135-310 ธุรกิจในอาเซียน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
ภาควิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
2
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • เป็นภูมิภาคที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของ ทวีปเอเชีย ตั้งอยู่ในเขตร้อน • อาณาเขต 1. ทิศเหนือ ติดต่อกับ ประเทศจีน 2. ทิศตะวันออก ติดต่อกับ มหาสมุทร แปซิฟิก 3. ทิศใต้ ติดต่อกับ มหาสมุทรอินเดีย 4. ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อ่าวเบ่งกอล ประเทศอินเดีย บังคลาเทศ
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
3
ขนาดพื้นที่ มีพื้นที่ประมาณ 4.6 ล้านตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 10 ประเทศ คือ พม่า ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย บรูไน ฟิลิปปินส์ (+ ประเทศใหม่ คือ ติมอร์เลสเต ) ©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
4
ความสาคัญของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
5
ความสาคัญทางภูมิศาสตร์ • ประกอบด้วยส่วนที่เป็นผืนแผ่นดินใหญ่และพื้นน้้า • ผืนแผ่นดินใหญ่ประกอบด้วยเทือกเขา 3 เทือก คือ เทือกเขาอาระกัน เทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาแอนนาไมท์หรืออันนัม – เป็นแหล่งก้าเนิดของแม่น้าส้าคัญ คือ แม่น้าอิระวดี แม่น้าสาละวิน แม่น้าเจ้าพระยา และ แม่น้าแดง – มีป่าไม้และแร่ธาตุมาก – เป็นพรมแดนธรรมชาติ • พื้นน้้า มีช่องแคบหลายแห่งที่เป็นเส้นทางส้าคัญในการเดินเรือ เช่น ช่องแคบมะละกา ช่อง แคบซุนดา ช่องแคบลอมบอก
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
6
ความสาคัญทางการเมือง • ในอดีตดินแดนแห่งนี้เป็นแหล่งยุทธศาสตร์ที่ส้าคัญโดยเฉพาะช่องแคบมะละกา เป็นเส้นทางการค้าทางทะเลที่เรือชาติต่าง ๆ ต้องแล่นผ่านและแวะจอดที่เมือง มะละกา ผู้ใดมีอ้านาจเหนือเมืองมะละกาจะสามารถแผ่ขยายอิทธิพลทางด้าน การเมืองและเศรษฐกิจ จนเข้าครอบง้าบริเวณรัฐต่างๆ ในหมู่เกาะได้
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
7
ลาดับเหตุการณ์ในอดีต – ค.ศ.1403 กองเรือจีนเดินทางจากจีนมามะละกาและแสดงความมีอา้ นาจของ จีนเหนือช่องแคบมะละกา – ช่วง ค.ศ.1408 -1431 จีนได้ยกทัพเรือมาถึง 7 ครั้ง เพื่อบังคับให้รัฐต่าง แถบนี้ยอมรับอ้านาจของจีน – เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ส้าคัญ ของการแข่งขันและแย่งชิงของชาติตะวันตก ทั้ง ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โปรตุเกส ฮอลันดา ต่างมีอาณานิคมในภูมภิ าคนี้ – เมื่อญี่ปุ่นพัฒนาตนเองเป็นประเทศมหาอ้านาจก็เข้ายึดครองเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ – หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ภูมิภาคนี้เป็นแหล่งช่วงชิงอ้านาจกันระหว่างโลกเสรี และค่ายคอมมิวนิสต์ จนเกิดเป็นสงครามอินโดจีน ©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
8
ความสาคัญด้านทรัพยากรธรรมชาติ • เป็นแหล่งอุดมด้านทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจากเป็นเขตลมมรสุมและมีแม่น้า ที่ส้าคัญหลายสาย เหมาะสมแก่การเพาะปลูก มีผลไม้หลากหลายตลอดทั้งปี เป็นแหล่งพืชผลเมืองร้อนที่ส้าคัญ โดยเฉพาะข้าวเจ้าเป็นสินค้าออกชั้นน้าของ โลก • เป็นแหล่งแร่ธาตุ มีเครื่องเทศซึ่งเป็นสินค้าที่ช่วงชิงกันในหมู่ประเทศจักรวรรดิ นิยมตะวันตก
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
9
ความสาคัญทางด้านสังคมและวัฒนธรรม • เป็นแหล่งที่มีอารยธรรมและวัฒนธรรมดั้งเดิมของโลกแห่งหนึ่ง เริ่มตั้งแต่สมัย หินแล้วพัฒนาความเจริญและวัฒนธรรมของตนให้ก้าวหน้าขึ้นเรื่อย ๆ เช่น - วัฒนธรรมดองซอนทางด้านการเกษตรมีพัฒนาการการท้า นาแบบนาด้าเป็นทีแ่ รกของโลก -ในบริเวณบ้านเชียงเป็นแหล่งก้าเนิดการปลูกข้าว เมื่อ 5,600 ปีมาแล้ว มีการท้านาระบบกักเก็บน้้า มีระบบชลประทานที่ก้าวหน้า รู้จักใช้วัวควาย ไถนาและมีความช้านาญด้านการเดินเรือ
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
10
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน (ASSOCIATION OF SOUTH EAST ASIAN NATIONS : ASEAN)
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
11
สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN)
คาขวัญ : One Vision, One Identity, One Community
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
12
ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิต
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
13
อาเซียน กับ การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน
AEC
14
ประชาคมอาเซียน ปี 2558 (2015)
ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC)
ประชาคมการเมือง และความมั่นคง อาเซียน (ASC)
AEC •พิมพ์เขียว AEC •AEC Blueprint
ตารางดาเนินการ ประชาคม สังคมและวัฒนธรรม อาเซียน
Strategic Schedule
(ASCC) 15
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) • ธรรมนูญของอาเซียนที่วางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของอาเซียน ในการด้าเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ขับเคลื่อนการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015)
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
16
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
17
AEC Blueprint วัตถุประสงค์ 4 ด้าน
ตลาดเดียวและ ฐานการผลิตเดียว
แผนงานส่งเสริมการ เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงาน และ เงินทุนที่เสรี โดยลด อุปสรรคในด้านต่างๆ
เขตเศรษฐกิจ ที่มีศักยภาพด้าน การแข่งขันสูง แผนงานส่งเสริมขีด ความสามารถในด้าน ต่างๆ เช่น นโยบาย การแข่งขัน ทรัพย์สินทางปัญญา e-commerce ฯลฯ
การพัฒนาทาง เศรษฐกิจ ที่เท่าเทียมกัน -เร่งพัฒนากิจการ SMEs - ลดช่องว่าง/ความ แตกต่างของระดับ การพัฒนาระหว่าง ประเทศสมาชิก
บูรณาการอาเซียน เข้าเป็นส่วนหนึ่งของ เศรษฐกิจโลก - แผนงานส่งเสริมการ รวมกลุ่มเข้ากับ ประชาคมโลก -ปรับประสานนโยบาย ในระดับภูมิภาค - สร้างเครือข่ายการ ผลิต/จาหน่าย 18
แผนงานสาคัญภายใต้ AEC Blueprint
เป้าหมาย AEC 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม มุ่งดาเนินการให้เกิด…….
AEC เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี
เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี
เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น 19
เป้าหมาย AEC
2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน ความร่วมมือในด้านต่างๆ
e-ASEAN นโยบายการแข่งขัน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
AEC
นโยบายภาษี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา การคุ้มครองผู้บริโภค 20
AEC
เป้าหมาย AEC 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างประเทศสมาชิก สนับสนุนการพัฒนา SMEs
21
เป้าหมาย AEC
AEC
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
จัดทา FTA กับประเทศนอกภูมิภาค ASEAN - China
สร้างเครือข่ายการผลิต จาหน่าย
ASEAN - Korea ASEAN- Japan ASEAN- India
ASEAN- AUS/NZ ASEAN- EU
ASEAN- US (TIFA) 22
ความน่าสนใจของอาเซียน
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
23
ตลาดที่มีประชากรจ้านวนมาก Total ASEAN % of World 55.2m
RANK
629.4m 8.8%
1
China
1,350m
2
India
1,221m
3
ASEAN 629m
4
EU
508m
6.7m 105.7m
67.4m 92.5m 15.2m
29.6m
0.4m
5.5m
251.2m
World Bank 2012/ CIA World Fact Report
24
มีอัตราการเติบโตของ GDP ที่โดดเด่น สูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลก ASEAN Weighted Average
5.5%
World Average
3.3%
GDP 2012
6.3% 8.3% 6.6%
6.4% 5.0% 6.5%
5.6%
+
China
7.8%
+
India
6.5%
+
ASEAN
5.5%
-
USA
2.2%
-
Japan
2.0%
-
Brazil
0.9%
-
EU
-0.3%
1.3%
1.3%
6.2%
World Bank 2012/ CIA World Fact Report
25
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
26
RANK (billion )
AEC มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 8
$53.1
1
EU
$16,417
2
USA
$15,680
3
China
$8,227
4
Japan
$5,964
8
ASEAN
$2,306
$9.2 $250.4
$365.6 $138.1 $14.2
$303.5
$16.6
$276.5
$878.2 World Bank 2012/ CIA World Fact Report
27
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
28
อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับไม่สูง ยกเว้นเวียดนาม
1.5%
Weighted ASEAN Average
3.84%
World Weighted Average
4.1% 4.3% 3.1%
3.0%
9.1%
2.9% 4.6%
0.5% 1.7%
4.3%
World Bank 2012/ CIA World Fact Report
29
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
30
มีความเหลื่อมล้้าแตกต่างทางเศรษฐกิจสูง แต่ก็ หมายถึงที่มีรายได้น้อยก็มีศักยภาพที่จะไต่ขึ้นได้อีก
$1,400
RANK (PPP per capita income) 1
Qatar
$103,900
5
Singapore
$60,900
8
USA
$50,700
26
Japan
$36,900
29
EU
$35,100
$3,000 $4,300
$10,000 $3,500 $2,400
$16,900
$50,500
$60,900
$5,000
World Bank 2012/ CIA World Fact Report
31
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
32
เป็นผู้ส่งออกรายใหญ่เป็นอันดับที่ 5 Total ASEAN
$1,287
% of World Total
7.1%
$8.23 $1.98
Export 1
EU
$2,170
2
China
$2,050
3
USA
$1,612
5
ASEAN
$1,287
$46.28
$226.20 $114.30 $5.79
$247.00
$12.75
$435.8 0
$187.0 0 World Bank 2012/ CIA World Fact Report
33
RANK
มีการน้าเข้าเป็นอันดับ 5 ASEAN IMPORT
$1,150
% of World Total
6.4%
$7.48
1
EU
$2,397
2
USA
$2,299
3
China
$1,735
4
Germany
1,222
5
ASEAN
$1,150
$2.74
$61.49 $217.80 $114.30
$7.84
$181.60
$3.02
$374.90
$178.50
World Bank 2012/ CIA World Fact Report
*Accommodated by unilateral/bilateral trade agreements 34
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
35
มีการศึกษา ASEAN Weighted Average
90.9%
World Weighted Average
84.1%
89.9% 73.0% 92.6%
92.6% 94.0% 77.6%
88.7%
92.7%
92.5%
90.4%
World Bank 2012/ CIA World Fact Report
36
การจัดอันดับความน่าเชื่อถือทางการเงิน N/A
N/A
BB-
BBB B+ BB-
A-
N/A
AAA
Only country in Asia with AAA rating
BB+
Standard & Poor’s
37
ตลาดหุ้นมีการเติบโตสูง ASEAN 2,472,854
NYSE 16,613,000
Nikkei 3,325,000
FTSE HKSE 3,396,000 2,831,000
DAX 1,486,000
N/A
$1 $404,628 $28,280
$135
$462,483
$255,10 0
N/A
$809,39 5
$512,82 0 38
การจัดอันดับประเทศที่มีการคอรัปชั่น / ความง่ายในการท้าธุรกิจ #172/NA #160/#16 3 #88/#18
#105/138
#123/#99 #157/#133 #54/#1 2
#5/#1
#118/#12 8
#46/#79
World Ranking for Corruption/Ease of doing business
Source: Transparency International Note: higher number means higher corruption/higher number means more difficult to do business
39
รายได้จากการท่องเที่ยว 1,060,00 3,330,072 4,272,811
22,353,903
6,847,678 3,584,307 14,400,000
8,044,462
*Tourist arrivals
25,032,708
241,000
Rank 1 2 3 4 5 6 7 8
Thailand Visitor
9 10
China Malaysia Japan Russia Korea India Laos Australia United Kingdom Singapore
Sources:
TAT
40
Video 7 Things you need to know about ASEAN http://www.mckinsey.com/insights/public_sector /understanding_asean_seven_things_you_need_t o_know
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิต
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
41
• ปาฐกถาพิเศษของศาสตราภิชาน ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ หัวข้อ “2015 : The Year of AEC” ตอนที่ 1 https://www.youtube.com/watch?v=tS9s3HqzB8U • ปาฐกถาพิเศษของศาสตราภิชาน ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ หัวข้อ “2015 : The Year of AEC” ตอนที่ 2 https://www.youtube.com/watch?v=doffcfTqdQM
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิต
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
42
บรรณานุกรม •
• •
•
•
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC). http://www.thaifta.com/thaifta/Home/tabid/36/ItemId/4374/ctl/Details/Mi d/582/Default.aspx เข้าถึงเมื่อ 27 ส.ค. 2558. AEC Business Support Center. ข้อมูลพื้นฐานของประเทศและจังหวัด. http://www.aecthaibiz.com/SitePages/general_inf.aspx เข้าถึงเมื่อ 27 ส.ค. 2558. The World Fact Book. https://www.cia.gov/library/publications/resources/the-world-factbook/ เข้าถึงเมื่อ 27 ส.ค. 2558. กระทรวงพาณิชย์. Way to Go โอกาส ความท้าทาย กลยุทธ์. http://www.aecthaibiz.com/aecadmin/uploads/20150211_145845.pn g เข้าถึงเมื่อ 27 ส.ค. 2558. McKinsey&Company. http://www.mckinsey.com/insights/public_sector/understanding_asean_s even_things_you_need_to_know เข้าถึงเมื่อ 31 ส.ค. 2558.
©ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมิตกูล
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอาเซียน
43