การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ • International Business Management 1
วิธีการเข้าสู่ตลาดระหว่างประเทศ
กลยุทธ์การค้า ระหว่างประเทศ
กลยุทธ์การ ลงทุนระหว่าง ประเทศ
การทาสัญญา / การให้สิทธิ
วิธีการเข้าสู่ตลาดระหว่างประเทศ วิธีการเข้าตลาดด้วยการไม่ใช้เงินลงทุน (ไม่มีกิจการในต่างประเทศ) • การค้าระหว่างประเทศ การส่งออก (Export) /การนาเข้า (Import)
วิธีการเข้าตลาดด้วยการใช้เงินลงทุน (เปิดกิจการในต่างประเทศ) • การลงทุนโดยตรงระหว่างประเทศ (FDI) การลงทุนเปิดสาขา (Wholly owned Subsidiary)
การค้าต่างตอบแทน (Counter Trade)
• การให้สิทธิ / การทาสัญญา
การร่วมค้า (Joint Venture) การควบรวมและซื้อกิจการ (Merge & Acquisition)
การให้อนุญาต (Licensing) การให้สิทธิทางการค้า (Franchising) การผลิตตามสัญญา (Contract Manufacturing) การทาสัญญาการจัดการ (Management Contract) การจัดการแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey Operations)
• การลงทุนในหลักทรัพย์ระหว่าง ประเทศ (Foreign Portfolio Investment) การเป็นพันธมิตรทางธุรกิจ (Strategic Alliance)
การลดลงของอุปสรรคทางการค้าและการ ลงทุนระหว่างประเทศ • Average Tariff Rates on Manufactured Products as Percent of Value •
การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการผลิตและ การค้าโลก • The Changing Demographics of World GDP and Trade
How Has Foreign Direct Investment Changed? • Percentage Share of Total FDI Stock 1980-2007
What Is The Source Of FDI? • Cumulative FDI Outflows 1998-2010 ($ billions)
•
How Has Foreign Direct Investment Changed? – FDI Inflows 1988-2008 –
กลยุทธ์การเข้าสู่ธุรกิจระหว่างประเทศ : กลยุทธ์การค้าระหว่างประเทศ
กลยุทธ์การค้าระหว่างประเทศ
กลยุทธ์การค้าระหว่างประเทศ
กลยุทธ์การส่งออก กลยุทธ์การนาเข้า
กลยุทธ์การค้าต่างตอบแทน วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
11
กลยุทธ์การส่งออก • เริ่มแรกของการเข้าสู่ตลาดต่างประเทศ • ไม่มั่นใจพอในอุปสงค์ของตลาดต่างประเทศ • ประเทศคู่ค้าไม่มีเสถียรภาพพอต่อการเข้าไปลงทุน
วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
12
ปัจจัยที่ใช้พิจารณาเลือกแนวทาง ดาเนินงานการส่งออก • โอกาสทางการตลาดในต่างประเทศ (Location Advantage) • เป็นแหล่งที่สามารถสร้างรายได้และผลกาไรให้แก่ผู้ประกอบการ • ความพร้อมในการดาเนินการของผู้ประกอบการ (Ownership Advantage) • ด้านเงินทุน บุคลากร ภูมิปัญญา ปัจจัยการผลิตต่างๆ เทคโนโลยี ตรายี่ห้อ • ความได้เปรียบของการเป็นผู้ผลิตเอง (Internationalization Advantage) • ฐานการผลิตในประเทศ เพื่อการส่งออก ประโยชน์จากการ ประหยัดจากขนาดการผลิต ระบายสินค้าสู่ต่างประเทศ
กรณีศึกษา เถ้าแก่น้อย เปิดตานาน อาณาจักรสาหร่ายสายพันธุ์ไทย เมื่อเอ่ยถึงสาหร่ายญี่ปุ่นทอดกรอบ ภายใต้ชื่อ "เถ้า แก่น้อย" เชื่อว่าในแวดวง SME และ สาวกสแน็คไทย คงรู้จักกันดี หาก ย้อนไปเมื่อ 2 ปีก่อนได้เกิดปรากฎการณ์ที่ไม่ธรรมดากับยอดการส่งออก สาหร่ายญี่ปุ่นทอดกรอบ "เถ้าแก่น้อย" ที่พุ่งกระจายไปทั่วภูมิภาคเอเชีย ช่วงชิงเค้กก้อนใหญ่ของตลาดสแน็คสูงถึง 70% ส่งผงให้ "เถ้าแก่น้อย" แบ รนด์ไทย ขึ้นแท่นเบอร์หนึ่งของสาหร่ายไปโดยปริยาย นับเป็นความสาเร็จ และความภาดภูมิใจของ "อิทธิพัทธื กุลพงษ์วณิชย์" กลายเป็นธุรกิจสแน็ค ไทยที่ส่งออก 10 ประเทศ หลังจากเปิดตัวผลิตภัณฑ์ เพียงแค่ 9 เดือน เศษเท่านั้น
สร้างเครือข่าย สยายปีกส่งออก หลังจากเปิดตัวผลิตภัณฑ์ “เถ้าแก่น้อย” ในประเทศไทยได้ไม่นาน ก็มีเทรดเดอร์ ต่างชาติจานวนไม่นอ้ ยสนใจผลิตภัณฑ์ อิทธิพัทธ์จึงเริ่มต้นศึกษาข้อมูลการทาตลาดด้าน การส่งออกอย่างจริงจัง โดยหาข้อมูลคู่ค้าคนสาคัญของไทยจากกรมส่งเสริมการส่งออก และประเทศแรกทีเ่ ขาเล็งไว้นน ั่ คือ สิงคโปร์ เนื่องจากมีจุดเด่นอยู่ทกี่ ารเป็นเกาะขนาด เล็ก ไม่มีความซับซ้อนในการจาหน่าย และสามารถเข้าถึงตลาดระดับแมสได้เป็นอย่างดี ที่สาคัญคือมีกาลังการผลิตที่พอดี “ประสบการณ์ที่ผมเคยเจรจากับตัวแทนจาหน่ายในเมืองไทยมีความซับซ้อนมาก ทาให้ผมมุ่งไปทีโ่ มเดิร์นเทรด เพราะการใช้ชีวิตของคนสิงคโปร์ราว 4 – 5 ล้านคนเป็น อย่างนั้น นี่คือช่องทางทีแ ่ มสทีส่ ุด ที่สิงคโปร์ผมอาจจะทาวอลุ่มในการสั่งซื้อไม่ได้ แต่ผม ได้มาร์จินจากกาลังซื้อของผู้บริโภคที่นน ั่ เพราะการทาตลาดสิงคโปร์ที่เดียวบางครั้งอาจ มีมูลค่าตลาดสูงกว่าประเทศที่มีขนาดใหญ่บางประเทศในภูมิภาคนี้ด้วยซ้า” หลังจากปักธงในเมืองลอดช่องสาเร็จ ก็มีประเทศอื่นๆ ทยอยตามมา ได้แก่ มาเลเซีย ไต้หวัน ฮ่องกง อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม https://sites.google.com/site/itmakebymyseft/in-a-classroom/wicha-klyuthth/krni-suksa-theakae-nxy
ขั้นตอนของการส่งออกและการสร้างแผน กลยุทธ์การส่งออก • การวัดศักยภาพการส่งออกของธุรกิจ • ผู้ส่งออกสามารถเรียนรู้และรับคาแนะนาปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ ด้านการส่งออก • การเลือกสินค้าและการผลิต • การเลือกตลาดเป้าหมายต่างประเทศ • การสร้างกลยุทธ์การส่งออก • การเจรจาต่อรองและทาสัญญาซื้อขายกับคู่ค้า • การตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการชาระเงินและการขนส่ง • การปฏิบัติตามพิธีการศุลกากรขาออก 16
ผู้ดาเนินงานการส่งออก • คนกลางในการส่งออก • การส่งออกโดยตรง – ตัวแทนจาหน่าย – ผู้กระจายสินค้า – การขายตรงให้แก่ผู้ใช้
วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
17
•
การส่งออกทางอ้อม 1. ตัวแทนที่รับค่าคอมมิชชั่น 2. บริษัทจัดการการส่งออก 3. บริษัทการค้าเพื่อส่งออก 4. การส่งออกแบบรวมกันไปกับผู้อื่น วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
18
ขั้นตอนดาเนินงาน • • • • • •
การเลือกผู้ขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ การเลือกเส้นทางการขนส่งที่สะดวกและเหมาะสม การติดต่อขอทาเล็ตเตอร์ออฟเครดิต การขอใบอนุญาตส่งออก การเตรียมเอกสารที่จาเป็นต่อการขนส่ง การบรรจุหีบห่อและติดฉลากสินค้า
เอกสารสาคัญสาหรับการส่งออก
เอกสารสาคัญสาหรับการส่งออก 1.ใบอนุญาตส่งออก
4. เอกสารศุลกากร
2. ใบกากับสินค้า
5. ใบแสดงแหล่ง กาเนิดสินค้า
3. ใบตราส่งสินค้า
6. ใบแสดงรายการบรรจุ เพื่อการส่งออก วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
21
การจัดการการเงินของการส่งออกการ จัดการการเงินของการส่งออก • การตั้งราคาสินค้า • วิธีการชาระเงิน – 2.1 – 2.2 – 2.3 – 2.4
การรับชาระเงินสดล่วงหน้า การใช้เล็ตเตอร์ออฟเครดิต การรับชาระเงินตามเอกสาร การเปิดบัญชีระหว่างผู้ส่งออกและผู้นาเข้า
• การบริหารเงินทุนหมุนเวียนและเครดิต • - สินเชื่อเพื่อการส่งออก • - การขายลดตั๋วเงิน วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
22
หน่วยงานส่งเสริมการส่งออก • ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (EXIM Bank) • เขตพื้นที่การค้าระหว่างประเทศ (Foreign Trade Zone) • กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (Department of International Trade)
กลยุทธ์การนาเข้า • การดาเนินธุรกิจการนาเข้าต้องคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ • กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน • กลยุทธ์การดาเนินงานในระยะยาว
วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
24
รายชื่อผู้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้นาเข้า หอมแดง ปี พ.ศ. 2557 ลาดับ
ชื่อนิติบุคคล
เลขทะเบียน
หนังสือ พณ.
ลงวันที่
1 บริษัท ชังเฮง แคร์ลิ่ง จากัด
070399140002
พณ.0308/3657
19 ธค.56
2 บริษัท รุ่งเรือง แอกริ ฟู้ด จากัด
070399140003
พณ.0308/3658
19 ธค.56
3 บริษัท ไทย อินเตอร์ แอกริ พลัส จากัด
070399140004
พณ.0308/3659
19 ธค.56
4 บริษัท แอล.เค.อิมปอร์ต เอ็กซ์ปอร์ต จากัด
070399140005
พณ.0308/3661
19 ธค.56
5 บริษัท คนเหนือ จากัด บริษัท วาไรตี้อินเตอร์เนชั่นแนลโปรดัคท็ 6 จากัด 7 ห้างหุ้นส่วนจากัด ไอ.เอ็น.ที เจิรญรัถ
070399140006
พณ.0308/3660
19 ธค.56
070399140008
พณ.0308/3662
19 ธค.56
070399140010
พณ.0308/666
13 มีค.57
8 บริษัท จีเอ็ม โปรดักส์ จากัด
070399140011
พณ.0308/1726
4 กค.57
9 บริษัท หลงเซิ่ง เทรดดิ้ง จากัด
070399140012
พณ.0308/1750
7 กค.57 สานักบริการการค้า ต่างประเทศ กรมการค้า ต่างประเทศ ณ 12 สิงหาคม 2557
ขั้นตอนการนาเข้าสินค้า • • • • •
สั่งซื้อสินค้าและนาสินค้าเข้ามาด้วยวิธีการขนส่งต่างๆ นาสินค้าผ่านการตรวจของศุลกากร ชาระเงินแก่ผู้ขายหรือผู้ส่งออก เก็บรักษาสินค้าให้อยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์ ขายสินค้าและเรียกเก็บเงินจากลูกค้า
วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
27
วิธีการนาเข้าที่เสียภาษีศุลกากรในอัตราต่า • เลือกนาเข้าสินค้า ประเภทสินค้า / ประเทศผู้ขาย • เลือกนาเข้าสินค้าให้อยู่ในหมวดหมู่ของสินค้าทีต่ ้องเสียภาษีนอ้ ยกว่า • เลือกนาเข้าสินค้าจากประเทศทีม ่ ีข้อตกลงในการลดภาษีศุลกากร
• ชะลอการจ่ายภาษี • แจงแหล่งกาเนิดสินค้าให้ชัดเจน
วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
28
กลยุทธ์การค้าต่างตอบแทน • • • • •
ประเภทของการค้าต่างตอบแทน 1. การแลกกันซื้อ (Counterpurchase) 2. การซื้อคืน (Buyback) 3. การแลกแบบหักบัญชีกัน 4. การชดเชย (Offset) – 4.1 การชดเชยโดยตรง ได้แก่ การร่วมมือกันผลิต การรับสัญญาช่วง โดยตรง การยินยอมให้สิทธิ การโอนถ่ายเทคโนโลยี และ การลงทุนใน กิจการที่พิทักษ์ป้องกันไว้ – 4.2 การชดเชยทางอ้อม ได้แก่ การจัดหา การลงทุน การค้าสินค้า และ โครงการ...
• 5. การสวอปมูลหนี้ (Debt วิชา การจัดSwap) การธุรกิจระหว่างประเทศ
29
การสวอปมูลหนี้ (Dept Swap) • • • • •
การสวอปหนี้เพื่อชดใช้หนี้ การสวอปหนี้เพื่อแลกกับความเป็นเจ้าของ การสวอปหนี้เพื่อแลกกับสินค้า การสวอปหนี้เพื่อแลกกับทรัพยากร การสวอปหนี้เพื่อแลกกับการศึกษา
Dr.Wannarat Wattananimitkul
สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ
30
กลยุทธ์การเข้าสู่ธุรกิจระหว่างประเทศ : กลยุทธ์การลงทุนระหว่างประเทศ
กลยุทธ์การลงทุนระหว่างประเทศ
การลงทุนในต่างประเทศ • การลงทุนโดยตรง (Foreign Direct Investment หรือ FDI) • การลงทุนในตลาดทุน (Port folio Investment)
การลงทุนโดยตรงระหว่างประเทศ • การที่บริษัทแม่ลงทุนทั้งหมด (Wholly Owned Subsidiaries ) / เปิดสาขา – เป็นการเปิดโรงงานผลิตของตัวเองหรือการจัดตั้งบริษัทลูกที่ บริษัทเป็นเจ้าของทั้งหมด
• การร่วมลงทุนกับกิจการอื่น (Joint Venture) – เป็นการร่วมมือตั้งแต่ 2 กิจการขึ้นไปสร้างธุรกิจใหม่ใน ต่างประเทศ
•
การลงทุนโดยบริษัทแม่ทั้งหมด (Wholly Own) • การที่กิจการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศด้วยเงินทุน ของตนเอง • ในอดีตประเทศต่างๆ มีกฎหมายที่จะปกป้องธุรกิจของตน จึงมักมีกฎหมายที่ห้ามไม่ให้ชาวต่างชาติถือหุ้นเกิน 49 เปอร์เซ็นต์ แต่เมื่อกระแสการเปลี่ยนแปลงในเรื่อง เศรษฐกิจโลกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆทาให้การปกป้องธุรกิจ ภายในประเทศลดน้อยลง
ข้อดีของการลงทุนโดยบริษท ั แม่ทั้งหมด • ความคล่องตัวในการตัดสินใจมาก และการถ่ายทอด เทคโนโลยีและวัฒนธรรมองค์การก็เป็นไปได้อย่าง รวดเร็ว • กลไกทางการบริหารทั้งหมดสามารถกาหนดได้โดย สานักงานใหญ่ ทาให้การประสานงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ
• การเลือกเข้าไปลงทุนในประเทศกาลังพัฒนา เนื่องจาก ค่าแรงถูกทาให้ลดต้นทุนการผลิตได้มาก • การไปลงทุนในประเทศที่พัฒนาแล้วมีค่าแรงสูง มี เหตุผลจากการเข้าใกล้แหล่งตลาดและแหล่งเทคโนโลยี
ลักษณะของการเข้าไปลงทุน – การซื้อกิจการในต่างประเทศ (Acquisition) – การจัดตั้งบริษัทลูกที่บริษัทเป็นเจ้าของทั้งหมดด้วยการจัดตั้ง การดาเนินงานตั้งแต่แรก (Greenfield Operation)
การร่วมลงทุน (Joint Venture) • ข้อตกลงตามสัญญาที่บริษัทตั้งแต่ 2 บริษัทขึ้นไปเข้ามา ร่วมกันสร้างบริษัทใหม่ แยกเป็นอิสระจากบริษัทแม่ (Parent) บริษัทลูกที่สร้างขึ้นมาใหม่อาจมีบริษัทแม่เป็นผู้ ถือหุ้น • การร่วมลงทุนระหว่างประเทศ หมายถึงการเข้าไป ดาเนินการในตลาดต่างประเทศโดยการจัดตั้งหรือทา สัญญาร่วมกับบริษัทต่างประเทศ เหมาะกับการเข้าตลาด หรือประเทศที่มีความแตกต่างทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สภาพแวดล้อมทางการตลาดที่แตกต่างไปจาก บริษัทดาเนินอยู่ หรือบริษัทมีเงินทุนไม่เพียงพอ
รูปแบบของการร่วมลงทุน – การลงทุนร่วมกันระหว่างธุรกิจข้ามชาติ – ธุรกิจข้ามชาติกับธุรกิจท้องถิ่น – รัฐบาลกับธุรกิจข้ามชาติ
ตัวอย่าง • - Coca-Cola ร่วมลงทุนกับ Nestle เพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มสาเร็จรูป ชาและกาแฟในประเทศ ญี่ปุ่น • - Whirlpool ร่วมลงทุนกับ Philips ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าใน ตลาดยุโรป • - P&G ร่วมลงทุนกับ Italian archrival Fater ผลิต ผ้าอ้อมสาหรับเด็กในตลาดสหราชอาณาจักร และอิตาลี • - Unilever ร่วมลงทุนกับ Sumstar ผลิตไอศกรีมขายใน ตลาดสาธารณรัฐประชาชนจีน • - Fuji ร่วมลงทุนกับ Xerox
วัตถุประสงค์ในการลงทุนระหว่างประเทศ • • • • •
วัตถุประสงค์ในการขยายตลาด การจากัดทางการค้า ผลกระทบของประเทศแหล่งผลิต การสร้างภาพพจน์ของสินค้า การปรับสินค้าให้เหมาะสมกับความต้องการในแต่ละ ตลาด • การลดความเสี่ยงจากการส่งมอบ วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
42
วัตถุประสงค์ในการลงทุนระหว่างประเทศ (ต่อ) • • • • • • • •
วัตถุประสงค์ในการลดต้นทุนการผลิต การลดต้นทุนการขนส่ง การแก้ปัญหาด้านแรงงาน การเปลี่ยนแปลงในต้นทุนเปรียบเทียบ การส่งเสริมการลงทุนจากรัฐบาล วัตถุประสงค์ในการหาทรัพยากรการผลิต การขยายกิจการในแนวตั้ง การเข้าครอบครองปัจจัยการผลิต วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
43
วัตถุประสงค์ในการลงทุนระหว่างประเทศ (ต่อ) • • • • • • •
วัตถุประสงค์ในการลดความเสี่ยงในการดาเนินงาน การหาลูกค้าได้หลากหลาย การหาแหล่งทรัพยากรได้หลากหลาย การผลิตตามหลักเกณฑ์ของเหตุผล การติดตามลูกค้าไปต่างประเทศ การป้องกันประโยชน์ที่จะเกิดแก่คแ ู่ ข่งขันเพียงฝ่ายเดียว วัตถุประสงค์ในการสร้างอิทธิพลทางการเมือง – การควบคุมแหล่งวัตถุดิบในต่างประเทศ – รักษาสภาวะทางการค้ าและการลงทุ วิชา การจั ดการธุรกิจระหว่างประเทศ น
44
ประเภทของการลงทุนระหว่างประเทศ โดยตรง • การลงทุนระหว่างประเทศในแนวนอน • การลงุทนระหว่างประเทศในแนวตั้ง – 2.1 การลงทุนระหว่างประเทศในอุตสาหกรรมผลิตปัจจัยการ ผลิต – 2.2 การลงทุนระหว่างประเทศทางด้านการจัดจาหน่าย
วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
45
กระบวนการในการตัดสินใจเลือกประเทศที่ จะไปลงทุน • การสารวจทางเลือก • ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเลือกประเทศ – ตัวแปรประเภทโอกาส – ขนาดของตลาด – ความกลมกลืนปรับเข้าหากันได้ของการบริหารงาน – นโยบายของรัฐที่เอื้อต่อการลงทุน – ต้นทุนและการมีทรัพยากรการผลิตเพียงพอ – ตัวแปรประเภทความเสี่ยง – ความเสี่ยงด้านผลตอบแทน – ความเสี่ยงทางการแข่งขัน
• การทาวิจัยทางธุรกิจ • การใช้เครื่องมือในการเปรียบเทียบประเทศ – การสารวจสภาพแวดล้อม – ตารางกริดส์ – ระดับเงินลงทุน ต้นทุน ขนาดของตลาด ส่วน แบ่งตลาด ความเสี่ยง – แมททริกส์แสดงโอกาสและความเสี่ยง – แมททริกส์แสดงความดึงดูดใจของประเทศ
ตารางช่วยในการตัดสินใจเลือกวิธีการเข้าสู่ตลาดต่างประเทศ (Matrix for comparing alternative methods of market entry) http://www.fao.org/docrep/W5973E/w5973e0b.htm#entry strategies
Evaluation criteria
a) Company goals b) Size of company c) Resources d) Product e) Remittance f) Competition g) Middlemen characteristics h) Environmental characteristics i) Number of markets j) Market k) Market feedback l) International market learning m) Control n) Marketing costs o) Profits p) Investment q) Administration personnel r) Foreign problems s) Flexibility t) Risk
Indirect export
Direct export
Marketing subsidiary
Entry mode Counter trade Licensing
Joint venture Wholly owned operation
EPZ
• • • • •
การลงทุนในหลายประเทศ / การลงทุนใน ประเทศเดียว (Diversification vs. Concentration)
อัตราการเจริญเติบโตของตลาด ความสม่าเสมอของยอดขาย ช่วงเวลารอคอยก่อนที่จะประสบความสาเร็จ ผลกระทบในวงกว้าง (Spillover Effect) ความต้องการการดัดแปลง ปรับเปลี่ยน ตัวสินค้า การ สื่อสาร การจัดจาหน่าย • ความต้องการควบคุมการดาเนินงาน • ข้อจากัดที่มีอยู่
ผลกระทบของการลงทุนระหว่างประเทศ : ประเทศผู้รับทุน • • • • •
ด้านประเทศที่เข้าไปลงทุน การได้รับเงินทุน เทคโนโลยีและระบบการบริหารงาน การว่าจ้างแรงงาน การได้เปรียบดุลการชาระเงินของประเทศ การกระตุ้นให้เกิดการแข่งขันเพื่อการเจริญเติบโตของ เศรษฐกิจ • ผลเสียที่เกิดขึ้น.............. • การเกิดการแข่งขันอย่างไม่เป็นธรรม • การขาดดุลการชาระเงินของประเทศ วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
51
ผลกระทบของการลงทุนระหว่างประเทศ : ประเทศแม่ • • • • • • • •
ด้านประเทศแม่ของธุรกิจข้ามชาติ การได้เปรียบดุลการชาระเงินของประเทศแม่ การว่าจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น การเรียนรู้ที่จะดาเนินธุรกิจในตลาดต่างประเทศ ผลเสียที่เกิดขึ้น................ การเสียเปรียบดุลการชาระเงินในยอดบัญขีทุน การเสียเปรียบดุลบัญขีเดินสะพัด การว่าจ้างแรงงานลดน้อยลง วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
52
นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการลงทุน ระหว่างประเทศ • นโยบายของรัฐบาลประเทศแม่ (ผู้ที่เข้าไปลงทุนใน ประเทศอื่น) • นโยบายการส่งเสริมการลงทุนระหว่างประเทศ • การบังคับจากัดการลงทุนระหว่างประเทศ • นโยบายของรัฐบาลประเทศที่เข้าไปลงทุน • นโยบายการส่งเสริมการลงทุนระหว่างประเทศ • การบังคับจากัดการลงทุนระหว่างประเทศ วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ
53
การลงทุนในหลักทรัพย์ระหว่างประเทศ (International Portfolio Investment) • การซื้อหุ้นของบริษัทในต่างประเทศ • การซื้อพันธบัตรที่ออกโดยรัฐบาลต่างประเทศ • การได้มาซึง่ ทรัพย์สินต่างประเทศ • การลงทุนในหลักทรัพย์ระหว่างประเทศ คือ การที่ธุรกิจ หรือรัฐบาลของประเทศใดประเทศหนึ่งมีการเคลื่อนย้าย เงินทุน เพื่อนาไปลงทุนในหลักทรัพย์หรือสินทรัพย์ทาง การเงินในตลาดการเงินนอกประเทศของตน เช่น หุ้น สามัญ หุ้นบุริมสิทธิ หุ้นกู้ ตั๋วเงินคลัง พันธบัตรรัฐบาล เป็นต้น การลงทุนในลักษณะนี้ผู้ลงทุนไม่มีอานาจในการ
ตลาดหลักทรัพย์ระหว่างประเทศทั่วโลกมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ทั้งประเภท ตราสารทุน (Equity Instrument) และตราสารหนี้ (Debt Instrument)
แหล่งข้อมูล: World Federation of Exchange
• แสดงการขยายตัวของมูลค่าหลักทรัพย์ ตามราคาตลาด (Market Capitalization) ในประเภทตราสารทุนในภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ อเมริกา เอเชียแปรซิฟิก ยุโรป แอฟริกา และตะวันออกกลาง • ทวีปอเมริกานับเป็นตลาดทุนที่มี ความก้าวหน้าและเป็นตลาดทุนที่มขี นาด ใหญ่กว่าภูมิภาคอื่น • ตลาดทุนทัว่ โลกมีการขยายตัวอย่าง ต่อเนื่องและมาปรับตัวลดลงใน ค.ศ. 2008 จากวิกฤตการเงินในสหรัฐฯ และ ค่อยๆฟื้นตัวขึ้นในอีก 2 ปีต่อมา
และ http://www.stou.ac.th/Schools/Sec/Services/e-Learning3/02-01.html
ตลาดหลักทรัพย์ระหว่างประเทศทั่วโลกมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ทั้งประเภท ตราสารทุน (Equity Instrument) และตราสารหนี้ (Debt Instrument) • ตลาดตราสารหนี้ของโลกซึ่งแสดง โดยมูลค่าพันธบัตรที่จดทะเบียนใน ตลาดระหว่างประเทศในภูมิภาค ต่างๆ มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง • ยุโรปค่อนข้างมีความโดดเด่น เนื่องจากเป็นตลาดตราสารหนี้ ขนาดใหญ่และมีความสาคัญของ แหล่งข้อมูล: World Federation of Exchange โลก
ปัจจัยในการพิจารณาลงทุนในหลักทรัพย์ ระหว่างประเทศ • • • • • • • • •
อัตราผลตอบแทน หรือดอกเบี้ย อัตราภาษีของผลตอบแทน สกุลเงิน อัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยง ระยะเวลาในการลงทุน ระยะเวลาในการจ่ายผลตอบแทน สภาพคล่อง เงื่อนไขในการไถ่ถอน ผู้ออกตราสาร
ประเทศ
ชื่อตลาด
หลักทรัพย์ เอเชียแปซิฟิก ญี่ปุ่น
Tokyo Stock Exchange Osaka Securities Exchange Hong Kong Exchanges and
สกุลเงิน เวลา (ตามประเทศไทย)
JPY
7:00-13:00 7:00-13:10
ฮ่องกง/ จีน (H-share) Clearing Ltd. Singapore Exchange Ltd. สิงคโปร์ Korea Stock Exchange เกาหลี Australian Stock Exchange ออสเตรเลีย Taiwan Stock Exchange ไต้หวัน
SGD
8:30-15:00
SGD KRW AUD TWD
8:00-16:00 7:00-13:00 7:00-13:00 8:00-12:30
จีน (B-Share)
Shanghai Stock Exchange Shenzhen Stock Exchange
USD HKD
8:00-14:00
มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ลาว
Bursa Malaysia Philippine Stock Exchange Indonesia Stock Exchange Lao Securities Exchange
MYR PHP IDR LAK
8:00-16:00 8:30-11:00 9:30-16:00 8:30-11:30
ประเทศ
ชื่อตลาดหลักทรัพย์
ยุโรป สหราชอาณาจักร* London Stock Exchange ฝรั่งเศส* Euronext Paris เบลเยี่ยม* Euronext Brussels เนเธอร์แลนด์* Euronext Amsterdam โปรตุเกส* Euronext Lisbon Frankfurt /Xetra Stock เยอรมัน* Exchange ทวีปอเมริกาเหนือ American Stock Exchange สหรัฐอเมริก NASDAQ า* New York Stock Exchange NYSE Arca แคนาดา* Toronto Stock Exchange
สกุล เงิน
เวลา (ตามประเทศ ไทย)
GBP EUR EUR EUR EUR
14:00-22:30 14:00-22:30 14:00-22:30 14:00-22:30 14:00-22:30
EUR
14:00-22:30
USD
21:30-4:00
CAD
21:30-4:00
กลยุทธ์การเข้าสู่ธุรกิจระหว่างประเทศ : การให้สิทธิ / การทาสัญญา
การให้สิทธิ / การทาสัญญา การให้อนุญาต (Licensing) การให้สิทธิทางการค้า (Franchising) การผลิตตามสัญญา (Contract Manufacturing) การทาสัญญาการจัดการ (Management Contract)
การจัดการแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey Operations)
การให้อนุญาต (Licensing) • การที่ผู้ให้ใช้สิทธิ/์ เจ้าของสิทธิ์ (Licensor) ยินยอมให้ ผู้รับสิทธ์ (Licensee) ที่อยู่ในต่างประเทศใช้สินทรัพย์ ทางปัญญา ( สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า ตรา ยี่ห้อ เทคนิคการดาเนินงาน เทคโนโลยี ความเชี่ยวชาญ เฉพาะทางธุรกิจ ) เพื่อประโยชน์ทางการค้า โดยผู้ให้ ใช้สิทธิ์จะได้รับค่าธรรมเนียม (Royalty) ที่กาหนดเป็น อัตราร้อยละของมูลค่าที่ผู้รับสิทธิ์ขายได้
ต้นทุนการให้อนุญาต • ต้นทุนการถ่ายโอน (Transfer Cost) • ต้นทุนการวิจัยและพัฒนา (R&D Cost) • ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost)
การให้สิทธิทางการค้า (Franchising) • สิทธิทางการค้าหรือแฟรนไชส์(Franchising) เป็นการเข้า สู่ตลาดที่ผู้ให้สิทธิ (Franchisor) ยินยอมให้ผู้รับสิทธิ (Franchisee) ใช้เครื่องหมายทางการค้า ซึ่งผู้รับสิทธิ จะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัดเกี่ยวกับ วิธีการในการดาเนินธุรกิจ โดยผู้ให้สิทธิจะเป็นผู้ให้ คาปรึกษาในการดาเนินธุรกิจขั้นพื้นฐานและจะได้รับ ผลตอบแทนในรูปของค่าธรรมเนียม ซึ่งเป็นเปอร์เซ็นต์ จากยอดขายของผู้รับสิทธิ
การผลิตตามสัญญา (Contract Manufacturing) • การที่กิจการหนึ่งว่าจ้างผู้ผลิตในต่างประเทศให้ทาการ ผลิตสินค้าให้ตนตามคุณภาพและมาตรฐานที่กาหนด • บริษัท (ผู้ว่าจ้างผลิต) จะเป็นผู้ทาการจาหน่ายสินค้า ดังกล่าวเอง รวมทั้งเป็นผู้รับผิดชอบกระบวนการทาง การตลาดไม่ว่าจะเป็นการโฆษณาและการส่งเสริมการ จาหน่ายด้วย • เป็นวิธีการที่ลดความเสี่ยงในการลงทุนขนาดใหญ่ใน ตลาดต่างประเทศ เมื่อ – ตลาดยังไม่โตพอที่จะลงทุนตั้งโรงงานผลิต – มีคู่แข่งขันสูง แต่ก็ยังมีปริมาณผู้บริโภคมากพอที่จะสร้างผล
ที่มา http://www.paf-group.com/About-Corporate.html
การทาสัญญาการจัดการ (Management Contract) • การที่บริษัทหนึ่งมีกลุ่มผู้บริหารที่มีความรู้ความชานาญ เข้าทาสัญญาร่วมกับบริษัทต่างประเทศ เพื่อเข้าไป จัดการดาเนินงานประจาวันของกิจการในต่างประเทศ
Regions Regional Utility - Localized Support IHG, (InterContinental Hotels Group) is a global organization with a broad portfolio of nine hotel brands that operates hotels in three different ways - as a franchisor, a manager, and on an owned and leased basis. Franchising is the largest part of our business, with over 4,800 hotels under franchise agreements. The franchisee owns the hotel and is a licensee of our brands. With a management contract, IHG oversees all operations while the franchisee owns the physical asset. The remaining hotels in the IHG portfolio are owned and operated by IHG. IHG supports each property around the globe by balancing regional leadership with local, personalized service. With teams spread throughout the world, we make sure that all IHG branded hotels get the hands-on support to fit their market and guest needs. IHG has regional offices in major markets around the world, including our global headquarters in Denham, England, our Americas office in Atlanta, Georgia, and regional offices in Singapore and Shanghai. ที่มา http://development.ihg.com/
การจัดการแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey Operations) • เป็นการที่บริษัทเข้าไปออกแบบ ก่อสร้างโรงงาน หรือ โครงสร้างพื้นฐานให้กับลูกค้า ทดสอบและถ่ายทอด วิธีการดาเนินงานของโรงงานหรือโครงสร้างพื้นฐานนั้น ให้กับลูกค้า และทาการถ่ายโอนทรัพย์สินทั้งหมดให้กับ ลูกค้า ซึ่งรวมถึงการถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยี ในการ ปฏิบัติงานให้กับลูกค้าด้วย การรับจ้างเหมาแบบ เบ็ดเสร็จมักจะทาในโครงการขนาดใหญ่ เช่น โรงกลั่น น้ามัน สนามบิน ทางด่วน การขนส่งมวลชนด้วย รถไฟ ใต้ดิน เป็นต้น
• กรณีศึกษา 3 เรื่อง – สภาพแวดล้อมทางด้านการเงินระหว่างประเทศ : ผลกระทบ ของการเปลี่ยนแปลงในค่าเงินตราต่างประเทศเมื่อเทียบกับ เงินสกุลในประเทศ ที่มีต่อธุรกิจระหว่างประเทศ – นโยบายและการดาเนินการของรัฐบาลต่างประเทศ ที่ส่งผล ต่อการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศของไทย – การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจระหว่างประเทศ : กรณีศึกษาการทาธุรกิจในประเทศเพื่อนบ้าน : โอกาส / อุปสรรค
บรรณานุกรม • กตัญญู หิรัญญสมบูรณ์. การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ, พิมพ์ครั้งที่ 10. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง, 2554. • ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. การบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : โรง พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555. • สมชนก (คุ้มพันธุ์) ภาสกรจรัส. หลักการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล, 2551. • Charles W. Hill. International Business: Competing in Global Marketplace. McGraw-Hill Higher Education, 2013, Online Learning Center http://highered.mheducation.com/sites/0078029244/student_view0/index. html • https://www.wto.org/english/tratop_e/region_e/regfac_e.htm 77