เอ่ยปาก
บนถนนสายศิลปะ ของนักวาดภาพประกอบแห่งยุค ภาพจากไอเดียสูล่ ายเส้นของเหล่านักวาดเลือดใหม่ในปัจจุบนั คือกุญแจ ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้หลายเรือ่ งราวบนแผ่นกระดาษรวมถึงสือ่ ดิจทิ ลั ไม่ได้มแี ค่ เพียงตัวหนังสือเท่านั้นที่สามารถสื่อสารประเด็นอันน่าสนใจสู่ผู้อ่านได้ หากแต่ยงั รวมถึงภาพประกอบอันน่าชม ซึง่ เปรียบประหนึง่ ความประทับใจ แรกที่ช่วยดึงดูดให้ผู้พบเห็นอยากติดตามอ่านเนื้อหาต่อ หรือสามารถท� ำให้ เข้าใจถึงแก่นของสาระโดยรวมได้เป็นอย่างดี ในปัจจุบัน อาชีพนักวาดภาพประกอบ ที่สมัยนี้ครอบคลุมตั้งแต่ภาพ ประกอบบทความ ภาพประกอบในการโฆษณาสินค้า และภาพการ์ตูน หรือแม้ กระทั่งสติกเกอร์ไลน์ นั้นก�ำลังกลายเป็นกระแสที่บูมในกลุ่มคนรุ่นใหม่ จนมีนัก วาดภาพยังก์บลัดฝีมือดีเกิดขึ้นมากมาย พร้อมทั้งมีกลุ่มแฟนคลับที่คอยชื่นชม และรอดูผลงานของพวกเขาไม่แพ้เหล่านักเขียนมือทองเลยทีเดียว ทั้งเส้นสาย ลวดลาย หรือการลงสีสันแบบมีเอกลักษณ์จนเป็นดั่งลายเซ็น ของนักวาดภาพแต่ละคน ย่อมต้องอาศัยทักษะ ประสบการณ์ และความคิด สร้างสรรค์แบบเฉพาะตัวจึงจะสามารถสร้างผลงานทีถ่ กู ใจ หรือเกิดความโดดเด่น จนครองใจผู้คนจ�ำนวนมากได้ ดังนั้น ประเด็นนี้จึงนับว่าเป็นประเด็นที่น่าสนใจ อยูไ่ ม่นอ้ ย ซึง่ คอลัมน์เอ่ยปากของนิตยสารลิปส์ฉบับนี้ ก�ำลังจะขอหยิบยกเรือ่ งราว ทั้งหมดขึ้นมาพูดคุยกัน ผ่านค�ำบอกเล่าจาก 4 นักวาดภาพฝีมือดีหลากสาขา ที่สามารถสร้างสรรค์ ผลงานได้อย่างโดดเด่นและมีเอกลักษณ์ เช่น ไอซ์-รัตตา อนันต์ภาดา ศิลปินสาว ผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลังผลงานภาพประกอบให้กบั สินค้าแบรนด์ดงั ๆ มากมาย ต๊อด-อารักษ์ อ่อนวิลัย เจ้าของนามปากกา Sahred Toy ที่มักมากับภาพสีสันสดใสและความ ทะลึ่งในงานแบบน่ารักๆ และ อาร์ต-ปิยพัชร์ จีโน หรือ ART JEENO เจ้าของ ลายเส้นกวนๆ แนวเรียลลิสติกที่สอดแทรกมุกตลก รวมถึงสาวสวยเจ้าของภาพ ประกอบแนว Comic Essay ที่แสนสดใสและน่ารักคิกขุอย่าง ปลารี่-พัชรกันย์ พิศาลสุพงศ์ หรือที่คนในวงการนักวาดรู้จักกันดีในชื่อ PLARIEX แน่นอนว่าหลายคนอาจเคยรูจ้ กั กับภาพผลงานของพวกเขามาแล้ว แต่คราวนี้ เราอยากให้มาลองท�ำความรูจ้ กั ตัวตนของเขาและเธอผ่านตัว หนังสือกันดูบ้าง
0176
0177
รัตตา อนันต์ภาดา เรื่อง รัชชา ภาพ สุทธิวัฒน์
เส้นสายและสีสนั อันโฉบเฉีย่ วกึง่ แฟชัน่ ผสม แฟนตาซีทเี่ มือ่ รวมเข้าด้วยกันแล้วสามารถ แสดงให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนสไตล์ เฟมินีนอย่างเด่นชัด คือเอกลักษณ์ที่เรา สัมผัสได้เสมอในผลงานของ ไอซ์-รัตตา อนันตภาดา Digital Illustrator สาวผูอ้ ยูเ่ บือ้ ง หลังความส�ำเร็จให้กับงานภาพประกอบ สินค้าของแบรนด์ดงั ระดับประเทศมากมาย “ไอซ์รสู้ กึ ดีใจนะคะทีม่ หี ลายคนรูจ้ กั แล้วก็ จ�ำเอกลักษณ์ในผลงานของเราได้วา่ มักเล่าเรือ่ ง ราวเกี่ยวกับผู้หญิง เช่นเดียวกับตัวไอซ์เองที่คิด เหมือนกันว่าประเด็นนี้แหละที่เป็นซิกเนเจอร์ ของเรามากทีส่ ดุ แต่จริงๆ ก็ไม่ได้ตงั้ ใจจะมีสไตล์ แบบนี้แต่แรกหรอกค่ะ (หัวเราะ) คือมารู้อีกที ตอนทีไ่ ด้ทำ� แล้วรูส้ กึ ว่าทางนีม้ นั ใช่ เพราะยิง่ ท�ำ ก็ยิ่งสนุกที่ได้วาดแบบเส้นผมอย่างนั้น ได้วาด แววตาแบบนี้ จึงเรียกได้ว่าทุกส่วนในภาพคือ ความสุขที่ผลิบานออกมามากกว่าค่ะ
0178
...ไอซ์ เ ป็ น คนให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ รายละเอียดของงานค่อนข้างมาก และถ้ามีเวลาน้อย จนท�ำไม่ทนั จริงๆ ก็ตอ้ งตัดใจไม่รบั เลย เพราะถ้า รับไปแล้วท�ำออกมาไม่ดี ไม่ใช่แค่งานของลูกค้า เสีย แต่ยังมาเสียที่เราด้วย เวลาท�ำงานต้องให้ เวลากับการคิดและการหาแรงบันดาลใจค่ะ ซึ่ง แต่ละชิ้นอาจใช้เวลาไม่เท่ากัน บางทีไปเดินเล่น แล้วเจอคนรู้จักแต่เขาไม่ทักเรา จนเกิดอารมณ์ เคืองทีเ่ ข้าคอนเซ็ปต์กบั งานทีก่ ำ� ลังท�ำอยูพ่ อดี ก็ สามารถเอาตรงนัน้ มาวาดภาพได้ เป็นรูปผูห้ ญิง ร้องไห้แล้วมีตัวหนังสือว่าท�ำไมไม่ทักทายอะไร อย่างนี้เป็นต้น แต่ถ้าคิดไม่ออกจริงๆ ก็อาจไป เปิดหนังสือหรือหาดูภาพต่างๆ ไปเรือ่ ยๆ จนกว่า จะเจอไอเดียดีๆ กว่าไอซ์จะได้งานมาหนึ่งชิ้น ค่อนข้างซับซ้อนมากค่ะ ไอซ์จงึ รับประมาณ 3-4 งานในเดือนหนึ่งเท่านั้น ...ทุกวันนี้งานภาพประกอบที่ท�ำอยู่จะเกิด จากการที่ลูกค้าติดต่อเข้ามาเองเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งก็ดีมากค่ะ เพราะหมายความว่าเขาจะรู้จัก สไตล์งานของเราแล้วในระดับหนึง่ คือรูว้ า่ อยาก จะได้งานแบบไหนจึงเลือกมาหาเรา จึงท�ำให้ เราค่อนข้างมีอิสระในการสร้างสรรค์งานเต็มที่ แต่ในทางที่ดี ไอซ์ก็คิดว่าเราจ�ำเป็นที่จะต้อง ท�ำความเข้าใจกับความต้องการทางการตลาด ของลูกค้าด้วย คือเหมือนต้องฟังลูกค้าครึ่งหนึ่ง แล้วก็เสนอไอเดียของเราไปด้วยอีกครึง่ หนึง่ เพือ่ ทีง่ านจะได้ออกมาตอบโจทย์ทางการค้าและยัง มีความเป็นตัวตนของเราอยู่ งานภาพประกอบ เชิงพาณิชย์ทดี่ ตี อ้ งให้คนเห็นแล้วเสพได้ จับต้อง ได้ง่าย ซึ่งประสบการณ์ที่ได้จากการท�ำงานกับ สินค้าแบรนด์ใหญ่ๆ หลายแบรนด์ช่วยให้ไอซ์ พัฒนาตนเองได้มากขึ้นเรื่อยๆ ค่ะ” แต่กว่าจะเป็นนักวาดภาพประกอบที่งาน วิ่งเข้าหาเช่นทุกวันนี้ย่อมไม่ใช่เรื่องง่าย ในห้วง เวลาที่ผ่านมารัตตาต้องล้มลุกคลุกคลานอยู่ บนถนนที่ไม่มีใครเห็นด้วยหลายต่อหลายปี แต่ เพราะความเชือ่ มัน่ ในงานทีร่ กั จึงท�ำให้เธอฮึดสู้ และตัดสินใจเดินร่วมกันมาจนเข้าปีที่ 7 แล้ว “เรียกว่าอาชีพนี้เป็นชีวิตของไอซ์ได้เลยค่ะ เพราะคิดว่าถ้าต้องไปท�ำอย่างอื่นคงไม่ได้เรื่อง
แน่ๆ (หัวเราะ) และแม้แต่กับอาชีพนักวาดภาพ ประกอบเอง ไอซ์กไ็ ม่คาดคิดว่าจะเดินมาถึงตรงนี้ แค่คดิ ว่าอยากท�ำไปเรือ่ ยๆ เพราะท�ำแล้วมีความ สุข แต่พอประสบความส�ำเร็จถึงในระดับนีก้ ร็ สู้ กึ ภูมิใจมาก อย่างน้อยก็เป็นน�้ำพักน�้ำแรงของเรา เอง คือตอนที่เรียนจบมาใหม่ๆ จากคณะศิลปะ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ส่วนใหญ่ พอคุยว่าอยากเป็นนักวาดภาพประกอบ คนอื่น ก็จะถามว่า จะดีเหรอ ในประเทศนี้ไม่ทีทางรอด หรอก ต้องท�ำงานอย่างอืน่ ควบคูไ่ ปด้วย ไม่อย่าง นัน้ ไม่พอกิน ซึง่ เมือ่ 7 ปีกอ่ นมันก็จริงนะคะ ตอน นัน้ อาชีพนักวาดภาพประกอบในบ้านเรายังค่อน ข้างล�ำบาก เพราะยังไม่ได้บมู มากเหมือนทุกวันนี้ ...ยังจ�ำได้ว่าต้องนั่งท�ำแฟ้มสะสมผลงาน แล้ ว หอบไปฝากไว้ ต ามบริ ษั ท ต่ า งๆ ให้ เ ขา พิจารณา ระหว่างนัน้ ก็ทำ� ร้านเสือ้ สกรีนลายของ ตัวเองขายไปด้วย ก็ขายดีนะคะ เหมือนเป็นการ เผยแพร่ผลงานอีกทางหนึ่ง แต่ระหว่างทางมัน เหนื่อยมากกว่าจะมาถึงขั้นนี้ เหนื่อยทุกอย่าง ตั้งแต่วาด บางทีต้องวาดเป็นพันกว่าเส้นกว่า จะได้งานหนึ่งชิ้น ดังนั้น พอมีคนติดต่อมาเรื่อง งานครัง้ แรกจึงดีใจทีส่ ดุ เหมือนเมล็ดทีเ่ ราหว่าน ไปเป็นต้นขึ้นมา แต่เดี๋ยวนี้ทุกอย่างง่ายขึ้นและ อาชีพนักวาดภาพประกอบก็น่าจะเป็นอาชีพที่ อยู่รอดแล้วค่ะ เพราะแบรนด์สินค้าต่างๆ เริ่ม ดึงเอาคนที่ท�ำงานศิลปะมาใส่ในงานโฆษณา ซึ่งอันนี้ก็ต้องยกประโยชน์ให้กับนักวาดภาพ ประกอบรุ่นเก่าที่เคยท�ำงานดีๆ ไว้เป็นตัวอย่าง ด้วย คนรุ่นใหม่จึงมีโอกาสในการท�ำงานด้านนี้ มากขึ้น ...นักวาดภาพประกอบรุน่ พีท่ ไี่ อซ์ชนื่ ชมมาก คือ พี่โอ-ธีรวัฒน์ เฑียรฆประสิทธิ์ งานของเขา สะดุดตาไอซ์ทสี่ ดุ และท�ำให้ไอซ์ในสมัยทีเ่ พิง่ เริม่ ต้นเป็นนักวาดภาพประกอบมีกำ� ลังใจ เนือ่ งจาก รูส้ กึ ว่าในเมืองไทยก็มคี นท�ำอาชีพนีแ้ ล้วประสบ ความส�ำเร็จเหมือนกันนะ แต่ถ้าให้พูดถึงแรง บันดาลใจ ส่วนใหญ่ไอซ์จะได้รบั อิทธิพลมาจาก ศิลปินต่างชาติมากกว่า เช่น Jason Brooks ซึ่ง เขาวาดภาพผู้หญิงสวยทุกคนเลยค่ะ” จากอดีตถึงปัจจุบัน ผลงานภาพประกอบ
จากสองมือและหนึ่งสมองของรัตตาถูกรังสรรค์ ออกมาเป็นจ�ำนวนเกือบนับไม่ถ้วน แต่ผลงาน ชิ้นใดที่เธอประทับใจมากที่สุด และอยากยกให้ เป็นมาสเตอร์พีซของตนเอง “น่าจะเป็นงานคราฟต์บนเก้าอีข้ องอาดิดาส ค่ะ เพราะเป็นงานทีท่ ำ� แล้วได้เข้าใกล้กบั คนรอบ ข้างมากทีส่ ดุ ต่างจากปกติทเี่ วลาท�ำงานไอซ์จะ นั่งอยู่ในห้องสี่เหลี่ยมธรรมดา ไม่ได้พูดคุยเรื่อง งานที่ท�ำอยู่กับใครนอกจากผ่านทางโซเชียล เน็ตเวิร์ก งานนี้จึงเหมือนช่วยเปิดประสบการณ์ ใหม่ เพราะต้องไปนั่งเพนต์เก้าอี้อยู่ที่ช็อปของ อาดิ ด าสที่ เ ซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ เ ป็ น เวลาประมาณ 3 เดือน ไปเกือบทุกวันค่ะ ตอนแรกก็เขินๆ นะคะ แต่พอไปๆ มาๆ ก็เริม่ สนุก เพนต์ไปก็เริม่ มีฝรัง่ มา มองมาดู เริ่มมีคนต่างชาติมาชวนคุย มีคนไทย มามองมาชมว่า สวยดีนะ มาถามว่าท�ำอะไร อย่างไร เป็นประสบการณ์ที่ไอซ์รู้สึกประทับใจ มากค่ะ ...ส่วนในอนาคตไอซ์อยากมีโอกาสไปท�ำ ภาพประกอบให้แบรนด์เสื้อผ้าไฮเอ็นด์ เหมือน กับศิลปินต่างประเทศหลายๆ คนที่อาจจะวาด การ์ตูนอยู่ดีๆ แล้วหลุยส์ วิตตองก็มาชวนไป ท�ำลายกระเป๋า ซึง่ งานทีอ่ อกมาก็ยงั มีเอกลักษณ์ ของศิลปินอยู่ แต่กเ็ อามารวมกับความเป็นแฟชัน่ ได้อย่างลงตัว ไอซ์คิดว่าคงรู้สึกดีมากถ้าได้ท�ำ อย่างนั้น เพราะนับเป็นการประสบความส�ำเร็จ ในสายอาชีพนี้มากเลยทีเดียวค่ะ ...อยากท�ำฝันให้เป็นจริงก็ต้องท�ำทุก วันให้ดี อยากประสบความส�ำเร็จก็ตอ้ งขยัน แล้วก็ต้องเชื่อในสิ่งที่เราคิดเราท�ำ อย่าไป ปรึกษาคนอื่นมาก เพราะความคิดเห็นของ คนอืน่ ก็คอื ความคิดเห็นของคนอืน่ นัน่ แหละ ค่ะ แต่สงิ่ ทีส่ ำ� คัญของคนท�ำงานศิลปะนัน้ คือ ความเป็นตัวของเราเอง เราจะไม่มีวันรู้เลย ว่าอะไรดีหรือไม่ดี ถ้าเราปล่อยให้มนั ผ่านไป โดยที่ยังไม่ได้เข้าไปสัมผัสค่ะ”
หน้า-ผม ธีรยุทธ จันอ้น สไตล์ จีรัชญ์
0179
อารักษ์ อ่อนวิลัย
เรื่อง รัชชา ภาพ สุทธิวัฒน์
แม้เรื่องแนว 18+ จะยังฟังดูน่าเคอะเขิน และพู ด กั น ได้ แ ค่ ใ นวงแคบส� ำ หรั บ สั ง คม ไทย แต่เมื่อถูกน�ำมาบอกเล่าผ่านภาพวาด สุดครีเอทีฟโดยฝีมือของ อารักษ์ อ่อนวิลัย หรือ ต๊อด เจ้าของนามปากกา Sahred Toy (เสลดทอย) กลับดูกลายเป็นเรื่องที่น่ารัก และน่ า สนใจขึ้ น มา จนกระทั่ ง สามารถ เข้าไปสื่อสารกับคนรุ่นใหม่ได้อย่างง่ายๆ แถมยังได้สาระตามมาติดๆ ด้วย ปัจจุบัน อารักษ์เป็นนักวาดภาพประกอบ และแอนิ เ มเตอร์ ที่ มี ง านชุ ก เข้ า ขั้ น คนหนึ่ ง ของวงการ ต่ า งจากเมื่ อ หลายปี ก ่ อ น ที่ อ ดี ต บัณฑิตหนุ่มจากคณะ Product Design ในรั้ว มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลธั ญ บุ รี ผู ้ นี้ เป็นเพียงมนุษย์เงินเดือนทั่วไป ซึ่งเมื่อพบว่า ชีวิตที่เป็นอยู่นั้นไม่ใช่ อารักษ์จึงลาออกจาก งานที่เรียกได้ว่ามั่นคงมาสู่อาชีพนักวาดภาพ อิสระ ด้วยเหตุผลเพียงเพราะว่าเขารักการวาด รูป และอยากหลุดพ้นจากวงจรชีวิตเดิมๆ ที่ แสนจะน่าเบื่อ “ปรัชญาในการท�ำงานของผมมีข้อเดียว ครั บ คื อ ท� ำ แล้ ว ต้ อ งสนุ ก เพราะถ้ า สามารถ ท�ำงานที่สนุกได้ เราก็จะไม่เบื่อ แล้วก็จะอยาก รักษาคุณภาพงานไว้ เหมือนทีอ่ ยากรักษาความ สนุกเอาไว้นั่นแหละครับ ซึ่งทุกวันนี้แม้งานจะ เยอะ จนบางครั้งอาจเหนื่อยหรือท้อ ผมก็จะ ย้อนถามตัวเองเสมอว่ารักการวาดรูปมากไม่ใช่ เหรอ ก็ท�ำไปสิ ดีแค่ไหนแล้วที่ได้มาท�ำตรงนี้ แล้วก็พยายามไม่คิดว่าการวาดรูปเพื่อท�ำงาน นัน้ เป็นงานครับ แต่จะคิดว่านีค่ อื การวาดรูปเล่น เสียมากกว่า แล้วพอคิดได้อย่างนี้งานก็จะสนุก และออกมาดี ซึ่งผมคิดว่าอาชีพนี้เป็นอาชีพที่ เลี้ยงตัวได้ และตอบค�ำถามของผมได้ว่าชีวิต ต้องการอะไรครับ …หลายๆ คนมองว่างานภาพวาดของผม เป็นแนวป๊อปอาร์ต แต่ผมเองก็ยังไม่ค่อยเข้าใจ หรอกว่าป๊อปอาร์ตคืออะไร (หัวเราะ) ผมก็แค่ วาดในแบบทีอ่ ยากจะวาดและให้เป็นตัวผมเอง ทีส่ ดุ ซึง่ ถ้าจะให้นยิ ามกันจริงๆ สไตล์ของผมน่า
จะมีเอกลักษณ์ตรงการใช้สแี บบคัลเลอร์ฟลู ผสม กับกิมมิกของความทะลึง่ แต่ภาพรวมจะดูนา่ รัก นะครับ และอาจมีขอ้ คิด มีความประหลาด หรือ ความดิบเถื่อนนิดๆ แฝงเข้าไปด้วย …อย่างงานทีผ่ มเพิง่ ท�ำไปในช่วงสงกรานต์ ที่ผ่านมา คือ Durex Love Box ก็จะเป็นงาน ภาพประกอบบนกล่องถุงยางอนามัยแบบลิมิเต็ดอิดิชั่นครับ ซึ่งตอบโจทย์ทางการตลาดใน เรื่องเพศสัมพันธ์ที่เราพูดกันในวงกว้างไม่ค่อย ได้ ทั้งที่จริงๆ แล้วเรื่องนี้เป็นเรื่องปกติมากและ ต้องการความเข้าใจทีถ่ กู ต้อง ดังนัน้ การท�ำงาน ให้ดเู ร็กซ์ในครัง้ นีก้ เ็ หมือนการช่วยท�ำให้ชอ่ งว่าง ของความเคอะเขินในเรือ่ งดังกล่าวแคบลง อาจ ท�ำให้วยั รุน่ หันมาสนใจและใส่ใจการป้องกันเมือ่ มีเพศสัมพันธ์มากขึน้ โดยผลงานชิน้ นีน้ บั เป็นผล งานทีผ่ มชอบมากทีส่ ดุ ครับ เพราะรูส้ กึ ว่าตรงกับ สไตล์ของผมมาก และโดยส่วนตัวก็อยากท�ำให้ กับแบรนด์นมี้ านาน ผมถึงขนาดเคยคุยกับเพือ่ น ว่า ถ้าวันหนึง่ ได้ทำ� ภาพประกอบให้ดเู ร็กซ์ผมคง พร้อมตายแล้ว (หัวเราะ) …แต่ ก็ ยั ง มี ผ ลงานชิ้ น อื่ น ๆ ที่ ผ มชอบ เหมือนกัน อย่างงานที่ท�ำปกอัลบั้ม Push ให้ วง ETC. ก็ใช่ ผมเป็นคนไม่ค่อยคิดถึงเรื่องชิ้น งานมาสเตอร์พซี นะ แต่ถา้ ค�ำว่ามาสเตอร์พซี มัน ใช้ได้กับหลายๆ งาน ผมก็อยากน�ำมาใช้กับทุก งานของผม เพราะผมชอบเกือบหมดเลยครับ” ด้วยเอกลักษณ์และความสนุกแบบเฉพาะ ตัวที่ปรากฏออกมาให้เห็นผ่านชิ้นงานคุณภาพ มากมาย ล่าสุด อารักษ์จงึ เพิง่ ได้รบั รางวัลศิลปิน กิตติมศักดิ์ จากเวที Let’s Award 2014 by Honda แต่นอกจากงานด้านภาพประกอบเชิง พาณิชย์แล้ว เขาก็ยงั มีผลงานหนังสือแนวบันทึก การเดินทางอีก 2 เล่มด้วยกัน คือ อินดง อินเดีย (India Diary) และ โตเกียว จุด จุด (Tokyo Diary) ที่อารักษ์ควบทั้งต�ำแหน่งนักวาดและนักเขียน ด้วยตนเอง ซึ่งทั้งหมดทั้งมวลนี้ ท�ำให้เขากลาย เป็นหนึ่งในไอดอลของเหล่านักวาดรุ่นใหม่ไป โดยปริยาย “ดีใจอยู่แล้วครับที่มีคนมาชื่นชมผลงาน
ของเรา แต่ผมก็คิดว่าตัวเองยังต้องพัฒนาอีก เยอะ ซึ่งผมก็มีไอดอลเหมือนกัน ผมชอบพี่ตั้ม Mamafaka (พฤษ์พล มุกดาสนิท) มากครับ และ สมัยที่พี่เขายังมีชีวิตอยู่ พอเขาพูดอะไรผมก็จะ ฟังจะจดไว้หมด เรียกได้เลยว่าเขาเป็นต้นแบบ ในการท�ำงานของผม พี่ตั้มเป็นคนท�ำงานหนัก มาก เขาท�ำงานทุกวัน ทัง้ ยังเป็นคนทีช่ ว่ ยบุกเบิก วงการศิลปะไทยให้เข้าสู่วงการโฆษณาได้ ผม จึงรู้สึกว่าโชคดีมากที่ได้เดินตามเขา และอยาก เป็นนักวาดภาพประกอบที่ดีให้ได้แบบเขาครับ …โดยส่วนตัวผมคิดว่าความชอบเป็นสิ่ง ส�ำคัญทีส่ ดุ ส�ำหรับการเป็นนักวาดภาพประกอบ ที่ดี แล้วก็ต้องรู้จักวางแผนการท�ำงานครับ ขั้น ตอนแรกเลยผมจะตีคอนเซ็ปต์ก่อน คือจะเอา คอนเซ็ปต์จากทางลูกค้ามาคิดในแบบของเรา แล้วสเกตช์เป็นตัวอย่างขาวด�ำง่ายๆ ก่อน ทีนี้ พอตกลงกันได้คอ่ ยเก็บรายละเอียดแล้วลงสี ซึง่ ส่วนใหญ่ผมจะท�ำงานกับคอมพิวเตอร์ 100% ครับ แต่ถ้าวันไหนคิดงานไม่ออกผมก็จะมีวิธี แก้แบบเฉพาะตัวของผม คือ ผมจะไปนัง่ รถเมล์ นัง่ สลับสายไปเรือ่ ยๆ จนกว่าจะคิดออกแล้วค่อย ลงหาทางกลับบ้านทีหลัง (หัวเราะ) ไม่เชือ่ ก็ตอ้ ง เชื่อครับ แต่วิธีนี้นี่แหละที่ท�ำให้ผมคั้นงานออก มาได้ดีที่สุด ...การที่ผมมาได้ถึงตรงนี้นับถือว่าไกลเกิน ฝันแล้ว แต่การท�ำงานในสายนีเ้ ราจะหยุดพัฒนา ตนเองไม่ได้ครับ ในอนาคตผมอยากไปท�ำงาน ที่ต่างประเทศ อยากมีโอกาสไปท�ำงานในตลาด เอเชียหรือตลาดโลกบ้าง แต่ยังติดปัญหาเรื่อง ภาษาอยู่ ก็ต้องพัฒนาตัวเองในส่วนนี้ควบคู่กัน ไปด้วยครับ” ท้ายนีพ้ ออารักษ์พดู ถึงการเข้าไปท�ำงานใน ต่างประเทศ เราจึงขอถามอีกสักค�ำถามว่า เขา มองเห็นโอกาสและอนาคตของศิลปินนักวาด ภาพประกอบสายเลือดไทยในเวทีโลกอย่างไร บ้าง “ทุกวันนีว้ งการนักวาดภาพประกอบใน บ้านเราคึกคักดีครับ และพอมีการแข่งขัน กันสูง ทุกคนก็จะพยายามพัฒนาฝีมือของ ตัวเองให้โดดเด่นและแตกต่าง ซึ่งถ้ามีการ พัฒนาแบบนี้ไปเรื่อยๆ วันหนึ่งผลงานของ นักวาดภาพประกอบไทยจะไปได้สวยแน่ ในตลาดโลก เราก�ำลังเดินมาถูกทางแล้ว ผมเชื่อมั่นอย่างนั่้นครับ” หน้า-ผม ธานินทร์ ขุนไกร สไตล์ จีรัชญ์
0180
0181
พัชรกันย์ พิศาลสุพงศ์ เรื่อง เบญจวรรณ ภาพ สุทธิวัฒน์
ส� ำ หรั บ หนึ่ ง สาวนั ก วาดภาพประกอบที่ เป็นที่รู้จักกันดีภายใต้นามปากกา ‘ปลารี่’ (PLARIEX) หรือในชือ่ จริงว่า ปลา-พัชรกันย์ พิ ศ าลสุ พ งศ์ เธอคื อ เจ้ า ของลายเส้ น ตั ว การ์ตูนสุดแสนน่ารัก ที่โดดเด่นด้วยการ ถ่ายทอดเรื่องราวแนว ‘Comic Essay’ หรือ ‘เล่าเรื่องผสมภาพ’ ซึ่งนับเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวของเธอเองที่ไม่เหมือนใคร ปลารี่จบปริญญาตรีจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเคยท�ำงานเป็น นักกฎหมาย ก่อนจะหยิบเอาความชื่นชอบการ วาดรูปที่ท�ำเป็นงานอดิเรกมาเป็นอาชีพ และ แม้จะไม่ได้ร�่ำเรียนมาทางด้านศิลปะโดยตรง แต่ด้วยใจรักและการสร้างงานที่มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว ท�ำให้ตลอดระยะเวลา 3 ปี บนเส้น ทางนี้ ปลารี่มีผลงานภาพประกอบคอลัมน์ใน หน้าหนังสือต่างๆ อย่างต่อเนื่อง อาทิ นิตยสาร อะเดย์ นิตยสารเบอร์รี่ และผลงานพ็อกเกตบุ๊ก อีก 3 เล่ม กับส�ำนักพิมพ์แซลมอน คือ ชีวิต 18OFFICE SISTA และ ชีวิต 175 cm ตามมา ด้วยผลงานล่าสุดในงานสัปดาห์หนังสือแห่ง ชาติช่วงต้นปีนี้กับส�ำนักพิมพ์บัน เรื่อง PLANT vs. PLARIEX นอกจากนี้ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผลงานวาดภาพประกอบของปลารีก่ ไ็ ด้มโี อกาส ไปจัดแสดงที่งานแสดงหนังสือนานาชาติไทเป 2014 ที่กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน ร่วมกับนัก วาดภาพประกอบและนักเขียนการ์ตูนไทย อีกหลายคน ปลารี่เล่าถึงที่มาที่ไปในการมาท�ำงาน ภาพประกอบว่ า ... “ปลาชอบวาดรู ป มา ตั้งแต่เด็กๆ เคยหัดวาดรูปด้วยตัวเองแบบ จริงๆ จังๆ แต่รู้สึกว่ายากจึงหยุดไป พอเรียน มหาวิทยาลัย ประมาณปี 2 ปลาเริม่ เขียนบล็อก ตอนแรกก็เล่าเป็นตัวหนังสือ โดยน�ำเรื่องที่พบ เจอในชีวิตประจ�ำวันหรือเรื่องราวเล็กๆ น้อยๆ ตลกๆ ที่ เ จอมาถ่ า ยทอด ต่ อ มาปลาวาดรู ป ประกอบเสริมเข้าไปด้วย เป็นภาพการ์ตูนลาย เส้นง่ายๆ ท�ำให้รู้สึกว่าการวาดรูปแบบนี้สนุก และมีคนเข้ามาติดตามอ่านมากกว่าทีเ่ ป็นเรือ่ ง เล่าด้วยตัวหนังสือเพียงอย่างเดียว ปลาวาด
0182
ในบล็อกมาเรื่อยๆ จนกระทั่งมีโอกาสได้เขียน การ์ตูนสั้นๆ กับส�ำนักพิมพ์อะบุ๊ก ซึ่งปลาเขียน ร่วมกับอีกหลายคน ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2552-2554 ค่ะ …พอเรียนจบปลาคิดว่าจะไม่ท�ำงานวาด รูปต่อ และเลือกท�ำงานประจ�ำในแผนกกฎหมาย ปลาท�ำงานนีอ้ ยูป่ ระมาณ 2 ปีครึง่ ช่วงนัน้ โซเชียล
มีเดียต่างๆ เริม่ เข้ามา พออัพรูปทีว่ าดในอินสตาแกรมกับเฟซบุ๊กก็มีคนเข้ามาติดตาม ปลาจึง กลับมาวาดรูปอีกครั้ง โดยใช้เวลาครึ่งปีสุดท้าย ของการท�ำงานประจ�ำมาเขียนการ์ตูน และได้ ออกผลงานเล่ ม แรกกั บ ส� ำ นั ก พิ ม พ์ แ ซลมอน เรื่อง ชีวิต 18- เป็นเรื่องราวของปลา ช่วงชีวิตวัย
มัธยมที่อายุยังไม่เกิน 18 ปี …หลังจากผลงานตีพมิ พ์ออกมาเป็นรูปเล่ม ปลาจึงตัดสินใจลาออกจากงานประจ�ำมาท�ำงาน วาดภาพประกอบอย่างเต็มตัว ก่อนจะลาออก ปลาคิดหนักเหมือนกัน ครอบครัวก็ไม่ค่อยเห็น ด้วย แต่พอเห็นผลงานตีพิมพ์ เขาก็เชื่อว่าปลา น่าจะท�ำได้ ประกอบกับตอนนั้นปลาป่วยหนัก มาก ท�ำให้เกิดค�ำถามกับตัวเองว่าจริงๆ แล้ว ต้องการจะท�ำอะไร เพราะด้วยสุขภาพที่ไม่เอื้อ อ�ำนวย ปลาไม่สามารถท�ำทั้งสองอย่างได้ ถ้า จะต้องเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ปลาคิดว่าเลือก ในสิ่งที่อยากท�ำดีกว่า ซึ่งก็คือการวาดรูปค่ะ” เมือ่ เลือกทีจ่ ะท�ำอาชีพนักวาดประกอบแบบ เต็มตัว แน่นอนว่าจ�ำเป็นต้องมีเอกลักษณ์เฉพาะ ตัวที่โดดเด่นสะดุดตาถึงจะสามารถยืนหยัดอยู่ บนถนนที่ปัจจุบันมีคู่แข่งจ�ำนวนไม่น้อยได้ เช่น เดียวกับผลงานของปลารี่ ที่ทุกวันนี้หลายๆ คน ต้องยกให้เธอเป็นเจ้าแม่ Comic Essay “เอกลั ก ษณ์ ก ารวาดรู ป ของปลา เรี ย ก ว่า Comic Essay คือ การเล่าเรื่องเหมือนการ เขียนเรียงความเล่าเรื่องตัวเอง แต่เป็นภาพกับ ตัวหนังสือประกอบกัน อย่างผลงานเล่มอื่นๆ ของปลาเรื่อง OFFICE SISTA ปลาก็เล่าเรื่อง ราวสารพัดเหตุการณ์ที่เจอตอนท�ำงานออฟฟิศ เรื่อง ชีวิต 175 cm เป็นการถ่ายทอดสิ่งที่คน ตัวสูงอย่างปลาต้องเจอ หรือเรื่อง PLANT vs. PLARIEX ที่เพิ่งออกมาก็เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ การเลีย้ งต้นกระบองเพชรซึง่ เป็นงานอดิเรกใหม่ ของปลา ในเมืองไทยยังไม่คอ่ ยมีคนเขียนแนวนี้ แต่ที่ประเทศญี่ปุ่นและไต้หวันมีมานานแล้ว ปลาเองก็ศึกษางาน ดูวิธีการเล่าเรื่อง และมุม มองรูปจากเขาค่ะ …ส่วนสไตล์ภาพที่วาดปลาคิดว่าอิงมา จากตัวเองนะคะ เพราะตอนเขียนบล็อกปลา เล่าเรื่องตัวเอง ปลาเป็นคนแก้มเยอะและหัว ยุ่งๆ ปลาก็วาดตัวเองเป็นหน้ากลมๆ และเติม รายละเอียดต่างๆ ลงไป หลายคนบอกว่าน่ารักดี ปลาก็เลยวาดแบบนัน้ พอวาดไปเรือ่ ยๆ สัดส่วน ก็เข้าที่เข้าทางมากขึ้นค่ะ …แรงบันดาลใจในการวาดภาพของปลา ส่วนใหญ่จะมาจากการฟังเพลง ดูหนัง หรือออก
ไปท่องเที่ยวแล้วเกิดไอเดีย ปลาก็จะน�ำมาวาด รูป ปลาวาดได้ทั้งในคอมพิวเตอร์และวาดด้วย มือ แต่ปลาชอบวาดมือมากกว่า อย่างหนังสือ ที่ท�ำส่วนใหญ่ก็วาดด้วยมือทั้งหมด การวาด ภาพด้วยมือเสน่ห์อยู่ที่ความเบี้ยวๆ และสีที่ไม่ เรียบ ท�ำให้งานมีความแคชวลกว่าวาดในคอมฯ ที่เนี้ยบมาก ทั้งลายเส้นและสีที่ระบายลงไปค่ะ …การท�ำอาชีพวาดภาพประกอบท�ำให้ ปลามีความสุขกับการได้ท�ำสิ่งที่รักอย่างเต็มที่ ผลงานของตัวเองที่ผ่านมาปลาพอใจในระดับ หนึง่ และปลาต้องการจะพัฒนาเทคนิคการวาด รูปของตัวเองไปเรือ่ ยๆ ทีผ่ า่ นมาปลาวาดคนเป็น ส่วนใหญ่ ก็อยากจะเรียนรูก้ ารวาดฉาก หรือวาด อย่างอื่นที่หลากหลายขึ้น …ปลาคิดว่าการเป็นนักวาดภาพประกอบ ที่ดี จะต้องชอบวาดรูปจริงๆ เพราะงานที่ท�ำ ทุกอย่างจะต้องอาศัยการวาดรูป อย่างการท�ำ หนังสือเล่มหนึ่งใช้เวลาในการท�ำประมาณ 3-4 เดือน ซึ่งจะต้องวาดรูปทุกวัน ถ้าชอบวาดรูปไม่ มากพอคงท�ำไม่ได้ตลอด ส�ำหรับปลาถ้าเป็นไป ได้ปลาอยากจะเขียน Comic Essay ไปเรื่อยๆ จนอายุ 60 ปี ปลาคิดไว้ว่าตอนนั้นปลาจะเขียน เรื่องราวของตัวเองที่เป็นคุณยายและเป็นตอน จบเรื่องของปลาค่ะ …ปัจจุบนั มีสอื่ และช่องทางให้เผยแพร่ ผลงานอย่างหลากหลาย ใครที่สนใจงาน ด้านนีก้ ส็ ามารถใช้ชอ่ งทางเหล่านัน้ น�ำเสนอ ผลงานของตัวเอง ที่ส�ำคัญคือต้องพัฒนา งานให้มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งจะท�ำให้ งานเป็นที่จดจ�ำค่ะ”
หน้า-ผม ธานินทร์ ขุนไกร สไตล์ จีรัชญ์
0183
ปิยพัชร์ จีโน
…ผมจะชอบเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิต วัยรุ่นที่ไม่เกินช่วงมหาวิทยาลัย เพราะรู้สึกว่า มันมีเพื่อน มีความฝัน มีความสนุกเต็มที่ แต่ จริงๆ แล้วการ์ตูนจะเป็นเรื่องของคนอายุเท่า ไหร่ก็ได้ ซึ่งผมคิดว่าการท�ำหนังสือการ์ตูนสัก เล่มก็คล้ายๆ กับการท�ำหนังเรื่องหนึ่งนะครับ แต่แตกต่างกันตรงที่ถ้าจะท�ำหนังอาจต้องใช้ เงินเยอะ ใช้ทีมงานเยอะ ทว่าพอเป็นการเขียน การ์ตูนนั้นเราสามารถท�ำเองทุกอย่างได้หมด เลย มันจึงสนุกและท้าทายมากครับ” ด้วยความที่เรื่องราวผ่านปลายพู่กันของ ปิยพัชร์เกิดขึ้นโดยแรงบันดาลใจจากเรื่องจริง จึงท�ำให้คนอ่านสามารถเข้าถึงได้ง่าย และเมื่อ ผนวกเข้ากับมุกตลกและลายเส้นทีม่ เี อกลักษณ์ เฉพาะตัว ความนิยมในผลงานของปิยพัชร์จึง ไม่ได้หยุดอยู่แค่ในแวดวงคอการ์ตูน แต่ยังรวม ถึงเวทีการประกวดทัง้ ระดับในประเทศและต่าง ประเทศด้วย “ผลงานเล่มที่ 2 ของผม D Day เป็นการ์ตนู ฉบับเรื่องสั้นที่ผมพยายามยัดทุกอย่างที่มีใน สมองตอนนั้นเข้าไปหมดเลย ซึ่งการ์ตูนเล่มนี้มี ผลตอบรับที่ดีมากครับ ได้รางวัลอันดับที่ 3 มา 2 เวที ในระดับประเทศก็เป็นของ 7 บุ๊คอวอร์ด ประเภทนิยายภาพ ส่วนระดับนานาชาติก็เป็น เวที อินเตอร์เนชั่นแนล มังงะอวอร์ด ครั้งที่ 7 ครับ (มังงะอวอร์ด คือ รางวัลการ์ตูนนานาชาติ จัดขึน้ ทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ เพือ่ มอบเป็นเกียรติแก่นกั วาดการ์ตนู ทัว่ โลก ถ้าเปรียบเทียบความยิง่ ใหญ่ ของรางวัลนี้ ก็เหมือนรางวัลออสการ์ในสาขา
เรื่อง รัชชา ภาพ สุทธิวัฒน์
หากเราถามนักอ่านการ์ตนู รุน่ ใหม่ทชี่ นื่ ชอบ ภาพสีน�้ำกับลายเส้นกวนๆ หรือเรื่องราวที่ ถอดแบบจากชีวติ จริงได้อย่างตลกขบขันจน ชวนอ่าน เชื่อว่าชื่อของ ART JEENO หรือ อาร์ต-ปิยพัชร์ จีโน คงเป็นค�ำตอบทีห่ ลายๆ คนต้องกล่าวถึง เพราะเขา คือเจ้าของความ น่าสนใจอันเป็นเอกลักษณ์ขา้ งต้น และเรียก ได้เลยว่าก�ำลังเป็นหนึ่งในนักเขียนการ์ตูน รุ่นใหม่ไฟแรงที่น่าจับตามองอยู่ ณ ขณะนี้ ย้อนกลับไปในวัยเยาว์ ปิยพัชร์นั้นชื่นชอบ การอ่านการ์ตูนมาตั้งแต่เด็กๆ เขาเติบโตมา กับสิ่งนี้ โดยมีไอดอลเป็นนักเขียนการ์ตูนชื่อดัง อย่าง ทาเคฮิโกะ อิโนอุเอะ เจ้าของผลงานเรื่อง สแลมดังก์และวากาบอนด์เหมือนกับเด็กผู้ชาย วัยรุ่นทั่วไป แต่ที่แตกต่างออกไปก็คือ ปิยพัชร์ ไม่ได้หยุดแค่การอ่านเท่านั้น หากแต่เกิดเป็น แรงบันดาลใจ ที่ชวนให้เขาเริ่มวาดการ์ตูนด้วย ตัวเองตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา จวบจนเข้าเรียนมหาวิทยาลัย ทีก่ ลับกลาย เป็นช่วงเวลาแห่งจุดเปลี่ยน ซึ่งท�ำให้ปิยพัชร์ เกือบละทิ้งงานเขียนการ์ตูนไป แต่ถึงอย่างไรก็ ดี การเปลี่ยนแปลงนี้ ก็คือกุญแจส�ำคัญที่ท�ำให้ เขาค้นพบแนวทางการวาดภาพของตัวเองที่ไม่ เหมือนใครด้วยเช่นกัน “ตอนไปเรียนที่คณะวิจิตรศิลป์ สาขาจิตรกรรม มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ผมรู ้ สึ ก ว่ า ลื ม การ์ตูนไปแล้ว เพราะอยากไปท�ำงานวาดภาพ แบบจริงๆ จังๆ เช่น เขียนภาพสีน�้ำมัน ผมก็ ไปสนุกอยู่ตรงนั้นสักพักหนึ่งครับ แต่พอใกล้ จะเรียนจบ กลับเริ่มคิดว่าน่าจะไปไม่รอดแล้ว มากกว่า (หัวเราะ) เพราะรู้สึกว่ามันยากมาก ก็เลยลองเริ่มกลับมาเขียนการ์ตูนอีกครั้ง ซึ่งน่า แปลกว่างานการ์ตูนนี่แหละท�ำให้ผมท�ำงาน เรี ย ลลิ ส ติ ก ได้ ดี ขึ้ น และในทางกลั บ กั น งาน เรียลลิสติกก็ท�ำให้ภาพการ์ตูนของผมสมบูรณ์ มากขึ้นกว่าเก่า กล่าวคือ ทั้งวิธีคิด คอนเซ็ปต์ และทักษะลายเส้น ตลอดจนสัดส่วนต่างๆ ผม ก็ได้อิทธิพลมาจากการวาดภาพแนวเรียลลิสติกทั้งสิ้น ดังนั้น ภาพการ์ตูนของผมจึงเป็นภาพ ที่ดูออกว่าแต่ละตัวละครไม่เหมือนกัน เหมือน ที่ในโลกความเป็นจริงที่ไม่มีใครเหมือนใครอยู่ แล้วครับ
0184
…เอกลักษณ์ในงานวาดของผม คือการลด รายละเอียดแล้วคัดแต่เฉพาะส่วนที่จ�ำเป็นต่อ คาแร็กเตอร์เอาไว้ ภาพที่ได้จึงค่อนข้างจะมีเส้น น้อยๆ แต่จะสื่อถึงรายละเอียดที่แตกต่างกันได้ ของตัวละครแต่ละตัว ซึง่ ผมคิดว่านีค่ อื คุณสมบัติ ทีด่ ขี องนักวาดการ์ตนู อย่างหนึง่ นะครับ คนวาด ต้องสือ่ สารให้คนอ่านรูเ้ รือ่ ง ต้องท�ำให้ดงู า่ ย ต้อง เปิดดูปุ๊บแล้วอยากดูต่อ ซึ่งบางทีการโชว์พลัง หรือเส้นสายที่รกรุงรังมากเกินไป ก็อาจไม่ได้ ผลเท่าไหร่นัก” แต่ ก็ ใ ช่ ว ่ า มี เ อกลั ก ษณ์ ข องตั ว เองแล้ ว ปิยพัชร์จะได้เป็นนักเขียนการ์ตนู ทีป่ ระสบความ ส�ำเร็จขึ้นมาเลย หลังจากเรียนจบ เขาเคยหอบ ผลงานจากเชียงใหม่เข้ากรุงเทพฯ เพื่อมาเสนอ ส�ำนักพิมพ์หลายครั้ง แต่ก็ถูกปฏิเสธ ทว่าถ้า ไม่รู้จักล้มเลิก โอกาส ก็อาจจะเข้ามาในวันที่ เราไม่รู้ตัว “พอเริ่มเขียนการ์ตูนได้เรื่องหนึ่ง ผมก็เอา ไปเสนอให้ส�ำนักพิมพ์สองสามที่แต่ก็ไม่ผ่าน เลยตัดสินใจกลับบ้านไปตั้งหลักใหม่ แล้วก็ไป ลองเขียนการ์ตูนเล่นๆ ลงบล็อกไปด้วย ก็เขียน แบบเขีย่ ๆ ไปนัน่ แหละ (หัวเราะ) แต่มนั ก็บมู ขึน้ มาเฉยเลย หลังจากนั้นก็มีส�ำนักพิมพ์แซลมอน ไปเห็น เขาก็เลยติดต่อขอรวบรวมเอามาท�ำเป็น หนังสือครับ
…ตอนนีผ้ มมีผลงานออกมาทัง้ หมด 6 เล่ม แล้ว สองเล่มแรกชื่อ กลับหลังหัน จะเป็นเรื่อง ในอดีตของตัวผมเองที่ถูกเอามาดัดแปลง เอา มาวางพล็อตเรื่องให้มีความตลกและสนุกมาก ขึ้น ส่วนหลังจากนั้นอีกหลายเล่ม ส่วนใหญ่จะ เป็นเรื่องแต่ง แต่ก็ยังคงแรงบันดาลใจจากชีวิต สมั ย เด็ ก ของผมเหมื อ นเดิ ม ซึ่ ง ผมคิ ด ว่ า แรง บันดาลใจอยูร่ อบๆ ตัวเรานะ และอะไรทีเ่ ราเคย มีประสบการณ์ร่วมเราก็จะเข้าใจมันได้ดี
หนังสือการ์ตูนต่างประเทศนั่นเอง)” และช่วงต้นปีที่ผ่านมา ฝีมือของปิยพัชร์ ก็ยังไปเตะตาทีมงาน จีทีเอช ผู้สร้างซีรีส์ชื่อดัง อย่างฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น จนเกิดขึ้นมาเป็นซีรีส์ เรือ่ งดังกล่าวแบบการ์ตนู ขึน้ มา ซึง่ ใช้ชอื่ ว่าฉบับ Act-Art ทีอ่ าจมีเนือ้ หาแตกต่างจากในจอทีวสี กั นิด เนือ่ งจากถูกเล่าเรือ่ งผ่านมุมมองของปิยพัชร์ เอง และหนังสือการ์ตนู เล่มนี้ ก็นบั ว่าเป็นผลงาน เล่มล่าสุดของเขา ทว่าแม้จะประสบความส�ำเร็จอย่างต่อเนือ่ ง แต่นักวาดการ์ตูนหนุ่มไฟแรงคนนี้ก็ไม่เคยหยุด กับที่ เขาบอกกับเราว่า “ผมยังไม่มีชิ้นงานมาสเตอร์พซี ” และต่อจากนี้ สิง่ ทีเ่ ขาใฝ่ฝนั ไว้กค็ อื การ พัฒนาตัวเองเผื่อสร้างมันขึ้นมา “ในอนาคตผมอยากสร้างเรือ่ งดีๆ ขึน้ มาสัก เรือ่ งทีส่ ามารถให้ตวั เองเรียกมันว่าเป็นมาสเตอร์ พีซได้ ซึ่งตอนนี้ส�ำหรับผมยังคงไม่มีถึงระดับ นั้น เพราะผมรู้สึกว่าเหมือนตัวเองก�ำลังค้นหา อะไรบางอย่างอยู่ ยังอยากพัฒนาตรงนั้นตรงนี้ ไปเรื่อยๆ อย่างเร็วๆ นี้ผมก็จะออกหนังสือเล่ม พิเศษ ที่ไม่ใช่แค่การ์ตูนอย่างเดียวแล้ว แต่จะ เป็ น หนั ง สื อ แนวภาพประกอบการท่ อ งเที่ ย ว
ประเทศญี่ปุ่น ก็จะมีเนื้อหา มีภาพวาด แล้ว ก็มีอะไรตลกๆ หน่อย บางทีก็มีการ์ตูนเข้าไป แทรกด้วย สักประมาณเดือนมิถุนายนคงได้ เห็นกันครับ …โดยส่วนตัวผมคิดว่าถ้าอยากจะประสบ ความส�ำเร็จในอาชีพนักวาดการ์ตนู หรือวาดภาพ อะไรก็แล้วแต่ สิง่ ส�ำคัญคือ เราต้องมีเอกลักษณ์ ของตัวเองที่ชัดเจน บางทีก็แหกกฎที่นักวาด คนอื่นๆ เคยท�ำ หรือที่เราเคยเรียนรู้มาบ้างก็ได้ อย่างเวลาผมเขียนสีน�้ำ ผมก็ไม่ได้ใช้กระดาษ ส�ำหรับวาดสีน�้ำ แต่ผมจะใช้กระดาษวาดรูป เพราะชอบพื้นผิวกระดาษที่เรียบๆ มากกว่า …คิดว่าอะไรดีก็ท�ำเถอะครับ แต่ต้อง เกิดจากความชอบของตัวเองด้วย ว่าสิ่งที่ เราเลือกมันถูกจริตกับเราไหม ถ้ายังไม่ใช่ ก็ต้องลองต้องหาไปเรื่อยๆ จนกว่าจะเจอ สิ่งที่เราชอบหรือเป็นสไตล์ของเราจริงๆ แล้วนัน่ แหละ มันจะกลายเป็นเอกลักษณ์ใน ผลงานของเราครับ” สไตล์ จีรัชญ์
0185