ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine -
01
02
- BLAST
magazine -
ISSUE 21 - MARCH 2018
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine -
03
CONTENTS
016-025
030-031
032-033
036-039
040-041
08 010 012-013 014 016-025 026-028
04
- BLAST
magazine -
042-045
EDITOR‘S NOTE PRODUCT TEST BLAST FROM THE PAST BUILD TO BLAST COVER STORY BLAST OFF
030-031 032-033 034-035 036-039 040-041 042-045
OLD RECORD STILL ALIVE MOVIES BLAH BLAH BLAST BLASTOGRAPHY ALBUM REVIEW COVER STORY (ปกหลัง)
ISSUE 21 - MARCH 2018
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine -
05
06
- BLAST
magazine -
ISSUE 21 - MARCH 2018
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine -
07
EDITOR ‘S NOTE
ก่อนปิดต้นฉบับไม่กวี่ นั จู ่ ๆ ก็มขี า่ วครึกโครม วงการดนตรีระดับประเทศบ้านเรา ผูจ้ ดั งานดนตรี ระดับเฟสติวลั งานหนึง่ ในจังหวัดเชียงใหม่ยกเลิกการ จัดงานพียงแค่วนั เดียว ทีจ่ ริงก็ไม่ได้ตดิ ตามงานดนตรี นีจ้ ะมีจดั ทีน่ นั่ แต่พอเกิดข่าวขึน้ มาเป็นกรณีทนี่ า่ ศึกษา และเป็นบทเรียนให้กบั คนรุน่ ใหม่ทอี่ ยากก้าวเข้ามา ในธุรกิจอีเว้นท์ดนตรี หลักใหญ่ใจความไม่มอี ะไร มาก แค่กลุม่ น้อง ๆ ผูจ้ ดั งานไม่มที นุ ส�ารองเตรียม ไว้ ประมาณ “จับเสือมือเปล่า” ภาพโฆษณา คลิป ไวรัลเชิญชวนจากทีด่ ทู า� ได้ดจี นเคลิม้ ต้องซือ้ บัตรไป ร่วมงาน ด้วยไลน์อพั ศิลปินระดับประเทศตัวท็อปแถว หน้า รวมถึงศิลปินรุน่ ใหม่ได้ใจชาวเชียงใหม่ ตัว๋ ขาย ไปได้จา� นวนนึงในราคาใบละสามร้อยกว่าบาท แต่นนั่ ไม่เพียงพอ ธุรกิจการจัดงานดนตรีคอ่ นข้างมีความ เสีย่ งสูง เพราะทุก ๆ อย่างต้องมีการจ่ายล่วงหน้า ทัง้ มัดจ�าค่าโปรดักชัน่ ค่าศิลปิน ค่าพืน้ ที ่ ค่าพีอาร์ และ อีกสารพัด ไม่ใช่เล่นขายของใช้เงินใบไม้หรือแปะโป้ง ถ้าเครดิตได้จริงต้องเป็นระดับผูท้ รงอิทธิพลนิด ๆ ละ เล่นอะไรได้แต่ถา้ เล่นกับรสนิยม นีค่ า� นวณล�าบากมาก การโบ้ยเรือ่ งโปรดักชัน่ เพิม่ ราคาท�าให้งานล่ม เป็น ค�าแก้ตวั ที่ไร้ความเป็นมืออาชีพอย่างแรง นัน่ แสดง ให้เห็นว่าไม่ได้ทา� ความเข้าใจกับเรือ่ งการแสดงดนตรี อย่างจริงจัง ถ้าคิดว่ามีชดุ เครือ่ งดนตรีเสียบปลัก๊ แล้วเล่นได้เลย มันไม่ใช่ มันไม่ใช่แน่นอน อุปกรณ์ มากมายทีแ่ ต่ละวงแต่ละศิลปินจะท�าให้โชว์ตวั เองเพอร์ เฟ็กส์อาจจะไม่ได้มแี ค่นนั้ อาจจะมีอปุ กรณ์ยบิ ย่อย มาพ่วงต่อหรือผูจ้ ดั งานต้องเป็นผูจ้ ดั หา ถ้าท�าให้ไม่ได้ แสดงว่าคุณไม่ได้ทา� การบ้านหรือละเลยไม่ใส่ใจ ก็มี ให้เล่นก็เล่นไปสิมเี ท่านัน้ งานนีจ้ ะจบอย่างไรเดาไม่ ยาก ฟ้องร้องค่าเสียหาย จบ ! ศรีราชา ร็อกเกอร์ Reggae Dub ล่องลอยทีอ่ ยู่ คูว่ งการดนตรีทางเลือกมาเกิน 10 ปี เป็นอีกวงดนตรี ทีถ่ กู กล่าวถึงในวงแคบ กลุม่ คนฟังก็เฉพาะจริง ๆ ด้วยสไตล์ดนตรีเนิบ ๆ ไม่ได้เน้นบีทเร็ว เครือ่ งเป่า คลอเคลียเสริมอารมณ์เพลง มาอย่างเรียบง่ายแต่ ได้ใจด้วยเนือ้ หาดนตรีโดนใจ หากได้ดแู สดงสด ระบบ การแชร์วนซ้ายขวาจะท�างานไปโดยธรรมชาติ นีเ่ ป็น อีกซีนดนตรีแห่งสันติภาพทีเ่ รามักเห็นได้ทวั่ ไปบนโลก ใบนี ้ “พรรณล�าพัง” อีกซะนิด “เติม” อีกซะหน่อยให้ ชีวติ มีสสี นั
08
- BLAST
magazine -
ISSUE 21 / MARCH 2018
BLAST‘S TEAM Founder & Editor : ศรันยพงศ สุขภานนท Art Director : กฤษณะ โชคเชาววฒ ั น Photographer : เตชนันท จิรโชติรวี กฤษฎาพันธ กิจพิทกั ษ Editorial Staff : กชกร มุสกิ รัตน Digital Media : ณรงคพล เกสรประทุม พิสจู น อกั ษร : ลลนี เสียงลํา้ Contributor : บอบู / สุวาทินทร วัฒนวิทกู รู / อัษฏา อาทรไผท / ไผ A.M.P / เทพ ปลนั ธน พงษพานิช / ฐิตวิ ฒ ั น บุญวิวฒ ั น / พอล โซลิส / กบ Bra Branner / ปเตอร เดอะ อีแรง / นิพนธ ยิม้ ประเสริฐ / จักรธิป ปุญญทลังค / ฐานิศ ชาตะธนะบุ / จันทนี ปนทรสเพิม่ / มิกข วรนิสรา / ศรัณยู ตรีสคุ นธ / รัฐพงศ เทียมทองใบ / วรัญู ศิรเิ คารพ / วัชตรี บัวสาย / ชานนท บุญญศิริ ติดต อลงโฆษณา : ศรันยพงศ สุขภานนท 08-1692-3961 พิมพ ที่ : คอสมิคพริน้ ทแอนดดไี ซน จํากัด โทรศัพท 02-417-7783 ขอเขียน รูปภาพ และพืน้ ทีโ่ ฆษณาทัง้ หมดในนิตยสารบลาสต สงวนสิทธิต์ าม กฎหมาย หากจะนําไปเผยแพรซาํ้ ไมวา จะเปนบางสวนหรือทัง้ หมด ตองไดรบั การ ยินยอมเปนลายลักษณอกั ษรจาก บริษทั บลาสต เดอะ บีท จํากัด
C O N TA C T
บริษัท บลาสต เดอะ บีท จํากัด
116 ซอยเทียนทะเล 24 ถนนบางขุนเทียน – ชายทะเล แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 โทร.02-451-1324 แฟกซ 02-451-1325 blastmagth
WHERE TO FIND
รานอุปกรณดนตรีชั้นนํา Music Collection 13 สาขา / Music City 3 สาขา / Music Concept / Rock Planet / Beatspot /Music Society / Music Center / CMC / VRK Sport and Music / Super8 / อินเตอร มิวสิค / เอเชีย มิวสิค / ธีระ มิวสิค / ย งเส็ง / VEE Music ฟ วเจอร พาร ค รังสิต ชั้น 3 / Music Store เมกา บางนา ชั้น 2 / ร านสินธ ทอง หลังกระทรวง / กีตาร โปร หลังกระทรวง /M.I. Engineering / มิวสิค ซิตี้ เซ็นทรัล เวสต เกต บางใหญ / ฟอร เต มิวสิค เซ็นทรัล พระราม 9 / และร านจําหน ายอุปกรณ ดนตรีทั่วประเทศ สถาบันสอนดนตรี Rockademy / Overtone หองบันทึกเสียง หองซอมดนตรีชั้นนํา และ รานกาแฟตาง ๆ A.M.P. สวนจตุจักร / US And Them สวนจตุจักร / ร านน องท าพระจันทร / ร าน Grahm สยามพารากอน / ร าน Burgundy Dipper สาขาแยกรัชดา-ลาดพร าว และสาขา สถานีรถไฟฟ า MRT พหลโยธิน
ISSUE 21 - MARCH 2018
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine -
09
product test
POP UNCOMPRESSED
H E A D R U S H PEDALBOARD เทรนทีม่ าแรงทีส่ ดุ ของ เอฟเฟกส์ ณ ปัจจุบนั นีถ้ า้ ให้พดู คง ไม่พน้ Amp Modelling ทีก่ ลับมา แบบ ไฉ ไล กว่าเก่า อาจ เพราะด้วย Technology ปัจจุบนั ทีม่ นั แรงขึน้ มาก ๆ และ 1 ในต�ำนานคือ Eleven Rack จากค่าย AVID ค่ายเดียวกัน กับ DAW Pro tool อันโด่งดังครับ เป็นหนึง่ ตัวที่ได้รบั ความไว้วางใจจาก Sound Engineer และนักดนตรี ทัง้ หลาย ตลอดจน Producer ว่าเป็น RACK ทีใ่ ห้เสียงได้ดแี ละเนียน รวมทัง้ ความรูส้ กึ ที่ได้กใ็ กล้เคียงของจริง มาก ๆ แล้วผมพูดท�ำไม...ก็เพราะว่า วันนี้ Engine ของ Eleven RACK แบบชุดใหญ่นนั้ ถูกน�ำมาอยูใ่ น “HEADRUSH Pedalboard” Headrush Pedalboard นั้น พูดง่าย ๆ คือ Eleven Rack ที่มา ในรูปแบบ Multi effect ที่สามารถ control ได้ด้วยปลายเท้า และ UI แบบสัมผัสที่ใช้งานง่าย พร้อม output ที่หลากหลาย เลือกการ routing ภายใน software ด้านในที่ ใช้งานง่ายเหมือน app Ipad ยังไงยัง งั้น แจ่มใช่ไหมหล่ะ FEATURES ส�ำหรับ Headrush นั้นผมขอ พูดเฉพาะสิ่งที่เด่น ๆ ละกัน ไม่งั้น ผมได้เขียน10 หน้าแน่ ๆ จุดเด่น ๆ เลย คือ Output stereo 2 ชุดที่แยก กันได้โดยอิสระ ว่าจะให้สัญญาณ 010
- BLAST
magazine -
ออกช่วงไหนของ Signal chain ด้าน ในที่เราตั้งไว้ ซึ่งท�ำให้สามารถใช้งาน ได้ หลากหลายยิ่งขึ้น เช่น Main TS output ออกไปเข้าหน้าตู้ ส่วน XLR Out ต่อตรงเข้า Mixing Board ได้ เลย โดยที่ TS Out เลือกสัญญาณ ออกก่อนเข้าจ�ำลองตู้แอม และ XLR Out เป็น ออกหลังจ�ำลองการจ่อไมค์ ตู้เรียบร้อยแล้วก็ได้ อีกทั้ง Headrush มีจาก 7 นิ้วสีสันสวยงาม ระบบสัมผัส แค่ลากจิ้ม ๆ ระบบที่ใช้ได้ทั่วโลกคือ สามารถรับไฟได้ตั้งแต่ 110-220v กันเลยทีเดียว มี External loop แยก ไว้พ่วงกับ Effect ก้อน ๆ หรือ Rack ที่เราชอบได้ เพราะมันมีการปรับ Level ของ Send return ได้ว่าจะต่อ Rack หรือ Stomp box สามารถใช้ Expression pedal ในการ Set ค่า ต่าง ๆ ใน Hand free mode ก็ได้ เช่นกัน และสามารถใช้ Custom ir ได้อีกด้วย และ Feature มาตรฐานที่ ครบครัน SOUND AND PERFORMANCE สิ่งส�ำคัญส�ำหรับ Effect คงไม่ พ้น Sound และการใช้งานจริง ๆ ใช่ไหมครับ ซึ่งด้านเสียงนั้นในบาง Model ก็ได้เสียงที่มาตรฐาน และ กลิ่นที่ใช่ แต่ในบาง Model นั้นเช่น JCM800, Matchless ,Rectifier นั้น ให้ความรู้สึกและการตอบสนองต่อ ค่า Setting ต่าง ๆ การตอบสนอง ต่อ Overdrive และ Effect ต่าง ๆ นั้นเหมือนกับของจริง ๆ มาก ๆ
การลด Volume ที่กีตาร์ก็สามารถ Clean up ได้เหมือน Amp จริง ๆ และค่าที่มีให้ Set นั้นมันก็เหมือนกับ Feature ที่มีใน Amp จริง ๆ เช่น Vox จะมี Top boost หรือ fender ที่มี Tremolo แบบในแอมป์จริง ๆ ส�ำหรับผมแล้ว custom ir นั้นเป็น ตัวที่ท�ำให้ผมว้าว กับตัวนี้มาก ๆ เพราะว่าพอใส่ ir ส่วนตัวที่ผมมี ใช้ใน studio นั้นมันท�ำให้รู้ว่าจาก จ�ำลอง หัว Amp ของ Headrush นั้น ท�ำได้ดีมาก ๆ แม้ว่าจะ Amp และ Effect มาให้น้อยไปนิดนึง แต่ละตัว เน้น ๆ ทั้งนั้น อย่างเช่น Tape echo, Deluxe Memory Man ก็ท�ำได้เนียน มาก ๆ มีความหนา ความรู้สึกแบบ 3มิติ ไม่แบนเหมือน Multi Effect ทัว่ ๆ ไปจริง ๆ และ Phaser ทีจ่ ำ� ลอง Bad Stone ได้สะใจเหมือนมาก ๆ ด้านการใช้งานนั้นมันใช้งาน ง่ายด้วยความรู้สึกเหมือนเล่นเกม บน โทรศัพท์ Preset ทุกอย่างที่ตั้ง มาจากโรงงานใช้งานได้จริงท�ำให้เรา สามารถเลือก Sound คร่าว ๆ ได้ทันที ท�ำให้การ Set up หรือ เปลี่ยน Setting โดยใช้เวลาไม่ถึง นาที ซึ่งตัวนี้เป็นจุดดีมาก ๆ แต่ใน การ Deep editing การ Routing ต่าง ๆ นั้นอาจต้องใช้เวลาท�ำความ เข้าใจสักหน่อย และสุดยอด ฟังค์ชั่น ของ Headrush ตัวนี้คือ Hand free mode ซึ่งในการ Setting นั้นเรา สามารถเล่นไปด้วยและ set ค่าต่าง ๆ เช่น เพิ่ม Gain, EQ ต่าง ๆ โดยใช้ เท้าอีกด้วย ซึ่งมันใช้งานได้จริง ๆ และดีมาก ๆ ด้วยสิ รวมทั้งการ Assign foot ต่าง ๆ ได้อย่างอิสระ และต่อ Exp Ctrl เพิ่มได้อีก1หน่อย เท่ากับมี Expression control ได้ 3 ตัว พร้อมทั้งเลือกสีได้อิสระ ท�ำให้ การเล่นสด มองไกล ๆ สามารถใช้ การดูสีเอาช่วยได้เยอะ และตั้งชื่อได้ อย่างอิสระ ที่สามารถเลือก Mode ได้ทั้งแบบกด 1 ปุ่มเปิดปิด Effect
ในชุดนั้นหลาย ๆ ตัวพร้อมกัน หรือ กดเปิดปิดแบบ Manual หรือจะแบบ เป็น Preset ตาม Style multi effect เลยก็ย่อมได้
ข้อเสียหล่ะครับพี่ ก็ Model ของ Amp และ Effect ที่อาจจะน้อยไปนิดในบาง Effect ที่ผมรู้สึกว่าน่าจะมีเช่นพวก Octave อะไรแบบนั้นที่หายไป Cab sim ที่ท�ำได้ไม่ค่อยดีนักถ้าเทียบกับ เทคโนโลยีปัจจุบัน (ซึ่งมันโอเคที่ให้ รองรับ ir ได้นั่นแหล่ะครับ ซึ่งมันแก้ ปัญหาตรงจุดนี้ได้) ระบบ Usb ใน การอัดที่ยังมีปัญหาเรื่องเสียงไม่ออก เมื่อใช้เป็น Audio Interface แล้วก็ น�้ำหนักที่หนักกว่าหลาย ๆ ยี่ห้อ Headrush นั้นส�ำหรับผมด้วย ราคาที่ไม่ได้แรงมากนัก แต่มาด้วย ฟังค์ชั่นระดับ Pro ที่เพื่อน ๆ อยาก อัดกีตาร์ที่บ้านก็สามารถต่อตรงเข้า Audio interface แล้วได้เสียงที่ใกล้ เคียงกับแอมป์จริง ๆ สบาย ๆ ซึ่งยิ่ง ถ้าใช้ ir อย่าง Celestion ที่ใครซื้อ Headrush สามารถ load ไปใช้ได้ฟรี ๆ ซึ่งมันท�ำให้ได้เสียงเหมือนจริงรวม ๆ 90% ซึ่งมันเจ๋งมาก ๆ หรือการ set up ที่เราไม่ต้องสร้าง preset ใหม่ ส�ำหรับการเล่นเจอตู้หลาย ๆ แบบ แค่เข้าไปใน Global แล้วเลือก Output ว่าจะให้ออกจากตรงในที่เราตั้งไว้ ก็ พอ ซึ่งมันไม่เกิน 20 วิ ส�ำหรับคน ที่ ใช้เป็นแล้ว ผมว่า Headrush ยัง อยู่ในช่วงเริ่มต้นเพราะ Hardware เค้าคิดมาดีมาก ๆ ศักยภาพเหลือ รองรับอะไรได้อีกเยอะ แต่ปัญหาที่ ผมพบนั้นส่วนใหญ่มันสามารถแก้ไข ได้ด้วยการ Update Firmware ใน ตัวมันเอง ซึ่งเขาได้ท�ำการ update แก้ปัญหาไปแล้วในบางส่วน ซึ่งเค้า ได้เพิ่มเติมและแก้ไขมาแล้ว 2 รอบ ส่วนใครสนใจฟังเสียงและ Review เต็ม ๆ นั้น สามารถเข้าไปดูได้ใน youtube.com/uncompressedth ISSUE 21 - MARCH 2018
VOX
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine -
011
Blast from the past
ฐิติวัฒน์ บุญวิวัฒน์
BOYdKO50th
#1 RHYTHM & BOFd THE CONCERT อายุครบรอบ 50 ขวบทัง้ ทีเลยต้องพิเศษกันหน่อย งานนีพ้ ี่ บอยด์ โกสิยพงษ์ ขอ เอาใจแฟนเพลงรุน่ แรก ด้วยการจัดคอนเสิรต์ กับการเอาเพลงจากผลงานอัลบัม้ ชุดแรก Rhythm & Boyd มาเล่นแบบไล่เรียงต่อกันเพลงต่อเพลง โดยน�ำศิลปินในยุคนัน้ กลับมา ร้องอีกครัง้ แต่ทแี่ ปลกแตกต่างออกไปก็คอื การน�ำเอาดนตรีมาเรียบเรียงใหม่ ส่วนตัวแล้ว โดยรวมเราชอบเวอร์ชนั่ เก่ามากกว่า ดูมคี วามขลังมากกว่าเยอะเลย เกือบทุกเพลงพีบ่ อยด์จะออกมาคัน่ ด้วยการเล่าเรือ่ งราวของเพลงนัน้ ๆ บางเรือ่ งเรา ก็ได้รพู้ ร้อม ๆ กันเป็นครัง้ แรกกับทุกคน หนึง่ ชัว่ โมงผ่านไป อ่ะ!! เอาไงดีละ่ ทีนี้ เพลงก็จบ แล้ว หลังจากนีเ้ ลยเริม่ เปิดตัวแขกรับเชิญทีละคนสองคน ซึง่ ส่วนใหญ่กม็ าในบทเพลงทีพ่ ี่ บอยด์เป็นคนแต่งแทบทัง้ นัน้ แต่ทดี่ จู ะได้รบั เสียงกรีด๊ มากทีส่ ดุ คงจะหนีไม่พน้ หนุม่ นิชคุณ หรเวชกุล หนึง่ ในสมาชิกวง 2PM ทีอ่ อกมาขับกล่อมเพลง “เหมือนเคย” ให้แฟน ๆ ได้ฟนิ กัน แต่ซนี ทีเ่ ราชอบสุดน่าจะอยูท่ โี่ ชว์ของพีน่ อ้ ยและพีส่ กุ ี้ เพลงของ พรู เราฟังยังไงก็ไม่เบือ่ และทีจ่ ะขาดไปไม่ได้อกี คนเลยก็คอื พีส่ มเกียรติ ทีอ่ อกมาร่ายบีทให้ได้ลกุ ขึน้ ขยับแข้งขยับ ขากันเป็นการส่งท้าย อ่อ...ปลายปีนพี้ บี่ อยด์กำ� ลังจะมีคอนเสิรต์ Million Way To Love Part1 ให้ได้ดดู ว้ ย เหมือนเดิม บัตรหมดเร็วชัวร์ ไม่อยากพลาดรีบกดบัตรกันแต่เนิน่ ๆ กันได้เล๊ยยย
SUPER JUNIOR
WORLD TOUR "SUPER SHOW 7" in BNAGKOK ไม่ได้มาเมืองไทยถึง 3 ปีเลยทีเดียว และคิดว่าครัง้ นีอ้ าจจะเป็นครัง้ สุดท้ายแล้วก็ได้ ทีจ่ ะมีคอนเสิรต์ ของวง Super Junior ในบ้านเรา เพราะแต่ละคนก็เริม่ มีอายุมากขึน้ บวก กับสมาชิกบางคนต้องรับราชการเข้ากรมทหาร กว่าจะออกมาครบฟูลทีมเหมือนเมือ่ ก่อนก็ อีกหลายปี เราเลยตัดสินใจว่า เอาว่ะ!!! ไปดูดกี ว่า ด้านโปรดักชัน่ ยังคงอลังการงานสร้างเหมือนเคยตามสไตล์สายเกาหลี และครัง้ นี้ สมาชิกวงก็มากันเพียงแค่ 7 คนเท่านัน้ ไล่มาตัง้ แต่ อีทกึ , ซีวอน , ฮีซอล , เยซอง , ชินดง , อึนฮยอก และ ทงเฮ แต่แค่เปิดตัวกับเพลง Black Suit จากอัลบัม้ ชุดใหม่ Play หูกแ็ ทบ แตก เสียงกรีด๊ ดังสนัน่ จนกลบเสียงร้องหมดแบบไม่ได้ยนิ อะไรเลยว่าร้องว่าอะไรกันบ้าง อึนฮยอก ออกมาโชว์สเต็ปแด๊นซ์เพลงแรกใน Scene Stealer เรียกเสียงฮือฮาได้พอสมควร และตามสูตรทีเ่ หล่าหนุม่ ๆ ทัง้ 7 คนจะออกมาพูดภาษาไทย ซึง่ เราว่าก็มแี ต่คำ� เดิม ๆ จะ ต่างออกไปก็ตรงค�ำทีฮ่ ติ ๆ ในบ้านเราช่วงนัน้ เอง ช่วงท้าย ๆ งานหัวหน้าวง อีทกึ ก็ออกมาพูดความในใจถึงแฟนคลับชาวไทย เราว่า อันนีซ้ งึ้ จริง ซึง่ บางทีมนั ก็สามารถรูไ้ ด้วา่ อันไหนคือตามสคริปท์ อันไหนออกมาจากหัวใจ เชรีย้ ยย...จะเลีย่ นไปไหน คือกรูนแี่ หละจะเลีย่ นไปไหน เราว่างานนีเ้ ป็นอีกหนึง่ โชว์ทสี่ นุก เลยนะ ดูได้เพลิน ลูกเล่นบนเวทีกแ็ พรวพราว หวังว่าบ้านเราจะมีโอกาสได้ดู Super Junior แบบฟูลทีมอีกซักครัง้ นึงนะ...
012
- BLAST
magazine -
GENIE FEST 19 ปี
กว่าจะร็อกเท่าวันนี้
ครัง้ แรกทีเ่ ห็นการประกาศจัดงานนี้ ในใจก็เกรงอยูว่ า่ บัตร ประมาณ 60,000 ใบจะถูกขายหมดมัย้ แต่แล้วทันทีทเี่ ปิดขาย บัตรไม่ถงึ 15 นาที บัตรจ�ำนวนนีก้ ถ็ กู จองจนเกลีย้ ง เห้ย!!! นีม่ นั ตัง้ 60,000 ใบเชียวนะ ซือ้ ไปท�ำอะไรกันเยอะแยะ และนี่ ....... นีอ่ าจจะเป็นคอนเสิรต์ ทีเ่ ดือดทีส่ ดุ ในประเทศไทยแล้วก็วา่ ได้ ไม่ใช่อะไร ก็พแี่ กเล่นซัดกันตัง้ แต่บา่ ยสองกับสองวงเปิด The Dai Dai และ Paper Planes ก่อนจะเข้าสูโ่ ชว์อย่างเต็มรูปแบบ ทีเ่ ปิดงานด้วยการเอาโดรนมาผูกติดกับธงทีเ่ ขียนไว้วา่ g19 บิน ร่อนไปมาอยูร่ อบ ๆ งาน พูดได้เลยว่าอากาศในตอนนีม้ นั ช่างสุด แสนทรมานเสียเหลือเกิน Big Ass ขอขึน้ มาประเดิมท้าแสงแดด เป็นวงแรก เชิดสิงโตน่าจะเป็นเพลงเด็ดที่ได้คณะเชิดสิงโตมา แสดงอยูบ่ นเวทีดว้ ย Instinct , พลพล , ลาบานูน , ปัน้ Basher , พีป่ า้ ง , The Mousses , กวาง AB Normal ตามมาติด ๆ แบบ ไม่ให้พกั กันเลย ชุดเครือ่ งดนตรี2ชุดถูกเลือ่ นสลับกันไปมาบน เวทีขณะเปลีย่ นวงจนแทบไม่มเี วลา Dead Air กันเลยทีเดียว Sweet Mullet สายเดือดวงแรกขึน้ มาประเคนความมันส์ กับเพลง “นิทานหลอกเด็ก” แต่ดเู หมือนคนดูจะนิง่ ๆ ไปซัก หน่อย อาจจะเป็นเพราะแดดทีร่ อ้ นระอุมาตัง้ แต่บา่ ย ๆ ท�ำให้ เพลียไปตาม ๆ กัน หนุม่ วงกะลา ก็แอบขึน้ มาขายของบอกว่า ในปีนจี้ ะมีคอนเสิรต์ ใหญ่ครัง้ แรกแน่นอน Yes'sir Days มาเร็ว เคลมเร็วดีจริง ๆ แปบเดียวจบซะละ อ้าววว...ยังไม่ทนั ได้ดเู ลย Retrospect เราว่าวงนีน้ า่ จะเป็นไฮไลน์ของงานนีเ้ ลยก็วา่ ได้ โชว์ โดดเด่นมาก แน็ป นักร้องน�ำยังหยิบเรือ่ งเสือด�ำขึน้ มาพูดบนเวที พร้อมกับวลีเด็ดว่า รวยยย!!! และไม่แน่วา่ เร็ว ๆ นีเ้ ราอาจจะได้ คอนเสิรต์ ใหญ่ของ Retrospect ก็เป็นได้ ตอนนีท้ อ้ งฟ้ามืดสนิทแล้ว Cocktail , Paradox , Klear , The Yers , Bodyslam , 25Hours , ปาล์มมี่ ใครมีแรงเท่าไหร่ ตอนนี้ใส่กนั ไม่ยงั้ แล้ว โปเตโต้รบั หน้าทีเ่ ล่นปิดงานนี้ไป แต่เรา ดูได้แค่2เพลงก็ตอ้ งรีบออกเพราะกลัวรถติด ประตูมหาวิทยาลัย รามค�ำแหงปิดแล้ว ท�ำให้ตอ้ งเดินไปเข้าประตูใหญ่เพือ่ ไปเอารถ แล้วไงล่ะ หลงดิ ทางแมร่งจะซับซ้อนไปไหน เอารถได้ออกมา คอนเสิรต์ ก็จบพอดี แล้วไงล่ะ รถติดไม่ตา่ ง ฝัสเอ๊ยยยย!!!! จะว่าไป...คอนเสิรต์ นี้ อาจจะเป็นคอนเสิรต์ ไทยทีย่ งิ่ ใหญ่ ทีส่ ดุ ทีเ่ คยเกิดขึน้ มาเลยก็ได้มงั้
ISSUE 21 - MARCH 2018
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine -
013
Build To Blast
JACKASS
"ME TOO" สะเทื อ นวงการกี ฬ า เมือ่ "สาว ๆ" กลายเป็นส่วนเกิน เมือ่ เดือนทีแ่ ล้ว แวดวงกีฬารถสูตรหนึง่ ชิงแชมป์โลก (F1) มีเรือ่ งราวน่าสนใจเมือ่ ลิเบอร์ตี มีเดีย ผูถ้ อื ลิขสิทธิก์ ารแข่งขันจาก สหรัฐอเมริกา ประกาศยกเลิก การน�ำสาว ๆ ที่เรียกกันว่า "กริด เกิร์ล" ลงไปสร้างสีสันในสนามเหมือนอดีต ขณะเดียวกันก็ดูเหมือนจะเริ่มลามไปวงการกีฬาอื่น ๆ ด้วย เพราะผู้จัดหลายคน พยายามหลีกเลี่ยง ไม่อยากถูกครหาว่าเอาผู้หญิงมาหากิน ปกติแล้วหน้าที่ของ กริด เกิร์ล สาวสวยประจ�ำสนาม เอฟวัน คือ ประจ�ำการอยู่หน้ารถของนักแข่ง และชูป้ายแนะน�ำตัวนักขับที่จะลง แข่งรอบชิงชนะเลิศ ซึ่งก็ถือเป็นสีสัน อย่างหนึ่งประจ�ำวงการ แต่แล้วเมื่อ ปลายปี 2017 มีเสียงคนดูทางบ้าน ส่งไปหาผู้บริหารให้ตัดพวกเธอทิ้งไป เพราะรับไม่ได้ที่เห็น เอฟวัน เอาสาว ๆ มาแต่งชุดวับแวม เซ็กซี่ เฉิดฉาย ในสนามราวกับเห็นเป็นวัตถุทางเพศ แล้วผู้บริหาร เอฟวัน ก็ดันบ้าจี้เอา เรื่องนี้ไปพิจารณา สุดท้ายก็ลงมติตัด สาว ๆ ออกไปจากสนามเลย หลังตัดสาว ๆ ออกไป เอฟวัน ออฟฟิเชียล ก็ประกาศว่าจะเอาเด็ก ๆ ของแต่ละสนามเจ้าภาพ มาท�ำ หน้าที่แทนในชื่อ "กริด คิดส์" (Grid Kids) พวกเขาอ้างว่าจะได้เป็นการ สร้างแรงบันดาลใจให้เด็ก ๆ เหล่า นี้เติบโตเป็นนักขับรถสูตรหนึ่งใน อนาคต เหมือนวงการฟุตบอลที่ให้ เด็ก ๆ จูงมือนักเตะลงสนามก่อน ฟาดแข้ง ซึ่งก็ได้ใจแฟน ๆ ที่เรียก ร้องเรื่องนี้ไป ส่วนคนที่ชื่นชอบการ เห็นสาว ๆ ในสนาม โดยเฉพาะพวก นักขับทั้งหลาย บ่นยับเยินที่ไม่ได้เห็น สาวงามประจ�ำอยู่ข้างรถแข่งเหมือน เดิม ส่วนสาว ๆ ก็บน่ ออกสือ่ เหมือนกัน ที่อยู่ ๆ ดีกลายเป็นคนตกงานไปซะ งั้น ไม่จบแค่นั้น กระแสรณรงค์ การต่อต้านการน�ำผู้หญิงมาเป็น เครื่องมือโปรโมทการแข่งขัน ก็เริ่ม ลามไปยังวงการกีฬาอื่น ล่าสุดก็ เป็นการแข่งขันจักรยานระดับโลก ตูร์ เดอ ฟรองซ์ ที่เตรียมตัดสาว ๆ ในพิธีประกาศรางวัลแชมป์แต่ละ สนามเพราะหลายคนไม่พอใจที่ให้ พวกเธอไปท�ำท่าหอมแก้มแชมป์นัก 014
- BLAST
magazine -
ปั่นที่เป็นผู้ชายในแต่ละสเตจ แม้จะ เป็นธรรมเนียมปฏิบัติมาช้านาน ชัก จะไปกันใหญ่ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าส่วนหนึ่ง ที่ท�ำให้เกิดการตัดสินใจประหลาด เหล่านี้ มาจากกระแสแฮชแท็กใน โลกออนไลน์ #MeToo รณรงค์ปลุก กระตุ้นให้สาว ๆ ที่เคยถูกล่วงละเมิด ทางเพศ ออกมาสู้และประจานพวก
ผู้ชายชั่วเหล่านั้น อันเนื่องจากกรณี ที่ ฮาร์วีย์ ไวน์สตีน บิ๊กบอสค่ายหนัง ยักษ์ใหญ่ในวงการฮอลลีวูด ตกเป็น บุคคลฉาวเพราะล่อลวงดาราสาว ๆ มาล่วงละเมิดทางเพศบ่อยครั้ง จน กลายเป็นแฮชแท็กสุดฮิตทั่วโลก สาว ๆ หลายคนถือโอกาสนี้ออกมาด่าทอ และประจานหนุ่ม ๆ ที่ท�ำร้ายเธอซะ เลย
กระแสแฮชแท็ก #MeToo ฮิต ไปทั่วทุกวงการ ลุกลามใหญ่โตจนถึง ขั้นที่ว่าผู้ชายคนไหนถูกประจาน นี่มีสิทธิ์โดนล่าแม่มดถึงบ้าน แม้ บางคราวจะเป็นแค่เรื่องแตะเนื้อ ต้องตัวเล็กน้อย ผู้ชายหลายคนเริ่ม หวาดระแวงกลัวตกเป็นเหยื่อ (สมัย เด็กผมเคยแกล้งเปิดกระโปรงเพื่อน ผู้หญิงด้วย ไม่รู้นางจะมาแฉผมไหม เนี่ย ฮา) ขณะเดียวกันยังเป็นการ แสดงออกให้เห็นถึงความคิดสาว ๆ ว่าจากนี้พวกฉันจะไม่ยอมเป็นเหยื่อ หรือถูกกระท�ำแบบไม่ให้เกียรติอีก ไม่ว่าจะเป็นการแต่งกายเซ็กซี่เพื่อ แลกค่าจ้าง หรือสั่งห้ามผู้ชายเข้าใกล้ ไม่งั้นจะฟ้องร้องให้ยับ แม้จิตใจไม่คิด เรื่องอกุศลเลยก็เถอะแต่ก็รู้สึกท�ำตัว ไม่ถูกเหมือนกัน อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีหลายชนิด กีฬาที่ไม่บ้าจี้ตามกระแสนี้ไป เช่น มวยสากลอาชีพ ที่ยังมีสาว ๆ ริง เกิร์ล มาถือป้ายจ�ำนวนยกก่อนขึ้น ชกกันอยู่, มวย UFC ก็ยังใช้ความ เซ็กซี่ของ ริง เกิร์ล มาสร้างสีสันข้าง สนามเหมือนเดิม หรือกระทั่งวงการ กีฬาอเมริกันซึ่งยังมีการใช้เชียร์ ลีดเดอร์หญิงน่ารักมาเต้นปลุกใจ นักกีฬาระหว่างพักการแข่งขัน นั่น แสดงให้เห็นว่าหากผู้จัดกีฬาเหล่านี้ มองเห็นความส�ำคัญ ให้เกียรติ และ ปฏิบัติกับสาว ๆ อย่างมีมนุษยธรรม ก็ถือว่าไม่มีอะไรเสียหาย ขอเพียง อย่าตื่นตูมตามกระแสกันเกินไป วงการกีฬาทุกวันนี้ก็มีแต่พวก ผู้ชายเหม็นเหงื่อเยอะพอแล้ว ขอให้ มีสาว ๆ เป็นสีสันสวยงามให้ชมข้าง สนามบ้างเถอะ ฮา.... เครดิตรูป - OYEThanks.com
ISSUE 21 - MARCH 2018
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine -
015
COVER STORY
S R I R R O C
016
- BLAST
magazine -
ISSUE 21 - MARCH 2018
R A J A H K E R S
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine -
017
018
- BLAST
magazine -
ISSUE 21 - MARCH 2018
เร้กเก้สายเนิบ หนืด ๆ ซาวด์ยา่ นเบสหืม่ ๆ เสียงซินธ์ฯ หึง่ ๆ เสียงร้องเอคโค่กงั วาล หรือทีเ่ ราเรียกว่า DUB วงนี้ ค่อย ๆ มาแบบไม่ รีบร้อนกับชีวติ ครัน้ ทีช่ ว่ งหนึง่ ดนตรีเร้กเก้จงั หวะสนุก หรือ สกา พร้อม เครือ่ งเป่าลัน่ ทุง่ เข้าถึงกลุม่ วัยรุน่ ชอบสนุก นัน่ จึงท�ำให้ได้รบั ความนิยม จากคนจัดงานเฟสติวลั ฤดูรอ้ นอยูห่ ลายปี จากทีเ่ ล่นในร้านผับ บาร์ ก็ ขยับขยายออกมาสูเ่ วทีเอาท์ดอร์หลักพันคน ดิน้ กันสนุกลืมโลก แต่เร้ก เก้ สาย DUB วงนี้ ก็ยงั คงแนวทางเนิบ ๆ หนืด ๆ ไม่ได้รบี ร้อนเหมือน เดิม 15 ปี 6 อีพี และผลงาน 3 ชุด Srirajah Rockers (2007) / Youth Explosion (2010) / Organix (2016) ซึง่ อัลบัม้ หลังสุดกวาดรางวัล ใหญ่จากเวที คม ชัด ลึก อวอร์ดได้ถงึ สามรางวัล และ 3 อัลบัม้ ก็ไม่ได้ มากมายถ้าเทียบกับอายุวง อาจเพราะแต่ละอัลบัม้ ในการท�ำงานเปลีย่ น สมาชิกทุกครัง้ จะเหลือแกนหลักคือ วิน ชูจติ ารมย์ ผูก้ อ่ ตัง้ เขียนเนือ้ ร้อง และท�ำนอง และทีน่ า่ แปลกใจนิด ๆ คือ ข่าวคราวหรือบทสัมภาษณ์ลงสือ่ ฯ แทบ ไม่คอ่ ยมี บางเพลงลงในยูทปู ก็ตอ้ งปลิวเพราะเนือ้ หาน่าจะไม่ผา่ นการคัด กรอง เป็นวงทีต่ อ้ งดูเล่นสดถึงจะสนุก อบอวลไปด้วยมิตรภาพการแชร์ อย่างทัว่ ถึง และแม้วา่ ความนิยมแนวนีจ้ ะไม่ได้พงุ่ เหมือนก่อน แต่กลุม่ คน พันธุเ์ ร้กเก้ยงั ให้การสนับสนุนอย่างเงียบ ๆ เหนียวแน่น ไม่ได้เป็นดนตรี กระแสหลัก แต่นคี้ อื สีสนั ประดับวงการเพลงทางเลือกเมืองไทยที่ไม่ควร มองข้าม หมายเหตุ : โปรดใช้วจิ ารณญาณในการอ่านบทสัมภาษณ์นี้ เนือ้ หาอาจะ ไม่เหมาะสมส�ำหรับบุคคลทัว่ ไป
เหมือนทางวงจะไม่คอ่ ยออกมาให้สอื่ ฯ สัมภาษณ์ เก็บตัวกันนิด ๆ มัน มีสาเหตุไหม ? วิน : น้อยมากครับพี่ ผมคิดว่าวงผมไม่ใช่วงในกระแส ไม่ใช่ เมนสตรีม ไม่ใช่วงหลักที่คนจะให้ความสนใจ มันเป็นวงแนวเฉพาะ กลุ่มครับ พวกเราท�ำเองกันทุกอย่าง ท�ำเอง ขายเอง ไม่ค่อย ได้พึ่งพาสื่อฯ อะไรเลย มีข่าวคราวอะไรก็โปรโมทใน fan page facebook ท�ำกันเองแล้วประกาศ แค่นี้เองครับ ผลงานของวงในแอพฯ ฟังออนไลน์ สตรีมมิง่ นีก่ ม็ แี ค่ชดุ แรกนะ วิน : ใช่ครับ ๆ น้อยครับ วงผมก็อยากเน้นให้คนมาซื้อแผ่น เราท�ำงานแบบนี้มันคล่องตัวด้วยครับ ไม่กดดันไม่ได้แข่งกับใคร ต้องมีเหตุผลบางอย่างทีว่ งไม่ออกสือ่ ฯ ไม่คอ่ ยใช้สอื่ ออนไลน์โปรโมท มาก ต่างจากวงอืน่ พอควรนะ ทอมมี่ : ผมมองว่าดนตรีสมัยนี้ท�ำกันเองได้หมดครับ การ เล่นดนตรีกับธุรกิจมันคนละส่วนกัน เราสนใจที่จะเล่นดนตรีกัน มากกว่า พอใช้สื่อออนไลน์โปรโมทมันเหมือนไปแข่งกันมาก วิน : จริง ๆ ก็ควรต้องมีเพื่อให้กลุ่มแฟนเพลงที่ใช้ฟังสตรีม มิ่ง แต่ว่าพวกผมก็จะรอเวลาที่จะปล่อย ตอนนี้พวกเราอยากเน้น ทั้งเพลง ทั้งโปรดักส์ดีไซน์อะไรต่าง ๆ ให้ดี ถ้ามาซื้อแผ่นแล้วมาฟัง เล่นสดมันจะ ปัง มันรู้สึกว่าเป็นการเสพเพลงที่เหมาะสมกับวงของ เรามากกว่าครับ
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine -
019
“
ดนตรีควรจะให้แนวคิด ไม่ว่าจะเป็นศาสนาไหนก็ตาม ควรจะให้คนได้รับรู้สิ่งในการด�ำเนินในชีวิต มากกว่าที่ฟังแล้วจะเต้นกันอย่างเดียว
“
คนดูวงศรีราชาฯ นีจ่ ดั เต็มกันทุกหน่วยจริง ๆ นะ ควันโขมงเลย มีเคส แปลก ๆ กว่านี้ไหม ? วิน : ที่พีคสุดนี่เป็นจังหวัดหนองบัวล�ำภู เราไปเล่นที่ร้านไพร เวทมาก คนดูก็แก้ผ้ากันทั้ง ๆ ที่ก�ำลังเล่นเพลงหวาน ๆ เลยนะ แก้ผ้า เต้นกันสามสี่คน ปลิ้นกันมาก ฮาฮา แล้วก็ช่วงแรก ๆ ตอนเริ่มท�ำวงก็ มีคนตะโกนให้ลง เมื่อไหร่จะร้องซะที คือ พวกเราบอบช�้ำมาหลายรูป แบบละครับ การเดินทาง 15 ปีทางสายนี้เราเพิ่งเห็นผลหลังจากอัลบั้ม ชุดล่าสุดนี้แปปเดียวเอง เราใช้เวลาเรียนรู้มาเยอะ เราเห็นเรื่องระบบ ธุรกิจเพลงไทย เราก็พยายามเรียนรู้เพื่ออยู่ให้ได้โดยที่พึ่งพาตัวเอง เช่น ถ้าเราไปอยู่ค่ายอื่น เวลาแต่งตัวก็จะมีคนมาช่วยแต่งตัวให้ อย่าง เวลาไปเล่นดนตรีก็ต้องแบ่งเปอร์เซ็นต์ให้กับค่าย แต่พวกเราพยายาม อยู่กันเอง ผมคิดว่าวงการดนตรีไทยถ้าศิลปินกล้าและพร้อมเผชิญ ความเจ็บปวด ผมว่าระยะยาวมันจะสนุกครับ ถ้าอย่างนีเ้ รามองวงการเพลงไทยเป็นอย่างไร ? วิน : ก็พัฒนามาเรื่อย ๆ นะครับ อาจจะฉาบฉวยนิด ๆ แต่เป้า หมายของนักดนตรีตอนนี้คือ อยากมีชื่อเสียง อยากได้เงิน ซึ่งมันเป็น เป้าหมายหลักที่ไม่อาจปฏิเสธและหลีกเลี่ยงได้ ก็คือมีทุกอย่างพร้อม คุณสามารถผลิตสินค้าวงดนตรีวงหนึ่งออกมาเพื่อขายให้ได้เงิน แต่ สิ่งที่ส�ำคัญกว่านั้นคือ เนื้อหาข้างในเราต้องการให้อะไรกับคนฟัง ผม รู้สึกว่ามันเหมือนพัฒนาแต่เปลือก เทคโนโลยีมันพัฒนาอยู่ตลอดแต่ แบบว่าเนื้อหาสาระเราไม่พัฒนากัน ท�ำไมเราไม่ปลูกฝังหรือพูดถึง เรื่องที่ท�ำให้เด็กบ้านเราฉลาดเพื่อที่จะเผชิญกับความย�่ำแย่ของโลก สมมติ วงดนตรีวงนึงแบบ เนื้อเพลงคิดถึงเธอมาก อยาก.... คนฟังก็ แห่กันไปอยากหมดเลยสิ แต่ถ้าเกิดมีวงวงนึงที่กล้าพูดอะไรบางเรื่อง ที่คนลืม ๆ กัน เตือนสติได้ ให้แนวคิดให้ความคิดได้ ผมคิดว่ามันเป็น ผลดีกับเยาวชนไทย มันก็คือการพัฒนาชาติอีกอย่างหนึ่งด้วย ทอมมี่ : ส�ำหรับผมมองว่าดนตรีเป็นการใช้เวลากับเพื่อนกับสิ่ง ที่ชอบ วงการดนตรีสมัยนี้มันพัฒนาจนสุดแล้ว ใคร ๆ ก็ท�ำเพลงได้ คอมพิวเตอร์ท�ำได้หมด แต่ทั้งนี้ก็ต้องสร้างกลุ่มคนดนตรีให้ได้ วิน : คือ มันควรจะถูกมองเป็นศิลปะ มันควรถูกมองเป็นกวี ไพเราะที่กัดกร่อนหัวใจเข้าไปมากกว่าที่จะมองเป็นเหมือนกับสินค้า ชิ้นนึง แต่ตอบสนองกับคนได้คุณก็หยิบมาใช้พอเบื่อก็ทิ้งไป เราคิด ว่าดนตรีมันควรจะมีคุณค่าเหนือกว่านั้น ดนตรีควรจะให้แนวคิดไม่ว่า จะเป็นศาสนาไหนก็ตาม ควรจะให้คนได้รับรู้สิ่งในการด�ำเนินในชีวิต มากกว่าที่ฟังแล้วจะเต้นกันอย่างเดียว คือเรามองแบบนี้ครับ 020
- BLAST
magazine -
สไตล์เร้กเก้กจ็ ะมองในเรือ่ งของความเป็นจริงแล้วกลัน่ ออกมา วิน : ประมาณนี้เลยครับพี่ ผมว่ามันเป็นเรื่องที่พูดกันน้อย มาก ส่วนใหญ่ก็พูดกันถึงเรื่องรัก เรามาพูดถึงเรื่องชีวิตหน่อยแต่ เราอาจจะไม่เหมือนเพื่อชีวิต แต่เราเป็นเพื่อชีวิตของยุคนี้ในคราบ ของเร้กเก้ โดยใช้เร้กเก้ด�ำเนินเรื่องประมาณนี้ครับ อัลบัม้ Organix ผมฟังแล้วคนมิกซ์ Naoyouki Uchida ชาวญีป่ นุ่ คน นี้ใช้ ได้เลยนะ วิน : ผมว่าคนนี้ผมยกให้เป็นอันดับหนึ่งของเอเชียส�ำหรับผม เลยนะครับ คือ ถ้าเราได้ความเป็นญี่ปุ่นสักนิดนึงผมว่ามันจะมันส์ แน่นอน คือ คนญี่ปุ่นจะบ้าคลั่งมากไม่ว่าจะท�ำอะไร ทุก ๆ อย่าง เฉพาะเจาะจงเขาก็จะตั้งใจท�ำมาก อย่างคนมิกซ์ตั้งใจท�ำมาก บ้า คลั่งกับสิ่งเล็ก ๆ บ้าคลั่งในการท�ำสิ่งนั้น ๆ เช่นการมิกซ์เพลงเนี้ย เขาใช้เวลาท�ำหนึ่งเพลงทั้งวันวันละสามถึงสี่ร้อยครั้งวันละเพลงวัน ละเพลงจนได้หนึ่งอัลบั้ม เพียร อะ ไม่ใช่ท�ำวันละสามสี่ชั่วโมงแล้ว หยุดแต่นี่เขาท�ำทั้งวันแล้วค่อยหยุด ซาวด์ที่ออกมาเลยแตกต่าง มาคุยเรือ่ งหนักกันนิด ๆ ความเห็นการเมืองเราเป็นยังไงครับ ซึง่ ใคร ๆ ก็ไม่ชอบคอรัปชัน่ อยูแ่ ล้ว วิน : เมื่อก่อนผมค่อนข้างซีเรียสกับเรื่องนี้มาก มากจริง ๆ แล้วก็ที่บ้านก็เป็นสีนึงอะไรอย่างนี้แล้วก็จะมีความขัดแย้งกับเพื่อน กับใครบางคน จนมาวันนึงผมถอดเสื้อ ผมไม่เอาอะไรแล้ว ผมอยู่ ของผม ก็พยายามเฝ้าระวังและรู้อยู่แล้วว่าทุกการเปลี่ยนแปลง การเมืองไทยทุกยุคทุกสมัยแม่งต้องบอบช�้ำตลอด มันจะมีเรื่อง ดราม่า เรื่องที่รับไม่ได้ เรื่องที่ถูกสร้างขึ้นมาเรื่องที่มันเอาออกมา ประเด็นเพื่อให้ลืมเรื่องนั้นเรื่องนี้ ผมว่ามันเป็นเกมอะไรบางอย่างที่ ถ้าเราติดกับมันเราจะเป็นทุกข์ แล้วเราก็จะต้องเลือกฝ่ายเราก็ต้อง ขัดแย้งทะเลาะกัน ผมมองว่ามันเป็นปัญหามากกว่าการเมืองอีก นะ การที่คนมันจะต้องแบ่งแยกกันเพียงเพราะอุดมการณ์อะไรบาง อย่างในเป้าหมายเดียวกันคือต้องการพัฒนาชาติ ผมคิดว่ามันคง ไม่มีรัฐบาลไหนที่จะดีจริง ๆ สักที เหมือนสร้างภาพฉาบฉวยละคร ปาหี่ไปวัน ๆ ผมคิดว่ามันเป็นสิ่งที่ถ้าเราเข้าใจมองมันเป็นเกม ไม่ ท�ำลายมิตรภาพ นั่นแหละคือการพัฒนาทางอ้อมอีกทางนึงที่เรา ไม่ต้องไปถือป้ายชูป้ายไล่ อันนี้แหละมันกฎธรรมชาติอยู่แล้ว เป็น กรรมร่วมที่เราต้องเผชิญ ผมคิดว่าทุกคนควรที่จะยอมรับในความ คิดของแต่ละคน ISSUE 21 - MARCH 2018
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine -
021
022
- BLAST
magazine -
ISSUE 21 - MARCH 2018
เอาละ ตอนนี้ กัญชง กับ กัญชา เราจะยัง งง ๆ กันอยู่ ตอนนีค้ นก็เริม่ เปิดพืน้ ทีก่ นั บ้างละ วิน : จริง ๆ เรื่องนี้มันเก่ามากเลยนะพี่ แต่ว่าเรา ๆ ก็เพิ่งมากระตุกกัน ตอนนี้ คือ ทุกคนควรได้รับความรู้เรื่องนี้อย่างถูกต้องและเสรี ความรู้เรื่องกัญ ชง ที่สามารถผลิตภัณฑ์ได้ถึงสองหมื่นกว่าชนิด กัญชา สามารถผลิตเป็นยา รักษามะเร็งได้ ส่วนพวกที่เป็นสันทนาการเพลิดเพลินอย่าเพิ่งนับครับ ฮา เพราะ ว่าพวกเขาไม่มีทางตายแน่นอนพวกเขายังต้องอยู่ต่อไป พวกเขายังต้องแอบอยู่ ถึงมันจะถูกมองเป็นสิ่งผิดกฎหมาย ผมว่าสิ่งพวกนี้มันอยู่มาตั้งแต่บรรพบุรุษแล้ว ก็มันถูกเป็นเรื่องของระบบธุรกิจกลั่นแกล้งกัน คนท�ำเหล้าอาจจะไม่พอใจ ถ้า มันเป็นสิ่งถูกกฎหมาย คนขายบุหรี่ก็จะไม่พอใจถ้ามันถูกกฎหมาย นายทุนคน นั้นคนนี้อาจไม่พอใจก็ได้ถ้าวันนึงเสื้อใยกัญชงแพร่สะพัดเต็มไปหมด คือผมว่า มันเป็นเรื่องที่ต้องได้รับความรู้และรู้จักมันอย่างแท้จริง แล้ววันมันก็จะไม่ใช่ของ ผิดกฎหมาย ถ้าเทียบกับต่างประเทศ คนก็ต้องพัฒนาไปในระดับที่เขามองว่า มันควรถูกกฎหมาย อย่างบ้านเรายังจะไม่เข้าใจจริง ๆ จนกว่าจะใช้สิ่งนี้ในการ รักษามะเร็ง ผมคิดว่ามันเป็นสิทธิเสรีภาพที่คนไทยควรเลือกได้ พกสมุนไพรกับพกปืน พกสมุนไพรติดคุก วิน : ใช่เลยพี่ ฮาฮาฮา บ้านเรานี่พกปืนกันเพียบเลย คนรักสมุนไพรนี่ส่วน ใหญ่รักสันติพกสมุนไพรพกประนมมือไหว้ปรก ๆ ก็ไม่มีอะไรแล้ว พูดถึงงาน Sunset Beach Music Festival กันหน่อย โปรโมตให้ผจู้ ดั สักนิด วงไป เล่นทุกปีดว้ ยนิ ทอมมี่ : สวยดีครับ อากาศดี เป็นโอกาสที่วงเราได้เล่นริมทะเลแล้วงานก็ ไม่เละเทะด้วย คนดูน่ารัก วงที่มาเล่นก็ดีหมดเลยครับ ตื่นเต้นทุกครั้งที่ไปเล่น ครับ วิน : คนตั้งใจมาดูกันมาก วงก็ตั้งใจเล่น ใครยังไม่เคยมาก็ลองมาซักครั้ง นะครับ เดือนมิถนุ ายนทางวงจะมีคอนเสิรต์ ใหญ่นคี่ รับ บอกรายละเอียดให้คนอ่านรูก้ นั หน่อย วิน : เป็นคอนเสิร์ตใหญ่ของวงเราครับ จะใช้ชื่อว่า “1,300 ปี ศรีชา” จริง เราก็ตั้งวงมา 15 ปีเองแค่เรารวมชาติก่อน ๆ เอาไว้ด้วย ฮาฮา เป็นงานที่จริงจัง ซีเรียสเตรียมความพร้อมกันสุด ๆ โดยงานจะจัดที่ นครินทร์สเปซ ศรีนครินทร์ เรียนเชิญสาวกแฟนเพลงมาดูกัน พวกเราตั้งใจจะท�ำให้มันสนุกที่สุดครับ สุดท้าย วงก็ตง้ั มา 15 ปี คงเห็นวงการสกาเร้กเก้ในจุดทีพ่ คี สุดจนถึงต�ำ่ สุดมาแล้ว วิน : ส�ำหรับวงผมจริง ๆ ไม่สามารถนับรวมกับเร้กเก้ยุคนั้นได้ เพราะ พวกผมท�ำกันอีกแบบคือ ช้า ๆ หนืด ๆ 15 ปีที่เราท�ำมาก็ค่อย ๆ เป็นค่อย ๆ ไป เท่าที่เห็นวงการนี้มันถูกพัฒนามาเป็นระยะ ๆ มีขึ้นมีลง ช่วงที่พีคนี่เป็นช่วงที่คน อาจจะยังไม่เข้าใจอย่างเต็มที่ก็ได้ มันก็เลยออกมาในลักษณะเขียว เหลือง แดง แค่ภาพภายนอก แต่ว่าสิ่งที่มันพัฒนามาจนถึงปัจจุบันนี้ที่เราพอจะจับประเด็น ได้ละคือ คนจะไม่สนใจละว่าจะเขียว เหลือง แดง หรือต้องไว้ทรงผมแบบนี้ ทุก คนเริ่มให้ความส�ำคัญเรื่องเนื้อหาเรื่องแก่นตรงนั้นมากกว่า ผมก็คิดว่านี่แหละ เป็นการพัฒนาที่ดีแต่ว่ามันยังไม่สุด ถ้ามันสุดมันจะเป็นวัฒนธรรม เป็นสังคมที่ สะอาดสะอ้าน มันจะไม่ลักษณะที่มาปาร์ตี้แล้วขยะเกลื่อนกราด ถ้าพัฒนาแล้ว คนต้องพัฒนาพร้อมกับเพลง ผมรู้สึกว่าวงการเร้กเก้ไทยยังต้องใช้เวลาอีกสัก ระยะนึงเพื่อพัฒนาไปสู่ความดีงาม ไม่ใช่แค่มาเต้นแล้วมาเมาเฉย ๆ มันต้องมี อย่างอื่นเข้าไป สร้างชาติ ประมาณนี้ครับ
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine - 023
024
- BLAST
magazine -
ISSUE 21 - MARCH 2018
สมาชิกวง วิน ชูจิตารมย์ - ร้องน�ำ / กลอง ชนัฏ อิศรางกูร ณ อยุธยา – คีย์บอร์ด, เมโลเดียน บริบูรณ์ สุขเลิศนันทกิจ – เบส จิรวุฒิ คุณะดิลก – กีตาร์ โชติพัฒน์ โพธิ์เผือก - กลอง (เล่นสด) Thomas C. Hanson – Mixer (เล่นสด)
PICK IT UP BY
คาราวาน คนกับควาย
ISSUE 21 - MARCH 2018
SRIRAJAH ROCKERS
Love Joys Lovers Rock
Lee Perry Mad Professor – Experryments At The Grass Roots of Dub
Carlton And The Shoes Love Me Forever
Little Tempo Kedaco Sounds
- BLAST
magazine - 025
BLAST OFF
BLAST TEAM
พัสกร ตัง้ เจริญสุข (มิง้ ฟา) - กีตาร์ / ซินธ์ฯ นรเทพ พรทัศน์ (เสีย่ นอ) - เบส / ซินธ์ฯ สิทธิศกั ดิ ์ เจริญรัตน์ (โดนัท) - กลอง https://www.facebook.com/Hijackerband วงซินธ์ฯ ป็อปใหม่แกะกล่องโดยกลุม่ วัย รุน่ ผูห้ ลงใหลซาวด์ดนตรียอ้ นยุค ล�า้ หน้า ทัน สมัย เก๋ไก๋ดว้ ยเสียงสังเคราะห์ เพลงแรกเปิด ตัวโปรโมทด้วย “หยุด” ได้ เฟรม ศุภคั ชญา เจ้าของเพลงดัง “อยูด่ ี ๆ ก็...” มาเขียนเนือ้ ร้อง และวางเสียงเพราะ ๆ ให้ เมโลดีเ้ พลงอบอวล ไปด้วย 80 สไตล์ เสียงร้องขยีจ้ บั ใจไพเราะ ด้วยเนือ้ หาความรัก แค่เพลงแรกท�าออกมาได้ น่าสนใจมาก ต้องรอชมและฟังบทเพลงต่อไป ติดตามวงนีก้ นั ได้
O H C H E N TA K U Myo – ร้องน�า / กีตาร์ Naem – เบส Amber – กีตาร์ / ร้องประสาน Jack – กีตาร์ Jimmy – กลอง Wawa - คียบ์ อร์ด / ร้องประสาน https://www.facebook.com/xohchentakux เป็นวงเพือ่ นทีร่ จู้ กั กันมานานจากประเทศมาเลเซีย เมือ่ เกือบสิบปี ก่อนเคยแวะมาให้จดั งานเล่นทีก่ รุงเทพฯ ก็สนุกสนานตามอัตภาพแบบ เจียมตัวกันไป ครัน้ กลับไปทางวงก็เริม่ มีการเปลีย่ นแปลงจากเล่น 3 ชิน้ ก็เพิม่ เติมสมาชิกจนเป็น 6 คน พอไปประกวดรายการเพลงก็เริม่ มีชอื่ เสียงเป็นทีร่ จู้ กั ไปทัว่ มาเลเซีย สรรพส�าเนียงยุคแรกของวงก็อารมณ์อโี ม สครีมโม ยอดนิยม ณ ตอนนัน้ ไล่เรียงจนเพิม่ ความร็อกแอนด์โรลแน่น ๆ มีลกู โซโล่กตี าร์ดเุ ด็ดเผ็ดมัน ซิงเกิล้ ล่าสุด Anugerah Of The Year (แปลเป็นไทยว่า รางวัลยอดเยีย่ มประจ�าปี ประมาณนี)้ โคตรจะร็อก เนือ้ ๆ ลองไปฟังกันดู
026
- BLAST
magazine -
สนใจอยากลงโปรโมทวง ไม่จำ� กัดแนวทำง จะเดีย่ ว จะเป็นวง มำได้หมด ส่งอีเมลมำได้ที่ leesic@gmail.com ยินดีนำ� เสนอเผยแพร่ให้รจู้ กั กว้ำงมำกขึน้
H I J A C K E R
ISSUE 21 - MARCH 2018
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine - 027
BLAST OFF
BLAST TEAM
Hitomi - ร้องน�ำ Masa – กีตาร์ Hassy – เบส Hiro – กลอง https://www.facebook.com/NACARBIDE เฮฟวี่ ร็อก เพาวเวอร์ เมทัล สัญชาติญปี่ นุ่ ทีต่ งั้ วงเล่นในประเทศไทยวงนีก้ อ่ ตัง้ เมือ่ ปี 2016 เคยเห็นแว่บ ๆ มีชอื่ ในงานโชว์ระดับรากหญ้าอยูน่ ดิ ๆ ยังไม่มโี อกาสได้ดเู ล่นสด แต่จากการฟัง เพลงในอัลบัม้ เต็มทีท่ างวงเพิง่ วางขายเองท�ำเอง Lots of Eye เอาเรือ่ งแหะ บรรยากาศเพลงผสม กับนักร้องหญิงทีค่ ลัง่ ไคล้เฮฟวี่ เมทัล ยุค 80 สายแฮร์ สายแกรม ชุดหนังรัดปลิน้ ๆ นีเ่ ห็นภาพเลย ไม่ธรรมดาครับเห็น มาซะ มือกีตาร์ชาวญีป่ นุ่ แบบนีเ้ ป็นแฟนคลับพี สะเดิดนะจ๊ะ ไหนจะศิลปินไทย อีกเพียบที่ไปถ่ายรูปด้วย ฮาฮา
B O N J O U R Angga – ร้องน�ำ Awank - กีตาร์ Haqi - กีตาร์ Ristu – เบส Galih – กลอง https://www.facebook.com/BonjourHC ฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์จาก เมืองเบกาซี จังหวัดชวาตะวันตก , ประเทศอินโดนีเซีย ห่างจากเมืองหลวงจาการ์ตาไม่ไกลมากนัก ประชากรเบาะ ๆ แค่สองล้านกว่า ดูจากประวัตวิ งก็อารมณ์เดียวกับวัยรุน่ ก�ำลังบ้าพลัง ตัง้ วงนัน้ นีแ่ ล้วหยุดกลับมา รวมกันใหม่ภายใต้ชอื่ นี้ จากทีฟ่ งั เพลงแรกทีป่ ล่อยออกมา Angkat Suara (น่า จะแปลว่า เสียงจากการท�ำความเคารพ ประมาณนี)้ สรรพส�ำเนียงถ้าใครชอบ วงอย่าง Comeback Kids ติดโอลด์ สคูลขยี้ ๆ จัดได้เลย
028
- BLAST
magazine -
สนใจอยากลงโปรโมทวง ไม่จำ� กัดแนวทาง จะเดีย่ ว จะเป็นวง มาได้หมด ส่งอีเมลมาได้ที่ leesic@gmail.com ยินดีนำ� เสนอเผยแพร่ให้รจู้ กั กว้างมากขึน้
N A C A R B I D E
ISSUE 21 - MARCH 2018
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine - 029
OLD RECORD STILL ALIVE
(ตอนที่ 1)
คงไม่ใช่เรือ่ งเกินเลยไปนักหาก เราจะกล่าวว่านับตัง้ แต่เข้าสูป่ ี 2000 เป็นต้นมาแวดวงการเพลงก็เริม่ มีการ เปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็วชนิดทีว่ า่ หากคุณเผลอไปเพียงพักใหญ่ ทุกอย่าง ทีเ่ คยเป็นอยูม่ นั ก็หาเหมือนเดิมอีกต่อ ไปแล้ว อย่างทีเ่ ราทราบกันดีวา่ ภาย หลังจากทีก่ ระแสดนตรีน ู เมทัล ได้ถงั่ โถมเข้ามา โดยมีวงดังอย่าง Korn, Slipknot, Limp Bizkit และ Linkin Park เป็นแนวหน้าหน่วยทะลวง ฟัน แวดวงดนตรี ณ จุดนีก้ ไ็ ด้เกิดการ เปลีย่ นแปลงอย่างไม่ขาดสายพร้อมกับ การก้าวเข้ามาของแนวเพลงสไตล์ใหม่ หลายหลายสายพันธุท์ งั้ เมทัล คอร์, อีโม, สครีมโม, โพสต์กรัน้ จ์, โพสต์ ฮาร์ดคอร์, เดธคอร์ และแนวอืน่ ๆ อีก มากมาย แน่นอนว่าแรงสัน่ ไหวตรงนี้ มันก็ได้สง่ ผลให้เกิดวงดนตรีหน้าใหม่ ได้แจ้งเกิดด้วยเช่นเดียวกัน ทีด่ จู ะเด่น ชัดและเป็นทีร่ จู้ กั ในหมูค่ นฟังคงหนีไม่ 030
- BLAST
magazine -
พ้นไปจากวงอย่าง Killswitch Engage, Unearth, Avenged Sevenfold, Taproot, Grassjaw, The Used, 36 Crazyfists, Paramore, A Static Lullaby รวมไปถึงวงมหาฮิตอย่าง My Chemical Romance ในส่วนของ แวดวงการเพลงไทยเองก็ได้รบั ผลกระ ทบจากกระแสการเปลีย่ นแปลงตรงนี้ อย่างมากมาย ซึง่ ในทีส่ ดุ แล้วมันก็ได้ ส่งผลให้วงดนตรีหน้าใหม่หลาย ๆ ราย ได้แจ้งเกิดขึน้ มาในช่วงเวลาดังกล่าวนี้ ไม่วา่ จะเป็น กล้วยไทย, Housetrap, Bikini, Brandnew Sunset, Sead, Sweet Mullet, Outro, Annalynn, Harem Belle, Cantaroot เป็นต้น อย่างไรก็ดนี อกจากวงทีก่ ล่าวไปข้าง ต้นนีแ้ ล้ว มันก็ยงั มีวงดนตรีหน้าใหม่ไฟ แรงอีกรายทีแ่ ม้วา่ พวกเขาจะก้าวขึน้ มา อยูบ่ นถนนดนตรีสายนีด้ ว้ ยวัยวุฒทิ ี่ไม่ มากนัก แต่ในเรือ่ งของฝีมอื แล้วพูดได้ ว่าพวกเขาก็มอี ยูพ่ อตัวทีเดียว ประกอบ
กับการได้อยูภ่ ายใต้ชายคาสังกัด ระดับเมเจอร์ในบ้านเราอย่าง Genie Records ด้วยแล้ว มันก็ยอ่ มทีจ่ ะส่งผล ให้พวกเขาถูกจับตามองมากขึน้ ไปอีก กล่าวมาถึงตรงนีแ้ ล้วเชือ่ ได้วา่ หลายคน น่าจะทราบแล้วว่าผมก�าลังเอ่ยถึงวง อะไรอยู ่ และเพือ่ ไม่เป็นการเสียเวลาก็ ขอเฉลยเลยละกันว่าวงดนตรีรายนีก้ ค็ อื “Retrospect” นัน่ เอง ดังนัน้ แล้วอย่า ช้าทีไปท�าความรูจ้ กั กับพวกเขากันเลย ดีกว่าครับ... หากจะว่าไปแล้วจุดสตาร์ทใน การฟอร์มวงของพวกเขานีด่ จู ะแปลก ไปกว่าวงอืน่ ๆ อยูไ่ ม่นอ้ ยเลย ทุกอย่าง มันเกิดขึน้ ในช่วงปี 2544 แน็ป (ชนัทธา สายศิลา) ได้พบกับ บอม (ณพวัชร คชาชีวะ) ได้พบกันในระหว่างไปเล่น เกม Counter Strike ทีร่ า้ นเกมแห่ง หนึง่ หลังจากได้พดู จาพาทีจนรูส้ กึ สนิท สนมกันมากขึน้ แล้วความเป็นเพือ่ นของ ทัง้ สองคนก็ได้เริม่ ขึน้ จวบจนกระทัง่ วัน
หนึง่ ทัง้ คูก่ ไ็ ด้ไปตกปลาร่วมกัน ซึง่ ใน ระหว่างนัน้ บอมก็ได้เห็นว่าแน็ปน�าเทป เพลงเมทัลติดตัวไปฟังด้วย ดังนัน้ ก็เลย ตัดสินใจชวนกันท�าวงดนตรี โดยมี บิก๊ (ณภพล คชาชีวะ) พีช่ ายของบอม ทีร่ บั หน้าทีเ่ ป็นมือกีตาร์เป็นตัวตัง้ ตัว ตี ซึง่ แนวเพลงในยุคแรกทีพ่ วกเขาน�า เสนอกันนัน้ ก็คอื อินดัสเตรียลซาวด์ที่ ผสมผสานกับความหนักหน่วงดิบกร้าว ในแบบเดธและแธรช เมทัล หลังจาก นัน้ พวกเขาก็เริม่ ท�าการฟอร์มวงอย่าง เป็นทางการ โดยสมาชิกในยุคแรกก็ ประกอบไปด้วย แน็ป (ร้องน�า/กลอง), บอม (เบสกีตาร์), บิก๊ (กีตาร์) และ น็อต (ธนพล ศรีกาญจนา) (กีตาร์) ใน ส่วนของชือ่ วง Retrospect นัน้ ทางวง ไปได้มาด้วยวิธกี ารค้นหาค�าศัพท์จาก หนังสือพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ซึง่ ก็ ถือว่าแปลกไปอีกแบบอยูเ่ หมือนกัน ภายหลังจากตัง้ วงมากันได้ระยะ หนึง่ มันก็ได้สง่ ผลให้พวกเขาเริม่ มีงาน ISSUE 21 - MARCH 2018
METALMANIAC
แสดงเข้ามาบ้าง ทางวงก็เลยตัดสิน ใจค้นหามือกลองเข้ามาเพิม่ เติมจนใน ทีส่ ดุ ก็ไปได้ตวั เบิรธ์ (ศุทธิพนั ธ์ สังข์ ยุทธ) มือกลองทีเ่ ป็นเพือ่ นกับแน็ป มาตัง้ แต่สมัยชัน้ ประถมเข้ามาเติมเต็ม อีกทัง้ เจ้าตัวยังมีดกี รีผา่ นการประกวด วงดนตรีตามงานต่าง ๆ มาบ้างแล้ว และเมือ่ ทุกอย่างลงตัวมาถึงจุดนี้ Retrospect ก็ได้เริม่ ด�าเนินการเดิน หน้ากันแบบเต็มตัว อย่างไรก็ดที กุ อย่าง มันก็ไม่ได้สวยงามนักเมือ่ “บิก๊ ” แกน หลักคนส�าคัญของวงตัดสินใจไปศึกษา ต่อทีส่ หรัฐอเมริกา จึงท�าให้สมาชิก ภายในวงเหลือกันเพียง 4 คนเท่านัน้ ก้าวขึน้ สูป่ ี 2546 ทางวงก็สบ โอกาสได้ออกผลงานอีพชี ดุ แรก โดย ได้คา� แนะน�าจากคนดนตรีตวั จริงอย่าง “ต้น Dezember” ซึง่ ผลงาน Ep. For Your Ears Only ของพวกเขาทีผ่ ลิต มาชนิดท�าเองออกแบบอาร์ตเวิรค์ ปก เอง (และขายเอง) จ�านวน 150 แผ่น นัน้ ได้ถกู วางจ�าหน่ายเป็นครัง้ แรกใน งาน Territory Metal Fest ในช่วงวันที่ 7 มิถนุ ายน พ.ศ. 2546 และในวันนัน้ ก็ ถือเป็นวันทีพ่ วกเขาได้พบกับวง Bikini และมันก็ถอื เป็นจุดเริม่ ของ Screamlab กลุม่ คนดนตรีทปี่ ระกอบไปด้วยวง ชัน้ น�าอย่าง Bikini, Housetrap, Retrospect และ Sweet Mullet นัน่ เอง และในราวปลายปีเดียวกันทาง วงก็ได้รบั เชิญให้เข้าร่วมงานเทศกาล ดนตรีใหญ่อย่าง Fat Festival ครัง้ ที ่ 3 และพวกเขาก็เห็นว่ายังมีแฟนเพลงอีก กลุม่ ใหญ่ทยี่ งั ไม่สามารถหาซือ้ ผลงานอีพี ชุดแรกของพวกเขาได้ ดังนัน้ ทางวงก็ เลยจัดการน�าผลงานอีพชี ดุ แรกมาออก วางจ�าหน่ายอีกครัง้ ภายใต้ชอื่ ว่า Ep. For Your Ears Anytime โดยเพิม่ เพลง ใหม่เข้าไปอีก 1 แทร็ค โดยน�ามาวาง จ�าหน่ายในงานนีอ้ กี 150 แผ่นด้วยกัน ในช่วงเวลาหลังจากนัน้ ทางวง เองก็ยงั คงตระเวนขึน้ แสดงสดตามงาน ดนตรีตา่ ง ๆ จนกระทัง่ มีคา่ ยเพลงแห่ง หนึง่ ได้ตดั สินใจมาทาบทามพวกเขา โดยมีขอ้ แม้วา่ ขอให้ลดความดุดนั และ เกรีย้ วกราดลงจากทีเ่ คยเป็นอยู ่ ซึง่ ด้วย เงือ่ นไขดังกล่าวนีพ้ วกเขาเองก็เกรงว่า ISSUE 21 - MARCH 2018
จะสูญเสียเอกลักษณ์ความเป็นตัวตน ของตัวเองไปก็เลยได้ตอบปฏิเสธค่าย เพลงดังกล่าวนัน้ จวบจนกระทัง่ “เต๋า Sweet Mullet” ได้แนะน�าให้พวกเขา ได้รจู้ กั กับ “พีโ่ น่” ดนัย ธงสินธุศกั ดิ์ โปรดิวเซอร์มอื ดีของทางสังกัด Genie Records ที่ในช่วงเวลานัน้ ก�าลังมอง หาวงดนตรีในสไตล์ใหม่ ๆ เพือ่ ป้อน เข้าสูส่ งั กัด และภายหลังการพูดคุยใน ครัง้ นัน้ พวกเขาก็ได้ตดั สินใจท�าเดโม เพือ่ เสนอกับทางค่าย จนในทีส่ ดุ แล้ว พวกเขาก็สบโอกาสได้เซ็นสัญญากับ ทางสังกัดแห่งนี้ในช่วงปี 2547 พร้อม กับได้ออกซิงเกิล้ “ไม่มเี ธอ” ทีต่ อ่ มา มันก็ถกู น�าไปรวมไว้ในอัลบัม้ รวมเพลง Showroom Vol.1 และจากความดัง ของซิงเกิล้ แจ้งเกิดเพลงนีม้ นั ก็ได้สง่ ผล ให้พวกเขาเริม่ เป็นทีร่ จู้ กั ในหมูข่ องแฟน เพลงในวงกว้าง จนในทีส่ ดุ พวกเขาก็มี กลุม่ แฟนคลับของตนเองทีเ่ รา ๆ ท่าน ๆ รูจ้ กั กันในนามของ “เรโทรเลีย่ น” นัน่ เอง เข้าสูป่ ี 2550 อัลบัม้ Unleashed ผลงานสตูดโิ ออัลบัม้ ชุดแรกของพวก เขาก็ได้ฤกษ์ออกวางจ�าหน่ายอย่างเป็น ทางการ ด้วยแนวเพลงทีผ่ สมผสาน ระหว่างความหนักหน่วงในแบบเมทัล กับซาวด์ดนตรีในสไตล์อโี มทีต่ ดิ เมโลดี้ ฟังง่ายชวนติดหูจงึ ท�าให้ผลงานชุด นี้ได้รบั ความนิยมไม่ยากนัก โดยมี เพลงอย่าง “ปล่อยฉัน” ทีถ่ อื ได้วา่ เป็น เพลงแรกของอัลบัม้ นีท้ สี่ ามารถก้าว ขึน้ ไปติดชาร์ตในล�าดับที ่ 1 ของทัง้ คลืน่ วิทยุอย่าง Seed Radio 97.5 FM และ Hotwave 91.5 FM ยาวนานถึง 3 สัปดาห์ดว้ ยกัน ขณะทีเ่ พลงอืน่ ใน อัลบัม้ ก็ลว้ นแล้วแต่ฮอตฮิตถูกใจแฟน เพลงไม่แพ้กนั เลยไม่วา่ จะเป็น “เพราะ ว่ารัก”, “สุดทีร่ กั ” รวมไปถึงแทร็คอย่าง “ไม่มเี ธอ” เพลงแจ้งเกิดเมือ่ 3 ปีทแี่ ล้ว ของพวกเขาก็ถกู น�ามารวมไว้ในอัลบัม้ นี้ เช่นเดียวกัน ขณะที่เพลงอย่าง “ลุกขึ้นสู้”, “ขอ”, “ความฝันของเรา” และ “เปลือก” ก็ถอื เป็นอีกชุดเพลงที่ ผมชืน่ ชอบเป็นการส่วนตัว นอกจาก อัลบัม้ นีข้ องพวกเขาจะฮอตฮิตแล้ว ทางวงยังได้กลายเป็นผูน้ า� แฟชัน่ “เสือ้
สีดา� และเสือ้ ลายสกอต” เรียกได้วา่ ชัว่ โมงนัน้ ชือ่ ของ Retrospect ติดลม บนเป็นทีร่ จู้ กั กันไปทัว่ หัวระแหงเลย ก็วา่ ได้ และจากความดังของอัลบัม้ นีม้ นั ก็ได้สง่ ผลให้ทาง “พีโ่ น่” ดนัย ธงสินธุศกั ดิ ์ ก้าวไปคว้ารางวัล Thai Headbanger Awards ปี 2007 ใน สาขาโปรดิวเซอร์ยอดเยีย่ มไปครองอีก ต�าแหน่งหนึง่ ด้วย แน่นอนว่าจากความพีคของพวก เขา ณ จุดนีท้ า� ให้ปนี นั้ ทางวงสบโอกาส ได้ขนึ้ คอนเสิรต์ บนเวทีใหญ่ถงึ 4 งาน ด้วยกันไล่ไปตัง้ แต่งานคอนเสิรต์ “เปิด พรหมลิขติ ” ของวง Big Ass ทีธ่ นั เดอร์ โดม ในฐานะวง Opening Act เมือ่ วันที ่ 17 มีนาคม 2550 หลังจากนัน้ อีกไม่กเี่ ดือนต่อมาพวกเขาก็ได้ขนึ้ แสดงสดในฐานะศิลปินรับเชิญในงาน Clash Army Rock Concert ทีจ่ ดั ขึน้ ณ Impact Arena เมืองทองธานีชว่ ง วันที ่ 21 กรกฎาคม 2550 ก่อนทีพ่ วก เขาจะกลายเป็นวงหลักในคอนเสิรต์ Retrospect The First Concert ทีจ่ ดั ได้วา่ เป็นคอนเสิรต์ เปิดตัวเต็มรูปแบบ ของเขา ณ Moonstar Studio ในช่วง วันที ่ 4 สิงหาคม 2550 พร้อมกับได้ ศิลปินรับเชิญอย่าง ดา เอ็นโดรฟีน และวง Sweet Mullet ร่วมแสดงใน งานครัง้ นีด้ ว้ ย และปิดท้ายปีกบั การได้ เล่นเป็นวง Opening Act ให้กบั ศิลปิน ระดับโลกอย่าง Linkin Park ทีเ่ หินฟ้า มาแสดงคอนเสิรต์ ในบ้านเรา ณ ลาน Active Square เมืองทองธานีเมือ่ ราว วันที ่ 11 พฤศจิกายน 2550 นับได้วา่ เป็นประสบการณ์ใหม่ทนี่ อ้ ยวงนักจะได้ พบกับโอกาสดี ๆ เช่นนี ้ ขณะเดียวกัน พวกเขาก็ยงั คงมีควิ ตระเวนออกทัวร์ คอนเสิรต์ เดินสายไปทัว่ ประเทศอย่าง ต่อเนือ่ งตลอดทัง้ ปีนนั้ ในช่วงระหว่างทีท่ างวงออกเดิน สายโปรโมตอัลบัม้ ชุดแรกพวกเขา ก็ได้เริม่ เขียนเพลงใหม่เก็บเอาไว้บา้ ง แล้ว ครัน้ พอย่างเข้าสูเ่ ดือนกุมภาพันธ์ ปีถดั มาทางต้นสังกัดก็ได้กล่าวกับทาง วงว่าให้เริม่ ต้นท�าอัลบัม้ ชุดใหม่กนั ได้ แล้ว ซึง่ ในช่วงแรกนัน้ พวกเขารูส้ กึ ไม่ เห็นด้วยกับเรือ่ งนีเ้ ท่าใดนัก เพราะเพิง่
จะวางจ�าหน่ายอัลบัม้ แรกไปได้ไม่นาน เท่าไหร่ แต่ครัน้ พอได้ซอ้ มเพลงใหม่ไป เรือ่ ย ๆ ความรูส้ กึ ต่อต้านในช่วงแรก ๆ ก็เริม่ ผ่อนคลายลงไป ประกอบกับเริม่ รูส้ กึ เบือ่ ทีจ่ ะเล่นเพลงเดิม ๆ วนไปมา ในทีส่ ดุ แล้วพวกเขาก็ได้ตดั สินใจยกเลิก ทัวร์ที่ได้วางเอาไว้พร้อมกับหันหน้าเข้า สตูดโิ อเพือ่ ท�าอัลบัม้ ชุดใหม่กนั ในทันที ก้าวเข้าสูก่ ลางปี 2551 “Rise” สตูดโิ ออัลบัม้ ล�าดับที ่ 2 ก็ได้ออกวาง จ�าหน่ายอีกทัง้ อัลบัม้ นีย้ งั ถือเป็นผล งานทีท่ างวงแสดงให้เห็นพัฒนาการ ของพวกเขาได้อย่างชัดเจน นอกจากนี้ แล้วในส่วนของศิลปินรับเชิญก็ลว้ นแต่ เป็นคนดังทัง้ สิน้ ไม่วา่ จะเป็น “ดา เอ็น โดรฟีน” ทีม่ าร่วมดูเอ็ตกับพวกเขา ในเพลง “ร้องให้พอ” ขณะที่ในเพลง อย่าง “สูต้ อ่ ไป” ทางวงก็ไปได้ตวั ของ “ยอด บอดีส้ แลม” มาโซโล่กตี าร์รบั เชิญในเพลงนี ้ (บอกได้เลยว่าเด็ดขาด เอามาก ๆ) และปิดท้ายด้วยในแทร็ค อย่าง “ทางเลือกของชีวติ ” ทีพ่ วกเขา ได้วงเครือ่ งสายอย่าง “Vietrio” มา ร่วมบรรเลงเรียกได้วา่ การได้ศลิ ปิน ระดัวตัวท็อปเช่นนีม้ าร่วมงานมันก็ได้ ส่งผลให้อลั บัม้ ชุดนีน้ า่ จับตามองขึน้ ไปอีก ในส่วนของแทร็คยอดนิยมใน อัลบัม้ ชุดนีน้ อกจาก “ร้องให้พอ” แล้ว ในเพลง “แค่นยิ าย”, “กลับมา” ก็จดั ได้วา่ เป็นเพลงฮิตไม่แพ้กนั แต่กใ็ ช่วา่ ทางวงจะเน้นเพลงฟังเพราะเพียงอย่าง เดียวเท่านัน้ ในส่วนเพลงดุดนั ก็จดั ได้วา่ มีเพลงถูกหูผมอยูห่ ลายเพลงเหมือนกัน อันได้แก่ “สูต้ อ่ ไป”, “Yes Sir!”, “แรง ขับเคลือ่ น” “The Run” เพลงท้ายสุด ของพวกเขาทีจ่ ดั หนักตัง้ แต่เนือ้ ร้องที่ เป็นภาษาอังกฤษล้วน ๆ ขณะทีพ่ าร์ต ดนตรีกเ็ ดือดดาลเต็มก�าลังเรียกได้วา่ เป็นเพลงทีโ่ ชว์กนึ๋ ของพวกเขาก็ไม่นา่ จะผิดไปนัก เช่นเดียวกันกับ “ลอย” แทร็คท้ายสุดในสไตล์เพลงบรรเลงที่ บอกได้เลยว่าไม่นา่ พลาดด้วยประการ ทัง้ ปวงครับ (อ่านต่อฉบับหน้า)
- BLAST
magazine -
031
MOVIES
T H E F L O R I D A P R O J E C T ความสุขปลายสายรุ้ง
ก่อนทีจ่ ะเขียนถึงหนังเรือ่ ง The Florida Project มีความจ�ำเป็นอย่าง ยิง่ ทีต่ อ้ งเท้าความไปถึง Tangerine ผลงานหนังเรือ่ งก่อนหน้านีข้ อง ฌอน เบเกอร์ ผูก้ ำ� กับวัย 46 ปีทเี่ กิดมาเพือ่ เป็นนักท�ำหนังอย่างแท้จริง เนือ่ งจาก ฌอน เบเกอร์ ไม่ได้ทำ� แค่เพียงนัง่ บน เก้าอีผ้ กู้ ำ� กับและสัง่ แอ็คชัน่ แต่เพียง อย่างเดียว แต่เขาคนนีเ้ หมาท�ำเอง ครบหมดทุกสิง่ อย่างทัง้ อ�ำนวยการ สร้าง, เขียนบท, ก�ำกับภาพ และ ล�ำดับภาพ สิง่ ทีน่ า่ สนใจก็คอื ฌอน เบเกอร์ ไม่ได้ทำ� หนังในเรือ่ งหรือ ประเด็นทางสังคมที่ใหญ่โตหรือว่า เป็นเรือ่ งทีซ่ บั ซ้อนเกินกว่าทีผ่ ชู้ มจะ ท�ำความเข้าใจ หนังของ ฌอน เบ เกอร์ ทุกเรือ่ งวนเวียนอยูก่ บั วิถชี วี ติ และการดิน้ รนต่อสูใ้ นสภาพปากกัด ตีนถีบของคนชายขอบหรือชนชัน้ ล่าง ทีถ่ งึ แม้วา่ จะมีชวี ติ อยูร่ ว่ มกับคนใน สังคม พวกเขาเหล่านีก้ เ็ หมือนไร้ตวั ตน โดย Tangerine เป็นหนังทีม่ ี พล็อตเรือ่ งทีเ่ รียบง่ายมากจนอดทีจ่ ะ คิดไม่ได้วา่ “เรือ่ งแบบนีก้ เ็ ป็นหนัง ได้ดว้ ยเหรอ (วะ)?” แต่สงิ่ ทีถ่ อื ว่าน่า ทึง่ ก็คอื Tangerine กลายเป็นหนังที่ สะท้อนให้เห็นว่าปัญหาความเหลือ่ ม ล�ำ้ ทางด้านชนชัน้ ในสังคมอเมริกนั นัน้ ลดทอนคุณค่าความเป็นมนุษย์ทมี่ ี ความแตกต่างกันทัง้ ในเรือ่ งเชือ้ ชาติ และเพศสภาพอย่างไรบ้าง Tangerine เล่าเรือ่ งของกะเทย ผิวสีหาเช้ากินค�ำ่ ทีอ่ าศัยอยู่ในเขต 032
- BLAST
magazine -
ย่านเสือ่ มโทรมของฮอลลีวดู ทีร่ คู้ วาม จริงจากเพือ่ นกะเทยผิวสีดว้ ยกันว่า แฟนหนุม่ ทีเ่ ป็นแมงดาแอบไปมีกกิ๊ ใน ระหว่างทีเ่ ธอติดคุกอยู่ สิง่ ทีเ่ ธอและ เพือ่ นกะเทยท�ำก็คอื การดัน้ ด้นไปหา กิก๊ สาวของแฟนหนุม่ แมงดาจนพบตัว และเรือ่ งราวของหนังตลอดทัง้ เรือ่ ง ไม่มอี ะไรมากเกินไปกว่าการกระชาก ลากถูกกิ๊ ไปตามซอกหลืบของสังคม ทีเ่ สือ่ มโทรมทัง้ สภาพตึกรามบ้า นช่องและหัวจิตหัวใจของผูค้ นทีท่ ำ� ทุก อย่างเพือ่ ทีจ่ ะมีเงินใช้เพือ่ ประทัง ชีวติ ไปวัน ๆ แต่ดว้ ยความถึงพริก ถึงขิงของการด�ำเนินเรือ่ งทีเ่ ต็มไป ด้วยสถานการณ์ WTF!?! รวมถึง บทสนทนาและค�ำด่าทีเ่ ผ็ดร้อนจน สะท้านไปถึงทรวงก็ทำ� ให้หนังเรือ่ งนี้ ห่างไกลอย่างยิง่ จากค�ำว่าเบือ่ หน่าย สิง่ ทีน่ า่ ทึง่ ที่ไม่พดู ถึงไม่ได้เลยก็คอื Tangerine เป็นหนังทุนต�ำ่ ที่ใช้ทนุ สร้างราว ๆ 1 แสนเหรียญสหรัฐฯ และใช้ iPhone5s ในการถ่ายท�ำทัง้ เรือ่ ง แต่ภาพในหลายต่อหลายฉาก กลับออกมาสวยสดงดงามได้อย่างไม่ น่าเชือ่ โลเกชัน่ ในหนังของ ฌอน เบ เกอร์ เล่นบทบาทส�ำคัญและมีนยั ยะ ซ่อนเร้นทีเ่ ชือ่ มโยงไปยังปัญหาเรือ่ ง ชนชัน้ หรือด้านมืดในสังคมอเมริกนั ได้อย่างแยบยลทีเดียว เพราะในขณะ ที่ Tangerine ได้นำ� ผูช้ มไปส�ำรวจ ความลับด�ำมืดของสภาพบ้านเมือง อันเหลวแหลกทีแ่ ทบจะไม่มหี นังฮอล
ลีวดู ในกระแสหลักเรือ่ งไหนกล้าทีจ่ ะ เข้าไปข้องแวะไม่วา่ จะเป็นซ่องโสเภณี ทีอ่ ยูไ่ ม่ไกลจาก ฮอลลีวดู วอล์ค ออฟ เฟม, ร้านขายโดนัททีเ่ ป็นสถานทีส่ ง่ ยา, โรงแรมทีท่ ำ� ธุรกิจขายบริการ ทางเพศ ท่ามกลางสังคมอเมริกนั ทีป่ ญ ั หาการเหยียดเพศและดูถกู เหยียดหยามคนชายขอบยังคงมีอยู่ ในประเทศทีเ่ ทิดทูนบูชาความร�ำ่ รวย โลเกชัน่ ในหนังเรือ่ ง The Florida Project ก็ยงั คงเล่นบทบาทส�ำคัญ ต่อเนือ้ หาทีส่ ะท้อนให้เห็นถึงปัญหา ความเหลือ่ มล�ำ้ ในสังคมอเมริกนั ที่ เทิดทูนบูชานิยามความสวยหรูของ ความเป็น “ความฝันแบบอเมริกนั ” อยูเ่ หมือนเดิม โลเกชัน่ ในหนัง The Florida Project สะท้อนความเหลือ่ ม ล�ำ้ ในแนวความคิดแบบ American Dream ออกมาได้อย่างมีนยั ยะส�ำคัญ และอย่างประชดประชันอยูไ่ ม่นอ้ ย เนือ่ งจาก Magic Castle โมเต็ลราคา ถูกทีม่ ีไว้บริการชาวอเมริกนั ทีถ่ อื เป็น ชนชัน้ ล่างและชนชัน้ แรงงานทีอ่ ยู่ใน ย่าน คิสซิมมี รัฐ ฟลอริดา้ ซึง่ เป็นที่ อยูอ่ าศัยของตัวละครหลักอย่าง มูนี่ (บรูค๊ ลิน ปรินซ์) เด็กหญิงแก่นเซีย้ ว และแสบสุด ๆ กับ แฮลลีย์ (ไบรอา ไวเนต) และมันอยู่ใกล้กบั ดิสนีย์ แลนด์ ซึง่ เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีน่ กั ท่องเทีย่ วชนชัน้ กลางไปจนถึงระดับ ชนชัน้ สูงสามารถซือ้ ตัว๋ เข้าไปสัมผัส กับโลกแห่งจินตนาการได้อย่างง่ายได้ ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ แต่สำ� หรับ
ชนชัน้ ล่างของสังคมทีม่ ชี วี ติ อยูไ่ ปวัน ๆ ทีโ่ มเต็ลแห่งนีแ้ ล้ว การหาเงินเพือ่ ซือ้ ตัว๋ เข้าไปสัมผัสความสุขแบบอเมริกนั ชนในสวนสนุก วอลต์ ดิสนีย์ นัน้ ดู เหมือนว่าจะเป็นสิง่ ไกลเกินเอือ้ มเอา มาก ๆ “ความฝันแบบอเมริกนั ” เป็น สิง่ ทีช่ นชัน้ ในระดับบนของสังคมแบบ อเมริกนั เชิดชูมากกว่า เพราะพวกเขา เหล่านีม้ รี ายได้หรือมีทที่ างในสังคม ในระดับทีพ่ อจะเป็นทีน่ บั หน้าถือตา ได้และไม่ขดั สนในการใช้จา่ ยเพือ่ หาความสุขใส่ตวั ในสังคมเงินเป็นใหญ่ (มาก ๆ แบบสหรัฐอเมริกา) แต่ก็ อย่าลืมว่าในอเมริกนั มันยังมีปญ ั หาใน เรือ่ งของเชือ้ ชาติ, สีผวิ ความยากจน ร�ำ่ รวยทีเ่ ข้ามาก�ำหนดบทบาทตลอด จนสถานะทางสังคม ซึง่ ท�ำให้โอกาส ในการเข้าถึง “ความฝันแบบอเมริกนั ” ที่ให้ความเท่าเทียมกันทางโอกาส และเสรีภาพในการใช้ชวี ติ อยูอ่ ย่าง เป็นปรกติในสังคมนัน้ มันไม่เท่ากัน ด้วย เพราะไม่วา่ คนอเมริกนั ที่ไม่ใช่ อเมริกนั แท้ ๆ (หรืออีกนัยหนึง่ คนชาติ อืน่ ทีห่ นีภยั ต่าง ๆ เพือ่ มาตายเอาดาบ หน้าในอเมริกา) จะท�ำงานหนักและ มีความมุง่ มัน่ แค่ไหนก็ตามทีจ่ ะสร้าง มาตรฐานชีวติ ให้ดขี นึ้ แต่ “ความฝัน แบบอเมริกนั ” ในบริบททีจ่ อมปลอม และเสแสร้งทีเ่ กิดจากการเหยียดทาง เชือ้ ชาติและชนชัน้ ก็ไม่เปิดโอกาสให้ พวกเขาเหล่านัน้ ได้ลมื ตาอ้าปากหรือ ว่ามีศกั ดิศ์ รีทที่ ดั เทียมกับชนชัน้ ใน ISSUE 21 - MARCH 2018
ศรัณยู ตรีสุคนธ์
ระดับบน หากมองในมุมนี้ The Florida Project เป็นหนังทีส่ ร้างขึน้ มา เพือ่ แสดงให้เห็นว่าโอกาสทีจ่ ะมี ความร�ำ่ รวยมัง่ คัง่ อย่างเท่าเทียมใน สหรัฐอเมริกาด้วยการท�ำงานหนัก โดยที่ไม่เกีย่ งว่าจะเป็นคนเชือ้ ชาติ อะไรยังคงเป็นเรือ่ งเพ้อฝันไม่ตา่ งไป จากการทีค่ นในสังคมทีอ่ าศัยอยู่ใน ห้องรูหนูของโมเต็ล Magic Castle มองว่าการเดินจากห้องพักและผ่าน เข้าประตู ดิสนีย์ แลนด์ ไปเทีย่ วเล่น อย่างมีความสุขในนัน้ เป็นสิง่ ที่ไกล เกินเอือ้ มถึงแม้วา่ จะอยูห่ า่ งจากโลก แฟนตาซีนนั้ เพียงไม่กรี่ อ้ ยเมตรก็ตาม สิง่ เหล่านีเ้ ป็นความต้องการของผู้ ก�ำกับ ฌอน เบเกอร์ เองทีม่ องว่า ความฝันแบบอเมริกนั นัน้ เป็นเหมือน ดาบสองคมทีผ่ ลักดันให้คนทีร่ ำ�่ รวย อยูแ่ ล้วก็ยงิ่ รวยมากขึน้ เรือ่ ย ๆ ส่วน คนทีจ่ นก็กลับยิง่ จนลงเรือ่ ย ๆ เช่นกัน ปัญหานีย้ งิ่ เพิม่ ช่องว่างระหว่างชนชัน้ ให้กว้างใหญ่ไปกว่าเดิมนับตัง้ แต่ โดนัลด์ ทรัมป์ ก้าวเข้ามาเป็นผูน้ ำ� สหรัฐฯ สิง่ ทีถ่ อื ว่าเสียดสีประชน ประชันอย่างร้ายกาจก็คอื อาณาจักร ดิสนีย์ แลนด์ ทีท่ อดเงาขนาดมหึมา มาสูโ่ รงแรมรูหนูเล็ก ๆ ในเขต คิส ซิมมี รัฐฟลอริดา้ ถือเป็น Magic Kingdom หรือ “อาณาจักรเหนือ จินตนาการ” ทีท่ งั้ ผูใ้ หญ่และเด็ก ในโรงแรมแทบจะนึกภาพไม่ออกว่า ความสุขแบบอเมริกนั ทีซ่ กุ ซ่อนอยูข่ า้ ง ISSUE 21 - MARCH 2018
ในนัน้ เป็นเช่นไร มีหลายฉากทีส่ ะท้อนให้เห็น ถึงหัวใจส�ำคัญของหนังเรือ่ งนี้ไม่วา่ จะเป็นฉากที่ แฮลลีย์ พา มูนี่ และ แจนซีย์ ไปฉลองวันเกิดนัง่ ดูพลุทจี่ ดุ ขึน้ อย่างสวยงามในบริเวณชายขอบ ของ ดิสนีย์ แลนด์ หรือว่าจะเป็นฉาก ที่ แฮลลีย์ พา มูนี่ ไปทานอาหาร บุฟเฟต์มอื้ เช้าภายในโรงแรมของนัก ท่องเทีย่ วใน ดิสนีย์ แลนด์ ทัง้ หมดนี้ เป็นเพียงความสุขแบบอเมริกนั ดรีม เพียงชัว่ ครัง้ ชัว่ คราวทีช่ าวอเมริกนั ชายขอบอย่าง แฮลลีย์ และกลุม่ คน ที่ใช้ชวี ติ อยู่ในโรงแรม Magic Castle พอทีจ่ ะหาและตักตวงความสุขมาได้ แต่ประเด็นอันหนักหน่วงเหล่านีถ้ กู ลด ทอนความหม่นมืดลงไปได้ดว้ ยการ มองโลกอันแสนใสซือ่ บริสทุ ธิข์ องเด็ก ๆ ทุกคนในหนังเรือ่ งนี้ ไม่วา่ จะเป็น สกูตตี (คริสโตเฟอร์ ริเวอรา) เพือ่ น สนิทของ มูนี่ และ แจนซีย์ (วาเลอ เรีย ค็อตโต) เพือ่ นใหม่ของ มูนี่ ซึง่ การเล่นสนุกไปวัน ๆ นึงของเด็กกลุม่ นีถ้ อื เป็นแสงสว่างเพียงประการเดียว ทีส่ าดส่องให้ชวี ติ ชายขอบใกล้ ๆ กับ Magic Kingdom แห่งนี้ไม่ดไู ร้ความ หวังมากจนเกินไปนัก The Florida Project เป็นหนัง เล็ก ๆ ทีพ่ ดู ถึงสิง่ ทีน่ า่ คิดเป็นอย่าง ยิง่ ในสังคมปัจจุบนั ทีท่ กุ ๆ อย่างดู เหมือนจะรุดหน้าไปเร็วมากเสียจนเรา ตามไม่ทนั และอาจจะลืมกันไปแล้วว่า ความสุขทีแ่ ท้จริงในชีวติ นัน้ คืออะไร
บ็อบบี (สวมบทได้อย่างยอดเยีย่ มโดย วิลเลม เดโฟ) ผูจ้ ดั การโรงแรมทีท่ ำ� ทุกอย่างให้เข้าทีเ่ ข้าทางเป็นตัวละคร ส�ำคัญอีกตัวหนึง่ ทีม่ องเห็นถึงปัญหา ทุกอย่างทีเ่ กิดขึน้ ภายในโรงแรม ซึง่ เป็นการ shape หรือการจัดระเบียบ สังคมคนชายขอบให้เข้าทีเ่ ข้าทาง มากและมีปญ ั หาให้นอ้ ยทีส่ ดุ เพือ่ ให้ คนหาเช้ากินค�ำ่ เหล่านีม้ คี ณ ุ ภาพชีวติ ทีโ่ อเคทีส่ ดุ ตามอัตภาพ ซึง่ จะว่าไป แล้วสังคมอเมริกนั น่าจะต้องการ “ผู้ จัดการ” ทีเ่ ข้าใจปัญหาความยากจน และความเหลือ่ มล�ำ้ ทางสังคมที่ เกิดจากปณิธานค�ำขวัญ “Make America Great Again” อย่าง บ็อบ บี มากกว่าคนอย่าง โดนัลด์ ทรัมป์ เสียด้วยซ�ำ้ ไป ในฉากหนึง่ บ็อบบี ถามค�ำถาม ทีเ่ รียบง่ายกับ มูนี่ ว่า “หนูกำ� ลังเล่น อะไรกันอยูเ่ หรอ?” ค�ำตอบที่ได้รบั กลับมานัน้ เรียบง่ายทีเดียว “พวกหนูก็ แค่เล่นกัน” ในโลกของผูใ้ หญ่ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในสังคมทุนนิยมที่ใช้เงินและ ความมัง่ คัง่ วิง่ ตามความสุขในปัจจุบนั ความสุขทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละวันดูเหมือน ว่าจะยิง่ จอมปลอมและห่างไกลไปจาก ความสุขทีแ่ ท้จริงมากเข้าไปทุกที ซึง่ บางทีเราอาจจะต้องเรียนรูก้ ารตาม หาความสุขที่ไม่ได้ขนึ้ อยูก่ บั ความ ร�ำ่ รวยหรือว่าความยากจนหรือสถานะ ทางสังคมใด ๆ จากเด็ก ๆ ในหนัง เรือ่ งนี้ ความสุขที่ได้รบั จากการเล่น
สนุกกับเพือ่ น ๆ โดยที่ไม่จำ� เป็นต้องรู้ หรอกว่าก�ำลังเล่นอะไรกันอยู่ (ทีบ่ าง ครัง้ อาจจะเลยเถิดไปบ้างอย่างการ จุดไฟเผาบ้านร้าง) ในโลกแห่งการวิง่ หาความสุขและต้องเสียเงินราคาแพง ระยับในการซือ้ ตัว๋ เข้าไปหาความสุข เหล่านัน้ ใน ดิสนีย์ แลนด์ มูนี่ และ ผองเพือ่ นของเธอได้สร้างโลกใบใหม่ ขึน้ มาใกล้ ๆ กับอาณาจักรทีข่ นึ้ ชือ่ ได้ ว่าเป็นทีส่ ดุ แห่งโลกของสวนสนุก แต่ เด็กหญิงตัวน้อย ๆ อย่าง มูนี่ ได้สอน เราว่าความสุขทีแ่ ท้จริงเกิดขึน้ ได้จาก ความสุขทีห่ วั ใจเราสร้างมันขึน้ มาเอง และมันสามารถเกิดขึน้ ได้ตลอดเวลา โดยที่ไม่จำ� เป็นต้องใช้เงินซือ้ ตัว๋ เช่น เดียวกับความทุกข์ยากทีบ่ างครัง้ ก็ หนักหนาสาหัสเกินกว่าทีเ่ ราจะรับไหว แต่เด็กหญิงตัวน้อยคนนีก้ บ็ อกกับเรา เช่นกันด้วยการมองไปยังต้นไม้ลม้ ต้น หนึง่ ทีย่ งั คงแตกกิง่ ก้านสาขาพร้อมทัง้ บอกว่า “หนูชอบต้นไม้ตน้ นี้ เพราะถึง แม้วา่ มันจะล้ม แต่มนั ก็ยงั สามารถลุก ขึน้ มาใหม่ได้” บางทีเราอาจจะเหนือ่ ยเปล่าไป กับการตามหาความสุขทีค่ ดิ เอาเองว่า มันน่าจะอยูไ่ ม่ไกลจากสายรุง้ ทีพ่ าด ยาวอยูท่ ี่ไหนสักแห่งบนโลกใบนี้ แต่ เราอาจจะลืมไปก็ได้วา่ ความสุขทีแ่ ท้ จริงมันอยู่ใกล้ตวั เรากว่าทีค่ ดิ และ สายรุง้ ทีเ่ ราก�ำลังตามหามาทัง้ ชีวติ ก็ อาจจะก�ำลังพาดผ่านหลังคาบ้านเรา อยู่ในตอนนีก้ ไ็ ด้ - BLAST
magazine - 033
BLAH BLAH BLAST
BLAST &FEST NONG
ผ่านพ้นไปด้วยดีแบบแฮปปี้เอนด์ดิ้งกันถ้วนหน้ากับงานมินิมิวสิค เฟสติวัลครั้งแรกของ BLAST Magazine ที่ได้ร่วมจัดกับร้านน้อง ท่าพระจันทร์ ร้านจ�ำหน่ายเทป ซีดี ไวนิลระดับต�ำนาน รวมถึงได้รับ ความช่วยเหลือเรื่องสถานที่จาก “ช่างชุ่ย” ที่ให้มินิเฟสฯ ครั้งแรกของ เรานี้ ใช้พื้นที่ “ช่างเชื่อม Live House” และ ห้องฉายภาพยนตร์ “ดู จิต” พร้อมอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ มากมายครับ ขอเล่าจุดเริ่มต้นคร่าว ๆ ของงานนี้ เมื่อปลายปี 60 ผมได้ รับอีเมล์จากเพื่อนชาวฟิลิปินส์ จริง ๆ เคยเจออยู่ครั้งเดียวตอนมา เล่นงานที่กรุงเทพฯสองปีก่อนหน้า หย่อนข้อความว่าอยากพาวง Typecast กับ Valley Of Chrome มาเล่นซะหน่อย ตอนแรกก็ลังเล ว่าจะจัดดีไหม เพราะช่วงนี้การจัดงานเล็ก ๆ วงไม่ เป็นที่รู้จักก็เตรียมเสียเงินฟรี ๆ ได้เลย ยังไม่ได้ ตอบปากรับค�ำไปในตอนแรก ครั้นนิตยสารเล่มใหม่ ออกมาก็ตระเวนแจกตามเดิมหลายที่และร้านน้อง ท่าพระจันทร์ ก็เลยได้คุยถึงเรื่องวงฟิลิปปินส์อยาก มาโชว์ให้กับพี่นกฟัง เป็นเรื่องเลยครับ เพราะทาง
034
- BLAST
magazine -
ISSUE 21 - MARCH 2018
LEESIC
ร้านน้องฯ ก็ก�ำลังวางแผนจัดงาน เฟสติวัลหลายวงมาร่วมเล่นการกุศล พอดี ประจวบเหมาะวันที่เล่นก็ตรง กัน พี่นกเลยชวนให้มาร่วมกันท�ำ ซึ่ง ทาง BLAST ก็เป็นแม่งานในการจัด งาน หาวงมาร่วมสนุกพร้อมได้บุญ งานเริ่มเป็นรูปเป็นร่างขึ้น หลังจากประกาศหาวงที่ต้องการมา ส�ำแดงอิทธิฤทธิ์ จนได้วง Typecast / Valley Of Chrome / Berri Txarrak / Brandnew Sunset / Break The Kids / Ugoslabier / The Rocket Whale / Stray Wolves / Bra Branner / The Worst in Me
/ The Darkest Romance / Nerve / Wednesday / Hope The Flowers / Sinners Turned Saints / Cold Black Vines / Bleed / Phongfod ส�ำหรับวง Berri Txarrak มา ไกลถึงประเทศสเปนครับ เป็นวง ที่มาเข้าชื่อวงสุดท้าย ตอนแรกก็ไม่รู้ จัก เลยค้นดูคลิปวิดีโอ ไม่ธรรมดา แหะ วงดังจากสเปนซะด้วย แถม รู้มาว่าจบจากเล่นที่กรุงเทพฯ ก็ บินไปออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ และเล่นเป็นวงเปิดให้กับวง Rise Against ไม่ธรรมดาจริง ๆ เสาร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2561 จึงเป็นงานที่ทรง
คุณค่าอีกงานส�ำหรับใครหลาย ๆ คน ได้ดู วงเด็ดดวงแถมด้วยวงนอกระดับโปรฯ มี สักขีพยานมาร่วม 200 คน ไม่มากไม่น้อย ครับ บัตรราคา 200 บาทนี่โคตรคุ้มค่า แต่ละวงจัดเต็มกันจริง ๆ ยิ่งได้พี่อัต จาก ห้องซ้อมดนตรี August มาช่วยลงแสง และแท็ป จาก BF Sound System จัดเต็ม ระบบเสียงและทีมงานคุณภาพ ราบรื่น ไม่มีสะดุด ต้องขอขอบพระคุณทุกท่านจาก ใจครับ วงดนตรีทั้ง 18 วง ที่มาร่วมงาน เล่นจัดเต็มทุกวง, พี่นก พี่ก้อย ร้านน้อง ท่าพระจันทร์ ที่ ให้ความช่วยเหลือ , คุณ เก่งและทีมงาน “ช่างชุ่ย” อ�ำนวยความ สะดวกสถานที่จัด , แท็ป ดรีม และทีม งาน BF Sound System พี่อัต August Studio , พลอยเล็ก ส�ำหรับช่วยรันคิวเวที ดูจิต , นิพน และทีมงาน , Dreamcatcher Bangkok ส�ำหรับที่พักเฟี้ยว ๆ , ต้น กฤษณะ กราฟฟิกคนเก่งของเรา , แก็ป และ บี ลลนี ที่มาช่วยงาน และ เกรซ คน ใกล้ตัวกระผมเองครับ พบกันกับงานใน ครั้งต่อ ๆ ไป ถ้ามีโอกาสจะจัดงานดี ๆ แบบนี้ ให้สนุกกันอีกครับ
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine - 035
Blastography
ด้วยเพื่อน, รัฐบาลสวีเดนและคนจัดงานผู้ขี้โกง ‘ก่อนทีจ่ ะได้เริม่ ลงมือท�าอัลบัม้ ผูจ้ ดั คอนเสิรต์ เจ้าหนึง่ หลอกให้พวก เราไปทัวร์โดยทีเ่ ขาไม่มที นุ ในการจัด งานสักเหรียญ พวกเราติดอยูท่ จี่ อด รถสาธารณะใน Norwich ประเทศ อังกฤษ โดยไม่มเี งินติดตัวแม้แต่คา่ อาหาร ตอนนัน้ สัญญาในการท�าอัลบัม้ ของพวกเราหมดลงแล้วกับ Peaceville Records ทางค่ายจึงไม่ได้ให้การช่วย เหลืออะไรเพราะมันชัดเจนว่าเราไม่มี อะไรติดค้างกัน ตอนนัน้ Black Mark Production เป็นค่ายที่ให้การช่วยเหลือ เข้ามาผ่านทาง Patrick Jensen (มือ กีตาร์ของวง Séance และเป็นเพือ่ น สนิทกับวง และเป็นวงร่วมออกทัวร์ ในครัง้ นัน้ บางช่วง) ในวันทีส่ ขี่ องการ ติดอยูท่ นี่ นั่ พวกเขาชืน่ ชม Terminal 036
- BLAST
magazine -
Spirit Disease (อัลบัม้ ล�าดับทีส่ ามของ วง) โดยพวกเราต้องเซ็นสัญญาว่าจะ ท�าอัลบัม้ ต่อไปให้กบั ค่ายเพือ่ แลกกับ เงินทุนล่วงหน้าในการท�าอัลบัม้ สัญญา และเอกสารทุกอย่างถูกแฟกซ์สง่ ไป ทีส่ า� นักงานทีจ่ อดรถบรรทุก พวกเรา จัดการมันทันทีดว้ ยการเซ็นสัญญาแล้ว แฟกซ์กลับไปก่อนรอเงินโอนเพือ่ เดิน ทางกลับสวีเดน มันเป็นประสบการณ์ ทีห่ ว่ ยแตกทีส่ ดุ โดยเรามีเวลาสีส่ บิ ห้า วันในการคืนเงินหรือแลกกับอัลบัม้ ใหม่’ Adrian Erlandsson สมาชิกใน ต�าแหน่งมือกลองเล่าถึงความซวยที่ เกือบท�าให้วงแตก แต่นนั่ คือจุดเริม่ ต้นทัง้ หมดที่ ท�าให้โลกได้รจู้ กั เมโลดิก เดธเมทัล ทีม่ ซี าวด์เฉพาะตัวทีส่ ดุ วงหนึง่ ใน
ประวัตศิ าสตร์ดนตรีเมทัล โดยพวกเขา เริม่ เป็นทีร่ จู้ กั ในวงกว้างด้วยเวลาอีก เพียงครึง่ ปีหลังจากความซวยครัง้ นัน้ ใน เมษายนปี 1994 Daniel Ekeroth ผูแ้ ต่งหนังสือ Swedish Death Metal (พิมพ์ครัง้ แรก ในปี 2006 ปัจจุบนั พิมพ์มาแล้วสาม ครัง้ ) สรุปความถึงซีนดนตรีเดธ เมทัล จากประเทศแม่ของตน ทีส่ ยายปีกไป ทัว่ ในแวดวงดนตรีทางเลือกสายหนัก ช่วงปลายแปดศูนย์และต้นเก้าศูนย์วา่ ด้วยการแต่งกายแบบกลุม่ คนทีค่ ลัง่ ไคล้ สปีดเมทัลและนิวเวฟเฮฟวี ่ เมทัลจาก สหราขอาณาจักร (NWOBHM) ทีม่ าก ไปจากนัน้ ในสวีเดนคืออัตลักษณ์ใน รายละเอียดของภาคดนตรีที่ไม่มจี าก ซีนดนตรีทอี่ นื่ ในโลก เขาก็มนั่ ใจจน
สรุปในหนังสือทีแ่ ต่งว่าช่วงเวลาทีส่ ดุ ตีนเหล่านัน้ จะไม่หวนกลับมาอีกแล้ว เพราะในข้อจ�ากัดและลักษณะของคน ฟังในยุคนัน้ เอือ้ ให้เกิดแรงสนับสนุน ทีส่ ง่ ให้สวีดชิ เมทัลพัฒนาแบบก้าว กระโดด แต่นนั่ ไม่ได้แปลว่าทุกอย่าง จะสิน้ สุด ตรงกันข้าม Ekeroth เชือ่ ว่า นัน่ คือแรงบันดาลใจมหาศาลทีท่ า� ให้ อุตสาหกรรมดนตรีเมทัลเคลือ่ นไปข้าง หน้าตลอดสามสิบปีทผี่ า่ นมา โดยมี หนึง่ ชือ่ ของวงที ่ Ekeroth ยกย่องว่าเป็น วงเมทัลจากสวีเดนทีด่ ที สี่ ดุ ตลอดกาล ในความเห็นของเขาทีน่ า� เสนอความสด ใหม่ของการเขียนเพลงเมทัลและการ ช่วยจ�ากัดความ ‘โกเตนเบอร์กซาวด์/ Gothenburg Sound’ ให้ได้เป็นทีร่ จู้ กั กันในวงกว้างก็คอื ‘At The Gates’ ISSUE 21 - MARCH 2018
BLAST TEAM
เพราะในการเกิดขึน้ ของซีนสวีดชิ เดธ เมทัลในเมืองใหญ่อนั ดับสองของ ประเทศอย่าง Gothenburg ไม่ใช่แค่ การตัง้ วงเดธเมทัลขึน้ มาเล่นเดธเมทัล ส�าเนียงที่ได้รบั ความนิยมอย่างวง อเมริกนั ทีต่ ดิ ลมไปแล้วเช่น Morbid Angel หรือ Obituary หรือวงรุน่ พี่ใน ประเทศอย่าง Carnage, Unleashed และ Dismember แต่มนั คือการพัฒนา รูปแบบเฉพาะด้วยความหนัก แน่น เร็ว ลงไปในริฟฟ์กตี าร์และความระห�า่ ของ กระบวนลูกกลอง แต่สงิ่ ทีแ่ ตกต่าง ออกไปคือการวางให้มเี มโลดีบ้ าง ๆ ที่ เหมือนว่าจะท�าให้ดนตรีเบาลงกว่า แต่ มันคือการเพิม่ ความหลากหลายใน การเล่าเรือ่ งภาคดนตรี เป็นการวาง อยูร่ ะหว่างความหนักและความติดหู ในดีกรีทเ่ี ข้มกว่าวงเมทัลเมนสตรีมใน ยุคนัน้ Tomas Lindberg ชายวัยสีส่ บิ ห้าในปีนผี้ ทู้ นี่ ยิ ามตัวเองว่า การท�างาน ดนตรีของเขาคือส่วนผสมครึง่ ต่อครึง่ ระหว่างฮาร์ดคอร์และเมทัล เขาคือนัก ร้องน�าของวงและหนึง่ ในผูบ้ กุ เบิกโก เตนเบอร์ก ซาวด์ ตัง้ แต่วนั แรกทีร่ ว่ ม ซีนโกเตนเบิรก์ เขายึดถือความเชือ่ ที่ ว่าการมีทมี เวิรค์ ทีด่ แี ละการเขียนเพลง ร่วมกันเป็นวิธีการท�างานเพลงเดธ เมทัลที่ให้ผลดีกว่าการเริม่ ต้นเพลง จากความคิดของใครคนใดคนหนึง่ ใน วง นัน่ เป็นสาเหตุให้หลังจากผ่านงาน เพลงร่วมกันมาสีอ่ ลั บัม้ At The Gates ก็เลิกวงหลังจากที ่ Jonas Bjorler เบส และ Anders Bjorler ลีดกีตาร์ ฝาแฝด และสมาชิกยุคก่อตัง้ ลาออกในปี 1996 หลังจากสร้างมาสเตอร์พชี ให้กบั เมทัล ในชองร์นดี้ ว้ ยสตูดโิ ออัลบัม้ ล�าดับทีส่ ี่ ทีช่ อื่ ‘Slaughter Of The Soul’ โดยมี Martin Larsson มือกีตาร์และ Adrian Erlandsson มือกลอง เป็นอีกสอง สมาชิก จุดเริม่ ต้นของ At The Gates เกิดขึน้ จากการรวมกันของเด็ก หนุม่ จากสองวงดนตรี วงแรกคือ Infestation ทีม่ ฝี าแฝด Bjorler เป็น สมาชิก และอีกวงคือ Grotesque ที่ ยุบวงไปเมือ่ เดือนมกราคมปี 1991 วงแบล็คผสมเดธ เมทัลวงนีม้ ี Alf Svensson มือกีตาร์และ Lindberg นัก ร้องน�า (ใช้นามแฝงว่า Goatspell) เป็น สมาชิก ในเวลานัน้ Groteqsue เป็นวง ท้องถิน่ ทีม่ ชี อื่ พอสมควร โดยผลงาน ISSUE 21 - MARCH 2018
มินอิ ลั บัม้ ทีช่ อื่ Incantation ของวงซึง่ ได้รา้ นขายซีดปี ระจ�าเมืองชือ่ Dolores เป็นตัวแทนจัดจ�าหน่ายผลงานภายใต้ ชือ่ ค่าย Dolores Recordings สามารถ ขายได้ยอดเป็นทีน่ า่ พอใจ การยุบวง ของ Grotesque นี ้ ทางร้านเห็นว่าฝีมอื และชือ่ ของ Grotesque ยังขายได้จงึ แสดงตัวว่าอยากท�าการค้าร่วมกับวงที่ ตัง้ ขึน้ ใหม่ของสมาชิก Grotesque ใน การซ้อมครัง้ แรก ๆ ของวงใหม่น ี้ พวก เขายังไม่มชี อื่ วง สมาชิกในครัง้ นัน้ มี Lindberg ร้องน�า Bjorler ผูพ้ เี่ ล่นเบส Hans Nilsson เล่นกลองและ Kristian Wahlin มือกีตาร์จาก Grotesque ก็มา ร่วมวงด้วย หลังจากซ้อมร่วมไปสักพัก วาระการตัง้ ชือ่ วงก็เหลือตัวเลือกคือ At The Gates กับ Liers In Wait แต่ยงั ไม่ทนั ได้ขอ้ สรุปเรือ่ งชือ่ วง Wahlin ก็ ขอแยกออกไปพร้อมกับ Nilsson และ น�าชือ่ Liers In Wait ไปใช้ At The Gates จึงเป็นชือ่ ทีเ่ หลือให้ Bjorler และ Lindberg น�ามาตัง้ ชือ่ วงพร้อม กับการย้ายไปเล่นกีตาร์ของ Bjorler พร้อมบรรจุ Jonas Bjorler ผูน้ อ้ งเป็น มือกลองก่อนจะเปลีย่ นให้ไปเล่นเบส เมือ่ ได้ Adrian Erlandsson มาเล่น กลองให้ และนัน่ เป็นสมาชิกชุดแรก ของวง (อันทีจ่ ริงชือ่ วงว่า At The Gates นี้ไม่ได้ถกู ใจ Lindberg นักด้วย เขาชอบอีกชือ่ ทีเ่ พือ่ นน�าไปใช้มากกว่า) ‘พวกเรารับเอาอิทธิพลจาก Atheist (ฟลอริดา เทคนิคลั เดธเมทัล) มามากในช่วงแรกของวง ดนตรีใน ช่วงแรกของวง Alf Svenson เป็นคน เขียน เขาเป็นคนน�าทางให้วง และเขา เป็นคนทีส่ นใจดนตรีอย่างจริงจังมาก’ Anders Bjorler กล่าวชืน่ ชมมือกีตาร์ คนแรกของวงและเขาก็ยอมรับว่าการ ต่องานของ Svenson เป็นหนึง่ ในแรง ขับชิน้ ใหญ่ทที่ า� ให้เขาและเพือ่ นร่วมวง ทีเ่ หลือได้พฒ ั นาต่อ ความแน่นอนใน ฝีมอื ของ Svenson นีช้ ว่ ยให้ตน้ สังกัด Dolores Recordings มัน่ ใจขนาดว่า พร้อมผลักดัน At The Gates อัลบัม้ เต็มทันทีไม่ตอ้ งท�าเดโม แต่ดว้ ยความ พร้อมของวงในขณะนัน้ ทางวงเลือก จะเปิดตัวด้วย ‘Gardens Of Grief’ มินอิ ลั บัม้ ขนาดสีเ่ พลงทีส่ ร้างสรรค์ โดยด้วยสมาชิกยุคก่อตัง้ ในอัลบัม้ นี้ Svenson เป็นคนจัดการเกือบทัง้ หมด รวมไปถึงปกอัลบัม้ ด้วย และเพลงที่ ใช้ชอื่ เดียวกับชือ่ วงเป็นหนึง่ ในการ
ไว้อาลัยให้กบั Per Ohlin หรือ Dead นักร้องน�าทีฆ่ า่ ตัวตาย(โดยคาดว่าน่าจะ ป่วยจากอาการจิตเภท)ของ Mayhem ครึง่ ปีผา่ นไปยอดขายของมินอิ ลั บัม้ นีด้ ี ขึน้ เป็นล�าดับจนปูไปสูก่ ารบันทึกเสียง ‘The Red In The Sky Is Ours’ สตูดิ โออัลบัม้ แรกของวง ด้วยการท�างาน ทีท่ างวงเลือกจะโปรดิวเซอร์กนั เอง แม้
ตอนทีพ่ วกเราท�าในยุค 90’s’ Anders Bjorler เล่า กับการอยู่ใต้ชายคาของ Peaceville Records (ก่อตัง้ โดย Paul Halmshaw มือกลองวง Doom จากสหราขอาณา จักร) ในสองอัลบัม้ แรกของวง เป็นการร่วมสัญญากับ Deaf Records สังกัดย่อยของ Peaceville Records
จะบันทึกเสียงเสร็จตัง้ แต่กอ่ นหมดปี 1991 แต่พวกเขาก็ใช้เวลาการท�างาน โพสต์-โปรดักชัน่ นานหลายเดือน โดย ระหว่างนัน้ Anders Bjorler ก็ยนื่ ขอรับ ทุนสนับสนุนจากรัฐบาลสวีเดน ผ่าน ทางสภาเมืองและการศึกษาทางเลือก เพือ่ เรียนดนตรีดว้ ยตัวเองอย่างจริงจัง ในปีสดุ ท้ายของวัยทีน ‘ผมมีกตี าร์บโุ รทัง่ ถูก ๆ ตัวหนึง่ มันราคาสักสองร้อยเหรียญได้มงั้ ตอนนัน้ พวกเราได้ทนุ การศึกษาทาง เลือกตามโครงการของรัฐบาลด้วย การแจ้งความต้องการไปว่าพวกเรา ผมและน้องชาย ต้องการเงินมาเรียน ดนตรีดว้ ยตัวเอง พวกเราแบ่งส่วนหนึง่ ซือ้ อุปกรณ์ดนตรีทพี่ อหาซือ้ ได้ ด้วยว่า พวกเราไม่มรี ายได้อะไรเลยและยังอยู่ บ้านเดียวกับพ่อและแม่ ในทุกเดือนเรา ต้องไปน�าเสนอผลการเรียนรูก้ บั คณะ กรรมการตรวจสอบการใช้ทนุ ต้อง เขียนรายงานและบอกว่าเราเอาเงิน สนับสนุนนัน้ ไปท�าอะไรบ้าง แต่สว่ น มากก็กเุ รือ่ งขึน้ มาว่านัน่ นีร่ าคาเท่านัน้ เท่านี ้ พวกเราใช้เงินกว่าครึง่ ไปเพือ่ ให้ ได้ซอ้ มดนตรีและเขียนเพลงอย่างเดียว ในยุคเก้าศูนย์รฐั บาลให้การสนับสนุน เพียงต้องการเห็นเด็กวัยรุน่ ลงมือท�า อะไรจริงจังสักอย่าง แต่พอเกิดสหภาพ ยุโรปขึน้ เศรษฐกิจของประเทศเรา แย่ลง การให้ทนุ ศึกษาทางเลือกหรือ อะไรคล้ายกันนีจ้ งึ ยากขึน้ ไม่เหมือน
ซึง่ เหมือนการต่อขัน้ บันไดให้กบั กันและ กัน สาเหตุท ี่ Deaf Records ได้เป็นต้น สังกัดพวกเขาส่วนหนึง่ ก็มาจากความ แตกต่างจากวงส่วนใหญ่ใน Peaceville Records ประมาณว่าน่าสนใจแต่ไม่ใช่ แบบเดียวกับแนวทางของค่ายหลัก ซึง่ มันก็ให้วงมีอสิ ระมากกว่า พวกเขา เลือกจะท�างานกันที ่ ART Studio แทน Studio Sunlight ผลลัพธ์คอื โดยรวม แล้ว ทีฟ่ งั ชัดและไม่ดบิ สาก แตกต่าง ไปจากเดธ เมทัลวงอืน่ ในซีน ผลคือคน ฟังส่วนหนึง่ มองว่ามันอ่อนด๋อยและไม่ เข้มขลังเท่ากับสิง่ ทีเ่ รียกว่าเดธเมทัล ควรเป็น ทัง้ ยังถูกเอาไปล้อกันด้วยว่านี่ คืออัลบัม้ ทีจ่ า่ ยค่าโปรดักชัน่ ไปแพงกว่า ผลงานของวงอืน่ ในยุคนัน้ เป็นเท่าตัวแต่ ปวกเปียกเป็นแตงกวาต้ม Hans Hall คือวิศวกรเสียงทีท่ า� หน้าทีค่ วบคุมการ ท�างานของวง Hall ตีความว่าจุดเด่น ของพวกเขาในเวลานัน้ คือไลน์กตี าร์ เขาจึงเน้นเป็นพิเศษกับการท�างานร่วม กับ Svensson และ Anders Bjorler ซึง่ จากการท�างานครัง้ นีม้ นั ท�าให้ Anders Bjorler ทราบว่านัน่ คือแนวทางในการ ท�างานเพลงทีอ่ อ่ นข้อเกินไปส�าหรับสิง่ ที ่ At The Gates ควรจะเป็น ในผลงานชุดทีส่ อง, ‘With Fear I Kiss The Burning Darkness’ และชุดทีส่ าม Terminal Spirit Disease การออกจาก วงไปของ Svensson และการเข้ามา ของมือกีตาร์คนใหม่ Martin Larsson - BLAST
magazine - 037
(ทีร่ จู้ กั กันผ่านการแลกผลงานเพลง กันกับ Lindberg ฟังผ่านทางจดหมาย เป็นกิจกรรมอีกอย่างทีค่ นฟังเพลงทาง เลือกในยุคที่ไร้อนิ เตอร์เน็ตท�ำกันเป็น วัตร ซือ้ ซองกับแสตมป์เก็บ ก๊อปปี้ เทป คัดลอกชือ่ เพลง ซีรอ็ กซ์ปก บ้าง ก็วาดนัน่ นีพ่ ร้อมเขียนรีววิ แนะน�ำกัน แบบมิตรทางจดหมาย) นีเ่ ป็นอีกจุด ทีท่ ำ� ให้ Anders Bjorler ได้พฒ ั นาผล งานตัวเองและปรับการท�ำงานของ At The Gates เป็นวงทีแ่ ต่งเพลงร่วมกัน อันเป็นทีม่ าทีท่ ำ� ให้ทกุ คนในวงรูไ้ ด้วา่ พวกเขาพลวัตใหม่ในการขับเคลือ่ นวง สิง่ ที่ At The Gates เลือกท�ำในภาค กีตาร์ตามการคุมบังเหียนของ Ander Bjorler คือการน�ำริฟต์ทคี่ ดิ ได้มาเคาะ ทีละช่วงเพลง ริฟฟ์มาเพือ่ นในวงช่วย คนด้วยไลน์ดนตรีทตี่ นรับผิดชอบ แล้ว ก็เรียบเรียงซ�ำ้ ไปซ�ำ้ มาด้วยการซ้อม และแต่งแต่ละส่วนจนเห็นโครงสร้าง ทัง้ หมด ซึง่ มันแตกต่างจากช่วงแรก ของวง ที่ Wahlin เคยอยูร่ ว่ มงาน ซึง่ ได้ยนิ ถนัดว่ามันลดความคลัง่ และหยาบ ลงด้วยเมโลดีท้ ฟี่ งั ได้ชดั ขึน้ จากกีตาร์ ว่าพวกเขาใช้การขัดเกลาดนตรีรว่ มกัน มากกว่าจะแต่งเพลงแบบแบ่งส่วนกัน ชัดเจนว่าใครน่าจะเป็นคนออกไอเดีย นัน้ เช่นในยุคแรกในปี 1993-1994 กระแสของความนิยมในเดธ เมทัลช่วง นัน้ บอกได้ไม่ชดั เจนนักว่าเมือ่ เทียบกับ เพือ่ นรุน่ ใกล้กนั อย่าง Entombed แล้ว Tomas Lindberg และเพือ่ นประสบ ความส�ำเร็จหรือไม่ เพราะพวกเขาเป็น วงที่ไม่ได้มรี ายได้หลักจากการท�ำงาน สองพีน่ อ้ งฝาแฝดยังคงอยูก่ บั พ่อแม่ Larsson อยูไ่ กลออกไปอีกเมือง และ Erlandsson คือคนเดียวในวงทีเ่ รียน มหาวิทยาลัย (เขาคือพีช่ ายของ Daneil Erlandsson มือกลองและสมาชิกยุค ก่อตัง้ Arch Enemy) เมือ่ มองถึงสภาพ 038
- BLAST
magazine -
ชีวติ จริงแล้ว แม้จะออกอัลบัม้ มาด้วย กันสามชุดแต่ At The Gates คือกลุม่ คนอายุยสี่ บิ ที่ไม่มรี ายได้และงานประจ�ำ แต่จากยอดขายของสองชุด แรก Deaf Records ท�ำให้ Peaceville Records ย้าย At The Gates ไปอยู่ กับค่ายหลักเพือ่ บริหารจัดการให้กบั อัลบัม้ ทีส่ ามของวง ซึง่ มันชีเ้ ฉพาะไป ได้แล้วว่าพวกเขาเป็นเดธ เมทัลวงจาก สวีเดนที่ไม่เหมือนคนอืน่ กระทัง่ หมด สัญญากับ Peaceville Records และ At The Gates ไปเจอทัวร์แหกตาของ ผูจ้ ดั ในช่วงสีว่ นั ทีโ่ ดนทิง้ ไว้ในทีจ่ อด รถ การแยกวงถูกพูดขึน้ มาบ่อยครัง้ ตามความเครียดและสถานการณ์ที่ไม่รู้ ว่าจะจบแบบไหนของเด็กหนุม่ ทัง้ ห้า คน แต่จากสัญญาที่ได้มาจาก Black Mark Production และส่งพวกเขากลับ Gothenberg ได้ในตอนนัน้ พวกเขา เปลีย่ นความคิดใหม่เป็นว่าท�ำงานเพลง ชุดทีส่ ี่ให้เสร็จแล้วว่ากันอีกทีวา่ จะเอา ยังไง ‘มันเป็นช่วงเวลาทีห่ วั แล่นทีส่ ดุ ตัง้ แต่ผมเคยเขียนเพลงมา ทุกเพลง ในอัลบัม้ นัน้ มันเหมือนกับตะกอนของ สิง่ ทีเ่ รามีชวี ติ อยูแ่ ละหายใจเข้าออก เราทุม่ สุดตัวเพือ่ การท�ำงานในครัง้ นัน้ Adrian เป็นคนทีแ่ สดงออกถึงความ จริงจังทีส่ ดุ กับการท�ำงานในตอนนัน้ เพราะมันคือช่วงเวลาทีย่ งั ไม่มเี ครือ่ ง มือในการบันทึกเสียงแบบดิจติ อลที่ สามารถตัดต่อช่วงทีเ่ อาและไม่เอา ออกจากทัง้ หมดทีค่ ณ ุ ตีลงไป ทุกเพลง ใน Slaughter Of The Soul เป็นการ เล่นจริงจนได้สว่ นทีด่ ที สี่ ดุ พอจะใช้ได้ สองพีน่ อ้ งฝาแฝดก็เช่นกัน พวกเขาทัง้ สองคนช่วยกันท�ำงานอย่างหนัก สูเ้ คียง บ่าเคียงไหล่แต่ในระดับทีเ่ ข้มข้นจนคุณ คาดไม่ถงึ ทุกคนไม่มีใครยอมใคร เมือ่ มีขอ้ กังขาว่านัน่ คือใช่รยึ งั อีกคนก็จะ
โปรดิวเซอร์ทขี่ ยับมาควบคุมงานคน เดียวหลังจากทีช่ ดุ ทีส่ ามเริม่ รูแ้ กน ความคิดของวงแล้ว ‘เราท�ำเดโมด้วย กันตอนทีเ่ ตรียมจะบันทึกเสียงชุดที่ เล่นมันใหม่ เริม่ ใหม่ พวกเราสนใจแค่ สอง นัน่ คือครัง้ แรกทีพ่ วกเรารูจ้ กั กับ สิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ในตอนสุดท้าย มันมากกว่า Fredrik เขาเป็นโปรดิวเซอร์ที่ให้ความ การทะเลาะกันเพือ่ งานทีด่ ี แต่มนั คือ เห็นว่าในจ�ำนวนวงเอ็กซ์ตรีมมิวสิคที่ การต่อรองทางดนตรีเพือ่ พัฒนาสิง่ ทีจ่ ะ พวกเรารูจ้ กั ทุกคนต่างแข่งกันท�ำเพลง เอาชนะอีกคนได้ คนวัยยีส่ บิ กว่าอย่าง ให้หนักและอือ้ อึงจนหลายครัง้ ขาด พวกเราตอนนัน้ สามารถท�ำมันออกมา ความชัดและความติดหู ซึง่ มันสามารถ ได้ดเุ ดือดมาก ส่วนทีแ่ ย่ทสี่ ดุ ในอัลบัม้ ท�ำได้ถา้ หาจุดพอดีของเสียงกีตาร์และ ส�ำหรับผมคือส่วนทีผ่ มท�ำ ผมเห็น กลองลงตัว ก่อนจะเริม่ บันทึกเสียงไม่ เพือ่ นทุกคนทุม่ สุดตัวและไม่ยอมแพ้ นานเขาเพิง่ สร้างห้องท�ำงานใหม่และ มันกดดันผมทีละนิดจนกระทัง่ ถึงคิวอัด ต้องการโจทย์ทที่ า้ ทายส�ำหรับทดลอง เสียงร้อง จนผมต้องบอกตัวเองว่า ถึง การท�ำงานครัง้ นี้ จากผลงานเก่าของ เวลาแล้วทีข่ า้ จะขยีแ้ ม่งให้ราบคาบ ผม พวกเรา เขาให้ความเห็นจ�ำนวนมาก เกลียดความรูส้ กึ ต้องเอาชนะความ และบอกเราว่าส�ำหรับเขาแล้วเขาคิด คิดของเพือ่ นแต่มนั เลีย่ งไม่ได้เพราะ ว่าจุดไหนทีพ่ อดีกบั ความสามารถทาง ทุกคนคาดหวังกับหน้าทีท่ ผี่ มต้องท�ำ’ ดนตรีของพวกเราและยังไม่มวี งอืน่ ใน Lindberg เล่า ส่วน Erlandsson มือ สวีเดนเคยท�ำมาก่อน กลองที่ใช้บนั ทึก กลองของวงทีอ่ ยูร่ ะหว่างการรองาน เสียงมันธรรมดาจนเรียกว่าโหลโท่ยก็ได้ ใหม่เรียกตัวและต้องจบทุกงานในหนึง่ แต่ดว้ ยการปรับจูนของเขา เราได้เสียง สัปดาห์เล่าเสริมว่า ‘ผมมีเวลาแค่จาก ทีเ่ ป็นทีน่ า่ พอใจจากกลองชุดทีโ่ หลย วันจันทร์ไปชนกับอีกวันจันทร์ เพราะ โท่ยตัวเดียวกันนี้ เขาใช้ Far Beyond ผมต้องไปท�ำงานวันแรก ในสัปดาห์นนั้ Driven ของ Pantera เป็นตัวตัง้ เสียง ผมตอบตัวเองว่าต้องเต็มทีแ่ ละเอาให้ ก่อนปรับแต่งเครือ่ งมือนิดหน่อย มัน จบ จากวันแรกจนวันสุดท้าย ทันทีที่ เล็กน้อยมากจนบอกไม่ได้วา่ แค่ไหนแต่ บันทึกเสียงจบผมรูส้ กึ ว่างานเสร็จแล้ว ผลลัพธ์ทอี่ อกมาถือว่ามหัศจรรย์มาก เพียงแว้บเดียวแล้วก็กงั วลต่อว่าจะต้อง ในอีกไม่กปี่ ตี อ่ มาลูกเล่นในการปรับ จัดการกับงานอัดเสียงอะไรอีกมัย้ เมือ่ ชุดกลองนีก้ ลายเป็นเรือ่ งสามัญ แต่ ต้องมารวมกับส่วนอืน่ ของเพือ่ นร่วมวง ผมเชือ่ ว่า Slaughter Of The Soul คือ ผมไปท�ำงานต่อในทันทีทอี่ อกจากห้อง อัลบัม้ แรกทีท่ ำ� แบบนัน้ และบันทึกเสียง อัด และมันก็ได้ผลลัพธ์ทดี่ มี ากเมือ่ ออกมาเป็นอัลบัม้ ’ Erlandsson อธิบาย กลับมาได้ยนิ แต่ละส่วนของแต่ละเพลง และ Lindberg เสริมว่า อ้างอิงไลน์ ประกอบเข้ากันได้คอ่ นข้างลงตัวในอีก กลองทีพ่ วกเขาใช้สำ� หรับการท�ำงาน วันทีก่ ลับไปสตูดโิ อ’ นีแ้ ปดสิบเปอร์เซ็นต์มาจากไอเดียของ หนึง่ ในคียแ์ มนคนส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ Erlandsson และ Nordstorm ส่วนที่ Slaughter Of The Soul กลายเป็น เหลือเขาเลือกความแน่นตามแบบ Far มาสเตอร์พชี ชิน้ หนึง่ ของสายเมโลดิ Beyond Driven และใช้ความเฉีย่ วไหว ก เดธ เมทัลก็คอื Fredrik Nordstorm ของสแนร์ตามทีอ่ ยู่ใน Reign In Blood ISSUE 21 - MARCH 2018
ของ Slayer (ขอบคุณส�ำหรับสามสิบ เจ็ดปีทสี่ อนเมทัลให้กบั พวกเรา) Blinded By Fear กลายเป็น เพลงที่ Tomas Lindberg แทบไม่ตอ้ ง ร้องในการออกทัวร์สหรัฐอเมริกาเพือ่ สนับสนุนอัลบัม้ ทีส่ ขี่ องวง Earache Records คือหนึง่ ในต้นทุนทีท่ ำ� ให้ At The Gates ข้ามไปดังเป็นพลุแตก สาเหตุทพี่ วกเขาเลือกจะหาเงินไปโปะ ให้กบั Black Mark Production แทนที่ จะส่งผลงานส�ำเร็จทีท่ ำ� ไปให้กเ็ พราะ ชือ่ เสียงของ Earache Records ทีม่ ี วงในค่ายเป็นวงทีพ่ วกเขาชืน่ ชอบหลาย วง แม้วา่ นอกจากเงินก้อนที่ได้มาครัง้ นัน้ ในแบบการขายอัลบัม้ ให้กบั ค่าย สิทธิข์ าดในการผลิตซ�ำ้ และขายต่อ Slaughter Of The Soul เปลีย่ นมือจาก ทัง้ ห้าคนไปสู่ Digby Pearson เจ้าของ ค่ายหูปวด (ซึง่ มีกรณีให้ถกเถียงกัน หลายกรณีในเรือ่ งสัญญาของอัลบัม้ ระดับต�ำนานหลายชุดทีเ่ ขาจัดจ�ำหน่าย ในช่วงยุคเก้าศูนย์วา่ เป็นสัญญาทาสที่ ไม่คอ่ ยให้ความเป็นธรรมกับวงดนตรี นัก) แต่พวกเขาก็พบว่ามันคุม้ ค่ามาก ทีเ่ ลือกตัดสินใจครัง้ นัน้ ด้วยชือ่ ของ ISSUE 21 - MARCH 2018
At The Gates ได้รบั ความนิยมอย่าง ทีส่ ดุ ในอีกสามปีตอ่ มาหลังจากทีพ่ วก เขาวางแผง Slaughter Of The Soul หรือสองปีหลังจากทีค่ ยุ กันในวงว่าการ เลือกจะลาออกไปท�ำวงใหม่ของพีน่ อ้ ง ฝาแฝดตระกูล Bjorler คือเหตุผลทีด่ ที ี่ ท�ำให้พวกเขามองเห็นค�ำว่าทีมเวิรค์ ต่าง หากทีส่ ร้างมาสเตอร์พชี ชิน้ นีข้ นึ้ มาและ การแยกวงคือค�ำตอบทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ Slaughter Of The Soul ถูกตัง้ เป็น ชือ่ อัลบัม้ ขึน้ มาจากคลังค�ำในหัวของ Lindberg ทีเ่ ก็บไว้จากความยาก ล�ำบากในชีวติ วัยรุน่ ทีเ่ ขาเลือกจะท�ำ ดนตรี ซึง่ ก็รวมไปถึงการโดนลอยแพ ทัวร์ดว้ ย นัยยะทีเ่ ขาต้องการพูดคือ ความยากของการเติบโตเป็นผูใ้ หญ่ และความฝันทีม่ ี แต่ดว้ ยเนือ้ หาของเดธ เมทัลไม่ใช่ฮาร์ดคอร์ เขาจึงเลือกใช้คำ� ที่ให้นยั ยะไปถึงเรือ่ งของจิตวิญญาณ และศาสนา ซึง่ เมือ่ รวมมาเล่ากันกับปก อัลบัม้ ด้วยแล้ว นัยยะจริงทีเ่ ขาเขียน เนือ้ เพลงต่าง ๆ ขึน้ มาจึงถูกตบแต่ง ใหม่ให้เข้ากับความเป็นเดธเมทัล มากขึน้ Kristian Wahlin เพือ่ นเก่า ของพวกเขาคือคนออกแบบปกชุดนี้
Lindberg ท�ำเทปอัดขึน้ มาหนึง่ ชุดโดย เลือกเพลงทีเ่ ขาคิดว่าจะบอกเล่าสาร ทีเ่ ขาอยากให้อยู่ในอัลบัม้ ให้ Wahlin ทราบได้ ในเทปอัดชุดนัน้ มีทงั้ ฮาร์ด คอร์ เดธเมทัล เมทัลสายสังเคราะห์ และพัง้ ก์รวมด้วยกัน หลังจากนัน้ ทัง้ สองก็ถกกันว่าพวกเขาอยากให้มรี ปู ปืนพกในปกอัลบัม้ เลยพากันไปร้าน ขายหนังสือแล้วมองหานิตยสาร Guns & Ammo แล้วก็เลือกรูปปืนทีค่ ดิ ว่า สือ่ สารได้กลับมาใช้ นัน่ เป็นเพียงทัศน สารชุดเดียวทีท่ างวงให้กบั Wahlin เพือ่ ท�ำปกอัลบัม้ ส่วนประกอบทีเ่ หลือ เป็นความคิดของ Wahlin ซึง่ คนอืน่ ใน วงก็ไม่ขดั ข้อง เรือ่ งสนุกจากรูปปืนพกหน้าปกนีท้ ำ� ให้ พวกเขาต่อยอดไอเดียเป็นเสือ้ วงดนตรี ส�ำหรับออกขายในทัวร์อเมริกาครัง้ นัน้ เขาเลือกจะแทนปืนพกทีห่ มุนและจัด วางร่วมกับตัวอักษรเป็นค�ำว่า At The Gates แบบเดียวกับ Nike : Just Do It ซึง่ ไอเดียนีม้ าจาก Anders Bjorler และ ทัง้ สองคนน�ำไปใช้อกี ครัง้ ตอนทีท่ ำ� เสือ้ ขายให้กบั The Haunted วงใหม่ของ คูแ่ ฝดร่วมกันก่อตัง้ หลังจากที่ At The Gates ยุบวง สิบกว่าปีให้หลังจาก Slaughter Of The Soul สมญาว่าเมโลดิก เดธ เมทัลทีท่ ำ� ให้เกิดโกเตนเบิรก์ ซาวด์ (ซึง่ คนที่ได้เครดิตทีส่ ดุ ในมุมมองของแฟน เพลงคือ Anders Bjorler และ Adrian Erlandsson) แต่พวกเขาไม่เคยรับอ้าง ว่าตัวเองคือต้นทางของซาวด์ดนตรี แบบนี้ แต่ยกย่องการท�ำงานของ
Fredrik Nordstorm เสียมากกว่า รวม ไปถึงการทีว่ งโพสต์-ฮาร์ดคอร์และสครี โมหลายวงทีอ่ อกผลงานกันในช่วงต้นปี สองพันถึงปลายทศวรรษแรกยกย่องว่า Slaughter Of The Soul และ At The Gates คือวงที่ให้แรงบันดาลใจอย่าง มากว่า จุดร่วมของเดธ เมทัลและฮาร์ด คอร์สามารถมาเจอกันได้ทตี่ รงไหน ไม่ ว่าจะเป็นการเขียนเพลง การร้อง การ ท�ำงานในส่วนโพสต์-โปรดักชัน่ หรือ การสร้างริฟต์กตี าร์ขนึ้ มา ซึง่ คารวะ มากมายจากวงรุน่ หลังทีพ่ ดู ถึง At The Gates ไม่ได้ทำ� ให้พวกเขาลอยจนคิดว่า ตัวเองคือต�ำนาน ดังทีเ่ ห็นได้จากการ ให้สมั ภาษณ์ในทุกครัง้ หลังจากทีท่ างวง ประกาศกลับมารวมตัวกันแสดงดนตรี ร่วมกันอีกครัง้ ในปี 2007 และบ่อยขึน้ จนในปี 2014 กลับมาเขียน At War With Reality สตูดโิ ออัลบัม้ ล�ำดับทีห่ า้ ด้วยโดยยังตาม Fredrik Nordstorm มาร่วมงานกันอีกครัง้ จากงานชุดนีก้ าร ตอบรับจากแฟนเพลงมีสว่ นให้พวกเขา เลือกกลับมาท�ำดนตรีกนั อีกครัง้ ทีแ่ ม้วา่ Anders Bjorler มือ กีตาร์ผสู้ ร้างและพัฒนาวงมาตลอดจะ ขอแยกตัวออกไปเมือ่ หนึง่ ปีทแี่ ล้วและ รับมือกีตาร์คนใหม่เข้ามาเพือ่ อัลบัม้ ที่ หกของวง To Drink From The Night Itself ทีจ่ ดั จ�ำหน่ายโดย Century Media Records และมีกำ� หนดการ ออกขายในเดือนพฤษภาคม หรือ 23 ปีหลังจากทีพ่ วกเขากลับถึงบ้านจาก การถูกโกงค่าตัวในการออกทัวร์ - BLAST
magazine - 039
Album Review
CONVERGE
BRAND NEW
Album : The Dusk In Us Label : Epitaph RIYL : The Dillinger Escape Plan, All Pigs Must Die, Cult Leader ตอบสนองย่านความเสียว : 9.5
040
- BLAST
magazine -
*RIYL = Recommend If You Like
Converge คือวงโปรดของใครหลาย ๆ คน รวมไปถึงตัวผม ด้วยฝีมือ ของสมาชิกทุกคนในวงทีเ่ ข้าขัน้ ระดับเซียน รวมไปถึงโปรเจคเจ๋ง ๆ มากมาย Converge เป็นวงดนตรีจากซาเล็ม แมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ก่อตัง้ เมือ่ ปี 1990 สมาชิกประกอบไปด้วย Jacob Bannon ร้องน�ำ Kurt Ballou กีตาร์, ร้อง ประสาน Nate Newton เบส, ร้องประสาน และ Ben Koller กลอง โดยทีอ่ ลั บัม้ The Dusk In Us เป็นอัลบัม้ เต็มที่ 9 ของวง ออกห่างจากอัลบัม้ ทีแ่ ล้ว All We Love We Leave Behind 5 ปี อัลบัม้ ล่าสุดนีโ้ ปรดิวซ์โดยวงเอง และมิกซ์โดย Kurt Ballou มือกีตาร์ ซึง่ ใครทีต่ ดิ ตามคอลัมน์ของผมเป็นประจ�ำคงจะคุน้ เคยกับ เค้าดี เพราะ Kurt Ballou คือหนึง่ ในโปรดิวเซอร์ทมี่ งี านชุกและมีสำ� เนียงชัดเจน ทีส่ ดุ ในวงการเมทัลสายทางเลือก ส่วนปกอัลบัม้ รับหน้าทีอ่ อกแบบโดย Jacob Bannon นักร้องน�ำ เราจะเรียกดนตรีของ Converge ว่าเมทัลคอร์ โพสท์ ฮาร์ด คอร์ ฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์ แทธ เมทัล หรืออะไรก็แล้วแต่ Converge ก็คอื หนึง่ ในวง ดนตรีทมี่ แี นวทางชัดเจน และมีอทิ ธิพลต่อวงการดนตรีในรุน่ หลังมากทีส่ ดุ โดยที่ อัลบัม้ Jane Doe อัลบัม้ ที่ 4 ของวงทีอ่ อกในปี 2001 เป็นหนึง่ ในอัลบัม้ คลาสสิก ทีส่ ดุ ของวงการดนตรี มีโอกาสจะเขียนให้อา่ นในคลาสสิกอัลบัม้ แต่ตอนนี้ไปร่วม ฟัง The Dusk In Us กันเลยดีกว่า เปิดอัลบัม้ มากับ A Single Tear แค่อนิ โทรขึน้ มาก็เป็นซาวด์แบบ Converge ทีช่ ดั เจนแล้ว กีตาร์ฉวัดเฉวียนแบบพุง่ ไปข้างหน้า ท่อนลดจังหวะลงมานีโ่ คตรเจ๋ง เทียบกับเพลงเปิดอัลบัม้ จากอัลบัม้ อืน่ ๆ เพลง นีค้ อ่ นข้างจะมีอารมณ์ทแี่ ตกต่าง ไม่ได้เป็นเพลงทีห่ นักมากแต่วา่ เหนือชัน้ โคตร รุน่ ใหญ่ ทัง้ ดนตรีกบั เสียงร้องนีส่ ดุ ๆ ไปเลย Eye Of The Quarrel เพลงนีเ้ ป็น Converge แบบทีท่ กุ คนชอบและคุน้ เคย ดนตรีใส่ไม่ยง้ั และเดินหน้าสุด ๆ Under Duress จังหวะย�ำ ่ ๆ มีทอ่ นฮุคให้ตะโกนตาม เสียงร้องของ Jacob ในเพลงนีด้ ี มาก จังหวะกลองก็ประสาท Arkhipov Calm อินโทรโคตรระห�ำ ่ เพลงนีแ้ ม่งโคตร พุง่ กีตาร์สดุ ๆไปเลย จังหวะบ้าบอมาก I Can Tell You About Pain ซิงเกิล้ แรกของอัลบัม้ เพลงนีเ้ ล่นสดคลัง่ แน่นอน The Dusk In Us อินโทรมาแบบหม่น ๆ ร้องเพราะเลย อารมณ์เพลงคล้าย Wear Your Wounds โปรเจกต์เดีย่ วของ Jacob เล่นกับอารมณ์ เป็นเพลงยาวทีส่ ดุ ในอัลบัม้ Wildlife กลับมาพุง่ กันอีก ติดส�ำเนียงแบบครัสท์ พัง้ ก์ดว้ ยเพลงนี้ Murk & Marrow โคตรเจ๋ง ลูกล่อลูกชน ดีมาก ๆ จังหวะกระตุกชวนอ้วก ไม่เชือ่ ลองไปเปิดให้คนฟังเพลงธรรมดาฟัง Trigger เบสเด่นเลย กีตาร์หวือหวา อารมณ์เพลงแบบนอยซ์ ร็อก Broken By Light ฟังเป็น Converge สุด ๆ ชัดเจนมาก ริฟฟ์กตี าร์โคตรระห�ำ ่ Cannibals เดินหน้า ใส่กนั ยับไม่มยี งั้ สองเพลงต่อกันนีเ้ มทัลมาก Thousands Of Miles Between Us ขึน้ มาแบบเหงา ๆ ร้องเพราะอีกเพลง มีอารมณ์เพลงแบบเดธ ร็อก หม่นมาก ๆ Reptilian เพลงปิดอัลบัม้ อินโทรลึกลับ จังหวะเดินหน้า ริฟฟ์ กีตาร์มหากาฬ ชวนโยกหัวสุด ๆ ท้ายเพลงแม่งระห�ำ ่ สมเป็นเพลงปิดอัลบัม้ Converge เป็นวงดนตรีประเภทที่ไม่เคยท�ำอัลบัม้ แย่ ๆ ออกมาเลย ทุก อัลบัม้ อยู่ในมาตรฐานทีส่ งู ลิบลิว่ ของวง อาจจะมีบางอัลบัม้ ทีช่ อบมากบ้างน้อย บ้าง แต่ทกุ ครัง้ ทีอ่ อกอัลบัม้ ใหม่กม็ อี ะไรใหม่ ๆ สร้างสรรค์ ให้พดู ถึงอยูเ่ สมอ The Dusk In Us มีทงั้ เพลงทีห่ นักมาก ไปจนถึงเบามาก เรียกว่าเป็นอัลบัม้ ทีห่ ลาก หลายเลยทีเดียว อีกหนึง่ อย่างทีร่ สู้ กึ ได้จากอัลบัม้ นี้ คือรูส้ กึ ว่าเพลงมันสดมาก ๆ สดกว่าหลายอัลบัม้ ทีผ่ า่ นมา เหมือน Converge จะสนุกกับการแต่งเพลงในอัลบัม้ นี้ เลยใส่มาให้แบบไม่มยี งั้ คิดว่าแฟนเพลงของ Converge ในบ้านเรามีมากพอสมควร บางคนอาจจะเลิกตามไปแล้วบ้าง แต่สำ� หรับแฟนเดนตายคงถูกใจกับ The Dusk In Us นีแ้ น่นอน เป็นอัลบัม้ ของ Converge ทีช่ อบมากทีส่ ดุ ในหลายอัลบัม้ หลัง ๆ และเป็นหนึง่ ในวงทีอ่ ยากดูแสดงสดมากทีส่ ดุ ถ้าวงผ่านมาแถวนี้ ใครก็ได้ชว่ ย สงเคราะห์หน่อย
Album : Science Fiction Label : Procrastinate! Music Traitors RIYL : Manchester Orchestra, Taking Back Sunday, Thrice ตอบสนองย่านความเสียว : 9
Brand New เป็นวงดนตรีอีโม,โพสท์ฮาร์ดคอร์ จากลองไอส์แลนด์ นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งวงเมื่อปี 2000 สมาชิกทั้งหมด 4 คน ประกอบ ไปด้วย Jesse Lacey ร้องน�ำ, กีตาร์ Vincent Accardi กีตาร์ Garrett Tierney เบส และ Brian Lane อัลบั้มล่าสุด Science Fiction เป็นอัลบั้มเต็มชุดที่ 5 ของวง ออกห่างจากอัลบั้มที่แล้ว Daisy ถึง 8 ปี Science Fiction โปรดิวซ์โดย Mike Sapone โปรดิวเซอร์ขาประจ�ำของวง และมิกซ์โดย Vince Ratti ที่เคย ร่วมงานกับ Mewithoutyou, Circa Survive, Title Fight ดนตรีของ Brand New จัดเป็นอีโมที่อยู่ในยุคที่สาม เป็นขวัญใจนักวิจารณ์แทบจะมากที่สุด ทุก อัลบั้มที่ออกมามีพัฒนาการทางดนตรี เห็นได้ชัดเจนจากอัลบั้มแรก Your Favorite Weapon ที่ออกมาในปี 2001 ซาวด์ดนตรีค่อนข้างจะใกล้เคียงกับ Taking Back Sunday เป็นอย่างมาก เรียกได้ว่าทั้งสองวงแทบจะตีคู่กันมาเลย จนมาถึงอัลบั้มที่ 4 Daisy ที่กลับไปฟังเทียบกับอัลบั้มแรกแตกต่างจนแทบจะ เป็นคนละวงกันเลย อัลบั้มล่าสุด Science Fiction จึงน่าสนใจอย่างมากว่าจะมา ในทิศทางใด เพราะห่างจากอัลบั้มก่อนหน้าไปถึง 9 ปี เปิดอัลบั้มมากับ Lit Me Up เปิดมาด้วยเสียงบันทึกเทปหลอน ๆ ตัดเข้าเพลงเป็นแอมเบียนท์ลอย ๆ กับ เสียงร้องค่อนข้างจะหม่น แต่เสียงกีตาร์เป็นส�ำเนียงแบบ Brand New ที่คุ้นเคย Can’t Get It Out อินโทรมาเป็นกีตาร์โปร่ง เพลงนี้แฟนเก่า ๆ ยิ้มเลย เป็น ซาวด์แบบที่ท�ำให้ Brand New เป็นที่นิยม ฟังง่าย Waste หม่นหมองในแบบ Brand New ท่อนฮุคติดหูแบบเอาตาย Could Never Be Heaven เพลงชวน เหงา มีแค่เสียงร้องบรรเลงไปกับกีตาร์ Same Logic/Teeth ค่อนข้างจะคล้าย Modest Mouse ด้วยส�ำเนียงกีตาร์ยังหม่นเหมือนเดิมแต่มีอารมณ์ดุดัน 137 ลด จังหวะลงมาจากเพลงก่อนหน้า กีตาร์กับเสียงร้องเป็นตัวด�ำเนินเรื่อง ดนตรีน้อย ท้ายเพลงเร่งจังหวะพอให้ได้มันขึ้นมาหน่อย Out Of Mana ตั้งแต่เปิดอัลบั้มมา เพลงนี้มีจังหวะมากที่สุด ซาวด์กีตาร์บาด ๆ In The Water ชอบเพลงนี้ มีเนื้อ หนังจับต้องได้ที่สุดในอัลบั้ม แต่โทนเพลงก็ยังคงหม่น ๆ เหงา ๆ Desert มีแค่ เสียงร้องกับกีตาร์บวกกับเครื่องเคาะอีกนิดหน่อย No Control มีจังหวะขึ้นมา หน่อย ฟังง่าย ๆ ร้องตามได้ 451 กีตาร์โคตรจะโจ๊ะ เพลงนี้หนักที่สุดในอัลบั้ม Batter Up เพลงปิดอัลบั้ม แค่อินโทรก็บาดลึกแล้ว เพราะมาก ๆ เป็น Brand New ในแบบที่ชอบมากที่สุด คิดว่าแฟนทุกคนก็คงรู้สึกแบบนี้ การกลับมาของ Brand New ครั้งนี้ค่อนข้างจะเหนือความคาดหมาย เนื่องจากโทนเพลงแตกต่างกับอัลบั้มก่อนหน้าพอสมควร เพราะ Daisy มีทั้ง ความเกรี้ยวกราดและมีหลายเพลงที่ฟังยาก แต่ Science Fiction เต็มไปด้วย ความหม่นหมองและเต็มไปด้วยเพลงช้า ต่อยอดไปจาก Daisy อาจจะด้วย วัยที่มากขึ้น จึงท�ำให้ทุกอย่างคลี่คลาย แต่ถึงจะเต็มไปด้วยเพลงช้าก็ไม่ได้ หมายความว่าเพลงในอัลบั้มนี้จะฟังง่าย ระดับ Brand New แล้ว ไม่ท�ำอะไร สั่ว ๆ ออกมาแน่ หลังจาก Science Fiction ออกมาได้ไม่นาน Jesse Lacey นักร้องน�ำของวง ก็โดนกระแสเรื่องการกระท�ำอนาจารแฟนเพลงในช่วงต้นยุค 2000 ซึ่งตัวเขาเองก็ได้ออกแถลงการณ์ออกมาขอโทษต่อสาธารณะแล้ว แต่ เนื่องจากเหตุการณ์นี้ท�ำให้ข่าวคราวของวงเงียบหายไปเลย ทั้ง ๆ ที่ควรจะได้รับ การโปรโมตอัลบั้ม ยังไงก็ขอเป็นก�ำลังใจให้กับทางวงด้วย อุตส่าห์ออกอัลบั้มดี ๆ แบบนี้ออกมา แล้วอีกอย่างหนึ่งก่อนที่อัลบั้มนี้จะออก วงได้ท�ำเสื้อออกมาขาย แล้วมีลายเขียนว่า Brand New 2000-2018 ซึ่งแฟน ๆ ก็คงเดาได้ว่า หลังจาก Science Fiction ออกมา ทางวงคงจะยุบวงอย่างเป็นทางการ หลังจากเสร็จ สิ้นการทัวร์สนับสนุนอัลบั้มนี้ในปี 2018 แน่ ๆ ส่วนใครที่สนใจดนตรีอีโมของ แนะน�ำเพจใน FB ที่ชื่อ Emolism ที่จะมีข้อมูลและอัพเดทข่าวสารเกี่ยวกับวงการ ดนตรีอีโมให้ได้คอยติดตามกัน ISSUE 21 - MARCH 2018
CLASSIC ALBUM
CHELSEA WOLFE
Album : Hiss Spun Label : Sargent House RIYL : Emma Ruth Rundle, Esben And The Witch, PJ Harvey ตอบสนองย่านความเสียว : 8.5 Chelsea Wolfe เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงสาวจากซาคราเมนโต แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เธอเริม่ เข้า วงการตัง้ แต่ป ี 2009 และเป็นทีจ่ บั ตา มองจากอัลบัม้ ที ่ 2 Apokalypsis ทีอ่ อก มาในปี 2011 โดยในช่วงแรก ๆ ดนตรี ของเธอ จะเป็นโกธิค ร็อกทีม่ สี ว่ นผสมของดนตรีโฟล์คซะส่วนมาก ซึง่ เธอได้มพี ฒ ั นาการในซาวด์ดนตรีของเธอมาเรือ่ ย ๆ จนถึงอัลบัม้ ล่าสุด Hiss Spun อัลบัม้ ที ่ 5 ซึง่ เธอโปรดิวซ์รว่ มกับ Ben Chisholm คูห่ ทู รี่ ว่ มท�างานกับเธอมาหลายอัลบัม้ ซึง่ อัลบัม้ Hiss Spun นีย้ งั ได้ Troy Van Leeuwen แห่ง Queens Of The Stone Age และอดีต A Perfect Circle มาร่วมเล่นกีตาร์ให้หลายเพลง ส่วนหน้าทีก่ ารมิกซ์ เป็นของ Kurt Ballou แห่ง Converge นัน่ เอง คิดว่าหลาย ๆ คนอาจ จะยังไม่เคยฟังเพลงของเธอ ยังไงก็ไปร่วมฟังพร้อมกันเลยดีกว่า เพลง แรก Spun อินโทรขึน้ มาซาวด์หนักมาก ๆ แทบจะเป็นดูม เมทัลเลย เสียงร้องหลอน ๆ เพลงนี้ได้ Troy Van Leeuwen มาร่วมเล่นกีตาร์ ซึง่ เราจะได้ยนิ ส�าเนียงกีตาร์ของเขาอย่างชัดเจนมาก ๆ ดนตรีคอ่ นข้าง จะหน่วง และมีซาวด์หลอน 16 Psyche เพลงนี้ได้ Troy มาเล่นกีตาร์ อีก ลดความหนักจากเพลงแรกลงมาหน่อย เป็นเพลงทีด่ มี าก ๆ ครบเครือ่ ง ดนตรีชดั เจน กีตาร์หลอกหลอน เข้ากับเสียงร้องสูง ๆ Vex ได้ Troy มาเล่นอีกเพลง แถมยังได้ Aaron Turner อดีตนักร้อง น�า Isis ปัจจุบนั อยูก่ บั Sumac มาร่วมฝากเสียงไว้ในเพลงนีด้ ว้ ย เสียง ค�ารามของ Aaron สร้างความโดดเด่นให้กบั เพลงมาก ดนตรีคอ่ น ข้างจะล่องลอย แต่เพลงสัน้ ไปนิด Strain เสียงบรรเลงอิเล็กทรอนิกส์ สัน้ ๆ The Culling ลดความหนักลงมาซักหน่อย ค่อนข้างโชว์เสียงร้อง ดนตรีเกือบจะเป็นอิเล็กทรอนิกส์ ร็อก Particle Flux ซาวด์ดนตรีแบ บนอยซ์เป็นตัวเดิน บวกกับเสียงกลองและเสียงร้อง เพลงนีม้ ี เอกลักษณ์ด ี Twin Fawn เพลงนี้ได้ Kurt Ballou มาร่วมเล่นแอมเบียนท์ กีตาร์ เพลงช้าเนิบ ๆ ช่วงแรกเสียงดนตรีคอ่ นข้างจะน้อย ตัดท่อนเข้า มาดนตรีทงั้ หนักและหน่วง เล่นกับอารมณ์ Offering ได้ Troy กับมา เล่นกีตาร์อกี เพลง แต่ไม่คอ่ ยเด่นเท่าไหร่ ซาวด์อเิ ล็กทรอนิกส์โดด เด่นกว่า เพลงนี ้ Chelsea ร้องดีมาก เสียงสูงเลย Static Hum ดนตรี ลึกลับ ได้อารมณ์กอธิคชัดเจน ฟังไม่ยาก ชอบเพลงนีม้ าก Welt เพลง สัน้ ๆ เสียงร้องไม่เป็นค�าคลอไปกับเปียโน Two Spirit ได้ Troy กับ มาเล่นอีกเพลง กลับมาเป็นซาวด์แบบ Chelsea Wolfe ในยุคแรกทีม่ ี ความเป็นโฟลค์ลอ่ งลอย เสียงร้องหลอกหลอนมาก ๆ Scrape เพลง ปิดอัลบัม้ ดนตรีหลอน เสียงร้องในเพลงนีโ้ คตรสุด Hiss Spun เป็นอัลบัม้ ทีห่ นักทีส่ ดุ ของ Chelsea Wolfe หลัง จากทีเ่ ธอเริม่ หันเข้าหาดนตรีรอ็ กใน 2 อัลบัม้ ก่อนหน้า หลายเพลงใน อัลบัม้ Hiss Spun นี ้ ดนตรีเป็นเมทัลเลย แล้วเธอก็ทา� ได้ดเี สียด้วย ถ้า เธอจะมาเอาดีในทางดนตรีดา้ นนี ้ ส่วนตัวคิดว่าเธอท�าได้ดกี ว่า Myrkur เสียอีก ใครที่ไม่เคยรูจ้ กั Chelsea Wolfe มาก่อน อัลบัม้ นีอ้ าจจะ ไม่ใช่อลั บัม้ ส�าหรับทีจ่ ะเริม่ ฟังงานของเธอเท่าใดนัก คิดว่าน่าจะเริม่ ฟัง จากอัลบัม้ ที ่ 3 Pain Is Beauty มากกว่า แต่อลั บัม้ Hiss Spun ก็เป็น อัลบัม้ ทีด่ แี ละท�าให้เห็นพัฒนาการของ Chelsea Wolfe อย่างชัดเจน ยังเดาไม่ออกว่าอัลบัม้ ต่อไปของเธอจะมาในทิศทางใด แต่ยงั ไงก็ฝาก ติดตามผลงานของสาวหลอนคนนีก้ นั ต่อไปด้วย คิดว่าน่าจะถูกใจใคร หลาย ๆ คน ISSUE 21 - MARCH 2018
NOTE
AT THE GATES
Album : Slaughter Of The Soul Label : Earache RIYL : Dark Tranquillity, The Haunted, The Black Dahlia Murder Classic Album คราวนีจ้ ะเขียนถึงวงดนตรีที่ได้สร้างแนวทางดนตรีเอ็กซ์ตรีม เมทัลขึน้ มาอีก หนึง่ แขนง ทีค่ อ่ นข้างจะเข้าถึงได้ไม่ยาก และมีแฟนเพลงดนตรีแขนงนีอ้ ยูม่ ากมาย แนวดนตรีทวี่ า่ นี้ คือ เมโลดิก เดธ เมทัล การผสมผสานระหว่างดนตรีเดธ เมทัลอันหนักหน่วงบวกเข้ากับเมโลดีอ้ นั ลืน่ หู ซึง่ ในปัจจุบนั ไม่ใช่ของใหม่สา� หรับนักฟังเพลงอีกแล้ว แต่สา� หรับอัลบัม้ ทีจ่ ะเขียนถึงนี ้ ทางวง จัดเป็นหนึง่ ในจุดเริม่ ต้นของดนตรีแนวนีแ้ ละอัลบัม้ นีท้ า� ให้ดนตรีแนวนีแ้ พร่หลาย นัน่ คือ Slaughter Of The Soul อัลบัม้ เต็มที ่ 4 ของวง At The Gates วงดนตรีจากเมืองโกเตนเบิรก์ ประเทศสวีเดน ก่อตัง้ วงกันในปี 1990 และออกอัลบัม้ แรก The Red In The Sky Is Ours ในปี 1992 โดยที ่ 3 อัลบัม้ แรกดนตรีของ At The Gates เป็นสวีดชิ เดธ เมทัลทีเ่ ริม่ ส่งส�าเนียงแบบเมโลดิก เดธแต่ยงั ไม่คอ่ ยชัดเจนมากนัก แต่พอถึง Slaughter Of The Soul ทีอ่ อกในปี 1995 นัน้ ประสบความส�าเร็จ ทัง้ ด้านยอดขายและค�าวิจารณ์มากมายและน�าดนตรีนี้ไปอยู่ในจุดทีพ่ คี ทีส่ ดุ ถึงขนาดมีขนานนาม ว่า โกเตนเบิรก์ ซาวด์ สมาชิกวง ณ เวลานัน้ ประกอบไปด้วย Tomas Lindberg ร้องน�า Anders Björler กีตาร์ Martin Larsson กีตาร์ Jonas Björler เบส และ Adrian Erlandsson กลอง อัลบัม้ นีโ้ ปรดิวซ์โดย Fredrik Nordström แห่ง Studio Fredman อันลือชือ่ หนึง่ ในต้นฉบับของ โก เตนเบิรก์ ซาวด์ ส่วนปกอัลบัม้ เป็นฝีมอื ของ Kristian Wåhlin ทีเ่ คยฝากฝีมอื ไว้มากมายอาทิเช่น Dissection, Emperor, Tiamat มาร่วมกันย้อนอดีตไปฟังความยอดเยีย่ มของอัลบัม้ นี้ไปพร้อม ๆ กันเลย เปิดอัลบัม้ มากับ Blinded By Fear แค่อนิ โทรขึน้ มาก็รบั รูไ้ ด้ถงึ พลังและความสดใหม่ ริฟฟ์ กีตาร์กระตุก ๆ โคตรโยก เมโลดีโ้ คตรดี เสียงร้องชัดเจนและทรงพลังมาก เพลงนีจ้ ดั เป็นเพลง ชาติเลย Slaughter Of The Soul โคตรวิง่ จังหวะเดินหน้า ลูกล่อลูกชนกีตาร์สดุ ๆ โซโล่นอี่ ย่างเจ๋ง ครบเครือ่ ง Cold เพลงนี้ได้ Andy LaRocque มือกีตาร์แห่ง King Daimond มาร่วมโซโล่เมโลดี ้ แม่ง สุดยอดระดับเซียน ท่อนลดจังหวะก่อนท่อนโซโล่กก็ นิ ขาด ส่วนโซโล่นี่ไม่ตอ้ งพูดถึง นีโอ คลาสสิค เลย เพลงนีม้ ที อ่ นผ่อนจังหวะ ไม่ลยุ อย่างเดียว เหมือนสองเพลงก่อนหน้า Under A Serpent Sun ชวนโยกหัวสุด ๆ จังหวะซับซ้อนเล็กน้อย มีทอ่ นลดจังหวะให้พกั หายใจกันบ้าง Into The Dead Sky เพลงบรรเลงหวานปนเศร้า Suicide Nation ริฟฟ์กตี าร์โคตรมัน จังหวะทีก่ ตี าร์สอดรับประสาน กันนีโ่ คตรถึง เสียงร้องชัดเจนมาก ๆ Tomas Lindberg เป็นหนึง่ ในนักร้องในวงการเมทัลทีเ่ จ๋งสุด World Of Lies อินโทรลดจังหวะลงมาเล็กน้อย ตัวเพลงเดินหน้าแบบเดิม ริฟฟ์ทา้ ยเพลงจิก๊ โก๋มาก ชวนส่ายสุด ๆ Unto Others ส่วนตัวชอบเพลงนีม้ าก ครบเครือ่ งสุด ๆ เข้าขัน้ เพอร์เฟ็กส์ ทุกอย่าง ลงตัว อยูถ่ กู ทีถ่ กู ทาง Nausea เพลงนีด้ ุ ๆ เดินหน้าไปเลย Need ตัวแทนของค�าว่าเมโลดิก เดธ อย่างชัดเจน ทัง้ ดุดนั และมีเมโลดี้ไพเราะติดหู ชวนโยกไปพร้อม ๆ กัน The Flames Of The End เพลงปิดอัลบัม้ มีทงั้ เสียงคียบ์ อร์ดและกลองโปรแกรม แต่ยงั มีเสียงกีตาร์ เหมือนเพลงประกอบ หนังสยองขวัญทุนต�า่ Slaughter Of The Soul ถ้าน�ามาฟังในยุคสมัยนีอ้ าจรูส้ กึ ว่าไม่มอี ะไรใหม่ เพราะดนตรีเมโลดิก เดธในปัจจุบนั มีให้เลือกฟังมากมายหลายวง ยิง่ ช่วงต้นยุค 2000 ทีว่ งดนตรีเมทัล คอร์หลาย ๆ วง น�าไปปรับใช้ให้เข้ากับยุคกับสมัย แต่ถา้ คิดย้อนไปถึงช่วงกลางยุค 90’s ดนตรีแนวนีถ้ อื ว่าเป็นที่ จับตามองอย่างมาก ถึงขนาดมีชอื่ เรียกแนวทางตามบ้านเกิดของ At The Gates เลยว่าโกเตนเบิรก์ ซาวด์ ซึง่ ถ้าหากยกค�านีข้ นึ้ มา คงต้องกล่าวถึงอีกสองอัลบัม้ ของสองวง The Gallery ของ Dark Tranquillity และ The Jester Race ของ In Flames ทีม่ คี วามยอดเยีย่ มพอ ๆ กัน ซึง่ ปัจจุบนั ทัง้ สองวงยังคงออกอัลบัม้ อยู ่ Dark Tranquillity นีพ่ อไหว แต่ In Flames ออกทะเลไปไกลจนกูไ่ ม่ กลับแล้ว ทัง้ สามอัลบัม้ ทีว่ า่ มา หยิบมาฟังปัจจุบนั ยังรับได้ถงึ ความสดและความขลังอยูเ่ ลย หลัง จากออกอัลบัม้ Slaughter Of The Soul ทางวงก็ได้ยบุ ตัวไปในปี 1996 สองพีน่ อ้ ง Jonas และ Anders และ Adrian มือกลอง ก็ได้ฟอร์มวง The Haunted ขึน้ มา ส่วน Tomas นักร้องน�าก็ได้ไป ร่วมกับวงมากมาย อาทิเช่น Disfear, The Great Deceiver, Lock Up ช่วงปลายปี 2007 At The Gates ประกาศรียเู นีย่ น และเล่นตามเฟสติวลั ต่าง ๆ ในปี 2008 แล้วก็หยุดตัวเองไปอีกในปีนน้ั และกลับมาอีกครัง้ ในปี 2010 จนถึงปี 2014 ก็ได้ออกอัลบัม้ ที ่ 5 At War With Reality ซึง่ ส่วน ตัวคิดว่าเป็นอัลบัม้ ทีด่ ี ลืมบอกไปว่าการรียเู นีย่ นทุกครัง้ ได้สมาชิกจากอัลบัม้ Slaughter Of The Soul มาร่วมเล่นทัง้ วงเลย แต่เมือ่ ปีทแี่ ล้ว 2017 Anders Björler มือกีตาร์ทอี่ ยูก่ บั วงมาตัง้ แต่แรกก็ ประกาศลาออกจากวง ท�าให้ได้ Jonas Stålhammar แห่งวง Bombs Of Hades มาเล่นแทน และ จะออกอัลบัม้ ใหม่ในเดือนพฤษภาคมปีน ี้ ล่าสุด At The Gates จะมาเปิดคอนเสิรต์ ในประเทศไทย ในวันที ่ 3 พฤษภาคม อย่าลืมไปชมกันนะ วงหัวแถวระดับต�านานขนาดนี ้ ไม่ได้มมี าให้ดกู นั บ่อย ๆ ถ้าไม่ไปแล้วจะบ่นเสียใจภายหลังนะ - BLAST
magazine -
041
COVER STORY
ALL
ABOUT
BRUNO MARS
042
- BLAST
magazine -
ISSUE 21 - MARCH 2018
แอม เอสเตลลา
เป นศิลป นอีกหนึง่ รายทีเ่ ข ามาสูว งการ แล วสามารถ ผลักดันตัวเองขึน้ มาอยูแ ถวหน าได อย างรวดเร็ว ในระยะเวลา ไม ถงึ 10 ป บรูโน มาร ส นักร อง/นักแต งเพลงผิวเข มหน าคม คนนีข้ ายผลงานทัง้ ในรูปแบบซิงเกิล และอัลบัมไปแล วทัว่ โลก กว า 100 ล านก็อปป ร วมถึงสร างยอดวิวผ านอินเตอร เน็ต อีกร วมหมืน่ ล านวิว นอกจากนัน้ ยังได ผลตอบรับทีด่ เี สมอ มาในแง ของรางวัล โดยเฉพาะกับอัลบัมชุดล าสุดอย าง ‘24K Magic’ ทีก่ วาดรางวัลไปจากเวทีแกรมมีถงึ 6 รางวัล ไม นา แปลกใจเท าไหร นกั ทีต่ วั๋ คอนเสิรต ของเขาจะ Sold Out ในแทบ ทุกเมืองที่ไปเป ดการแสดง แน นอนว ารวมถึงโชว ในกรุงเทพฯ บ านเรา 30 เมษายนนีด้ ว ย ทีถ่ กู แฟน ๆ จับจองกันจนบัตร ขายหมดเกลีย้ งตัง้ แต วนั แรก อย างไรก็ดี ถึง บรูโน มาร ส จะเป นศิลป นเบอร รอ นแรง ขวัญใจแม ยกรุน เล็กรุน ใหญ ดังคับวงการเพลงกระแสหลัก เสียขนาดนี้ แต เราเชือ่ ว ายังมีอกี หลายเรือ่ ง หลายแง มมุ ที่ คุณอาจยังไม รจ ู กั มักคุน ในตัวตนของพีเ่ ขาอย างถีถ่ ว น Blast ฉบับนีเ้ ลยอาสาพาคุณไปทําความรูจ กั เพิม่ เติมให มากขึน้ อีก นิด ตามมาเลย!
สไตล์นนี้ ายได้แต่ใดมาร์ส “นอกจากศิลปินคนโปรดแล้ว รูปแบบของทุกสิง่ ทุกอย่างในชีวติ ผมล้วนได้มาจากคุณพ่อครับ ทัง้ แหวน ปิน่ แก้วเอย ผมทรงปอมปาดัวร์เอย ทุกสิง่ ทุกอย่าง มา จากการเฝ้าดูพอ่ มาตัง้ แต่สมัยผมยังเด็ก พ่อจะพาผม ไปส่งทีโ่ รงเรียนด้วยรถคาดิลแลคคันใหญ่ แล้วก็สวม แจ็คเก็ตไรน์สโตน สวมแว่นสีเจ็บ ๆ ซึง่ ตอนนัน้ ท�าให้ ผมรูส้ กึ ‘ว้าว! พ่อของฉันไม่เหมือนพ่อของคนอืน่ ’ ผม มักจะวิง่ ออกมานอกรถแล้วหันไปมองความเจ๋งของ พ่อในภาพรวม ก่อนเดินเข้าโรงเรียนทุกครัง้ มาตอนนี้ กลายเป็นตัวผมเองที่ได้ขบั รถคาดิลแล็ค สวมเสือ้ ผ้าเก๋ ๆ มันเป็นอะไรทีท่ า� ให้ผมแฮปปีม้ าก” เวิรล์ ทัวร์ ในความตัง้ ใจของมาร์ส “ผมต้องการแสดงโชว์ให้ออกมาสุดพลัง เพือ่ ให้ คุม้ ค่าเงินทุกบาททุกสตางค์ทคี่ นดูได้เสียไปกับการซือ้ ตัว๋ ผมเคยดูโชว์ของพรินซ์ และ ไมเคิล แจ็คสัน มันกลาย เป็นค�า่ คืนทีผ่ มต้องจดจ�าไปตลอดกาล ถ้าคุณมีโชว์ที่ ยอดเยีย่ ม การแสดงของคุณจะอยูก่ บั ผูช้ มตลอดไป ยิง่ กว่านัน้ บางทีพวกเขาก็ถา่ ยทอดต่อไปยังคนรุน่ ลูก ผม หวังว่าผูค้ นจะสัมผัสได้วา่ อะไรคือสิง่ ทีผ่ มรูส้ กึ นึกคิด เวลาทีผ่ มท�าเพลงออกมาแต่ละครัง้ และถ้าเป็นไปได้ก็ อยากจะโบยบินไปให้ไกลเกินกว่าทีท่ กุ คนคาดคิดไว้” ISSUE 21 - MARCH 2018
WARNER MUSIC
สายเลือดนักดนตรีในตัวมาร์ส “ถ้าคุณเอาลูกไปโรงเรียนทุกวัน และคุณ ก�าลังศึกษาเรือ่ งวิทยาศาสตร์เกีย่ วกับการสร้าง จรวด ลูกของคุณก็อาจจะโตขึน้ มาเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญ เรือ่ งจรวด ทุกอย่างมันเป็นแบบนีเ้ สมอแหละ เช่น เดียวกัน พ่อกับแม่มกั จะพาผมไปด้วยในทุก ๆ วันที่ พวกเขาออกไปเล่นดนตรี และผมก็เข้าใจมาตัง้ แต่ ตอนนัน้ ว่าอะไรคือการเป็นเอนเตอร์เทนเนอร์ชนั้ เยีย่ ม ถัดมา ผมก็มโี อกาสได้สร้างความบันเทิงให้ กับทุกคนทีเ่ ดินทางมาฮาวาย ในห้องแสดงเต็มไป ด้วยคนที่ไม่ได้พดู ภาษาอังกฤษจากทัว่ ทุกมุมโลก สิง่ ทีด่ นตรีทา� ให้เกิดขึน้ ช่างน่าทึง่ มันสามารถรวม เอาโลกทัง้ ใบเข้ามาอยูร่ วมกันได้อย่างสันติสขุ ” อัลบัม้ 24K Magic ในมุมมองของมาร์ส “ในอัลบัม้ ชุดนีผ้ มและทีมงานพยายามอย่าง มากทีจ่ ะพาคนฟังกลับไปหาดนตรีอาร์แอนด์บยี คุ 90s ในแบบทีเ่ ราเติบโตขึน้ มากับมัน ซึง่ เป็นงานที่ ค่อนข้างละเอียดอ่อน มันจะมีอารมณ์ทสี่ อื่ ถึงการ คารวะเทิดทูน ซึง่ แน่นอนว่าซาวด์บางส่วนจะถูก บังคับตายตัวไปด้วย อย่างไรก็ตาม ซาวนด์แบบนิว แจ็กสวิงเป็นอะไรทีท่ า� ให้ผมมีความสุขตอนเป็น เด็ก ดังนัน้ ผมจึงรูส้ กึ ดีเอามาก ๆ กับการพยายาม ทุกวิถที างเพือ่ ให้ได้ซาวด์และอารมณ์แบบนัน้ มาอยู่ ในอัลบัม้ ชุดนี ้ มันสนุกจริง ๆ ถ้าเปรียบซาวด์ของ อัลบัม้ ‘24K Magic’ ให้เป็นช่วงเวลาในชีวติ ของผม นีค่ อื งานเพลงทีฟ่ งั แล้วคุณจะเห็นภาพผมก�าลังยิม้ อยูเ่ สมอ” เงินไม่ใช่คา� ตอบในทุกเรือ่ งส�าหรับคนดังอย่างมาร์ส “ผมไม่ตอ้ งการหาเงินจากทุกสิง่ มันง่ายทีจ่ ะ ท�าอย่างนัน้ เช่นการไปเป็นพรีเซนเตอร์ให้กบั สินค้า ต่าง ๆ แต่ผมไม่อยากจะมานัง่ เสียใจตอนเห็นหน้า ตัวเองไปโผล่อยูบ่ นป้ายบิลบอร์ด เร่ขายของห่วย แตกอะไรสักอย่างไปทัว่ โลก ไม่มคี วามจ�าเป็นต้อง ไปท�าอะไรแบบนัน้ ผมไม่ใช่โมเดล ไม่ใช่นกั สเก็ต น�า้ แข็ง ไม่ใช่เชฟ ผมอยูต่ รงนีเ้ พือ่ เล่นดนตรี และ ยังคาดหวังว่ายามมองย้อนกลับไปตลอดชีวติ การ ท�างานทีผ่ า่ นมาแล้วสามารถพูดได้วา่ ‘มันใช่เลย! เราได้เลือกทางเดินมาอย่างทีเ่ ราต้องการ’ ไม่วา่ มัน จะหมายถึงชัยชนะ หรือความพ่ายแพ้ ผมยินดีทจี่ ะ อยูก่ บั มัน” - BLAST
magazine - 043
25 FACTS
ABOUT MARS
ชือ่ จริงของ บรูโน มาร์ส คือ ปี เตอร์ จีน บายอท เฮอแนนเดซ (Peter Gene Bayot Hernandez) เกิดเมือ่ วันที ่ 8 ตุลาคม ปี 2 1985 ในไวกิก ิ โฮโนลูล ู รัฐ ฮาวาย เขามีเชือ้ สายเปอร์โตริโกและ 3 ฟิลปิ ปินส์ เนือ่ งจากพ่อเป็นชาว ปอร์โตริโกทีอ่ าศัยอยู่ในนิวยอร์ค ขณะ ทีฝ่ ง่ั แม่เป็นชาวฟิลปิ ปินส์ ก่อนทีจ่ ะ อพยพไปอยูฮ่ าวาย เติบโตขึน้ มาในครอบครัวนัก 4 ดนตรี แม่ของเขาเป็นนักเต้น ฮูลา ส่วนพ่อเป็นมือกลอง และเพอร์ คัชชัน พ่อของ บรูโน มาร์ส ตัง้ 5 ชือ่ เล่นให้กบั เขาโดยได้แรง บันดาลใจมาจากนักมวยปล�า้ อาชีพ ชาวอเมริกนั เชือ้ สายอิตาเลียน บรูโน ซามมาร์ตโิ น (Bruno Sammartino) เพราะตอนเด็ก มาร์ส มีรปู ร่างอ้วน คล้ายนักมวยปล�า้ (ส่วนค�าว่า Mars เกิดขึน้ ในภายหลัง จากการทีผ่ หู้ ญิง 1
044
- BLAST
magazine -
จ�านวนมากชอบบอกว่าเขาเป็นพวก หลุดโลก หรืออาจจะมาจากดาวอังคาร = Mars) แต่พอ 4 ขวบเขาก็เป็นทีร่ จู้ กั 6 ในชือ่ “เอลวิสน้อย” หลังเริม่ หัดร้องคัพเวอร์เพลงของราชาร็อก แอนด์โรล เอลวิส เพรสลีย ์ แล้วออก ตระเวนแสดงไปทัว่ ทัง้ เกาะ ครอบครัวของ บรูโน มาร์ส 7 เป็นครอบครัวใหญ่ มีพนี่ อ้ ง ทัง้ หมด 6 คน ได้แก่ อีรคิ , เจมี, เพรสลี, ตาฮิต ิ และ ทีเอรา รวมถึงมี วงดนตรีประจ�าครอบครัวชือ่ ว่า “The Love Notes” ซึง่ จะออกท�าการแสดง 5 วันต่อสัปดาห์ ตอนอายุ 15 เคยท�าให้ 8 ครอบครัวต้องขายขีห้ น้า เมือ่ เขาไปตกหลุมรักครูในโรงเรียน (อายุ 30) จนถึงกับเขียนจดหมายรักส่งไปให้ ครูคนดังกล่าว พร้อมกับแหวนของแม่ ทีข่ โมยมา ซึง่ สุดท้ายโปะแตกเมือ่ ครู น�าแหวนมาคืน และบอกเรือ่ งทีเ่ กิดขึน้ ให้ทกุ คนได้รบั ทราบ
หลังจบมัธยมปลาย บรูโน มาร์ส เดินทางจากฮาวาย ไปลอส แอนเจลิส ด้วยความฝันทีจ่ ะ มีอาชีพเป็นนักแสดง อย่างไรก็ดคี วาม ฝันนีก้ ถ็ กู ละวางเอาไว้ เมือ่ ปี 2009 เขา เริม่ ฟอร์มทีม แต่งเพลง / ผลิตเพลง ขึน้ มา ร่วมกับเพือ่ นอีก 2 คน ในชือ่ The Smeezingtons ซึง่ เน้นท�างานใน แนวทางป็อปและอาร์แอนด์บ ี มีผล งานเด่น ๆ ในช่วงแรกเริม่ อาทิ เพลง “Right Round” ของ ฟลอ ริดา, “Billionaire” ของ ทราวี แม็คคอย และ “Wavin’ Flag” ของ เคนาน ที่ ถูกน�าไปใช้เป็นเพลงธีมของฟุตบอล โลก ปี 2010 นับตัง้ แต่เส้นทางสายดนตรี 10 เริม่ ขึน้ ในฐานะทีมโปรดักชัน่ บรูโน มาร์ส ได้กอ่ ตัง้ วงของตัวเองขึน้ ในชือ่ The Hooligans ซึง่ ประกอบไป ด้วย มือกีตาร์, มือเบส, มือกลอง, มือ คีบอร์ด และสมาชิกในต�าแหน่งเครือ่ ง เป่า นอกจากนัน้ ทัง้ หมดยังท�าหน้าที่ เป็นแดนเซอร์อกี ด้วยในบางครัง้ 9
ส่วนตัว บรูโน มาร์ส ไม่เพียง มีทกั ษะด้านการร้องอันยอด เยีย่ ม เขายังสามารถเล่นเครือ่ งดนตรี ได้อกี หลายประเภท ไม่วา่ จะเป็น กลอง, คียบ์ อร์ด, เบส และกีตาร์ กว่าจะได้เซ็นสัญญากับทาง 12 Atlantic Records ต้องใช้เวลา ถึง 3 ปี “The Lazy Song” ถือเป็น 13 เพลงดังทีส่ ดุ ของ มาร์ส ทีม่ ี ยอดวิวผ่านยูทบู ถึง 1.3 พันล้านวิว แต่ เขากลับบอกว่าปัจจุบนั มันกลายเป็น เพลงทีเ่ ขาค่อยไม่ชอบเอาเสียเลย ของ 2 อย่างทีผ่ จู้ ดั คอนเสิรต์ 14 ทัว่ โลกต้องเตรียมไว้ให้ตาม ค�าขอของ บรูโน มาร์ส แบบห้ามลืม เด็ดขาดคือ ผ้าเช็ดตัวแห้ง ๆ กับ ขวด ไวน์ บรูโน มาร์ส รักรอยสัก 15 ปัจจุบนั มีรอยสักส�าคัญอยู่ บนร่างกาย 4 แห่ง รอยแรกคือชือ่ แม่ ของเขาซึง่ สักไว้บนต�าแหน่งเหนือหัวใจ รอยที ่ 2 คือรูปมีดและค�าว่า “Pete’s 11
ISSUE 21 - MARCH 2018
Boy” เพือ่ แสดงความเคารพทีม่ ตี อ่ พ่อ รอยที ่ 3 คือสมอเรือบนแขนขวา ส่วน รอยที ่ 4 คือ ภาพยิปซีบนแขนซ้ายเพือ่ สือ่ ถึงความโชคดี ปี 2013 น้องสาวทัง้ 4 คนของ 16 บรูโน ก่อตัง้ วงดนตรีขนึ้ ชือ่ The Lylas และมีอลั บัม้ เปิดตัวออกมา วางจ�าหน่ายอย่างเป็นทางการ พร้อม กับเรียลลิตโี ชว์ทางทีวี แม่ของเขาเสียชีวติ ลงในปี 17 2013 จากโรคหลอดเลือด สมองโป่งพอง บรูโน มาร์ส เปิดเผยอย่างตรง 18 ไปตรงมาว่า ศิลปิน 5 คนที่ ถือเป็นอิทธิพลทางดนตรีของเขาอย่าง ใหญ่หลวง ได้แก่ ไมเคิล แจ็คสัน, เอล วิส เพรสลีย,์ อามี ไวน์เฮาส์, อาร์ เคล ลี และเจมส์ บราวน์ ส่วนสูง ณ ปี 2018 คือ 5 ฟุต 19 5 เซ็นติเมตร หลายคนอาจไม่รวู้ า่ เพลง 20 ฮิตของ ซี โล กรีน อย่าง “Forget You” นัน้ มีบรูโน มาร์ส เป็น คนแต่งร่วมด้วย และเดิมทีในตอนแรก มันใช้ชอื่ เพลงว่า “F*** You” เขาเป็นศิลปินชายเพียงคน 21 เดียวทีส่ ามารถท�าให้เพลงทีม่ ี แค่เสียงร้องกับเปียโนขึน้ ถึงอันดับ 1 บนชาร์ตบิลบอร์ดได้สา� เร็จ ส่วนศิลปิน หญิงคือ อเดล ตัง้ แต่ในอดีตถึงปัจจุบนั บรู 22 โน มาร์ส ได้รบั การเสนอชือ่ เข้าชิงรางวัลแกรมมีไม่วา่ จะในฐานะ ของศิลปิน และคนท�างานในเบือ้ งหลัง ทัง้ หมด 27 รางวัล และชนะไปทัง้ สิน้ 11 รางวัล ประกอบไปด้วย Best Male Pop Vocal Performance จาก Just The Way You Are (ปี 2010) / Best Pop Vocal Album จาก Unorthodox Jukebox (ปี 2013) / Best Pop DuoGroup Performance จาก Uptown Funk (ปี 2015) / Record of the Year จาก Uptown Funk (ปี 2015) / Album of the Year จาก 25 (ปี 2016) / Record of the Year จาก 24K Magic, Album of the Year จาก 24K Magic, Song of the Year จาก “That’s What I Like”, Best R&B Performance จาก “That’s What I Like”, Best R&B Song จาก “That’s What I Like”, Best R&B Album จาก 24K Magic (ปี 2018) ISSUE 21 - MARCH 2018
เขาเคยถูกจับกุมในข้อหาครอบ ครองโคเคน 2.6 กรัม ระหว่าง ทีอ่ ยู่ในลาส เวกัสเมือ่ เดือนกันยายน ปี 2010 แต่ขอ้ หานีถ้ กู ลบออกจากประวัติ หลังจากจ่ายค่าปรับเป็นเงิน 2,000 ดอลลาร์ ท�างานบริการชุมชน 200 ชัว่ โมง รวมถึงเข้ารับค�าปรึกษาเกีย่ ว กับยาเสพติดจนเสร็จสิน้ ตามโปรแกรม สีท ี่ บรูโน มาร์ส ชอบเป็น 24 พิเศษคือสีแดงเข้ม ส่วนอาหาร เมนูโปรด คือ ไก่อาโดโบ (สตูว์ไก่ใน แบบฉบับชาวตากาล๊อก อาหารประจ�า ชาติของประเทศฟิลปิ ปินส์) นับจนถึงเดือนมกราคม 2018 25 เวิรล์ ทัวร์สนับสนุนอัลบัม้ 24K Magic โกยเงินไปแล้วกว่า 200 ล้าน เหรียญสหรัฐ 23
10 เพลงดังทีค่ ณุ ไม รว ู า ถูกแต งโดย บรูโน มาร ส เพลง “Can We Dance” ของวง The Vamps
โดยทัว่ ไป The Vamps มักจะ เป็นเบอร์ 2 อยูเ่ สมอหากต้องเทียบกับ One Direction แต่บางครัง้ ทุกอย่างก็ ไม่ได้เป็นอย่างนัน้ เสมอไป โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในซิงเกิล้ นีข้ องวง ซึง่ มี บรู โน มาร์ส มาช่วยแต่งให้ ในขณะทีแ่ ก๊ง OD ไม่เคยได้รบั โอกาสนัน้ เลยสักครัง้ “Can We Dance” เป็นเพลงทีม่ า พร้อมกับท่อนฮุคสุดติดหูและโดดเด่น เป็นพิเศษมากกว่าเพลงอืน่ ในอัลบัม้ ซึง่ แน่นอนว่าส่วนหนึง่ มาจากต้นทุนใน ความเก่งกาจของ มาร์ส เพลง “Endlessly” ของวง The Cab
อัลบัม้ Symphony Soldier ของ The Cab ได้รบั ความช่วยเหลือจากนัก ดนตรีคนดังมากหน้าหลายตาทีม่ าช่วย กันแต่งเพลงต่าง ๆ จนออกมาเป็นผล งานทีเ่ ปีย่ มไปด้วยสีสนั ไม่วา่ จะเป็น พีท เวนท์ซ จาก Fall Out Boy, อดัม เลวีน จาก Maroon 5 และอีกมากมาย หนึง่ ในนัน้ รวมถึงเพลงป็อปบัลลาด เปีย่ มพลังอย่าง “Endlessly” จาก เครดิตการแต่งของ บรูโน มาร์ส ด้วย เพลง “Living in the Sky With Diamonds” ของวง Cobra Starship
ถ้าคุณนัง่ ไทม์แมชชีนย้อนกลับ ไปต้นยุค 2000 แล้วบอกใคร ๆ ในยุค นัน้ ว่าวันหนึง่ ป็อปพัง้ ก์ฮโี ร่อย่าง เกบ
ซาพอร์ตา จากวง Midtown จะมา เขียนเพลงร่วมกับป็อปสตาร์แบบนีค้ ง ไม่มีใครเชือ่ และก็คงไม่มีใครเชือ่ อีก เช่นกัน ถ้าบอกว่าวงของเขาในเวลา ต่อมาอย่าง Cobra Starship จะกล้า ท�าเพลงแนวป็อปแดนซ์ ซึง่ เกบ ได้ แต่งเพลงร่วมกับ บรูโน มาร์ส จ�านวน 2 เพลงในอัลบัม้ Hot Mess ปี 2009 ก่อนที ่ มาร์ส จะกลายเป็นศิลปินดังคับ ฟ้าเช่นทุกวันนี ้ และผลลัพธ์ที่ได้กค็ อื แทรคทีช่ อื่ ว่า “Hot Mess” (ถูกน�ามา ใช้เป็นชือ่ อัลบัม้ ) กับ “Living in the Sky With Diamonds” โดยเฉพาะ เพลงหลังนี ้ ถ้าตัง้ ใจฟังดี ๆ คุณจะ ได้ยนิ เสียงคอรัสของ มาร์ส แทรกอยู่ ในนัน้
(OneRepublic) รวมถึงจอมสร้าง เพลงฮิตอย่าง เกร็ก เคิรส์ ติน แต่ถา้ คุณไล่ตามองเลยไปอีกนิด คุณจะเห็น บรูโน มาร์ส มีเครดิตอยู่ในฐานะผูแ้ ต่ง ของ “All I Ask” เพลงบัลลาดบาด อารมณ์ในแบบทีค่ ณ ุ อาจคิดไม่ถงึ ว่ามา จากฝีมอื ของเขา เพลง “Right Round” ของ ฟลอ ริดา
เพลงสุดฮิตอันดับหนึง่ ของ ฟลอ ริดา เพลงนีก้ ม็ าจากฝีมอื การแต่งของ บรูโน มาร์ส เช่นกัน โดยเขาได้แต่ง ร่วมกับ เคชา นักร้องสาว/นักแต่ง เพลงฝีมอื ดีอกี คนของวงการ เพลง “Bang Bang” ของ เคนาน
บรูโน มาร์ส แต่ง “Bang Bang” ออกมาในปี 2009 และล็อค ท่อนฮุคไว้ให้ อดัม เลวีน จาก Maroon เพลง “Tomorrow” ของ ฌอน คิงสตัน 5 มาร้องในฐานะแขกรับเชิญ กระทัง่ เป็นเรือ่ งสนุกเหมือนกัน กับ มันกลายเป็นงานทีส่ ามารถพิสจู น์ได้ การได้ฟงั บรูโน มาร์ส แต่งเพลงใน แบบที่ไม่มกี ลิน่ อายของเขาชัดเจนเท่า เป็นอย่างดีวา่ การผนึกก�าลังกันระหว่าง มาร์ส กับ เลวีน นัน้ คือสวรรค์ชนั้ 7 ไหร่นกั ซึง่ ทีส่ ดุ แล้วมันก็กลายเป็น ของคอเพลงป็อปขนาดไหน หวังว่าทัง้ ความน่าสนใจขึน้ มาอย่างไม่นา่ เชือ่ “Tomorrow” เป็นเพลงทีท่ งั้ เบาสบาย คูจ่ ะได้กลับมาร่วมงานกันแบบเต็ม ๆ และเรียบง่าย แต่กม็ รี ายละเอียดทีย่ อด อีกครัง้ ในเร็ววัน เพลง “Lift Off” ของ เจย์ ซี และ คานเย เยีย่ มกว่าเพลงอืน่ ในอัลบัม้ เดียวกัน เวสท์ นีอ้ ย่าง “My Girlfriend”, “Island Queen” ซึง่ ล้วนเป็นฝีมอื การแต่งของ ด้วยคุณภาพการท�างานของ เจย์ ซี และ คานเย เวสท์ และแขกรับเชิญ มาร์ส เช่นกัน มากมายก่ายกองในอัลบัม้ Watch The เพลง “Switch” ของ นิค & ไนท์ ุ เหนือ่ ยหน่ายที่ จริง ๆ เอาแค่การรวมตัวของ Throne อาจจะท�าให้คณ จะไปเฟ้ น หาข้ อ มู ล ว่ า ใครคื อผูส้ นับสนุน 2 ต�านานบอยแบนด์มากประสบการณ์ อย่าง นิค คาร์เตอร์ จาก Backstreet อัลบัม้ นี้ในฐานะนักแต่งเพลงบ้าง จน Boys กับ จอร์แดน ไนท์ แห่ง New ไม่เคยทราบมาก่อนว่า บรูโน มาร์ส Kids On The Block ในอัลบัม้ เปิดตัว คือผูแ้ ต่งเพลงทีช่ อื่ ว่า “Lift Off” ซึง่ ได้ ชุดแรกของพวกเขาทีท่ า� ร่วมกัน คงไม่ บียอนเซ มาเป็นนักร้องรับเชิญ ต้องการความช่วยเหลืออืน่ ใดจากใคร เพลง “Never Close Our Eyes” ของ อดัม แลมเบิรท์ อีก แต่การได้ศลิ ปินนักแต่งเพลงชัน้ ยอดอย่าง บรูโน มาร์ส เข้ามาเสริมทัพ ไม่เพียงอัลบัม้ Trespassing ใน โดยเฉพาะในแทร็คอย่าง “Switch” นี่ ปี 2012 ของ อดัม แลมเบิรท์ จะ แทบจะเรียกได้วา่ กลายเป็น Justice เป็นอัลบัม้ ทีด่ ที สี่ ดุ ของเขาเท่านัน้ แต่ League ของเพลงป็อปไปเลย เพราะ “Never Close Our Eyes” ซิงเกิล้ ที่ 2 ยังเป็นเพลงทีย่ อดเยีย่ มทีส่ ดุ ในชีวติ ทุกอย่างมันออกมาดีมาก! ของเขาด้วย กับงานดนตรีในทางอิเล็ค เพลง “All I Ask” ของ อเดล การเป็น อเดล ส่วนหนึง่ หมาย โทรป็อปนวลหู ซึง่ ถูกแต่งออกมาโดย รวมถึงการเป็นศิลปินหรูหราทีม่ คี นมา มาร์ส และ ดร.ลุค รวมถึงเพลงอืน่ ๆ แต่งเพลงหรือคอยขัดเกลาเพลงทีเ่ จ้า ในอัลบัม้ ชุดนีจ้ ากฝีมอื ของทัง้ คู ่ แม้ไม่ ตัวแต่งออกมาให้อยูเ่ สมอ ซึง่ แน่นอน ถูกตัดออกมาโปรโมตเป็นซิงเกิล แต่ ว่าแต่ละคนทีม่ าร่วมงานด้วยย่อมถูกคัด ล้วนเป็นงานป็อปทีฟ่ งั แล้วน่าสน ใจ เลือกมาอย่างดีทสี่ ดุ เมือ่ มองไปทีร่ าย ชือ่ ของคนเหล่านัน้ ในอัลบัม้ ชุด 25 ของ เธอ คุณจะไม่แปลกใจเลยถ้าได้เห็นชือ่ อย่าง แม็ก มาร์ตนิ , ไรอัน เท็ดเดอร์ - BLAST
magazine - 045
046
- BLAST
magazine -
ISSUE 21 - MARCH 2018
ISSUE 21 - MARCH 2018
- BLAST
magazine - 047
I S S U E
21 M A R C H 2
0
1
B R U N O M A R S
048
- BLAST
magazine -
ISSUE 21 - MARCH 2018
8