การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม 135-402 Cross-Cultural Management
หัวข้อที่ 3 วัฒนธรรมระหว่างประเทศ •ความหลากหลายทางวัฒนธรรม •การจัดการกับความหลากหลาย •เงื่อนไขในทางวัฒนธรรมสาหรับการแข่งขันระดับโลก •มารยาททางสังคม
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
หัวข้อที่ 3
2
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม •เผ่าพันธุ์ของมนุษย์ •วิวัฒนาการของการของวัฒนธรรมข้ามชาติ •การจัดการทรัพยากรมนุษย์: มุมมองยุคใหม่
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
3
เผ่าพันธุ์ของมนุษย์ 1. คอเคซอยด์ (Caucasoid) • นอร์ดิค • แอลไพน์ • เมดิเตอร์เรเนียน Aryan • Semitic • Hamitic
2. นิกรอยด์ (Negroid) • African Negro • Khoikhoi • Melanesian • Negrito • Australoid • Polynesian • Maori 3. มองโกลอยด์ (Mongoloid) • North Mongol • Chinese and Indochinese • Japanese and Korean • Tibetan • Malay • Micronesian • Eskimo • American Indian หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
4
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
5
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
6
CAUCASOID • ลักษณะผิวพรรณสีขาว รูปร่างสูงโปร่ง จนถึงสูงใหญ่ หน้าผาก แคบถึงกว้างปานกลาง คางไม่ ยื่น รูปศีรษะยาวถึงกว้างและสั้น จมูกโด่ง ตาสีฟ้าหรือสีเทา ผมสีทองจนถึงสีน้าตาลแก่ ผมละเอียด และหยักศก ได้แก่ ชาวยุโรป เช่น สเปน ฝรั่งเศส อังกฤษ สหภาพโซเวียต สวิตเซอร์แลนด์ เป็นต้น
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
7
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
8
NEGROID • • • •
ผิวสีเข้ม รูปร่างเตี้ย จนถึงสูงมาก สันจมูกต่าถึงปานกลาง โพรงจมูกกลม ฟันยื่น ปากหนา ตาโต ตาสีน้าตาลถึงน้าตาลเข้ม หน้าผากกว้างปานกลางถึงแคบ ผมสีน้าตาลเข้มจนถึงดา เส้นหยาบและหยิกเป็นก้นหอยหรือหยิก ยุ่ง
•
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
9
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
10
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
11
MONGOLOID • ลักษณะผิวเหลือง น้าตาล และ น้าตาลแดง มีรูปร่างค่อนข้าง เตี้ย ถึงสูงปานกลาง รูปศีรษะค่อนข้างกว้าง หน้าผากกว้างปาน กลางถึงกว้างมาก จมูกกว้างปานกลาง สันต่าไม่โด่ง ตาสีน้าตาล ถึงน้าตาลเข้ม เปลือกตาอูม หนังตาด้านในบนพับลงมา ผมสี น้าตาลถึงสีดา เส้นผมหยาบและเหยียดตรง
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
12
• พวกที่สืบเชื้อสายจากเชื้อชาติดั้งเดิมของกลุ่มนี้ส่วนใหญ่มักจะ อาศัยอยู่ทางภาคตะวันออกและภาคเหนือของเอเชีย พวกนี้ยัง เดินทางต่อไปทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือผ่านช่องแคบ แบริงไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
13
• กลุ่มมองโกลอยด์โบราณ เป็นประชากรเก่าแก่ดั้งเดิมของ ธิเบต มองโกเลีย จีน เกาหลี ไซบีเรียและ ญี่ปุ่น
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
14
กลุ่มอาร์ติกมองโกลอยด์ ประกอบด้วย กลุ่มชาติต่างๆคือ - เอสกิโม - อีเวนกิ อยู่ที่มองโกเลีย ไซบีเรีย ที่ ราบสูงทางเหนือของภูเขาหิมาลัย - คามท์ซัดดัล อยู่ที่แหลมคัมซัตถา - ซามอเยเคส อยู่ที่คาบสมุทรโคลา ทะเลขาวและแคว้นเยนีเซีย
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
15
• -
กลุ่มออสตราลอยด์ ออสเตรเลีย – อะบอริจิน อยู่ ในประเทศออสเตรเลีย เวดดาห์ในประเทศศรีลังกา พรี-ดราวิเดียน ในประเทศอินเดีย ไอนุ ในเกาะฮอกไกโด ทางตอนเหนือของเกาะญี่ปุ่น และหมู่ เกาะแซดาลิน
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
16
กลุ่มอินโด – มาเลย์ - อินโดนีเซียน อยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน อินโดจีน พม่า ประเทศไทย และคาบสมุทรมาเลย์ - มาเลย์ อยู่ในอินโดนีเซีย คาบสมุทรมาเลย์ ฟิลิปปินส์ โอกินาวา และหมู่เกาะใกล้เคียง
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
17
“อินเดียนแดง” อยู่ทางภาคเหนือและภาคกลางของอเมริกาเหนือ อเมริกากลางและอเมริกาใต้
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
18
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
19
• ปัจจุบันกลุ่มเชื้อชาติมองโกลอยด์ มีจานวนมากที่สุด เมื่อ เทียบกับจานวนประชากรโลก คือประมาณ ร้อยละ 51 (เฉพาะประเทศจีนก็มีประชากรกลุ่มเชื้อชาติมองโกลอยด์ประมาณ 1,300 ล้านคน)
• รองลงมาคือกลุ่มเชื้อชาติคอเคซอยด์ มีอยู่มากในทวีป ยุโรป กลุ่มเชื้อชาตินิกรอยด์ในทวีปแอฟริกา • สุดท้ายคือกลุ่มเชื้อชาติออสตราลอยด์ในทวีปออสเตรเลีย – โอเชียเนียและบางส่วนใน ทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกา กลาง และอเมริกาใต้ หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
20
รูปแบบของปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน 1. การติดต่อกันในรูปแบบที่ดี • • • •
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การศึกษา การค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้า การทางานร่วมกัน
2. การติดต่อกันในรูปแบบที่เป็นทางลบ • • •
หัวข้อที่ 3
การรุกรานแย่งชิงดินแดน การล่าอาณานิคม การค้าทาส
การ ผสมผสาน เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ และ วัฒนธรรม
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
21
วิวัฒนาการของการของวัฒนธรรมข้ามชาติ • การเดินทางจากตะวันตกสู่ตะวันออก – มาร์โคโปโล – จีน “เส้นทางสายไหม” – วาสโกดากามา และเฟอร์ดินานด์ แมคเจลแลนด์ – ทวีป เอเชีย “การเดินทางเพื่อการค้นพบที่ยิ่งใหญ่” – บริษัทอิสต์อินเดียของอังกฤษ – ทวีปเอเชีย “การค้า เครื่องเทศ” – “การล่าอาณานิคม” ของอังกฤษ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ สเปน – การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ – ยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization) การติดต่อสื่อสารไร้พรมแดน หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
22
การจัดการกับความหลากหลาย
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
23
สาเหตุของการมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมที่ หลากหลาย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. หัวข้อที่ 3
การทาธุรกิจระหว่างประเทศหรือธุรกิจข้ามชาติ ความร่วมมือระหว่างประเทศ การไปศึกษายังต่างประเทศ ภารกิจทางด้านการทูต การท่องเที่ยว การสร้างครอบครัวกับชาวต่างชาติ การแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศ การเผยแพร่ศาสนาหรือการแสวงบุญ การประกวด / แข่งขัน ต่างๆ การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
24
การจัดการทรัพยากรมนุษย์: มุมมองยุคใหม่ • ธุรกิจระหว่างประเทศ - ประกอบด้วยหน้าที่ – ด้านการเงิน – ด้านการตลาด สาคัญ – ด้านเทคโนโลยี ที่สุด – ด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์
บริษัทข้ามชาติ บุคลากรที่ทางานมาจากคนชาติตา่ งๆ
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
25
สภาวะของมนุษย์เมื่อมีการปฏิสัมพันธ์กับความ หลากหลายทางวัฒนธรรม • • • •
ความตื่นตระหนกทางวัฒนธรรม (Culture Shock) ปัญหาความไม่เข้าใจกัน ความขัดแย้งกันในด้านความคิด ความเชื่อ ค่านิยม การกระทา การปะทะทางวัฒนธรรม
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
26
มุมมองที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง • ชาติพันธุ์ที่เหนือกว่า Ethnocetrism มุมมองว่าคนเองอยู่ในชาติพันธุ์ / วัฒนธรรมที่เหนือกว่า เป็นความยุ่งยากในการจัดการกับความหลากหลายทาง วัฒนธรรม
• ปกติ / ไม่ปกติ มองด้วยสายตาของวัฒนธรรมตนเอง เห็นพฤติกรรมที่ แตกต่างว่าไม่ปกติ
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
27
การจัดการกับความหลากหลาย • การจัดการกับความหลากหลายในวัฒนธรรม – การจัดการกับวัฒนธรรมที่แตกต่าง – การลดความขัดแย้งให้น้อยลง – ผลักดันให้เกิดการทางานเป็นทีม
• ภาษา – เป็นเครื่องมือในการเชื่อมโยง – เป็นอุปสรรคต่อการแสดงออก และการแสดงศักยภาพ
ความยืดหยุ่นของการจัดการ ระดับใดจึงเหมาะสม???? หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
28
ลดความขัดแย้งต่างวัฒนธรรม
ความจริงใจ
การเรียนรู้
• พยามยามรักษา สัมพันธภาพ
• การเรียนรู้ศาสตร์ด้าน วัฒนธรรม • ปทัสถานทางสังคม • ความเชื่อ ค่านิยม • มารยาททางสังคม
การจัดการกับความหลากหลายทางด้าน วัฒนธรรมในบริษัท • ทางเลือก 1. ประสานความแตกต่างเข้าด้วยกัน 2. เฉยๆ และทนอยู่กับความแตกต่างที่มีอยู่ 3. พยายามหาทางสนับสนุน ส่งเสริม หรือกระตุ้นว่าความ แตกต่างไม่ใช่สิ่งผิดปกติ ความพยายาม -- การดาเนินการของบริษัทข้ามชาติ • ใช้การฝึกอบรมทางด้านวัฒนธรรม หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
30
เงื่อนไขในทางวัฒนธรรมสาหรับการแข่งขันระดับ โลก หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
31
ข้อสังเกตเกี่ยวกับเรื่องวัฒนธรรมกับการ บริหาร 1. บริษัทข้ามชาติไม่อาจละเลยความแตกต่างทาง วัฒนธรรมของแต่ละบุคคล 2. การเผชิญหน้าระหว่างวัฒนธรรม ยึดมั่นวัฒนธรรม ความเชื่อของตนเอง 3. การนาระบบการบริหารสมัยใหม่มาใช้ รูปแบบได้ แต่ แก่นแท้ไม่ได้
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
32
การบริหารระดับโลก • การปรับเปลี่ยนความคิดแบบดั้งเดิมของท้องถิ่น ไปสู่ ความมีมาตรฐานสูงของการทางานในระดับโลก • ประเด็นเรื่องจริยธรรม มาตรฐานของแต่ละประเทศที่ ต่างกัน – การฉ้อโกง – การให้สินบน – การใช้แรงงานเด็ก – การทาลายสภาพแวดล้อม – การทาธุรกิจที่ไม่คานึงถึงศีลธรรม หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
33
การบริหารระดับโลก • การกาหนดกรอบจริยธรรมมาตรฐานของบริษัท – กาหนดเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างชัดเจน ต่อเนื่อง – ต้องสื่อสารแจ้งให้พนักงานทุกคนทราบ – แปลเป็นภาษาต่างๆ
• มีการตรวจสอบ
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
34
มารยาทสังคม
การรับประทานอาหาร : ประพฤติตัวที่โต๊ะอาหาร อย่างไร
ข้อห้ามในการปฏิบัติตน มาดากัสการ์ – สตรีไม่รีดเสื้อผ้าให้ผู้ชาย – คนท้องไม่ควรรับประทานมันสมอง(สัตว์) – ไม่ส่งไข่ให้ใครโดยตรง – เด็กไม่ควรเรียกชื่อพ่อ หรือพูดถึงส่วนใดของร่างกาย
ข้อห้าม(ต่อ) รัสเซีย – อยู่ในบ้านไม่ควรสวมเสื้อโค้ท – ไม่ยืนเอามือล้วงกระเป๋า – ไม่ยืนถ่างขา – ไม่เป่านกหวีดกลางถนน – ไม่รับประทานอาหารกลางวันที่สนามหญ้าสาธารณะ – ไม่แสดงความรักในที่สาธารณะ – ไม่ถามใครว่าห้องน้าอยู่ไหน โดยเฉพาะกับเพศตรงข้าม
ข้อห้าม(ต่อ) มาเลเซีย – ไม่เอานิ้วไปชี้อะไร
อินโดนีเซีย – ศีรษะเป็นส่วนศักดิ์สิทธิ์ไม่ควรให้ใครมาแตะ – ไม่ควรให้ศีรษะผู้น้อยอยู่สูงกว่าศีรษะผู้สูงอายุ
เกาหลี – คนอายุน้อยจะไม่ดื่มสุราหรือสูบบุหรี่ต่อหน้าผู้อาวุโสกว่า
ไต้หวัน – ไม่เขียนข้อความด้วยหมึกแดง
วัฒนธรรมการให้ของขวัญในยุโรป ตะวันตก หลีกเลี่ยง – การให้ของขวัญในครั้งแรกที่ พบปะ – การให้ดอกไม้ 13 ดอก – การให้เครื่องประดับบ้าน – การให้น้าหอมและโคโลญจ์ ผู้ชาย – การให้ของขวัญที่มีชื่อบริษัท ติดอยู่ – การให้ของถูกหรือของ ฟุ่มเฟือย – เยอรมัน อย่าห่อของขวัญหรือ ผูกริบบิ้นด้วยสีขาว ดา หรือ น้าตาล
ควรให้ – ช็อกโกแล็ต – เครือ่ งเงิน กระเบื้องเคลือบชิ้น เล็ก – ฝรั่งเศส ของขวัญที่เป็นที่สนใจ ของคนมีความรู้และเกี่ยวกับ ความงาม หรือหนังสือต่างๆ
วัฒนธรรมการให้ของขวัญในโลกอาหรับ หลีกเลี่ยง ◦ ◦ ◦ ◦ ◦ ◦
อย่าให้สุรา อย่าให้ของขวัญแก่ภรรยาของเขา อย่าให้ของขวัญเมื่อพบกันครั้งแรก อย่าให้ของขวัญไม่เป็นเรื่อง อย่าให้ของขวัญเมื่อผู้รับอยู่คนเดียว รูปสัตว์จาลองซึ่งจะแสดงถึงความ โชคร้าย ◦ ของที่ระลึกบริษัทไม่ควรเป็นของ ส่วนตัว
ควรให้ ◦ ของขวัญสาหรับเด็กๆ ◦ ของขวัญที่ประเทืองปัญญา เช่น งานศัลปะ หนังสือ แผ่นเสียง เทป ◦ งานฝีมือของสหรัฐอเมริกาและ เยอรมณีเป็นที่นิยม
วัฒนธรรมการให้ของขวัญในญี่ปุ่น หลีกเลี่ยง – ของขวัญที่มรี าคาสูงเกินไป – ไม่ควรให้ของขวัญตอบ แทนที่ด้อยกว่าจนน่าเกลียด – การขอให้เปิดของขวัญต่อ หน้า – การให้ของขวัญที่ลบหลู่ ศักดิ์ศรี – ของขวัญที่มชี ื่อบริษท ั ติดไว้ – กระดาษห่อของขวัญทีเ่ ป็นสี ขาว ดา และสีแดงสด
ควรทา – ควรห่อของขวัญให้ดี
บรรณานุกรม บรรจง อมรชีวิน. CROSS-CULTURE วัฒนธรรมข้ามชาติกับการบริหาร และการเจรจาต่อรอง. บริษัท ส. เอเซียเพรส (1989), 2547. บรรจง อมรชีวิน. การตลาดข้ามวัฒนธรรม. สานักพิมพ์ MDI, 2549. เพ็ชรี ธูปะวิเชตร์. การเรียนรู้ลักษณะการจัดการ : การจัดการข้าม วัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ดวงกมลพับลิชชิ่ง, 2554. บดินทร์ กิจศิริเจริญชัย. เผ่าพันธุ์และการเดินทางของมนุษย์. http://www.slideshare.net/BonBon3/mankind-journey http://home.npru.ac.th/phatthaya/subjects/aj32/2541102_RaceSTD _PPT.pdf หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
43
วิดิทัศน์ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม • https://www.youtube.com/watch?v=vlkjIxehKk4
หัวข้อที่ 3
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
44
บรรณานุกรม • บรรจง อมรชีวิน, การตลาดข้ามวัฒนธรรม , สานักพิมพ์ MDI, 2549. • บรรจง อมรชีวิน, CROSS-CULTURE วัฒนธรรมข้ามชาติกับ การบริหารและการเจรจาต่อรอง, บริษัท ส. เอเซียเพรส (1989), 2547 • เพ็ชรี รูปะวิเชตร์. การเรียนรู้ลักษณะการจัดการ : การจัดการ ข้ามวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ : ดวงกมลพับลิชชิ่ง, 2554. • ความหลากหลายทางวัฒนธรรม https://www.youtube.com/watch?v=vlkjIxehKk4 หัวข้อที่ 2
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
45