การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม 135-402 Cross-Cultural Management
หัวข้อที่ 5 การบริหารในปริบททางวัฒนธรรมที่แตกต่าง • วัฒนธรรมที่แตกต่าง • หมวดหมู่ของวัฒนธรรม • การบริหารภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
หัวข้อที่ 5
2
วัฒนธรรมที่แตกต่าง หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
3
วัฒนธรรมที่แตกต่าง ฮอฟสเตด ‘’ วัฒนธรรมคือ การสั่งสม โปรแกรมทางจิตใจที่แบ่งแยกกันระหว่างหมู่ สมาชิกหมู่หนึ่งกับอีกหมู่หนึ่ง ‘’ “การสั่งสม” เป็นกระบวนการที่เริ่มตั้งแต่การเกิด ถ่ายทอดเป็นมรดกตกทอด
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
4
ตัวอย่าง – เด็กญี่ปุ่นนอนห้องเดียวกันกับพ่อแม่เวลานาน 2- 3 ปี เด็กอังกฤษและอเมริกันแยกห้องนอนกับพ่อแม่ – เด็กญี่ปุ่นคุ้นเคยกับการทากิจกรรมร่วมกับพ่อแม่ จึง พัฒนาไปสู่สภาพการทาอะไรที่เป็นกลุ่ม คิดร่วมกันเป็น กลุ่ม – เด็กอังกฤษและอเมริกัน มีความเป็นตัวของตัวเองสูง รัก อิสระ หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
5
• ค่านิยมและความเชื่อต่างๆ ของเราที่ติดตัวแทบจะ เปลี่ยนไม่ได้ ทาให้เกิดการปะทะกับคนอีกประเทศหนึ่งที่ มีค่านิยมและความเชื่อที่ต่างกัน • วัฒนธรรมที่แตกต่างจะถูกปรับตัวจากวัฒนธรรมของเรา เองเป็นสองข้าง – วัฒนธรรมที่ดูว่าเป็นมิตรกับวัฒนธรรมเรา – วัฒนธรรมที่แปลกแยกไป
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
6
ตัวอย่าง คนอิตาลีมักปฏิบัติในการประชุม คือ มาประชุมสายไปครึ่ง ชั่วโมงเสมอจากที่ได้นัดหมายไว้ กรณีนี้หากทาในอิตาลีคงไม่ เป็นไร แต่หากเอาการปฏิบัติแบบนี้ไปใช้กับวัฒนธรรมอื่น – กับคนเยอรมันที่ตรงต่อเวลาและไม่ชอบที่จะรอหากมาช้าอาจไม่ มีใครอยู่ในห้องประชุมเลย ถูกประณาม รับไม่ได้ – กับคนฝรั่งเศส อาจมีการยืดหยุ่นผ่อนผันให้สายได้สัก 15 นาที
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
7
มุมมองภายใต้วัฒนธรรมทีต่ ่าง คนในแต่ละประเทศต่างมีมุมมองที่ไม่เหมือนกัน และ มักจะถือตนเองเป็นเกณฑ์ - คนอังกฤษ มองว่าตัวเองปกติ แต่มองคนอื่นที่เป็นคนต่างชาติ ว่าเป็นผู้ไม่ปกติ - คนอเมริกันมักคิดว่าตัวเองยิ่งใหญ่และเก่ง และมองคนอื่นๆ ที่ เหลือคือพวกชักช้า ยากจน - คนสเปนคิดว่าตัวเองกล้าหาญที่สุด - คนฝรั่งเศสคิดว่าตังเองคือปัญญาชนเหนือกว่าคนอื่น
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
8
หมวดหมู่ของวัฒนธรรม
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
9
วัฒนธรรมแบบเอกวิถีและแบบพหุวิถี (LINEAR-ACTIVE VS MULTI-ACTIVE CULTURE) หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
10
ตัวอย่าง • สองคนมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน มีทัศนคติในการดาเนิน กิจกรรมและกาหนดเวลาที่แตกต่างกัน – สเวน สเวนสัน เป็นนักธุรกิจชาวสวีเดน คนสวีเดนอยู่ใน สภาพของวัฒนธรรมเอกวิถี เขาจะทาอะไรตามกาหนดและ ทาเพียงอย่างเดียว กิจกรรมทุกอย่างจะเป็นไปตามกาหนด – อันโตนิโอ ชาวโปรตุเกส ทากิจกรรมต่างๆ ทับกันไปหมด ไม่ เป็นตามกาหนด วัฒนธรรมของอันโตนิโอมีลักษณะเป็น วัฒนธรรมแบบพหุวิถี
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
11
วัฒนธรรมเอกวิถี • ทากิจกรรมอย่างเดียวในขณะเวลาหนึ่งเท่านั้น มุ่งเฉพาะ สิ่งที่ทาและทาภายในเวลาที่กาหนด – ด้วยวิธีนี้ที่เขาคิดว่าจะทาให้มีประสิทธิภาพและทาได้สาเร็จ มากกว่า
• ประเทศที่มีวัฒนธรรมเอกวิถี เช่น ในประเทศสวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ และเยอรมนี
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
12
วัฒนธรรมพหุวิถี • มีความยืดหยุ่น คนวัฒนธรรมพหุวิถีไม่ค่อยในใจในเรื่อง ของกาหนดการหรือเวลา เขาจะพยายามปฏิบัติงาน โดยเฉพาะเมื่ออีกฝ่ายหนึ่งยืนกรานที่จะกระทา – มองว่าสถานการณ์จริงขณะนั้นสาคัญกว่ากาหนดการที่ กาหนดไว้
• ไม่ชอบที่จะให้การหารือต้องค้างคา การทาให้สาเร็จ ถึงแม้ว่าจะต้องทาหลายเรื่องก็ยงั ดีกว่า
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
13
วัฒนธรรมแบบปฏิกิริยาสนอง (ผู้ฟัง) (REACTIVE CULTURE) หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
14
วัฒนธรรมแบบปฏิกิริยาสนอง - รับฟังก่อนที่จะตัดสินใจหรือทา ฟังอย่างตั้งใจ ไม่ยอมให้ ใจลอย - มักไม่ขัดจังหวะคู่สนทนาที่กาลังพูดอยู่ - เมื่ออีกฝ่ายพูดจบจะยังไม่มีการสนองตอบโดยทันที อาจ นิ่งเงียบไปชั่วครู่อย่างไม่เร่งรีบ
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
15
คนญี่ปุ่นเมื่อฟังแล้ว จะพิจารณารายละเอียดแต่ละ จุดหลายๆครั้ง เพื่อให้แน่ใจว่าไม่ได้เข้าใจผิดพลาด คนฟินแลนด์ถึงแม้จะแสดงตรงไปตรงมาในตอนท้าย ก็ต้องเลี่ยงที่จะเผชิญหน้าให้นานเท่าที่จะทาได้ โดย พยายามหาทางออกที่เหมาะสมกับทั้งสองฝ่าย คนจีนก็ใช้เวลาในการเรียบเรียงกลยุทธ์ของตนเอง เพื่อที่จะให้ใกล้เคียงกับข้อเสนอในตอนเริ่ม
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
16
วัฒนธรรมปฏิกิริยาสนองอาจดูได้จากกิริยา อาการดังต่อไปนี้ - ฟังอย่างระมัดระวัง - เข้าใจในเจตนาของคนอื่น - เว้นห้วงเวลาระยะหนึ่งเพื่อประเมินสถานการณ์ - ชอบสอบถามข้อมูล - ปฏิกิริยาโต้ตอบในเชิงบวก
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
17
– ไม่ค่อยจะแสดงออกให้เห็น – เลียนแบบความแข็งขันของคนอื่น รวมทั้งลอกเลียน ผลิตภัณฑ์ – ปรับปรุง – สังเคราะห์ กลั่นกรอง – ทาให้สมบูรณ์ถ้าเป็นไปได้
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
18
• การมองอนาคต - พวกเอกวิถี ควบคุมตามตารางเวลา ตรงต่อเวลา อนาคต-มีการ วางแผน
- พวกพหุวิถี มองเวลาเป็นวัฏจักร -ขาดวินัยในเรื่องการวางแผน อนาคต หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
19
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
20
เปรียบเทียบพฤติกรรมของคนต่างหมวดหมู่ วัฒนธรรม Linear-active
Multi-active
Reactive
Focus Talks Tasks Plans Politeness Challenge Emotion Communication
Results
Relationship
Harmony
Half
Most
Little
Sequential
Parallel
Responsive
Stepwise
Outline
Principles
Mostly
Sometimes
Always
Logical
Emotional
Indirect
Ignored
Expressed
Suppressed
Written
Verbal
Face-to-face
Body language
Restrained
Open
Subtle
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
21
มีแบบแผนสูง
Reactive ปฏิสัมพันธ์ -พอไปได้
ปฏิสัมพันธ์ -ต้องใช้เวลามาก
Linearactive มุ่งงาน หัวข้อที่ 5
Multiactive
ปฏิสัมพันธ์ -ยาก อาจมีการปะทะกัน การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
มุ่งคนเป็นหลัก 22
วัฒนธรรมที่เน้นข้อมูล สัมพันธ์กับ วัฒนธรรมเอกวิถี
วัฒนธรรมที่เน้นการสนทนาสัมพันธ์กับวัฒนธรรมพหุวิถี
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
23
การบริหารภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่าง
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
24
ปัจจัยที่ทาให้วัฒนธรรมของชาติต่างๆ มี ความแตกต่างกัน 1. ประวัติศาสตร์ความเป็นมาอันยาวนาน ความเป็นชาติที่ มีเชื้อชาติเผ่าพันธุ์เฉพาะ 2. ทัศนคติและความเชื่อของชาตินั้นๆ 3. ระบบการศึกษา 4. ศาสนา ลัทธิความเชื่อ 5. ระบบการเมือง การปกครอง 6. ภาษา 7. ระบบเศรษฐกิจ หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
25
8. ภูมิประเทศ 9. ภูมิอากาศ 10.การให้คุณค่าทางสังคม 11.องค์กรทางสังคม 12.วัฒนธรรมทางวัตถุ 13.รสนิยม และความชื่นชมความสวยความงาม 14.การเปิดรับวัฒนธรรมจากภายนอก เพ็ชรี รูปะวิเชตร์ (2554) หน้า 147-148 หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
26
กรณีตัวอย่าง บริษัทโมโตโรล่า ในประเทศเกาหลี ความแตกต่างทางวัฒนธรรม บริษัทแม่ – USA การเลื่อนตาแหน่ง / ให้ผลตอบแทน • ระบบความสามารถ
• ตามอาวุโส
คาสั่ง และการปฏิบัติตามคาสั่ง • มักขอคาอธิบาย ชี้แจง เหตุผล
• ต้องปฏิบัติตาม มีคาถามน้อยมาก
หัวข้อที่ 5
ประเทศเจ้าบ้าน – เกาหลี
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
27
การเรียนรู้และการปรับตัวในวัฒนธรรม ข้ามชาติ ความสาคัญของการเรียนรู้วัฒนธรรมข้ามชาติ – ตระหนักถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรม – เป็นรากฐานของการติดต่อสื่อสาร และการจัดการข้าม วัฒนธรรม
แนวทางเพื่อการเรียนรู้และปรับตัวใน วัฒนธรรมข้ามชาติ 1. ศึกษาทาความเข้าใจในปัจจัย หรือองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อ วัฒนธรรมของแต่ละชาติ 2. ยอมรับในความแตกต่างด้านวัฒนธรรมของชาติต่าง ๆ 3. เรียนรู้วัฒนธรรมของชาติเราเองอย่างเข้าใจ ทั้งส่วนที่เป็นข้อดี และที่เป็นข้อด้อย 4. ต้องเรียนรู้วัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อของประเทศหรือชาติ อื่นๆ โดยเฉพาะ ชาติที่ต้องไปมีปฏิสัมพันธ์ด้วย เพื่อไม่เกิดภาวะที่ เรียกว่าตระหนกในวัฒนธรรมที่แตกต่าง และสามารถปฏิบัติตนได้ ถูกต้อง หรือเหมาะสม
5. วัฒนธรรมของชาติอื่นบางอย่างบางประการ หากเรา สามารถสื่อสารได้หรือปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม ก็จะสร้าง ความประทับใจและการยอมรับให้กับเจ้าของวัฒนธรรมได้ ในระดับหนึ่ง 6. การเตรียมตัวให้พร้อมในทุกด้าน โดยเฉพาะด้านทัศนคติ การปรับตัว และสุขภาพร่างกาย 7. สังเกตและบันทึกสิ่งที่พบเห็น
สุภาษิต คาพังเพยสอนใจ เกี่ยวกับ วัฒนธรรมข้ามชาติ • เข้าเมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม • When in Rome, do as Romans do. • Think Global and Act Local
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
31
คุณสมบัติของผู้ที่ทางานร่วมกับ ชาวต่างชาติ • การเรียนรู้ การปรับตัว จากการสังเกต การฝึกฝน พร้อม สาหรับการเปลี่ยนแปลงตนเองเพื่อการทางานใน วัฒนธรรมข้ามชาติ พฤติกรรมต่างวัฒนธรรม : ท่าเอกเขนกของคนอเมริกันใน โต๊ะประชุมอาจดูเป็นกันเองในสายตาคนอังกฤษ แต่อาจ สร้างความอึดอัดให้กับคนเยอรมัน
เป็นผู้ที่มีความจริงใจ • ความจริงใจช่วยให้การติดต่อพบปะต่างวัฒนธรรมเป็นไป อย่างราบรื่น
มีความรู้ความเข้าใจ • -- เรียนรู้ปทัสถานทางสังคม ความเชื่อ และอะไรที่เป็น จุดอ่อนไหวของสังคมนั้น การพบปะกันชั่วครั้งชั่วคราวไม่ได้สร้างความยุ่งยาก แต่หากจะต้อง อยู่ร่วมกันอีกนาน คุณต้องเรียนรู้ในเรื่องต่างๆ ข้างต้น
ตัวอย่างพฤติกรรมต่างวัฒนธรรมที่ควรรู้ • • • • •
ไม่ควรส่งคนชอบดื่มหนักไปทางานในซาอุดิอาระเบีย คนอาหรับไม่รับประทานหมู เป็นการไม่สุภาพที่จะชี้เท้าไปที่คนอาหรับ อย่าถามถึงสุขภาพของภรรยาของคนอาหรับ การส่งดอกไม้สีเหลืองไปให้หญิงชาวยุโรป สื่อถึงหล่อน ไม่ซื่อสัตย์ต่อสามี
กรณีศึกษา : การบริหารในปริบททาง วัฒนธรรมที่แตกต่าง
บริษัทอินเทล ในประเทศญี่ปุ่น • สถานการณ์บริษัท มีปัญหา พนักงานเสียขวัญและ กาลังใจ อัตราการเข้าออกสูง • บริษัทแม่ส่งวิลเลี่ยม โอ. โฮวี่ ไปแก้ปัญหา
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
37
แนวทางการบริหารเพื่อแก้ปัญหา • เริ่มด้วยการใช้กลยุทธ์ทางการตลาด ผลักดันให้พนักงาน ทาตามเป้า -- ประสบความสาเร็จน้อยมาก • ปรับ โดยสร้าง “โปรแกรมสาหรับญี่ปุ่น” ขึ้นมาใหม่ โดยเฉพาะ – นาผู้บริหารระดับสูงมาญี่ปุ่น 1. ได้เรียนรู้แนวคิดแบบญี่ปุ่น 2. รู้และเข้าใจความต้องการของบริษท ั ลูกในญี่ปน ุ่ เกีย่ วกับการสนับสนุน จากบริษัทแม่ --พบว่าอุปสรรคที่สาคัญคือความแตกต่างทาง วัฒนธรรม ภาษา การสื่อสาร หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
38
บริษัทอินเทลคอร์ปอเรชั่น มีการอบรมใน 5 หัวข้อ 1. การตระหนักถึงวัฒนธรรมนานาชาติ 2. การผสานวัฒนธรรมที่หลากหลาย 3. การอบรมเฉพาะวัฒนธรรม เช่น การเรียนรู้วัฒนธรรมญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย เกาหลี และไต้หวัน 4. การอบรมเมื่อได้รับมอบหมายงานให้ทาระหว่างประเทศ 5. การทางานเป็นทีม
บริษัทออมรอน ประเทศญี่ปุ่น • การฝึกอบรมของบริษัทออมรอน ประเทศญี่ปุ่น ผู้จัดการที่ได้รับการแต่งตั้งให้ไปทาหน้าที่ในประเทศตะวันตก ต้องผ่านกระบวนการเรียนรู้ 3 ขั้นตอน
1. การเรียนรู้ว่าวัฒนธรรมของตนไม่ใช่สิ่งที่เป็นสากลนิยม ประเทศที่แตกต่างกันวัฒนธรรมก็จะแตกต่างกัน 2. การเรียนรู้วัฒนธรรมของประเทศที่ตนจะไปทางาน เป็น การเรียนรู้และยอมรับในความแตกต่างนั้น 3. การเรียนรู้ที่จะประสานกลมเกลียวเพื่อทาธุรกิจกันต่อไป
มัตสุชิตะ ซันโย และมิตซูบิชิ • การปรับตัวของบริษัทญี่ปุ่น : มัตสุชิตะ ซันโย และมิตซูบิ ชิ ที่มีการลงทุนมากที่สุดในภูมิภาคเอเชีย บริษัทญี่ปุ่นมีการดาเนินการเกี่ยวกับโปรแกรมทางด้าน วัฒนธรรมที่แตกต่าง – การพยายามส่งพนักงานท้องถิ่นของบริษัทให้ได้มีโอกาส เดินทางไปญี่ปุ่นพร้อมด้วยครอบครัว – การประยุกต์ใช้วัฒนธรรมและวิธีการจัดการของตนใน ประเทศที่ไปทางานในทางปฏิบัติให้ได้มากที่สุด โดยประสาน สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่นนั้น
บรรณานุกรม • เพ็ชรี รูปะวิเชตร์. การเรียนรู้ลักษณะการจัดการ : การจัดการ ข้ามวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ : ดวงกมลพับลิชชิ่ง, 2554. • บรรจง อมรชีวิน, CROSS-CULTURE วัฒนธรรมข้ามชาติกับการ บริหารและการเจรจาต่อรอง, บริษัท ส. เอเชียเพรส (1989), 2547 • http://changingminds.org/explanations/culture/lewis_culture .htm • http://www.slideshare.net/gfrankers/firmday-15th-nov2013-jutta-kremer-gartner-candidate-care-from-aninternational-perspective หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
42
วิดีทัศน์ • Series of HSBC Ads about Culture https://www.youtube.com/watch?v=ALWwK7Vz4gY
หัวข้อที่ 5
การจัดการและพฤติกรรมต่างวัฒนธรรม
43