135-310 ธุรกิจในอาเซียน ความร่วมมือในอาเซียน และความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศนอก ภูมิภาค
ภาควิชาการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
2
หัวข้อเรื่อง ความร่วมมือในอาเซียน ความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกภูมิภาคของอาเซียน
อาเซียน + 3 อาเซียน + 6
ภูมิภาคย่อย (Sub-regional) ความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (GMS)
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
3
ความร่วมมือในอาเซียน
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
4
ASEAN
ประชากร – 620 ล้านคน พื้นที่- 4.5 ล้าน ตาราง กม.
สมาชิกผู้ก่อตั้ง • ไทย • มาเลเซีย • อินโดนีเซีย • ฟิลิปปินส์ • สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997 + กัมพูชา ปี 1999
พัฒนาการความร่วมมือในภูมิภาคอาเซียน 2510
Bangkok Declaration
2535
CEPT-AFTA
ASEAN
Agreement on the Common Effective Preferential Tariff Scheme for ASEAN Free Trade Area
2538
AFAS
ASEAN Framework Agreement on Services
2539
AICO
ASEAN Industrial Cooperation Scheme
2541
AIA
Framework Agreement on the ASEAN Investment Area
ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit
2550
ASEAN Charter ASEAN Community + Declaration on AEC Blueprint
2552
ATIGA ASEAN Trade in Goods Agreement ACIA ASEAN Comprehensive Investment Agreement
2554
2558
การขยายความร่วมมือ
ASEAN Community
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
7
ความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับประเทศ นอกภูมิภาคของอาเซียน การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
8
อาเซียนกับสหประชาชาติ
วันที่ 27 กันยายน 2550 เลขาธิการอาเซียนและเลขาธิการสหประชาชาติ ได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน ให้เข้มแข็งยิ่งขึน
ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับประเทศ/กลุ่มประเทศ นอกภูมิภาค U.S.A.
Australia Canada
Russia
New Zealand
China
ASEAN
South Korea
EU Japan
India
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศภูมิภาค อื่น
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
11
ASEAN-Russia
ASEAN-EU FTA
ASEAN-Canada ASEAN-China FTA
ASEAN-US TIFA ASEAN-Korea FTA ASEAN-Japan CEP
ASEAN-Pakistan
ASEAN-India FTA
AEC: 620 ล้านคน EAFTA: 2129 ล้านคน ASEAN-AustraliaNew Zealand FTA
CEPEA: 3365 ล้านคน
เขตเศรษฐกิจสําคัญของโลก
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
13
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
14
China
ASEAN
Japan
South Korea
ASEAN + 3
อาเซียน + 3 ความตกลงเขตการค้าเสรีเอเชียตะวันออก (East Asia Free Trade Area: EAFTA) • ประชากร 2,129 ล้านคน คิดเป็น 31% ของประชากรโลก • GDP คิดเป็น ~18% ของ GDP โลก
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
16
ความเป็นมา • ในการประชุม Informal ASEAN Summit ครั้งที่ 3 เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2542 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ผู้นําอาเซียนและประเทศ+3 (จีน สาธารณรัฐ เกาหลี และญี่ปุ่น) ได้มีแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยความร่วมมือเอเชียตะวันออก (1st Joint Statement on East Asia Cooperation) เป็นการประกาศเจตนารมณ์ อย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรก ที่จะเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างกันด้าน การเมือง เศรษฐกิจ การเงิน สังคม วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม และการพัฒนา
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
17
การศึกษาความเป็นไปได้ การศึกษา “Towards an East Asia FTA: Modality and Roadmap” (Final report of EAFTA: Phase I) • การจัดทํา EAFTA จะทําให้ GDP ของประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 1.2% และ สวัสดิการทางเศรษฐกิจ (Economic Welfare) เพิ่มขึ้น 104.6 พันล้านเหรียญ สหรัฐฯ อาเซียนจะได้รับประโยชน์มากกว่าโดย GDP ของอาเซียน เพิ่มขึ้น 3.6% ขณะที่จีน เกาหลี ญี่ปุ่นเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 0.9 ในส่วนของไทย GDP จะเพิ่มขึ้นเท่ากับ 4.5% และ Economic Welfare เพิ่มขึ้น 8,798 ล้านเหรียญสหรัฐ
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
18
การศึกษาความเป็นไปได้ (ต่อ) EAFTA Phase II • ศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการจัดทําความตกลงการค้าเสรีเอเชียตะวันออก (EAFTA) ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ รวมถึงเสนอแนะ แนวทางการรวมกลุ่ม • กลุ่มผู้เชี่ยวชาญฯ ได้เน้นความสําคัญในเรื่องกฎว่าด้วยแหล่งกําเนิดสินค้า (ROOs) โดยกล่าวว่าความแตกต่างของ ROOs ในแต่ละความตกลง ASEAN+1 นั้น ก่อให้เกิดอุปสรรคแก่ผู้ประกอบการ ดังนั้น การรวมกฎให้เป็นหนึ่งเดียว (unified ROOs regime) ภายใต้ EAFTA จะช่วยลด Transaction cost สําหรับผู้ ประกอบในการส่งออกไปยังภูมิภาคเอเชียตะวันออก
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
19
การศึกษาความเป็นไปได้ (ต่อ) กลุ่มผู้เชี่ยวชาญฯ มองว่า • ระดับการพัฒนาของแต่ละประเทศสมาชิก ถือเป็นอุปสรรคในการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออก • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจภายใต้ EAFTA จึงมีความสําคัญอย่างมาก โดยเฉพาะ Capacity building ให้ประเทศพัฒนาน้อยทีส่ ุด ด้านการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ (Human resource development) และการถ่ายทอดเทคโนโลยี (Transfer of technology)
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
20
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
21
อาเซียน + 6 Comprehensive Economic Partnership in East Asia: CEPEA • ประชากร 3,365 ล้านคน คิดเป็น 50% ของประชากรโลก • GDP คิดเป็น ~22% ของ GDP โลก
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
22
ความเป็นมา สิงหาคม 2549 ในการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น (AEM-METI) และ AEM+3 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ญี่ปุ่นเสนอให้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญภาควิชาการ (Track II) ของกลุ่มประเทศ East Asia Summit ทําการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตัง้ Comprehensive Economic Partnership in East Asia (CEPEA) ซึ่งเป็น FTA ระหว่าง ประเทศ อาเซียน+6 (จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์) 15 มกราคม 2550 ที่ประชุม EAS ครั้งที่ 2 ณ เมืองเชบู ประเทศฟิลิปปินส์ มีมติ เห็นชอบให้ดําเนินการศึกษาดังกล่าว โดยญี่ปุ่นจะจัดให้มีการประชุมร่วมกัน ระหว่างนักวิชาการซึ่งเป็นตัวแทนของแต่ละประเทศครั้งแรกในเดือนมิถุนายน 2550
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
23
ผลการศึกษาความเป็นไปได้ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ของ CEPEA ได้ทําการศึกษาและสรุปผลการศึกษา 1) Final report of CEPEA Track Two: Phase I นําเสนอต่อที่ประชุมผู้นาํ เอเชีย ตะวันออก (East Asia Summit: EAS) ธันวาคม 2551 ณ กรุงเทพฯ ระบุว่า • การจัดทํา CEPEA จะทําให้ GDP ของประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 2.11% โดย อาเซียนจะได้รับประโยชน์มากกว่า (GDP ของอาเซียน เพิ่มขึ้น 3.83% GDP ของไทย จะเพิ่มขึ้นเท่ากับ 4.78% ) • ประเด็นอื่นๆสําคัญ ได้แก่ ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การเปิดเสรีทางการค้าและ การลงทุน การอํานวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุน ความร่วมมือ ทางด้านเศรษฐกิจ พลังงานและสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีสารสนเทศ • เสนอแนะแนวทางสู่การทําเขตการค้าเสรีเอเชียตะวันออก ให้ประเทศสมาชิก ต้องเริ่มที่เข้าใจหลักพื้นฐานและเป้าหมายของ CEPEA
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
24
ผลการศึกษาความเป็นไปได้ (ต่อ) 2) Final report of CEPEA Track Two: Phase II เสนอต่อที่ประชุมรัฐมนตรี เศรษฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 41 (41st AEM) ณ กรุงเทพ ระหว่างวันที่ 13-16 สิงหาคม 2552 • CEPEA ควรให้ความสําคัญในเรื่องความร่วมมือ (Cooperation) เป็นอันดับแรก เพื่อมุ่งลดช่องว่างระดับการพัฒนาของแต่ละประเทศสมาชิก เน้นการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development) การถ่ายทอดเทคโนโลยี (Transfer of Technology) และสร้างความเข้มแข็งให้วิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SMEs) และที่สําคัญคือการสร้าง Capacity Building ให้แก่ประเทศ พัฒนาน้อยที่สุด • ควรพิจารณาจัดตั้งกองทุนเอเชียตะวันออก (East Asia Fund) เพื่อช่วยรองรับ โครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึน ้ และสร้างพื้นฐานสําหรับการ พัฒนา การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
25
การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit : EAS) China
Japan
South Korea
U.S.A.
2554
ASEAN
Russia India Australia
New Zealand
ภูมิภาคย่อย (SUB-REGIONAL)
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
27
ความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (GMS)
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
28
ความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (Greater Mekong Subregional: GMS) • โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ําโขง 6 ประเทศ (Greater Mekong Subregional Economic Cooperation : GMS-EC)หรือ หก เหลี่ยมเศรษฐกิจ • พื้นที่โครงการประกอบด้วย ประเทศไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีนตอน ใต้ (ยูนนาน) • พื้นที่รวมกันประมาณ 2.6 ล้านตารางกิโลเมตร* • ประชากรรวมกันประมาณ 326 ล้านคน*(ข้อมูลจาก http://beta.adb.org/countries/gms/overview) • เริ่มดําเนินโครงการตั้งแต่ปี พ.ศ.2535 โดยความช่วยเหลือทางวิชาการจาก ธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) • ขณะนี้อยู่ระหว่างการศึกษาระยะที่ 3 กําหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ําโขงถึงปี 2563 (ค.ศ. 2020) การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
29
วัตถุประสงค์ • ส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวทางการค้า การลงทุนอุตสาหกรรม การเกษตร และ บริการ • สนับสนุนการจ้างงานและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่ • ส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือทางเทคโนโลยีและการศึกษา การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติที่ส่งเสริมกันอย่างมีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมและเพิ่มขีดความสามารถรวมทั้งโอกาสทางเศรษฐกิจในเวทีการค้าโลก
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
30
9 สาขาความร่วมมือ
1.สาขาคมนาคมขนส่ง กําหนดแนวพื้นที่ เศรษฐกิจ เพื่อพัฒนาการคมนาคมขนส่ง 1. แนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก ( EastWest Economic Corridor) เชื่อมโยงทะเลจีนใต้ (มหาสมุทรแปซิฟิก) กับทะเล อันดามัน (มหาสมุทร อินเดีย) 2. แนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต้ ( Southern Economic Corridor) เชื่อมประเทศลุ่มน้ําโขงกับ ประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ ผ่านท่าเรือฝั่งตะวันตก ของพม่าและไทย 3. แนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ-ใต้ ( North-South Economic Corridor) ปรับปรุงเส้นทางคมนาคมจาก มณฑลยูนนานมาจรดกรุงเทพมหานคร การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
31
แนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก ( East-West Economic Corridor)
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
32
แนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ-ใต้ ( North-South Economic Corridor)
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
33
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
34
9 สาขาความร่วมมือ (ต่อ) 2.สาขาสื่อสารโทรคมนาคม การพัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคมด้านตะวันออก (East Loop) เส้นทางกรุงเทพฯ-เวียงจันทน์-วินห์-โฮจิมินห์ ซิต-ี้ พนมเปญ-กรุงเทพฯ 3.สาขาพลังงาน การสนับสนุนการค้าพลังงานภายในภูมิภาค การอํานวยความสะดวกในการ ก่อสร้างสายส่งพลังงานเชื่อมโยงระบบพลังงานต่างๆในกลุม ่ ประเทศลุม ่ แม่น้ําโขง การ สนับสนุนให้เกิดการลงทุนทางด้านพลังงานของภาคเอกชน โครงการที่สําคัญที่สุด คือ โครงการ เขื่อนจิงหง และเขื่อนท่าซางเพื่อส่งพลังงานมาประเทศไทย 4. สาขาการอ้านวยความสะดวกทางการค้า ลดอุปสรรคทางการค้าระหว่างประเทศในภูมิภาค สร้างบรรยากาศในการลงทุนให้นกั ลงทุนทั้งในและนอกภูมภ ิ าค การลงทุนข้ามเขตแดน การให้ ข้อมูลที่เกี่ยวกับการค้าและการลงทุน และการสนับสนุนการลงทุนขนาดเล็กและขนาดกลาง (SME) 5.สาขาการลงทุน ปรับปรุงข้อมูล กฎระเบียบ และมาตรการเพื่ออํานวยความสะดวกการลงทุน การ จัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนแต่ละประเทศ
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
35
9 สาขาความร่วมมือ (ต่อ) 6.สาขาเกษตร ความร่วมมือเพื่อแลกเปลีย่ นองค์ความรู้ด้านเกษตรระหว่างประเทศสมาชิก ถ่ายทอดเทคโนโลยี ยกระดับความเป็นอยู่และขีดความสามารถของเกษตรกร สนับสนุนการค้า การลงทุนภาคเอกชน การดําเนินงานครอบคลุมด้านพืช ปศุสัตว์ ประมงและป่าไม้ 7.สาขาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการจัดกรอบยุทธศาสตร์สิ่งแวดล้อม การสร้างความเข้มแข็งของระบบ ข้อมูลสิ่งแวดล้อมในเขตภูมิภาคและการควบคุม การส่งเสริมประเทศ GMS จัดตั้งสถาบัน พัฒนาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ 8.สาขาการท่องเทีย่ ว ดําเนินแผนการตลาด “ Six Countries One Destination “ ส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของประเทศ GMS ในการดําเนินงานศูนย์ประสานงานด้านการท่องเที่ยวของอนุภูมภ ิ าค ลุ่มแม่น้ําโขง 9.สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ดําเนินโครงการ Phnom Penh Plan เพื่อฝึกอบรมผู้บริหาร ระดับกลางและระดับสูงของประเทศ GMS และจัดตั้ง Task Force เพื่อดําเนินงานการพัฒนา ความร่วมมือ 3 ด้าน คือ แรงงาน สาธารณสุข และการศึกษา
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
36
• แม่น้ําโขง สายเลือดแห่งอาเซียน https://www.youtube.com/watch?v=oGUr4L8SzOc
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
37
สถานการณ์ความเชื่อมโยงของไทยกับประเทศในภูมิภาค
http://www.ocsc.go.th/ocsc/th/files/pp_Suthad.PDF
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
38
บรรณานุกรม • • • • •
กระทรวงการต่างประเทศ http://www.mfa.go.th/ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ http://www.nesdb.go.th/ ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) http://www.adb.org/GMS/default.asp กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ http://www.dtn.moc.go.th การเตรียมตัวสําหรับประชาคมอาเซียน 2558 - สํานักงาน ก.พ. http://www.ocsc.go.th/ocsc/th/files/pp_Suthad.PDF
การขยายความร่วมมือ
ดร.วรรณรัตน์ วัฒนานิมติ กูล
39