ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
1
20
วารสาร “พุทธปทีป”
พระธรรมโกษาจารย์ หรือ พุทธทาสภิกขุ ได้ให้ข้อคิดไว้ว่า “ถึงยามได้ ได้ให้ดี ไม่มีทุกข์ ถึงยามเป็น เป็นให้ถูก ตามวิถี ถึงยามตาย ตายอย่างเป็น เห็นสดุดี ได้อย่างนี้ ไม่มีทุกข์ ทุกเวลา”
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
21
คนเราถ้าปฏิบตั ติ ามคำ�กลอน ดั ง กล่ า วนั้ น ความทุ ก ข์ ย่ อ มไม่ เบียดเบียนแน่นอน ท่านให้อรรถาธิ บายไว้ดังนี้
ความรับผิดชอบของตน ไม่ทำ�หน้าที่ บกพร่อง อย่าก้าวก่ายไปในกิจที่ไม่ใช่ ธุระ ถ้าเป็นลิเก ละคร ก็เรียกว่า ไม่ รำ�นอกบท
๑.ได้ให้ดคืี อได้ชนิดไม่เสีย ได้ แ ก่ ไม่ เ สี ย ใจ ไม่ เ สี ย แรง ไม่ เ สี ย ทรัพย์ ไม่เสียเลือดเนื้อ ไม่เสียสันติสุข ไม่สร้างทุกข์แก่ใคร ๆ รวมความว่า ได้แล้วก่อให้เกิดผลดีทุกฝ่าย
๓.ตายอย่างเป็นหมายถึง ตายแล้ ว เหมื อ นไม่ ต าย คุ ณ ความดี หรื อ ประโยชน์ ยั ง สถิ ต จารึ ก อยู่ ใ น หัวใจของทุกคน เรียกว่า ตายแล้ว ไม่สูญ ตายอย่างมีอนุสาวรีย์
คนเราถ้าได้กไ็ ด้ดเป็ ี นก็เป็นถูก ๒.เป็นให้ถกู หมายถึงตน เป็ น อะไร รั บ ภาระหน้ า ที่ อ ะไร ก็ แม้ตายไปโลกก็ไม่ลืม คนดีอยู่ที่ไหน พยายามปฏิบัติไปภายในขอบเขตแห่ง เขาก็รักใคร่ จากไปเขาก็คิดถึง อยู่ก็
22
วารสาร “พุทธปทีป”
สบาย ไปก็สะดวก ไม่ทุกข์จนลำ�บาก ไม่ยากจนลำ�เค็ญ ตกน้ำ�ไม่ไหลตกไฟไม่ ไหม้ ดังนัน้ คนเราจึงจำ�ต้องปฏิบตั หิ น้าทีข่ องตนให้ดที สี่ ดุ และขณะเดียวกันก็ ต้องปฏิบัติธรรมไปด้วย เมื่ออยู่จึงจะมีค่า เมื่อจากลาเขาก็อาลัยระลึกถึง พระ เดชพระคุณ พระพุทธพจนวราภรณ์ วัดเจดีย์หลวง (เชียงใหม่) ได้ประพันธ์ เป็นกลอนสอนใจไว้ว่า
อันทรัพย์สิน อีกเงินทอง เป็นสมบัติ จะต้องผ่าน
ถิ่นฐาน ไร่นา ติดตัว จากกัน
ทัง้ บ้านช่อง มหาศาล ได้ชั่วกาล เมื่อวันตาย
ส่วนความดี ถึงตัวแก่ จะสถิตย์ ถึงตัวตาย
มีความสัตย์ สมบัติแท้ กายดับ ไม่ลับหาย ติดแน่น แทนร่างกาย ชื่ออยู่ เชิดชูเอย
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
23
การทำ�ความดี แม้ตายร่างกายเนื่อเปื่อย ก็ไม่มีใครรังเกียจ เพราะความดี จะเป็นเสน่ห์ ทีจ่ ะดึงดูดมหาชนให้เข้าใกล้ ส่วนคนชัว่ อย่าว่าแต่ตายเลย แม้เป็นๆ ก็ไม่มใี ครปรารถนาจะใกล้ชดิ เกรงเสนียดจัญไรพลอยติดตัว ทำ�ให้หมองมัวไปด้วย ดังนั้นท่านจึงสอนให้เราคบแต่คนดี หลีกหนีคนชั่ว เพราะคบคนดีเป็นศรี แก่ตัว คบคนชั่วอัปราชัย
เพราะฉะนั้น จงจำ�ไว้ว่า
คบคนดี ร่มเย็น เห็นกันทั่ว คนคนชั่ว คนเลว จะเหลวไหล คนคนดี มีคุณ อบอุ่นใจ คนจัญไร คบค้า พาไปพาล จงคบคน ดีเถิด บังเกิดผล อย่าคบคน ชั่วร้าย หมายสมาน ขืบคบค้า พาตน เป็นคนพาล สร้างสันดา เลวชั่ว น่ากลัวจริง
ขอบคุณเจ้าของบทความ พระมหาวีระพันธ์ ชุติปญฺโญ
ชีวิตที่จะมีความสุขได้ ไม่ใช่การวิ่งไปสู่จุดหมายเพียงอย่างเดียว แต่อยู่ที่วิธีก้าวไปสู่เป้าหมาย ที่ใจปรารถนานั้นด้วย และอยู่ที่ว่าตัวเราได้ใช้วิธีเดิน เพื่อไปถึงเส้นชัยแห่งความสุขนั้นอย่างไร
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
ชีวติ ของเราจะว่าไปแล้วบางครัง้ ก็เปรียบเหมือนกับ “การเดินตามหา เงาของตัวเอง” เพราะเราคิดว่า “ตัว เงา” นั้นคือ “ตัวเรา” เราจึงพยายาม ที่ จ ะแสวงหา “ความเป็ น เงา” ให้ กลายมาเป็น “ตัวเรา” ที่จับต้องได้ แต่ไม่วา่ จะพยายามสร้างความ จริงผ่านเงาที่ทอดไปกับร่างกายของ เราอย่ า งไร เงาก็ ยั ง คงเป็ น เงาอยู่ ตลอดเวลา ไม่อาจเปลี่ยนเป็นร่างกาย ที่สัมผัสได้เลย แต่เพราะมีร่างกาย ตัว เงาจึงปรากฎ หากต้องการให้เงาหยุด เคลื่อนไหว เราก็เพียงแค่หยุดยืน แล้ว เงาก็จะหยุดตาม ชีวติ ทีต่ อ้ งการสิง่ ต่างๆมาครอบ
25
ครอง ก็ไม่ต่างอะไรกับที่เราอยากให้ เงาเป็นไปอย่างที่ใจหวัง เมื่อใดที่เรา พยายามวิ่งให้เร็วเพื่อก้าวให้ทันโลก เพราะเราคิดว่าเมื่อวิ่งเร็วขึ้น สิ่งที่ได้ มาก็ น่ า จะเร็ ว ด้ ว ย เวลาที่ จ ะได้ พั ก ผ่อนก็คงจะมากกว่าความเหนื่อยล้า ที่คอยวิ่งตามเรา คนส่วนมากมักคิดว่ายิง่ แสวงหา มาไว้ ม ากเท่ า ไร โอกาสที่ จ ะได้ ห ยุ ด พักก่อนเวลาอันสมควรก็จะมาถึงเร็ว เท่ า นั้ น แต่ ค วามเป็ น จริ ง กลั บ สอน ไว้ ว่ า ทุ ก สรรพสิ่ ง ไม่ มี อ ะไรแน่ น อน ทุกอย่างมีเงื่อนไข คือความไม่เที่ยงมา คอยเป็ น ตั ว แปรให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงอยู่เสมอ
เมือ่ ชีวติ ต้องการสิง่ ต่างๆมาไว้ใน ครอบครอง แต่หากเราไร้วิธีจับของ ตามครรลองของธรรมที่ควรมี ความ ทุ ก ข์ ย่ อ มก่ อ ตั ว มากกว่ า ความสุ ข ที่ ควรจะได้ เมื่อเป็นเช่นนี้ ปราชญ์ ทั้งหลาย จึงสอนให้เรารู้จักเรียนรู้ที่ จะอยู่ กั บ ชี วิ ต อย่ า งที่ ค วรจะเป็ น มี ความสุขที่เรียบง่ายสงบงามตามแบบ ฉบับของตน ปราชญ์แห่งการใช้ชวี ติ สอนไว้วา่ ชีวิตที่จะมีความสุขได้ ไม่ใช่การวิ่ง ไปสู่จุดหมายเพียงอย่างเดียว แต่อยู่ ที่วิธีก้าวไปสู่เป้าหมายที่ใจปรารถนา นั้ น ด้ ว ย และอยู่ ที่ ว่ า ตั ว เราได้ ใ ช้ วิ ธี เดินเพื่อไปถึงเส้นชัยแห่งความสุขนั้น
ได้อย่างไร หากเราเข้าใจวิธกี ารทีจ่ ะรุกและ น้อมรับ ทุกความต้องการที่เราจะพึง ได้มา ก็จะส่งต่อให้ชีวิตดำ�รงอยู่อย่าง มีความหมาย มากกว่าการสร้างภาระ ให้เราต้องแบกรับมัน เพราะชีวติ ก็ไม่ตา่ งอะไรกับการ วิ่ ง มาราธอน ที่ ต้ อ งอาศั ย จั ง หวะใน การก้าวไปที่สม่ำ�เสมอ ด้วยว่าเราต้อง วิ่ ง ในระยะทางที่ ไ กลและใช้ เ วลาที่ ยาวนาน ทุ ก ย่ า งก้ า วจึ ง ไม่ ใ ช่ ก าร ตะบึงออกไปสุดแรงเกิด แล้วก็ถึงเส้น ชัยในเวลาไม่กี่วินาที กายและใจของเราต้องสอดคล้อง ต่ อ กั น เพื่ อ วางแผนรองรั บ กั บ ทุ ก
จั ง หวะของเท้ า ที่ กำ � ลั ง จะก้ า วเดิ น เป็นการเยื้องย่างอย่างคนที่ดูเหมือน ไม่รีบร้อน แต่ก็เพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย ที่วางแผนไว้อย่างมุ่งมั่น โดยมีเส้นชัย เป็นคำ�ตอบสุดท้ายที่แสดงให้รู้ว่ามา ถึงจริงๆ ชีวติ ทีจ่ ะมีความสุขเราจึงต้องมี วิ ธี ก ารที่ จ ะรองรั บ ความรู้ สึ ก ดี ๆ ที่ ผ่านเข้ามาอย่างมีศิลปะ เป็นความสุข ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเป็นหลัก มีใช่อยู่ กั บ เงาที่ เ ป็ น ความคิ ด อั น เพ้ อ ฝั น ใน อนาคตที่ยังไม่ใช่ความจริง เมือ่ ใดทีเ่ รารูส้ กึ ดีกบั ปัจจุบนั ขณะ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ด้ ว ยใจที่ เ ป็ น กลาง ไม่ ทำ � ความรู้ สึ ก ให้ อ้ า งว้ า ง และจมอยู่ ใ น
อดี ต ไม่ เ พ้ อ ฝั น ถึ ง วั น แห่ ง อนาคตที่ ไม่ใช่ความจริง เราย่อมมีความสุขได้ ในขณะนั้น ที่นี่ และเดี๋ยวนี้ทันที ครัง้ หนึง่ ผูเ้ ขียนมีโอกาสไปเยีย่ ม สถานที่ปฏิบัติธรรมแห่งหนึ่ง วันนั้น เจ้ า ของผู้ ดู แ ลสถานธรรม ได้ ม า ต้ อ นรั บ ด้ ว ยน้ำ � ใจที่ เ อื้ อ อารี ยิ่ ง นั ก หน้าตาเอิบอาบไปด้วยรอยยิ้ม รู้สึกดี ที่มีพระคุณเจ้ามาเยือน ในกำ�หนดการของการไปเยีย่ ม ชม ทางศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ธ รรมจะต้ อ งพา เดินดูรอบๆ บริเวณ แต่ด้วยความที่ ตึกแต่ละหลังก็หลายชั้น บริเวณสถาน ที่ ก็ ก ว้ า งพอสมควร ผู้ เ ขี ย นเห็ น ว่ า เจ้าของสถานธรรมเป็นคุณยายใจดีสูง
28
วารสาร “พุทธปทีป”
วัย จึงถามแกมหยอกว่า “คุณยาย ตึกมีตงั้ หลายชัน้ บันไดก็มีตั้งหลายขั้น จะพาทัวร์ ไหวไหม?” คุณยายยิ้มและหัวเราะอย่าง อารมณ์ ดี พร้ อ มกั บ พนมมื อ พู ด ด้ ว ย ความเบิกบานใจ หยิกแกมหยอกคืน เช่นกันว่า “ไม่เป็นไรเจ้าค่ะ ยายก็ใช้ วิธีเดินทีละก้าว เดี๋ยวก็ไปถึงเอง” “หมายความว่าอย่างไรยาย?” ลูกศิษย์ที่นั่งอยู่ข้างผู้เขียนถามขึ้นด้วย ความสงสัย “ยายก็คิดเพียงว่า แม้ตึกจะมี หลายชั้น บันไดจะมีหลายขั้น แต่ยาย ก็ แ ค่ ใ ช้ ก ารเดิ น ด้ ว ยการก้ า วไปที ล ะ
ก้าว เป้าหมายที่เราจะไปให้ถึง ก็จะ เป็นเรื่องง่ายขึ้น” พอยายชีแ้ จงจบลงพระภิกษุและ คณะญาติ ธ รรมต่ า งพากั น หั ว เราะ ขอบใจ พร้อมกับทึ่งในคำ�ตอบที่คุณ ยายมอบให้ อาจดูเหมือนเป็นคำ�ตอบ ที่ ธ รรมดาแต่ นั่ น คื อ สุ ด ยอดวิ ช าแห่ ง การค้ น หาความสุ ข ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชี วิ ต จริง เพราะหากพิจารณาคำ�ว่า“ทีละ ก้าว” จะเห็นว่านั่นคือการรู้จักสร้าง ความรู้สึกตัวที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเป็น หลัก ไม่ต้องพะวงถึงว่าตึกจะมีกี่ชั้น บั น ไดจะมี กี่ ขั้ น ขอเพี ย งแค่ เ ราทำ � หน้าที่ก้าวไปทีละก้าวอย่างรู้สึกตัว ไม่
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
ว่าจะถึงหรือไม่ แต่จิตที่รับรู้ในความ เป็นปัจจุบัน ก็สามารถตอบได้ว่า เรา มีใจที่ไม่ไหวเอนไปตามความรู้สึกที่ผุด ขึ้นมา “ทีละก้าว”จึงเป็นวิธกี ารทีท่ �ำ ให้ เราได้ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ กั บ แต่ ล ะขณะ ของการมีชีวิตอยู่ และแต่ละขณะของ เท้าที่จะก้าวไป เป็นการสร้างวิธีการ เพื่ อ จะรองรั บ สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งมี ส ติ เพื่อควบคุมแต่ละขณะของความรู้สึก อย่ า งรู้ เ ท่ า ทั น ไม่ ใ ช่ ก ารก้ า วไปสู่ อนาคต โดยไม่แลมองความจริงที่เกิด ขึ้นในปัจจุบัน แต่ทเี่ รามองไม่เห็นค่าของทีละ ก้าว เพราะไม่เคยใส่ใจที่จะไตร่ตรอง
29
สิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบันขณะนั้น ด้วย ว่าใจของเราพุ่งเป้าไปที่อนาคต ที่คิด ว่าหอมหวานกว่าสิ่งที่มีอยู่ เราจึงรีบ วิ่ ง ไปด้ ว ยจั ง หวะชี วิ ต ที่ ร วดเร็ ว จน มองไม่เห็นรายละเอียดอันงดงามที่อยู่ ตามรายทางที่เรากำ�ลังก้าวผ่านไป เมือ่ วันหนึง่ แม้จะได้ตามความ ต้องการที่ “ความอยาก” ผลักไส แต่ คำ�ตอบที่เราได้รับมา กลับกลายเป็น ความว่างเปล่าเหมือนว่าเราไม่เคยได้ รับรสจากสิ่งเหล่านั้นเลย เพราะทุก ก้าวที่เราขับเคลื่อนไป ตัวเราไม่เคย มองที่ปลายเท้า และสิ่งที่คอยรองรับ การเดินทางด้วยใจที่รู้สึกดี เราจึงเห็น แค่อากาศที่ว่างเปล่าและความหวังที่
30
วารสาร “พุทธปทีป”
เรืองรอง แต่ไม่มีความจริงให้เราได้จับ ต้องมันในแต่ละขณะของปัจจุบัน ในทางพระพุทธศาสนาสอนให้ เรารู้ จั ก ที่ จ ะใช้ ชี วิ ต อยู่ กั บ ความจริ ง แต่ ล ะขณะเป็ น สำ � คั ญ ไม่ ใ ช่ อ ยู่ ใ น ความเพ้อฝันที่เป็นความคิดล่วงหน้า เพราะอดีตก็ผ่านไปแล้ว อนาคตก็ยัง มาไม่ถึง สิ่งที่เราต้องคำ�นึงก็คือสิ่งที่ เป็นปัจจุบัน ที่เป็นชีวิตและความรู้สึก ที่เป็นจริงในทุกวินาที เมือ่ ใดทีเ่ รามีความรูส้ กึ ดีเอิบอิม่ ใจกั บ แต่ ล ะขณะที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ ไม่ ว่ า ชีวิตของเราจะเป็นคนยากจน หรือมี ทรัพย์มากล้น แต่ใจที่รู้สึกตามก็จะไม่ ติดอยู่ที่ความจนหรือรวย เราจะรู้สึก ว่ า เป็ น เรื่ อ งธรรมดา แต่ ก็ รู้ ค่ า ที่ จ ะ ใช้สอย เพราะเรามีความเข้าใจเป็น กลางๆ มาคอยช่ ว ยจั ด วางทุ ก สิ่ ง ให้ เดินทางอย่างที่ควรจะเป็น
เมือ่ ใจเรารับรูเ้ ช่นนี้ อดีตหรือ อนาคต ก็ ไ ม่ ส ามารถทำ � ร้ า ยเราได้ เพราะใจของเรารู้ ว่ า จั ง หวะที่ สำ � คั ญ ของการมี ชี วิ ต อยู่ คื อ ก้ า วที่ เ ป็ น ปั จ จุ บั น ของความจริ ง อนาคตเป็ น เพี ย งสิ่ ง ที่ ร อเราอยู่ อาจจะถึ ง ก็ ไ ด้ หรืออาจเป็นเพียงมายา ที่มาหลอก เราให้ ห ลวงติ ด หล่ ม ความคิ ด ของตั ว เอง “ทีละก้าวของความเข้าใจ” จึงเป็นวิธีการสร้างชีวิตให้มีความสุข ตั้งแต่แรกเริ่มที่ก้าวเดิน แม้จะมีเงา แห่งชีวิตเดินทอดตามไปด้วย แต่เงา แห่งใจก็ไม่เร่งเร้าให้เราต้องรีบวิ่งตาม คงทำ � หน้ า ที่ เ ดิ น ไปกั บ เรา ด้ ว ยท่ ว ง ทำ�นองที่ลงตัวอย่างเหมาะสม และมี ความสุขเสมอ ไม่ว่าจะเดินหรือวิ่งไป ด้วยกัน
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
31
32
สิ่งที่จิตระลึกถึงก่อนตายมี ๓ ชนิด คือ ๑. กรรม ภาพกรรมดีกรรมชัว่ ทีเ่ คยทำ�ในอดีตมักหวนกลับมาปรากฏให้ เห็นทัง้ ๆ ทีเ่ ราลืมไปนานแล้ว เช่นใครเคยฆ่าคนตาย ภาพ เหตุการณ์เกีย่ วกับฆาตกรรมจะกลับมาปรากฏในจิตถ้าเคยช่วย ชีวติ คนไว้ภาพตอนนัน้ จะมาปรากฏนีแ้ สดงว่านึกถึงกรรมหรือ กระบวนการทำ�ความดีหรือความชัว่ ดังพระบาลีวา่ ในสมัยนัน้ กรรมทัง้ หลายทีต่ นทำ�ไว้กอ่ นนัน้ ย่อมเกาะติดในจิตของบุคคลผู้ ใกล้ตายนั้น ๒. กรรมนิมิต บางคนเคยเห็นภาพทีเ่ ป็นสัญลักษณ์ของการทำ�กรรม เช่นบาง คนเห็นมีดทีต่ นเคยใช้ฆา่ วัวบางคนนึกถึงภาพโบสถ์วหิ ารทีต่ น เคยสร้างเราระลึกถึงนิมติ ของกรรมใดก็จะไปเกิดใหม่ตามพลัง ของกรรมนั้น
๓. คตินิมิต บางคนไม่นกึ ถึงกรรมในอดีตแต่กลับนึกถึงภาพของทีท่ จี่ ะไปเกิด ในชาติหน้านัน้ คือเห็นคตินมิ ติ หมายถึงภาพเกีย่ วกับทีท่ จี่ ะไป เกิดเช่นใครทีจ่ ะไปเกิดในสวรรค์คนนัน้ จะนึกเห็นวิมานใครจะ ไปเกิดเป็นประเภทสัตว์กนิ หญ้าจะนึกเห็นทุง่ หญ้าเขียวขจีภาพ เหล่านีเ้ ป็นนิมติ ทีบ่ อกล่วงหน้าว่าเราจะไปเกิดในภพภูมใิ ดคง เหมือนกับภาพทีบ่ างคนฝันเห็นล่วงหน้าก่อนเกิดเหตุการณ์จริงๆ (สุบิน) รวมความว่าในวาระสุดท้ายของชีวติ จิตของเราระลึกถึงกรรม กรรมนิมติ หรือคตินมิ ติ ประเภทใด เราจะไปเกิดในภพภูมอิ นั สอดคล้องกับกรรมกรรมนิมติ หรือคตินมิ ติ ประเภทนัน้ ดังนัน้ บางคนวางแผนลักไก่คอื ชัว่ ชีวติ เขาทำ�บาปมากกว่าบุญเขาจึง
34
วารสาร “พุทธปทีป”
กะจะนึกถึงกรรมดีนดิ หน่อยนัน้ ก่อนตาย ถ้านึกถึงพระด้วย ตนเองไม่ได้ก็สงั่ ลูกช่วยเตือนความจำ� คนเรามักจะเตือนคนใกล้ ดับจิตให้นกึ ถึงพระเอาไว้แต่ใครทำ�บาปไว้มากคงไม่อาจหลอก ตัวเองก่อนตายได้ดังมีเรือ่ งเล่าว่าเสีย่ คนหนึง่ เป็นพ่อค้าขาย ข้าวเปลือกชอบโกงชาวบ้านด้วยวิธตี วงข้าวเปลือกไม่เต็มถัง พอเสีย่ คนนีใ้ กล้ตายลูกสาวก็กระซิบให้เตีย่ นึกถึงพระด้วยการบ ริกรรมว่าสัมมาอะระหังๆแต่เตีย่ บริกรรมตามว่าสัมมากีถ่ งั ๆ แท้ทีจ่ ริงนัน้ กรรมทีป่ รากฏในจิตก่อนตาย มีล�ำ ดับการให้ผล ก่อนหลัง ซึ่งแบ่งออกเป็น ๔ ชนิดคือ ๑. ครุกรรม (กรรมหนัก) กรรมหนักจะให้ผลก่อนกรรมอืน่ ๆถ้าใครทำ�กรรมหนักภาพของ กรรมหนักจะปรากฏในจิตก่อนตายกรรมอืน่ ต้องรอโอกาสต่อไป กรรมหนักฝ่ายดี เช่น สมาบัติ ๘ กรรมหนักฝ่ายไม่ดี คืออนันตริยกรรม ๕ เช่น ฆ่าพ่อฆ่าแม่ เป็นต้น ๒. อาจิณกรรม (กรรมที่ทำ�จนชิน) ถ้าไม่มกี รรมหนักอาจิณกรรมจะให้ผลก่อนคือปรากฏในจิตก่อน ตาย อาจิณกรรม หมายถึงกรรมทีท่ �ำ สม่�ำ เสมอจนเป็นนิสยั กรรมประเภทนี้มีความสำ�คัญรองมาจากครุกรรม ๓. อาสันกรรม (กรรมใกล้ตาย)
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
ถ้าไม่มีครุกรรมและอาจิณกรรม อาสันกรรมจะให้ผล อาสัน กรรมหมายถึงกรรมทำ�ก่อนสิน้ ใจเช่นการทำ�สังฆทานก่อนตาย หรือนิมนต์พระมาสวดมนต์ให้ฟังในวาระสุดท้าย ๔. กตัตตากรรม (กรรมที่สักว่าทำ�) ถ้ากรรมสามอย่างข้างต้นไม่มี กตัตตากรรมจะให้ผลโดยมา ปรากฏในจิตก่อนตายกตัตตากรรมหมายถึงกรรมด้วยเจตนา อันอ่อนคือไม่ได้ตงั้ ใจทำ� เช่นเพือ่ นเอาซองผ้าป่าให้เราก็เอา เงินทำ�บุญใส่ซองทำ�บุญอย่างเสียไม่ได้หรือแม่สงั่ ให้เราใส่บาตร พระเราก็ใส่ไปอย่างนัน้ เองนีเ้ ป็นกตัตตากรรมทีม่ นี �้ำ หนักน้อย เพราะเจตนาอ่อน เหตุดงั กล่าวนีเ้ องทำ�ให้เราไม่สามารถลักไก่ได้ นัน่ คือ เช่นคนที่ ทำ�อาสันกรรมด้วยการใส่บาตรพระก่อนตัวเองจะตายย่อมไม่ สามารถหนีกรรมหนักทีเ่ กิดจากการฆ่าพ่อแม่ไปได้ เป็นต้น เพราะกรรมต่างๆให้ผลตามลำ�ดับอย่างนีเราจะไปเกิ ้ ดทีไ่ หนก็ ขึน้ อยูก่ บั กรรม กรรมนิมติ หรือคตินมิ ติ ทีเ่ รานึกถึงก่อนตาย
35
คำ�ว่า จิต ได้แก่ ดวงจิต ดวงใจผูร้ อู้ ยู่ ผูเ้ ห็นอยู่ ผูไ้ ด้ยนิ ได้ฟงั อยู่ เรา ฟังเสียง ได้ยินเสียง ใครเป็นผู้รู้อยู่ในตัวในใจ นั่นแหละมันอยู่ตรงนี้ ให้ รวมให้สงบเข้ามาอยู่ตรงนี้ ตรงจิตใจผู้รู้อยู่ ตาเห็นรูป ก็จติ ดวงนีเ้ ป็นผูเ้ ห็น ดีใจก็จติ ดวงนีห้ ลงไป เสียใจก็จติ ดวง นี้หลงไป เสียงผ่านเข้ามาทางโสต ทางหูก็จิตดวงเก่านี่แหละ กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ก็จิตดวงนี้เป็นผู้หลง เมื่อจิตใจดวงนี้เป็นผู้หลงผู้ เมาไม่เข้าเรื่อง เราก็มาแก้ไขภาวนาทำ�ใจให้สงบ ไม่ให้หันเหไปกับอารมณ์ ใดๆ เห็นสิ่งต่างๆ ที่เกิดดับอยู่ในตัว ในใจ ในสัตว์ ในบุคคลนี้ว่า มีเกิดขึ้น ตั้งอยู่ชั่วระยะหนึ่ง แล้วก็แตกดับไปเป็นธรรมดาอย่างนี้ การปฏิบัติบูชา ภาวนานี้ เป็นการปฏิบัติภายใน เป็นการเจริญ ภายใน พุทโธภายใน ให้ใจอยู่ภายใน ไม่ให้จิตใจไปอยู่ภายนอก การภาวนา ไม่ใช่เป็นของหนัก เหมือนแบกไม้หามเสา เป็นของเบา ที่สุด นึกภาวนาบทใดข้อใด ก็ให้เข้าถึงจิตถึงใจ จนจิตใจผ่องใสสะอาดตั้ง
มั่นเที่ยงตรงคงที่อยู่ ภายในจิตใจของตน ใจก็สบาย นั่งก็สบาย นอนก็ สบาย ยืนไปมาที่ไหนก็สบายทั้งนั้น ในตัวคนเรานี้ เมื่อจิตใจสบาย กายก็ พลอยสบายไปด้วย อะไรๆ ทุกอย่างมันก็สบายไป มันแล้วแต่จิตใจ ทำ�อย่างไรใจจะสงบระงับ มีอบุ ายอะไร ก็อบุ ายไม่ขเี้ กียจไงละ ให้มี ความเพียร จะสู้กับกิเลสราคะ โทสะ โมหะ ในใจได้ ไปสู้ที่ไหน ก็สู้ด้วย ความเพียร สู้ด้วยความตั้งใจมั่น เราตั้งใจลงไปแล้วให้มันมั่นคง อย่าไป ถอย เพียรพยายามฝึกตนเองอยูเ่ สมอ บนแผ่นดินนีผ้ มู้ คี วามเพียร ผูไ้ ม่ ท้ อ แท้ อ่ อ นแอในดวงใจ ไม่ ว่ า จะทำ � อะไร ย่ อ มสำ � เร็ จ ได้ ดู ตั ว อย่ า ง พระพุทธเจ้า เมื่อเห็นแล้วเราต้องตั้งความเพียรลงไป ภาวนาลงไป เมื่อ มันยังไม่ตายจะไปถอยความเพียรก่อนไม่ได้ สูด้ ว้ ยการละทิง้ อย่าไปยึดเอาถือเอา เขาว่าให้เรา เขาดูถกู เรา เสียง ไม่ดีเข้าหูก็เพียรละออกไปให้มันหมดสิ้น มนุษย์มีปาก ห้ามมันไม่ให้พูดไม่
38
วารสาร “พุทธปทีป”
ได้ มนุษย์มีตา ห้ามไม่ให้มันดูไม่ได้ มันเป็นเรื่องของโลก ท่านจึงตรัสว่า ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจมันเป็นความร้อน ความร้อน คือกิเลส กิเลส เหมือนกับไฟ ไฟมันเป็นของร้อน เราได้คลานภาวนาจนเข่าแตกเลือดออกมีไหม ไม่มี มีแต่นอนห่มผ้า ให้มันตลอดคืน มันจะได้สำ�เร็จมรรคผลอะไร ก็ได้แต่กรรมฐานขี้ไก่ กรรม ฐานขี้หมู ไม่ลุกขึ้นภาวนาเหมือนพระแต่ก่อน พระแต่ก่อนท่านเดินไม่ได้ ท่านก็คลานเอา พุทโธในใจ หลงใหลทำ�ไม ไม่ตอ้ งหลง ไม่ตอ้ งลืม นัง่ ก็พทุ โธในใจ นอนก็พุทโธในใจ ยืนก็พุทโธในใจ เดินไปไหนมาไหน ก็พุทโธในใจ กิเลส โลเลละให้หมด โลเลทางตา โลเลทางหู โลเลทางจมูก ทางกลิ่น โลเลใน อาหารการกิน เลิกละให้หมด ไม่ตอ้ งไปรอท่าว่า เมือ่ ถึงวันตายข้าพเจ้าจะภาวนาพุทโธเอาให้ได้ อย่างนี้ไม่ได้ เราต้องทำ�ไว้ก่อน เตรียมตัวเตรียมใจไว้ก่อน ตั้งแต่บัดนี้ เดี๋ยวนี้เวลานี้เป็นต้นไป ความตายนีไ้ ม่มใี ครหลบหลีกได้ ท่านให้นกึ ให้นอ้ มให้ได้วา่ ทุกลม หายใจเข้าไปก็เตือนใจของตนให้นึกว่า นี่ถ้าลมหายใจนี้เข้าไปแล้วออกมา ไม่ได้ เกิดติดขัดคนเราก็ตายได้ แม้ลมหายใจออกไปแล้ว เกิดอะไรขัดขึ้น มาสูดลมหายใจเข้า มาไม่ได้คนเราก็ตายได้ เราทุกคนดวงใจทีม่ ชี วี ติ อยู่ ณ ภายในนี้ ก็อย่าพากันนิง่ นอนใจ อยู่ ที่ไหน กายกับใจอยู่ที่ไหน ก็ที่นั่นแหละเป็นที่ปฏิบัติบูชาภาวนา อยู่บ้านก็ ภาวนาได้ อยู่วัดก็ภาวนาได้ บวชไม่บวชก็ภาวนาได้ทั้งนั้น
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
39
ตัง้ จิตดวงนีใ้ ห้เต็ม ในขัน้ สมถกรรมฐาน พร้อมกับวิปสั สนากรรม ฐาน ให้แจ่มแจ้งในดวงใจทุกคนเท่านั้นก็พอ เพราะว่าเมื่อเราเกิดมาทุกคน ก็ไม่ได้มีอะไรติดมา ครั้งเมื่อเราทุกคนตายไปแล้วแม้สตางค์แดงเดียวก็เอา ไปไม่ได้ ด้วยเหตุนี้ จงพากันนั่งสมาธิภาวนาให้เต็มที่จนกิเลสโลภะอันมัน นอนเนื่องอยู่ใน จิตนี้ให้หมดเสียวันนี้ๆ ถ้ากิเลสความโลภนี้ยังไม่หมดจาก จิต ก็ยังไม่หยุดยั้งภาวนาจน วันตายโน้น การภาวนาละกิเลสให้หมดไปจริงๆ นัน้ ต้องปฏิบตั ดิ งั นี้ เมือ่ กำ�หนด รู ป ร่ า งกายของเรา บริ ก รรมกำ � หนดลมหายใจจนจิ ต ตั้ ง มั่ น ดี แ ล้ ว ต้ อ ง กำ�หนดรูปร่างของเราเอง นับตั้งแต่ ผม ขน เล็บ ไปตลอดหมดในร่างกาย นี้ ให้เห็นตามความเป็นจริง ที่มันตั้งอยู่และมันเสื่อมไป ด้วยความเจ็บไข้ ได้ป่วยมีทวารทั้ง ๙ เป็นสถานที่ไหลออกไหลเข้าซึ่งของไม่งาม อันความตายนัน้ จงระลึกดูให้รแู้ จ้งด้วยสติปญ ั ญาของตนเอง ยก จิตใจตั้งให้มั่นอย่าได้หวั่นไหว เจ็บจะเจ็บไปถึงไหนก็แค่ตาย อยู่ดีสบาย อยู่ไปถึงไหนก็แค่ตาย แก่ชราแล้วไม่ตายไม่ได้ เมื่อมาถึงบุคคลผู้ใดจะให้ผู้ อื่นช่วยไม่ได้ ต้องภาวนาให้พ้นจากความตาย ความตายนั้นมีทางพ้นไป ได้ อยู่ที่การละกิเลส ล้างกิเลสในใจให้หมดสิ้น วันคืนเดือนปี หมดไป สิน้ ไป แต่อย่าเข้าใจว่าวันคืนนัน้ หมดไป วัน คืนไม่หมด ชีวิตของแต่ละบุคคลหมดไปสิ้นไป มันหมดไปทุก ลมหายใจ เข้าออก ฉะนั้น ภาวนาดูว่า วันคืนล่วงไป เราทำ�อะไรอยู่ ทำ�บุญหรือ ทำ�บาป เราละกิเลสได้หรือยัง เราภาวนาใจสงบหรือยัง ทุกข์อยูท่ ไี่ หน ทุกข์อยูท่ ใี่ จยึดมัน่ ถือมัน่ ยึดมัน่ ถือมัน่ ในชาติตระกูล ในตัว ในตน ในสัตว์ในบุคคล ความยึดอันนี้แหละที่ยึด ไม่ให้มีทุกข์ให้มี
40
วารสาร “พุทธปทีป”
ความสุข มันเป็นไปไม่ได้ เหมือนกับว่าเราจะไม่ให้แก่ ก็แก่เรื่อยไป ต้องรู้ ว่าแก่เพราะอะไร ก็เพราะว่าจิตมายึดถือ เมื่อจิตมายึดมาถือ จิตจึงมา เกาะอยู่ มาเกิด มาแก่ชรา เจ็บไข้ได้พยาธิ ผลที่สุดก็ถึงซึ่งความตาย บทภาวนาบทใดก็ดที งั้ นัน้ ถ้าภาวนาได้ทกุ ลมหายใจ ก็เป็นอุบาย ธรรมอันดีทั้งนั้น ความตั้งมั่นในสมาธิภาวนาของจิตใจคนเรานั้น ย่อมมี เวลาเจริญขึ้น มีเสื่อมลงเป็นธรรมดา ถ้าเรามารู้เท่าทันว่า การรวมจิตใจ เข้าเป็นดวงหนึ่งดวงเดียว เป็นความสงบสุขเยือกเย็น อย่างแท้จริง ก็ให้ ทุกคนตั้งใจปฏิบัติบูชาภาวนา อย่าได้มีความท้อถอย เมื่อใจไม่ท้อถอย แล้วก็ไม่มีอะไรที่จะมาทำ�ให้เราท้อแท้อ่อนแอได้ เพราะคนเรามีใจเป็น ใหญ่เป็นประธาน สำ�เร็จได้ด้วยใจทั้งสิ้น ความเทีย่ งแท้แน่นอนในโลกนี้จะเอาทีไ่ หนไม่มีผูป้ ฏิบตั จิ งรูเ้ ท่าทัน รู้เท่านั้นแล้วก็ปล่อยว่าง อย่าเข้าไปยึดไปถือ อย่าไปยึดว่าตัวกูของกู ตัว ข้าของข้า ตัวเราของเรา เราเป็นนั้นเป็นนี้ ตัวเราของเราไม่มี มีแต่ธาตุดิน น้ำ� ไฟ ลม มีแต่หลัก อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ทั้งโลก ให้ทานข้าวของ วัตถุภายนอกก็เป็นบุญ แต่ยงั ไม่ลกึ ซึง้ ให้ท�ำ บุญ ภายในใจ ให้เป็นบุญอยู่เสมอ ภาวนาพุทโธ นึกน้อมเอาคุณพระรัตนตรัย เป็นที่พึ่งอยู่ภายใน นี่แหละ บุญภายใน อวิชชา แปลว่าไม่รู้ ไม่รตู้ น้ ไม่รปู้ ลาย ไม่รอู้ ยู่ จิตจึงได้วนเวียน หลง ไหล เข้าใจผิดว่า โลกนี้ยังมีความสุขซ่อนอยู่ ความจริงแล้วในมนุษย์โลกก็ ดี เทวโลกก็ตาม พรหมโลกก็ช่าง ล้วนแล้วแต่ตกอยู่ในกองทุกข์ กองภัย ต้องมีภัย อันตรายรอบด้าน ชีวติ ของคนเราไม่นาน ชีวติ นีม้ นี อ้ ยทีส่ ดุ เวลาเรายังไม่ตาย ก็ได้ขา่ ว
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
41
คน นั้นว่าตาย ที่เขาเอาไปฝังทิ้ง หรือเอาไปเผาไฟ เพื่อไม่ให้กลิ่นมัน เหม็นจมูกเขาต่างหาก เราต้องพิจารณา ต้องทำ�ด้วยกำ�ลังศรัทธาของเรา ทำ�ไมพระพุทธเจ้า พระอริยเจ้าทั้งหลาย ท่านจึงเกิดอสุภกรรมฐานเห็น แจ้งในจิตในใจได้ เห็นคนก็เห็นก้อนอสุภกรรมฐาน เห็นคนก็เห็นความ ตายของคนนั้น สงบแต่ปาก ใจไม่สงบ ก็ไม่ได้ ต้องให้ใจสงบ ใจสงบ ก็คอื ว่า เมือ่ ฟุง้ ซ่านรั่วไหลไปที่อื่นก็ให้คอยระวัง นึกน้อมสอนใจของตัวเองด้วยว่า ความ เกิดเป็นทุกข์ เกิดมาแล้วเป็นทุกข์อย่างนี้แหละ จะไปเอาสุขที่ไหนในโลก ที่ไหน มันก็ทุกข์เท่าๆ กัน เอาสิ่งเหล่านี้มาเตือนใจตนเอง เวลาความตายมาถึงเข้า กายกับจิตจะอยูด่ ว้ ยกันไม่ได้ เรียกว่าแยก กันไป จิตทำ�บาปไว้ก็ไปสู่บาป จิตทำ�บุญไว้ก็ไปสู่บุญ จิตละกิเลสราคะ โทสะ โมหะ ได้ก็ไปสู่นิพพาน จิตละไม่ได้ก็มาเวียนตายเวียนเกิด วุ่นวาย อยู่อย่างนี้ พระพุทธเจ้ามา ตรัสรู้ในโลก มนุษย์ทั้งหลายก็ยังไม่หมดไป จากโลก ยิ่งในปัจจุบันนี้ ยิ่งมากกว่าในสมัย ก่อน มันเกิดมาจากไหน ก็ เกิดมาจากจิตที่เต็มไปด้วย อวิชชา-ความไม่รู้ ตัณหา-ความดิ้นรน ไม่สงบ ตั้งมั่น ก็สร้างตัวขึ้นมาในแต่ละบุคคล แล้วก็มาทุกข์มาเดือดร้อน วุ่นวาย อยู่ในวัฏสงสารอย่างนี้แหละ ให้ละกิเลสออกจากจิตให้หมดทุกคนกิเลสนีแ้ หละทำ�ให้คนเราเดือด ร้อนวุ่นวายอยู่ไม่สิ้นสุด กิเลสนั้นเมื่อย่นย่อเข้ามาก็คือ ความโกรธ ความ โลภ ความหลง ๓ อย่างเท่านี้ ทำ�ไมจึงเกิดมาสร้างกิเลสให้มากขึ้นไปทุก ภพทุกชาติ ทำ�ไมหนอ ใจคนเราจึงไม่ยอมละ การละก็ไม่หมดสักที ในชาติ เดียวนี้ตั้งใจละ ทั้งพระเณรและญาติโยมทั้งหลาย ความโกรธเมื่อเกิดขึ้น อย่าโกรธไปตาม ถ้าไม่โกรธไปตาม มันจะตายเชียวหรือ ทำ�ไมจึงไม่ระลึก
42
วารสาร “พุทธปทีป”
อยู่เสมอว่า คนเราจะละความโกรธให้หมดสิ้นไป ในเวลาเดี๋ยวนี้ อย่าให้มี การท้อถอยในการสร้างความดี มีการรักษาศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ ศีล ๒๒๗ พร้อมทั้งการเจริญสมาธิภาวนา ฆ่ากิเลสตัณหาให้หมดไป ใจจึงจะเย็น เป็นสุขทุกคน ภาวนาให้ได้ทกุ ลมหายใจเข้าออก เมือ่ มีปญ ั หาอะไรเกิดขึน้ จิตของ ผู้ภาวนาก็สูง คำ�ว่าสูง ก็เหมือนกับเรือที่ลอยลำ�อยู่ในแม่น้ำ� ลำ�คลองหรือ ที่มหาสมุทรสาคร ก็คือ จิตมันอยู่เหนือน้ำ� จิตอยูเ่ หนืออารมณ์ เหมือนเรืออยูเ่ หนือแม่น� ้ำ มันก็ไม่ทกุ ข์ไม่รอ้ น จึงจำ�ต้องฝึกอบรมตัวเองให้มีความอดทน เวลาความสุขมาถึงเข้า เราจะไปเอาความสุขในความสรรเสริญ เยินยอ มั่งมีศรีสุขอย่างเดียว แต่เราหารู้ไม่ว่า “ความสุขมีที่ไหน ความ ทุกข์ก็มีที่นั่น” มรณกรรมฐานนีเ้ ป็นยอดกรรมฐานคนเราเมือ่ อาศัยความประมาท มัวเมาไม่ได้มองเห็นภัยอันตรายจะมาถึงตน คิดเอาเอง หมายเอาเอง ว่า เราคงไม่เป็นไรง่ายๆ เราสบายดีอยู่ เรายังเด็กยังหนุ่มอยู่ ความตายคงไม่ กล้ำ�กรายได้ง่าย ๆ อันนี้เป็นความประมาท มัวเมา ถ้ามองเห็นความตายทุกลมหายใจเข้าออก สบายไปเลย กูกจ็ ะตาย สูก็จะตาย จะมากังวลวุ่นวายกันทำ�ไม
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
43
แนวคิดที่ว่า ในเมื่อวิตามินจำ�นวนน้อยดีต่อ ร่ า งกาย วิ ต ามิ น จำ � นวนมากหรื อ วิ ต ามิ น ขนาดยักษ์ (mega-vitamin) ก็คงจะยิ่งดี ต่ อ ร่ า งกายมากขึ้ น ผสมกั บ แนวคิ ด ว่ า วิตามินบางอย่างเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ทำ� ให้ มี ก ารใช้ วิ ต ามิ น เสริ ม กั น มาก แต่ ว งการ แพทย์แผนตะวันตก มีนักวิทยาศาสตร์ช่าง สงสัย ซึ่งเขาสงสัยว่า การใช้วิตามินเสริมจะ มีผลดีผลเสียอย่างไรบ้าง
คนจำ�นวนมากทีม่ แี นวคิดใน การกิ น วิ ต ามิ น เพื่ อ เป็ น สารเสริ ม อาหารนั้น เนื่องจากเกรงว่าตัวเอง จะกินอาหารไม่เพียงพอ เช่น คนที่ คุ ม อาหารเพื่ อ ลดน้ำ � หนั ก แต่ โ ดย ทั่วไปในสังคมที่เจริญแล้ว โรคขาด วิ ต ามิ น หรื อ สารเสริ ม อาหารอื่ น ๆ เป็นสิ่งที่พบได้น้อยมาก ดังนั้นการ กินสารเสริมอาหารจึงมีความเสี่ยงที่ อาจจะทำ�ให้ร่างกายได้รับสารเหล่า นี้มากเกินไป เหตุผลอีกอย่างหนึง่ ทีท่ �ำ ให้ คนนิยมกินสารเสริมอาหารก็คือเพื่อ ป้ อ งกั น โรคร้ า ย แต่ ผ ลการศึ ก ษา หลายชิ้ น ได้ แ สดงให้เห็น ซ้ำ�แล้วซ้ำ�
เล่าว่า อาหารจำ�พวกผักผลไม้หรือ อาหารจากพืชอื่นๆ ที่อุดมไปด้วย สารต้านอนุมูลอิสระมีความสัมพันธ์ ในระดับที่ต่ำ�กับอัตราการเกิดมะเร็ง และโรคหัวใจ อย่างไรก็ดยี งั ไม่มกี ารศึกษา พบว่าสารเสริมอาหารสังเคราะห์มี ประโยชน์ต่อร่างกาย แต่กลับพบว่า อาจจะทำ�ให้เกิดโทษด้วย อย่างเช่น ผลการวิ จั ย ล่ า สุ ด ซึ่ ง เป็ น การ วิเคราะห์ข้อมูลของโครงการที่เรียก ว่า Iowa Women’s Health Study (IWHS) ด้วยการติดตามการใช้สาร เสริมอาหารของผู้หญิงจำ�นวนมาก กว่า 38,000 รายที่มีอายุ 55 ปีหรือ
46
วารสาร “พุทธปทีป”
มากกว่ า เป็ น เวลาเกื อ บ 20 ปี ผลลัพธ์ส่วนหนึ่งที่พบก็คือ การใช้ วิตามินรวมดูเหมือนว่าจะเพิ่มความ เสี่ยงที่จะทำ�ให้เสียชีวิตก่อนวัยอัน ควร ขณะทีผ่ ลการศึกษาชิน้ อืน่ ๆ ก็ทำ�ให้พบหลักฐานที่ต่อต้านการใช้ สารเสริ ม อาหาร เพื่ อ ป้ อ งกั น โรค และรักษาสุขภาพมากขึ้นเช่นกัน แต่ มี ข้ อ ยกเว้ น ดั ง จะกล่ า วถึ ง ต่ อ ไป ตอนนี้ ล องมาดู ผ ลการศึ ก ษาที่ พ บ ผลเสี ย หรื อ โทษที่ อ าจจะเกิ ด จาก วิตามินหรือเกลือแร่เสริมอาหารกัน ก่อน วิตามินอีการศึกษาทบทวน ผลงานวิจัยในปี 2005 ชิ้นหนึ่งพบ ว่า การกินวิตามินอีเสริมขนาด 400 IU (international unit =หน่วยสากล) หรือมากกว่า หรือแม้ในขนาดที่ต่ำ� ลงไปถึ ง 150 IU ต่ อ วั น อาจจะ ทำ�ให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพ ซึ่ง รวมถึงการเสียชีวิตก่อนวัย ส่วนการ ศึ ก ษาอี ก ชิ้ น หนึ่ ง ซึ่ ง ทำ � การศึ ก ษา การใช้วิตามินอีและซีลีเนียมเพื่อลด การเกิดมะเร็งต่อมลูกหมากในผู้ชาย
จำ � นวนมากกว่ า 35,000 คน ที่ มีอายุ 50 ปี หรือมากกว่า พบว่า คนที่กินซีลีเนียม 200 ไมโครกรัม อย่างเดียวหรือกินร่วมกับวิตามินอี 400 IU ไม่ ไ ด้ เ ป็ น มะเร็ ง ต่ อ มลู ก หมากน้อยกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับ ผู้ชายที่กินยาหลอก แต่กลับพบว่า ผู้ชายที่กินวิตามินอี 400 IU อย่าง เดียวมีอัตราเกิดมะเร็งต่อมลูกหมาก เพิ่มขึ้น 18% วิตามินเอ การศึกษาขนาด ใหญ่ในผู้หญิงหลังหมดประจำ�เดือน ชิ้นหนึ่งพบว่า การกินวิตามินเออะซี เตต หรือวิตามินเอปาล์มิเตตเป็น เวลานาน ในขนาดอย่างน้อย 2,000 ไมโครกรั ม (6,600 IU) อาจเพิ่ ม ความเสี่ ย งต่ อ การหั ก ของกระดู ก สะโพก แต่งานวิจัยชิ้นอื่นไม่ได้สรุป อย่างนี้ ในการรวบรวมผลการวิจัย ขนาดใหญ่ พ บว่ า การกิ น เบต้ า แค โรทีนเสริม (ซึ่งเปลี่ยนเป็นวิตามินเอ ในร่างกาย) เพิ่มความเสี่ยงที่จะเสีย ชี วิ ต โดยเฉพาะในคนที่ สู บ บุ ห รี่ หรื อ คนที่ เ คยสู บ บุ ห รี่ เนื่ อ งจาก วิตามินเอในรูปของเรตินอล (retinol)
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
มีศักยภาพที่จะทำ�ให้เกิดพิษ ถ้ากิน ในขนาดมากกว่า 10,000 IU ต่อวัน และเนื่องจากการขาดวิตามินเอใน ประเทศพั ฒ นาเกิดขึ้น ได้น้อ ยมาก ดังนั้นจึงไม่แนะนำ�ให้กินวิตามินเอ เสริม กรดโฟลิกหรือโฟเลต(หรือ วิตามินบี 9) ผู้ใหญ่ส่วนมากได้รับโฟ เลตเพียงพอ แต่การกินสารนี้เสริม ในผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ เพื่อลดความผิด ปกติของทารกเป็นสิ่งที่ได้ผลดี ส่วน ประโยชน์ อ ย่ า งอื่ น ยั ง ไม่ ป รากฏ แน่ชัด มิหนำ�ซ้ำ�ในงานวิจัยบางชิ้น ยังพบว่า การกินกรดโฟลิกเสริมอาจ จะทำ�ให้เกิดมะเร็งลำ�ไส้ใหญ่เพิ่มขึ้น ขณะที่ในการศึกษาที่เรียกว่า Iowa Women’s Health Study บ่งชี้ว่า การกิ น กรดโฟลิ ก เสริ ม อาจทำ � ให้ ความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตก่อนวัยเพิ่ม ขึ้น 5% วิตามินบี6มีการศึกษาพบว่า เมื่อกินวิตามินบี 6 ขนาดใหญ่ (มาก กว่า 100 มิลลิกรัม) ไปนานๆ จะ ทำ�ให้เส้นประสาทเกิดความเสียหาย ส่ ว นในการศึ ก ษาที่ ไ อโอวาพบว่ า
47
การกินวิตามินบี 6 เสริมดูเหมือนว่า จะทำ�ให้เกิดการเสียชีวิตก่อนวัยเพิ่ม ขึ้น 4.1% วิตามินบี3(niacin)เมือ่ กินใน ขนาดสูงสามารถลดระดับคอเลสเต อรอลได้ แต่อาจจะมีพิษต่อตับ ดัง นั้นคนที่กินวิตามินบี 3 เสริมจึงควร ได้ รั บ การดู แ ลและเฝ้ า ระวั ง โดย แพทย์ เหล็กในผูช้ ายหรือหญิงที่ สุขภาพดี การขาดธาตุเหล็กเป็นสิ่งที่ พบยาก ดังนั้นถ้าคุณอยู่ในกลุ่มคน ดังกล่าวและขาดธาตุเหล็กก็ควรไป พบแพทย์ เ พื่ อ ตรวจหาสาเหตุ เ พิ่ ม เติมว่าเกิดขึ้นเพราะอะไร จากการ ศึ ก ษาสุ ข ภาพของผู้ ห ญิ ง ที่ ไ อโอวา พบว่า คนที่กินธาตุเหล็กเสริมมีการ เสี ย ชี วิ ต ก่ อ นวั ย อั น ควรเพิ่ ม ขึ้ น 3.9% แต่ ส่ ว นมากคนที่ เ ป็ น โรค โลหิตจางมักจะได้รับธาตุเหล็กจาก แพทย์ ทำ � ให้ มี ห ลายคนวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ผ ลการศึ ก ษาชิ้ น นี้ ว่ า สิ่ ง ที่ เกิ ด ขึ้ น อาจจะเป็ น แค่ ผ ลข้ า งเคี ย ง เล็กๆ น้อยๆ ก็ได้ อ่านมาถึงตรงนีแ้ ล้วคงทำ�ให้ผู้
48
วารสาร “พุทธปทีป”
อ่านคิดว่า ไม่มีวิตามินเสริมอะไรที่ ดีๆ กินแล้วมีประโยชน์ต่อร่างกาย บ้ า งเลยหรื อ คำ � ตอบคื อ มี เ หมื อ น กัน อย่างเช่นแคลเซียม ผู้รู้จากเมโย ค ลิ นิ ก แ น ะ นำ � ใ ห้ ค น สู ง วั ย กิ น แคลเซียมเสริมอาหารให้ครบวันละ 1,200 มิลลิกรัม (โดยอาหารที่เป็น แหล่งแคลเซียมที่ดีที่สุด เช่น ปลา ไส้ตัน ฯลฯ) โดยไม่ควรกินเกินกว่า ขนาดนี้ อย่างไรก็ดี ผลการศึกษา เมื่อเร็วๆ นี้พบว่า การกินแคลเซียม เสริ ม เพิ่ ม ความเสี่ ย งที่ จ ะเป็ น โรค หัวใจวาย แต่การศึกษาชิ้นเก่าๆ ไม่ สนับสนุนข้อสรุปอย่างนั้น และใน การศึกษาสุขภาพของผู้หญิงไอโอวา พบว่ า คนที่ กิ น แคลเซี ย มเสริ ม มี อัตราความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตก่อน วัยลดลง 3.8% วิตามินดีช่วยในการดูดซึม แคลเซียม ดังนั้นเพื่อรักษาสุขภาพ ของกระดู ก และป้ อ งกั น กระดู ก หั ก จากการล้มของคนสูงวัย จึงแนะนำ� ให้กินวิตามินดีวันละ 600-800 IU จากอาหารและจากแคลเซียมเสริม ขณะที่แพทย์บางคนคิดว่า ควรกิน
ในขนาดที่มากกว่านั้น แต่ถ้าจะให้ดี มีผู้รู้กล่าวว่า ควรเจาะเลือดตรวจ ระดั บ แคลเซี ย มดู ก่ อ นว่ า ควรกิ น วิตามินดีเพิ่มขึ้นหรือไม่ แต่สำ�หรับ พวกเราคนไทยที่อยู่ในประเทศอัน อุ ด มด้ ว ยแสงแดด ซึ่ ง ช่ ว ยผลิ ต วิ ต ามิ น ดี ที่ ผิ ว หนั ง จึ ง น่ า จะได้ รั บ วิตามินดีตามธรรมชาติมากกว่าฝรั่ง ที่บ้านเมืองของพวกเขามีแสงแดด น้อยกว่า วิตามินบี12ประมาณการณ์ กันว่า ผู้สูงอายุขาดวิตามินบี 12 กัน ถึง 15% และเนื่องจากยังไม่มีหลัก ฐานที่แสดงถึงพิษภัยของวิตามินตัว นี้ จึงอาจเป็นการดีที่คนสูงอายุจะ กิ น วิ ต ามิ น บี 12 เสริ ม วั น ละ 2.5 ไมโครกรั ม เพื่ อ ป้ อ งกั น ภาวะขาด วิตามินนี้ โดยสรุปแม้วา่ การเพิม่ ความ เสี่ยงจากการกินวิตามินเสริมจะมีไม่ มาก แต่ก็น่ากังวล เพราะว่าปัจจุบัน มี ค นเป็ น จำ � นวนมากที่ บ ริ โ ภค วิตามินเสริม ทำ�ให้ผลเสียมีมากขึ้น ตามจำ�นวนคนกิน ดังนั้นจึงไม่ควร กินวิตามินเสริมโดยไม่จำ�เป็น
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
49
สำ�นวนไทย เป็นวัฒนธรรมทางภาษาอย่างหนึ่ง การที่ เ รารู้ จั ก ใช้ สำ � นวนโวหาร คำ � พั ง เพยและ สุ ภ าษิ ต แทรกลงไปในการพู ด หรื อ การเขี ย น จะช่วยเสริมความให้ถ้อยคำ�ที่พูดหรือข้อเขียน นั้นๆ สละสลวยน่าฟัง น่าอ่าน เพราะคำ�เหล่านี้ เป็นถ้อยคำ�ที่คมคาย งดงาม และมีความลึกซึ้ง กินใจ เป็นคำ�พูดที่รวมใจความของเรื่องยาวๆ ให้สั้นกะทัดรัด สละสลวย
คำ�ว่า “สำ�นวน” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ (๒๕๔๖ : หน้า ๑๑๘๗) ได้ให้ความหมายว่า “ถ้อยคำ�ที่เรียบเรียง, โวหาร, บางที่ก็ใช้คำ�ว่า สำ�นวนโวหาร...” มีผใู้ ห้ค�ำ อธิบายความหมายของ “สำ�นวน” ไว้ตา่ งๆ กัน พอจะสรุปความได้วา่ “สำ�นวน” คือ ถ้อยคำ�สั้นๆ ที่เป็นชั้นเชิงชวนให้คิด ไม่แปลตรงไปตรงมา แต่มีความ หมายเป็นอย่างอื่น” ในตำ�ราบางเล่มอาจแยกประเภทภาษิต สุภาษิต สำ�นวน คำ� พังเพยเป็นคนละลักษณะ บางแห่งก็เรียกรวมกันทุกประเภทว่า “สำ�นวน” และบาง แห่งเรียกรวมกันว่า “ภาษิต” ทั้งนี้สุดแท้แต่ความคิดเห็นและความสะดวกในการ วิ เ คราะห์ ข องแต่ ล ะคน ไม่ อ าจถื อ ว่ า ใครผิ ด ใครถู ก ท่ า นผู้ อ่ า นเองก็ อ าจจะจั ด ประเภทตามความคิดเห็นของตนเองได้ หากมีเหตุผลเพียงพอ รองศาสตราจารย์นภาลัย สุวรรณธาดา ได้กล่าวสรุปถึงความหมายของภาษิต สุภาษิต และ คำ�พังเพย ไว้ในเอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๘ (คติชนวิทยา สำ � หรั บ ครู ) หน่ ว ยที่ ๑๑ หน้ า ๘๕๘ ว่ า ความหมายของภาษิ ต สุ ภ าษิ ต และ
52
วารสาร “พุทธปทีป”
คำ�พังเพยนั้น ปัจจุบันยังไม่มีการกำ�หนดแน่ชัด นักวิชาการ ด้านภาษา และด้าน คติชนวิทยา มีความเห็นต่างๆ กันยังไม่เป็นที่ยุติ แต่เพื่อเป็นแนวทางสำ�หรับผู้สนใจ ได้ศึกษาจึงกำ�หนดความหมายอย่างกว้างๆ ไว้ดังนี้ ภาษิต คือ คำ�กล่าวทีส่ บื ทอดกันมาตามประเพณี มีความหมายรวมทัง้ สุภาษิต และคำ�พังเพย สุภาษิต คือ ภาษิตที่กล่าวให้เป็นคติ มุ่งสั่งสอนอย่างชัดเจน คำ�พังเพย คือ คำ�กล่าวให้ตีความ อาจใช้สั่งสอนหรือไม่ก็ได้ ขึ้นอยู่กับ สถานการณ์ กล่าวได้วา่ สำ�นวนหรือภาษิต (บางสำ�นวน) จึงอาจเป็นได้ทัง้ สุภาษิต และคำ� พังเพย ซึ่งสุดแต่ผู้ใช้ อาทิ ขายผ้าเอาหน้ารอด มือใครยาวสาวได้สาวเอา น้ำ�มาปลา กินมด น้ำ�ลดมดกินปลา จากความหมายของภาษิต สำ�นวน คำ�พังเพยทีก่ ล่าวมาพอสังเขปนัน้ จะเห็นได้ ว่ามีความแตกต่างกันบ้างและคล้ายกันบ้างยากที่จะแยกให้ออกจากกันโดยเด็ดขาด ได้ และมักจะเรียกรวม ๆ กันว่า “สำ�นวนไทย” สำ�นวนทีผ่ เู้ ขียนบันทึกไว้วา่ จะเขียนถึงมีอยูม่ าก แต่ระยะนีผ้ เู้ ขียนได้ตดิ ตามอ่าน ข่าวจากสื่อหนังสือพิมพ์ต่างๆ หลายฉบับ ที่พาดหัวข่าวเกี่ยวกับคดียิงช้างป่า ที่ถูก ยิงเสียชีวิตภายในพื้นที่ป่าเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน หมู่ ๖ ต.ป่าเด็ง อ.แก่ง กระจาน จ.เพชรบุรี เมื่อวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๕๕ ก็คิดได้ว่าถึงเวลาเหมาะที่จะบอก กล่าวถึงสำ�นวนภาษาและคำ�กล่าวอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องด้วย “ช้าง”ซึ่งมีหลายสำ�นวน ดังต่อไปนี้ ๑. ขีช่ า้ งจับตัก๊ แตน ช้างเป็นสัตว์ใหญ่ ตรงกันข้ามกับตั๊กแตนซึ่งตัวเล็กนิด เดียว การที่ต้องขี่ช้างไปจับตั๊กแตนนั้น เป็นเรื่องที่เกินความจำ�เป็น สำ�นวน “ขี่ช้าง จับตั๊กแตน” จึงหมายถึง สิ่งที่จะทำ� มีเพียงเล็กน้อย แต่ทำ�ให้เป็นการใหญ่โตเกิน ขนาดสิ่งนั้นไปมากมาย ได้ประโยชน์ไม่คุ้มกับที่ต้องเสียไป (ลงทุนมาก แต่ได้ผลนิด หน่อย)
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
53
๒. ขี่ช้างวางขอ ขอ(ตะขอ) หมายถึง เหล็กงอๆ มีด้าม ใช้สำ�หรับสับช้าง สำ�นวนนี้หมายถึง คนขี่ช้างที่วางขอ ไม่คอยสับช้างไว้ ช้างก็จะอาละวาดได้ฉันใด เปรียบกับผู้ที่มีคนในปกครองมาก ถ้าปล่อยปละละเลยไม่ว่ากล่าวตักเตือนคนใน ปกครองก็ย่อมจะแข็งข้อกำ�เริบไม่เกรงกลัวฉันนั้น ๓. ฆ่าช้างจะเอางา เจรจาจะเอาถ้อยคำ� หมายความว่า ให้พูดให้แน่นอน ไม่ เปลี่ยนแปลงคำ�พูด เหมือนฆ่าช้างก็เพื่อจะเอางา ซึ่งเป็นสิ่งที่มีค่า ไม่ใช่เปลี่ยนใจไป เอาอย่างอื่น ๔. *ดูชา้ งให้ดหู าง ดูนางให้ดแู ม่ สำ�นวนนี้ แนะนำ�ว่าการเลือกคูค่ รองควร พิจารณาให้รอบคอบ โดยเปรียบเทียบกับการดูช้างว่า ช้างที่มีลักษณะดีจะมีขน ปลายหางเป็นพู่ (ว่าสวย) ส่วนการดูหญิงสาว จะต้องดูให้ละเอียด สวยหรือไม่สวย หรือมีนิสัยอย่างไร ให้ดูถึงแม่ด้วย (บางท่านก็ว่า “ถ้าจะดูให้แน่ต้องดูถึงย่ายาย”) เพราะแม่กับลูกสาวย่อมมีส่วนที่คล้ายกัน ( *บางตำ�ราก็ว่า “ดูวัวให้ดูที่หาง”) ๕. ช้างตกน้�ำ มันอยูโ่ รงเดียวกัน หมายถึง คนมีอำ�นาจไม่อาจอยู่ร่วมกันได้ ดังตัวอย่าง “อนึ่ง เมื่อเสฉวนจะมีเจ้าเมืองเป็นสองนั้นก็เหมือน ช้างตกน้ำ�มันอยู่โรง เดียวกัน เห็นจะอยู่มิได้” (สามก๊ก : เจ้าพระยาพระคลัง-หน) ๖. ช้างตายเพราะงา ช้างพลายส่วนใหญ่จะมีงางามและเป็นงาในหลายรูป หลายลักษณะ คนจึงอยากได้งาช้างมาประดับบ้านหรือทำ�เครื่องประดับ (พัดยศ เจ้า คุณบางชั้นยังทำ�ด้วยงาช้างก็มี) ช้างจึงมักถูกพรานฆ่าเอางามาขาย (มีราคาแพง) แต่ ปัจจุบันนี้ พรานบางคนฆ่าช้างนอกจากเอางาแล้ว ยังเอาเนื้อมาทำ�ปลอมเป็นเนื้อ ควายเค็ม (เนื้อช้างมากกว่าเนื้อควาย) และบางที่ก็ตัดอวัยวะเพศช้าง ไปดองกับสุรา (นัยว่ากินยาดองนี้แล้วจะทำ�ให้มีพละกำ�ลังมาก) ภาษิตนี้อาจจะให้ข้อคิดว่า คนที่มี ของดีมีค่าอยู่กับตัว ก็อาจถูกฆ่าหรือถูกทำ�ร้ายได้ ๗. ช้างตายทัง้ ตัว เอาใบบัวมาปิด ใบบัวมีขนาดเล็ก จะนำ�ไปปิดตัวช้างทีน่ อน ตายไม่มิดฉันใด คนที่ทำ�ความผิดหรือความชั่วอย่างร้ายแรงก็ย่อมไม่สามารถปกปิด ความผิดของตนได้ฉันนั้น สำ�นวนนี้จึงหมายถึง ผู้ที่ทำ�ความชั่วหรือความผิดร้ายแรง
54
วารสาร “พุทธปทีป”
ที่ ค นรู้ ทั่ ว กั น แล้ ว และพยายามหาหลั ก ฐาน มากลบเกลื่ อ นหรื อ ปิ ด บั ง แต่ ก็ ไ ม่ สามารถจะปกปิดความผิดนั้นได้ ๘. ช้างเท้าหน้า ช้างเท้าหลัง สำ�นวน “ช้างเท้าหน้า” หมายถึงสามีหรือผูน้ �ำ ครอบครัว ซึ่งถือเป็นช้างเท้าหน้าของครอบครัว ไม่ควรจะอ่อนแอหรือไม่เข้มแข็ง ส่วนภรรยาหรือผู้ตามจะเป็น “ช้างเท้าหลัง” ควรจะต้องพยุงประคับประคองช้าง เท้าหน้าให้ยืนหยัดขึ้นได้ ๙. ช้างเผือกมาจากป่า สำ�นวนนี้ หมายถึง คนเก่ง คนดีมีวิชาที่เกิดอยู่ตาม ชนบทแล้วมามีชื่อเสียงโด่งดังในเมืองกรุง ๑๐. ช้างวางโต เป็นสำ�นวน หมายถึง ผู้ที่ถือดีทำ�ท่าทางไม่กลัวใคร ๑๑. ช้างแล่นไล่เลีย่ งหลบ ช้างเป็นสัตว์ใหญ่ หากตกมันอาละวาดสัตว์นอ้ ย จะ ต้องเกิดอันตรายถ้าไม่หลีกหนีไป ฉะนั้นถ้าถูกช้างไล่เราต้องหลบหนีเอาชีวิตรอด และช้างอาจเปรียบได้กับผู้มีพละกำ�ลังมีอำ�นาจ เมื่อยามใช้อำ�นาจจะทำ�ร้าย หรือ เล่นงานผู้น้อยก็ไม่ควรจะสู้รบปรบมือด้วย ต้องเป็นฝ่ายเลี่ยงหนี เพราะอาจไม่ได้รับ ความเป็นธรรม และหากหาญเข้าไปสู้รบปรบมือ ย่อมเกิดอันตรายแก่ตนเอง ๑๒. ช้างเหยียบนา พญาเหยียบเมือง เป็นสำ�นวน หมายถึง การทีผ่ ใู้ หญ่หรือผู้ มีบุญมาเยี่ยมผู้น้อย ถือเป็นสิริมงคล แต่ในทางลบ ตีความว่า ไม่เป็นมงคล มีแต่ ความวุ่นวาย (ช้างลงเหยียบนาใคร ข้าวก็แหลก) เจ้านายหรือข้าราชการผู้ใหญ่มา ตรวจเยี่ยมหัวเมืองอาจสร้างความเดือดร้อนให้ผู้น้อย (ราษฎรบ้านนอก) ก็ต้อง ต้อนรับขับสู้ เหนื่อย สิ้นเปลือง... ๑๓. ช้างสารชนกัน หญ้าแพรกแหลกลาญ คำ�ว่า “ช้างสาร” หมายถึง ผู้มี อำ�นาจ กล่าวคือถ้าช้างสารชนกัน (ทะเลาะกัน) หญ้าแพรก (ผู้น้อย) ก็พลอยได้รับ อันตรายไปด้วย ๑๔. “ช้างสาร งูเห่า ข้าเก่า เมียรัก” กล่าวถึงสัตว์และคน ท่านว่าเป็นสิ่งที่ วางใจนักไม่ดี ช้างสารซึ่งเป็นสัตว์มีงา ถ้ามันโมโหอาจทำ�ร้ายเราได้ งูเห่า เป็นสัตว์มี พิษร้าย ถ้าถูกมันกัดอาจถึงชีวิตได้ ข้าเก่า ที่อยู่มาแต่ครั้งปู่ย่า,ตายาย เป็นคนที่อยู่
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
55
ทำ�งานกับเราหรือรู้เรื่องภายในบ้านเป็นอย่างดี หากไม่ระมัดระวัง อาจมีภัยมาถึงตัว เอง และภรรยาที่เรารัก ซึ่งอยู่ใกล้ชิดกับเรามากที่สุด ท่านว่าก็ไม่ควรไว้ใจนัก เพราะ การวางใจผู้อื่นนั้นคือความประมาท อาจเกิดอันตรายจากสิ่งเหล่านี้ได้ (ใจคนเรายัง มีกิเลสอยู่ อาจทำ�ชั่วได้) ๑๕. ช้างใหญ่ตายด้วยมดแดง หมายความว่า คนเราอย่าได้ทะนงตนว่าเก่งกว่า คนอื่นๆ กล่าวคืออย่าคิดว่าสิ่งนี้เราจะทำ�ได้เพียงคนเดียว คนอื่นทำ�ไม่ได้ ไม่แน่ เสมอไปหรอก อาจมีใครบางคน ทำ�ได้ดีกว่าเราก็ได้ เราจึงไม่ควรทะนงตัว เพราะ “ช้างใหญ่นั้นอาจตายด้วยมดแดง” ๑๖. ถี่ลอดตาช้าง ห่างลอดตาเล็น เป็นสำ�นวนหมายถึง ดูเหมือนรอบคอบ ถี่ถ้วน แต่ไม่รอบคอบถี่ถ้วนจริง หรือประหยัดในสิ่งที่ไม่ควรประหยัด ไม่ประหยัดใน สิ่งที่ควรประหยัด ๑๗. เลีย้ งช้างกินขีช้ า้ ง เป็นสำ�นวนหมายถึง หาผลประโยชน์โดยมิชอบจากงาน ที่ทำ� ๑๘. เสือทลายห้าง ช้างทลายโรง เป็นสำ�นวนหมายถึงคนทีแ่ สดงกิรยิ าเอะอะ ตึงตัง วางอำ�นาจ (แบบใช้เสียง) เหมือนเสือหรือช้าง ที่อาละวาดเอากับนายพรานผู้ นั่งห้างยิงสัตว์ ๑๙. เห็นช้างขี้ อย่าขีต้ ามช้าง สำ�นวนนีส้ อนไม่ให้ท�ำ เลียนแบบคนใหญ่โตหรือ คนมั่งมี เพราะเราไม่มีกำ�ลังทรัพย์หรือความสามารถพอ ๒๐. เห็นช้าง (ตัว) เท่าหมู สำ�นวนนี้หมายถึง การเห็นตรงข้ามซึ่งแม้จะตัว ใหญ่กว่าหรือมีอำ�นาจมากกว่าก็ไม่เกรงขามในเวลาที่โกรธมากจนลืมตัว ๒๑. อ้อยเข้าปากช้าง เป็นสำ�นวน หมายถึง สิง่ ทีเ่ สียไปแล้ว เอาคืนได้ยาก สิง่ หรือประโยชน์ที่ตกอยู่ในกำ�มือแล้วไม่ยอมคืน ๒๒. เอาเนือ้ หนู ไปปะเนือ้ ช้าง สำ�นวนนีห้ มายความว่า เอาทรัพย์หรือสิง่ ของ จากคนที่มีน้อยไปให้แก่ผู้ที่มีมากกว่า เป็นการกระทำ�ที่ไม่เหมาะสม เพราะทำ�ให้ข้าง ที่มีอยู่น้อยนั้น มีน้อยลงไปอีก ส่วนข้างที่มีมากมายแล้วยิ่งมีมากขึ้น (เปรียบได้กับ
56
วารสาร “พุทธปทีป”
เอาเนื้อของสัตว์เล็กๆ เช่น หนู ไปเติมให้แก่ สัตว์ใหญ่ เช่น ช้าง ย่อมไม่เหมาะสม) ๒๓. อย่าเข้าแบกงาช้าง คำ�สอนนี้ปรากฏในสุภาษิตพระร่วง หมายความว่า อย่าเสี่ยงต่ออันตรายโดยไม่จำ�เป็น “งาช้าง” ในที่นี้ หมายถึง สิ่งที่มีค่ามาก แต่ก็ เป็นสิ่งที่มีอันตรายมากเช่นกัน เพราะเป็นสิ่งที่อยู่ติดกับตัวช้าง ผู้ที่กล้าเข้าไปแบก งาช้างก็ต้องอยู่ใกล้ตัวช้าง อาจถูกช้างทำ�อันตรายได้ กล่าวโดยสรุปอย่างง่ายๆ ก็คือ อย่าเป็นคนบ้าบิ่น โดยคิดว่า การกระทำ�แบบบ้าบิ่นนั้น จะทำ�ให้ตนเป็นคนมีชื่อ เสียง ซึ่งนับว่าเป็นการขาดสติโดยแท้ ๒๔. สุภาษิตจากโคลงโลกนิติ พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม พระยาเดชาดิศร มีหลายบทที่กล่าวเกี่ยวเนื่องด้วยช้าง อาทิ บทที่ว่า (หน้า 16) งาสารฤๅห่อนเหี้ยน หดคืน คำ�กล่าวสาธุชนยืน อย่างนั้น ทุรชนกล่าวคำ�ฝืน คำ�เล่า หัวเต่ายาวแล้วสั้น เล่ห์ลิ้นทรชน โคลงบทนีก้ ล่าวถึงงาช้างว่า งอกแล้วไม่หดฉันใด คำ�พูดของคนซือ่ ,คนอวดดี ก็ ไม่มีการกลับไปกลับมาฉันนั้น แต่คนเลว, คนชั่ว เปลี่ยนแปลงคำ�พูดได้เสมอ เปรียบ ได้กับหัวเต่าที่ยืดหดได้ตลอดเวลา เดี๋ยวสั้นเดี๋ยวยาว ผลุบเข้าผลุบออก เอาความ แน่นอนสัตย์จริงไม่ได้ ๒๕. หรือจาก “กาพย์ขยายโคลงโลกนิติ” (หน้า 19) ที่ว่า จันทน์แห้งกลิ่นห่อนได้ ดรธาน อ้อยหีบชานยังหวาน โอชอ้อย
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
ช้างเข้าศึกเสี่ยมสาร บัณฑิตแม้ทุกข์ร้อย
57
ยกย่าง งามนา เท่ารื้อลืมธรรม์
โคลงบทนีก้ ล่าวถึงไม้จนั ทน์แม้จะแห้งแต่กม็ เี นือ้ ไม้,ดอกหรือผลทีม่ กี ลิน่ หอม ลำ�อ้อย แม้จะหีบเอาน้ำ�ออกเหลือแต่ชานอ้อย แต่ก็ยังมีรสหวานอยู่ ช้างสาร เมื่อเข้าสู่สงครามก็มีความสง่างามยามย่างก้าวเท้าเดิน นักปราชญ์ยามประสบความ ทุกข์ก็ใช้ธรรมเป็นหลักประพฤติปฏิบัติ ๒๖. ภาษิตที่เกี่ยวกับช้างที่ปรากฏในโคลงโลกนิติ (หน้า 98) อีกเช่น หลีกเกวียนให้หลีกห้า ศอกหมาย ม้าหลีกสิบศอกกราย อย่าใกล้ ช้างยี่สิบศอกคลาย คลาคลาด เห็นทุรชนหลีกให้ ห่างพ้นลับตา โคลงบางบทนีส้ อนว่า ควรหลีกเว้นสัตว์มเี ขา เช่น วัว (เทียมเกวียน) สัตว์มี กีบ เช่น ม้า ซึ่งมีเท้าคม และช้างซึ่งมีงาและคนอันพาล กล่าวคือสอนให้ระวังตัวอย่า อยู่ใกล้สัตว์เลี้ยง โดยวัว ให้หลีกไกล 5 ศอก ม้าหลีก 10 ศอก ช้างให้หลีก 20 ศอก และทรชน (คนชั่ว,คนเลวร้าย) ให้หลีกให้ไกลที่สุดเท่าที่จะไกลได้ สำ�นวนภาษิตเกีย่ วกับช้างยังมีปรากฏในโคลงโลกนิติ และหนังสือสำ�นวนไทย ตลอดจนในวรรณกรรมไทยอีกมาก อาทิ ช้างแล่นอย่าฉุดหยุดรัง้ หาง (เมื่อผู้ใหญ่หรือผู้มีอำ�นาจกำ�ลังโกรธ เราผู้ น้อยอย่าเพิ่งเข้าไปห้ามหรือขวาง) ช้างเผือกเกิดในพนมไพรพฤกษ์ (คนดีมคี วามสามารถมักมาจากชนบท
58
วารสาร “พุทธปทีป”
หรือต่างถิ่น) ช้างงากล้าหาญ คชสารสูงใหญ่ อยูป่ า่ เดียวกันไม่ได้ (คนมีอ�ำ นาจพอกัน อยู่ร่วมกันไม่ได้) ช้างแล่นอย่ายุงหาง (ให้รู้จักผ่อนปรนรอเวลาไม่ทำ�บุ่มบ่ามเอาตาม อารมณ์) ช้างสารกล้าบ้าตกมัน จะไว้โรงเดียวกันนัน้ ไม่ได้ (คนเก่งกล้าทีม่ ที ฐิ มิ านะ แรงด้วยกัน อยู่ร่วมกันไม่ได้) ช้างสารวัวควายตายเหลืองา หนัง เขา คนเราตายเหลือแต่ชวั่ ดี (คุณค่า ของคนอยู่ที่ความดี การมีศีลธรรม คุณธรรมประจำ�กาย วาจา ใจ แสดงถึงคุณค่า ของคนผู้นั้น) หากสังเกตให้ดีจะเห็นว่า คนไทยแต่โบราณรู้จักนำ�ประสบการณ์มาผูกเป็น สำ�นวน เพื่อใช้เป็นคติสอนใจหรือใช้เป็นกุศโลบายในการแนะนะสั่งสอนหรือห้าม ปรามให้รู้ว่าสิ่งใดควรทำ� ไม่ควรทำ� หรือนำ�มาวิจารณ์เพื่อให้ผู้ถูกวิจารณ์ได้แก้ไข ปรับปรุงตนให้ดีขึ้น บางสำ�นวนอาจให้กำ�ลังใจ ปลุกปลอบใจเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ ทำ�ให้เกิดความท้อแท้ แต่อย่างไรก็ตามผู้เขียนเห็นว่า ภาษิตสำ�นวนมีคุณค่าทั้งใน ด้ า นการศึ ก ษาอบรม เป็ น เรื่ อ งควบคุ ม พฤติ ก รรมของสั ง คมให้ ดำ � เนิ น ไปอย่ า งมี ระเบียบ เป็นเครื่องมือในการอบรมกิริยามารยาท ขนบธรรมเนียมประเพณี ช่วยให้ ประชาชนโดยเฉพาะเยาวชนมีความรู้ความคิดและเป็นพลเมืองดีของชาติ ดังนั้นเรา จึงควรที่จะศึกษาและตระหนักถึงคุณค่าของภาษิต สำ�นวนทั้งในท้องถิ่นของตนและ ท้องถิ่นอื่น ในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันควรรักษาไว้เพื่อให้ตกทอดถึงชน รุ่นหลังสืบไป
ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๖๗ ก.ค. - ธ.ค. ๕๕
59
Fear is a big thing in life, particularly in this modern world. People feel very insecure and have a lot of emotional problems in living. Young people suffer much more, or perhaps they are more open to suffering than older people. There are so many things going on that they get confused. People, who are not familiar with rapid change, may have fear, anxiety and emotional tension. Fear is connected with anxiety and guilt. Enlightened people always talk about the wise man being free from fear
and bondage. As long as we are not free to cope with fear, we will not be wise. Our knowledge will be of no help in our life situations. Sometimes fear comes without reason – having a birth you may be overwhelmed by a strong sense of fear which you do not understand. People who meditate alone in caves also have this strong feeling of fear. In our everyday life we are afraid of being rejected by our friends, or the people we meet. We want to have friends but we cling to the idea of maintaining friend-
ship; therefore we cannot be real with the people we have relationship with. You become self-conscious. When you become too conscious of yourself, not wanting to hurt the other people, you cannot even open your mouth. People are also afraid of loving. They want to love their friends or children, but are afraid of doing so. If you watch yourself carefully you will see that this is a fact. You want to be loved but are afraid of loving. Some people find it difficult to use the word love;
this word has different meanings and there is fear of misunderstanding. The Buddhist Monks are not allowed to use the word love, because according to the monastic tradition the Monks are not supposed to love in the sense of having emotional reactions or possessiveness. People so often understand the word love in that narrow sense. Buddhists use the translated as loving word kindness. However, love is still there as a feeling, or as the truth.
Metta
62
วารสาร “พุทธปทีป”
Whether you have Metta, or love, if you have it, it is there, whether you use the word or not. People may be afraid to love because they think they may become attached to other people or that other people may become attached to them. In other words, they are afraid of attachment. See how we narrow our boundaries, build up walls in order to have security and feel safe. Fear is under-lying all these patterns of behaviour. Being narrow-minded, selfish and anything that makes us narrow is the outcome of fear. You feel that if you are not selfish somebody will get ahead of you; so you feel you have to compete. In order to compete you have to be selfish; you have to be violent and cruel in doing your business so that you can get ahead of others. Violence, cruelty, and injustice in our society come from the condition of fear which distorts our reality, our true living. Fear is closely connected with sorrow. Sorrow is a matter of loneliness. Sorrow means the feeling of dryness, lifelessness. At the moment you feel life-less you know there is loss. We are afraid
because we do not want to lose; we want to gain. Sorrow comes because of affection or desire, craving, clinging, and emotional dependence. When we are emotionally dependant on external things or people for our happiness and security, we unconsciously create fear within ourselves. Sometimes people turn to the idea of being independent; externally they can depend on themselves, financially and physically, but emotionally there is a deep layer of dependency which causes fear and anxiety, so that one cannot feel at home with oneself or in any place. All these things are connected with our false identity, which distorts the whole of life. This is why we miss our true being, our true self – in the Western sense. When you identify yourself with something which is not you, how can you be real? It is not possible. We identify ourselves with our character or status, position, or work, so we do not know what we really are. If we know what we truly are there is no problem. If you see anxiety or fear arising on the surface you can smile at it; You do
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖ not become victimised by the arising, and the perceiving of anxiety or fear. These things have been with us since we were born. Due to this fact all these things have been very familiar to our consciousness, and we get caught up in them, allowing, them, to dominate our life. Some people may see their image in different ways. You may see yourself as a dominant type of person or as a submissive person, or as a detached person. We can see that this is false. If we are just that, we are not whole, we are just parts Reality is missing. The dominant factor is only one factor, a fact in our way of living. Sometimes we dominate, sometimes we do not. Sometimes we are gentle polite and nice, sometimes we are not. Sometimes we are attached and sometimes we are detached. All these are just factors arising in life. It is a mistake to identify with them. We have to see what the controlling factor is, in our personality. What is it that makes us feel unhappy, that causes suffering in our life? We have to keep our attention on that pattern to see it, to attend to it without saying that
63
“this is me.” You can see that the removal of the obstacle will provide the way for the true being to emerge. It is just that, but we do have to see the obstacle instead of hunting for the true being. When we have attended to our obstacles we do not need to do anything with our true being; it comes to us. If a child is brought up in an atmosphere of acceptance, taking things as they come, seeing things as they are, his personality is very healthy. He does not have too much fear or anxiety; they are not dominating factors in his life. However, if a child is brought up in an atmosphere of ambition, competition, and rigid discipline he will have a lot of anxiety. When his environment is in contradiction with the way in which he was brought up, his security is threatened, and this causes anxiety. That is really the basis of anxiety. Anxiety leads to fear, and because of fear we make mistakes and then we have guilt. We are guilty about what we have done. Sometimes this guilt is connected with “should I or should I not do this, or do that! I should have taken full responsibility for
64
วารสาร “พุทธปทีป”
that but I didn’t”. If you leave out this matter of ‘shouldism’ you do not have guilt; then you can see that this is really illusion. Illusion and reality go hand in hand when we are caught up in illusion we cannot see reality, but when we see reality, illusion just disappears like seeing light, then darkness is no more. Guilt is a psychological conditioning and is connected with rules and precepts. If you have a rule, you have a standard for yourself, and if you do not live up to this standard, you create guilt. Guilt will then bring about fear of the consequences, particularly if you believe in good and evil. For example, you may say “If you commit evil actions you will go to hell”. At the time you commit some evil action which causes guilt, fear of the consequences of that action arises. In India there is a dialectical materialism called Lokayata which attacks all religions very strongly, saying that all religions use certain holy words to threaten people; they are ‘good’ and ‘evil’ ‘heaven’ and ‘hell’. This is another extreme. If people are really threatened by the concepts
of good and evil, heaven and hell they will not be able to have liberation or freedom in life. However if we understand what we mean by good and evil, heaven and hell it does not become a problem in our life. To some extent there are good things and there are bad things, but there is nothing absolutely good and nothing absolutely bad. Heaven is not eternal and hell is not its opposite. They are both experiences of life. In our experiences when we torment ourselves, when we experience our emotional difficulties, we are in hell. When we experience joy, peace, bliss, we go to heaven. It is very good for human beings to be able to go up and down, so that they will not become static. If one stays in heaven all the time, you may become bored with it. If we go to hell and stay there forever, we become rocks. Human beings are flexible. That is why we have to take full responsibility for ourselves, because we can go up or down depending, on our understanding and action. Suppose we are completely free, liberated, do we go up and down? We still have senses, we still com-
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖ municate with the world heaven and hell are experienced through the senses and the corresponding objects. Sometimes we have unpleasant feelings, but everything is in control. It means you can cope with it without difficulties. You no longer become the victim of heaven-and-hell experiences. When one is liberated, one may still have unpleasant feelings, and excitement but there is a balance of personality, of emotion, and of feeling. Personality then becomes healthy; it is no longer a threatening factor. One is not bound to a certain thing or belief; the boundary which binds us to certain beliefs, ideas, or patterns is broken. Freedom comes and freedom is connected with our realisation of ourselves, of our situations, in the sense of making ourselves real to ourselves and others. When we see fear as the obstacle we have to look at fear very closely at the time it arises – why are you afraid? Sometimes you think the other person may reject you if you say something direct to that person. The opposite thing will happen; that person will be very happy to
65
hear you being direct or giving him feed-back. Sometimes we are afraid and withhold ourselves and cannot give feed-back to our friends. Constructive criticism is essential, but one must know how to do that, sometimes a person is not in a position to accept, and to listen would be too much. It is not yet time, we must have compassion. You may be able to say it later or when the person is ready to listen. We have to use our wisdom. If you are aware of the people with whom you are talking you will understand how to relate yourself to them. Perhaps we have been rejected in our life and we are afraid that history will repeat itself. Surely gentleness is essential in our communications, but does it not mean we must never use strong words with other people. It depends on the people. It is like training horses. Some are very intelligent and ready to run and jump when you give them a command, but others may not until you have repeated the command a few times. For others a rope may be necessary to make them run, and some just lie
66
วารสาร “พุทธปทีป”
down and do not want to do it at all. It is the same with human beings; each has different degrees of intelligence and understanding, so one uses different methods in dealing with them. This refers to what the Buddha said about a horse-trainer when asked how he trained his disciples. The Buddha sometimes used very strong words in order to wake up his Monks. This was aimed to give a conscious shock in order to wake them up. Some people sleep at a very deep level; we want to help them, so use strong words, but with compassion not with hatred or dislike or any other negative emotion. The tone becomes a song; strong words become a beautiful song for those people. Sometimes we hate ourselves. Why? Because you im-
pose this ‘shouldism’ on yourself too much. When you cannot act according to your standards you hate yourself, reject yourself, deepening this illusion, and you go further and further away from the realisation of your true nature. Hatred can bring about more fear. When you hate yourself you are afraid of looking into yourself, because you do not want to see something unpleasant there. You close yourself completely; that is why you go away from reality. Sometimes also, if we love ourselves superficially, we can go in the wrong direction; we may just try to decorate ourselves on a superficial level; we cannot look deeper into the inner beauty; we are only in contact with the outer man. It is very easy for us to miss this reality, this truth. That is why
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
we must not be too positive, or to negative, but be realistic, true, and honest to ourselves. In Western language, in Theistic religions you can say when you find yourself, your true being, you find God. God is what you truly are. Coming to that point you do not have separation, there is one-ness of being. You feel identity, but it is identity with the whole. There is a kind of relationship because the one is many. When you experience one-ness, you also see the manyness there is a kind of relationship which is not based on image. You are wholly with yourself, with your true being; everything is included. In Buddhism we talk about the extinction of all conditioned states. What is there, is called Niravana; Niravana is extinction itself; then extinction becomes
67
being, but the things which are extinguished are but the manifestations; unreality. There is also dying and there is rebirth. It takes place simultaneously. Buddhism refers to Niravana as the process of extinction, coming to the void. The void is rebirth and the extinction of all conditioned things is death. In Christianity they talk about death in Christ; it is the process of dying away from conditioned things, from imperfection, and when you come to “Christ in us” it is rebirth, coming to your true being. In Islam there is the extinction in God. There is death, and we should not be afraid of it. If we cannot die, we cannot be reborn. Maybe one has a strong desire to be reborn as a new person, but at the same time one is holding on to your image. Our way of behav-
68
วารสาร “พุทธปทีป”
ing is really contradictory. If the old cannot die the new cannot come. The new cannot co-exist with the old. The old will be gradually out grown; you do not need to do anything with it; we try too hard to get rid of the old stuff but it keeps cropping up and gives us a lot of work. But if you say “I see you, I understand you” the external changes of personality will gradually come into the new way of seeing. Once you have seen the truth you have seen your own true being. Then it takes some time for your external personality to actualise according to that seeing. We have to be patient. Sometimes people are not patient enough “I have seen it but still”. We want to be perfect at once, so we create problems of uncertainty. There is also the fear of losing what you have gained. You say “I have experienced once, but I cannot experience it anymore.” The wanting to repeat an experience is also an obstacle. The experience we had may not come to our conscious level, but when it has been experienced the radical change has taken place; it is working things out in our psyche, in our
deeper mind, clearing up mental processes. However, we still have to do something. It is like growing vegetables; we have to take care of them, water them with love and understanding. Similarly we should not let our new experience be covered by the influences and distractions in our daily life. The point is to see the false and idealised image which we identify ourselves in order to see our true nature. Idealisation narrows our way of living, fixing us to a point so that we find it very difficult to move freely. We feel uncomfortable when we are fixed to certain things, like listening to people talking about ideas which conflict with our own. This is because we hold onto the belief or image we ourselves idealise. If you do not have this image you will see what you are and you can stay with your true being. When you get into your true being, there is no influence of fear. Fear may be seen on the surface, but it does not come from the depth, or from the unknown. Anytime you have a feeling of fear, look at it, and see how it operates. You do not have to analyse it into
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖ concepts, just allow the whole process to reveal itself. In other words you will avoid getting caught up in fear if you do not resist it but allow yourself to experience it fully. Very often people get caught up in fear by withholding themselves. Allow yourself to experience it and see what it is without running away, avoiding it, but going into it and seeing it for what it is, then, you realise the truth about fear. If you feel like jumping because of fear allow yourself to do so, because it has gone into your organism and has to come out through your organism; body and mind have to co-operate. When you allow your body to shake fear out, you feel light and clear. When the body becomes clear, balanced integrated according to its structure, it provides a good channel for the release of negative emotions – like fear. For those of us who have good bodies, it is easier for the negative emotion to come out. The mind also plays a very important part in holding fear or suppressing it. The mind is connected to our attitudes. Attitudes come because of holding onto
69
our image: “No, I cannot express myself because people, will see me as somebody inferior”. People may see you as crazy – and you do not want that. Then you cannot express yourself when you have any kind of emotion or negativity. If we change our attitudes saying “Oh that is what happened”, you see the whole process. What happens spontaneously is something coming from the true being; but what happens intentionally comes from the ego, and at that level the will plays an active part. The will is a matter of ego, it is not you. We have free choice; this is not a matter of will because the will is closely connected with becoming. It is not connected with being. When someone simply wills something, he wants to become that, or somebody for example the idea of becoming Bodhisatva in Mahayana Buddhism. He makes strong his will not to enter Niravana until the last blade of grass becomes enlightened. Such will is false. Real choice comes to be together with clear insight into the situation at the moment, and is distinct from personal will.
คุณวันชัย-คุณลำ�ใย ภู่นุ่ม ร้านอาหารรำ�วง Guildford พระครูภาวนาภิราม (อ.สวัสดิ์)และพุทธศาสนิกชนในเขตเวลส์ พระครูภาวนาวิธาน (อ.สุทัศน์) อุทิศถวายเป็นอาจริยบูชา คุณธัญญรัตน์ ศานติชาติศักดิ์ ร้านไทโถ วิมเบิลดัน ลอนดอน คณะญาติโยมจาก Southsea Portmouth ร้านอาหารตำ�หนักไทย (Tamnag Thai) คุณนันทวรรณ กิ๊ปสัน และครอบครัว ร้านอาหารไทยแลนด์ (Thailand Epsom) คุณกล้วย/คุณแต ร้านอาหาร Hansa’s Thai Kitchen Weybridge ร้านอาหารกนกไทย Brighton (KANOK THAI RESTAURANT) คุณรุจิรา KOBKUN THAI MASSAGE Fullahm Road Mrs Tanyaluck Lawrence and Family นายธนภัทร ศุภสิริวรรณ และครอบครัว ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม คุณจันทรา ติรโภศิณท์ และครอบครัว นายภาสกร อิ่มแสง และ น.ส. ศรีสุดา จันทรโยธา Mrs.Usanee - Mr.Stephen Woodcock คุณเบญจวรรณ สิทธิโชคและคุณจุฑามาศ จุระเสถีรย์ ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม คุณวา วิมเบิลดัน ANH VO and Family คุณกรวีณ์ เตี้ยประเสริฐ Cheung Hoi Kiu (Amy)-Virginia Chung คุณจุฑา ชาญไชย และครอบครัว
๓๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๓๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๕๐ ๕๐ ๔๐ ๓๐ ๓๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐
ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์
ร้านอาหารบ้านใหญ่ วิมเบิลดันมิลค์ South Wimbledon ร้านอาหารแสงไทย เมือง Doking ร้านอาหารเรือนไทย แฮมเมอร์สมิธ ร้านอาหารภัทรา South Kensington คุณสุระ - คุณรจนา พุฒโชนม์ พนักงานร้าน “Tip Hair & Beuaty” London (02078217030) คุณรุ่งนภา ครุฑธายืนยง คุณจันทร์จิรา โชมขุนทด คุณบุญเลิศ-กาณจนา-ศิริรัตน์-วัชระ เผ่าอมรพันธุ์ ผู้ไม่ประสงค์ออกนามทำ�บุญอุทิศให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย ผู้ไม่ประสงค์ออกนามทำ�บุญบำ�รุงวารสารพุทธปทีป Melanic King and Family ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม จากเมืองเบอร์มิ่งแฮม บำ�รุงวารสาร คุณฐาปนี หนูยงค์ และครอบครัว คุณอัจฉริยา มุนินทร์พิทักษ์ ทำ�บุญอุทิศให้ญาติที่ล่วงลับไป ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม จากตู้บริจาคเดือน มกราคม ๒๕๕๖ (ภายในกุฎิสงฆ์) จากตู้บริจาคเดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ (ภายในกุฎิสงฆ์) จากตู้บริจาคเดือน มีนาคม ๒๕๕๖ (ภายในกุฎิสงฆ์)
๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๔ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๕ ๕ ๕ ๕ ๓๔๕ ๒๔๕ ๒๒๔
ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์ ปอนด์
หากรายชื่อของท่านผิดพลาด หรือไม่ได้ประกาศอนุโมทนาในฉบับนี้ ต้องขออภัย มา ณ ที่นี้ และขออนุโมทนาบุญที่ทุกท่านได้ช่วยกันเผยแผ่ธรรมะสู่ใจให้เยือกเย็น
72
วารสาร “พุทธปทีป”
1. วัดพุทธปทีป กรุงลอนดอน โทร. 0208 946 1357 www.padipa.org
8. วัดอมราวดี 0144 284 3239 www.amaravati.org
2. วัดธรรมปทีป สก๊อตแลนด์ โทร. 0131 443 1010 www.dpadipa.org
9. วัดป่าจิตตวิเวก โทร.01730 814 986 www.cittavivek.org
3. วัดสังฆปทีป เวลส์ โทร. 01685 84 3986 www.spadipa.org
10. วัดอรุณรัตนคีรี โทร. 01661 881612 www.ratanagiri.org.uk
4. วัดพุทธาราม กรุงลอนดอน โทร. 0208 530 2111 www.watbuddharam.org.uk
11. วัดป่าสันติธรรม โทร. 092 662 4385 www.foresthermitage.org.uk
5. วัดพุทธวิหาร คิงส์บอร์มลี่ย์ โทร. 01543 472 315 www.watthaiuk.co.uk
12. วัดพุทธวิหาร อ๊อกฟอร์ด โทร. 01865 791 591 www.oxfordbuddhavihara.org.uk
6. วัดสันติวงศาราม เบอร์มิ่งแฮม โทร. 0121 551 5729 www.watsantiwong.com
13. วัดธรรมกายลอนดอน โทร. 01483 475 757 www.watlondon.org
7. วัดศรีรัตนาราม แมนเชสเตอร์ โทร. 0161 998 4427 www.watsriuk.org
14. วัดธรรมกาย แมนเชสเตอร์ โทร. 0161 736 1633 www.kalayanamitra.org
สถานทูตไทย กรุงลอนดอน โทร. 0207 589 2944 www.thaiembassyuk.org.uk
สนง.ผู้ดูแลนักเรียน (ก.พ.) โทร. 0207 283 9896 www.oeauk.net
ข่าวโดย : iconmong
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
73
74
วารสาร “พุทธปทีป”
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
75
76
วารสาร “พุทธปทีป”
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
77
78
วารสาร “พุทธปทีป”
ปีที่ ๒๓ ฉบับที่ ๖๘ ม.ค.-เม.ย. ๕๖
79
ส่งตรงถึงประตูบ้าน อ่านก่อนใครอื่น และรับสิทธิ์พิเศษในอนาคต ชื่อ นามสกุล วารสารธรรมะที่พกพาสาระมากมาย เพื่อยก ระดับการเรียนรู้และลับคมความคิด ให้การ ขับเคลื่อนชีวิตได้แต้มต่อที่ดีมากยิ่งขึ้น
๑ ปี มี ๕ ฉบับ (ม.ค.-มี.ค./เม.ย.มิ.ย/ก.ค.-ก.ย./ต.ค.-ธ.ค/ฉบับพิเศษ) ก. สมัครสมาชิก ๕ ฉบับ ๓๐ ปอนด์ ข. บริจาคสนับสนุนทั่วไป ๑๐ ปอนด์ ค. บริจาคที่ตู้บริจาคตามศรัทธา ติดต่อสอบถามและบริจาคที่ พระครูภาวนาวิธาน (สุทัศน์ อมรสุทฺธิ) โทร. 07717 475 789 THE BUDDHAPADIPA TEMPLE 14 Calonne Road Wimbledon London SW19 5HJ
อายุ ที่อยู่
ไปรษณีย์ โทรศัพท์ อีเมล
ส่งด่วน
ธรรมดา
ติ ด ต่ อ สอบถามรายละเอี ย ด และขอรั บ ใบ สมัครได้ที่ bppthai@hotmail.com
80
วารสาร “พุทธปทีป”