135 302 (8 9)ระบบและตลาดการเงินระหว่างประเทศ

Page 1

การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ • International Business Management 1


ระบบการเงินและเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ • การปริวรรตเงินตรา • - การกาหนดอัตราแลกเปลี่ยนให้เป็นที่ยอมรับ

• ระบบการเงินระหว่างประเทศ • - พัฒนาจากการเสื่อมของระบบแลกเปลี่ยนโดยตรง (Barter System)

วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

2


การปริวรรตเงินตราระหว่างประเทศ

Dr.Wannarat Wattananimitkul

สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ

3


บทบาทหน้าที่ของตลาดปริวรรตเงินตรา ต่างประเทศ 1. โอนอานาจซื้อเงินตราระหว่างประเทศ 2. ให้บริการสินเชื่อสาหรับผู้ส่งออกและผู้นาเข้า 3. บริการด้านการบริหารความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง ระดับอัตราแลกเปลี่ยน

Dr.Wannarat Wattananimitkul

การเงินระหว่างประเทศ

4


กลุ่มผู้ประกอบการในตลาดปริวรรตเงินตรา ระหว่างประเทศ 1. ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอื่นๆ ทาหน้าที่เป็น ตัวกลาง(Dealers) 2. เอกชน เช่น นักท่องเที่ยว ผู้นาเข้า ผู้ส่งออก ผู้ลงทุน ทางการเงินต่างชาติ บรรษัทข้ามชาติ 3. นักเก็งกาไรหรือผู้ค้าเงิน 4. นายหน้า (Brokers)

Dr.Wannarat Wattananimitkul

การเงินระหว่างประเทศ

5


ประเภทของธุรกรรมในตลาดปริวรรต เงินตรา • ธุรกรรมประเภททันที (Spot Rate) • ธุรกรรมประเภทล่วงหน้า (Forward Rate) • ธุรกรรมSWAP

Dr.Wannarat Wattananimitkul

การเงินระหว่างประเทศ

6


การค้ากาไรในการแลกเปลี่ยนเงินตรา ระหว่างประเทศ • การค้ากาไรภายในช่วงเวลาเดียวกัน (Arbitrage) • การค้ากาไรโดยคาดการณ์ในอนาคต (Speculation)

Dr.Wannarat Wattananimitkul

สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ

7


เงินตราสกุลที่นิยมใช้ในตลาดปริวรรต เงินตราระหว่างประเทศ • เป็นเงินตราสกุลที่ใช้ในการลงทุนในตลาดเงินทุนหลาย แห่ง • เป็นสกุลเงินที่ใช้เป็นเงินสารองเงินตราในธนาคารกลาง หลายแห่ง • เป็นสกุลเงินที่ใช้ในการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ • เป็นสกุลเงินที่ใช้ในการแจ้งราคาในสัญญาการค้าหลาย ฉบับ • เป็นสกุลเงินที่ใช้ในการแทรกแซงค่าเงิน Dr.Wannarat Wattananimitkul

สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ

8


ความสามารถในการแลกเปลี่ยนเงินตรา (Convertibility) • นโยบายการอนุญาตให้แลกเปลี่ยนเงินได้ของรัฐบาล • เงินตราสกุลที่มค ี ่าแข็ง (Hard Currencies)

Dr.Wannarat Wattananimitkul

สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ

9


ข้อจากัดในการแลกเปลี่ยนเงินตราโดย รัฐบาล • • • •

การแจ้งอนุญาตส่งออก-นาเข้า การมีอัตราแลกเปลี่ยนหลายอัตรา ความต้องการการมัดจาการนาเข้า การควบคุมปริมาณ

Dr.Wannarat Wattananimitkul

สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ

10


Dr.Wannarat Wattananimitkul

สภาพแวดล้อมในการบริการธุรกิจระหว่างประเทศ

11


ระบบการเงินระหว่างประเทศ • • • •

1. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่กาหนดไว้คงที่ 2. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่ไหวตัวอย่างเสรี 3. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่ลอยตัวภายใต้การควบคุม 4. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งคงที่โดยอัตโนมัติ

วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

12


ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่กาหนดไว้คงที่ • ช่วงปี ค.ศ. 1880 - 1914 • ระบบมาตรฐานทองคา • ข้อดี 1. มีเสถียรภาพ ไม่ไหวต่าขึ้นลง • 2. ดุลการค้าระหว่างประเทศมีการปรับค่าเข้าสู่สมดุลโดยอัตโนมัติ • 3. ต้องดาเนินตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้ • 4. สร้างเสถียรภาพด้านเศรษฐกิจให้แก่ประเทศอย่างแท้จริง • ข้อเสีย 1.ระดับทองคามีผลต่อสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ • 2. รัฐบาลขาดอิสระในการควบคุมนโยบายการเงิน การคลัง • 3. ระบบมาตรฐานทองคาเป็นอุปสรรคต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

13


ระบบอัตราการแลกเปลีย่ นที่ไหวตัวอย่าง เสรี ข้อดี 1. การปรับดุลการชาระเงินโดยการขึ้นลงของอัตรา แลกเปลี่ยนที่ ไหวตัวอย่างเสรี 2. อัตราแลกเปลี่ยนเข้าสู่สมดุลตามกลไก ข้อเสีย 1. การค้าระหว่างประเทศไม่มีเสถียรภาพ 2. สภาพเศรษฐกิจจะส่งผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยน โดยตรงเกินไป

วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

14


ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่ลอยตัวภายใต้การ ควบคุม เป็นระบบกึ่งกลางของระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่กาหนดไว้คงที่กับ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่ไหวตัวอย่างเสรี ข้อดี 1. รัฐบาลสามารถควบคุมอัตราแลกเปลี่ยนตามนโยบายการ คลัง 2. เป็นระบบที่ลดความเสี่ยงจากการปล่อยเสรี ข้อเสีย 1. รัฐบาลต้องอาศัยความรู้ความชานาญในการแทรกแซง ค่าเงินอย่างชาญฉลาด

วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

15


ระบบอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งคงที่อัตโนมัติ • การเปลี่ยนแปลงค่าตัวมันเอง เช่น ถ้าอเมริกาขาดแคลน เงินเยน ก็จะนาเอาทองคามาแลกกับเงินเยน • ไม่มีการแทรกแซงจากรัฐบาล

วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

16


กองทุนระหว่างประเทศ (International Monetary Fund ; IMF) วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมเสถียรภาพ 2. คงไว้ซึ่งการจัดอัตราแลกเปลี่ยนอย่างมีระบบ 3. ป้องกันและหลีกเลี่ยงการแข่งขันกันลดค่าเงิน 4. สร้างระบบจ่ายเงินแบบพหุภาคี 5. ลดข้อจากัดในการแลกเปลี่ยนเงินตรา 6. รวบรวมเก็บเงินสารองไว้ใช้ในยากฉุกเฉิน วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

17


การจัดระเบียบอัตราแลกเปลีย่ นเงินตรา ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ 1. อัตราแลกเปลี่ยนที่ตรึงไว้ 2. การจัดการให้ไหวตัวภายใต้ขอบเขตจากัด 3. การจัดการให้ไหวตัวแบบเสรี ตลาดมืด : การแลกเปลี่ยนเงินตราในสกุลเดียวกันที่ต่ากว่า การแลกเปลี่ยนทั่วไป ธนาคารกลาง : เก็บรักษาทรัพย์สินในรูปทองคาและ เงินตราสารองระหว่างประเทศ วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

18


ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราแลกเปลีย่ น 1. อัตราเงินเฟ้อเปรียบเทียบระหว่างประเทศคู่ค้า 2. อัตราดอกเบี้ยเปรียบเทียบระหว่างประเทศคูค ่ ้า 3. ปัจจัยอื่นที่มีผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยน

วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

19


ผลกระทบของการแลกเปลี่ยนที่มีผลต่อ ธุรกิจระหว่างประเทศ • 1. การตัดสินใจด้านการตลาด • 2. การตัดสินใจด้านการผลิต • 3. การตัดสินใจด้านการเงิน

วิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ

20


ความเสี่ยงทางการเงินของธุรกิจข้ามชาติ ประเภทของความเสี่ยง 1. ความเสี่ยงอันเกิดจากการทาธุรกรรม (transaction exposure) – ธุรกรรมการซื้อ-ขาย 2. ความเสี่ยงอันเกิดจากการแปลงค่าเงิน (translation exposure) - การคานวณงบการเงินระหว่างบริษัทแม่ และสาขาในต่างประเทศ 3. ความเสี่ยงอันเกิดจากเศรษฐกิจและการดาเนินงาน (economic + operating exposure) - ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน Dr.Wannarat Wattananimitkul

การเงินระหว่างประเทศ

21


การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน ของธุรกิจข้ามชาติ วิธีการจัดการภายในองค์กร

วิธีการจัดการภายนอกองค์กร

(Netting) การป้องกันความเสี่ยงในตลาด ล่วงหน้า วิธีการเร่ง/ชะลอการชาระหนี้ การป้องกันความเสี่ยงในตลาดเงิน (Leading / Lagging) สร้างความสมดุลระหว่างกระแส เงินที่ไหลออก-เข้า (Matching) การจัดการสินทรัพย์ + หนี้ (Asset and Liability Management) การกาหนดยอดเงินสุทธิ

Dr.Wannarat Wattananimitkul

การเงินระหว่างประเทศ

22


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.