การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ • International Business Management 1
บทนา : การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
• • •
• •
ความหมายของธุรกิจระหว่างประเทศ องค์ประกอบของการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ แรงผลักดันและผลกระทบจากภายนอกต่อธุรกิจ ระหว่างประเทศ การดาเนินงานของธุรกิจระหว่างประเทศ แนวคิดทฤษฎี 2
ความหมายของธุรกิจระหว่างประเทศ
3
ธุรกิจระหว่างประเทศ : ความหมาย • การประกอบกิจกรรมทางธุรกิจที่มีผู้เกี่ยวข้องจาก ประเทศตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไป
4
ธุรกิจระหว่างประเทศ : ความหมาย • กิจกรรมทางธุรกิจระหว่างประเทศ : – การค้าระหว่างประเทศ (International Trade) • การนาเข้าและส่งออกสินค้า • การนาเข้าและส่งออกบริการ เช่น การขนส่ง การท่องเที่ยว การ โฆษณา การก่อสร้าง การค้าปลีก ค้าส่ง และการสื่อสาร
– การลงทุนระหว่างประเทศ (Foreign Direct Investment) • การตั้งโรงงานในต่างประเทศ • การลงทุนในหลักทรัพย์ต่างประเทศ
– กิจกรรมทางธุรกิจระหว่างประเทศลักษณะอื่นๆ • การผลิตตามใบอนุญาตของบริษัทต่างชาติ • การอนุญาตให้ใช้สิทธิ์ของตนกับบริษัทในต่างประเทศ
5
องค์ประกอบของการจัดการธุรกิจระหว่าง ประเทศ 6
องค์ประกอบของการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ ผลกระทบจากปัจจัยสภาพแวดล้อม 1. 2. 3.
สภาพแวดล้อมระดับประเทศ สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศ กระแสโลกาภิวัตน์
การดาเนินงานของธุรกิจระหว่างประเทศ 1. 2. 3.
วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ รูปแบบและกิจกรรม
7
แรงผลักดันและผลกระทบจากภายนอกต่อ ธุรกิจระหว่างประเทศ 8
สภาพแวดล้อมระดับประเทศ สภาพแวดล้อมในประเทศต่างๆ สภาพแวดล้อมของการแข่งขัน
9
สภาพแวดล้อมระดับประเทศ สภาพแวดล้อมในประเทศต่างๆ ที่ทาธุรกิจด้วย 1. 2. 3. 4. 5.
สภาพแวดล้อมด้านสังคม : ประวัติความเป็นมา สภาพแวดล้อมด้านวัฒนธรรม : คุณค่า ทัศนคติ ความเชื่อ สภาพแวดล้อมด้านการเมือง และกฎหมาย สภาพแวดล้อมด้านเศรษฐกิจ : รายได้ ค่าครองชีพ เงินตรา ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ : ทาเลที่ตั้ง ทรัพยากร
10
สภาพแวดล้อมระดับประเทศ สภาพแวดล้อมของการแข่งขัน 1. 2. 3.
ภาวะตลาด ราคา และผลิตภัณฑ์ จานวนคู่แข่งภายในและต่างประเทศ สภาพการแข่งขันในแต่ละประเทศ
11
สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศ รูปแบบของการค้าระหว่างประเทศ นโยบายและการแทรกแซงในระบบการค้าระหว่าง ประเทศของรัฐบาล รูปแบบการลงทุนทางตรงต่างประเทศ นโยบายของประเทศแม่และประเทศเจ้าบ้าน
12
กระแสโลกาภิวัตน์ – โลกาภิวัตน์ของตลาด (Globalization of markets) – โลกาภิวัตน์ของผลิตภัณฑ์ (Globalization of goods) – โลกาภิวัตน์ของการผลิต (Globalization of production)
13
ปัจจัยสนับสนุนให้เกิดโลกาภิวตั น์ Political –การลดอุปสรรคทาง การค้าและการลงทุนระหว่าง ประเทศ
Technological –เทคโนโลยีที่ ทันสมัยมากขึ้น :
WTO FTA การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระห ดับภูมิภาค
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ติดต่อสื่อสาร (IICT) เทคโนโลยีด้านการคมนาคม ขนส่ง นาโนเทคโนโลยี
14
การดาเนินงานของธุรกิจระหว่างประเทศ
15
วัตถุประสงค์ของการดาเนินธุรกิจระหว่างประเทศ 1. การเพิ่มยอดขาย 2. การแสวงหาแหล่ง ทรัพยากร 3. การกระจายแหล่ง วัตถุดิบและตลาด 4. การลดความเสี่ยงใน การแข่งขัน
16
กลยุทธ์ในการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ • การขยายธุรกิจในเชิงรับ 1. คนกลางช่วยดาเนินการด้านการตลาดที่ธุรกิจยังขาดข้อมูล และไม่เห็นศักยภาพของตลาดต่างประเทศแห่งนั้น 2. ส่งออกหรือนาเข้าไปยังประเทศที่มีความต้องการ 3. มักจะเริ่มต้นจากจานวนที่จากัด 4. มักเริ่มจากประเทศใกล้เคียงที่คุ้นเคย
17
กลยุทธ์ในการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ • การขยายธุรกิจในเชิงรุก 1. จัดตั้งหน่วยงานภายในเพื่อทาการตลาดในต่างประเทศเอง 2. ลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ หรือสร้างฐานการผลิตใน ตลาดประเทศที่มีศักยภาพ 3. สามารถดาเนินการในหลายประเทศ หลายภูมิภาค 4. สามารถปรับตัวให้ดาเนินการในประเทศที่แตกต่างทาง วัฒนธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
18
รูปแบบและกิจกรรม รูปแบบการดาเนินงาน 1. การส่งออกและนาเข้าสินค้า 2. การส่งออกและนาเข้าบริการ 3. การลงทุนโดยตรง 4. การลงทุนในหลักทรัพย์ 5. ธุรกิจระหว่างประเทศรูปแบบอื่น
19
หน้าที่ 1. การผลิต 2. การตลาด 3. การเงินและการบัญชี 4. การจัดการทรัพยากรมนุษย์
20
แนวทางการดาเนินงานของธุรกิจระหว่าง ประเทศ 1. การดาเนินงานตามแนวทางของบริษัทแม่ทุกประการ (Ethnocentric Orientation) 2. การดาเนินงานแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ (Polycentric Orientation) 3. การดาเนินงานด้วยแนวกลยุทธ์สากล ผสานแนวทางของ บริษัทแม่กับกลวิธีแบบท้องถิ่น (Geocentric Orientation)
21
กรณีศึกษา • บริษัทบีเจซี อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด กลุ่มธุรกิจระหว่างประเทศและบริษัท บีเจซีอินเตอร์เนชั่นแนล จากัด ได้จัด ตั้งขึ้นในปี 2551 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดูแลและส่งเสริมธุรกิจการส่งออก และการลงทุนใหม่ๆ ของกลุ่มบริษัทในต่างประเทศ กลุ่มธุรกิจระหว่างประเทศ มีสานักงานใหญ่ในประเทศไทยและมีสานักงานสาขาในเวียดนาม มาเลเซีย และพม่า ซึ่งสานักงานสาขาในเวียดนามและพม่าได้มีกิจกรรมด้านการนาเข้า และส่งออกด้วย นอกจากนี้ในช่วงปีเดียวกันบริษัทยังได้ทาการซื้อกิจการของ เจซี ฟู้ดส์ เอสดีเอ็น บีเอชดี ประเทศมาเลเซียด้วย อนึ่งยังได้มีการจัดตั้ง บริษัท บีเจซี อินเตอร์เนชั่นแนล ฮ่องกง ขึ้นมาเพื่อผนวกการดาเนินการของ ธุรกิจต่างๆ ในต่างประเทศของกลุ่มบีเจซีเข้าไว้ด้วยกัน http://www.bjc.co.th/th/bjc-supply-chain/international-business-group/international.php
22
ความสาคัญของธุรกิจระหว่างประเทศ
23
ความสาคัญของธุรกิจระหว่างประเทศ ระดับมหภาค • เป็นกลไกช่วยให้ประชาชนในโลกมีสินค้าและบริการไว้ อุปโภคบริโภคอย่างเพียงพอ ตรงตามความต้องการ • ช่วยส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพการผลิตที่ดีขึ้น • เพิ่มทางเลือกให้กับผู้บริโภค ทาให้คุณภาพชีวิตของ ประชาชนดีขึ้น • ช่วยนารายได้เข้าสู่ประเทศทางหนึ่ง • ช่วยเพิ่มการจ้างงานให้กับประชาคมโลก • พัฒนาทักษะความรู้และมาตรฐานการทางาน
24
ระดับจุลภาค • เป็นประโยชน์ต่อหน่วยธุรกิจผู้ประกอบการ – – – – –
ยอดขายที่เพิ่มขึ้นด้วยขนาดตลาดที่ใหญ่ขึ้น รายได้และยอดขายของบริษัทผันผวนน้อยลง นวัตกรรมที่เพิ่มขึ้น การประหยัดอันเนื่องจากขนาด ความรู้ที่ได้รับจากคู่แข่งที่มาจากต่างประเทศ
25
การศึกษาแนวคิดทฤษฎีทางการค้าระหว่างประเทศ ช่วยอธิบาย ให้เราได้เห็นได้เข้าใจถึงปัจจัยที่ทาให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ รูปแบบ และความจาเป็นของธุรกิจระหว่างประเทศ การค้า และ การลงทุนระหว่างประเทศ
แนวคิดทฤษฎี
26
ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ • • • • • • • •
แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ ลัทธิพาณิชย์นิยม ทฤษฎีความได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ ทฤษฎีของเฮคเชอร์-โอห์ลิน ทฤษฎีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ทฤษฎีการค้าแบบใหม่ ความได้เปรียบทางด้านการแข่งขันของประเทศ 27
แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีการค้าระหว่าง ประเทศ • เหตุผลหลักที่ทาให้ประเทศต่างๆมีการค้าระหว่างประเทศ – แต่ละประเทศต่างต้องมีการพึ่งพาซึ่งกันและกัน ไม่มีประเทศไหนที่ จะมีปัจจัยการผลิตครบถ้วน – แต่ละประเทศมีความสามารถในการผลิตแตกต่างกันไป ประเทศที่ ผลิตได้ไม่เก่งเท่าอีกประเทศหนึ่งก็จาเป็นต้องนาเข้าสินค้าหรือ บริการจากอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งดีกว่าจะต้องทาเองในสิ่งที่ตนไม่ถนัด – การแบ่งงานกันทาระหว่างประเทศ ทาให้การใช้ทรัพยากรเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด อันจะทาให้เกิดผลประโยชน์ ร่วมกัน 28
ลัทธิพาณิชย์นิยม • ลัทธิพาณิชย์นิยม (Mercantilism) มีต้นกาเนิดจากประเทศ อังกฤษในช่วงของการล่าอาณานิคมกลางศตวรรษที่ 16 • มีความเชื่อว่า – โลหะทองคาและเงินเป็นสิ่งที่มีค่าและเป็นสิ่งซึ่งแสดงถึง ความมั่งคั่งของประเทศ – ประเทศควรจะมีดุลการค้าเกินดุล – รัฐบาลเน้นส่งเสริมการส่งออก กีดกันการนาเข้า
29
ทฤษฎีความได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ (Absolute Advantage Theory) • แนวคิดจากการแบ่งงานกันทา (Division of labor) โดยอาดัม สมิธ (Adam Smith) – อธิบายการค้าระหว่างประเทศว่า “ถ้าประเทศอื่นสามารถที่จะ จัดหาสินค้าได้ในราคาที่ถูกกว่าที่ประเทศเราผลิตเองแล้ว ทาง ที่ดีที่สุดคือการสั่งซื้อสินค้านั้นจากประเทศอื่น โดยนาสินค้า ของเราไปแลก”
30
ประเทศแต่ละประเทศจะผลิตสินค้าตามที่ตนถนัดและนา สินค้านั้นไปแลกกับสินค้าที่ตนผลิตไม่ได้หรือผลิตได้ใน ราคาที่สูงกว่า แหล่งของความได้เปรียบอย่างสมบูรณ์ เกิดจาก ความ ได้เปรียบโดยธรรมชาติ เช่นความอุดมสมบูรณ์ของภูมิ ประเทศ และความได้เปรียบที่ต้องสร้างขึ้นมา เช่น เทคโนโลยี ทักษะความชานาญที่เหนือกว่าประเทศอื่นๆ
31
ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative Advantage Theory) • เดวิด ริคาร์โด (David Ricardo) ได้พัฒนาต่อยอดทฤษฎีของ อาดัม สมิธ – การค้าระหว่างประเทศเกิดจากการที่แต่ละประเทศมีต้นทุน โดยเปรียบเทียบแตกต่างกัน – หลักของทฤษฎี “ประเทศหนึ่งๆไม่ควรที่จะผลิตสินค้าทุกชนิด ที่ตนผลิตได้ดีกว่าประเทศอื่น แต่ควรจะผลิตสินค้าที่ตนผลิตได้ ดีที่สุด ส่าหรับประเทศที่มีความสามารถในการผลิตต่่า ก็ไม่ ควรที่จ่าหยุดผลิตสินค้าทุกชนิดแต่ควรหยุดผลิตสิ่งที่ตนมี ความสามารถในการผลิตต่่าสุด”
32
ทฤษฎีของเฮคเชอร์-โอห์ลิน (Hecksher-Ohlin Theory) • ประเทศหนึ่งๆ จะส่งออกสินค้าที่ทาจากปัจจัยการผลิตที่ ประเทศตนมีอย่างอุดมสมบูรณ์และจะนาเข้าสินค้าที่ทามา จากปัจจัยการผลิตที่ประเทศตนค่อนข้างขาดแคลน ปัจจัยการผลิตหมายถึง ทรัพยากร แรงงาน และทุน ความแตกต่างในปัจจัยการผลิตก่อให้เกิดความแตกต่างในต้นทุน การผลิต ดังนั้น ประเทศไหนมีปัจจัยการผลิตชนิดนั้นมากก็จะทา ให้ต้นทุนถูกลง แต่ทฤษฎีนี้มีข้อโต้แย้งของ Leontif paradox 33
ทฤษฎีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ (Product life cycle Theory) • เรย์มอนด์ เวอร์นอน (Reymond Vernon) ได้คิดค้นทฤษฎีนี้ในปี 1966 • “แหล่งผลิตและขายผลิตภัณฑ์หนึ่งๆจะเปลี่ยนไปเมื่อผลิตภัณฑ์ นั้นๆเข้าสู่วงจรชีวิตที่อิ่มตัวหรือเติบโตขึ้นเรื่อยๆ” • วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์แบ่งออกได้เป็น 4 ขั้น
34
• วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ 1. ขั้นแนะนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New product stage)
ธุรกิจที่เป็นผู้บุกเบิกหรือริเริ่มผลิตสินค้าใหม่ๆ และตลาดจะอยู่ใน ประเทศที่พัฒนาแล้ว 2. ขั้นผลิตภัณฑ์ก้าวเข้าสู่ช่วงเจริญเติบโต (Growth product stage) พัฒนาแล้วอื่นๆก็เริ่มมีการผลิตสินค้าขึ้นเองภายในประเทศ แต่ก็ยังไม่ เพียงพอกับการบริโภคภายในประเทศ จึงต้องมีการนาเข้า 3. ขั้นผลิตภัณฑ์เติบโตเต็มที่ (Maturing product stage) บางประเทศที่เคยเป็นลูกค้าสามารถที่จะผลิตขึน ้ ได้เองภายในประเทศแล้ว และยังนา ส่วนเกินที่ผลิตได้สง่ ออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศรวมทั้งประเทศพัฒนาแล้วอีก ด้วย
4. ขั้นผลิตภัณฑ์ได้มาตรฐาน (Standardized product stage) การผลิตได้มาตรฐาน เทคโนโลยีที่ผู้ผลิตต่างๆนามาใช้ค่อนข้างอยูใ่ นระดับเดียวกัน ความได้เปรียบทางด้านเทคโนโลยีจึงลดน้อยลงมาก การแข่งขันจะรุนแรงมาก หา 35 แหล่งผลิตต้นทุนต่า
ความได้เปรียบทางด้านการแข่งขันของ ประเทศ (Competitive Advantage of Nations) •
Michael E. Porter พิจารณาความได้เปรียบในการแข่งขัน ของประเทศเป็นหลัก ประกอบด้วย 1. ปัจจัยการผลิต (Factor endowments) 2. เงื่อนไขทางด้านอุปสงค์ (Demand conditions) 3. อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องและสนับสนุน (Relating and supporting industries) 4. กลยุทธ์ของกิจการ โครงสร้าง และคู่แข่งขัน (Firm strategy, structure, and rivalry) 36
ทฤษฎีการค้าแบบใหม่ (New Trade Theory) • ประเทศสามารถเลือกที่จะผลิตและขายสินค้าที่ตนเห็นว่ามี ความได้เปรียบจาก 1. 2.
3. 4.
ความได้เปรียบที่เกิดขึ้นจากการประหยัดอันเนื่องจากขนาด (Economic of scale) ผู้ที่เข้ามาในตลาดได้ก่อน (First movers) ซึ่งเป็นผู้ที่สามารถ สร้างความได้เปรียบก่อนใคร และยากที่ผู้ที่เข้ามาทีหลังจะ ช่วงชิงตาแหน่งไปได้ ความได้เปรียบจากการเป็นเจ้าของ (Ownership Advantage Theory) ทฤษฎีการลงทุนด้วยตนเอง (Internationalization Theory) 37
บรรณานุกรม • กตัญญู หิรัญญสมบูรณ์. การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ, พิมพ์ ครั้งที่ 10. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง, 2554. •
http://www.bjc.co.th/th/bjc-supply-chain/international-business-group/international.php
38