การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม 135-402 Cross-Cultural Management
หัวข้อที่ 7 วัฒนธรรมข้ามชาติ
วัฒนธรรมข้ามชาติ (Cross-Cultural) วัฒนธรรมข้ามชาติ (Cross-Cultural) เป็นการเรียนรู้ วัฒนธรรมอีกหนึ่งวัฒนธรรม เพื่อจะนาไปประยุกต์ใช้กับ ชีวิตจริงในยุคสมัยใหม่ รวมถึงเรียนรู้คนที่มาจาก วัฒนธรรมนั้น ๆ
32/53
วัฒนธรรมข้ามชาติ และแนวทางการดาเนิน ธุรกิจระหว่างประเทศ
แนวทางการดาเนินธุรกิจระหว่างประเทศ 1. แนวการปรับตัวเฉพาะประเทศ (Polycentrism) 2. แนวการยึดหลักบริษัทแม่ (Ethnocentrism) 3. แนวหลักสากล (Geocentrism)
32/53
1. แนวการปรับตัวเฉพาะประเทศ (Polycentrism) เป็นลักษณะแนวทางขององค์การระหว่างประเทศ ซึ่งกระจายการควบคุมดูแลการดาเนินงานในแต่ละพื้นที่ ให้แตกต่างกัน เพื่อปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาวะในแต่ ละประเทศนั้นๆ แตกต่างกันไปตามลักษณะเฉพาะตัวที่ ไม่เหมือนกัน
33/53
1. แนวการปรับตัวเฉพาะประเทศ (Polycentrism) เช่น เปิดสาขาในประเทศ A ก็ปรับการดาเนินงานของสาขา ให้เข้ากับวัฒนธรรมท้องถิ่นของประเทศ A หากไม่มีความรู้ หรือเชี่ยวชาญพอ ก็อาจใช้วิธีจ้างแรงงานคนในท้องถิ่นนั้นๆ แทนการส่งบุคลากรไปประจาสาขา
33/53
2. แนวการยึดหลักบริษัทแม่ (Ethnocentrism) เป็นความเชื่อถือว่ากลุ่มชนของตนเองเหนือกว่าผู้อื่น โดย นับถือเชื้อชาติเผ่าพันธ์ของตนเป็นใหญ่ กรณีนี้ไม่สนใจ วัฒนธรรมของท้องถิ่น แต่จะปฏิบัติตามแนวทางของ บริษัทแม่ทุกอย่าง
34/53
3. แนวหลักสากล (Geocentrism) เป็นแนวคิดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างแนวการปรับตัว เฉพาะประเทศ และแนวการยึดหลักบริษัทแม่ โดย ผสมผสานการจัดการ ในแบบแผนของประเทศแม่และ ประเทศที่เข้าไปดาเนินธุรกิจ
34/53
การดาเนินธุรกิจโดยไม่คานึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมอาจ นามาซึ่งผลกระทบด้านลบมากกว่าที่คาดการณ์ไว้
วัฒนธรรมข้ามชาติ & กลยุทธ์ในการรับมือ ของธุรกิจ 35/53
การจัดการกับความแตกต่างทางวัฒนธรรม • •
• •
การใช้กลยุทธ์แบบพลวัตร (Dynamic Strategy) ที่รองรับ และปรับตัวกับสถานการณ์ใหม่ได้ตลอดเวลา กลยุทธ์ที่ช่วยในการรับมือของธุรกิจ 1. ความฉลาดรอบรู้ทางวัฒนธรรม (Cultural Intelligence) 2. การสร้างเครือข่ายกับคนในท้องถิน ่ (Networking)
1. ความฉลาดรอบรู้ทางวัฒนธรรม (Cultural Intelligence) เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง (Learning by Doing) เริ่มต้นจากพื้นฐานความพร้อมในการเรียนรู้ วัฒนธรรมของแต่ละบุคคล ไปสู่การเรียนรู้และทาความ เข้าใจกับวัฒนธรรมใหม่ที่แตกต่าง
36/53
1. ความฉลาดรอบรู้ทางวัฒนธรรม (Cultural Intelligence) ประเด็นสาคัญที่สุด คือ การเปิดใจให้กว้างด้วยการ ยอมรับวัฒนธรรมที่แตกต่าง และสุดท้ายก็คือ การ สนองตอบต่อวัฒนธรรมเหล่านั้นอย่างชาญฉลาดและ ละมุนละม่อม เมื่อบุคคลนั้นสามารถสนองตอบได้แล้ว ก็ จะเก็บประสบการณ์ในการเรียนรู้ต่อไป ดังนั้น ผู้ฉลาดรอบรู้ทางวัฒนธรรมก็จะมีแนวโน้ม ฉลาดรอบรู้ทางวัฒนธรรมเพิ่มพูนมากขึ้นต่อเนื่อง 36/53
2. การสร้างเครือข่ายกับคนในท้องถิ่น (Networking) •
การมี “เพื่อนต่างชาติในท้องถิ่น” เป็นกลยุทธ์ที่สาคัญ เพราะเจ้าของวัฒนธรรมย่อมรู้วัฒนธรรมของตนเองดี ที่สุด
•
การที่มีเจ้าของวัฒนธรรมเป็นที่ปรึกษา ย่อมได้ข้อมูลทั้งเชิง กว้างและลึกที่รวดเร็ว และตรงประเด็นกว่าการเปิดหนังสือหรือ การค้นทางอื่น
37/53
วัฒนธรรมข้ามชาติ & การปรับตัวของธุรกิจ เมื่อคนจากคนละประเทศ / คนละทวีปมาทางานในที่ เดียวกัน ย่อมก่อให้เกิดปัญหาบางอย่างขึ้น อันนื่องมา จากความแตกต่างทางวัฒนธรรม เชื้อชาติ ศาสนา และ ประเพณี
38/53
การจัดการวัฒนธรรมข้ามชาติ 1. การเรียนรู้และเผยแพร่วัฒนธรรมของตน 2. การเรียนรู้วัฒนธรรมของประเทศที่จะเข้าไปดาเนินธุรกิจ ด้วย 3. การยอมรับ และการเรียนรู้ที่จะประสานกลมเกลียว
38/53
1. การเรียนรู้และเผยแพร่วัฒนธรรมของตน กรณีตัวอย่าง : ผู้จัดการของประเทศญี่ปุ่นจะต้องเรียนรู้ว่า วัฒนธรรมของตนเองที่คุ้นเคยและปฏิบัติอยู่นั้น อาจไม่ใช่สิ่งที่ เป็นสากลนิยมอยู่ทั่วไปทุกอย่าง ในแต่ละประเทศ ย่อมมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้น เราควรทาความเข้าใจและมีส่วนช่วยเผยแพร่วัฒนธรรม ของตนให้กับบุคคลอื่น
39/53
2. การเรียนรู้วัฒนธรรมของประเทศที่จะเข้า ไปดาเนินธุรกิจด้วย บริษัทข้ามชาติทั้งหลายพยายามส่งเข้าอบรมนานาชาติ เพื่อให้มีความพร้อมและเรียนรู้วัฒนธรรมของประเทศที่จะเข้า ไปดาเนินธุรกิจด้วยอย่างดีที่สุด เช่น บริษัทอินเทลคอร์เปอเรชั่น ที่มีการอบรมใน 5 หัวข้อ คือ - การตระหนักวัฒนธรรมนานาชาติ - การผสานวัฒนธรรมที่หลากหลาย - การอบรมเฉพาะวัฒนธรรม - การอบรมเมื่อได้รับการมอบหมายให้ทางานระหว่าง ประเทศ - การทางานเป็นทีม (Teamwork) 40/53
3. การยอมรับ และการเรียนรู้ที่จะประสาน กลมเกลียว เป็นการเสาะหาเทคนิคต่างๆ ที่จะทาให้การจัดการราบรื่น ตัวอย่างเช่น - คนญี่ปุ่นจะให้ความสาคัญกับงานเป็นอย่างมาก หากไม่มี เหตุผลอะไรเป็นพิเศษแล้ว งานต้องมาก่อนเสมอ - คนตะวันตก ให้ความสาคัญกับปัจเจกชน ในเชิงที่ทุกคนมี กฎส่วนตัว มีความต้องการส่วนตัว ซึ่งงานไม่อาจมาลบล้างใน ส่วนนั้นได้ ดังนั้น การทาความเข้าใจ การยอมรับ และการประสานกลม เกียวในวัฒนธรรมข้ามชาติ ถือเป็นสิ่งสาคัญ 41/53
วัฒนธรรมและมารยาททางสังคมของชาติ ต่างๆ
ข้อห้าม • มาดากัสการ์ – สตรีไม่รีดเสื้อผ้าให้ผู้ชาย – คนท้องไม่ควรรับประทานมันสมอง(สัตว์) – ไม่ส่งไข่ให้ใครโดยตรง – เด็กไม่ควรเรียกชื่อพ่อ หรือพูดถึงส่วนใดของร่างกาย
ข้อห้าม(ต่อ) • รัสเซีย – อยู่ในบ้านไม่ควรสวมเสื้อโค้ท – ไม่ยืนเอามือล้วงกระเป๋า – ไม่ยืนถ่างขา – ไม่เป่านกหวีดกลางถนน – ไม่รับประทานอาหารกลางวันที่สนามหญ้าสาธารณะ – ไม่แสดงความรักในที่สาธารณะ – ไม่ถามใครว่าห้องน้าอยู่ไหน โดยเฉพาะกับเพศตรงข้าม
ข้อห้าม(ต่อ) • มาเลเซีย – ไม่เอานิ้วไปชี้อะไร
• อินโดนีเซีย – ศีรษะเป็นส่วนศักดิ์สิทธิ์ไม่ควรให้ใครมาแตะ – ไม่ควรให้ศีรษะผู้น้อยอยู่สูงกว่าศีรษะผู้สูงอายุ
• เกาหลี – คนอายุน้อยจะไม่ดื่มสุราหรือสูบบุหรี่ต่อหน้าผู้อาวุโสกว่า
• ไต้หวัน – ไม่เขียนข้อความด้วยหมึกแดง
วัฒนธรรมการให้ของขวัญในยุโรปตะวันตก • หลีกเลี่ยง
• ควรให้
– การให้ของขวัญในครั้งแรกที่ พบปะ – การให้ดอกไม้ 13 ดอก – การให้เครื่องประดับบ้าน – การให้น้าหอมและโคโลญจ์ผู้ชาย – การให้ของขวัญที่มีชื่อบริษัทติดอยู่ – การให้ของถูกหรือของฟุ่มเฟือย – เยอรมัน อย่าห่อของขวัญหรือผูก ริบบิ้นด้วยสีขาว ดา หรือ น้าตาล
– ช็อกโกแล็ต – เครือ่ งเงิน กระเบื้องเคลือบ ชิ้นเล็ก – ฝรั่งเศส ของขวัญที่เป็นที่ สนใจของคนมีความรู้และ เกี่ยวกับความงาม หรือ หนังสือต่างๆ
วัฒนธรรมการให้ของขวัญในโลกอาหรับ • หลีกเลี่ยง – – – – – –
อย่าให้สุรา อย่าให้ของขวัญแก่ภรรยาของเขา อย่าให้ของขวัญเมื่อพบกันครั้งแรก อย่าให้ของขวัญไม่เป็นเรื่อง อย่าให้ของขวัญเมื่อผู้รับอยู่คนเดียว รูปสัตว์จาลองซึ่งจะแสดงถึงความ โชคร้าย – ของที่ระลึกบริษัทไม่ควรเป็นของ ส่วนตัว
• ควรให้ – ของขวัญสาหรับเด็กๆ – ของขวัญที่ประเทืองปัญญา เช่นงานศัลปะ หนังสือ แผ่นเสียง เทป – งานฝีมือของสหรัฐอเมริกา และเยอรมณีเป็นที่นิยม
วัฒนธรรมการให้ของขวัญในญี่ปุ่น • หลีกเลี่ยง – ของขวัญที่มีราคาสูงเกินไป – ไม่ควรให้ของขวัญตอบแทนที่ ด้อยกว่าจนน่าเกลียด – การขอให้เปิดของขวัญต่อหน้า – การให้ของขวัญที่ลบหลู่ ศักดิ์ศรี – ของขวัญที่มีชื่อบริษัทติดไว้ – กระดาษห่อของขวัญที่เป็นสี ขาว ดา และสีแดงสด
• ควรทา – ควรห่อของขวัญให้ดี
มารยาทเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร ของชาติต่างๆ
จาก http://www.brandbuffet.in.th/2014/04/diningetiquettearoundtheworld-infographic/
บรรณานุกรม • เพ็ชรี รูปะวิเชตร์. การเรียนรู้ลักษณะการจัดการ : การจัดการ ข้ามวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ : ดวงกมลพับลิชชิ่ง, 2554. • บรรจง อมรชีวิน, CROSS-CULTURE วัฒนธรรมข้ามชาติกับการ บริหารและการเจรจาต่อรอง, บริษัท ส. เอเชียเพรส (1989), 2547
• http://www.brandbuffet.in.th/2014/04/diningetiquett e-aroundtheworld-infographic/
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
35