BLAST MAGAZINE ISSUE 15 SEP 2017

Page 1

I S S U E

15 SEPTEMBER 2

0

1

7

T E O S N K E I C LL I L

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine -

01


02

- BLAST

magazine -

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine -

03


CONTENTS

016-023

028-029

030-032

034-035

036-037

038-039

08 010 012-013 014 016-023 024 026

04

- BLAST

magazine -

040-045 EDITOR‘S NOTE PRODUCT TEST A BLAST FROM A PAST BUILD TO BLAST COVER STORY BLAST OFF BLAST INTERVIEW

028-029 030-032 034-035 036-037 038-039 040-045

OLD RECORD STILL ALIVE BLASTOGRAPHY MOVIES ALBUM REVIEW IN FACT COVER STORY (ปกหลัง)

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine -

05


06

- BLAST

magazine -

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine -

07


EDITOR ‘S NOTE

Hardcore “ฮาร์ดคอร์” แนวดนตรีที่ไม่ได้ถูกบัญญัติขึ้นมาพร้อม ๆ กับอุตสาหกรรมดนตรีในประเทศไทย เท่าที่ผมจ�าได้ก็ไม่น่าเกิน 20 ปีที่ผ่าน มานี้เอง ในช่วงแรกไม่มีใครรู้ความหมายฮาร์ดคอร์ มิวสิค กันอย่างจริง ๆ จัง ๆ อะไรที่ถูกเล่นออกมาฟังรุนแรง หนัก บ้าบิ่น ถูกจัดหมวดไว้ในฮาร์ด คอร์ หรือถูกเรียกเป็นแนวนี้หมด นั่นท�าให้เกิดกระแสสองขั้วของคนที่เริ่ม ฟังเพลงนี้อย่างจริงจังออกมาชี้ให้เห็นว่า ฮาร์ดคอร์ มิวสิคแท้ ๆ ไม่ได้อยู่ ใน MTV นะโว้ย กับอีกฝั่งที่ยังคงคิดว่าวงอย่าง Limp Bizkit , Slipknot , Machine Head และอีกหลายวงยุคนั้นคือ ฮาร์ดคอร์ ไม่มีใครผิดใครถูก เพราะยุคนั้นการสื่อสารไม่ได้ไฮเทคอย่างที่เป็นอยู่ การรับรู้จึงมาจากทาง เดียวนั่นคือ รายการเพลง ผมเคยเห็นพิธีกรรายการบางคนเหมือนไม่ได้ ท�าการบ้านมาว่าจริง ๆ แล้ววงนี้มันเป็นวงแนวไหนประเภทไหน เพลงอะไร หนักหน่อยแหกปากหน่อยก็โดนเรียกว่าฮาร์ดคอร์ ช่วยไม่ได้ รับต่อ ๆ กันมา มันจึงไม่มีใครผิดใครถูกอยู่ดี ARISE Hardcore Zine แฟนซีนท�ามือฉบับขนาด เอ 5 ถูกท�าออกมา เมื่อต้นยุค 2000 โดยชายชาวนิวยอร์คที่คลุกคลีกับวงการนิวยอร์ค ฮาร์ด คอร์ เขารู้ถึงปัญหาที่ผมเล่าให้ฟัง เลยชักชวนให้ท�าแฟนซีนเล่มนี้ด้วยกัน เพื่ออธิบายให้แจ่มแจ้งชัดเจนซะทีว่า ฮาร์ดคอร์ มิวสิค ที่แท้คืออะไร ? เรา ท�ากันขึ้นมาได้ 3 ฉบับ ผมเป็นคนแปลและเขียนบางคอลัมน์ รวมถึงหน้าที่ เอาต้นฉบับไปถ่ายเอกสารเย็บเข้าเล่มแล้วเอาไปวางขายตามร้าน รวมถึงไป ขายตามงานดนตรีอันเดอร์กราวด์ต่าง ๆ ก็มีคนซื้อบ้างไม่ซื้อบ้างไม่เป็นไร เพราะเราท�าหน้าที่เผยแพร่ให้รู้จักอยู่แล้ว ตามวิถีทางฮาร์ดคอร์ที่ควรจะเป็น หลายปีผ่านไป ฮาร์ดคอร์ มิวสิคในประเทศไทยก็เริ่มมีคนให้ความ สนใจมากขึ้น การเกิดขึ้นของกลุ่ม Thailand Hardcore ที่รวมเอาวงที่ชื่น ชอบแนวทางนี้มารวมกันหลายวง อาทิ Superman, System Sucker, No Is Not และ License To Kill คือกลุ่มแรก ๆ ที่ชัดเจนในตัวตนว่าเขาเล่นอะไร กันอยู่ นี่ยังไม่รวมถึงกลุ่มปากเกร็ด ฮาร์ดคอร์ PK/HC ที่มีหัวขบวนอย่าง วง Born From Pain และวง A-Zero จัดหนักแนวทางนี้อยู่ด้วย กับกลุ่ม TH/HC และวง License To Kill ผมสนิทและมีความผูกพันด้วยกันมาตั้งแต่ เด็กหนุ่ม 4 คนเริ่มตั้งวง เคยพาไปเล่นต่างจังหวัด เคยเรียกมาเล่นงานที่จัด ออกไปสร้างวีรกรรมเละเทะด้วยกันก็บ่อย วัยรุ่นอยากพัง มีเรื่องกับต�ารวจ กระทืบพวกเห็นแก่ตัว ออกไปร่วมประท้วงในสายการเมือง จัดมาหมด 18 ปี ที่ร่วมเดินทางมาด้วยกัน ลองผิดลองถูกให้กับชีวิต และเราก็ไม่เคยง้อสื่อฯ ใหญ่ ค่ายใหญ่ หรืออะไรก็ตามที่เกี่ยวกับพาณิชย์ เราอยู่ฝั่งตรงข้าม นี่คือ ทัศนคติของทางวง ในโอกาสครบรอบ 30 ปีวง Sick Of It All ต�านานนิวยอร์ค ฮาร์ดคอร์ ที่จะเดินทางมาเล่น ณ กรุงเทพฯ เดือนตุลาคมนี้ ซึ่งจัดโดยบลาสต์นี่แหละ สรรพคุณวงคงไม่ต้องเอ่ยเหลาให้แหลม เพียงแค่คุณเห็นชื่อวงนี้ บุคคลที่ ปวารณาตัวเองเข้ารีตฮาร์ดคอร์ มิวสิคทุกคนต้องมาดูกันแน่นอน ฉบับนี้เลย จัดหนักฮาร์ดคอร์กันให้สาสมแก่ใจ เพราะไหน ๆ แนวทางนี้ สื่อฯ ใหญ่เขา ไม่เล่นอยู่แล้ว ก็มีแต่ BLAST นี่แหละ เอาใจวัยรุ่นชอบพังอยู่แล้ว ฮาฮาฮาฮา เจอกัน 12 ตุลาคม นี้ที่ The Rock Pub ครับ

08

- BLAST

magazine -

ISSUE 15 / SEPTEMBER 2017

BLAST‘S TEAM Founder & Editor : ศรันยพงศ สุขภานนท Art Director : กฤษณะ โชคเชาววฒ ั น Photographer : เตชะนันท จิรโชติระวี Editorial Staff : กชกร มุสกิ รัตน Digital Media : ณรงคพล เกสรประทุม พิสจู น์อกั ษร : ลลนี เสียงลํา้ Contributor : บอบู / สุวาทินทร วัฒนวิทกู รู / อัษฏา อาทรไผท / ไผ A.M.P / เทพ ปลนั ธน พงษพานิช / ฐิตวิ ฒ ั น บุญวิวฒ ั น / พอล โซลิส / กบ Bra Branner / ปเตอร เดอะ อีแรง / นิพนธ ยิม้ ประเสริฐ / จักรธิป ปุญญทลังค / ฐานิศ ชาตะธนะบุ / จันทนี ปนทรสเพิม่ / มิกข วรนิสรา / ศรัณยู ตรีสคุ นธ / รัฐพงศ เทียมทองใบ / วรัญู ศิรเิ คารพ / วัชตรี บัวสาย ติดต่อลงโฆษณา : ศรันยพงศ สุขภานนท 08-1692-3961 พิมพ์ที่ : คอสมิคพริน้ ทแอนดดไี ซน จํากัด โทรศัพท 02-417-7783 ขอเขียน รูปภาพ และพืน้ ทีโ่ ฆษณาทัง้ หมดในนิตยสารบลาสต สงวนสิทธิต์ าม กฎหมาย หากจะนําไปเผยแพรซาํ้ ไมวา จะเปนบางสวนหรือทัง้ หมด ตองไดรบั การ ยินยอมเปนลายลักษณอกั ษรจาก บริษทั บลาสต เดอะ บีท จํากัด

C O N TA C T

บริษัท บลาสต์ เดอะ บีท จํากัด

116 ซอยเทียนทะเล 24 ถนนบางขุนเทียน – ชายทะเล แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 โทร.02-451-1324 แฟกซ 02-451-1325 blastmagth

WHERE TO FIND

รานอุปกรณดนตรีชั้นนํา Music Collection 13 สาขา / Music City 3 สาขา / Music Concept / Rock Planet / Beatspot / นครหลวงการดนตรี / Music Society / Music Center / CMC / VRK Sport and Music / Super8 / Hard Rock Café สยามสแควร / อินเตอร มิวสิค / เอเชีย มิวสิค / ธีระ มิวสิค / ย งเส็ง / ฮงเซ ง มิวสิค / VEE Music ฟ วเจอร พาร ค รังสิต ชั้น 3 / Music Store เมกา บางนา ชั้น 2 / ร านสินธ ทอง หลังกระทรวง / กีตาร โปร หลังกระทรวง / ร านมีสิน หลังกระทรวง / M.I. Engineering / มิวสิค ซิตี้ เซ็นทรัล พระราม 9 / มิวสิค ซิตี้ เซ็นทรัล เวสต เกต บางใหญ / ฟอร เต มิวสิค เซ็นทรัล พระราม 9 / และร านจําหน ายอุปกรณ ดนตรีทั่วประเทศ สถาบันสอนดนตรี Rockademy / Overtone หองบันทึกเสียง หองซอมดนตรีชั้นนํา และ รานกาแฟตาง ๆ A.M.P. สวนจตุจักร / US And Them สวนจตุจักร / ร านน องท าพระจันทร / ร าน Grahm สยามพารากอน / ร าน Burgundy Dipper สาขาแยกรัชดา-ลาดพร าว และสาขา สถานีรถไฟฟ า MRT พหลโยธิน

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine -

09


product test

AT TA C K O F M I N I E P . 1

จักรธิป ปุญญทลังค์

PEAVEY MH SERIES

ผมว่าคงมีเพือ่ น ๆ ทีอ่ า่ นเป็นนักดนตรีและอยากมีแอมป์เสียงดี ๆ ไว้อดั ทีบ่ า้ นแต่กก็ ลัวเรือ่ งเสียงดัง หรือพกไปเล่นแล้วฟังเสียงจาก Monitor เอาเพือ่ คุม Stage Volume หัวแอมป์ทมี่ ี Function ครบครันขนาดนัน้ มันต้องแพงแน่ ๆ เลย.... วันนีผ้ มมี หัวแอมป์ทที่ ำ� ได้ตามนัน้ แถมยังต่อ USB ได้อกี ด้วยมาน�ำเสนอ ในราคาที่ไม่เกิน 20,000 บาท อีกต่างหาก โดย Amp series นีจ้ าก บริษทั Peavey ทีโ่ ด่งดังมาก ๆ จาก Series 5150 และ guitar Wolfgang ซึง่ เป็น Signature ของ Eddie Van Halen สุดยอดมื อกีตา้ ร์แห่งยุคท่านหนึง่ โดยทีม่ กี ารพัฒนาเป็น 6505 ในทีส่ ดุ และยังคงเป็นแอมป์ทถี่ กู วางไว้ในห้องอัดชัน้ น�ำตลอดเวลานัน่ คงเป็นข้อพิสจู น์อะไรบางอย่างครับ โดยทีใ่ น Series MH นัน้ มี 3 รุน่ คือ

MH Series Features โดยทีท่ งั้ สามตัวนัน้ จะมี function เหมือน กันในด้าน การปรับ power ทีจ่ ะช่วยให้เพือ่ น ๆ สามารถเล่นในห้องเบา ๆ หรือจะไปซ้อมกับเพือ่ น หรือน�ำออกไปเล่นข้างนอกก็ได้ แต่มนั ก็ไม่ได้ดงั มากขนาดทีจ่ ะไปสูม้ อื กลองสายมือหนักทรีนหนัก ได้ เลือกต่อ cabinet ได้ทงั้ 16 และ 8 ohms มี DI out และช่องต่อหูฟงั แถมด้วยฟังก์ชนั่ ในการ ท�ำให้ เสียงไม่ตอ้ งออก cab ท�ำให้เราอัดเพลงในห้องตอน ดึก ๆ โดยการเสียบเข้า Audio Interface ได้สบาย ๆ หรือถ้าคุณไม่มี ทาง Peavey ก็มี USB port มา ให้ในการช่วยในการอัดโดยเสียบผ่าน usb ไปเลยจ้า อะไรมันจะขนาดนัน้ นอกจากนัน้ แล้วก็ยงั มี effect loop ทีถ่ กู buffer เรียบร้อยกันสัญญาณ drop ไว้ Valve King MH ต่อ effect เข้าไปหลัง ภาค preamp ทีค่ มุ ได้ดว้ ย ขยับความแรงขึน้ มาอีกนิด และ Function ทีถ่ กู เพิม่ มาอย่าง Variclass ทีจ่ ะเป็นการจ�ำลอง ภาค power amp แบบ class a และ class footswitch อีกต่างหาก และก็ยงั ไม่หมด โดยที่ เค้ายังสามารถปรับไฟให้ใช้ 110v หรือ 220v แบบ a/b ซึง่ ถ้าเอาง่าย ๆ แบบสัน้ มันจะให้ความรูส้ กึ การตอบสนองและย่าน บ้านเราได้ และยังแถม footswitch มาให้และ dvd เสียงทีต่ า่ งกันครับ เสียงคลีนตัวนี้ สิง่ แรกทีผ่ มรูส้ กึ คือ เสียงใส Bright พร้อม program ไว้อดั เพลงได้อกี ด้วย ทัง้ หมดนี้ใน มาทรงเดียวกับ Vox เลย ที่ให้เสียงใส ปริง้ ๆ หน่อย และจะโดน scoop mid ซึง่ เสียงที่ได้นนั้ ถ้าเล่นกับ Band ก็จะได้ยนิ ค่อนข้างชัดเจน และ สับคอร์ด Funky ก็มคี วามเด้ง แต่นนั่ เพราะ ราคาทีโ่ อเคมาก ๆ นัน่ แหล่ะครับ Peavey เค้าไม่ได้ มาเล่น ๆ จริง ๆ ว่าผมปรับ Variclass ไว้ที่ Class A พอผมลองหมุนไป ทาง A/B เสียงก็คอ่ ย ๆ ขุน่ ลง ฟังดูหนาและ อุน่ ขึน้ ด้าน โดยรวมแล้ว Series MH นัน้ ท�ำได้ดมี าก ๆ เสียงแตกนัน้ ค่อนข้างชัดเจนไปทาง Amp จากฝัง่ อังกฤษชือ่ ดัง แต่เป็น Hot-rodded โทนทีเ่ สียงหลัก จากแอมป์ยคุ และถูกออกแบบมาได้ครบครัน และสามารถปรับ 70 นัน่ เอง และยังมี Function Boost มาช่วยซึง่ จะเป็นเหมือน preset overdrive ซึง่ ผลทีได้เหมือนใช้ overdrive style Tube Screamer ทีท่ ำ� ให้ low หายไปและ กลางชัดขึน้ ท�ำให้ solo ชัดขึน้ harmonic ออกปิง้ ๆ สะใจมากมาย ตัวได้อย่างหลากหลายเช่นถ้าคุณยกไปเล่นแล้ว และนอกจากนัน้ ยังมีทรงของ Boutique Amp คือมีความเป็น แอมป์ อังกฤษ แต่มบี างย่านทีเ่ ปลีย่ นไปเล็กน้อย เช่น เสียงดังไม่พอ คุณก็แค่ตอ่ DI หรือใช้ effect loop ส่งเข้าหา poweramp ที่ใหญ่กว่า ส่วนการทีเ่ ป็น ย่านแหลมทีเ่ ด่นในย่านทีส่ งู ขึน้ และ scoop ในย่านทีบ่ าดหูออก โดยที่ Variclass จะช่วยปรับย่านเสียงได้อกี และ หัวamp นัน้ ช่วยให้สะดวกมาก ๆ ในการขนย้าย การทีส่ ามารถปรับก�ำลัง watt ได้นนั้ ผมว่ามันช่วย บาลานซ์เวลาทีเ่ ล่นอยูบ่ า้ นได้ดมี าก ๆ ท�ำให้ได้เสียงที่ เพราะน�ำ้ หนักทีเ่ บามาก ๆ และเราสามารถเลือก ไม่แหลมบาดหู ตอนซ้อมในห้องนอน แต่ได้เสียงดูเปิดขึน้ ครับ cabinet มาใช้รว่ มกันได้อย่างอิสระ เผือ่ เราไม่ชอบ ล�ำโพงทีต่ ดิ มาก็เลือกเอาตามสะดวกได้เลยอีกต่าง 6505 MH มาถึงตัวทีน่ า่ จะถูกสนใจมากทีส่ ดุ และยังเป็นแอมป์ทถี่ กู ถอดแบบมา หาก โดยส่วนตัวผมว่า Classic นัน้ เสียงอิม่ เพราะ จากพี่ใหญ่อย่าง 6505 ทีถ่ กู ใช้อย่างแพร่หลายมาก ๆ ซึง่ ลูกของอสูรกายที่ มาก ๆ ส่วน 6505 นัน้ มันก็สะใจชาว Rock อย่าง พ่นไฟได้นนั้ แน่นอนว่ามันย่อมพ่นไฟได้หนักหน่วงการ compressed และ ผมซะเหลือเกิน โดยที่ Character ของ 2 ตัวนีช้ ดั มาก ๆ แล้วตอบโจทย์มาก ๆ เลยหล่ะ saturated ทีส่ วยงามดุจรุน่ พีม่ าเอง มีความเหนียวและกระชับ solo สาก แน่นอนว่าในเล่มนีเ้ ป็น EP.1 แปลว่าจะมีตอน ใหญ่ แต่ปลายมีความนวลอิม่ solo ติดนิว้ สนุกมากมาย ซึง่ มาพร้อม pre และ post gain เหมือนตัวรุน่ ใหญ่ ซึง่ ช่วย Balance ในการ compressed จาก preamp และ poweramp ได้ แต่ปญ ั หาคือ Amp Hi-gain กับแนว Hard ต่อ ๆ ไปตามมาแน่นอนครับ ผมสัญญา เพราะผม Rock หรือ Metal นัน้ อาจต้องการเสียงเบส อูมใหญ่ ๆ เพิม่ ความสะใจ ซึง่ การใช้หลอด EL84 นัน้ มันจะได้เสียงที่ รูส้ กึ ว่าด้วยราคาที่ไม่แรงมาก และเล่นในบ้านสนุก ๆ Focus มากกว่า และกลางจะมีความ อิม่ ๆ ปลายแหลมนิด ๆ ซึง่ ผมว่ามันท�ำให้ คาแรคเตอร์ของ Amp 6505 นัน้ ที่ มันเหมาะกับการใช้งานของเพือ่ น ๆ ส่วนมาก ไว้ ค่อนข้าง Dark นัน้ ดีขนึ้ กระชับขึน้ ส�ำหรับผม แต่.....ถ้าคุณอยากได้ sound อึบ้ ๆ คุณคงจ�ำ knob Resonance และ ผมจะรวบรวมมาให้สำ� หรับชาว Rock Metal โดย เฉพาะ อีกไม่นานเกินรอ ใครสนใจ Peavey ก็ Presence จาก Amp 6505 ได้ใช่มยั้ ครับ... มันตามมาด้วย ซึง่ มันช่วยเพิม่ ย่านเบส อึบ้ ๆ ได้ตามแต่ทา่ นต้องการ ผมว่าผมลืมเรือ่ งเสียง Clean ไปสินะ เสียงที่ได้กแ็ ข็ง ๆ หม่น ๆ เหมือน 6505 นัน่ แหล่ะ 555 และมี crunch mode ติดต่อทาง M.I. Engineering ได้เลยนะจ๊ะ ส�ำหรับ ฉบับนีผ้ มลาไปก่อนครับ ที่ให้ทเี่ ปลีย่ นเสียง Clean เป็น แตกอ่อนแทน ซึง่ ตัวนีแ้ จ่มสะใจ ชาว Rock แน่นอนครับ

CLASSIC MH การออกแบบของ Classic MH นัน้ ถูกออกแบบมาเพือ่ ให้ได้สมุ้ เสียง ของ Blues ทัง้ Clean และ Overdrive ซึง่ พอผมเสียบ jack ครัง้ แรกทีผ่ ม ได้ยนิ มันน่าสนใจมาก ๆ คือมัน ๆ ไม่ให้ความรูส้ กึ ของ Amp ตูเ้ ล็กแต่ อย่างใด เสียง Clean ที่ได้นนั้ เต็มหนา และเพราะเอามาก ๆ ซึง่ สุม้ เสียงที่ ได้ออกมาเหมือนแอมป์ Tweed ชือ่ ดังมาก ๆ ทีอ่ อกมาได้เนือ้ เต็ม เล่นกับ Guitar Humbucker ก็ได้โดนอิม่ ๆ ขุน่ ๆ เจอ Single coil ก็จะได้เสียงทีโ่ ปร่งแต่มคี วามอ้วนหนา ยิง่ Reverb ทีต่ ดิ มานัน้ ยังช่วยสร้างมิตไิ ด้เพราะมาก ๆ ส่วนเสียงแตกนัน้ มีการแยก pre gain กับ post gain และการปรับ watt ทีช่ ว่ ยให้มกี ารใช้กำ� ลังจาก Power Amp และได้เสียงทีแ่ ตกแบบอ้วน ๆ จาก power amp ซึง่ มันออกมาหนาเพราะจริง ๆ เล่น Blues ก็เพราะมาก ๆ หรือจะ เพลง Classic Rock จนถึง Hard Rock ก็ยอ่ มได้สบาย ๆ แต่พอเปิด Gain มาก ๆ ย่าน Bass จะบวม ๆ นิด ๆ ซึง่ ในความบวมความขุน่ นัน้ จะช่วย กีตาร์ที่ Bright และบางอย่าง Strat และ Tele ใหได้สมุ้ เสียง Blues Rock เดือด ๆ ก็ยอ่ มได้

010

- BLAST

magazine -

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


VOX

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine -

011


A Blast FROM A PAST

THE XX : I SEE YOU TOUR J U LY 2 5 , 2 0 1 7 : S I N G A P O R E I N D O O R S TA D I U M

สารภาพตามตรงว่า ก่อนหน้า The XX จะประกาศทัวร์สนับสนุน อัลบัม้ I See You ผมยังคิดว่า ทริโอ อินดีจ้ ากลอนดอนกลุม่ นี ้ เป็นวงขนาด เล็ก-ขนาดกลาง อยูเ่ ลย เพิง่ จะทราบ ก็ตอ่ เมือ่ เห็นตารางการแสดงครัง้ ล่าสุด นีแ่ หละ ถึงตาสว่างว่า พวกเขากลาย เป็นวงใหญ่ ระดับทีต่ อ้ งเล่นในสถานที่ อย่าง อารีนา่ หรือ สเตเดียม ไปแล้ว ทีต่ ามมา ก็คอื ความสงสัยทีว่ า่ อะไรท�าให้ The XX ได้รบั ความนิยม จนเติบโตแบบก้าวกระโดดรวดเร็ว ขนาดนัน้ แล้ววงทีม่ จี ดุ ขายเท่ห ์ ๆ จาก การท�าเพลงในสไตล์ ‘มินมิ อล’ ซึง่ น่า จะควบคุมพลังการแสดงสดได้ดกี ว่าใน สถานทีเ่ ล็ก ๆ จะเอาอยูจ่ ริงเหรอ กับ โชว์สเกลใหญ่ทมี่ คี นดูเรือนหมืน่ แต่ ส่วนทีแ่ ทบจะแน่ใจ และปราศจาก ความสงสัยใด ๆ ก็คอื โอกาสทีจ่ ะมี ใครเอาวงมาให้ดถู งึ เมืองไทยนัน้ ปิด ประตูลงแทบ 100% เพราะค่าตัววง ย่อมไม่ธรรมดาแน่ ๆ ถ้ามาไทย ก็ตอ้ ง ไปลงในทีอ่ ย่าง อิมแพ็ค อารีนา่ (หรือ แอ็คทีฟสแควร์) โน่นเลย ซึง่ ตัง้ แต่ อดีตจนถึงปัจจุบนั ยังไม่เคยเห็นวงอิน ดีร้ ายใด มีบญ ุ ได้เข้าไปเล่นในนัน้ เลย สักวง นีค่ งเป็นเหตุผลส่วนหนึง่ ด้วย ทีท่ า� ให้ทวั ร์ I See You ของ The XX ในแถบเอเชีย ถึงมีอยูแ่ ค่ 3 โชว์ใน 3 ประเทศเท่านัน้ เอง คือ ฟูจริ อ็ ก-ญีป่ นุ่ , สวนสาธารณะฮันกัง-เกาหลี และ อินดอร์ สเตเดียม-สิงคโปร์ โดยตัว เลือกของผมคือโชว์หลังสุดนีแ่ หละ การดูคอนเสิรต์ ของผมเป็นเรือ่ ง จริงจังระดับหนึง่ ครับ ไม่คอ่ ยมีความ ชิคก์ ความชิลล์ เหมือนชาวบ้านชาว ช่องเท่าไหร่ ด้วยความรูส้ กึ ทีว่ า่ ในชีวติ 012

- BLAST

magazine -

หนึง่ เราคงได้ดโู ชว์ของวงต่าง ๆ ไม่ บ่อยนัก บางวงก็อาจจะมีโอกาสได้ ดูแค่ครัง้ เดียว แล้วก็กลายเป็นตรา ประทับในความทรงจ�าตลอดไป ยาม ทีเ่ ราได้ยนิ เพลง ได้เห็นวงผ่านสือ่ ชนิด ใดก็ตามหลังจากนัน้ ภาพ-เสียง (หรือ แม้แต่กลิน่ ) ทีร่ ายล้อมอยูร่ อบตัวเรา ในวันที่ได้สดู หายใจเอาอากาศอับ ๆ เข้าปอดร่วมกับพวกเขา จะโผล่แทรก ขึน้ มาในหัวเสมอ ดังนัน้ นอกจากเรือ่ งของการ แสดงแล้ว ในฐานะคนดู การพยายาม จัดการตัวเองให้ไปอยู่ในจุดทีด่ ที สี่ ดุ เพือ่ ประสบการณ์ทนี่ า่ พอใจ ก็เป็นอีก สิง่ หนึง่ ทีผ่ มให้ความส�าคัญมาตลอด แน่นอนว่างานนีก้ เ็ ช่นกัน ทีล่ งทุนหอบ สังขารไปหน้าสถานทีท่ า� การแสดง ตัง้ แต่บา่ ย 3 โมง เพือ่ จะได้เป็นคนดู แถวหน้า ในขณะทีป่ ระตูเปิด 6 โมง ครึง่ และโชว์เริม่ 2 ทุม่ ตรง ความแปลกของคนดูสายอินดี้ใน สิงคโปร์ คือ จะเป็นเด็กวัยตัง้ แต่ 1525 ปีเสียส่วนใหญ่ แล้วก็ไม่ได้เน้น ความหวือหวาด้านการแต่งกายมากนัก มากันแบบธรรมดา ๆ เหมือนนัดเพือ่ น ไปกินข้าวในห้าง ส่วนการจัดการใน คอนเสิรต์ ของทีน่ ี่ นับวันมีแต่เรียบง่าย ขึน้ เรือ่ ย ๆ เพือ่ ความคล่องตัวส�าหรับ ทุกคนทุกฝ่าย ปัจจุบนั เน้นให้คนดูปริน้ ท์ โค้ดตัว๋ แล้วถือมาเองจากบ้าน ส่วนใน กรณีไม่อยากปริน้ ท์เอง อยากได้ตวั๋ ของทาง Official ก็จะเป็นเพียงกระ ดาษขาว ๆ ทีม่ ตี วั พิมพ์เฉิม่ ๆ ไม่มรี ปู หรือลวดลายสายอาร์ตใด ๆ อยูบ่ นนัน้ เลย (แต่คณ ุ ต้องจ่ายค่าออกตัว๋ เพิม่ ) ทัง้ 2 แบบ ใช้งานไม่ตา่ งกัน มาถึงก็ ยืน่ ให้คนหน้าประตู ใช้เครือ่ งสแกน

ส่องตีด๊ เดียว ก็เดินตัวปลิวเข้างานไป ได้เลย ไม่มรี สิ ท์แบนด์ตดิ ข้อมือ ไม่มี การตรวจอาวุธใด ๆ ทัง้ สิน้ (เพราะ คงไม่มีใครอยากก่อคดีทนี่ หี่ รอก การ ลงโทษมีตงั้ แต่โบยด้วยหวาย และ ประหารด้วยการแขวนคอ ทีย่ งั อนุรกั ษ์ ไว้ใช้จริง ครบถ้วน) รวมถึงโชว์ใน สิงคโปร์จะเป็นระบบ no re-entry เกือบทัง้ หมด เข้าแล้วห้ามออก ถ้าจะ ออก ก็ตอ้ งกลับบ้านไปเลย มาเข้าซ�า้ ไม่ได้อกี 2 ทุม่ ตรง ไฟในสเตเดียมถูกหรี่ ลงจนเกือบมืดสนิท Sampha วงเปิด ขึน้ มาบนเวทีตรงเวลาเป๊ะ ถือว่าเป็น ก�าไรคนดูลว้ น ๆ ใครเป็นสายอินดี้ อาร์แอนด์บ ี หรือนีโอ-โซล อัลบัม้ Process ของเขาเมือ่ ช่วงต้นปี ขอบอก ว่าไม่ธรรมดาเลย ล่าสุดถึงกับได้รบั การเสนอชือ่ เข้าชิงรางวัล Mercury Prize ประจ�าปี 2017 ไปแล้ว โชว์ ของ Sampha มีชวี ติ ชีวากว่าทีค่ ดิ ไว้ พอสมควร ไม่หม่น ไม่ดาร์ก เหมือน ตัวเพลง นักดนตรีแบ็คอัพก็เล่นดนตรี กันอย่างมีความสุข แอบส่งสายตา ลูก เล่น ดวลกัน ด้วยสีหน้าสนุกสนาน แต่ พอช่วงไหนทีล่ กู พีข่ องวงต้องโชว์เดีย่ ว ลูกทีมพวกนีก้ น็ งั่ ท�าสมาธิหนั หน้าออก ข้างเวทีแบบไม่ไหวติง ก่อนจะกลับมา บรรเลงกันอีกครัง้ ในเพลงทีต่ อ้ งจัดเต็ม ทัง้ วง โดยเฉพาะภาคกลองทีเ่ ล่นกัน ได้ครบเครือ่ งจนบางช่วงกลายเป็นโชว์ สไตล์อฟั ฟริกนั บีตส์เต็ม ๆ เมือ่ ทุก คนบนเวทีไปล้อมวงกันตีกลองอย่าง เมามันส์ รวมแล้ว Sampha เล่นไป ทัง้ หมด 9 เพลง ในเวลาประมาณ 45 นาที ก่อนโบกมือลาไปกับซิงเกิล้ ทีค่ น รูจ้ กั มากทีส่ ดุ อย่าง ‘Blood On Me’

เวลาเคลือ่ นตัวมาจน 3 ทุม่ เกือบ ครึง่ เท่ากับวันนี ้ ผมยืนยาวมาร่วม 6 ชัว่ โมงเข้าไปแล้ว ในบางเสีย้ วก็แอบ คิดขึน้ มาเหมือนกันว่า จะท�าร้ายตัวเอง แบบนี้ไปเพือ่ อะไร? แต่พอแสงไฟทัว่ บริเวณวูบลงอีกครัง้ พร้อมกับร่างเงา ของคน 3 คนเดินขึน้ มาบนเวทีเท่านัน้ แหละ ความคิดฟุง้ ซ่านทัง้ หลายแหล่ ก็ถกู เป่าหายวับไป ท่ามกลางเสียงโห่ ร้องอย่างบ้าคลัง่ ของคนดู ซึง่ รุนแรง และเร่าร้อนเสียจน แม้คนไม่เคยตก อยู่ในดงของคอนเสิรต์ เกาหลีมาก่อน ก็จนิ ตนาการออกทันทีวา่ มันต้องเป็น แบบทีเ่ จออยูน่ แี้ น่นอน The XX เปิดตัวด้วย Intro ของ อัลบัม้ ชุดแรก ในเงามืดสลัว ก่อนที่ ไฟจะสว่างขึน้ โดยมี ‘Crystalised’ เป็นเพลงประเดิมเวทีแบบเต็ม ๆ ลุค ของวงวันนีเ้ ป็นความเท่หแ์ บบแปลกๆ ตอนแรกทีเ่ ห็น คือข�ากับลวดลายบน ชุดวอร์มของ โอลิเวอร์ ทีร่ าวได้แรง บันดาลใจมาจากหนังไซไฟเรือ่ ง Tron (ฉบับปี 1982) ก็ไม่ปาน ขณะทีเ่ ซ็ต เครือ่ งดนตรี กับโปรดักชัน่ ถือว่า เรียบง่ายสุด ๆ ถ้าไม่นบั กีตาร์และ เบส ที ่ โรมี กับ โอลิเวอร์ ถือติดตัวมา จากด้านหลัง บนเวทีกจ็ ะเป็นพืน้ ทีโ่ ล่ง ๆ ทีม่ เี พียง ไมค์ขาตัง้ 2 ตัว น�า้ เปล่า 4 ขวด แท่นแก้วใสปิง๊ 1 แท่น ส�าหรับ เป็นทีว่ างเครือ่ งไม้เครือ่ งมือของ เจมี ผูเ้ ป็น MPC ประจ�าวง ไม่มจี อมอร์นเิ ตอร์ ส�าหรับฉายภาพกราฟิกประกอบการ แสดง หรือ จอส�าหรับซูมขยายใบหน้า นักดนตรีเผือ่ แผ่ไปยังคนดูทนี่ งั่ ดูอยู่ ไกล ๆ บนยอดดอย โผล่มาให้เห็นเลย แม้แต่จอเดียว ระหว่างทีซ่ อกแซกส�ารวจทุก อย่างบนเวทีดว้ ยสายตา เหมือนแค่ ชัว่ เสีย้ ววินาที แต่เวลาจริงคือเพลง แรกจบไปแล้ว และ ‘Say Something Loving’ ก�าลังเป็นเพลงถัดมาทีถ่ กู หยิบมาเล่น ซาวด์ในคอนเสิรต์ พูดได้ ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


แอม เอสเตลลา

ว่าโคตรดีเยีย่ ม มิตเิ สียง หนัก-เบา เคลียร์ จนระบบ dolby atmos ในโรง หนังราคาแพงย่านสุขมุ วิททีว่ า่ แน่ อาจ ยังต้องยอมพ่าย หลังจบเพลงนี ้ โอ ลิเวอร์ เอ่ยปากทักทายแฟนเพลงสัน้ ๆ ว่าผ่านมาแล้วถึง 4 ปีเต็ม จากครัง้ แรกทีเ่ คยมาเล่นในสิงคโปร์ แต่พวก เขายังจ�าวันนัน้ ได้ด ี (ปี 2013 วงมาเล่น ที ่ The Star Theatre เป็นโชว์ไม่ใหญ่ มาก คนดูประมาณ 3-4 พันคน) ก่อน การแสดงจะถูกขับเคลือ่ นให้เดินหน้า ต่อทันทีกบั ‘Islands’ และ ‘Lips’ แทบทุกเพลงของ The XX คน ดูทนี่ รี่ อ้ งตามได้หมด ตัง้ แต่ตน้ จนจบ ในระดับเสียงทีก่ ระหึม่ แบบไม่มกี าร ด�าน�า้ เจือปน ประหนึง่ มันเป็นเพลงดัง ในวิทยุ ที่ใครก็ตา่ งได้ฟงั จนติดหู และ ร้องตามได้ บรรยากาศระหว่างแสดง เลยออกมาพีคอย่างต่อเนือ่ ง ยิง่ ช่วง ที ่ ‘Dangerous’ กับ ‘I Dare You’ ถูก วงน�ามาเล่นเชือ่ มกันเป็นเมดเลย์ ชนิด ไม่ยอมให้แฟน ๆ ได้ตงั้ ตัว ความพีค ทีม่ าเต็มอยูแ่ ล้ว พุง่ ขึน้ ไปทะลุเพดาน จนเหมือนเป็นความพีคในพีคอีกทีกว็ า่ ได้ และวงก็ไม่ได้ปล่อยให้บรรยากาศที่ ก�าลังดิง่ พุง่ ขึน้ สูจ่ ดุ สูงสุด สูญไปเปล่า ๆ ปลี ้ ๆ พวกเขาท�าให้มนั กลายเป็นพลุ ทีแ่ ตกกระจายในอารมณ์คนดู แล้ว ค่อย ๆ ร่วงหล่นลงมาเป็นโมเมนต์ที่ งดงาม ตราตรึง ชนิดลืมไม่ลง เมือ่ หลังจากนัน้ ไฟทัง้ หมดในฮอลล์ถกู ดับ จนมืดสนิทอีกครัง้ แล้วมีสปอร์ตไลต์ เพียงดวงเดียวส่องตรงไปที ่ โรมี ซึง่ ยืน อยูบ่ นเวทีพร้อมกีตาร์ 1 ตัว กับการ บรรเลงเพลงเหงาบาดลึกจากอัลบัม้ ชุด ล่าสุดทีช่ อื่ ว่า ‘Performance’ เศร้า... กินใจ... งดงาม... ไม่รจู้ ะ เลือกใช้คา� ไหนดีมาบรรยายการแสดง เดีย่ วของโรมี ในจุดนี้ได้ สิง่ ทีป่ รากฏ อยูต่ รงหน้าห่างไปไม่ถงึ 10 เมตร ก�าลังกัดกร่อนให้คนใจหินอย่างผม หลอมละลายลงทีละน้อย อย่างช้า ๆ ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

จากข้างใน ทีแ่ น่ ๆ เรือ่ งทีค่ า้ งคา ใจมาตลอดว่า วงขายดนตรีมนิ มิ อล แบบ The XX จะควบคุมโชว์ใหญ่ ๆ อย่างไร ไม่ให้มอี าการ dead air เกิด ขึน้ ถึงตอนนีร้ เู้ ห็นเป็นทีป่ ระจักษ์ ทุก สิง่ อย่างด้วยตา ด้วยหู ด้วยใจ ของ ตัวเอง ทัง้ ทีโ่ ชว์เพิง่ จะเดินทางมาแค่ ครึง่ เดียว!! ส่วนทีเ่ หลือ กับเพลงอย่าง ‘Infinity’ ‘A Violent Noise’ ‘Brave for You’ และ ‘VCR’ ก็ลว้ นแต่เป็น ช่วงเวลาทีน่ า่ จดจ�าแทบทุกวินาที ทุก อย่าง “ถูกต้อง” ไปเสียหมดส�าหรับ การแสดงในวันนี ้ ไล่มาตัง้ แต่ จังหวะ จะโคนในการเล่น การหยุด การต่อ เพลง ตลอดจน ท่วงท่า ลีลาของวง บนเวที จะยกเว้นก็ตอน โอลิเวอร์ ถือ ไมค์รอ้ งเดีย่ ว ๆ แบบไม่เล่นเบส ที่ ต้องปรับปรุงเล็กน้อย เพราะภาพออก มาขัดตาพอประมาณ พ้นจากนี ้ ล้วน อยู่ในขัน้ สมบูรณ์แบบ ไม่เว้นแม้แต่คา� พูดต่าง ๆ นานา ที่ใช้สอื่ สารกับคนดู หลายครัง้ เหมือนจะเป็นการพูดเอาเท่ห์ แต่มนั มาในจังหวะทีเ่ หมาะ ที่ใช่ จนไม่ ท�าให้เรารูส้ กึ หมัน่ ไส้คา� พูดเหล่านัน้ เลย เช่น การที ่ โอลิเวอร์ บอกกับ คนดูวา่ “ผมรูด้ วี า่ การดูคอนเสิรต์ นัน้ เป็นการหลบหนีในรูปแบบหนึง่ ส�าหรับ ใครหลายคน โดยเลือกทีจ่ ะมาอยูต่ รง นี ้ แล้วปล่อยความเจ็บปวดกองทิง้ ไว้ที่ บ้าน ผมก็ทา� แบบเดียวกัน เวลาทีผ่ ม ต้องมาอยูบ่ นเวทีเพือ่ เล่นดนตรี” หรือ “พวกคุณไม่ตอ้ งกังวลใด ๆ กับเรือ่ ง ทีร่ ออยูข่ า้ งนอกนัน่ เอนจอยกับโชว์ ของเราให้เต็มที ่ พวกเราใส่ใจกับคน ดูทกุ คน ไม่ตอ้ งกลัวว่าผมจะไม่เห็น พวกคุณ เพราะ.. I Can See You” ซึง่ เรียกเสียงกรีด๊ ได้ถล่มทลาย แล้วก็ตาม มาด้วยการหยิบเพลงอย่าง ‘Fiction’ กับ ‘Shelter’ ขึน้ มาเล่น อะไรเหล่านี้ เป็นทริค เป็นแท็กติกเฉพาะตัวทีเ่ ลียน แบบกันยาก บางคนพูดแล้วดูเฟค ดู พยายาม แต่เวลาทีว่ งดนตรีวงนีพ้ ดู

สีหน้าแววตาของพวกเขา ท�าให้เรา รูส้ กึ ได้วา่ มันออกมาจากก้นบึง้ เป็น สีหน้าของคนทีด่ ีใจหลังได้เห็นคนดูมี ความสุขกับดนตรีทตี่ นเองท�าขึน้ มา จริง ๆ โชว์เดินทางมาถึงช่วงท้าย เมือ่ วงเอาเพลง ‘Loud Places’ จากโปร เจ็กต์สว่ นตัวของ เจมี ในนาม Jamie xx มาเล่นคัฟเวอร์ จบแล้ว โรมี กับ โอลิเวอร์ หลบฉากลงไปจากเวที ปล่อยให้ เจมี โซโล่เดีย่ วในฐานะดีเจ กับบีตมันส์ ๆ ทีท่ า่ ทางจะถูกใจสายตีด๊ เป็นพิเศษ เพราะเริม่ มีแรงกระเพือ่ ม เกิดขึน้ ไปทัว่ บริเวณ จากทีก่ อ่ นหน้านี้ เป็นแค่การยืนดู ร้องตาม ตบมือ และ กรีดร้อง มาตลอดทัง้ โชว์ ผมลองจินตนาการว่าถ้าวงอย่าง The XX ไม่ม ี MPC อย่างเจมี หากแต่ เป็นมือกลองแทน ช่วงเวลานีก้ ค็ อื การ โซโล่กลองนัน่ เอง ซึง่ โชว์ไม่นา่ จะออก มาได้ฟลี ลิง่ ทีเ่ ป็นความเฉพาะตัวอย่าง ทีเ่ ป็นอยูน่ ี้ ไม่ได้กา� ลังจะบอกว่าการ มี ดีเจ อยู่ในวง ดีกว่า มือกลอง แต่ ก�าลังพูดถึงสมการ กีตาร์ เบส และ ดีเจ ของทัง้ 3 คน ทีร่ วมกันแล้วเป็น ความลงตัว ลงตัวเสียยิง่ กว่ายุคแรกที่ เป็นวง 4 คนเสียอีก ยามอยูบ่ นเวที ก็ เป็นจุดดึงสายตาทีก่ า� ลังพอเหมาะพอดี โฟกัสไม่กระจัดกระจาย บวกกับการ แสดงชัน้ เยีย่ ม พลังตอนเล่นสด ถึงพุง่ ทะลักออกมาปะทะคนดูได้ขนาดนี้ เจมี โชว์เดีย่ วกับของเล่นบนตู้ กระจกใส ๆ ไปได้พกั ใหญ่ ๆ ก็บวิ ท์ เข้าสูเ่ พลง ‘On Hold’ เป็นช่วงเวลา เดียวกับที ่ โรมี กับ โอลิเวอร์ เดินกลับ ขึน้ มาบนเวทีอกี ครัง้ แล้วก็รบั ช่วงต่อ เนือ่ งไปเลยโดยไม่ขาดตอน คนดูรอ้ ง ตามกระหึม่ มากขึน้ ยิง่ กว่าเก่า อาจจะ เพราะรูว้ า่ เวลาของความสุขก�าลังจะ หมดลงแล้ว และเมือ่ วงเล่นเพลงนีจ้ บ เสียงโห่รอ้ ง ตบมือก็ดงั ขึน้ อย่างต่อ เนือ่ งยาวนานแบบไม่ยอมหยุด จน โรมี ซึง่ ก�าลังจะพูดอะไรสักอย่าง ไม่มจี งั หวะให้พดู ได้แต่ยนื ยิม้ แก้ม ปริ พร้อมกับอุทาน “โอว...ว้าว...โอว... เอ่อ...ว้าว...ขอบคุณ ขอบคุนทุกคนมาก จริง ๆ” จากนัน้ โชว์กถ็ กู ปิดลงอย่าง บริบรู ณ์ดว้ ยเพลง ‘Angels’ จากอัลบัม้ Coexist กับเสียงดนตรีแสนแผ่วเบา จนเกือบจะท�าให้กลายเป็นการร้องสด แบบไม่มดี นตรี แต่มคี นดูกร็ ว่ มร้อง

ประสานในท่อน “Inlove...love...love” ดังกระหึม่ จนน่าขนลุก เขียนมาเสียยืดยาวขนาด นี ้ ก็ดว้ ยพยายามจะถ่ายทอดสิง่ ที่ได้ สัมผัสมาให้คน(ทีห่ ลงมา)อ่านได้รบั รูว้ า่ โชว์ของทริโออินดีจ้ ากลอนดอน กลุม่ นี ้ เป็นความน่ามหัศจรรย์ขนาด ไหน ซึง่ ระหว่างก�าลังเขียน พบว่าเป็น เรือ่ งทีท่ า� ได้ยากยิง่ มันอาจจะเกินสติ ปัญญาความสามารถของผม หรือทีส่ ดุ แล้ว พลังงานในโชว์ของ The XX ไม่ สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นตัวหนังสือ ได้เลยก็ไม่แน่ เพราะแม้ผมลองเปิด คลิปทีถ่ า่ ยมาดูซา�้ อีกรอบ ความพีคที่ สัมผัสได้จากคลิป ยังไม่ถงึ ครึง่ ของ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ จริง ทัง้ ทีเ่ ป็นเหตุการณ์ เดียวกัน เป็นไปได้วา่ มันอาจเป็น เรือ่ งของเคมีแบบสด ๆ ระหว่าง นัก ดนตรีกบั คนดู ณ ตรงนัน้ เดีย๋ วนัน้ ที่ ไม่สามารถท�าส�าเนาคัดลอกมาได้โดย เครือ่ งมือใด ๆ นอกจากต้องไปสัมผัส รับรูด้ ว้ ยตัวเองเพียงสถานเดียว สุดท้าย หากจะมีหลายคนทีอ่ า่ นข้อ เขียนนีแ้ ล้ว แอบนึกในใจว่า “เวอร์ ชิบหายเลยนะมึงไอ้คนเขียน” เข้าใจ ได้ครับ ถ้าใครจะรูส้ กึ แบบนัน้ เพราะ จนถึงตอนนีผ้ มเองยังแทบไม่อยาก เชือ่ ว่า The XX กับดนตรีโน้ตน้อยตัว หม่น ๆ นิม่ ๆ บนเวทีโล่ง ๆ จะกลาย เป็นโชว์ระดับเทพได้ขนาดนัน้ พวกเขา ไม่ใช่วงทีผ่ มชืน่ ชอบเป็นล�าดับต้น ๆ ในชีวติ นักฟังเพลงครับ มีวงอืน่ ทีผ่ ม รัก-ผมบูชามากกว่านี ้ แต่การแสดง ของพวกเขากลายเป็นโชว์ทดี่ ที สี่ ดุ เท่า ทีเ่ คยดูมาในชีวติ นักดูคอนเสิรต์ ของผม ไปแล้ว ดีกว่าโชว์ของ Tame Impala โปรดักชัน่ จัดเต็ม ที ่ เคแอล.ไลฟ์, ดี กว่าโชว์ของ Foals ที ่ ฟอร์ท แคน นิง และดีกว่าโชว์ของ M83, Beach House, The Horrors, Best Coast, St. Vincent, Of Monsters And Men และอีกมากมายหลายวง ในช่วงหลาย ปีทผี่ า่ นมา ก็ได้แต่หวังว่า วันหนึง่ วันใดจะ มีผจู้ ดั ใจปา้ พา The XX มาเล่นทีเ่ มือง ไทยส�าเร็จ และมีคนได้ไปดูมนั แล้ว นึกถึงรีววิ ชิน้ นีข้ องผม ด้วยความรูส้ กึ ว่า “เออ ใช่จริง ๆ อย่างที่ไอ้หมอนัน่ ว่าไว้เลย วงนีม้ นั เล่นสดได้เทพขนาด นัน้ จริงด้วย...ว่ะ”

- BLAST

magazine -

013


Build To Blast

JACKASS

เกาะลูกกรงดู MMA ที่มาเก๊า ต้นเดือนสิงหาคมทีผ่ า่ น มา ผมได้รบั เชิญจากทีมงานผูจ้ ดั มวย MMA ให้เดินทางไปชมการ แข่งขันศิลปะการต่อสูแ้ บบ มิกซ์ มาร์ เชียล อาร์ต รายการ วัน แชมเปียน ชิพ (One Championship) ทีม่ าเก๊า ภารกิจหลักคือดูมวย ส่วนภารกิจรอง คือรายงานความเคลือ่ นไหวของ 2 นัก สูช้ าวไทยทีล่ งแข่งขันรายการนี้ (สรุปก็ คือท�ำงานแหละ เฮ้อ...) อธิบายให้คณ ุ ผูอ้ า่ นเข้าใจสัก นิด MMA คือการแข่งขันมวยรูปแบบ หนึง่ ทีน่ กั สูส้ ามารถน�ำศิลปะการ ป้องกันตัวแบบต่าง ๆ มาใช้บนเวทีได้ ไม่มจี ำ� กัดเช่น ยูโด, ยิวยิตสู, คาราเต้, มวยปล�ำ้ , มวยไทย ฯลฯ ต่อยกันบน เวทีทมี่ ลี กู กรงเหล็กล้อมรอบ การ ตัดสินแพ้ชนะคือการน็อคคูต่ อ่ สู้ หรือ ท�ำให้อกี ฝ่ายยอมแพ้ ท�ำได้ทกุ อย่าง แต่อย่านอกกติกาเช่น ต่อยใต้เข็มขัด หรือจิม้ ตา ไม่งนั้ นอกจากแพ้ฟาวล์ มี สิทธิต์ ดิ คุกข้อหาท�ำร้ายร่างกายเกิน กว่าเหตุ (ฮา) ถ้าเป็นทีอ่ เมริกาคนดูจะ คุน้ เคยกันดีกบั รายการ UFC ส่วน วัน แชมเปียนชิพ ทีผ่ มไปท�ำข่าวนัน้ เพิง่ เกิดใหม่ ต้องใช้เวลาท�ำให้คนดูรจู้ กั สัก ระยะ ผมออกเดินทางตัง้ แต่เช้าตรู่ 9 โมงเช้า (ตืน่ มาเตรียมตัวตัง้ แต่ ตี 5) สือ่ มวลชนทัง้ หลายมักไม่ปลืม้ เท่า ไหร่หากรูว้ า่ ตัวเองต้องขึน้ ไฟลท์เช้า เพราะส่วนใหญ่นอนดึกตืน่ สายกันทัง้ นัน้ แต่นมี่ าฟรีหา้ มบ่น ฮ่า ๆ ไปถึงมา เก๊า ราวเทีย่ งตรง เวลาเร็วกว่าเมือง ไทย 1 ชัว่ โมง รับกระเป๋าเสร็จก็เดิน เท้าต่อไปทีล่ านจอดรถเพือ่ นัง่ Shuttle Bus ทีบ่ ริการพาไปส่งถึงโรงแรม ระหว่างเดินทางก็พลางคิดแหมช่าง สะดวกสบายดีจงั ถ้าเป็นสุวรรณภูมิ บ้านเราหากโรงแรมไม่อยู่ใกล้ แอร์ พอร์ต ลิงค์ ก็ตอ้ งนัง่ แท็กซีท่ จี่ อ้ งฟัน ค่าบริการสะบัน้ หัน่ แหลก ทริปนีส้ อื่ มวลชน รวมถึงตัว ผม 10 คน ได้พกั โรงแรม Holiday Inn มาเก๊า แม้จะไม่ได้หรูหราอลังการ 014

- BLAST

magazine -

เหมือนโรงแรมอืน่ แต่สงิ่ อ�ำนวยความ สะดวกก็ครบครันดี วันแรกผ่านพ้นไป ไม่มอี ะไร วันทีส่ องก็ตอ้ งไปงานแถลง ข่าวทัวร์นาเมนต์นที้ โี่ รงแรมฝัง่ ตรง ข้าม ซึง่ ก็เห็นยอดนักสูจ้ ากทัว่ สารทิศ เดินทางมาแข่งขันแบบคับคัง่ เอ่ยชือ่ คงไม่รจู้ กั กัน ส่วนนักสูช้ าวไทยก็มคี ณ ุ “ครูตอง” ชนนภัทร วิรชั ชัย ยอดฝีมอื ทีช่ กรายการนีม้ าหลายครัง้ และ ริกะ อิชเิ กะ สาวสวย คนหลังนีน่ า่ จะพอ รูจ้ กั กันบ้างเพราะเดินสายออกสือ่ ถ่าย แบบ อยูบ่ อ่ ยครัง้ คุยไปคุยมา อ่าว

ไปซ้อมชกอยูว่ งนอก ท�ำข่าวเสร็จก็ กลับไปพักผ่อนเตรียมตัวส�ำหรับวันขึน้ ชกจริง การแข่งขัน วัน แชมเปียนชิพ ครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ ที่ โคไท อารีนา่ โรงแรม เดอะ เวเนเชีย่ น มาเก๊า หรูหรา อลังการณ์มาก ตัวสนามนัน้ คล้าย อิม แพ็ค อารีนา่ บ้านเราเปีย๊ บแต่ไม่ใหญ่ โตเท่า คนดูเกือบเต็มสนาม ผมเดิน เข้าไปได้ยนิ เสียงเชียร์คนดูเป็นพัน ๆ บวกกับเห็นสังเวียนกรงเหล็กอยูต่ รง หน้าก็รสู้ กึ ขนลุก โหย แบบเดียวกับที่

อินเดีย ปรากฏว่าใช้เวลาไม่ถงึ 1 นาที ครูตอง จับคูต่ อ่ สูต้ เี ข่าเข้ากลางหน้า ผากทีเดียวชนะเลย แหม่ นกกระจอก ไม่ทนั กินน�ำ ้ ผมนีพ่ มิ พ์ขา่ วแทบไม่ทนั (ฮา) ซึง่ เมือ่ จบทุกคูก่ ารแข่งขันก็แกล้ง ถามคุณชาตรี ศิษย์ยอดธง ประธาน ทัวร์นาเมนต์ชาวไทยว่าจะผลักดันให้ ครูตอง ได้ชงิ แชมป์กบั เขาบ้างไหมหลัง ให้ตอ่ ยมา 6-7 ไฟต์แล้ว ซึง่ คุณชาตรี ก็บอกเดีย๋ วจัดให้เร็ว ๆ นี้ ยิม้ กันใหญ่ ทัง้ สือ่ มวลชนไทยและครูตอง การเป็นนักสูใ้ น MMA แม้จะ ต้องเจ็บตัวหนักกว่ามวยสากลเพราะ มีสทิ ธิถ์ กู ล็อคคอ, บิดแขน, ต่อยจน เลือดอาบ ฯลฯ แต่คา่ ตอบแทนนีส่ งู แบบสมน�ำ้ สมเนือ้ นะครับ นับเฉพาะ รายการ วัน แชมเปียนชิพ คนทีเ่ ป็น แชมป์รบั 1 ล้านเหรียญยูเอส (ราว 35 ล้านบาท) ส่วนคูร่ องถ้าชนะจะ ได้ 6,000 เหรียญยูเอส (ประมาณ 2 แสนบาท) แบบเต็ม ๆ ถ้าเทียบกับ มวยอาชีพเมืองไทย ได้มากีบ่ าทก็ตอ้ ง หักหัวคิวให้เจ้าของค่าย สุดท้ายก็ได้ ส่วนแบ่งน้อยนิดไม่พอยาไส้ ต้องขึน้ เวทีแบบถี่ ๆ มีสทิ ธิจ์ บอาชีพเร็วกว่า ก�ำหนด ผิดกับ MMA ปีหนึง่ ต่อยกัน 2-3 ไฟต์ ก็มกี นิ สบายหากรักษาความ ฟิตและฝึกซ้อมอย่างมีวนิ ยั แต่เซ็น สัญญาแล้วห้ามไปชกทีอ่ นื่ เท่านัน้ เห็นในทีวเี ลย วันนัน้ มีการชกทัง้ สิน้ กระแสความนิยมวย MMA บ้าน คนแถวบ้านนีห่ ว่า ท�ำไมไม่เคยเจอ 12 คู่ รอไปจนถึงคูแ่ รกของคนไทย เราตอนนีต้ อ้ งบอกว่ายังไม่ได้รอ้ นแรง กันล่ะนี่ ริกะ พบกับนักสูจ้ ากฟิลปิ ปินส์ เห็นแค่ มากเพราะหลายคนยังคิดว่าเป็นเวที บรรยากาศงานแถลงข่าวก็ ทีป่ า่ เถือ่ นกว่ามวยอาชีพ หลายคน คึกคักดีครับ ออกไปทางเฮฮามากกว่า บอดีก้ เ็ สียววุย้ เพราะอีกฝ่ายตัวใหญ่ เสียดายไม่มพี ดู ข่มกันสักหน่อยเหมือน กว่า ริกะ ของเรา นักสูเ้ ราก็ลยุ เต็มที่ ดูนกั สูถ้ กู ต่อยเลือดอาบก็ทำ� ใจไม่ได้ ทีเ่ ราเห็นกันในทีวี แต่พวกเขาก็คงคิด พยายามจับล็อคหลายครัง้ แต่อกี ฝ่าย แต่กไ็ ม่แน่นะครับอนาคตอาจดังกว่า แหละแค่ซอ้ มก็เครียดจะตายอยูล่ ะ ถ้า แข็งแรงกว่า สลัดหลุดทุกที พอยกสอง นี้ เพราะเท่าทีท่ ราบเริม่ มีบรรดานัก กลายเป็น ริกะ เสียเปรียบโดนต่อย มวยรุน่ เก๋าของไทย กริง๊ กร๊างไปหา มาเครียดบนเวทีอกี ก็เสียสุขภาพจิต ส�ำนักงานใหญ่ของ วัน แชมเปียนชิพ เปล่า ๆ ซึง่ หลังจากนัน้ ก็มโี อกาสคุยกับ เข้าหน้าแถมล็อคคอจนต้องขอยอม นักสูช้ าวไทยทัง้ สอง ทัง้ คูม่ คี วามมัน่ ใจ แพ้ กลายเป็นความพ่ายแพ้ครัง้ แรกใน ที่ สิงคโปร์ เพือ่ ขอเข้าร่วมสังเวียนกัน อย่างมากว่าจะเอาชนะคูแ่ ข่งได้แน่นอน รายการนีห้ ลังชกมา 2 ไฟต์ ชนะรวด มากขึน้ ส่วนแฟนมวยคนไหนทีส่ นใจ (รูส้ กึ ตัวเองเป็นกาลกิณ)ี หลังเกมก็ อยากชมการแข่งขันแบบไม่ตอ้ งบินไป เห็นแล้วก็มกี ำ� ลังใจในการท�ำงาน มี ต่างประเทศ วันที่ 9 ธันวาคม นี้ ก็จะ ข่าวเขียนส่งกลับไปทีเ่ มืองไทย วันถัด ไปพูดคุยเห็นยังยิม้ แย้มร่าเริงพร้อม มาก็ไปดูเขาซ้อมกัน ริกะ เห็นตัวเล็ก ๆ ลงแข่งรายการนีต้ อ่ ก็โล่งใจ แม้โหนก มีจดั ขึน้ ทีเ่ มืองไทย อิมแพ็ค อารีนา่ ลองไปดูกนั ได้ครับ งีเ้ ตะกระสอบทรายดังสนัน่ แบบไม่กลัว แก้มปูดก็ตาม เจ็บเลย เตะไปยิม้ ไป ส่วน ครูตอง ก็ อีกคู่ ครูตอง เจอกับนักสูจ้ าก ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine -

015


COVER STORY

“มีอำ� นาจ มีอาวุธ ถือกฎหมาย F**K THE P***** ใช้อำ� นาจ ในทางผิด พวกสิน้ คิด F**K THE P***** คอยกดขี่ คอยข่มเหง ประชาชน F**K THE P***** เราทุกคน ต้องต่อสู้ กับพวกมัน” --- เพลง F**K THE P***** ตามประวัตศิ าสตร์วงการเพลงใต้ดนิ ชนชัน้ รากหญ้า ดนตรีแนวเมทัลในประเทศไทยได้เข้ามาเป็นส่วนหนึง่ เมือ่ สามสิบปี ก่อน จากดนตรีเฮฟวี่ ฮาร์ดร็อก ก็ ได้ขยับขยายความหนักหน่วง ตามเวลา กระทัง่ สปีด แทรช เมทัล ได้เข้ามามีอทิ ธิพล จากนัน้ พัฒนาการในวงการอุตสาหกรรมดนตรีโลกของฝัง่ ตะวันตกก็นำ� เสนอวงแนวเมทัล พัง้ ก์ ฮาร์ดคอร์ออกมามากมายผ่านรายการ MTV วัยรุน่ ชาวไทยก็ ได้เสพข้อมูลข่าวสาร ได้ฟงั จากแผ่นเสียง เทปคาสเซ็ทส์ ทุกอย่างทีส่ ามารถหาได้ วัยรุน่ ยุค 90 กลุม่ หนึง่ ก็เป็นเหมือนวงเมทัลรุน่ พีท่ วั่ ไป คือ ได้รบั อิทธิพลจากการฟังเพลง อยากปลอดปล่อย อยากท�ำวง ดนตรีออกมาระบายสิง่ ทีค่ ดิ ว่าหนักสุด ๆ เล่นคัฟเวอร์จนลามไป ถึงมีผลงานตัวเอง แนวทางวงทีน่ ำ� เสนอได้ระบุตวั เองไว้ที่ ฮาร์ด คอร์ ซึง่ จะบอกได้วา่ เป็นวงฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์ ไทยวงแรก ๆ เมือ่ เกือบ 20 ปีทแี่ ล้ว ไม่มใี ครบอกต้องท�ำยังไง ต่างก็ลองผิดลองผิดลองถูก ทัง้ ในเรือ่ งของดนตรีและความคิด ทุกวันนีล้ งตัวหมดแล้ว ฮาร์ด คอร์ พัง้ ก์ ใคร ๆ ก็รจู้ กั ว่ามันคืออะไร วง License To Kill ไม่ได้ เป็นทีร่ จู้ กั ของคนฟังทัว่ ไป เพราะพวกเขาเดินคนละฝัง่ กับดนตรี กระแสหลัก เส้นขนานที่ไม่มวี นั บรรจบกันแน่นอน !

016

- BLAST

magazine -

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


BLAST TEAM

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

KRIDSADAPAN KIJPITAK

magazine -

017


เล่าจุดเริม่ ต้นวงให้ฟงั หน่อย สัน้ ๆ ก็ได้นะ เพราะ 18 ปีมาแล้วนี่ กอล์ฟ : ก็เหมือนวัยรุน่ ทัว่ ไปครับ อยากจะสนุกสนานกับ ดนตรีกช็ กั ชวนกัน แรกเลยมี แดง เก่ง (สุเมธ แซ่ล)ี้ และผม ส่วนมือเบสก็ได้บรรดาเพือ่ น ๆ มาช่วย ๆ กัน ซึง่ พวกผมแต่ละคน ก็เพิง่ จะเริม่ จับเครือ่ งดนตรีเล่นกันให้เป็นก่อน แดง : วงก็เริม่ ช่วงคาบเกีย่ วยุคนู เมทัลเข้ามาฮิตในบ้าน เราเลย กับเมทัลสายเก่าก�ำลังตีกนั เลย สายใหม่กบั สายเก่าเจอ กัน ฮาฮา พวกผมก็คฟั เวอร์พวก Korn Ebola เหมือนกันนะ ทัว่ ไป นัน่ แหละ ก็มจี ดุ เปลีย่ นตรงได้เจอพีเ่ อฟที่ Immortal Bar (หลัก ฟ้า สาสกุล ร้องน�ำวงพล่าน, Carnivora) หลังกองสลากฯ ถนน ราชด�ำเนิน พีเ่ ขาบอกท�ำไมไม่ทำ� เพลงเองละ เลยสะดุดค�ำนี้ กอล์ฟ : ก็เหมือนอยากจะเป็นกุก๊ ทีต่ อ้ งชิมอาหาร ลองท�ำ ไปเรือ่ ย ๆ มาเจอกับพีเ่ ขาบ่อย ๆ ก็เริม่ ตกตะกอน คุยกันบาง อย่างก็เอาเป็นไอเดียไปเขียนเพลงบ้าง พีเ่ อฟนีเ่ รีย่ วแรงส�ำคัญเลย แล้วก็มพี มี่ านิตย์ (อดีตคอลัมนิสต์ Starpics) และพีย่ ศนีอ่ ยูด่ ว้ ย กันมานาน ฮาฮาฮา ก็เล่นด้วยกันมาตลอด เล่นกันไปเรือ่ ย ๆ จน ทุกวันนีค้ รับ

018

- BLAST

magazine -

แดง : เล่นกันมายาวนานจนหลายคนก็ถามตลอด “เมือ่ ไหร่จะมีเป็นเทป ซีดี หรืออะไรทีเ่ อาไปฟังกันได้” จริง ๆ วง เราก็คดิ มาอย่างนีต้ ลอดเลย คือ ผมบอกกับทุกคนว่าอยากให้ มาสนุกกันหน้างานกันดีกว่า ผมเลยไม่ทำ� การบันทึกอะไรทัง้ สิน้ เพราะว่าเราไม่ได้ตอ้ งการมาหากินทางนีอ้ ยูแ่ ล้ว ต้องการ แค่ปลดปล่อยความคิดของพวกเรา อยากท�ำในสิง่ ทีอ่ ยากท�ำ จริง ๆ มากกว่า กอล์ฟ : วงเราก็ได้รบั แนวความคิด โตมากับอิทธิพล วงทีเ่ ราฟัง ๆ มาทีเ่ กีย่ วข้องกับทาง DIY (Do It Yourself) ท�ำ เอง โปรโมตเอง พยายามท�ำให้ถงึ ทีส่ ดุ จนแล้วจนรอดสมาชิก ในวงก็ออกไป คือ เก่ง มือกีตาร์ทอ่ี ยูร่ ว่ มกันตัง้ แต่ตน้ เพราะ เขาติดภารกิจในชีวติ ส่วนตัว แต่เราก็ได้อามมาเล่นแทนอย่าง เป็นทางการ และแม็ก มาเล่นเบส ซึง่ ช่วงก่อนหน้านีเ้ ราเป๋ไป เป๋มาอยูห่ ลายปี ตอนนีก้ ก็ ลับมาเป็นรูปเป็นร่างพร้อมลุยกัน เต็มทีค่ รับ

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ท�ำไมทางวงถึงเลือกน�ำเสนอในแนวทางฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์ เพราะตอนนัน้ ก็เล่น คัฟเวอร์กนั สนุก ๆ อยูน่ ี่ แล้วก็ไม่มวี งไหนทีบ่ อกตัวเองว่าเล่นฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์ ? แดง : ก็วยั รุน่ อยูอ่ ะครับ อะไรก็ได้ทมี่ นั รุนแรง ตอบโจทย์ ปล่อย อารมณ์ ปล่อยของในสิง่ ทีเ่ ราคิด อยากระบายออกแบบวัยรุน่ ดนตรีมนั ก็เป็น สิง่ ๆ หนึง่ ทีม่ นั สามารถท�ำได้ กอล์ฟ : ต้องเท้าความถึงเรือ่ งประสบการณ์การฟังเพลงของพวกเรา พอเรามาแตกฉานตรงทีว่ า่ พัง้ ก์ คือดนตรีของคนหนุม่ สาว ฮาร์ดคอร์ คือ ดนตรีของคนหัวคิดทันสมัย มองประโยชน์สว่ นรวม ครัน้ แล้วแน่นอนว่าเรา ต้องแก่ตวั ขึน้ ในวันนึง แต่ดนตรีมนั อยูเ่ หนือกาลเวลา ถ้าว่าเราน�ำเสนอดนตรี ในรูปแบบฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์ ด้วยภาคดนตรีดว้ ยเนือ้ หา บางคนฟังอาจจะไม่ได้ สือ่ สารแบบว่า LTK คือฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์โดยตรงเลยเหรอ ? นีแ่ หละคือภาพที่ พวกเราวาดออกมา มันเป็นสไตล์ทเี่ ราท�ำออกมา อายุวงก็ 18 ปีเข้าไปแล้ว เรือ่ งระหว่างทางมีอะไรเล่าให้ฟงั มัง่ ครับ ? แดง : โอ้โห้ ก็มหี ลายรูปแบบนะ น่าจะทุกอย่างเลย เล่นปุป๊ เจอการ์ด มาล็อคตลอดตอนเล่นเพลง F**k The P***** ไปทุกทีเ่ อาปืนมาขูม่ งั่ เดินมา ตบมัง่ กระแสตอบรับดีมาครับ จากผูร้ กั ษากฎหมาย ฮาฮา กอล์ฟ : เขาฟังแล้วรับไม่ได้ ไม่คอ่ ยเข้าหู เขาคงไม่ชอบนัน่ แหละ แต่ จริง ๆ แล้วถ้าเขาไม่ทำ� จริง ๆ ผมคงเขียนพฤติกรรมของเขาไม่ได้หรอก ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine -

019


แสดงว่าก่อนหน้านัน้ มีปญ ั หากับเจ้าหน้าทีบ่ า้ น เมืองแล้วสิเลยเกิดเพลง FTP แดง : จริง ๆ เพลงนีเ้ กิดจาก ผมกับ กอล์ฟขีม่ อเตอร์ไซค์แล้วติดไฟแดงทีส่ แี่ ยกวรจักร คือไม่ได้ใส่หมวกแล้วต�ำรวจมาล็อค เท่านัน้ เอง เลยเกิดเพลงนีข้ นึ้ มา คือกูไม่ได้ใส่หมวกเอง ฮา ฮาฮา มันเป็นต้นตอ คือมันมีหลายเรือ่ งครับ ฮา ฮาฮา กอล์ฟ : ฮาฮา คือตอนแรกเราท�ำเพลง กันอยู่ แล้วพวกเราก็ไม่คอ่ ยชอบ Junk Food อยู่ แล้ว พล็อตเพลงมันก็มาจากจัง้ ก์ ฟูด้ จู่ ๆ เก่ง เล่นกีตาร์ขนึ้ มาแล้วเราก็ฮมั เนือ้ เพลงขึน้ มาว่า “เคเอฟซี มิสเตอร์โดนัท แมคโดนัลด์ ฟักเดอะ จัง้ ก์ ฟูด้ ” แต่ทนี่ พี่ อฟัง ๆ แล้วเราหยิบประเด็น นีข้ น้ึ มา คนฟังอาจจะ งง อะไรวะ ? เขาก็กนิ กัน ทัง้ ประเทศแต่มงึ ไม่แดกส์กนั เราก็เลยคิดเปลีย่ น แล้วมาเจอเรือ่ งต�ำรวจพอดี แดง : อย่างทีเ่ พือ่ น ๆ หลายคนรูว้ า่ กลาย ไปเป็นตีปอ้ มต�ำรวจ พัฒนาจากความเกลียดชัง ขึน้ มา ต้องการแสดงออก ไล่ไปยีส่ บิ กว่าป้อมฯ 11 สน. ไล่ตเี ละเทะ ทีจ่ ริงมีเยอะที่ไม่รจู้ บั ไม่ได้ ฮาฮา คือถ้าเป็นยุคปัจจุบนั นีผ่ มเป็นเน็ตไอดอลไป แล้ว ฮาฮา เจเจพ่นศาลนีก่ ากไปเลยนะ ประยุทธ์ ร้องอูอ้ ะ ฮาฮาฮา

เนือ้ หาเพลงทีน่ ำ� เสนอ คิดว่ามันส่งผลอะไรกับคนฟังบ้างไหม ทัง้ ๆ ทีแ่ นวนีก้ ม็ คี นฟังบ้าง ไม่ฟงั บ้าง อาม : ก็มผี ลอยูบ่ า้ งนะครับ อย่างเพลง FTP นีค่ นฟังก็รเู้ ลยชัดเจน แต่อยากให้มี อะไรมากกว่านัน้ นะครับ แดง : เหมือนวงเราก็จดุ ประเด็นเรือ่ งนีม้ านะ ก็มวี งหลัง ๆ เล่นในทางเดียวกันด้วย ตามกันมา กอล์ฟ : จริง ๆ ก็มวี งทีร่ ว่ มหัวจมท้ายกันมาอย่างวง NO IS NOT (วงฮาร์ดคอร์ยคุ แรก ๆ) ก็ยงั อยูแ่ ละมีแนวทางคล้ายเรา ถ้าใจยังอยูม่ นั ท�ำอะไรไม่ได้ เรายังมีแรงทีจ่ ะต้อง ทนเห็นสิง่ ทีน่ า่ สะอิดสะเอียนอีกเยอะ ขอท�ำอะไรทิง้ ไว้กอ่ นตาย จะมากบ้างหรือจะน้อยไม่ เป็นไร ขอเป็นเฟืองตัวเล็ก ๆ ทีห่ มุนย้อนศรสังคมปัจจุบนั แค่นนั้ พอ เราก็เป็นเพียงแค่วง ดนตรีอนั เดอร์กราวด์ มันท�ำอะไรได้ไม่มากมันก็ตอ้ งเริม่ จากคนหมูน่ อ้ ยแล้วระเบิดออกนัน่ แหละ ประเทศไทยไม่ได้เป็นต้นก�ำเนิดวัฒนธรรมดนตรีฮาร์ดคอร์เลย แต่เราพยายามจะ ผนวกวิถฮี าร์ดคอร์ให้มนั เข้ากับบ้านเราโดยกลมกลืนมากทีส่ ดุ ไม่เคอะเขินกับคนในบ้านเรา อาจจะเป็นฮาร์ดคอร์แบบไทย ๆ สไตล์บา้ นเรา ถามในใจคนในวงทุกคนและคนในกลุม่ Thailand Hardcore เรามีใจสาธารณะ จิตส่วนรวม มองเห็นปัญหาส่วนรวมแล้วเอามาก่น ด่าแก้ไขกัน

ทัง้ วงน�ำเสนอเนือ้ หา การเมือง สังคม สงคราม ความเชือ่ พวกคุณมีความเชือ่ อะไร ? กอล์ฟ : ถ้าเป็นผม ผมเป็นพุทธอะ ศาสนาพุทธก็สอนอยูแ่ ล้วว่า มันต้องค้นหาด้วย ตนเอง ด้วยปัญญาหรืออะไรก็แล้วแต่ คืออย่าง น้อย ๆ เหมือนรายการยามเช้า ฟัง ๆ ทุกวัน เดีย๋ วก็ซมึ เข้าเอง สมาชิกใหม่ทเี่ พิง่ เข้ามา พวกเขาเชือ่ ในแบบทางวง ท�ำหรือเปล่า ? แม็ก : ผมเข้ามาในกลุม่ Thailand Hardcore มาตัง้ นานแล้วครับ เพราะมีวงพัง้ ก์ที่ ผมเล่นมาก่อนหน้าแล้วมาเจอกับพวกพี่ ๆ เขา ได้คยุ กันบ่อย ความคิดตรงกันเลยไม่มปี ญ ั หา อะไร กอล์ฟ : LTK ก็เป็นหนึง่ ในสมาชิกกลุม่ Thailand Hardcore กลุม่ คนทีเ่ ราคิดว่าเป็นที่ไว้ ส�ำหรับนักดนตรี คิดเห็นเหมือนกันมาคุยกันใน เรือ่ งการเมือง

020

- BLAST

magazine -

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


มันก็เหมือนกับการตืน่ ขึน้ มาหายใจ มันเป็นไลฟ์สไตล์ ทุกอย่างมันคือฮาร์ดคอร์นนั่ แหละ คือมันพูดแต่เรือ่ งจริง ชีวติ จริง

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine -

021


แรงบันดาลใจทีท่ า� ให้พวกคุณน�าเสนอเนือ้ หาเพลงทีต่ รงจุด แดง : กูไม่ม ี ฮาฮา ไม่ตอ้ งเซ็นเซอร์นะ กูนงั่ ตีกลองอย่างเดียว ฮา อยากให้กคู ยุ เรือ่ งชีวติ ในคุก กูไหมละ ฮา กอล์ฟ : เราก็หยิบประเด็นสังคมการเมืองทัว่ ไป ปัญหาท้องถิน่ ปัญหาโลก มันไม่ได้ไกลตัวเลย นะ มันก็คอื สันดานและนิสยั ของคนนีแ่ หละ พอเราได้พดู ออกได้เล่นดนตรีออกไปมันอาจจะช่วยท�าให้ ฉุกคิดก็ได้ แดง : ความหมายของฮาร์ดคอร์สมัยก่อนกับสมัยนีม้ นั ต่างกัน สมัยก่อนคิดว่าความรุนแรงการ กระท�าแสดงออกกูตอ้ งด่ากูตอ้ งท�าลายล้าง นัน่ แหละคือฮาร์ดคอร์ คือพัง้ ก์ แต่มนั ไม่ได้ออกมาจากมัน สมองจริง ๆ ของเราเลย มันแค่บอกว่าเราต้องการท�าลายล้างทุกอย่าง จริง ๆ แล้วมันไม่ใช่ แต่พอ ณ ตอนนีเ้ ราโตขึน้ มามันเปลีย่ นทัศนะเรา คือถ้าเราต้องการจะบอก หรือให้สงั คมเดินตามเราเนีย้ เรา ควรต้องท�าให้เขาเห็น ว่าเนีย้ สิง่ นีก้ ทู า� นะ แบบเนีย้ มันจะมีการเปลีย่ น ไม่ใชว่าจะท�าลาย อย่างการตี ป้อมนีม่ นั ก็คอื เรือ่ งของเด็กไง มันคิดได้เท่านัน้ มันไม่ได้ชว่ ยห่าอะไรเลย ไม่ได้ชว่ ยเปลีย่ นสังคมอะไร เลย มันเป็นแค่การแสดงออกทางความคิดของเด็กเพียงแค่สนั้ ๆ เท่านัน้ เอง เราต้องท�าให้เขารูไ้ งว่า เราท�า อย่างทิง้ ขยะลงถัง เดินถนนข้ามสะพานลอยหรือเปล่า ท�าการท�างานตัง้ ใจหรือยัง นีล่ ะคือฮาร์ด คอร์สา� หรับผม เพราะแต่ละคนก็มกี ารมีงานท�ากัน ไม่ได้กะมาหากินทางนี ้ ว่าง ๆ ก็บอกน้อง ๆ เพือ่ น ๆ มันเป็นอย่างนีน้ ะ จะเชือ่ ไม่เชือ่ ก็อกี เรือ่ ง ฮาร์ดคอร์สา� หรับ LTK ในทุกวันนีก้ ค็ อื ท�าวันนี้ให้ดที สี่ ดุ รูห้ น้าที ่ ถ้าไม่ได้ทา� ห่าไรเลยแล้วบอกฮาร์ดคอร์ กูวา่ นอนอยูบ่ า้ นไปเลยดีกว่า อัลบัม้ แรกและเป็นผลงานทีจ่ ะออกมาครัง้ แรกในรอบ 18 ปี มันจะเป็นยังไง ? กอล์ฟ : จริง ๆ มันก็ไม่ได้จา� กัดนะครับ 18 ปีมนั ได้หล่อหลอมจนพวกผมเป็นกันทุกวันนี ้ ผม เชือ่ ว่านิมติ สุดท้ายนีม่ นั เจ๋งมาก ทุกสิง่ ทุกอย่างมันถูกรวบรวม อาจจะไม่ทสี่ ดุ แต่วา่ เราคิดมาแล้ว ท�ามา แล้ว สัมผัสมาแล้วและเจอมาแล้วและก็ทา� ออกมาน�าเสนอให้ได้ฟงั กัน ก็นแี้ หละครับ แดง : มันอาจจะไม่ดที สี่ ดุ หรอกถ้าไปเทียบกับคนอืน่ นะ แต่มนั เป็นสิง่ ทีเ่ ราตัง้ ใจกันมาก พีค่ ดิ ดูดิ ว่า 18 ปีได้ 10 เพลง มันพอ ๆ กับท�าบรัน่ ดีชนั้ ดีหนึง่ ขวดเลยนะ ฮาฮา สุดท้าย ฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์ ในอย่างทีค่ ณ ุ คิดคืออะไร ? กอล์ฟ : โลกฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์ของผมนะ คือ ผมว่าด้วยวันเวลามันไม่ได้ทา� อะไรให้เปลีย่ นไป หรอก ด้วยวัย วันนัน้ คุณอาจจะชอบเอะอะ แต่มาตอนนีค้ ณ ุ สงบเสงีย่ ม ด้วยจิตเบือ้ งลึกของคุณมัน ต้องมีจติ ขบถอยูแ่ ล้ว นัน่ แหละเอาตรงนัน้ ออกมาแล้วมาฟังดนตรีกนั ดีกว่า รับผิดชอบตัวเอง รับผิด ชอบคนรอบข้าง ถ้าเราท�าได้ นัน่ แหละคือการแบ่งปัน ฮาร์ดคอร์คอื การแบ่งปันส�าหรับผม แม็ก : มันเป็นวิถชี วี ติ มากกว่านะครับ ความเป็นอยู ่ การผจญโลก บางคนอาจจะเจอเรือ่ งเลว ร้ายในชีวติ มาก นัน่ แหละคือความฮาร์ดคอร์ในชีวติ จริง ๆ อาม : มันเป็นการระบายหลายเรือ่ งทีเ่ ราเจอในชีวติ ประจ�าวันผ่านดนตรี การระบายของคนคิด ขบถ ต่อต้านกฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ ทีส่ งั คมสร้างขึน้ มา บางทีมนั ก็ไม่ได้ลงล็อคกันไปหมดทุกคนนะ แดง : มันก็เหมือนกับการตืน่ ขึน้ มาหายใจ มันเป็นไลฟ์สไตล์ ทุกอย่างมันคือฮาร์ดคอร์นนั่ แหละ คือมันพูดแต่เรือ่ งจริง ชีวติ จริง สมาชิกวง สมชาย อักษรศิริ (กอล์ฟ) - ร้องน�า ณัฐพล เจนการ (แดง) - กลอง กริช ชิณรักษ์ (อาม) - กีตาร์ อนุสรณ์ คํามี (แม็ก) - เบส ขอบคุณ Wave Haircutz

022

- BLAST

magazine -

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine - 023


BLAST OFF

BLAST TEAM

ศศิธร ศรีเพชร (แบงค์) - ร้องน�ำ ภานุมาศ ชุม่ ช่างทอง (เม่น) - เบส พลวัสถ์ ยุทธสารประสิทธิ์ (กบ) - กีตาร์ นรินทร เกิดบัณฑิต (ริน) – กลอง สุรยี ์ สุวรรณก�ำเนิด (โอ่ง) - คียบ์ อร์ด https://www.facebook.com/brabranner จากประวัตวิ งอันไกลโพ้นทีเ่ ริม่ มาเกินสิบปีสำ� หรับวงร็อกน�ำ้ ดีวงนี้ เคยอยูค่ า่ ยเพลงเล็ก ๆ ออกผลงาน ทัง้ ชุดเต็ม ซิงเกิล้ อีกเพียบ ทีส่ ำ� คัญคือสมาชิกไม่เคยเปลีย่ นเลย อยูย่ งั ไงก็ฝงั กันอย่างนัน้ ซึง่ ด้วยความทีอ่ ยู่ รวมหัวกันมานาน เข้าขา ทีมเวิรค์ เหนียวแน่น “ของเล่นของโชคชะตา” เพลงดังติดหูทอี่ อกมาเมือ่ ปี 2554 ซึง่ เป็นปีทนี่ กั ร้องน�ำหญิงของวงป่วยจนถึงขัน้ เกือบเสียชีวติ พักรักษาตัวนานครึง่ ปีทางวงเองก็ยงั รอให้หาย ดีจนกระทัง่ ปาฏิหาริยเ์ กิดขึน้ ณ ตอนนีก้ ป็ ล่อยเพลงใหม่ลา่ สุด “ยืม” ออกเมือ่ ต้นเดือนสิงหาคม แนวทาง ร็อกซาวนด์ซนิ ธ์ฯ เสริมอลังการ แน่นภาคริทมึ่ และไลน์กตี าร์ที่ใส่ลกู เล่นได้อร่อยเหาะ ด้วยฝีมอื ขนาดนีท้ าง วงก็ไม่ได้เลือกจะไปไกลเกินตัว ยังคงแนวทางท�ำเองทุกกระบวนการอย่างทีว่ งอยากเป็น

V I A N O I S E กลางใจ อาลากุล (เจน) – ร้องน�ำ ณัฐวัฒน์ ลักขษร (ก่าย) - กีตาร์ พรหมสุเมธ โตวิจติ ร (ปลัก๊ ) - เบส จิรวัฒน์ เชิดศิริ (อ๊อฟ) – กลอง https://www.facebook.com/VIANOISETH วงป็อป พัง้ ก์รอ็ ก วงใหม่แกะกล่องด้วยกระบอกเสียงนักร้องน�ำหญิง เสียงดี กับผลงานแรกเพลงแรก No One Break Our Faith ได้ arana ร้อง น�ำสาววง Augustvth มาร่วมตะแบงให้บางท่อน ฟังออกมาได้ไหลลืน่ จังหวะ จะโคนกระชับ เนือ้ หาให้กำ� ลังใจ น่าสนใจมากส�ำหรับวงนี้ วงประเภทนีข้ อง ก�ำลังขาดซะด้วย ท�ำกันออกมาเยอะ ๆ เลยจ่ะ มีคนรอฟังรอให้การสนับสนุน เพียบ นีร่ บี สมัครเป็นแฟนคลับปักหมุดรอเลยวะ ฮาฮา

S H O U T K E E P E R Gita - ร้องน�ำ Awank – กีตาร์ Benk - กีตาร์ Kake – เบส Mesin Rusak - กลอง https://www.facebook.com/shoutkeepersHC ไหน ๆ ก็รอ้ งน�ำหญิงล้วนละเอาอีกสักวง วงนีม้ าจากเบกาซี ประเทศอินโดนีเชีย (ไม่ไกลจากจาการ์ตา) ฟอร์มวงเมือ่ ปี 2012 ก็ตามสไตล์วยั รุน่ ทีช่ นื่ ชอบวง Hatebleed, Wall Of Jericho, Terror ท�ำวงแก้กระสัย ซึง่ ซีนดนตรีทอี่ นิ โดฯ มีวงสายนี้ให้เพียบ (ทีจ่ ริงก็ทกุ แนว) เลือกฟังกันไม่หวาดไหวตาม ประชากรร้อยล้าน การมีฟอ้ นท์เกิรล์ ก็พอได้เปรียบตรงที่ใคร ๆ ก็ชอบดูเพราะมันน่าสนใจ เห็นผูห้ ญิงมายืนตะแบงท่ามกลางชายฉกรรจ์นบั ร้อย ทางวงเพิง่ ปล่อยงานมินอิ ลั บัม้ 4 เพลงออกมา โดยมีเพลง Blood Stage เป็นซิงเกิล้ ชูโรง ลองเสิรซ์ หามาฟัง ดุดนั ใช้ได้ ไม่ถงึ กับแย่และก็ยงั ดีกว่าซีนบ้านเรา 024

- BLAST

magazine -

สนใจอยากลงโปรโมทวง ไม่จำ� กัดแนวทาง จะเดีย่ ว จะเป็นวง มาได้หมด ส่งอีเมลมาได้ท ี่ leesic@gmail.com ยินดีนำ� เสนอเผยแพร่ให้รจู้ กั กว้างมากขึน้

B R A B R A N N E R

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine - 025


BLAST INTERVIEW

BLAST TEAM

ดนตรีแนวนี้อยู่แค่ 3-4 วงเอง แต่ว่า ทีแ่ น่ ๆ ประเทศฮ่องกงมีซนี ดนตรีที่ เมทัลอยูแ่ ล้ว เรามีวงทีเ่ ล่นแนว Metal หลายวงเลยครับ ผมว่าปี 2017 นีม้ นั เยีย่ มมากเพราะว่า หลายวงในแวดวง ดนตรีเล็ก ๆ ของเราปล่อยผลงาน ออกมากันมากมายเลย ไม่วา่ จะเป็น CD, vinyl หรือ เทป วงเหล่านีส้ ดุ ยอดทัง้ นัน้ ผมอยากให้พวกคุณลอง เข้าไปติดตามข่าวสารพวกเขาในเว็บ UniteAsia.org ดูครับ

พวกคุณมาฟอร์มวงร่วมกันได้ อย่างไร? ไอเดียที่พวกคุณตั้งใจจะก่อ ตั้งวง Dagger มีมาตั้งแต่พวกคุณยัง เป็นสมาชิกวงเก่ากันอยู่รึเปล่า? Riz: จริง ๆ แล้วผมชอบเล่น กีตาร์มากกว่านะครับ ตอนทีผ่ มอยูว่ ง King Ly Chee ระหว่างปี 1999-2009 ผมทัง้ ร้องน�ำด้วยและเล่นกีตาร์ดว้ ย แต่ หลังจากปี 2009 เป็นต้นมาผมก็ได้แต่ ร้องน�ำอย่างเดียว ผมรูส้ กึ คิดถึงการ เล่นกีตาร์ในวงน่ะครับ เมือ่ ประมาณ เดือนมกราคมปีนผี้ มเลยมีไอเดียทีจ่ ะ ช่วยแนะน�ำตัวกันหน่อยครับ สร้างวงใหม่ ผมคุยกับ Ivan ซึง่ เป็นมือ Riz: พวกเราวง Dagger จาก กลองของวง King Ly Chee ผมนับถือ ฮ่องกง เล่นดนตรีแนว MetallicHardcore ครับ เราก็ไม่เชิงว่าเป็นหน้า เขาเหมือนน้อง ผมบอกกับเขาว่าอยาก ใหม่ในวงการนีเ้ ท่าไหร่ เพราะสมาชิก สร้างวงใหม่ทแี่ ตกต่างจาก King Ly วงเราต่างมีผลงานเพลงในแวดวงดนตรี Chee ซึง่ วงใหม่ผมอยากจะโฟกัสที่ ทีผ่ ฟู้ งั เพลงแนวนีน้ า่ จะเคยได้ยนิ กันมา ท่อนริฟฟ์กตี าร์ทหี่ นักหน่วงและโหดกว่า ก่อนครับ ตัวผมเองเคยเป็นนักร้องน�ำ เดิม ส่วน Do มือเบสของเรา เขาเคย ให้กบั วง King Ly Chee ซึง่ เราเคยทัวร์ ตีกลองให้กบั หลายวงในแวดวงดนตรี hardcore ในฮ่องกงมาก่อน เช่น ในแถบเอเชียและได้มโี อกาสไปเล่น คอนเสิรต์ ในกรุงเทพฯมาสอง-สามครัง้ FightxClub และ Yau Dong ส่วนนัก ร้องของเรา James เขาพึง่ ย้ายมาจาก แล้ว ผมก็ยงั ท�ำเว็บไซต์ UniteAsia. org ด้วยครับ วง Dagger แตกต่างจาก ประเทศสหรัฐอเมริกาเมือ่ ปีทแี่ ล้วเอง วง King Ly Chee อย่างมากครับ พวก ครับ เขามีอาชีพผลิตเบียร์เป็นกิจวัตร เราอยากเล่นเพลงแนวฮาร์ดคอร์ทหี่ นัก ในขณะทีส่ มาชิกทีเ่ หลือของวงเป็น Straight Edge ทัง้ หมดครับ ฮ่า ๆ หลัง หน่วงโดยการเขียนริฟฟ์กตี าร์หนัก ๆ ออกมาในเพลง เราพยายามทีจ่ ะท�ำให้ จากเรารวมตัวกันได้ เราก็เริม่ เขียน เพลงทันทีตงั้ แต่เดือนมกราคม เรา เพลงออกมาแตกต่างจากคนอืน่ ไม่วา่ เขียนเพลงและอัดเพลงกัน จนรวบรวม จะเป็นท่อนริฟฟ์กตี าร์และโครงสร้าง ของแต่ละเพลง ถ้าหากพวกคุณชอบวง ได้เป็น EP ทีอ่ อกมาวางขายเมือ่ เดือน Turmoil, Snapcase, Converge, Cave พฤษภาคมทีผ่ า่ นมาครับ เราท�ำทุก อย่างภายในระยะเวลาแค่ 6 เดือน In หรือวงใหม่ ๆ เช่น Incendiary, เท่านัน้ เอง Foundation ผมคิดว่าพวกคุณน่าจะ ชอบเพลงวงของเรานะครับ สมาชิกวงทีห่ ลายคนคงคุน้ หน้าตาของชายวัยกลางคนชาวฮ่องกง เชือ้ ชาติปากีสถานทีช่ อื่ RIZ คนนี้ เขา คือผูน้ ำ� วง King Ly Chee ฮาร์ดคอร์วง แรกของเกาะฮ่องกงซึง่ ผมเคยจัดงานให้ มาเล่นทีก่ รุงเทพฯ 4 ครัง้ ตัง้ แต่สบิ กว่า ปีทแี่ ล้วจนปัจจุบนั นีเ้ หมือนทางวง KLC ได้ยตุ บิ ทบาทลงไป แล้วเขาก็อยากท�ำวง ทีส่ นองตัวตนให้มากกว่านีด้ ว้ ยวงใหม่ที่ อยากจะแนะน�ำให้รจู้ กั

026

- BLAST

magazine -

รบกวนบอกหน่อยครับว่าวง Dagger แตกต่างจากวงเก่าของพวกคุณยัง ไงบ้าง? Riz: ผมอยากเล่นสไตล์ทแี่ ตก ต่างจาก King Ly Chee ครับ เนือ่ งจาก สไตล์ทผี่ มเคยเล่นจะเป็น Hardcore ที่ เป็นเหมือนแบบฉบับเดิม ตรงไปตรงมา มีเมโลดี้ในดนตรีเยอะก็จริง แต่สำ� หรับ Dagger ผมจะโฟกัสมากขึน้ ทีท่ อ่ นริฟฟ์ ของกีตาร์ ผมอยากท�ำให้มนั หนักหน่วง และดุดนั มากขึน้ ตอนทีผ่ ฟู้ งั ได้ยนิ เพลงของพวกเรา เขาเซอร์ไพรซ์กนั พอ สมควรเลยล่ะครับ ฮ่า ๆ จริง ๆ แล้ว ตอนทีผ่ มโตขึน้ มาในฮ่องกง เราไม่มี ดนตรี Hardcore นะ เพราะฉะนัน้ พวก เราโตมากับการฟังเพลงแนว Metal น่ะครับ ผมก็เคยเป็นชาวเมทัลมาก่อน แล้วค่อยหันมาฟังแนวเพลง Hardcore Punk ทีหลัง น่าจะช่วงทีผ่ มอายุ ประมาณ 17 ปี นีจ่ งึ เป็นไอเดียทีม่ า ของวง Dagger ครับ ผมอยากรวบรวม ท่อนกีตาร์รฟิ ฟ์แนว Metal หนัก ๆ เข้า กับเนือ้ หาเพลงในแนว Hardcore ทีพ่ ดู ถึงสังคมในปัจจุบนั ว่าเกิดอะไรขึน้ กับ สังคมของเราบ้าง เล่าให้เราฟังหน่อยว่าสถานการณ์ แวดวงดนตรีในฮ่องกงเป็นอย่างไร บ้าง? ซีนดนตรี underground ยัง ครึกครื้นอยู่รึเปล่า ถ้าเปรียบกับเมื่อ สองปีที่แล้ว? Riz: ผมว่าฮ่องกงเป็นประเทศ ทีน่ า่ สนใจนะครับ อีกอย่างผมไม่คดิ ว่าฮ่องกงเป็นประเทศทีเ่ คยมีซนี ดนตรี Hardcore เท่าไหร่เพราะเรามีวงทีเ่ ล่น

เมื่อประมาณเดือนสองเดือนที่ผ่าน มา วง Dagger ได้ปล่อย EP แรกให้ พวกเราออกมาได้ฟังกัน ช่วยเล่าให้ ฟังหน่อยว่า EP นี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ อะไรครับ? และแฟนเพลงหรือผู้ฟังจะ สามารถคาดหวังอะไรได้บ้างจากการ ฟัง EP นี้? อีกทั้งการได้ท�ำงานร่วม กับ Taylor Young เป็นอย่างไรบ้าง? Riz: ใช่ครับ EP เรา ออกมาวาง จ�ำหน่ายเมือ่ เดือนพฤษภาคมครับ หลังจากนัน้ สองอาทิตย์เราก็ได้ปล่อย MV แรกของเราออกมาเหมือนกัน เพลงทีเ่ ราท�ำออกมาเป็น MV ชือ่ ว่า “All Hope is Gone” มีเนือ้ หาเกีย่ วกับ การปลิดชีพตนเองในหมูว่ ยั รุน่ ส่วนตัว EP เราทัง้ 4 คนเขียนร่วมกันในช่วง 4 เดือนแรกหลังจากเรารวมตัวกัน เรา รูส้ กึ มัน่ ใจกับแต่ละเพลงทีเ่ ราอัดมาก ครับ เราอยากให้ทกุ คนได้ฟงั และสนุก ไปกับมัน ตอนทีเ่ ราก�ำลังจะรวบรวม เพลงออกมาเป็น EP ก็มคี นแนะน�ำ เราให้ได้ทำ� งานร่วมกับ Taylor Young ( อดีต Nails, Disgrace, Twitching Tongues, Eyes of the Lord) ทีส่ ตูดโิ อ ของเขา ถ้าคุณเคยได้ฟงั เพลงทีเ่ ขา โปรดิวซ์รวมไปถึงวงทีเ่ ขาเคยเล่นด้วย คุณจะเห็นได้เลยว่าเขาจะช่วยให้เพลง ของคุณออกมาดีขนึ้ อีกเยอะเลยครับ เขาท�ำให้เพลงของเราฟังออกมาดีมาก ผมไม่เคยภูมใิ จกับเพลงของวงตนเอง ขนาดนีเ้ ลย การท�ำงานร่วมกับเขามัน ง่ายมากครับ เขาเข้าใจดีวา่ เราต้องการ อะไร เราแทบไม่ตอ้ งอธิบายอะไรให้ เขาฟังเลย

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine - 027


OLD RECORD STILL ALIVE

ภายหลังจากออกอัลบัม้ นี้ไปได้ ไม่นานนักทางวงก็ได้ขอทาง Warner ต้นสังกัดจัดคอนเสิรต์ เพือ่ พบปะกับ แฟนเพลง แต่ในท้ายทีส่ ดุ แล้วมันก็ไม่ ได้เป็นดังทีพ่ วกเขาหวังเอาไว้ อย่างไร ก็ดีในทีส่ ดุ แล้วทางวงก็ตดั สินใจจัด กันเองในชือ่ Return To the Nature Concert โดยใช้สถานทีข่ องสถาบัน การศึกษา AUA ย่านราชด�าริ ในช่วง วันที ่ 10 พฤษภาคม 2540 (น่าเสียดาย ทีผ่ มเองในวันนัน้ ติดสอบพอดีกเ็ ลย พลาดไป) แน่นอนว่าคอนเสิรต์ ในวันนัน้ ประสบความส�าเร็จได้อย่างงดงาม และ คอนเสิรต์ ในครัง้ นัน้ ยังได้มกี ารบันทึก เสียงและบันทึกเป็นวิดโี อเก็บเอาไว้ ซึง่ ภายหลังก็ได้มกี ารน�ามาออกเป็นอัลบัม้ บันทึกการแสดงสด Return To the Nature Concert ทัง้ ในรูปแบบซีดแี ละ เทปคาสเส็ตอีกด้วย และในช่วงปลายปี 2540 นีเ้ อง ทางวงก็ได้ตดั สินใจปล่อยอัลบัม้ รวม เพลงเนือ่ งในโอกาสครบรอบ 5 ปี โดย ได้ออกอัลบัม้ รวมเพลง “ใต้ตะวัน เดียวกัน” ที่ในชุดแรกเป็นงานรวม เพลงบัลลาด ส่วนอัลบัม้ ที ่ 2 นีเ่ ป็นงาน รวมเพลงหนักหน่วงของทางวง และ อัลบัม้ ที ่ 3 ก็คอื งานบันทึกการแสดงสด ที ่ AUA นัน่ เอง นอกจากนีแ้ ล้วก็ยงั ได้มี การวางจ�าหน่ายวิดโี อบันทึกการแสดง สด Return To The Nature Concert รวมไปถึงงานรวมเพลงเดโมในชือ่ Harsh & Raw อีก 2 ชุดและอัลบัม้ Talking To You ทีเ่ ป็นงานรวมเพลง บันทึกการออกอากาศทางสถานีวทิ ยุ ต่าง ๆ ซึง่ ทัง้ อัลบัม้ นีถ้ กู ผลิตขึน้ มาใน ฟอร์แมทของเทปคาสเซ็ทเพียงอย่าง เดียว ครัน้ ภายหลังจากงานคอนเสิรต์ 028

- BLAST

magazine -

(ตอนจบ)

แล้วสถานการณ์โดยรวมของทางวง ก็ได้เข้าสูช่ ว่ งระยะพักผ่อนอย่างเต็มตัว อย่างไรก็ดที าง “สมศักดิ ์ แก้วทิตย์” เองก็ได้ตดั สินใจสร้างสตูดโิ อขึน้ ทีบ่ า้ น ของตนเอง หลังจากนัน้ ก็ได้นา� เพลง ที่ไม่เข้าพวกกับเพลงของ “ดอนผีบนิ ” มาบันทึกเสียงจนในทีส่ ดุ ก็กลายเป็นผล งานชุด Doomed Day 1: วันล่มสลาย พร้อมกันนีก้ ไ็ ด้ทา� การตัง้ สังกัด Day One Records ขึน้ มาอย่างเป็นทางการ และมีผลงานอัลบัม้ นีเ้ ป็นงานเพลงชุด แรกของสังกัด โดยอัลบัม้ ชุดนี้ได้ออก วางจ�าหน่ายกับทาง BBM ในช่วงวันที ่ 7 เมษายน 2541 นัน่ เอง อย่างไรก็ดีในช่วงราวปลายปี เดียวกันนัน้ เอง “สัญญาณเยือน” ผล งานสตูดโิ ออัลบัม้ ล�าดับที ่ 5 ของทางวง ก็ได้ออกวางจ�าหน่ายกับทางสังกัด In & On Music ท่ามกลางความขัดแย้งที่ คุกรุน่ ทีเ่ กิดขึน้ จากการท�างานของ สมาชิกภายในวง โดยแกนหลักของ การท�างานชุดนีก้ ลับกลายเป็น “สมบัติ แก้วทิตย์” ทีร่ บั หน้าทีท่ งั้ แต่งเนือ้ ร้อง และท�านอง (ใช้นามแฝงว่า “คนภูไพร”) รวมไปถึงเล่นกีตาร์ ขณะทีส่ มาชิกคน อืน่ ๆ ก็ทา� หน้าทีเ่ ฉพาะในส่วนของตน ไปเท่านัน้ ว่ากันว่าซาวด์โดยรวมของ

ทางวงนัน้ มีความเป็นโปรเกรสซีฟ เมทัล มากขึน้ อีกทัง้ ระบบการบันทึกเสียงก็ ไม่คอ่ ยจะสมบูรณ์แบบเท่าใดนัก แต่ ถึงกระนัน้ เพลงบรรเลงอย่าง “ใด ใด ไร้ยนื ยง” ก็ยงั สามารถก้าวขึน้ ไปคว้า รางวัลสีสนั อวอร์ดส์ในสาขา “เพลง บรรเลงยอดเยีย่ ม” ประจ�าปี 2542 ได้ อีกครัง้ หนึง่ จะบอกว่าทางวงโชคดีหรือเปล่า ก็ไม่ทราบได้เมือ่ ทาง “สมคิด แก้วทิตย์” ได้มโี อกาสพูดคุยกับสังกัดดนตรียกั ษ์ ใหญ่อย่างแกรมมี ่ และด้วยความคิด ทีว่ า่ ทางวงนัน้ อยากจะน�าพาเพลง ของ “ดอนผีบนิ ” ก้าวไปสู่ในวงกว้าง ขึน้ กว่าทีเ่ คยเป็นมา จนในทีส่ ดุ วันที ่ 6 ตุลาคม 2543 “ปรากฏการณ์ ปรากฏ กาย” งานเพลงล�าดับที ่ 6 ก็ได้ออกวาง จ�าหน่ายกับทางสังกัด Giraffe Records ซึง่ ถือเป็นค่ายลูกข่ายของ Grammy ที่ มี “พีด่ ี้ นิตพิ งษ์ ห่อนาค” นัง่ แท่นเป็น ผูบ้ ริหารใหญ่ ในส่วนของการท�างานใน ครัง้ นีก้ ย็ งั คงอยู่ในก�ามือของ “สมบัติ แก้วทิตย์” เหมือนเช่นเคย เพียงแต่วา่ เมือ่ เสร็จจากขัน้ ตอนการบันทึกเสียง แล้วทางทีมงานของต้นสังกัดก็จะน�า ไปจัดการเป็นล�าดับถัดไป อย่างไรก็ ดีในท้ายสุดแล้วฟีดแบ๊คที่ได้รบั กลับ

มาก็ยงั คงเป็นไปในแบบเดิม ๆ ซึง่ นัน่ ก็คอื เพลงของ “ดอนผีบนิ ” นัน้ ยัง ไม่สามารถก้าวขึน้ ไปอยู่ในวงกว้าง ได้ อย่างไรก็ดที างวงก็ยงั ได้โอกาส ท�ามิวสิควิดโี อออกฉายออนแอร์ตาม รายการทีวเี ป็นครัง้ แรกในชีวติ และด้วยความทีก่ ารท�างานเพลง ในระหว่างอัลบัม้ ที ่ 5-6 นัน้ สมาชิก ภายในวงมีมมุ มองที่ไม่ตรงกันนัก มัน ก็ได้สง่ ผลให้แต่ละคนแยกย้ายกันไป ท�างานของตนเอง โดยทาง “สมบัติ แก้วทิตย์” นัน้ ก็มงุ่ เดินหน้าท�างานด้าน อนุรกั ษ์ธรรมชาติและท�างานด้านศิลปะ ไปด้วย จนกระทัง่ ในราวปลายปี 2546 ทางด้าน “สมศักดิ ์ แก้วทิตย์” ก็ได้ ฤกษ์ออกวางจ�าหน่ายผลงานล�าดับที่ 2 ของโปรเจ็คท์ Doomed Day ในชือ่ ว่า “Doomed Day II : สีทอง ฤาจะ ผ่องอ�าไพ” ซึง่ อัลบัม้ ดังกล่าวนี้ได้เพือ่ น นักดนตรีมาช่วยหลายคน อีกทัง้ ยังมี การน�าเครือ่ งดนตรีพนื้ เมืองเข้ามาผสม ผสานด้วย และจากความพีคของอัลบัม้ ชุดนีท้ า� ให้เจ้าตัวได้ขนึ้ ปกนิตยสารสีสนั อีกทัง้ ตัวอัลบัม้ ยังมีชอื่ เข้าชิงรางวัลอีก ด้วย นอกจากนีแ้ ล้วเขายังได้ผนั ตัวเอง ไปเป็นผูจ้ ดั งานคอนเสิรต์ ใหญ่ของทาง ภาคเหนือในชือ่ ของ Rock Fest 2002 และ 2003 รวมไปถึงงานคอนเสิรต์ Metal Madness 2004 ในช่วงเวลาดังกล่าวนีท้ าง “สมบัต ิ แก้วทิตย์” เองในช่วงนีเ้ ขาก็ ไม่ได้มกี ารเคลือ่ นไหวอะไรทัง้ นัน้ ส่วน ทาง “สมคิด” นักร้องน�าของวงนัน้ ใน ช่วงปี 2549 เขาก็ได้ปล่อยเดินหน้าท�า ไซด์โปรเจ็คท์ภายใต้ชอื่ ของ Thro My Window อย่างเต็มตัวและในทีส่ ดุ อัลบัม้ Traveling Into The Empty ก็ได้ออกวางจ�าหน่ายกับทางสังกัด Day ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


METALMANIAC

One Records ซึง่ ผลงานอัลบัม้ ชุดนี้ ก็ยงั ได้ถกู เสนอชือ่ เข้าชิงรางวัลสีสนั อวอร์ดส์ประจ�าปีนนั้ ถึง 2 สาขา และ ในปีเดียวกันทาง “สมศักดิ”์ ก็ได้ รวบรวมเพือ่ นพ้องท�าวงดนตรี โดย ย่อชือ่ วง Doomed Day เหลือเพียง “+DD-” พร้อมเดินหน้าเข้าสตูดโิ อจน ในทีส่ ดุ “คนละขัว้ ชัว่ กับดี” ก็ได้ออก วางจ�าหน่ายในช่วงวันที ่ 8 สิงหาคม 2549 ในสีเสือ้ ของ Day One Records ในช่วงปี 2550 หลังจากทีท่ าง “สมศักดิ”์ ได้มโี อกาสพูดคุยกับแฟน เพลงทีย่ งั ต้องการสะสมผลงานเก่า ๆ ของทางวงก็เลยตัดสินใจรีอสิ ชูสอ์ ลั บัม้ “โลกมืด” และ “เส้นทางสายมรณะ” อีกครัง้ ในรูปแบบของซีด ี นอกจากนีก้ ็ ยังได้นา� บันทึกการแสดงสดของทางวง มาออกใหม่ในรูปแบบของวีซดี โี ดยใช้ ชือ่ ว่า Live At AUA เพือ่ ให้แฟนเพลงได้ ตามเก็บสะสมเป็นคอลเล็คชัน่ ส่วนตัว กันอีกครัง้ หนึง่ ล่วงเลยเข้าสูป่ ลายปี 2551 ทัง้ สามสมาชิกสบโอกาสได้กลับมาแจมดน ตรีกนั อีกครัง้ ที ่ Day Ones Records และจากจุดนีม้ นั ก็ทา� ให้เริม่ มองเห็น ภาพรวมของอัลบัม้ ใหม่ทเี่ ริม่ จะชัดเจน ขึน้ และคาดกันว่างานใหม่ชดุ นีน้ า่ จะ เสร็จสิน้ ได้ในช่วงเมษายนปี 2552 โดย จะใช้ชอื่ ว่า “ดินแดนทิพย์” แต่แล้ว กลายกลับเป็นว่าทุกอย่างจ�าต้องเลือ่ น ออกไปก่อน ทัง้ นีก้ เ็ นือ่ งมาจากว่าหน้าที่ การงานของแต่ละคน อย่างไรก็ดยี งั มี การส่งเพลงแก้ไขกันไปมาระหว่าง “สมบัต”ิ และ “สมศักดิ”์ อยูเ่ ป็น ระยะ จนย่างเข้าปี 2553 ทางกลุม่ อนุรกั ษ์ธรรมชาติจะจัดคอนเสิรต์ เพือ่

หารายได้ให้กบั ศูนย์ปลุกจิตส�านึกสิง่ แวดล้อมภูสนั ตะวันลับฟ้าในช่วงวันที่ 30 มกราคม 2553 ในชือ่ งานว่า “สู่ น�า้ ฟ้า ป่า ดินดาว” ที ่ AUA และวง “ดอนผีบนิ ” ก็ขนึ้ แสดงสดในงานนีด้ ว้ ย แน่นอนว่าด้วยการทีส่ มาชิกแต่ละคน ต่างกระจัดกระจายกันไป และไม่เคย ได้ซอ้ มกันแบบจริงจังมากว่า 12 ปี จึง ท�าให้การซักซ้อมในเวลานัน้ มีเวลาน้อย เกินไป และผลทีอ่ อกมาก็คอื ต่างคน ต่างเล่นหลุดไปคนละทิศทาง จึงท�าให้ แผนการทีค่ ดิ จะบันทึกเป็นอัลบัม้ แสดง สดนัน้ จ�าต้องยกเลิกกันไป ข้ามเข้าสูป่ ี 2555 ก็มขี า่ ว เล็ดลอดออกมาจากทางเฟซบุค๊ ของ “สมคิด” ว่าอัลบัม้ Utopia ทีถ่ อื เป็น ผลงานใหม่ของทางวงนัน้ อยู่ในขัน้ ตอน การบันทึกเสียงแล้ว จนกระทัง่ ล่วงเลย ย่างก้าวเข้าสูป่ ี 2556 ผลงานชุดนีจ้ งึ เสร็จสมบูรณ์ และได้มกี ารเปิดให้แฟน เพลงได้จบั จองโดยการโอนเงิน 3,500 บ.เพียงช่องทางเดียวเท่านัน้ ซึง่ ภาย ในแพ๊คเกจของอัลบัม้ ชุดนีก้ ป็ ระกอบ ไปด้วย ซีด ี 2 แผ่น, กระเป๋า, เสือ้ ยืด และโปสเตอร์ โดยงานทัง้ หมดนี้ อยูภ่ ายใต้โครงการอนุรกั ษ์ธรรมชาติ ภูสนั ตะวันลับฟ้า ส�าหรับงานเพลงชุด นีค้ นท�างานหลักก็ยงั คงเป็น “สมบัติ แก้วทิตย์” เหมือนเช่นเคย ส�าหรับ เพลงทัง้ หมดในอัลบัม้ ชุดนีก้ ม็ ที งั้ สิน้ 17 เพลงด้วยกัน มีเพลงร้องเพียง 4 เพลง (1 เพลงเป็นเพลงเก่าตัง้ แต่สมัย ก่อนอัลบัม้ “โลกมืด”) ส่วนทีเ่ หลือเป็น เพลงบรรเลงและซาวด์เอฟเฟ็กต์ หลังจากปล่อยอัลบัม้ Utopia ออกไปได้ไม่นานนักทาง “สมบัต”ิ

DONPHEEBIN D I S C O G R A P H Y โลกมืด เส้นทางสายมรณะ อุบาวท์ อุบัติ สองฟากฝั่ง สัญญาณเยือน ปรากฏการณ์ ปรากฏกาย Utopia Part I Utopia Part II

สังกัด Roxx Records สังกัด Roxx Records สังกัด DPB Music Productions สังกัด Warner Music Thailand สังกัด In & On Music สังกัด Giraffe Records สังกัด DPB Music Productions สังกัด DPB Music Productions

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

2536 2537 2538 2540 2541 2543 2556 2559

ก็ได้เปิดให้มกี ารสัง่ จองอัลบัม้ เพลง บรรเลง 30 ปีดอนผีบนิ ชุด Return to The Nature Part II ทีถ่ อื ได้วา่ เป็น งานเพลงบรรเลงกีตาร์ลว้ น ๆ โดย ท�าออกมาเป็นอัลบัม้ ซีดแี ผ่นคูท่ มี่ ที งั้ การน�าเพลงบรรเลงจากอัลบัม้ เก่าของ ทางวงมาผสมผสานกับเพลงทีบ่ นั ทึก ใหม่ (จากเดโมเก่าของทางวง) ใน ราคาชุดละ 1,800 บ. (พร้อมเสือ้ ยืด 1 ตัว) ครัน้ พอปลายปีเดียวกันนัน้ เอง ก็มขี า่ วแจ้งมาว่ามีการเปิดให้จบั จอง ผลงานอัลบัม้ “Utopia: แสงสอง สู่ พันธนาการ” กันต่อในทันที เวลาผ่านไปกว่า 2 ปีอลั บัม้ Utopia II ทีเ่ ปิดให้สงั่ จองไปตัง้ แต่ ปี 2556 ก็ยงั ไม่มที ที า่ ว่าจะเสร็จสิน้ ลง เสียที มกราคมปี 2559 ทาง “สมศักดิ์ แก้วทิตย์” ได้ออกมาประกาศผ่าน เฟซบุค๊ ของตนเองว่าเขานัน้ ได้ยตุ กิ าร ท�างานภายใต้ชอื่ “ดอนผีบนิ ” อย่าง เป็นทางการแล้ว โดยทาง “สมบัต”ิ จะ รับหน้าทีต่ รงนีต้ อ่ ไปทัง้ ในรูปแบบของ ตัวงานและการจัดการ เพราะตนเอง เห็นว่าในช่วงระยะหลังมานีม้ กี ารน�าชือ่ ของวงไปใช้ในกิจกรรมหลายอย่าง จน รูส้ กึ ได้วา่ ไม่มคี วามเป็นวงดนตรีเหลือ อยูแ่ ล้ว และหลังจากรอคอยมานาน เมษายนปีเดียวกันอัลบัม้ Utopia II ใน รูปแบบบ็อกเซ็ตก็ได้เสร็จสิน้ สมบูรณ์ ลงเสียที นอกจากนีแ้ ล้วทาง “สมบัต ิ แก้ว ทิตย์” ยังได้ออกมาเผยอีกว่าอัลบัม้ Utopia ทัง้ หมดจะมี 4 Part ด้วยกัน ซึง่ ในส่วนทีเ่ หลือนัน้ สามารถเข้าไป อัปเดตทีเ่ ฟซบุค๊ Sombat Kaewtid Donpheebin เท่านัน้

ส่วนตัวผมแล้วอัลบัม้ สุดโปรด ของ “ดอนผีบนิ ” นีต่ อ้ งบอกเลยว่า เลือกยากอยูเ่ หมือนกัน เพราะทัง้ อัลบัม้ “โลกมืด” และ “เส้นทางสายมรณะ” ต่างก็เป็นงานเพลงทีม่ คี วามโดดเด่นใน ระดับทีแ่ ทบไม่ตา่ งกันเลย แต่หลังจาก ชัง่ ใจชนิดต้องเลือกแล้วก็ขอฟันธงไปที่ อัลบัม้ “โลกมืด” ก็แล้วกันด้วยเหตุผล ทีว่ า่ อัลบัม้ นีม้ คี วามหลากหลายกว่าทัง้ ในแง่ของเพลงเร็วและเพลงบัลลาด อีกจุดหนึง่ ก็คอื อัลบัม้ “เส้นทางสาย มรณะ” นัน้ มีเพลงอยู่ในอัตราทีน่ อ้ ย กว่าด้วย เพียงแค่ “ต่างคน” กับ “โลกันต์โลกา” ทีถ่ กู วางเป็นสองแทร็ค แรกก็ทา� เอาผมต้องตกอยู่ในภวังค์เข้า ให้แล้ว ด้วยแนวเพลงในแบบเฮฟวี่ เมทัลพันธุแ์ ท้เสียงร้องของ “สมคิด” กร้าวดุสอดรับเข้ากับท่วงท�านองทีห่ นัก แน่นชวนโยกหัวดีชะมัด ขณะที ่ “ผ่าน วัน” ก็ถอื เป็นอีกเพลงทีฟ่ งั แล้วโดนใจ เข้าเต็ม ๆ ดนตรีมที งั้ ท่อนดุดนั และ ผ่อนคลาย พาร์ตโซโล่กตี าร์ไหลลืน่ ยิง่ ท่อนฮุคนีโ่ ดนใจเป็นทีส่ ดุ ครับ ส่วน “ลีลาลวง” กับ “ไกลบ้าน” นีแ่ ม้จะไม่ ดุดนั อะไรนักแต่กจ็ ดั ได้วา่ น่าฟังไม่นอ้ ย ไปกว่ากันเลย และทิง้ ท้ายกับ “ท�าไม” เพลงท้ายสุดของอัลบัม้ ที่ในยุคนัน้ ถูก มองว่ามีความคล้ายคลึงกับเพลง One ของ Metallica อยูไ่ ม่นอ้ ย ส่วนตัวผม ฟังแล้วโอเคว่าอาจฟังแล้วชวนคิดไปได้ อยูบ่ า้ ง แต่ถา้ ถึงขนาดว่าไปก๊อปปีม้ า นัน้ คงไม่ใช่แน่ จุดเด่นของเพลงนีท้ ผี่ ม แฮปปีอ้ ยูม่ ากก็นา่ จะตกอยูท่ ที่ อ่ นหนัก หน่วงทีฟ่ งั ดุดนั ชวนโยกหัวดีชะมัด จัด ได้วา่ เป็นอีกเพลงทีถ่ กู ใจอย่างแท้จริง เลยทีเดียว

DONPHEEBIN L I V E A L B U M Return To The Nature Concert

สังกัด DPB Music Productions 2540

DONPHEEBIN C O M P I L AT I O N A L B U M

ใต้ตะวันเดียวกัน (Ballads Collection) สังกัด DPB Music Productions 2540 Speed Collection สังกัด DPB Music Productions 2540 Harsh & Raw (รวมเดโม 2 ชุด) สังกัด DPB Music Productions 2540 Talking to You (รวมบันทึกทางสถานีวิทยุ) สังกัด DPB Music Productions 2540 - BLAST

magazine - 029


สีเ่ พลงจากอีพ ี Hardline กับอีกสามเพลงจากอีพ ี The Wrath Of God และ Stop Talking, Start Revenging อีก หนึง่ เพลงจากอัลบัม้ เพลงรวม นัน่ คือทัง้ หมดที ่ Vegan Reich ใช้ป ี 1987-1992, เพือ่ เคลือ่ นไหวทางความคิดและความ เชือ่ จนกลายเป็นหนึง่ ในวงทีส่ ร้างข้อถกเถียงถึงความสุดโต่งไว้อย่างมากในประวัตศิ าสตร์ฮาร์ดคอร์ และการสถาปนา ความเชือ่ ในแบบของตนเองทีแ่ ทนตัวว่า ‘ฮาร์ดไลน์’ และเชือ่ ในการเข้าปะทะทางความคิดมากกว่าการใช้ภาษาพูดให้ คิดอย่างทีเ่ ป็นวัตรของวงดนตรีทเี่ คลือ่ นไหวทางสังคมและการเมือง วงจาก Laguna Beach, California คือหนึง่ ใน วงทีป่ ลุกความคลัง่ ด้วยเนือ้ หาและมีลามไปสูพ่ ฤติกรรมก้าวร้าวเกเรทีส่ ดุ วงหนึง่ มุสลิมผูง้ ดเนือ้ สัตว์, Sean Muttaqi มือกีตาร์ นักร้องและแกนน�าของ Vegan Reich (ออกเสียงว่า วี-แกน-ไร้ก)เกิดและโตในทางตอนใต้ของรัฐ เขาเริม่ สมาคมกับเครือข่ายนักเคลือ่ นไหวทางสังคมตัง้ แต่กลางยุค 80’s ลองจินตนาการภาพพัง้ ก์ถอื ป้ายรณรงค์แจกใบปลิว และประกาศผ่านโทรโข่งว่าพวกเขาคิดอย่างไรกับสังคมบริโภคนิยมในยุคก่อนทีโ่ ลกจะมีเคเบิล้ ทีวหี รืออินเตอร์เน็ตครับ Muttaqi ผ่านกิจกรรมเหล่านัน้ มาพร้อม ๆ กันในเวลาทีเ่ ขาเริม่ สนใจดนตรี Muttaqi อ่านเยอะ เขียนเยอะเพือ่ เผยแพร่ แนวคิดแบบนัน้ ‘ผมเริม่ สนใจพัง้ ก์ ร็อกเมือ่ ปี 1979 ตอนนัน้ ครอบครัวผมย้ายมาอยู่ในละแวกสลัมและสังคมที่ไม่ดนี กั เป็นชุมชนของคนหาเช้ากินค�า่ ผมมีชวี ติ เหมือนวัยรุน่ จากบ้านทีฐ่ านะยากจน เล่นสเก็ตเปิดเพลงฟังด้วยกัน จนเริม่ พูด คุยแล้วผมก็สนใจในความคิดขบถอย่างพัง้ ก์ ถ้าคุณเข้าใจพัง้ ก์ ร็อกดีพอ คุณจะทราบว่ามันมาจากผูค้ นทีม่ ชี วี ติ แร้นแค้น มันเป็นเพลงของคนอีกระดับของสังคม สิง่ ทีช่ นชัน้ กลางมาสนใจพัง้ ก์ ร็อกเกิดทีหลังและตามมาจากกระแสของสือ่ ใน ยุคนัน้ MTV ไม่ใช่มติ รแท้ของพัง้ ก์ ชนชัน้ กลางอยู่ในสภาพแวดล้อมทีส่ บายกว่า พัง้ ก์ของพวกเขาเหมือนกับการแหวก 030

- BLAST

magazine -

คอกท�าตัวถ่อยเถือ่ นเพราะดูแตกต่าง ผมรูจ้ กั เพือ่ นรุน่ โตกว่าคนหนึง่ ทีอ่ อกจากแก๊งหนึง่ ด้วยเขาเชือ่ ว่าพัง้ ก์ ร็อกจริง ๆ มันแตกต่าง จากการใส่สบี นผมทรงโมฮอว์ค เขาเริม่ เป็น มังสวิรตั แิ ละสนใจความเคลือ่ นไหวทางสังคม ทีก่ ระตุน้ ให้คนเลิกรังแกธรรมชาติ ผมเชือ่ ตามเขาและนัน่ ท�าให้เกิดเครือข่ายแนวคิดที่ Vegan Reich สือ่ สารออกมาในครัง้ แรก’ ‘เพราะมาจากชนชัน้ แรงงาน พอ ครอบครัวของผมย้ายไปอยูย่ า่ นใหม่ทเี่ ป็น ชุมชนของชนชัน้ กลาง ผมได้เห็นความแตก ต่าง ผมเจอเพือ่ นหลายคนทีช่ อบพัง้ ก์ ร็อก และเริม่ คุยเรือ่ งเล่นดนตรี ผมชอบ Black Flag และ Social Distortion และผมโชคดีที่ เป็นวัยรุน่ ในยุคทีแ่ คลิฟอร์เนียพัง้ ก์กา� ลังเฟือ่ ง ฟู ผมออกจากโรงเรียนตอนอายุสบิ หกและ เริม่ ไปดูโชว์คอนเสิรต์ และหางานท�า ในตอน นัน้ ซีนโซคอล (SoCal ย่อมาจาก Southern California หรือแคลิฟอร์เนียนตอนล่าง ส่วน ตอนบนจะเรียกตัวเองว่า NorCal/ Northern California) มีความรุนแรงชัดเจน ยาเสพติด และการทะเลาะวิวาทเป็นสิง่ ทีพ่ บเห็นได้ทกุ วันและต้องเรียนรูจ้ ะเอาตัวรอด ตอนนัน้ ผม และเพือ่ นสนใจนิฮลิ สิ ม์ (Nihilism) ในเวลา รวดเร็ว เราพูดถึงการต้องล้มล้างนัน่ ล้มล้างนี่ หลายอย่างมันผิดทีผ่ ดิ ทาง แต่ผมและเพือ่ น ในกลุม่ ไม่ได้ทา� อะไรมากไปกว่าการรวมกลุม่ ฟังเพลงแล้วแลกเปลีย่ นความคิดกัน ผมเป็น คนทีฐ่ านะจนทีส่ ดุ ในกลุม่ แต่พวกเราเข้ากัน ได้ดว้ ยดนตรีพงั้ ก์ ร็อก แม้จะไม่ใช่เวลาที่ นานนัก’ Muttaqi ขยายความต่อว่าจากจุดที่ เริม่ ต้นฟังฮาร์ดคอร์แปดศูนย์ทางฟากสหรัฐฯ จนเชีย่ วในระดับหนึง่ แล้ว เขาเริม่ สนใจกับวง จากสหราชอาณาจักร The Exploited และ Discharge น�าเขาไปสูค่ วามดิบกว่าทางด้าน ดนตรีและสาระทีต่ อ่ ต้านท�าลายล้างอย่าง นิฮลิ สิ ม์ทเี่ ขาสนใจ จนเขาเริม่ รูส้ กึ ว่าเนือ้ หา สาระเหล่านัน้ มันพอดีกบั ความคิดของเขา มากกว่า ‘ผมเริม่ ต่อไม่ตดิ กับเพือ่ นกลุม่ นัน้ ด้วยสาระทีผ่ มพบในวงพัง้ ก์จากอังกฤษ สิง่ ทีเ่ ขาพูด ๆ เรือ่ งของชนชัน้ อย่างชัดเจน นัน่ รวมไปถึงความเชือ่ ในการสนับสนุนนักการ เมืองจากสายพรรคการเมืองทีม่ ฐี านเสียงเป็น คนใช้แรงงาน ผมออกจากกลุม่ เดิมไปรูจ้ กั กับ เพือ่ นกลุม่ ทีเ่ รียกตัวเองว่าอนาร์โช่ พัง้ ก์ (Anarcho Punk, พัง้ ค์สายอนาธิปไตย) หลายอย่างทีผ่ มเห็นในตอนนัน้ น่าสนใจไป หมด’ ‘ผมพบว่าหลายคนทีอ่ ยู่ในกลุม่ และ ซีนนัน้ มีความคิดทีย่ ากเกินกว่าจะรับได้ บาง คนใช้ความเหลือ่ มล�า้ ทางสังคมอ้างตัวว่า เป็นอนาร์โช พัง้ ก์แต่ไม่ทา� งานและลักเล็ก ขโมยน้อย ครัง้ หนึง่ ผมพบคนทีโ่ ตกว่าในกลุม่ เข้าไปท�าร้ายเด็กชายทีเ่ ล่นสเก็ตบอร์ดเพียง ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


BLAST TEAM

เพราะต้องการขนมในมือแล้วอ้างว่านัน่ คือการแสดงออกทางอนาธิปไตย ตอน นัน้ เหมือนโลกทัง้ สองใบทีผ่ มเชือ่ ว่าคือ พัง้ ค์ทแี่ ท้จริงพังลงในความคิดของผม แต่กอ่ นทีผ่ มจะเริม่ เข้ากลุม่ อนาร์โช่ พัง้ ก์ ผมก็เป็นวีแกนแล้ว และจากจุด นัน้ ผมจึงพบทางทีย่ งั ขาดทีฮ่ าร์ดคอร์จะ เคลือ่ นไหวเพือ่ สังคม’ ด้วยรสนิยมส่วน ตัวทีเ่ ขาชืน่ ชอบโอ้ยพัง้ ก์ (Oi! Punk) และเห็นว่ารสนิยมแบบอเมริกนั ฮาร์ด คอร์ในช่วงนัน้ ไปบิดสาระส�ำคัญเช่น อนาร์โช่ พัง้ ก์ Muttaqi ชืน่ ชมวงอย่าง Crass, Conflict, Amebix ทีย่ วี้ งพัง้ ก์ เมนสตรีมด้วยแนวคิดทีว่ า่ พัง้ ก์ในสาย นัน้ คิดจะห่างไกลจากนิยามพัง้ ก์ในทาง แฟชัน่ เขาจึงเริม่ ต้นเขียนเพลงเก็บ อ่าน ค้นและคิดต่อยอดจากสาระต่าง ๆ ทีเ่ ขาสนใจจนร่าง ฮาร์ดไลน์/ Hardline ขึน้ เป็นนิยามทีเ่ ขาเชือ่ โดยเขียนขึน้ มา เพือ่ รวมเอาความคิดแบบสเตร็ท เอจด์, พัง้ ก์สายปลดแอกทางความเชือ่ เรือ่ ง การเมืองและสังคมแบบตามกัน และความจริงจังทีพ่ ร้อมกระตุน้ ให้ เปลีย่ นแปลงทางความเชือ่ เรือ่ งชีวติ กับ ธรรมชาติ การลดและเลิกทารุณกรรม สัตว์และการเบียดเบียน ฟังเผิน ๆ ก็ เหมือนกับนักเคลือ่ นไหวทางสังคมและ นักกิจกรรมทีแ่ ก่วชิ าพึงกระท�ำกัน แต่ Sean Muttaqi ขยายความสิง่ เหล่านัน้ เพือ่ ใช้ดนตรีฮาร์ดคอร์เป็นเวที ‘ครัง้ แรก ผมหาแนวร่วมเพือ่ เขียนเพลง ต่อต้านการทารุณกรรมสัตว์ในทุกรูป แบบ ในช่วงนัน้ ผมเจอกับนักกิจกรรม หลายคนหลายกลุม่ จนเป็นสายสัมพันธ์ ทีแ่ น่นแฟ้นพอจะร่วมกันค้นข้อมูลและ หาโจทย์เพือ่ เรียกร้องและรณรงค์ให้คน หรือองค์กรเหล่านัน้ หยุดการเบียดเบียน ทันที การใช้สตั ว์ทดลองเพือ่ พัฒนายา และเวชภัณฑ์ การใช้สตั ว์รบั สารเคมี ต่าง ๆ แทนมนุษย์เพือ่ ทดสอบสินค้า ทีจ่ ะออกจ�ำหน่ายให้ผา่ นการควบคุม เฉพาะ ในช่วงนัน้ ผมเริม่ กระทบกระทัง่ ทางความคิดกับคนกลุม่ เก่า พัง้ ก์ สายอนาธิปไตยด้วยพวกเขาสนใจแต่ เรียกร้องสิทธิแ์ ละเสรีเสมอภาคให้กบั มนุษย์ดว้ ยกันแต่ไม่สนใจเพือ่ นร่วมโลก ทัง้ สัตว์และนิเวศ’ นัน่ คือปัญหาแรก ทีเ่ ข้ามากระทบกับ Muttaqi ในเวลา ไม่นานนักก่อนที่ Vegan Reich จะตัง้ วง ‘ผมได้ชอื่ วงมาจากเพือ่ นคนหนึง่ ที่ เคลือ่ นไหวในเครือข่ายอนาร์โช่ พัง้ ก์ เรียกคนทีก่ นิ เจและไม่ใช้ผลิตภัณฑ์จาก สัตว์วา่ Vegan Reich/ วีแกน ไรซ์ เขา ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

หยอกผมและอธิบายว่าไม่ใช่การเหยียด แต่เป็นการแสดงความเคารพในความ จริงจังของเจตนาในการปฏิเสธการ บริโภคผลิตภัณฑ์จากสัตว์ทกุ รูปแบบ’ Muttaqi เล่า แต่เพือ่ นคนนัน้ เป็นคน จ�ำนวนน้อยเพราะเมือ่ ผลงานเพลง แรก, Stop Talking, Start Revenging เผยแพร่ออกไปตามด้วยอีพี Hardline บางคนก็หยันพวกเขาว่าเป็น Vegan Fascists/ วีแกน ฟาสซิสต์ ด้วยพวก เขาตีความว่า การใช้คำ� ว่า Reich ใน ชือ่ วงมันหมายถึง The Third Reich หรือคณะกลุม่ ทีข่ ยายความเชือ่ จนเกิด เป็นพรรคนาซี (ในประวัตศิ าสตร์โลก The First Reich หมายถึงอาณาจักร โรมัน ซึง่ ต่อต้านความเชือ่ ในยุคเริม่ ต้น ของคริสต์ศาสนา ส่วน The Second Reich และ The Third Reich หมายถึง อาณาจักรเยอรมันซึง่ แบ่งออกเป็นช่วง ถึงช่วงสิน้ สุดสงครามโลกครัง้ ทีห่ นึง่ และกลับมาอีกครัง้ โดย Adolf Hitler เมือ่ ชนะเลือกตัง้ และปลุกระดมแนวคิด แบบชาตินยิ มจนลามไปสูก่ ารล้างเผ่า พันธุ)์ ซึง่ Muttaqi ตอบโต้กลับไปว่า ‘การถูกเรียกว่าเป็นพวกคลัง่ การกินผัก ทีเ่ ทีย่ วระรานความคิดคนอืน่ ท�ำให้ผม อยากตอบโต้กลับ หลายคนในสาย อนาร์โช่ พัง้ ก์ไม่จริงใจกับสิง่ ทีท่ ำ � พวก เขาคิดการท�ำลายล้างแต่พวกเขาไม่ คิดรับผิดชอบต่อสิง่ ทีด่ ำ� รงอยู่ในทาง เดียวกัน ฝ่ายนิยมอนาธิปไตยบางคน ยังแยกไม่ออกด้วยซ�ำ้ ว่าการท�ำลายมัน สร้างปัญหามากกว่าชวนให้คนคิดตาม และพร้อมเข้าร่วม’ ‘เช่นทีอ่ นาร์โช่ พัง้ ก์สว่ นใหญ่เชือ่ ว่า อย่าเรียกตัวเองว่าอนาร์โช่ ถ้าคุณ ยังคงกดขีส่ ตั ว์ พวกเราแสดงออกถึง ความเชือ่ ของการเป็นอนาธิปไตยทีแ่ ท้ จริง คุณหลอกตัวเองไม่ได้วา่ ในทาง ธรรมชาติ การบริโภคและความสะดวก สบายมันสร้างมลทินให้กบั ธรรมชาติ การไม่บริโภคผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เป็นการแสดงจุดยืนของแนวคิดแบบ อนาธิปไตยอย่างหนึง่ แต่นนั่ แค่การเริม่ ต้น’ Muttaqi กล่าว เขาเสริมว่าความ แตกต่างระหว่างสเตร๊ท เอจด์ ฮาร์ดคอร์วงอืน่ กับพวกเขาคือ วงอืน่ ๆ สนใจจะเล่นดนตรีกอ่ นรับเอาแนวคิด แบบสเตร็ทเอจด์ไปสร้างเนือ้ หาเพือ่ สือ่ สารออกไป แต่พวกเขาปวารณา ตัวเองเป็นวีแกนและสเตร็ทเอจด์กอ่ น จะเรียงร้อยแนวคิดใส่มาเป็นฮาร์ด คอร์พงั้ ค์ สีเ่ พลงจาก Hardline เป็น

ฮาร์ดคอร์พงั้ ค์ทตี่ รงจริตกับคนชอบ นิวยอร์คฮาร์ดคอร์สายสเตร็ท เอจด์ ในภาคดนตรี นัน่ ท�ำให้ชอื่ เสียงของ Vegan Reich เริม่ เข้าไปอยู่ในความ สนใจของสเตร็ท เอจด์ (รูปย่อใน ภาษาอังกฤษจะเขียนว่า sXe ในความ หมายของคนทีถ่ อื สเตร็ท เอจด์ โดย รูปแบบการเขียนตัวอักษรชือ่ ยอดเมือง ไว้บนและล่างของตัวเอ็กซ์ โดยมีตวั เอชอยูด่ า้ นซ้าย และตัวซีอยูด่ า้ น ขวา เริม่ ต้นจาก ซีนในมหานคร New York ซึง่ สัญลักษณ์การ เขียนดังกล่าว ย้อนมาเป็นส่วน หนึง่ ของแฟชัน่ จากวัฒนธรรมย่อยใน ยุคนัน้ ให้เห็นในสตรีทแวร์ชว่ งไม่นาน หลายปีมานี)้ นัน่ ขยายผลให้ Hardline จากชือ่ อีพกี ลายเป็นนิยามของแนวคิด ดังกล่าวทีอ่ ยู่ในเพลงนัน้ แกนน�ำของ Vegan Reich บอกว่าเขาไม่ได้ตงั้ ใจ จะสือ่ สารสาระของสเตร็ท เอจด์ลง ไปตอนทีเ่ ขียนทัง้ สีเ่ พลงนัน้ ขึน้ มา แต่ เน้นไปทีค่ วามเคารพในธรรมชาติ และ เนือ้ หาทีห่ ยิบมาพูดมีบางความคิด ทีอ่ ยู่ในเนือ้ เพลงไปพาดพิงถึงเรือ่ ง ของการท�ำแท้งและการให้ทางออก กับพฤติกรรมในการมีเพศสัมพันธ์ โดยปราศจากความรับผิดชอบ ‘ผม พูดในฐานะนักเคลือ่ นไหวเพือ่ การยุติ การทารุณกรรมสัตว์ การท�ำแท้งคือ เรือ่ งของความมัน่ คง มุมมองของผม ในเรือ่ งการท�ำแท้งไม่เหมือนกับพวก คริสเตียนขวาจัด ในอีพี Hardline ผม ไม่ได้เขียนถึงว่าผูห้ ญิงทีถ่ กู ข่มขืนจะ ต้องแบกรับภาระการเลีย้ งดูลกู ทีเ่ กิด จากการช�ำเรา นัน่ เป็นความคลาด เคลือ่ นในการตีความ ผมต่อต้านการ ท�ำแท้งเพราะมันคือการผิดธรรมชาติ และผมไม่สนับสนุนการควบคุมการเกิด นัน่ คือจุดยืนเรือ่ งการท�ำแท้งทีฮ่ าร์ด ไลน์เป็น’ ซึง่ นอกจากการต่อต้านการ ท�ำแท้งแล้ว อีกเรือ่ งที่ Vegan Reich ถูกโจมตีดว้ ยผลงานเพลงชิน้ แรก คือ ความคิดในเรือ่ งของการต่อต้านพวก รักร่วมเพศและเพศทีส่ าม (LGBT หรือ Lesbian หญิงรักหญิง, Gay ชายรัก ชาย, Bisexual พวกที่ได้ทงั้ หญิงและ ชาย และ Transgender หรือผูแ้ ปลง เพศแล้ว) ในประเด็นนี้ Sean Muttaqi ให้สมั ภาษณ์อกี ครัง้ เมือ่ ปี 2010 ว่า

ในยุคสมัยทีเ่ อดส์คอื มหันตภัยทีม่ าหา มนุษย์จากความผิดธรรมชาติ และการ มัว่ เพศก็เป็นหนึง่ ในแนวคิดทีส่ เตร็ท เอจด์ไม่ยอมรับ เขามองเห็นกลุม่ รัก ร่วมเพศเป็นหนึง่ ในเรือ่ งทีต่ อ้ งเตือน ให้ตระหนัก Muttaqi ยอมรับว่านัน่ คือ ความคิดทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงวัยนัน้ และใน สถานการณ์ขา่ วสารที่ได้รบั ในเวลานัน้ เขาเปลีย่ นความคิดในเรือ่ งการต่อต้าน กลุม่ รักร่วมเพศลงไป เยอะจากวัยทีเ่ ปลีย่ น ไป แม้จะไม่ทงั้ หมด แต่เขาก็ยอมรับการ มีอยูข่ องความหลาก หลายทางเพศมาก ขึน้ หนึง่ ปีเต็มจากอีพี Hardline ด้วยความ เป็นนักเคลือ่ นไหวมากกว่านักดนตรี Muttaqi แทนตัวเองเช่นนัน้ เสมอ บาง คนในกลุม่ เคลือ่ นไหวทางสังคมเช่น กันหยันว่าเขาใช้มนั เป็นข้ออ้างเพือ่ รับทุนสนับสนุนมาท�ำดนตรี เพราะ นอกจาก Vegan Reich แล้ว Muttaqi ก็กอ่ ตัง้ สังกัด Hardline Records ขึน้ มาเพือ่ จัดจ�ำหน่ายผลงานของตนเอง ด้วย (เรียกว่าขยายความน่าจะชัด กว่า เพราะอีพี Hardline ออกมาก่อน หน้าทีจ่ ะนับได้วา่ มีการก่อตัง้ Hardline Records) ตลอดปีเศษระหว่าง 19911992 เขาท�ำดนตรีแบบตัวคนเดียวจน แทบจะเรียกได้วา่ Vegan Reich เป็น นามปากกาของเขาก็ไม่ผดิ นัก ซึง่ เมือ่ เทียบเคียงกับ Raid วงจาก Tennessee ที่ Muttaqi ตกลงงานจัดจ�ำหน่ายให้ Raid มีความเป็นวงมากกว่า และไม่ อิงกับกระแสความนิยมของสเตร๊ท เอ จด์และกลุม่ ยูธ้ ครูว์ (Youth Crew ก่อ ตัง้ โดย Ray Cappo แห่ง Youth Of Today และ Revelation Records) ที่ เริม่ ขยายมาสูซ่ นี โซคอล ‘เพราะอย่าง นัน้ พวกเราจึงเลือกแสดงความเคารพ ต่อวงอนาร์โช่พงั้ ก์เท่านัน้ ผมปฏิเสธ จะอิงสปีด เมทัลอย่างฝัง่ ตะวันออก เพราะไม่รสู้ กึ สัมพันธ์ได้กบั เนือ้ หา ใน อีพี Hardline ผมตัง้ ใจเขียนเพลงให้ มีความเป็นอนาร์โช่ พัง้ ก์มากกว่าการ ผสมซาวด์ตา่ ง ๆ ลงไปอย่างทีอ่ เมริกนั ฮาร์ดคอร์ตอนนัน้ เริม่ เป็น ทัง้ สีเ่ พลง มีความหมายมากกว่าฮาร์ดคอร์ มัน คือแนวคิดและการกระตุน้ ให้คดิ ด้วย ดนตรีทเี่ ขียนมาเพือ่ เน้นการรับสาร มากกว่าเพือ่ ความบันเทิงอย่างเดียว สเน่หข์ องฮาร์ดคอร์คอื การกระตุน้ ให้ - BLAST

magazine -

031


คิด สเตร็ทเอจด์หลายวงในยุคนัน้ ท�ำ แบบนัน้ แต่มนั ยังไม่จริงจังพอและ หลายวงมองประเด็นทีต่ อ้ งพูดอย่าง ตืน้ เขิน คุณต่อต้านยาเสพติดเพราะ มันท�ำร้ายร่างกาย แต่คณ ุ ต้องไม่ลมื ว่าทีม่ าของยาเสพติดทุกประเภทมัน ท�ำลายสิง่ แวดล้อม’ Muttaqi แสดง จุดยืน ‘สเตร็ท เอจด์ ฮาร์ดคอร์ เริม่ ให้คนฟังคิด และต้องมีสกั คนทีย่ ำ�้ ตะปูให้พวกเขาต้องจริงจังและสาน ต่อ’ จริงจังและมัน่ คงในจุดยืน ครัง้ หนึง่ แฟนซีน Maximum Rock ‘N Roll ยกย่อง Vegan Reich ไว้เช่นนัน้ หลาย ครัง้ พวกเขาได้รบั การสดุดีในฐานะวง ทีพ่ งึ่ พาตัวเองมากกว่าจะมองหาค่าย หรือการแปะเหรียญตราว่าวงของตน ได้รบั การรับรองจากค่ายนัน้ ๆ ถ้าจะมี การเอ่ยชือ่ วงที่ได้รบั การยอมรับเคียง คูไ่ ปกับกระแสของ Victory Records, Revelation Records หรือ New Age Records แต่ทำ� งานด้วยวิถแี บบ DIY ไม่งอ้ สังกัด Vegan Reich คือหนึง่ ใน นัน้ (อนุมานได้วา่ ดนตรีทางเลือกสาย ฮาร์ดคอร์หลายวงรับเอาวิธกี ารในการ ประชาสัมพันธ์ความคิดและดนตรีของ ตนเองมาจากกิจกรรมทีพ่ วกเคลือ่ นไหว ทางสังคมท�ำกันอยูแ่ ล้วก็ได้ แต่เป็น เพียงส่วนหนึง่ และบริบทหนึง่ เท่านัน้ เพราะนิยามแบบ Do It Yourself ที่ได้ ผลและประสบความส�ำเร็จของหลาย ค่ายใช้การจัดการและการด�ำเนินการ แบบเป็นระบบและชัดเจนเข้ามาร่วม ด้วย) คล้ายว่าก�ำลังจะไปได้สวยกับ วงแต่ Vegan Reich ก็เจอทางตันเมือ่ หลายสถานแสดงดนตรีตอ้ งยกเลิก โชว์ของพวกเขา บางทีก่ อ็ อกตัวว่าไม่ สามารถร่วมงานกันได้อกี ‘ผมเชือ่ ว่า ผูค้ นถูกข่มขูค่ กุ คามจากสิง่ อืน่ มากกว่า ดนตรีของวงเรา บางทีท่ ตี่ กลงให้ผจู้ ดั เช่าสถานทีเ่ พือ่ จัดงานให้เราในเมือง ของเขาถูกโทรข่มขูจ่ ากบุคคลลึกลับว่า ถ้าปล่อยให้มกี ารแสดงเกิดขึน้ พวกคน ดูอาจจะคลัง่ จนเผาท�ำลายสถานที่ บ้าง ก็โทรไปแจ้งความว่าจะมีการทะเลาะ วิวาทและสร้างความปัน่ ป่วนให้กบั ชุมชน เหล่านัน้ สร้างความล�ำบากใจให้ กับเจ้าของสถานทีแ่ ละคนจัดงานซึง่ ผม เข้าใจดี คนทีท่ ำ� ให้เกิดเหตุบานปลาย ไปแบบนัน้ ไม่ทราบเลยด้วยซ�ำ้ ว่าพวก เราพยายามจะสูก้ บั อะไรและเพือ่ อะไร’ Muttaqi เล่าเหตุผลทีท่ ำ� ไม Vegan Reich ถึงมีโอกาสได้แสดงสดน้อยลง ในปี 1992 ในช่วงทีอ่ พี ี The Wrath Of 032

- BLAST

magazine -

God วางแผงออกมา Muttaqi และ เพือ่ นก็พบปัญหาทีต่ ามมาอีกว่า เนือ้ หา ในผลงานชุดนีถ้ กู โยงไปใช้โดยพวกขวา จัด ซึง่ นัน่ สร้างความเข้าใจผิดและเป็น ไฟลามทุง่ ลูกทีส่ องทีเ่ กิดขึน้ กับวง ด้วย สายซีเรียสหลายคนตีความไปว่าพวก เขาเริม่ ชูศาสนาเพือ่ เป็นเครือ่ งมือใน การสร้างฐานสนับสนุนเพิม่ ในเวลา เดียวกันนัน้ Ray Cappo และ John Porcelly สองนักคิดและคนริเริม่ ยูธ้ ครู ว์เปลีย่ นไปนับถือ ‘กฤษณะจิตส�ำนึก’ (Hare Krishna) ท�ำให้หลายคนเปลีย่ น ศาสนาตามพวกเขา แม้จะไม่เกีย่ วกัน โดยตรงแต่ดว้ ยความเป็นนักกินผัก เหมือนกัน ท�ำให้ Vegan Reich ทีเ่ ป็น ฮาร์ดไลน์ถกู เอีย่ วไปด้วยว่านีอ่ าจจะ เป็นอีกหนึง่ กรณีทเี่ กิดขึน้ เพือ่ สนับสนุน แนวคิดทางศาสนา ซึง่ Muttaqi ในเวลานัน้ ยัง เป็นคริสเตียน และด้วยความ ที่ Muttaqi ค่อนข้างไม่ เห็นด้วยกับหลายความ เคลือ่ นไหวในสังคม สเตร็ท เอจด์ชว่ งนัน้ Ross Haenfler เขียน ถึง Vegan Reich ไว้ใน หนังสือ Straight Edge : Hardcore Punk, Clean-Living Youth And Social Change ว่า ในขณะทีส่ เตร๊ท เอ จด์สว่ นมากรณรงค์ให้ แฟนเพลงและคนฟังคิดบวก มองโลก ในแง่ดี ดูแลคนรอบตัว เพือ่ นเตือน เพือ่ นและใช้ชวี ติ อย่างมีความสุขและ สติ แต่สงิ่ ที่ Sean Muttaqi ท�ำเป็น ระดับทีแ่ ตกต่างกว่า เขาว่าหลายครัง้ ความจริงจังของ Vegan Reich ทีเ่ ล่า ความออกมาในเพลงแสดงออกถึงอคติ ทีข่ ม่ ความคิดของวงอืน่ ในยุคเดียวกัน ซึง่ ก็ตรงกับหลายบันทึกจากแฟนซีน ในยุคนัน้ ทีบ่ อกว่าสิง่ ที่ Vegan Reich ตะโกนปาว ๆ ในเนือ้ เพลงเป็นเรือ่ งที่ จริงจังสุดโต่งแต่กไ็ ม่เชิญชวนให้คนคิด ตามโดยปราศจากอคติ บางคนมองว่า พวกฮาร์ดไลน์คอื กลุม่ คนทีต่ งั้ ขึน้ มาเพือ่ อวดตนข่มความคิดของสเตร๊ท เอจด์ ว่าตนเหนือกว่า มีวนิ ยั กว่า รับผิดชอบ ตนและสังคมมากกว่า ในการถกเถียง นัน้ เองทีเ่ กิดการกระทบกระทัง่ ใน หลายโชว์ของ Vegan Reich ถูกป่วน โดยวีแกนสายสเตร็ท เอจด์ เรียกว่ามี

การแบ่งฝ่ายขึน้ ชัดเจนก็ได้ แม้จะด้อย กว่าในจ�ำนวนคนทีเ่ ชือ่ ในฮาร์ดไลน์และ ไม่เคยมีการสรุปกันจริงจัง แต่ทงั้ สอง กระแสความขัดแย้งก็หายไปในเวลา ไม่นานนัก ‘ผมไม่รสู้ กึ ผิดหรืออะไร ทัง้ สิน้ กับการเริม่ ฮาร์ดไลน์ขนึ้ มา แต่ ผมเริม่ รูต้ วั เองว่าผมไม่ยนิ ดีนกั ทีค่ น ส่วนใหญ่เข้าใจผิดเกีย่ วกับเป้าหมาย ของการก่อตัง้ ฮาร์ดไลน์ขนึ้ มาของผม ด้วยความรูแ้ ละเรือ่ งทีส่ นใจค่อนข้าง จ�ำกัด ในวันนัน้ ทีผ่ มท�ำดีทสี่ ดุ คือการ หาเครือ่ งมือทางภาษามาช่วยสือ่ สาร ความคิดเรือ่ งธรรมชาติและการรบกวน ธรรมชาติออกไป แต่มนั ถูกตีความไป ต่าง ๆ นานา ทีห่ นักทีส่ ดุ คือการทีผ่ ล งานของ Vegan Reich ไปเข้าตาพวก ขวาจัดในยุโรป มีการส่งเงินสนับสนุน และแสดงความสนใจ จะให้เราไปทัวร์ในเวลา นัน้ ส�ำหรับผมมันไม่ใช่ ข้อความทีต่ อ้ งการ สือ่ สารออกไปเลย ผม เข้าใจความอนุรกั ษ์นยิ ม และความเชือ่ เรือ่ งการ ไม่แบ่งชัน้ ของสังคม แต่นนั่ ไม่ใช่ขอ้ ความ หลัก หลายคนเข้าใจ ว่าผมสือ่ สารความ เป็นหัวรุนแรงออกไป ในงานเพลงและมอง คณะดนตรีของเราเป็น คณะเคลือ่ นไหวทาง สังคม ผมสนับสนุนให้ มีการประท้วงในสิทธิและรัฐธรรมนูญ แต่นนั่ ก็ไม่ใช่ขอ้ ความทีผ่ มต้องการสือ่ ออกไป’ ระหว่าวงปี 1993-1994 เป็น ช่วงที่ Muttaqi พักงานเพลงทัง้ หมด Vegan Reich ในปีนนั้ ไม่มคี วาม เคลือ่ นไหวออกมา Muttaqi เริม่ สนใจ แนวคิดทางศาสนาอย่างจริงจังเขาเริม่ ศึกษาว่ากฤษณะจิตส�ำนึกสอนอะไร และพบว่ามันไม่คล้องจองกับสิง่ ทีเ่ ขา เชือ่ เขาศึกษาแนวคิดแบบราสตาฟารี่ (Rastafari) เช่นที่ Bad Brains ปูทาง ไว้กอ่ น เขารูส้ กึ ถึงความเป็นมิตรและ เชือ่ ในพลังของธรรมชาติของราสตาฟา รีม่ ากกว่าแต่สงิ่ ทีเ่ ขาค้นพบว่าเหมาะ ทีส่ ดุ คือการถือบวชรับอิสลามเข้ามา ในชีวติ ‘ผมเริม่ ศึกษาเรือ่ งศาสนาจาก การฝึกศิลปะการป้องกันตัว มันเริม่ จากความสนใจทางการออกก�ำลังกาย ไปสูก่ ารขัดเกลาจิตใจ ผมอ่านหนังสือ เกีย่ วกับศาสนาเยอะขึน้ มากและเปรียบ

เทียบกับสิง่ ทีต่ นคิด ประกอบไปกับการ ฝึกสมาธิอย่างตะวันออก ผมไม่สวด ภาวนาเลยในตอนนัน้ จนกระทัง่ ผมพบ แนวคิดหนึง่ ของอิสลาม ว่าอิสลามเกิด มาเพือ่ ต่อสูก้ บั ความอยุตธิ รรม ผมอ่าน หนังสือแปลเกีย่ วกับอิสลามและการเข้า เป็นมุสลิมอยูห่ ลายปีจนพบว่าการอ่าน และพิจารณาตามนัน้ ช่วยขัดเกลาให้ผม หาสมดุลของความเชือ่ จนเจอ แต่ผม ตัดสินใจจะไม่ทำ� ให้อสิ ลามกลายเป็น อีกประเด็นทีเ่ กิดความขัดแย้งขึน้ เพราะ ผม ผมเรียนรูจ้ ากความเชือ่ ทีแ่ สดงออก ไปในดนตรีฮาร์ดคอร์ ผมปวารณาตน เป็นมุสลิมหลังจากทีผ่ มพบว่ามันมีชอ่ ง ว่างในสังคมและความเชือ่ ของอิสลาม เกีย่ วกับการเป็นวีแกน ผมไม่เรียกวี แกนว่าศาสนาผมถือวีแกนเป็นวัตรและ ผมถืออิสลามเป็นวิชาความรูท้ ผี่ มต้อง เรียนรูแ้ ละท�ำความเข้าใจ’ ปี 1995 สังกัด Uprising Records ถือก�ำเนิด ขึน้ ทดแทน Hardline Records ด้วย Muttaqi เห็นว่ามันมีแต่จะสร้างปัญหา ให้เกิดการถกเถียงและไม่นำ� สันติมาสู่ ใคร เขารวมผลงานของ Vegan Reich ออกในชือ่ อัลบัม้ Vanguard เพือ่ สรุป งานของวง ก่อนจะหันไปบริการค่ายนี้ เป็นหลักและท�ำวง Pressure ขึน้ มาใน ปี 1996 ก่อนจะกลับมาท�ำอีพสี ดุ ท้าย ของ Vegan Reich ในชือ่ Jihad ใน สามเพลงทีบ่ นั ทึกเสียงไว้นี้ มือกลอง จาก Recetraitor มาร่วมงานกับเขา เป็นครัง้ แรก ทัง้ สองสนิทกันมากและ เมือ่ Andrew Hurley ไปร่วมวงกับ Fall Out Boy อัลบัม้ ทีส่ องของวงร็อกเมน สตรีมอีกวงทีม่ พี นื้ เดิมมาจากแวดวงดี ไอวายก็ออกกับสังกัดนีข้ อง Muttaqi ‘ผมรักการเรียนรู้ ทัง้ การเรียนรูต้ ามค�ำ สอนของศาสนาและการเรียนรูอ้ ย่างที่ บางศาสนานิยามว่านอกรีต ทุกความ เชือ่ มีเป้าประสงค์ไม่จากผูร้ เิ ริม่ ความ เชือ่ นัน้ ก็จากคณะบุคคลหรือการกระ ท�ำทีส่ บื เนือ่ งต่อกันมา ผมชอบทีจ่ ะ แกะรอยความคิดของค�ำสอนจากความ เชือ่ อืน่ ทีถ่ กู เขียนขึน้ มาใหม่ บางคนที่ สนใจศึกษาศาสนากรอบตัวเองไว้เพียง แต่ทตี่ นเลือกนับถือแต่ไม่เคยท�ำความ เข้าใจในความแตกต่าง ผมรักทีจ่ ะ เรียนรูจ้ ากความแตกต่างเช่นกันกับที่ จะน�ำพาความคิดและความเชือ่ ของตน กลับไปสูร่ ตี และบทบัญญัตขิ องศาสนา เสมอ’ Sean Muttaqi

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine - 033


MOVIES

D U N K I R K ยุทธการหนีตาย

ยุทธการชายหาด ดันเคิร์ก ถือเป็นเหตุการณ์ที่ส�ำคัญอย่างมาก ในช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากทหารฝ่ายสัมพันธมิตร ซึ่งประกอบไปด้วยทหารอังกฤษ, ฝรั่งเศส และ เบลเยี่ยม จ�ำนวน มากกว่า 3 แสน 3 สามหมื่นนายถูก สั่งให้ระดมก�ำลังเพื่อล่าถอยจากการ โอบล้อมของทหารนาซีเยอรมันและ ไปรวมพลกัน ณ ชายฝั่ง ดันเคิร์ก ประเทศฝรั่งเศสเพื่อรอการอพยพด้วย เรือไปยังประเทศอังกฤษที่อยู่อีกฟาก หนึ่งของท้องทะเลเพื่อเริ่มแผนการ รบกับทหารนาซีเยอรมันใหม่ แต่การ ร่นถอยไปยังชายฝั่งท�ำให้ทหารฝ่าย สัมพันธมิตรเสียเปรียบคู่ต่อสู้ในทุก วิถีทาง มีทหารจ�ำนวนมากบาดเจ็บ ล้มตายจากเครื่องบินทิ้งระเบิดและ การต่อสู้ภาคพื้นดิน แต่ถึงจะอย่างไร ก็ตามการล่าถอยถือเป็นสิ่งจ�ำเป็น ส�ำหรับสมรภูมิรบนี้ เพราะถ้าหาก ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรเลือกที่จะต่อสู้ มีความเป็นไปได้สูงว่าประตูแห่งความ พ่ายแพ้จะเปิดรับก่อนถึงเวลาอันควร และฝ่ายสัมพันธมิตรอาจจะถึงขั้นเป็น ฝ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุทธการ ดันเคิร์ก ไม่เหมือน กับวัน ดีเดย์ หรือปฏิบัติการเนปจูน 034

- BLAST

magazine -

ที่ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรที่น�ำทีมโดย สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร ยกพลขึ้นบกที่ชายหาดนอร์ม็องดีใน ประเทศฝรั่งเศสก่อนที่จะน�ำมาซึ่ง ชัยชนะเหนือทหารนาซีเยอรมันอย่าง ขาดลอย เนื่องจากยุทธการ ดันเคิร์ก เป็นการวางกลยุทธ์การตั้งรับการ จู่โจมและการวางแผนอพยพทหารทาง เรือ (ภายใต้ชื่อยุทธการไดนาโม) เป็น หลัก การรวมพลบนชายฝั่ง ดันเคิร์ก จึงเหมือนระเบิดเวลาที่นับถอยหลังไป อย่างช้า ๆ ว่าเรือจู่โจมและทหารฝ่าย สัมพันธมิตรจะสูญเสียไปเป็นจ�ำนวน กี่ล�ำและกี่นายจากห่ากระสุนและพลัง ท�ำลายล้างของระเบิดจากเครื่องบิน และที่ผ่านมามีเพียงหนังสงครามของ ประเทศอังกฤษเรื่อง Dunkirk ของ ผู้ก�ำกับ เลสลี นอร์แมน ที่เข้าฉาย ในปี 1958 เพียงเรื่องเดียวเท่านั้นที่ ถ่ายทอดความโหดร้ายของยุทธการ ดันเคิร์ก คริสโตเฟอร์ โนแลน ต้องการ น�ำการต่อสู้เพื่อเอาชีวิตรอดของทหาร อังกฤษและทหารฝ่ายสัมพันธมิตร มาถ่ายทอดลงแผ่นฟิล์มก็เนื่องจาก ฮอลลีวูดไม่เคยน�ำยุทธการ ดัน เคิร์ก มาสร้างเป็นภาพยนตร์มาก่อน สาเหตุหลักมาจากสงครามในครั้งนั้น

สหรัฐอเมริกาไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือมีบทบาทส�ำคัญและคงจะเป็น เรื่องแปลกประหลาดและผิดแผกเอา มาก ๆ ที่ค่ายหนังในฮอลลีวูดจะทุ่ม เงินเป็นจ�ำนวนมหาศาลไปกับสงคราม ที่ไม่มีวีรบุรุษทหารอเมริกัน สิ่งที่ น่าสนใจและถือเป็นความกล้าหาญ อีกประการหนึ่งก็คือ โนแลน ไม่ได้ ต้องการให้หนังเรื่องนี้มีสตอรี่ ใด ๆ เกิดขึ้นกับหนังทั้งสิ้นไม่ว่าจะเป็นปูม หลังของตัวละครหรือว่าการวางแผน อพยพทหารจ�ำนวนกว่า 3 แสนนายที่ จริง ๆ แล้วถือว่าซับซ้อนอย่างมากใน ปฏิบัติการไดนาโม เพราะสิ่งเดียวที่ โนแลน ต้องการก็คือการมอบรองเท้า และยูนิฟอร์มทหารให้ผู้ชมได้ใส่และ เล่นบทบาทเดียวกันกับเหล่าทหารที่ ต้องเผชิญหน้ากับความหวาดผวาของ สงครามที่ตัวเองไม่มีแม้กระทั่งโอกาส ให้ได้ต่อสู้ มองในแง่มุมนี้แล้ว ถ้าหาก ตัดฉากหลังที่เป็นสมรภูมิสงครามโลก ครั้งที่ 2 และตัวละครหลักที่เป็นทหาร ออกไป Dunkirk ก็คือหนังระทึกขวัญ ชั้นดีที่มีช่วงเวลาที่น่าตื่นเต้น ซึ่งก็ ท�ำให้ผู้ชมทั้งลุ้นและหายใจไม่ทั่วท้อง อยู่ตลอดเวลา โดยโครงสร้างการ เล่าเรื่องที่แบ่งสถานการณ์ออกเป็น

ภาคพื้นดิน, อากาศ และ ทะเล ที่ ถ่ายทอดช่วงเวลาของเหตุการณ์ที่ แตกต่างกันออกไปก่อนที่เวลาใน สถานการณ์แต่ละส่วนที่ตัดสลับกัน ไปจะค่อย ๆ ร้อยเรียงมาบรรจบกัน จนกลายเป็นช่วงเวลาเดียวกันก็ถือ เป็นเทคนิคการเล่าเรื่องที่มีชั้นเชิงและ แสดงให้เห็นถึงความเป็น Craftsman หรือช่างฝีมือที่พิถีพิถันใช้ “เวลาที่เล่น บทบาทส�ำคัญ” ในการเล่าเรื่องของ คริสโตเฟอร์ โนแลน ได้อย่างชัดเจน สิ่งที่น่าสนใจอีกอย่างก็คือ เดิมที คริสโตเฟอร์ โนแลน ไม่ได้ เขียนบทหนังให้มีสตอรี่เป็นเรื่องเป็น ราวด้วยซ�้ำ มีข้อมูลที่ได้รับการเปิด เผยในภายหลังก็คือ โนแลน ต้องการ ท�ำ Dunkirk โดยมีเพียงโครงเรื่อง คร่าว ๆ เท่านั้น ซึ่งพล็อตที่วางเอาไว้ อย่างหลวม ๆ ก็คือ หนึ่ง เรื่องของ ทหารหนุ่มฝ่ายสัมพันธมิตรกลุ่มหนึ่งที่ พยายามท�ำทุกวิถีทางเพื่อเอาชีวิตรอด ออกจากชายฝั่ง ดันเคิร์ก ให้ได้ สอง เรื่องของ มิสเตอร์ ดอว์สัน (มาร์ค ไรแลนซ์) พร้อมด้วย ปีเตอร์ (ทอม กลินน์-คาร์นีย์) ลูกชายและ จอร์จ (แบร์รี โคแกน) ที่น�ำเรือล�ำเล็กของ ตัวเองออกจากท่าเพื่อช่วยน�ำทหาร กลับมายังอังกฤษ และ สาม ภาระ ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ศรัณยู ตรีสุคนธ์

กิจการขับเครื่องบินจู่โจมของ 2 ทหาร อากาศ ฟาร์เรียร์ (ทอม ฮาร์ดี) และ คอลลินส์ (แจ็ค โลเดน) ที่พยายาม สอยเครื่องบินของทหารนาซีให้ร่วง มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อรักษา เรือและชีวิตของทหารในระหว่างการ อพยพให้ได้มากที่สุด แผนการท�ำหนังโดยที่ไม่ต้องมี สคริปต์ของ คริสโตเฟอร์ โนแลน จบ ลงเพราะ เอ็มมา โธมัส ศรีภรรยาสั่ง ให้เขาลงมือเขียนบท ซึ่ง โนแลน ก็ ท�ำตามโดยไม่มีข้อโต้แย้ง (และเขียน เสร็จอย่างเร็วมาก) แต่ถึงจะอย่างไร ก็ตาม Dunkirk ก็ไม่ได้เป็นหนังที่เดิน เรื่องด้วยบทสนทนาอยู่ดี สคริปต์ที่ โนแลน เขียนเป็นเพียงไดอาล็อคที่ขับ เคลื่อนให้สถานการณ์การเอาชีวิตรอด ของตัวละครเดินไปข้างหน้าได้อย่าง มั่นคงเท่านั้น โดยการถ่ายท�ำไม่ว่าจะ เป็นการใช้เทคนิคการเคลื่อนกล้อง, การใช้ขนาดภาพ ไปจนถึงการจัดองค์ ประกอบภาพ เห็นได้ชัดว่าเป็นภาษา ภาพยนตร์ที่ผ่านการวางแผนมาเป็น อย่างดี ภาษาภาพยนตร์ที่เนี๊ยบ ทุกกระเบียดนิ้วนี้เป็นงานคราฟต์ที่โชว์ ศักยภาพในการก�ำกับเพื่อคุมทิศทาง ของหนังให้เป็นไปตามจุดประสงค์ หลักอย่างแท้จริง นั่นก็คือการน�ำผู้ ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

ชมให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกองพัน ทหารและร่วมหนีตายไปกับทหารเหล่า นี้ด้วยกันด้วยภาษาภาพยนตร์ในแบบ เดียวกับหนังเงียบที่บทสนทนาแทบจะ ไร้ซึ่งความจ�ำเป็น Dunkirk ถ่ายท�ำด้วยกล้องไอ แม็กซ์ที่ใช้ฟิล์มขนาด 65 มิลลิเมตร เกือบตลอดทั้งเรื่อง ซึ่งทั้ง คริสโต เฟอร์ โนแลน และ ฮอยต์ ฟาน ฮอย เตมา ต่างก็เห็นพ้องต้องกันว่ากล้อง ไอแม็กซ์ที่เดิมทีผลิตขึ้นเพื่อใช้ถ่าย หนังสารคดีส�ำหรับฉายในโรงไอแม็กซ์ โดยเฉพาะนั้นเป็นฟอร์แม็ตที่เหมาะ สมที่สุดส�ำหรับถ่ายหนังเรื่อง Dunkirk เพื่อเป็นการน�ำบรรยากาศของ สงครามที่ทั้งยิ่งใหญ่และน่าสะพรึง กลัวมาสร้างประสบการณ์การรับ ชมให้เห็นกันแบบเต็มตา ซึ่งก็ต้อง ยอมรับว่าไดเร็คชั่นที่ยอดเยี่ยมในทุก กระเบียดนิ้วก็ท�ำให้ Dunkirk เป็น หนังสงครามที่มีงานสร้างที่สมบูรณ์ แบบมากที่สุดเรื่องหนึ่งเท่าที่เคยมีการ สร้างกันมา และอีกสิ่งหนึ่งที่ถือว่า โดดเด่นอย่างน่ากราบจริง ๆ ก็คือ งานออกแบบเสียง, การมิกซ์, ตัดต่อ เสียง ไปจนถึงงานสกอร์หรือดนตรี ประกอบที่เป็นผลงานของ ฮานส์ ซิม เมอร์ โดยงานสกอร์ของหนังเรื่องนี้

ถือเป็นการยกระดับการสร้างสรรค์ ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยุคใหม่ให้ ก้าวล�้ำไปอีกขั้น ซึ่งงานวิชวล, ดนตรี ประกอบและงานทางด้านซาวด์ดีไซน์ มีส่วนส�ำคัญอย่างยิ่งในการสร้าง บรรยากาศความตื่นเต้นและประหวั่น พรั่นพรึงให้กับหนัง ตามความเห็นส่วนตัว ถึงแม้ Dunkirk จะประสบความส�ำเร็จอย่าง ไร้ข้อแม้ในเรื่องของงานคราฟต์และ ถือเป็นงานศิลปะภาพยนตร์ชั้นสูง แต่ การขุดลึกเข้าไปยังความเป็นมนุษย์ ยังถือว่าค่อนข้างแบนถ้าหากเทียบ กับผลงานหนังเกือบทุกเรื่องของ คริสโตเฟอร์ โนแลน ที่ตั้งค�ำถาม เกี่ยวกับเรื่องจริยธรรมและศีลธรรม ในตัวมนุษย์ที่ไม่สามารถตัดสินได้เลย ว่าตัวละครตัวไหนเป็นคนดีและคนชั่ว ได้ในแบบร้อยเปอร์เซ็นต์ เนื่องจาก Dunkirk ตัวละครถูกแบ่งออกเป็นฝ่าย ดีและฝ่ายเลวอย่างค่อนข้างชัดเจน ส่ง ผลให้ตัวละครไม่ค่อยมีมิติ ยิ่งเมื่อหนัง ไม่ได้ลงลึกถึงปูมหลังหรือคอนฟลิกต์ ความขัดแย้งของตัวละครด้วยแล้ว ตัว ละครก็แทบจะไม่มีเลือดเนื้อให้ผู้ชมได้ สัมผัสเลย หนังสงครามเกือบทั้งหมดที่ ถูกสร้างขึ้นมาในโลกนี้ล้วนแล้วแต่

ถ่ายทอดความไร้สาระของสงคราม เช่นเดียวกับ Dunkirk หนังสงคราม ที่ถ่ายทอดกลวิธีการหาหนทางหนีไป ตายเอาดาบหน้าของทหารหนุ่มกลุ่ม หนึ่งและเมื่อพวกเขาสามารถเอาชีวิต รอดกลับไปยังอังกฤษได้และได้รับค�ำ ยกย่องเชิดชูจากประชาชนที่มารอ ต้อนรับ ทหารหนุ่มคนหนึ่งได้เอ่ยปาก บอกว่า “เราแค่เอาชีวิตรอดกลับมา เท่านั้น” และเสียงที่ได้รับกลับมาก็คือ ค�ำว่า “แค่นั้นก็เพียงพอแล้ว” Dunkirk เป็นหนังที่ไม่ได้ ต้องการค้นหาหลักปรัชญาที่ซุกซ่อน อยู่ในสงครามเหมือน The Thin Red Line ของ เทอร์เลนซ์ มาลิค หรือ ว่าเสนอภาพอันน่าสยดสยองของ สงครามเหมือน Saving Private Ryan ของ สตีเวน สปีลเบิร์ก เพราะ นี่คือหนังที่พูดถึงเรื่องของมนุษย์ที่ท�ำ ทุกอย่างเท่าที่จะนึกออกเพื่อที่จะต่อ ลมหายใจของตัวเองและเรื่องของ มนุษย์ที่ท�ำทุกอย่างอีกเช่นกันเพื่อให้ เพื่อนมนุษย์มีชีวิตรอดต่อไป ซึ่งแค่ นั้นก็เพียงพอแล้วที่จะท�ำให้ Dunkirk เป็นหนังสงครามที่ห้ามพลาดชมด้วย ประการทั้งปวง

- BLAST

magazine - 035


Album Review

NEVER FEAR TOMORROW ALBUM : SELF TITLED LABEL : DIY ตอบสนองย่านความเสียว : 9

อีกหนึ่งวงไทยสายฮาร์ดคอร์ เมทัล ก่อตั้งวงเมื่อปี 2012ที่ตั้งใจท�ำงาน โปรโมทวงอย่างต่อเนื่อง เคยส่งผลงานคัฟเวอร์โครงการร่วมสนุกกับผมในนาม Thai Goes Pop เป็นวงแรก ๆ ปรี่เข้ามาเล่นเพลง “มาลัย” ท�ำส่งออกมาให้โยก หัวในอีกเวอร์ชั่น สมาชิกวงมี วิษณุ วิตเสถียร (เบิร์ธ) ร้องน�ำ / สัทธา วัฒน เจียมวงษ์ (เต๋า) กีตาร์ / สินธุ วัฒนเจียมวงษ์ (เต้) กีตาร์ / วรพล เสืออ่อน (เม่น) เบส / เปรมอนันต์ เติมบริรักษ์ (โจอี้) กลอง ทางวงออกตระเวนเล่นตาม งานอย่างบ้าคลั่ง งานเล็กงานเพื่อนจัดหนักหมด และนี่คือผลผลิตล่าสุดที่ทางวง เข็นออกมาให้ฟังกันแบบเต็มตีน 9 เพลง 1 อินโทร เปิดแผ่นเจอเสียงร้องแบบ ข�ำ ๆ ของเบิร์ทร้องน�ำ หัวกันคิกคักแล้วตัดเข้าแทร็คสอง Fuck You All เพลง สั้นได้ใจความ ก่นด่ามือถือสากปากถือศีล จังหวะเพลงค่อย ๆ ปลุกเร้าให้หึกเหิม เตรียมฟันยางจากนั้นก็ใส่ยับ ฮาร์ดฯ เมทัล มันส์ต่อด้วยแทร็คสาม Unrighteous บดขยี้ด้วยจังหวะมอชทูสเต็ป ท่อนร้องประสานชาวแก็งออกมาป้วนเปี้ยนตลอด เพลง แทร็คสี่ Loser เปิดหัวด้วยอิเล็กทรอนิกส์บีทนิด ๆ จากนั้นก็ตามสูตรความ โหดเหี้ยม บีทดาวน์ให้เหวี่ยงห�ำกันหน่อยพรรคพวก แทร็คห้า Death Or Glory ขี้นริฟฟ์กีตาร์มาได้สะเด่าทรวงดีแท้ โคตรชวนวิ่งเซอร์เคิล พิท เนื้อหาเพลง โอเคเลย ไม่ตายห่า หรือ ไม่ถึงชัยชนะ มีให้เลือก จัดไปสองทางจ่ะ แทร็คหก Overcome ft. Big Best ลดความเร็วลงเล็กน้อย เน้นกระชับด้วยริฟฟ์กีตาร์เน้น ๆ และตบด้วยการแร็พจากแขกรับเชิญ เพลงนี้ลงตัวเลย โคตรเฟี้ยว แทร็คเจ็ด Stray Wolves ยังคงเด่นด้วยซาวด์กตี าร์ บีทกลองใส่ดบั เบิล้ เบสดรัมได้สะเทือนซาง แทร็คแปด Respect เพลงตัดเป็นซิงเกิ้ลปล่อยทางยูทูป ฮาร์ดคอร์ เมทัลสไตล์ ดุดัน ใครฟังมีหน้าหงาย โดนทุบ เหวี่ยงตีนในวง ฮาฮา แทร็คเก้า Passion ติด โพสท์ฯ สอดใส่เมโลดี้ความหม่นนิด ๆ ด้วยตัวโน้ตจากกีตาร์ ฟังเพลินดี ๆ แทร็คสิบ Never Back Down ft. Jeddy ก่อนจบตบด้วยความมันส์ระดับสิบแรง ถีบพร้อมแขกรับเชิญ เจด ร้องน�ำวง Tragedy Of Murder ถูกใจกันแน่นอน ของแบบนี้ต้องซื้อมาเสพ งานเต็มชุดนี้ท�ำออกมาได้ดีมาก เพราะวงสไตล์นี้ต่าง พัฒนาการเล่น การมิกซ์ การท�ำซาวด์จนมาถึงจุดที่ไม่น้อยหน้าใคร ทางวงก็ ท�ำกันเองทุกกระบวนการ จะขาดแค่การมิกซ์เสียงที่ใช้บริการ นัน มือกีตาร์วง Tragedy Of Murder เอาเรื่องเลย แทบไม่มีช่องว่างให้หายใจ มีแต่จะลุกขึ้นออก ทูสเต็ปกันตลอด แนะน�ำให้อุดหนุน ไม่ผิดหวังแน่นวลลลล !! 036

- BLAST

magazine -

STRIVE FOR NOTHING

ALBUM : SELF TITLED LABEL : UNDERBRIDGE MUSIC ตอบสนองย่านความเสียว : 7 ฮาร์ดคอร์ เมทัลที่ก�ำเนิดได้ 5 ปีเศษ โดย มี อมรินทร์ ลพพิริยะวงษ์ หรือ ARMY ตามชื่อเล่น ที่ระบุในปกด้านใน เป็นแกนหลักวง เคยดูเล่นสด ไปครั้งสองครั้งและรวมถึงงานเปิดตัวอัลบั้ม หรือ จะบอกว่าเป็น อีพี 4 เพลงก็ไม่ผิดนัก เพิ่งจัดเมื่อ ปลายเดือนกรกฎาคม 2560 ที่ผ่านมา ผมไม่แน่ใจ ว่าสมาชิกมีเปลี่ยนหรือเข้าออกอะไรยังไง เอาตาม ในแผ่นมี ธนพร กีตาร์ / สุขสันต์ เบส / ธนุพงศ์ กลอง มาว่ากันถึง 4 เพลงแรกกันก่อนจะไปเจอ เพลงแถมอีก 5 เพลง เปิดหัวมาด้วยอินโทรโหมโรง แทร็คสอง Silencer ฮาร์ดคอร์ เมทัลจังหวะปาน กลาง หน่วงเหนี่ยวทูสเต็ปเป็นช่วง ๆ ริฟฟ์กีตาร์ย่าน เสียงกลางให้อารมณ์เหมือนวงนอกดัง ๆ มีท่อนร้อง คลีนที่ท�ำเอาตกใจนิดหน่อย เหมือนจะฟังแล้วขัดหู หน่อย ๆ ช่วงท้ายเพลงปล่อยเป็นบรรเลงไปจนจบ แทร็คสาม Ganger ได้ Brandan Schieppati ร้องน�ำสุดโหดวง Bleeding Through มาฟีทเจอริง่ ด้วย เสียงร้องแบรนแดนเชื่อว่าโหดอยู่แล้ว เมโลดี้เพลง ไม่ได้บู๊อะไรมากมาย จังหวะกลาง ๆ เน้นเป็นท่อน แก็งค์เป็นช่วง สองนาทีเศษเพลงก็จบไปอย่างไร้ ร่องรอย แทร็คสี่ First Blood เพลงนี้ได้ Vincent Bennett ร้องน�ำวง The Acacia Strain มาส�ำรอก เสียงร้องแขกรับเชิญโหดดุดัน แต่เมโลดี้เพลงก็ยังไม่ ได้บู๊อะไรมากมาย ปล่อยไปกลาง ๆ ไหลลื่นภายใน เวลานาทีเศษ แทร็คห้า Sand King ได้ Andrew Carey จากวง Evergreen Terrace นี่ก็ร้องน�ำสุด เดือดอีกคน เพิ่มจังหวะชวนมอชขึ้นมาอีกหน่อยและ ความยาวเพลงสี่นาที เพลงนี้น่าจะให้อารมณ์เป็น โพสท์ ฮาร์ดคอร์ สครีมโม ร้องคลีนหล่อ ฟังได้ เพลิดเพลินแบบ ฟังเพลงต่อไปกันดีกว่า ส�ำหรับ เพลงแถมก็เป็นเพลงตามด้านบน แค่เป็นแบบ เดโมยังไม่ได้ขัดเกลา งานนี้ได้ Zeuss มือมิกซ์ โปรดิวเซอร์ขั้นเทพสายโหดมาท�ำการมาสเตอร์ให้ 4 เพลงที่ได้มาน�้ำหนักเพลงค่อนข้างออกมาได้ดี แต่แขกรับเชิญที่มาฟีทด้วยกลับไม่ค่อยมีซีนเด่น มาก เรียบ ๆ ตามเมโลดี้เพลงกันไป งานนี้ทางวง ทุ่มทุนท�ำแผ่นซีดีลายหินอ่อนสีชมพูเพียง 100 แผ่น ติดตามหน้าเพจวงสั่งซื้อกันได้เลย

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


BLAST TEAM

FUCKED UP KIDS

UGOSLABIER

ALBUM : BREW HEART LABEL : BANANA RECORDS ตอบสนองย่านความเสียว : 10 กับทางวงรูจ้ กั กันมานานสมัย โอ๋ วิทวัส พิสทุ ธิทรัพย์ ยัง เรียนอยูร่ าชภัฎธนบุรแี ละโทรมาหาจะเอางานของวง Housetrap ให้ฟงั ตัง้ แต่นนั้ มาก็ยาว ๆ ทัง้ เรียกมาเล่น งาน เป็นทัวร์แมเนเจอร์ให้ชว่ งสัน้ ๆ จากนัน้ พอวงแตกสมาชิกแยกย้าย สามคนมาตัง้ วง ใหม่ในชือ่ วงที่ไม่ได้เกีย่ วอะไรกับประเทศเลย ฮาฮา พอล โซลิส ร้องน�า อนวัช พิสทุ ธิ ทรัพย์ กีตาร์ เสริมด้วย น�า้ มนต์ และ กัณฑ์ ทองเหลือ ในต�าแหน่งกลองและเบส แน่นอน ว่าต่างเข้าขากันได้ดเี พราะเคมีในร่างกายตรงกัน อะไรมันก็งา่ ยไปหมด เริม่ ต้นด้วยการ ออกซิงเกิล Open Water ตามด้วยเพลงฮิต Closer Than Ever ได้เอ๋ อีโบล่ามาฟีทเจอริง่ ปีทแี่ ล้วปล่อยซิงเกิล “เพลงที่ไร้คา� ตอบ” ได้ อาร์ท วง Lasthoper และ จามาล วง Ex’s and Oh’s มาร่วมร้อง และในปีนนี้ อกจากตระเวนเล่นงานแม่งจนมัว่ ไปหมด ก็ได้ฤกษ์ปล่อยอัลบัม้ เต็มเสียทีหลังจากตัง้ วงมาร่วม 5 ปี งานชุดนีจ้ ดั เต็ม 10 เพลง 2 อิน เอาท์โทร เริม่ กันเลยดีกว่า อินโทรด้วยเสียงสบถอะไรสักอย่างซึง่ พอล ร้องน�าวง ไปเอามาจากหนังอะไรซะอย่างนีแ่ หละแล้วตามด้วย Klin Isarawood#One (หรือชือ่ ไทย “กลิน่ อิสราวุธ” เพลงล้อเลียนดาราหนัง คลิน้ ท์ อีสต์วสู ไม่มอี ะไรมากชือ่ หยอก ๆ) ทีท่ กุ โชว์มกั จะเปิดด้วยเพลงนี ้ ความระห�า่ ประเคนให้เต็มเหนีย่ วเยีย่ วเต็มกางเกงด้วยริฟฟ์ กีตาร์ทวินของสองพีน่ อ้ งพิสทุ ธิท์ รัพย์ แทร็คสาม Harpoonist สัน้ ๆ ไม่ถงึ นาทีแต่ได้ใจ ความฉิบหาย ครัง้ แรกทีว่ งเล่นให้ฟงั ยังยุเลยว่าไปเล่นไกรน์คอร์กนั เหอะ ฮาฮา แทร็คสี่ Half Pint Fix ผ่อนคลายความเดือดลงไปสองสเต็ปด้วยจังหวะร็อกกลิน่ อายอีโมย้อนยุค แต่ฟงั แล้วมันก็โคตรมันส์ ยิง่ เจอแทร็คห้า Wondow A. ไม่ทงิ้ ช่วงความสนุก ดึงจังหวะตี เข่าให้จกุ กันไปข้างด้วยเสียงสครีมโมสุดพลังของ พอล โซลิส เพลงนีเ้ น้นอารมณ์ลว้ น ๆ แบบไร้สารเจือปน แทร็คหก Minute of Minutes จงใจให้ตอ่ เนือ่ งกันไปเรือ่ ย ๆ เพลงนี้ สครีมโม อีโม แบบเก่าเก็บหอมหวนลูกล�าเพลินจริง ๆ แล้วก็มาถึงเพลงเด่นดัง “เพลงที่ ไร้คา� ตอบ” โคตรเพราะ ฟังลืน่ ติดหู แม้วา่ ท�านองดนตรีอาจจะไม่ถกู จริตผูไ้ ม่ชอบความ หนัก แต่ถา้ ได้ฟงั ต้องมีชอบแน่นอน แทร็คแปด M.O.O.B.S กลับมาอีโม สครีมโม แบบ ดัง้ เดิมอีกครัง้ ไลน์กตี าร์ใส่ลกู ลิคเสริมมิตเิ พลง แทร็คเก้า WellPlayedNeverAgain ริฟฟ์ กีตาร์กระชากแบบเฮฟวีส่ ไตล์ กลางเพลงจัดบีทจงใจให้สนุกสุดเหวีย่ งไปกับพวกเขาอย่าง เต็มที ่ เป็นเพลงทีเ่ หมาะกับการเล่นสดจริง ๆ แทร็คสิบ Love Hate วิปริตกันอีกรอบ ใส่ กันนัวเนียทุกต�าแหน่งเสียงร้องตะแบงซะเหมือนพรุง่ นีจ้ ะไม่ได้รอ้ งอีกแล้ว แทร็คสิบเอ็ด Alrighty, Righty เพลงยาวสุดของอัลบัม้ นี ้ ได้ Sano ร้องน�าชาวญีป่ นุ่ จากวง Low Fat (วงพัง้ ก์ ฟาสท์คอร์สดุ เพีย้ น) ส�ารอกกันโหดสะบัดตัดขาไมค์ เมโลดีเ้ พลงแม่งก็เฮฟวีส่ ี่ เกลอฉิบหาย ตามสไตล์อย่างทีว่ งชอบ Every Time I Die เอาให้คลัง่ กันไปข้างโว้ย ฟังจบ แผ่น บอกได้คา� เดียวว่ามันเป็นอัลบัม้ ไทยร็อกนอกลูน่ อกทางทีด่ ที สี่ ดุ ตลอดกาลอีกอัลบัม้ คือ ท�าเพลงแบบไม่สนใจตลาดใด ๆ ทัง้ สิน้ ท�าตามใจ เล่นจากใจ กลัน่ จากใจ เลยกลาย เป็นงานทรงคุณค่าทีค่ ณ ุ ต้องพิสจู น์ดว้ ยหูตวั เอง ไร้สารปรุงแต่งให้ถกู จริต อยูท่ จี่ ะเปิดใจ รับฟัง Ugoslabier หรือเปล่าก็เท่านัน้ ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

ALBUM : COMPILATION VOL.1 LABEL : DIY ตอบสนองย่านความเสียว : 10 ได้แผ่นนี้มาหลาย เดือนละ ลืมที่จะ น�ามารีวิวให้ฟังกัน เผอิญรื้อแผ่นแล้ว เจอนึกขึ้นได้ว่าต้อง เขียน ฮาฮา กับ กลุ่มวัยรุ่นป่วนเมือง สไตล์ป็อป พั้งก์ กลุ่มใหม่ที่เพิ่งตั้งกันไม่นาน Fucked Up Kids ซึ่งก็ มีหัวขบวนโดย เปา ฤทธิ์ศักดิ์ ชูมิตร มือกีตาร์วง Handy Marathon คอยขับเคลื่อนกลุ่ม และผลงาน รวมวงและเพลงวงในเครือมีทั้งหมด 8 วง 8 เพลง เริ่มที่วงแรก Radio Exit วงนี้เคยเรียกมาเล่นงาน ครั้งนึง เล่นสดโอเคผ่าน เพลงดี จัดว่าเติบโตได้อีก ไกล พั้งก์ ร็อกแน่น ๆ กับเพลง “บางกอกบอย” Oi Oi Oi วงสอง Handy Marathon ของหัวหน้าหน่วย เล่มที่แล้วเพิ่งเขียนแนะน�าใน Blast Off พั้งก์ ร็อก เลือดไทยอนาคตไกล ถ้าไม่หยุดเล่นหรือแตกกันเสีย ก่อน เพราะทางเพลง เมโลดี้ แม่งได้อะ กับเพลง Dog In Manger เนื้อร้องไทยแต่งได้โคตรเฟี้ยว วงสาม Anti Pants สเก็ตพั้งก์สไตล์กับเพลง Brand new Me ฟังไหล ๆ กันไป วงสี่ Flipped วงนี้คุ้นตา เพราะเคยเห็นตระเวนเล่นงานอยู่ ป็อป พั้งก์ จังหวะกระชับรูดากส์หูรูดนี่ฟิต ๆ วงที่ห้า Jelly Cheese Burger นี่วงแรก ๆ ของกลุ่มน�าขบวนโดย เปา คนเดิม เนื้อหาเพลงสนุก ๆ กวนส้น ป็อป พั้งก์ ชวนโยก ใครฟังต้องชอบแน่นอนจ่ะ วงที่หก Pretty Punks วงนี้เขียนแนะน�าไปก่อนหน้าแล้ว ฝีมือการ แต่งเพลงเอาเรื่อง ติดหู เล่นสดดี อนาคตไกล แน่นอนวงนี้ วงที่เจ็ด A Little Hope For The Kids วงนี้มาแน่น ๆ เนื้อ ๆ กระชับไว แต่ดูเหมือนวงจะ ไม่ค่อยมีการกระเตื้องอะไรมาก ดูจากเพจที่ร้าง หลายเดือน วงสุดท้าย Lost in 90th เป็นวงเดียว ที่มาในเนื้อร้องอังกฤษ ฝีมือเยี่ยม ร้องส�าเนียง จัดจ้าน เป็นอีกวงที่ช่วงนี้ไม่ได้กระเตื้องอะไรมาก เพราะหลังจากทางกลุ่มจัดงาน “วันเด็กแห่งชาติ” รวมตัวกันถล่มกันย่านรางน�้า มีหลายวงก็นิ่ง ๆ กัน ไป แต่เชื่อเลยว่ายังไม่น่าจะหยุดท�าเพลงกันแน่นอน ฟังแล้วคิดถึงค่าย New Destiny ค่ายพั้งก์ไทย ต�านานที่หยุดตัวเองไปแล้ว เพลงวัยรุ่นวันวานสไตล์ ป็อป พั้งก์ ฟังยังไงก็ไม่เบื่อ ถ้าฟังแล้วเบื่อเมื่อไหร่ นั่นแหละ คุณแม่งแก่แล้ว ฮาฮาฮา

- BLAST

magazine - 037


! ! ! K PUNL A B E L S In Fact

ชุมนุมค่ายเพลงพั้งก์ระดับต�านาน ที่คุณต้องรู้จัก (ตอนที่ 1)

เสน่หข์ องกลุม่ ในซีนวงการเพลงพัง้ ก์โดยเฉพาะสาย Hardcore Punk เลยก็คอื การท�างานในรูปแบบ DIY หรือ Do it yourself อันเป็นรูปแบบการ ท�างานขายเอง ท�าเอง และสร้างกลุม่ เคลือ่ นไหวทางดนตรีขนึ้ มา ให้มสี สี นั ได้แลกเปลีย่ นดนตรีกนั ทัง้ งานทีจ่ ดั ขึน้ มากันเอง และร่วมกับกลุม่ อืน่ ๆ บางแห่งเป็นต�านานแต่หนหลัง บางแห่งเป็นต�านานทีย่ งั มีลมหายใจ หรือบางแห่ง ก็เป็นค่ายทีเ่ ริม่ ขยายกิจการสร้างเครือข่ายในวงการเพลงพัง้ ก์และสายทางเลือก บทความนีอ้ าจไม่ได้รวบรวมทุกค่ายในซีนนีม้ า แต่จะน�าเสนอค่ายสายนี้ ที่ ล้วนเริม่ ต้นจากศิลปินเพือ่ ศิลปิน เพือ่ ออกงานวงตัวเองก่อนกลายเป็นค่ายเพลง จริงจังเผือ่ แผ่วงอืน่ ซึง่ เป็นสิง่ ที่ในวงการเพลงไทยน่าจะเรียนรูเ้ อาไว้ ไม่เสียหาย

ALTERNATIVE TENTACLES (San Francisco, USA) ก่อตัง้ ในปี ค.ศ.1979 ในเมือง San Francisco ประเทศสหรัฐอเมริกา โดย Jello Biafra และ East Bay Ray นักร้องน�าและมือกีตาร์ตามล�าดับใน วง Dead Kennedys หนึง่ ในวงดนตรี ผูบ้ กุ เบิกHardcore punk ในแถวเบย์ แอเรีย โดยมีงานชิน้ แรกคือซิงเกิล้ California Uber Alles ในปีเดียวกัน ผลปรากฏว่าไม่ได้รบั การตอบรับจาก สือ่ มวลชนอเมริกาบ้านเกิดเท่าไหร่นกั ตรงกันข้ามกับทีอ่ งั กฤษทีม่ คี นเสาะ แสวงหาผลงานของพวกเขาข้ามฝัง่ ไป น�าเสนอทีแ่ ห่งนัน้ จึงไปน�าสูก่ ารทัวร์วง Dead Kennedys ในประเทศอังกฤษ ปี 1980 ร่วมกับวงพัง้ ก์ทอ้ งถิน่ ของที่ นัน่ ตรงนัน้ นีเ่ อง Jello จึงได้พดู คุย กับ Iain Mcnay เจ้าของค่ายเพลง Cherry Red Records ในอังกฤษถึง ความเป็นไปได้ในการท�าอัลบัม้ เต็ม 038

- BLAST

magazine -

Iain ชอบแนวคิดและทัศนคติทางการ เมืองของ Jello จึงหาเงินทุนมาให้ Dead Kennedys ออกอัลบัม้ เต็มได้ หนึง่ หมืน่ เหรียญสหรัฐฯ ซึง่ ถือว่ามาก ทีส่ ดุ ในการท�าเพลงพัง้ ก์ใต้ดนิ ของวง ฝัง่ อเมริกาในยุคนัน้ จึงก�าเนิดอัลบัม้ ชุดแรก “Fresh Fruit for Rotting Vegetables” ออกมาในปี 1980 และ ถือว่าเป็นวงพัง้ ก์อเมริกนั วงแรกทีท่ า� ยอดขายถึงระดับแผ่นเสียงทองค�าใน อังกฤษได้เป็นวงแรกในประวัตศิ าสตร์ เมือ่ ได้เรียนรูก้ ารท�างานในการเป็น ค่ายเพลงจริงจังกับต้นสังกัดในอังกฤษ สมาชิก Dead Kennedys โดยเฉพาะ Jello และ East Bay จึงท�าค่าย Alternative Tentacles ให้กลายเป็น ค่ายเพลงทีจ่ ริงจังขึน้ และน�ารายได้ จากการทัวร์และขายแผ่นในอังกฤษมา ท�าค่ายจริงจัง โดยน�าเสนอวงอืน่ ๆ ใน ซีนพัง้ ก์ของ Bay Area และจากทีต่ า่ ง ๆ มาร่วมทัวร์ไปกับ Dead Kennedys โดยเฉพาะการออกผลงานให้วงเหล่านัน้ โดยมีคา่ ย Cherry Red ดูแลใน การกระจายผลงานในยุโรป และ I.R.S. Records ในสหรัฐฯ วงดนตรี ทีเ่ คยมีผลงานกับทาง Alternative Tentaclesก็เช่น Butthole Surfers, DOA, 7 Seconds, TSOL, Melvins Half Japanese ฯลฯ รวมไปถึงการ เป็น imprint label ตราแผ่นเสียง ทีน่ า� เสนอวงฮาร์ดคอร์พงั้ ก์จากฝัง่

สหรัฐฯทัง้ ในค่ายและค่ายอืน่ เป็นค่าย แรกในอังกฤษ ในนาม Alternative Tentacles UK. ซึง่ วงจากทางฝัง่ ค่าย Dischord, SST ในการมาน�าเสนอ ในทวีปยุโรป ปัจจุบนั ค่ายยังด�าเนิน การอยู ่ แม้ลขิ สิทธิผ์ ลงานของ Dead Kennedys จะถูกโยกน�าไปอยูก่ บั ค่าย ใหม่อย่าง Manifesto Records แล้ว ในปัจจุบนั โดย East Bay Ray ไปเปิด ค่ายใหม่นนี้ นั่ เอง

BYO RECORDS (Los Angeles, USA) มีชอื่ เต็มว่า Better Youth Organization Records ก่อตัง้ โดยพี่ น้อง Stern คือ Shawn และ Mark ที่ เป็นสมาชิกวง Youth Brigade หนึง่ ใน วงจากซีนพัง้ ก์แอล.เอ ภายใต้สโลแกน ว่า “Youth is an attitude, not an age,” ซึง่ ก็คอื ความตัง้ ใจของพวกเขา ทีน่ อกจากน�าเสนองานเพลงของตัววง แล้วยังพยายามรวบรวมวงสาย ฮาร์ด คอร์, สตรีทพัง้ ก์ให้ถกู น�าเสนองาน ออกมาให้ชดั เจนเป็นรูปธรรรม นับ ตัง้ แต่ป ี ค.ศ. 1982 เป็นต้นมา โดย เฉลีย่ ในยุคเริม่ แรกวงดนตรีทเี่ ข้ามา เป็นศิลปินในสังกัดจะอายุอยูท่ ี่ 16-20 ปี สมกับเป็นพืน้ ทีข่ องวงไฟแรงมาน�า เสนอผลงาน ศิลปินที่ได้ผา่ นค่าย BYO แห่งนีก้ เ็ ช่น 7 Seconds, Agression, SNFU เรือ่ ยมาจนถึงล่วงเข้ายุค 90’s ทีท่ างวงเริม่ ขยายแนวเพลงไปหาดนตรี ทดลองขึน้ และเปิดโอกาสให้วงเด็กรุน่ ใหม่แม้ไม่ได้ทา� แนวพัง้ ก์ได้มาน�าเสนอ ผลงานแต่แนวพัง้ ก์กย็ งั คงน�าเสนอ เช่นวง The Unseen, Leatherface, Automatic 7 เป็นต้น

อังกฤษของ Penny Rimbaud และ Gee Vaucher ทีค่ ฤหาสน์ Dial House ในเมือง Essex ประเทศอังกฤษ ช่วง กลางทศวรรษที ่ 70’s Penny นัน้ เคย เป็นศิลปินสายทดลองเคยตีกลองมา ก่อน บวกกับกระแสดนตรีพงั้ ก์ทกี่ า� ลัง มา แต่เขาต้องการท�าดนตรีทแี่ ตก ต่างออกไปและไม่ใช่แฟชัน่ แบบพัง้ ก์ อังกฤษเวลานัน้ เพราะนีค่ อื ขัว้ ตรงข้าม และระเบิดด้วยเสียงของความไม่พอใจ ความถูกกดขีจ่ ากชนชัน้ สังคม ค่านิยม ต่าง ๆ และท�าลายล้าง ราวกับโลกอยู่ ใน Year Zero (Non-existence) จึง ได้รวบรวมนักดนตรีและคนท�างาน ศิลปะทีม่ าแลกเปลีย่ นผลงานกันที่ Dial House จึงเกิดเป็นโปรเจควงพัง้ ก์ ทีช่ อื่ “Crass” ขึน้ ด้วยดนตรีฟรีฟอร์ม หนักหน่วง บางเพลงเล่นใช้เวลาสัน้ ๆ หรือส�ารอกทัง้ เพลง อันเป็นหนึง่ ใน ต้นแบบให้เกิด Hardcore punk ขึน้ มา และเนือ่ งด้วยแนวเพลงแบบนี้ ค่ายเพลงทุกระดับต่างปฏิเสธ Crass Records จึงเกิดขึน้ มาเพือ่ ดูแลผลงาน ของวงตัวเองในปี ค.ศ. 1978 Crass เป็นต้นแบบบุกเบิก DIY -Punk Ethic ในหมูน่ กั ดนตรีพงั้ ก์องั กฤษ ให้เริม่ ตัง้ ค่าย vanity label ดูแลผลงานของวง ตัวเองอย่างจริงจัง และรวบรวมพรรค พวกในซีนทีน่ า่ สนใจมารวมกลุม่ มา ร่วมช่วยกันขายน�าเสนอผลงานเพลง ด้วยกันและไม่สนระบบของค่ายใหญ่ ใด ๆ ด้วย แม้มคี นมายืน่ ข้อเสนอของ พวกเขา เพราะพวกเขามองว่า พัง้ ก์ อังกฤษก่อนหน้านัน้ ทีห่ าค่ายเพลงหรือ ค่ายใหญ่ ๆ กัน ไม่ได้พงั้ ก์จริง ล้วนแต่ รับใช้ระบอบทุนนิยม หรือเพือ่ ชือ่ เสียง เงินทองทัง้ สิน้ ซึง่ น�าไปสูก่ ารวิวาทะกับ คนในซีนพัง้ ก์อนื่ ๆ มากมายในภาย หลัง เกีย่ วกับประเด็นเรือ่ งนี ้ อย่างไร ก็ดีในรหัส catalogue บนแผ่นเสียง ของทางค่ายคือการนับถอยหลังนับจาก ปี 1979 จนถึงปี 1984 ว่าหมายถึงจะ ยุตกิ ารท�างานทุกรูปแบบในนาม Crass

CRASS RECORDS (Essex, UK) ประวัตศิ าสตร์ทางดนตรีสาย Hardcore Punk และ Anarcho punk จะไม่สมบูรณ์หากขาดค่ายนี ้ เริม่ จาก โปรเจคงานศิลปะต่อต้านสังคมใน ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


เทพ ปลันธน์ พงษ์พานิช

ทัง้ ตัววงและค่ายเพลง เป็นการตัง้ เวลา Doomsday clock ในการท�างาน เอง เพราะ Penny เชือ่ ว่า “พอล่วง เข้าปีค.ศ. 1984 อังกฤษและโลกทัง้ ใบ จะพินาศหมด! (วันสิน้ โลก)” และเล่น อ้างอิงถึงวรรณกรรมเรือ่ ง “1984” ของ George Orwell ด้วย ศิลปินอืน่ ๆ ทีค่ า่ ยน�าเสนอล้วนแต่เป็นคนในแวดวง พัง้ ก์หรืองานศิลปะทีค่ ลุกคลีใน Dial House ทัง้ สิน้ เช่น Zounds, Flux of Pink Indians, Conflict, Honey Bane ซึง่ ถือว่าเป็นศิลปินสายHardcore และ Street punk, anarcho political view แทบทัง้ สิน้ และบางวงไปได้อกี ไกลในเวลาต่อมา

ดี.ซี. พวกเขาได้รายได้จากการทัวร์ ทีผ่ า่ นมาหักลบหนีค้ า่ ใช้จา่ ย รวมกัน แล้วได้ 600 เหรียญสหรัฐฯ พวกเขา มีทางเลือกสองทางคือแบ่งเงินเป็นสี่ ส่วนแล้วแยกย้าย หรือ เอาเงินส่วนนี้ มาท�าแผ่นเสียงอัลบัม้ ของวงตัวเองวาง แผงเพือ่ เป็นทีร่ ะลึก พวกเขาตัดสินใจ เลือกอย่างหลัง... และนัน่ คือจุดเริม่ ต้น ของ Dischord ล่วงเข้าต้นศตวรรษที่ 80’s Dischord ยังคงน�าทางและเป็นพี่ ใหญ่ในซีนฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์แผ่กระจาย จากฝัง่ ตะวันออกสูต่ ะวันตกโดยการน�า ของ Minor Threat และถือเป็นหนึง่ ในจตุรเทพค่ายเพลงพัง้ ก์ทสี่ า� คัญของ อเมริกาในช่วงยุค 80’s เคียงข้างกับ Alternative Tentacles, SST, Touch and Go เช่นกันในยุครุง่ เรืองของสาย ฮาร์ดคอร์ และทีส่ า� คัญค่ายเพลงนีค้ อื จุดเริม่ ต้นของสายทีเ่ รียกว่า Straight Edge หรือทีเ่ รียกกันว่า พัง้ ก์สายคลีน พวกเขาจะไม่ยงุ่ เกีย่ วกับยาเสพติด สุรา หรือสิง่ หลอนประสาท จะไม่ DISCHORD ท�าตัวเป็นภาระสังคม เป็นตัวของตัว (Washington D.C. USA) ค่ายเพลงแห่งนีค้ อื ตักศิลาของ เอง ไม่กอ่ อาชญากรรมใด ๆ แล้วอ้าง Hardcore Scene ในฝัง่ ดี.ซี. ไม่มคี า่ ย ว่าเป็นสิง่ ทีพ่ งั้ ก์ทา� กัน และบางคนใน นีส้ ายพัง้ ก์อย่าง Straight Edge, Emo, กลุม่ นีก้ เ็ คลือ่ นไหวทางสังคมเพือ่ สิทธิ เสรีและความยุตธิ รรม อันเป็นปณิธาน Grindcore, Hardcore, Garage punk ในฝัง่ ตะวันออกของอเมริกาไม่มี ที ่ Ian Mackaye ตัง้ ใจเอาไว้และเขา ทางกระเตือ้ งขึน้ แน่นอน และก็เหมือน ก็ประกาศตัวว่าเขาเป็นคนหนึง่ ที่ไม่ยงุ่ เกีย่ วกับยาเสพติดเลยแม้แต่นอ้ ย และ การเริม่ ต้นของวงพัง้ ก์ตา่ ง ๆ ทีท่ า� ค่ายคือ เพือ่ ออกผลงานให้วงตัวเอง รูส้ กึ แย่และเสียใจหากมีใครถล�าเข้าไป หามัน หรือเสียชีวติ เพราะมัน อนึง่ ในปี 1980 กับวงดนตรีวงแรกของ วงในค่ายทีต่ ามรอยมาติด ๆ ก็มเี ช่น ค่ายคือ The Teen Idles ทีม่ ี Ian Fugazi, Goverment Issue, Void, Mackaye และ Jeff Nelson เป็น Iron Cross, Gray Matter (วงบุกเบิก สมาชิกวงซึง่ ต่อมาทัง้ คูไ่ ด้ไปตัง้ วง Hardcore Punk ระดับต�านานอย่าง สายสครีโม), Shudder to think และ Scream วงฮาร์ดคอร์ซงึ่ มีมอื กลองที่ Minor Threat ขึน้ มา จุดเริม่ ต้นของ ค่ายเริม่ มาจากวง The Teen Idles ได้ ชือ่ ว่า Dave Grohl เป็นสมาชิกวงและ มีโอกาสอัดเพลงไว้จา� นวนหนึง่ แต่ไม่มี เล่นให้สองอัลบัม้ ก่อนทีเ่ ขาจะกลาย ค่ายเพลงใด ๆ รับพวกเขาเป็นศิลปิน เป็นสมาชิกวง Nirvana ในเวลาต่อมา เนือ่ งจากดนตรีหนักหน่วงแปลกแหวก (Scream เคยทัวร์รว่ มกับ Nirvana กว่าในยุคนัน้ พวกเขาจึงตระเวนทัวร์ และเห็นฝีมอื ซึง่ กันและกัน รวมถึงการ พูดคุยถูกคอกันของทัง้ สองวง) ร่วมกับวง SVT, The Cramps, Bad Brains เหล่าวงพัง้ ก์รนุ่ พี่ในขณะนัน้ ใน การไปเล่นตามทีต่ า่ ง ๆ ทัว่ สหรัฐ และ EPITAPH น�าบทเพลงทีท่ า� กันมาลงแผ่น white (Los Angeles, USA) ถ้าจะเอ่ยถึงค่ายเพลงพัง้ ก์ทมี่ ี pressing ให้คนดูได้อดุ หนุน ปรากฏ การเติบโตแตกย่อยค่ายในเครือเยอะ ว่าคนดูทโี่ ชว์ของทางวงแล้วประทับ ใจและมาอุดหนุนแผ่นเสียงตัวอย่างนี้ ทีส่ ดุ ค่ายหนึง่ อีกทัง้ ศิลปิน/อดีตศิลปิน ด้วยกันคับคัง่ ท�าให้สมาชิกในวงคิดถึง ในสังกัดช่วยกันสร้างงานช่วยงานของ ว่าถ้าจะรวบรวมเพลงมาปัม๊ แผ่นเสียง ค่ายคนละไม้คนละมือดัง่ ครอบครัว ใหญ่ชอื่ ของ Epitaph Records อีก วางแผงขายจริงจังขึน้ มาทันที เมือ่ หนึง่ ค่ายเพลงพัง้ ก์อนั ดับต้นของ พวกเขากลับมาทีบ่ า้ นเกิด วอชิงตัน ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

สหรัฐฯและของโลกคือหนึง่ ในค่ายนัน้ ทีก่ ล่าวถึง จากเดิมก็เหมือนการเริม่ ต้น Vanity Label ของพวกศิลปินพัง้ ก์ก็ คือเพือ่ เป็นตราแผ่นเสียงผลงานวงตัว เองและเพือ่ วางขายในร้านแผ่นเสียง ทัว่ ไปได้สมัยนัน้ ในแอลเอ ร้านแผ่น เสียงจะไม่รบั แผ่นเสียงใต้ดนิ หรือวง อิสระไม่มสี งั กัดมาวางบนแผง เพราะ ถือว่าเป็นวงสมัครเล่น และท�าธุรกรรม ด้วยล�าบาก เชือ่ ถือยาก การตัง้ ค่าย เพลงหรือท�าแผ่นแบบจริงจังจึงต้องท�า ขึน้ ในเวลานัน้ ค่ายก่อตัง้ โดย Brett Gurewitz มือกีตาร์และหัวหน้าวงของ Bad Religions เพือ่ ท�าธุรกรรมภายใน วงด้วยดี จนกระทัง่ เมือ่ ถึงคราววง ของตัวเองยุตลิ งไปครัง้ แรกในปี 1984 บวกกับการพบเจอวงของเพือ่ น ๆ น้อง ในซีนพัง้ ก์แอล.เอ ทีน่ า่ สนใจ น่าออก ผลงานอัลบัม้ หรือซิงเกิล้ จึงด�าเนินรูป แบบค่ายเพลงจริงจังมากขึน้ ในเวลานัน้ ท�าให้ได้แจ้งเกิดศิลปินทีค่ า่ ยน�าเสนอ มากมายและกลายเป็นวงพัง้ ก์ระดับ ต�านานทุกวันนีเ้ ช่น NOFX, Rancid, The Offspring, Pennywise, L7, SNFU, Total Chaos ฯลฯ ตลอดช่วง ในยุค 80’s-90’s เพราะบรรยากาศ แบบนีน้ เี่ องเป็นแรงบันดาลใจให้ Brett กลับมาฟอร์มวงใหม่ของ Bad Religions อีกครัง้ จนถึงปัจจุบนั ใน ปี 1994 ถือเป็นปีทองของค่ายเมือ่ The Offspring สร้างประวัตศิ าสตร์ ของศิลปินในค่ายได้เป็นครัง้ แรกเมือ่ อัลบัม้ ชุด Smash ของพวกเขาคว้า รางวัลแผ่นเสียงทองค�าขาวเป็นครัง้ แรกในประวัตศิ าสตร์วงพัง้ ก์ในวงการ อินดีท้ า� ได้ระดับอย่างนัน้ ด้วยยอดขาย 11 ล้านชุด และเป็นงานชุดแรกของ Epitaph ทีต่ ดิ อันดับ Hot 100 Album ของ Billboard Charts หลัก ๆ ได้ที่ อันดับ 4 และยังเป็นสถิตอิ ลั บัม้ เพลง พัง้ ก์จากระดับอินดี้ใต้ดนิ ทีท่ า� ยอดขาย สูงสุดตลอดกาล และเอาโล่แผ่นเสียง ทองค�าขาวไปประดับในออฟฟิศของ

Epitaph ได้เป็นผลส�าเร็จและตอกย�า้ ความส�าเร็จด้วยผลงานอัลบัม้ Punk in Drublic ด้วยยอดขายระดับล้านก๊อปปี้ และทางวงก็ชว่ ยคว้าแผ่นเสียงทองค�า มาให้คา่ ยได้อกี วง ช่วยปลุกกระแสวง พัง้ ก์ทเี่ คยซบเซาให้กลับมาคึกคักกลาง ยุค 90’s และท�าให้พวกค่ายใหญ่ตาม หาวงสไตล์แบบนีห้ รือวงทีเ่ คยออกผล งานกับทางค่าย Epitaph น�าเสนอในวง กว้างขึน้ นอกจากนีศ้ ลิ ปินพัง้ ก์ในค่าย นอกจากน�าเสนอเพลงของวงตัวเอง แล้ว ยังท�าหน้าทีเ่ ป็น talent scout, producer, creative, art direction, tour manager ต่าง ๆ ช่วยงานวงใน ค่ายซึง่ กันและกันด้วยแม้คา่ ยจะเติบโต ขึน้ เพียงใด ดังเห็นว่ามีการแตกแขนง ค่ายย่อยในเครือต่าง ๆ ซึง่ ก็ชว่ ยดูแล โดยคนทีเ่ กีย่ วข้องกับ Epitaph เองทัง้ สิน้ เช่น Hellcat Records ดูแลและน�า เสนอศิลปินโดย Tim Armstrong วง Rancid, Anti-น�าเสนอศิลปินสาย ทางเลือกที่ไม่ใช่พงั้ ก์ เช่น urban hip hop / neo-soul / folk pop ที่ Brett เห็นว่าน่าสนใจและอยูแ่ วดวงนัก ดนตรีแคลิฟอร์เนีย, Burning Heart Records ตัวแทนจ�าหน่ายงานพัง้ ก์ จากฝัง่ ยุโรปโดยเฉพาะแถบสแกน ดิเนเวีย / อังกฤษ / เยอรมนี หรือวง จากฝัง่ นัน้ ที ่ Brett ได้พบเจอและสนใจ ออกงานให้ ปัจจุบนั ทีมบริหารของวง The Hives จากประเทศสวีเดน ทีก่ ็ ออกผลงานกับ Epitaph มาดูแลค่าย ในส่วนนี,้ Fat Possum Records แรก เริม่ เพือ่ น�าเสนอวงพัง้ ก์ทางฝัง่ ตอนใต้ ของสหรัฐอเมริกาทีม่ ซี นี น�าเสนอแบบ พัง้ ก์บา้ นนอก แต่ปจั จุบนั ครอบคลุม งานดนตรีหลากหลายทีม่ าจากฝัง่ นัน้ อีกทัง้ ปัจจุบนั แบรนด์ของ Epitaph ยัง ขยายเพือ่ น�าเสนอผลงานเพลงไปตาม สือ่ ต่าง ๆ เช่น วิดโี อเกม, ออนไลน์ คอนเทนต์, ร้านของทีร่ ะลึกศิลปิน, วิทยุออนไลน์ หลายคนมองว่าค่ายเริม่ corporate เกินไป แต่นายห้าง Brett กล่าวเสมอว่านีค่ อื การท�างานทีอ่ ยู่ใน โลกความเป็นจริง อยากมันส์ อยาก สนุก ก็ตอ้ งจริงจังด้วยจึงจะอยูร่ อดใน วงการเพลงปัจจุบนั นี้

- BLAST

magazine - 039


COVER STORY

040

- BLAST

magazine -

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


BLAST TEAM

HELENABXL.COM, BJ PAPAS

A LEGEND OF NEW YORK HARDCORE สัมภาษณ / แปล / เรียบเรียง : Grace Haner

ต้นยุค 90 ซีนดนตรีในบ้านเราใครอยากฟังเพลงวง ต่างประเทศแปลก ๆ หนัก ๆ ต้องอาศัยเทปคาสเซ็ทยี่ห้อ “Peacock” (พีค็อกส์) เป็นส่วนใหญ่ เรียกว่าครองเจ้า ตลาดในยุคนั้น และเป็นการรอคอยออกผลงานที่คนฟังเองก็ ไม่สามารถคาดเดาอะไรได้ว่าจะมีวงไหน เบอร์ ไหนออกมาให้ ได้ซื้อกัน และในช่วงนี้เองทางค่ายเมเจอร์เจ้าของลิทธ์สิทธิ์ถูก ต้องก็ต้องน�าผลงานออกมาจ�าหน่ายบ้าง เพื่อไม่ให้ถูกตลาด เทปผีแชร์ส่วนแบ่งมากไปกว่านี้ และนั้นท�าให้บางศิลปิน วง ดนตรี สายหนักทยอยออกมาไม่ซ�้าหน้า และรวมถึงวง Sick Of It All กับงานชุด Scratch the Surface ที่ออกมาวาง จ�าหน่ายกลางยุค 90 หรือเมื่อ 23 ปีที่ผ่านมา Sick Of It All เป็นวงฮาร์ดคอร์ พั้งก์จาก ควีนส์, นิวยอร์ค (New York Hardcore) ที่ก่อตั้งวงมาตั้งแต่ปี 1986 นับถึงปัจจุบันอายุวงก็ปาไป 31 ปีแล้ว น้อยวงนักที่ จะรักษาสถานภาพความยาวนานได้ขนาดนี้แบบไม่มีแตกวง หรือพักเบรก 11 อัลบั้ม กับ 1 ชุดพิเศษครบรอบ 30 ปี กา รันตีความอึดได้เป็นอย่างดี และในโอกาสที่ทางวงก�าลังมา เยือนประเทศไทยมาสร้างความมันส์เป็นครั้งที่ 3 BLAST Magazine ไม่พลาดที่จะน�าวงต�านานของโลกฮาร์ดคอร์ มิวสิคขึ้นปกเพื่อเป็นเกียรติกับเรา และบทสัมภาษณ์ Lou Koller ที่เราได้สัมภาษณ์ผ่านทางอีเมล์

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine -

041


เนื้อหาในเพลงเกิดขึ้นได้เพราะพวกเราทนไม่ได้เวลาเห็นข่าว ที่เต็มไปด้วยความไม่เท่าเทียมกันในสังคมโลก โดยไม่ปริปากพูดอะไรออกมาเลย เมื่อปี 2016 เป็นปีที่ทางวง Sick Of It All ครบรอบ 30 ปีพอดี ทางวงช่วย เล่าผ่านมุมมองของตนเองหน่อยว่า ในตลอดเวลาที่อยู่ในซีนดนตรี New York Hardcore มีวัฒนธรรมอะไรที่ เปลี่ยนแปลงไปบ้าง? รวมไปถึงเวลา ที่ทางวงออกไปทัวร์ข้างนอกประเทศ ซีนดนตรี Hardcore ของที่อื่นแตก ต่างจากที่ New York อย่างไร? Lou: ซีนดนตรี New York Hardcore เริ่มมาจากการวมตัวกัน ของผู้คนกลุ่มหนึ่งที่มีภูมิหลังและ ความคิดแตกต่างกันออกไปมาเจอกัน เพราะพวกเราเข้ากับสังคมทั่วไปไม่ได้ จากร้อยพ่อพันแม่ ไม่ว่าจะมีความคิด เห็นทางการเมืองที่แตกต่างกัน สีผิว ที่ต่างกัน หรือแม้แต่เพศที่ต่างกัน ดัง นั้นสิ่งที่ท�ำให้พวกเรามารวมกันได้ คือ ดนตรี เรื่อยๆมาแม้ซีนดนตรีจะใหญ่ ขึ้นแต่ความคิดที่เคยสอดคล้องกันมัน ก็อ่อนแอลงไม่ต่างจากซีนดนตรีอื่น แนวความคิดเริ่มแตกออกกันไปคนละ ทาง ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม ดูเหมือนกับว่าจุดส�ำคัญของดนตรีซีน นี้ก�ำลังถูกมองข้าม ก็คือ การได้อยู่ ในสังคมที่ไม่มีใครมาตัดสินคุณ แต่ ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมาผมคิด ว่าซีนดนตรี New York Hardcore ก�ำลังเดินย้อนรอยกลับไปสู่ความคิด แบบเดิมซึ่งสนับสนุนการยอมรับฟัง ความคิดเห็นที่แตกต่างและไม่มีการ ตัดสินกัน ที่ผมคิดว่าซีน New York Hardcore ก�ำลังหวนกลับไปสู่แนวคิด เริ่มต้นได้ก็เพราะการที่ผู้คนภายนอก ซีนใน New York ช่วยผลักดันให้มันดี ขึ้น ทั้งเพราะวงดนตรีฝั่งเราเดินทาง ไปรอบโลกเพื่อเล่นคอนเสิร์ตด้วย และทั้งแฟนเพลงเองที่เดินทางมา New York ด้วย บางที่ที่เราไปทัวร์ ขนาดของซีน Hardcore เล็กลง บางทีก่ ใ็ หญ่ขนึ้ เรือ่ ย ๆ ครับ ตราบใด ที่ยังมีเยาวชนที่ขุ่นเคืองกับเรื่องราว 042

- BLAST

magazine -

ต่าง ๆ และตราบใดที่ยังมีผู้คนที่ ไม่ชอบความไม่เป็นธรรมที่เกิดขึ้นใน สังคมซีน New York Hardcore จะ อยู่ข้าง ๆ พวกเขาเสมอครับ ดูเหมือนว่าซีน New York Hardcore ก�ำลังกลับมารุ่งโรจน์อีกครั้ง ช่วยบอก หน่อยว่าท�ำไมผู้คนถึงหันมาให้ความ สนใจกับซีนดนตรีนี้อีกครั้ง Lou: ใช่ครับ ผมคิดว่าคนรุน่ ใหม่คน้ พบซีนดนตรีนกี้ นั เยอะขึน้ มี แฟนเพลงยุคใหม่หลายคนทีห่ นั มาให้ ความสนใจพวกเราและพวกเขาอยาก รูท้ กุ อย่างเกีย่ วกับยุคแรก ๆ ทีว่ งเรา เคยเล่นทุก ๆ วันอาทิตย์ชว่ งกลางวันที่ CBGB (เป็นจุดก�ำเนิดของดนตรีพงั้ ก์) โดยในช่วงปี ค.ศ. 1980-1990 มีซนี ดนตรี Hardcore มาช่วยสร้างสีสนั ให้ทนี่ นั่ อย่างมากครับ จริง ๆ แล้วมี วงหน้าใหม่หลายวงทีเ่ ล่นดนตรีสไตล์ New York Hardcore ถึงแม้วา่ พวก เขาจะไม่ได้มาจาก New York ก็ตาม มีวงเก่าหลายวงทีห่ นั มาฟอร์มวงกัน ใหม่อย่างเช่นเพือ่ นเรา นักร้องน�ำวง Cro-Mags เขาก็พงึ่ จะฟอร์มวงใหม่ โดยใช้ชอื่ ว่า Bloodclot ทีผ่ มอยาก จะสือ่ ออกมาคือ มีวงใหม่มากหน้า หลายตาเกิดขึน้ มาจากทีน่ แี่ ละผูค้ นก็ ให้ความสนใจดีมาก ไม่วา่ ซีนดนตรี ที่ใหญ่ทสี่ ดุ ข้างนอกจะเกิดอะไรขึน้ พวกเราก็ยงั ด�ำเนินกันต่อไปครับ ส�ำหรับวง Sick Of It All ยุคไหนเป็น ยุคที่พวกคุณรุ่งเรืองที่สุด? ใช่ช่วง แรกที่พึ่งเริ่มก่อตั้งวงกันเลยรึเปล่า? Lou: ช่วง ค.ศ. 1994-1999 ไปจนถึงประมาณ 4 ปีหลังจากนั้น น่าจะเป็นช่วงยุคทองของพวกเรา ครับ ส�ำหรับผมแล้วการเดินทางของ วงเรายังอยู่ในช่วงรุ่งเรืองเสมอ ถึง แม้ว่ามันจะเป็นช่วงเวลาที่ยากและ ล�ำบากบ้าง แต่มันสนุกมาก ๆ ครับ

ฮ่า ๆ ต่างแยกย้ายกันไปใช้เวลากับ ครอบครัวครับ แต่ละคนมีงานอดิเรก ต่างกันไป ส่วนตัวผมชอบอ่านหนัง พวกชีวประวัติ เล่มที่ผมชอบจะมี พูดถึงเรื่องความรุนแรงใน Mosh Pit Lemmy จากวง Motörhead, เฉิน มีคลิปวีดีโอออนไลน์หลายคลิปที่เรา หลง, John Joseph จากวง Croสังเกตเห็นว่า การ Mosh ของบาง Mags และ Jack Kirby ครับ เวลา คนรุนแรงจนคนรอบข้างได้รับบาดเจ็บ เขียนเพลงเราก็จะส่งข้อความหากัน ราวกับว่าพวกเขาตั้งใจที่จะท�ำให้มัน ว่ามีไอเดียอะไรใหม่ ๆ แล้วค่อยเอา เกิดขึ้นรึเปล่า? ทางวงคิดว่าใน Mosh มารวมกันครับ พอมีเนื้อหามาพอเรา Pit จ�ำเป็นต้องใช้ความรุนแรงขนาด ก็จะรวมตัวกันเข้าห้องอัด นั้นหรือไม่? ช่วยอธิบายคอนเซ็ปท์ ของ Mosh Pit ให้ฟังหน่อย ตั้งแต่ท�ำวงมา ผ่านมา 30 ปีแล้ว ทาง Lou: ผมเห็นหลายคลิปเลย วงเคยคิดมั้ยว่าจะมาได้ ไกลขนาด ครับที่มักจะมีคนกลุ่มเดินวิ่งต่อย เตะ นี้? ขณะที่หลายวงจาก New York คนรอบ ๆ Mosh pit ไปเรื่อย นั่น Hardcore ต่างหยุดท�ำวงกันไปเยอะ มันไม่เกี่ยวอะไรกับคอนเซ็ปท์ของ อะไรที่ท�ำให้ Sick Of It All มีก�ำลังใจ Mosh pit เลยครับ มันเป็นการ ท�ำเพลงต่อไป? กระท�ำที่แย่มาก พวกเขาอยากท�ำให้ Lou: เราดื้อน่ะครับ ฮ่า ๆ อาจ ตนเองดูน่ากลัว น่าเกรงขาม จริง ๆ จะฟังน่าเบื่อแต่เรารักการเล่นดนตรี แล้ว mosh pit เป็นสิ่งที่ท�ำให้คน มากจริง ๆ ชอบมีคนมาพูดกับเรา หลายคนสามารถแสดงออกถึงความ “ส�ำหรับวงที่เล่นแนวดนตรีแบบหนัก คึกคะนองออกมา จริงอยู่ที่คุณอาจ หน่วงเนีย่ พวกคุณยิม้ เยอะกว่าวงอืน่ ๆ จะท�ำให้คนข้าง ๆ คุณ หรือ คนใน บนเวทีซะอีก!” ฮ่า ๆ ส่วนใหญ่เป็น mosh pit ด้วยกันเองบาดเจ็บได้ แต่ เพราะว่าเราท�ำสิ่งที่เรารัก โดยมี ไม่ใช่การกระท�ำที่จงใจครับ ผมคิด ดนตรีและบทเพลงเป็นแรงกระตุ้น ว่าเป็นจริยธรรมใน mosh pit ที่คน พวกเรา ด้านดนตรี เวลาที่พวกเรา มักลืมที่จะกล่าวถึง เช่น ถ้าคุณเผลอ ได้ฟังเพลงใหม่ของวงอื่นที่ดีมาก ๆ ต่อยใครร่วงลงไป คุณก็ต้องช่วยเขา และมีกลิ่นอายต้นก�ำเนิดคล้าย ๆ เรา กลับขึ้นมา หรือ ถ้าคุณตัวใหญ่และ มันจะกระตุ้นให้วงเราอยากท�ำเพลง หนักกว่า 100 กิโลกรัม คุณคงไม่ ให้ได้ดีอย่างเขา แต่ไม่ได้หมายความ หันไปใส่กับคนที่เด็กกว่าคุณและ ว่าจะลอกเลียนแบบสไตล์เพลงเขา น�้ำหนักแค่ 40 กิโลกรัมแน่ ๆ และ นะครับ เราอยากท�ำเพลงออกมาให้ อีกอย่างถ้าคุณคิดที่จะ stage dive ดีเหมือนกันแต่เป็นสไตล์ของ Sick อย่าเอาเท้าลง! ขอแค่อย่าท�ำตัวถ่อย Of It All ทีนี้เนื้อหาในเพลงเกิดขึ้นได้ เลยครับ เพราะพวกเราทนไม่ได้เวลาเห็นข่าว ที่เต็มไปด้วยความไม่เท่าเทียมกันใน เวลาที่ Sick Of It All ไม่ ได้ออกทัวร์ สังคมโลกโดยไม่ปริปากพูดอะไรออก พวกคุณท�ำอะไรกันบ้าง? มาเลย เช่น เหตุการณ์ในประเทศ Lou: ปกติเวลาเราทัวร์เสร็จ สหรัฐอเมริกาขณะนี้ก็สามารถเป็น เราก็แยกย้ายกันครับ ไม่คุยกัน แรงกระตุ้นให้เราเขียนเพลงได้แล้ว ประมาณสองหรือสามอาทิตย์ได้ ครับ ฮ่า ๆ บางทีเราก็เสียฐานแฟนเพลงในบาง ประเทศแต่ในขณะเดียวกันก็มีสถาน ที่อื่น ๆ ที่ต้อนรับพวกเราครับ

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบันศิลปินหรือวง ดนตรีวงไหนมีอิทธิพลกับ Sick Of It All บ้าง? Lou: ช่วงที่แรก ๆ ที่เราเริ่ม ก่อตั้งวงก็จะมีวง Agnostic Front, Murphy’s Law, Bad Brains และวง Cro-Mags ครับ การที่ได้เห็นวงพวก นี้เล่นสดมันเปลี่ยนแปลงชีวิตพวก เราเลยล่ะ ก่อนหน้าก็จะมีวง Black Sabbath, Motörhead, Venom, The Exploited, Reagan Youth, DRI, Suicidal Tendencies และอีก หลายวงครับ ถ้าถามว่าปัจจุบันมีวง อะไรบ้าง… อย่างที่ผมบอกแหละครับ ไม่ว่าจะแนวดนตรีหนักหน่วงหรือแนว เพลงที่ผมไม่เคยฟังมาก่อน อาจจะ เป็นวงหน้าใหม่ หรือ วงเก่าก็ได้ที่ท�ำ เพลงออกมาแล้วผมชอบ ตอนนี้วงก็ได้ ไปทัวร์เล่นคอนเสิร์ตมา แล้วทั่วโลก คุณมีประสบการณ์อะไร แปลก ๆ มาเล่าให้เราฟังบ้างไหม? Lou: ปี 2001 เราไปทัวร์ ยุโรปกับวง Rise Against เป็นครั้ง ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

แรกที่พวกเขาได้ไปที่นั่น เราเล่นที่ Squat ในประเทศอิตาลี และ เป็น ครั้งแรกด้วยครับที่มีผู้คนมาดูการ แสดงของพวกเขาเยอะถึง 4,000 คน Joe Principe (มือเบสวง Rise Against) เดินมาหาผม เขาดูตื่นเต้น และประหม่านิดหน่อย ผมเลยบอก เขาว่า “ไม่ต้องกังวลอะไรทั้งนั้น เล่น ให้เต็มที่ที่สุด” เขากระโดดขึ้นลง ๆ แล้วอยู่ ๆ ก็กระโดดทะลุเวทีไปเลย ครับ ฮ่า ๆ มีครั้งหนึ่งตอนทัวร์ ผม เกือบจมน�้ำ โชคดีที่ Craig กับ Pete ลากผมขึ้นมาจากน�้ำทันเวลา เราเคย เกิดเรื่องชกต่อยสอง-สามครั้งกับ พวกคลั่งลัทธิ Nazi ด้วยครับ ท�ำให้ เราโดนแบนจากรัฐแอริโซนาไป 1 ปี เต็ม ๆ เลย แต่ประสบการณ์ที่เรา ไม่เคยลืมเลย คือ ช่วงปลายปี ค.ศ. 1990 ครับ เกิดขึ้นที่รัฐเพนซิลเวเนีย ตอนนั้นเราพึ่งเล่นคอนเสิร์ตจบแล้ว ก็ก�ำลังจะกลับกันแล้ว อยู่ดี ๆ มีเด็ก คนหนึ่งวิ่งผ่านเรา เขาเตือนเราว่ามี คนบ้าถือปืนคนหนึ่งฆ่าผู้หญิงไปแล้ว ก็ขู่อีกว่าจะฆ่าทุกคน เราเลยเดินไป

ดูว่ามันเกิดอะไรขึ้นกันแน่ ห่างไปแค่ ช่วงตึกเดียว เราก็เห็นผู้ชายคนหนึ่ง ที่ดูเหมือนจะสติไม่สมประกอบ ผม ของเขาสกปรกแล้วก็หยักเป็นพุ่ม ๆ กระเป๋ากางเกงของเขาดูเหมือนจะ มีอาวุธลักษณะคล้ายปืนอยู่ รวมไป ถึงถุงพลาสติกใหญ่ ๆ ถุงหนึ่ง ที่ก้น ถุงดูเปียกจากน�้ำอะไรก็ไม่รู้มันเลอะ มากครับ เราก็เลยถามผู้ชายคนนี้ว่า เขาโอเครึเปล่า แล้วอยูด่ ี ๆ เขาก็พดู ว่า “ผมฆ่าหล่อนแล้ว!” เราก็เลยถามว่า ฆ่าใคร? เขาเปิดถุงพลาสติกให้เรา ดู… ในถุงมีหัวผู้หญิงอยู่! มันอาจจะ เป็นของปลอมก็ได้ แต่พวกเราไม่เคย เห็นหัวที่ถูกตัดขาดออกจากตัวแบบ นั้นมาก่อน มันเหมือนของจริงมาก ครับ เราเลยวิ่งกลับมาที่รถกันอย่าง ไม่คิดชีวิต เขาก็เริ่มตะโกนว่าจะฆ่า พวกเราเหมือนกัน ด้วยความที่พวก เรายังไร้สมองเราเลยเริ่มตะโกนและ ด่ากลับไปบ้าง เขาเลยวิ่งไล่ตามรถ เรา เราเหยียบคันเร่งออกจากที่จอด รถอย่างไวที่สุดเท่าที่จะท�ำได้เลย พอ ตอนเราก�ำลังจะออกมา มีรถต�ำรวจ

ประมาณเกือบ 10-12 คันก�ำลังตรง มาที่ผู้ชายคนนั้น เราไม่เคยได้อ่าน ข่าวย้อนหลังเกี่ยวกับเหตุการณ์นั้น เลย ว่าจริง ๆ แล้วมันเกิดอะไรขึ้น กันแน่ ตกลงว่าหัวในถุงนั่นเป็นของ จริงรึเปล่าเราก็ไม่รู้ แต่มันดูสมจริง มาก ๆ ค�ำถามสุดท้าย Sick Of It All มีแผน จะท�ำอะไรกันต่อ? แฟนเพลงจะคาด หวังผลงานอะไรใหม่ ๆ จากพวกคุณ ได้บ้าง? Lou: ปีที่แล้วเราวางจ�ำหน่าย Photo History Book ครับ ข้างในมี ทั้งแผ่น Vinyl และ CD ตอนนี้เราคิด ว่าน่าจะเล่นทัวร์ของปีนี้ให้เสร็จก่อน แล้วถึงจะเข้าสตูดิโอเพื่ออัดเพลงใหม่ กันครับ ตัวผม Pete และ Armand ต่างมีไอเดียส�ำหรับเพลงที่เราอยาก จะเขียนออกมา เราอยากจะท�ำดนตรี ต่อไปเรื่อย ๆ ขณะที่เรายังไหวและ ยังอยากท�ำ ผมหวังว่าผู้ฟังจะยังอยู่ กับเราเช่นกัน - BLAST

magazine - 043


NEW YORK HARDCORE NEVER DIE! By : แอม เอสเตลล่า ตั้งแต่ดนตรีพั้งก์ถือก�ำเนิดขึ้นในยุค 70s นิวยอร์คไม่เพียงกลายเป็น เมกกะของดนตรีประเภทนี้เท่านั้น หากแต่มันยังเป็นซีนส�ำคัญที่ท�ำให้ พั้งก์ พัฒนาไปสู่การแสดงออกทางตัวตน และความคิดที่ดุเดือดเร่าร้อนยิ่งกว่ากับ ดนตรีที่เรียกว่า “ฮาร์ดคอร์” อีกด้วย กระทั่งต่อมากลายซีน เป็นกลุ่มก้อน ที่แยกย่อยออกไปอีกเป็นการเฉพาะในนามของ นิวยอร์ค ฮาร์ดคอร์ หรือ NYHC หนึ่งในนั้นคือวงระดับหัวแถวจากย่านควีนส์อย่าง Sick of It All ที่ยืน หยัดเคียงข้างสาวกฮาร์ดคอร์หวั แข็งโดยไม่สะทกสะท้านใด ๆ กับความผันผวน ของกระแสใด ๆ มาร่วม 3 ทศวรรษเต็ม และถือเป็นโอกาสอันดีของสาวกใน เมืองไทยอย่างมาก เมื่อวาระดังกล่าว ท�ำให้พวกเขาเริ่มออกทัวร์อีกครั้ง โดยที่ มี กรุงเทพฯ เป็นหมุดหมายส�ำคัญรวมอยู่ด้วย ซึ่ง Blast แม็กกาซีน นี่เอง ที่ เป็นโต้โผใหญ่ส�ำหรับความเดือดที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นในวันที่ 12 ตุลาคมนี้ แม้อาจจะไม่ใช่เป็นการเปิดซิงในเมืองไทยของทั้ง 4 ขุนพลฮาร์ดคอร์รุ่น ลายครามจากนิวยอร์คที่ชื่อว่า Sick of It All ก็ตาม แต่ทัวร์ครั้งนี้ของพวก เขามีความพิเศษ และแตกต่างจากครั้งก่อนหน้า จนไม่ควรพลาดอย่างไร พีท กับ ลู โคลเลอร์ สองพี่น้องแกนน�ำของวง พร้อมมาให้ค�ำตอบแก่ทุกท่านในบท สัมภาษณ์พิเศษตรงนี้แล้ว 044

- BLAST

magazine -

ปกติระหว่างหยุดทัวร์คุณท�ำอะไร กัน ? พีท : เราเพิง่ จบทัวร์ยโุ รปไป เมือ่ ปีกอ่ น เราได้ไปเล่นที่ นอร์เวย์ สวีเดน และทีอ่ นื่ ๆ เช่น อัมสเตอร์ดมั ก่อนจะกลับไปทีอ่ เมริกา เพือ่ เล่นที่ นิวยอร์คอีก 3 โชว์ ช่วงทีว่ า่ งนะเหรอ ส่วนใหญ่ผมจะตัดหญ้า หรือซ่อมสิง่ ต่าง ๆ บริเวณบ้าน นีแ่ หละชีวติ ร็อก สตาร์ เรือ่ งพวกนีม้ นั เป็นสิง่ จ�ำเป็น มี ใครบางคนต้องท�ำมัน (หัวเราะ) ทัวร์ยุโรปที่ว่ามันเป็นยังไงบ้าง ? พีท: โคตรเจ๋งนะสิ เราไม่ได้ไป เล่นแถวนัน้ มาเป็นปีแล้ว มันแตกต่าง กันมากกับอเมริกา ในอเมริกาคนอายุ 30 ขึน้ ไปเท่านัน้ ทีม่ าดูพวกเรา ไม่มี

เด็กรุน่ ใหม่มาดูหรอก เพราะเด็กฮาร์ด คอร์รนุ่ ใหม่จะดูแต่วงรุน่ ใหม่ทเี่ ติบโต ขึน้ มาพร้อมกันกับพวกเขา แต่เด็กใน ยุโรปจะเป็นแบบว่า ‘โอเค ฉันชอบ Stick To Your Guns แต่ไหนลองไปดู วงทีเ่ ป็นรากเหง้าของดนตรีแนวนีบ้ า้ ง ซิวา่ เป็นไง’ ซึง่ เด็กพวกนีจ้ ะชอบทัง้ วงรุน่ ใหม่ และวงรุน่ เก่าอย่างพวกเรา โชว์ทยี่ โุ รปมีคนมาดูเราเป็นพัน มันดี มากจริง ๆ รู้สึกเมื่อปลายปีที่แล้วคุณเพิ่งมีงาน ใหม่ออกมา พีท: ใช่ เรามีหนังสือครบรอบ 30 ปี เป็นหนังสือความหนา 60 หน้า ทีอ่ อกมาพร้อมกับอีพอี ลั บัม้ ทัง้ ในรูป แบบแผ่นเสียง และซีดี เพลงใหม่ทงั้ ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


5 เพลงทีท่ ำ� ขึน้ เราพอใจกับมันมาก ๆ ความจริงมันมีเพลงอีกเยอะทีผ่ มแต่ง ไว้ แต่มนั ยังไม่เรียบร้อย ผมแต่งเพลง อยูต่ ลอด ในหัวของผมมีเพลงใหม่ ๆ เกิดขึน้ เสมอ เหมือนกับก่อนหน้านีท้ ี่ ผมบอกว่า ตัดหญ้า หรือซ่อมนัน่ ซ่อม นี่ แต่ในระหว่างทีท่ ำ� เรือ่ งพวกนัน้ หัว ผมมีวตั ถุดบิ ใหม่ ๆ โผล่มาอยูเ่ สมอ แล้วคุณมีอะไรเป็นพิเศษส�ำหรับแฟน ๆ ในทัวร์ครบรอบ 30 ปี ? พีท: ทีแ่ น่ ๆ เราจะพยายาม เล่นแต่ในทีแ่ สดงเล็ก ๆ อย่างใน นิวยอร์ค เมือ่ ปีกอ่ น ทัง้ ทีบ่ รูค๊ ลีน, แมนฮัตตัน และควีนส์ เราเล่นในคลับ ขนาดเล็กหมดเลย มันเหมือนเราได้ ย้อนเวลากลับไปในวันเก่า ๆ ซึง่ เรา พยายามงัดเพลงจากอัลบัม้ ชุดแรก และชุดที่ 2 ออกมาเล่นให้มากทีส่ ดุ ท�ำไมถึงต้องเป็น 2 ชุดนั้น ? พีท: มีแฟนเพลงเยอะมากที่ ถามเราว่า “ท�ำไมไม่เล่นเพลงจาก อัลบัม้ ชุดแรกล่ะ หรือเล่นเพลงจาก ชุด....” ประเด็นคือเรามีเพลงมากมาย และตอนเล่นโชว์เราก็ใส่กนั เต็มก�ำลัง ถ้าเราเล่นตามค�ำขอของแฟนทุกคน มีหวังเราคงไม่ได้แก่ตายแน่ ๆ เพราะ ฉะนัน้ โชว์ของเราจะอยู่ในเวลา ประมาณ 1 ชัว่ โมง กับ 20 นาที ซึง่ ส่วนใหญ่เราเลือกจะเล่นเพลงใหม่ ๆ เพราะคนทีม่ าดูโชว์ของเราคงไม่ได้ อยากฟังเพลงเดิมซ�ำ ้ ๆ หลายคนก็รกั

เพลงใหม่ ๆ แต่ทวั ร์ครัง้ นีจ้ ะต่างออก ไป คุณจะได้ฟงั เพลงฮิตของเราอย่าง “Scratch The Surface” หรือ “Step Down” รวมถึงเพลงจาก 2 อัลบัม้ ชุด แรกอีกหลาย ๆ เพลง เมือ่ ไม่กวี่ นั มา นีผ้ มเพิง่ กลับมาฟังมันอีกครัง้ มันมี เพลงดี ๆ อยูห่ ลายเพลงทีเดียวทีเ่ รา ไม่คอ่ ยได้หยิบเอามาเล่น เป็นเรือ่ ง ทีแ่ ปลกเหมือนกัน พอคิดถึงบรรดา เพลงพวกนัน้ ทีผ่ มแต่ง มันค่อนข้าง เป็นการเล่นโน้ตเดิมซ�ำ ้ ๆ แต่ละเพลง เป็นแค่โน้ตเดิม ๆ ทีเ่ ล่นไปข้างหน้า บ้าง เล่นถอยหลังบ้าง สลับไปสลับ มา แต่สดุ ท้ายมันกลายเป็นสไตล์ หรือ ลายเซ็นต์ของวงไปแล้ว อยู่ในวงการมา 30 ปีแล้วทุกวันนี้ วิธีในการท�ำอัลบั้มเป็นยังไงบ้าง ยัง เหมือนเดิมไหม ? พีท: ส�ำหรับการท�ำเพลงของ เราในปัจจุบนั ตอนนีผ้ มอาศัยอยู่ใน เดย์โทนา ฟลอริดา้ มีดนตรีใหม่ ๆ ออกมาให้ฟงั อยูต่ ลอดเวลา มีแรง บันดาลใจมากมายทีน่ นั่ และผมก็จะ แต่งเพลงออกมา ถัดจากนัน้ อาร์ม านด์ มือกลองของเราก็จะเขียน เพลงด้วยเหมือนกัน แล้วผมก็บนิ ไป นิวยอร์คเพือ่ เอางานไปให้หมอนัน่ ดูวา่ ผมท�ำอะไรขึน้ มาบ้าง ในเวลา เดียวกันผมก็ดงู านทีอ่ าร์มานด์ทำ� ไว้ แล้วก็แยกกันไปพักผ่อนสักอาทิตย์ 2 อาทิตย์ ก่อนกลับมาแชร์ไอเดียกันอีก จนเรารูส้ กึ ว่างานมันลงตัว ก็จะเริม่ อัด

SICK OF IT ALL CLASSIC ALBUM Blood, Sweat and No Tears (1989) งานชุดแรกทีเ่ รียกความสนใจจากคนฟังได้ ทันที หลังเซ็นสัญญาออกอัลบัม้ กับสังกัด เล็ก ๆ อย่าง Relativity Records ตัวดนตรี เป็นฮาร์ดคอร์พงั้ ก์ ผสม ครอสโอเวอร์ แธรช สัดส่วนเพลงสัน้ กระชับ รวดเร็วรุนแรง ทัง้ 19 เพลงใน อัลบัม้ รวมกันแล้วกินเวลาแค่ 28 นาที คงไม่ตอ้ งบอกว่ามัน เดือดขนาดไหน Just Look Around (1992) ดนตรีฮาร์คอร์พงั้ ก์ กับ ครอสโอเวอร์แธรช ยังเป็นอาวุธหลักของพวกเขา แต่การเรียบ เรียงดนตรีละเอียด และมีมติ มิ ากขึน้ รวม ถึงเนือ้ หาเชิงสังคมแบบตรงไปตรงมา ส่ง ให้ทกุ เพลงกลายเป็นความมันส์ระดับล�ำโพงแตก ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

เสียง สุดท้าย เราก็มาคัดกันอีกรอบว่า มันเข้าที่ และไหลไปอย่างสมบูรณ์ เราจะตัดเพลงไหนออก เอาเพลงไหน แบบ เราเลยไม่คอ่ ยไปยุง่ กับการ ไปใส่ในอัลบัม้ บ้าง เปลีย่ นเซ็ตลิสต์มากนัก ถ้าจะมีการ แก้เลีย่ นบ้าง มันจะเป็นในลักษณะของ การที่พวกคุณมีอัลบั้มเยอะมากแบบนี้ “โอเค เรามาโยนเพลงอืน่ ใส่ลงไปใน คุณบริหารเซ็ตลิสต์กันยังไง ? นัน้ สักเพลงเถอะ” เสียมากกว่า พีท: นีเ่ ป็นเรือ่ งทีย่ าก และยาก ขึน้ เรือ่ ย ๆ เพราะแต่ละอัลบัม้ ล้วนมี การออกทัวร์เยอะ ๆ มีปัญหากับชีวิต เพลงดี ๆ ด้วยกันทัง้ หมด อย่างตอน ส่วนตัวของคุณบ้างไหม ? ทีเ่ ราเพิง่ ออกอัลบัม้ ใหม่ เราอาจจะ พีท: ส�ำหรับตอนนีก้ ารเดิน เลือกเล่นเพลงใหม่ได้สกั 2-3 เพลง ทางเป็นเรือ่ งล�ำบากใจส�ำหรับผมพอ แต่พอปีถดั ไปมีอลั บัม้ ใหม่ออกมาอีก สมควร ผมมีลกู สาววัย 4 ขวบ เวลา เราก็จะเล่นเพลงจากอัลบัม้ ชุดก่อน ผมต้องออกทัวร์ลกู ของผมเศร้ามาก หน้านัน้ ไม่ได้แล้ว เพราะมันมีเพลงบาง และมันท�ำให้ผมรูส้ กึ ไม่ดเี ลย ต่าง เพลงทีเ่ ราไม่สามารถถอดออกจาก จากสมัยทีพ่ วกเรายังโสดทุกอย่างเคย เซ็ตลิสต์ พวกเพลงบังคับของเราน่ะ ง่ายกว่านี้ เมียของผมท�ำงานให้กบั วง มันเลยไม่มที วี่ า่ งส�ำหรับเพลงจากบาง ด้วย เธออยูก่ บั เรามานานถึง 9 ปี กับ อัลบัม้ ก็ตอ้ งปล่อยไป เว้นแต่วงจะเล่น การท�ำสิง่ ต่าง ๆ มากมายระหว่างทัวร์ โชว์ 2 ชัว่ โมงต่อคืน แต่ผมไม่ตอ้ งการ ตัง้ แต่คนยกของ ยัน เทคนิคเชีย่ น เล่นโชว์ยาวขนาดนัน้ หรอก เพราะ กีตาร์ แต่ตอนนีเ้ ธอต้องเปลีย่ นมาอยู่ เคยเล่นแล้วเช้าตืน่ ขึน้ มาปวดไปทัง้ ตัว บ้านกับลูกสาว เวลาไม่มที วั ร์เราจะดู ปวดเข้าไปถึงกระดูก (หัวเราะ) หนังด้วยกัน ผมส่งลูกสาวเข้านอนด้วย ในกรณีตอ้ งเล่นเพลงเดิมซ�ำ ้ ๆ ตลอด ตัวเองทุกคืน แล้วจากนัน้ พอถึงช่วง ทัง้ ทัวร์คณ ุ เคยรูส้ กึ เบือ่ จนอยากเปลีย่ น ออกทัวร์ผมก็ตอ้ งไป มันเป็นเรือ่ งที่ ช่วยไม่ได้จริง ๆ เพราะการอยูบ่ นเวที เซ็ตลิสต์เพื่อเล่นอะไรที่แตกต่างไป กับดนตรีฮาร์ดคอร์ของ Sick Of It All บ้างไหม ? มันคือหน้าทีข่ องผม! พีท: เคยคิดจะท�ำนะ แต่สว่ น ใหญ่เราไม่ได้ทำ � เพราะเวลาเราคัด เซตลิสต์มาจนลงตัว เล่นไปหลายโชว์ จนเราคุน้ เคยกับล�ำดับเพลงทัง้ หมด ทีม่ าบทสัมภาษณ์ แปลและเรียบเรียง แล้ว มันเป็นเรือ่ งทีด่ กี ว่ามากในเรือ่ ง จาก http://www.theaquarian. ความลงตัวของโชว์ อารมณ์แต่ละครัง้ com/

Scratch the Surface (1994) อัลบัม้ ทีป่ ระสบความส�ำเร็จมากทีส่ ดุ ของวง พวกเขาย้ายมาออกงานกับ East West Records ซึง่ อยูช่ ายคา Warner Music และเป็นครัง้ แรกทีว่ งท�ำเพลง กันโดยทีม่ โี ปรดิวเซอร์เข้ามาเกีย่ วข้อง (บิลลี แอนเดอร์สนั ) ดนตรีครอสโอ เวอร์แธรชไม่มบี ทบาทอีกแล้วในอัลบัม้ นี้ ซาวด์ของวงเปลีย่ นเป็นฮาร์ดคอร์ แบบชาวนิวยอร์คเกอร์อย่างสมบูรณ์แบบ ไม่รวดเร็วบ้าคลัง่ แต่ดบิ หยาบ กระแทกกระทัน้ สะใจ ไตเติล้ แทร็ค กลายเป็นเพลงคลาสสิกของวง ขณะที่ ‘Step Down’ เป็นซิงเกิล้ ฮิตทีถ่ กู น�ำไปใช้ใน การ์ตนู เรือ่ ง Beavis and Butt-head Built to Last (1997) ประสบความส�ำเร็จไม่แพ้อลั บัม้ ชุดก่อนหน้า วงได้โปรดิวเซอร์ชอื่ ดังอย่าง การ์ธ ริชาร์ดสัน (หรือทีร่ จู้ กั ในชือ่ GGGarth) มาดูแลงานให้ งานออก มามีกลิน่ อายของครอสโอเวอร์แธรชกลับมาเป็นองค์ประกอบร่วมในบาง เพลง รวมถึงมีจงั หวะจะโคนทีร่ วดเร็วดุดนั มากขึน้ กว่าในอัลบัม้ Scratch the Surface เล็กน้อย เพลงเด็ด ๆ อย่าง ‘Us vs. Them’ , ‘Busted’ และ ‘Good Lookin Out.’ เรียกความมันส์จากคนฟังได้เต็มสูบ โดยเฉพาะเมือ่ ถูกน�ำมาเล่นสด ตอนออกทัวร์รว่ มกับพวกตัว โหดในขณะนัน้ อาทิ Napalm Death และ Sepultura - BLAST

magazine - 045


046

- BLAST

magazine -

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017

- BLAST

magazine - 047


048

- BLAST

magazine -

ISSUE 15 - SEPTEMBER 2017


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.