแก่พนักงานทีจ่ ะหยิบยกขึ้น มาในการทางาน (Mead 2002)

Sweden

10%

Netherlands

17%

USA

18%

Denmark

23%

UK

27%

Switzerland

38%

Belgium

44%

Germany

46%

France

53%

Italy

66%

Indonesia

73%

China

74%

Japan

78%


การศึกษาตามตัวแบบของ Hall หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

45


• Edward T. Hall (1976) ศึกษาวัฒนธรรมโดยเน้นที่ รูปแบบการสื่อสาร • บริบทของการสื่อสาร – แบบบริบทต่า (Low Context) – แบบบริบทสูง (High Context)

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

46


Hall: High / Low Context • High context – การสื่อสารที่ต้องมีการตีความว่าที่พูดมามี ความหมายหรือหมายถึงอะไรกันแน่ ซึ่งขึ้นอยู่กับสถานการณ์ สภาพแวดล้อม

• Low context – การสื่อสารและคาพูดที่แสดงออกไปมีความ ชัดเจนในตัวเอง ไม่ว่าจะยู่ในสถานการณ์ใด


Low context

High context • • • • • • • • •

China Egypt France Italy Japan Lebanon Saudi Arabia Spain Syria

• • • • • • • • •

Australia Canada Denmark England Finland Germany Norway Switzerland United States


บรรณานุกรม • บรรจง อมรชีวิน, CROSS-CULTURE วัฒนธรรมข้ามชาติกับการบริหารและ การเจรจาต่อรอง, (บทที่ 1-4). บริษัท ส. เอเซียเพรส (1989), 2547 •

Helen Deresky, (2008). International Management : Managing Across Borders and Cultures. USA : Pearson Education International.

• http://geert-hofstede.com/ • http://williamhartphdsnotes.blogspot.com/2014/09/interculturalcomcultural-values_5.html • Riding the waves of culture: Fons Trompenaars at TEDxAmsterdam https://www.youtube.com/watch?v=hmyfjKjcbm0 http://www2.thtconsulting.com/

• Mead (2002) หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

49


งานประจาสัปดาห์ • เปรียบเทียบประเทศไทยกับประเทศอื่นทีน ่ ักศึกษาสนใจ 2 ประเทศ ตามตัวแบบของ Hofstede พร้อมอธิบาย

หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

50


หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

51


หัวข้อที่ 4

การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม

52


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.