BLAST MAGAZINE ISSUE 17 NOV 2017

Page 1

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine -

01


AD YAMAHA

02

- BLAST

magazine -

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine -

03


CONTENTS

016-025

030-031

032-033

034-035

038-039

042-045

040-041

08 010 012 014 016-025 026-028 030-031

04

- BLAST

magazine -

EDITOR‘S NOTE PRODUCT TEST A BLAST FROM A PAST BUILD TO BLAST COVER STORY BLAST OFF OLD RECORD STILL ALIVE

032-033 034-035 036-037 038-039 040-041 042-045

BLAST SPECIAL MOVIES GAMES ALBUM REVIEW BLA BLA BLAST COVER STORY (ปกหลัง)

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine -

05


06

- BLAST

magazine -

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine -

07


EDITOR ‘S NOTE

เมื่อปลายเดือนกันยายนที่ผ่านมา ผมได้คุยกับคุณเอ ปิยะ เจิมจุติธรรม เจ้าของร้านเครื่องดนตรี Pedal’s Park เรื่องสัพเพเหระถามสารทุกข์สุขดิบกันผ่านทางโทรศัพท์ ใคร ที่เป็นสายนักดนตรีเล่นของระดับกลางถึงไฮ เอนด์ต้องรู้จัก คุณเอ ปิยะแน่นอน ด้วยความรู้ลึกรู้จริงเกี่ยวกับอุปกรณ์ ดนตรีที่น�าเข้ามาจ�าหน่าย แนะน�าจัดชุดคนเล่นกีตาร์เฟียวให้ ศิลปินก็หลายคน ผมรู้จักคุณเอได้ประมาณ 4 ปี เพราะได้รับ การแนะน�าต่อมาอีกทีแล้วก็บุกไปหาที่ร้านพูดคุยเชิญให้มา ลงโฆษณาในนิตยสาร ผมไปร้านทีไรก็ต้องโดนให้ลองกีตาร์ เจ๋ง ๆ ที่แขวนอยู่ บางตัวก็เป็นของแกเอง ไหนจะแอมป์สุด แพง เอฟเฟ็กส์ยี่ห้อแปลก ๆ ยิ่งลองก็ยิ่งอยากได้ บางครั้ง คุณเอก็มีมาช่วยขอไปสัมภาษณ์ศิลปินต่างประเทศให้ เคย เขียนบทความส่งมาให้ลงเมื่อครั้งไปตะลุยงาน NAMM ไหน จะมีวงร็อกแอนด์โรลเล่นกับบรรดาเพื่อน ๆ แล้วส่งมาให้ฟัง ถ้าไม่ได้ไปหาที่ร้านผมก็ติดตามความเคลื่อนไหวผ่านทาง เฟซบุ๊ค เหมือนไม่ได้ไปไหนไกล เขียนเล่าเรื่องราวให้ได้อ่าน กันสนุกสนาน กระทั่งก่อนสิ้นเดือนกันยายน ก็เริ่มเห็นว่าคุณเอมีเช็ค อินโรงพยาบาล มีนอนแอดมิดอยู่คืนนึง ผมเองก็ยังไปเขียน คอมเมนท์ให้หายเร็ว ๆ ช่วงเย็นวันที่ 2 ตุลาคม ผมก็ต้อง ช็อคกับข่าวการจากไปอย่างกะทันหันของคุณเอ ผมรับแทบไม่ ได้ มึนงง เพิ่งจะได้คุยกันไม่นาน เขาเองยังบอกผมว่าจะมาดู งาน Sick Of It All ที่ผมจัด อยากไปอุดหนุน แต่แล้วก็ไม่ได้ มา เสียใจลึก ๆ คนรู้จักใกล้ตัวแม้ไม่สนิทแต่ก็เคยได้ร่วมงาน กันมาช่วงหนึ่ง เพื่อน พี่ น้องหลายคนก็ท�าใจไม่ได้ ขอแสดง ความเสียใจอย่างสุดซึ้งมาแก่ครอบครัวเจิมจุตธรรมมา ณ ที่นี้ ครับ เอ่ยชื่อค่ายเพลง Screamlab นักฟังเพลงวัยกลางคน ต้องรู้จักแน่นอน ค่ายเพลงร็อกสายหนักที่ผงาดขึ้นมาในห้วง เวลที่เมทัล คอร์ สครีมโม อีโม ในบ้านเราก�าลังถึงจุดพีค สุด ๆ เมื่อเกือบสิบปีที่แล้ว ทว่ามีเหตุจ�าเป็นที่ต้องหยุดความ เคลื่อนไหวทั้ง ๆ ที่วงมาร่วมท�าซีดีคอมพิเลชั่นอยู่ในระดับเต้ย ของวงรุ่นใหม่ ตลาดเพลงอะไรก็เกิดขึ้นได้ อ่านบทสัมภาษณ์ หัวเรือใหญ่ของค่ายนี้ในหน้ากลางได้เลย เต็มอิ่มจุใจกับภาพ วงดนตรี 6 วง ส่วนหน้าหลัง MADBALL ชื่อนี้นักฟังเพลงสาย ฮาร์ดคอร์ทั้งรุ่นเล็กรุ่นใหญ่ไม่มีใครไม่รู้จัก นี่คือคิงส์โพด�า ของสายนี้และก�าลังมาเยือนเมืองไทยครั้งแรกและน่าจะเป็น ครั้งเดียวที่จะได้ดูโคตรวงที่เล่นได้มันส์ที่สุด จัดโดยนิตยสาร BLAST อีกแล้วครับท่าน อย่าพลาดจริง ๆ กว่าจะได้วงนี้มา เล่น ท�าเอาต้องลุ้นกันวันต่อวันเลยทีเดียวเชียว เจอกันฉบับหน้าครับ

08

- BLAST

magazine -

ISSUE 17 / NOVEMBER 2017

BLAST‘S TEAM Founder & Editor : ศรันยพงศ สุขภานนท Art Director : กฤษณะ โชคเชาววฒ ั น Photographer : เตชะนันท จิรโชติระวี Editorial Staff : กชกร มุสกิ รัตน Digital Media : ณรงคพล เกสรประทุม พิสจู น อกั ษร : ลลนี เสียงลํา้ Contributor : บอบู / สุวาทินทร วัฒนวิทกู รู / อัษฏา อาทรไผท / ไผ A.M.P / เทพ ปลนั ธน พงษพานิช / ฐิตวิ ฒ ั น บุญวิวฒ ั น / พอล โซลิส / กบ Bra Branner / ปเตอร เดอะ อีแรง / นิพนธ ยิม้ ประเสริฐ / จักรธิป ปุญญทลังค / ฐานิศ ชาตะธนะบุ / จันทนี ปนทรสเพิม่ / มิกข วรนิสรา / ศรัณยู ตรีสคุ นธ / รัฐพงศ เทียมทองใบ / วรัญู ศิรเิ คารพ / วัชตรี บัวสาย / ชานนท บุญญศิริ ติดต อลงโฆษณา : ศรันยพงศ สุขภานนท 08-1692-3961 พิมพ ที่ : คอสมิคพริน้ ทแอนดดไี ซน จํากัด โทรศัพท 02-417-7783 ขอเขียน รูปภาพ และพืน้ ทีโ่ ฆษณาทัง้ หมดในนิตยสารบลาสต สงวนสิทธิต์ าม กฎหมาย หากจะนําไปเผยแพรซาํ้ ไมวา จะเปนบางสวนหรือทัง้ หมด ตองไดรบั การ ยินยอมเปนลายลักษณอกั ษรจาก บริษทั บลาสต เดอะ บีท จํากัด

C O N TA C T

บริษัท บลาสต เดอะ บีท จํากัด

116 ซอยเทียนทะเล 24 ถนนบางขุนเทียน – ชายทะเล แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 โทร.02-451-1324 แฟกซ 02-451-1325 blastmagth

WHERE TO FIND

รานอุปกรณดนตรีชั้นนํา Music Collection 13 สาขา / Music City 3 สาขา / Music Concept / Rock Planet / Beatspot /Music Society / Music Center / CMC / VRK Sport and Music / Super8 / อินเตอร มิวสิค / เอเชีย มิวสิค / ธีระ มิวสิค / ย งเส็ง / VEE Music ฟ วเจอร พาร ค รังสิต ชั้น 3 / Music Store เมกา บางนา ชั้น 2 / ร านสินธ ทอง หลังกระทรวง / กีตาร โปร หลังกระทรวง /M.I. Engineering / มิวสิค ซิตี้ เซ็นทรัล เวสต เกต บางใหญ / ฟอร เต มิวสิค เซ็นทรัล พระราม 9 / และร านจําหน ายอุปกรณ ดนตรีทั่วประเทศ สถาบันสอนดนตรี Rockademy / Overtone หองบันทึกเสียง หองซอมดนตรีชั้นนํา และ รานกาแฟตาง ๆ A.M.P. สวนจตุจักร / US And Them สวนจตุจักร / ร านน องท าพระจันทร / ร าน Grahm สยามพารากอน / ร าน Burgundy Dipper สาขาแยกรัชดา-ลาดพร าว และสาขา สถานีรถไฟฟ า MRT พหลโยธิน

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine -

09


product test

BE PREPARE FOR THE GIG SEASON. A C C E S S O R I E S DAVA Picks Dava picks ผมเคยใช้ครั้งแรก เมื่อนานมาแล้วตอนเริ่มหัดเล่นเลย ด้วยการออกแบบที่มากกว่า pick ทั่ว ๆ ไป คือมี 3ระยะเพื่อปรับให้ได้ความ อ่อน แบบ Heavy, Medium และ Thin ในครั้งนี้ที่ผมน�ำมาแนะน�ำเพื่อน ๆ นั้น เพราะเค้าได้ออกรุ่นใหม่มาหลาก หลายทีเดียว Dava Control ตัวนี้เป็น Original design ของเค้าเลย ตัวเดียวกันกับที่ผม เริ่มใช้เมื่อแต่ก่อน ซึ่งครั้งนี้มีทั้งวัสดุ Nylon และ Polygel ซึ่งรุ่นนี้ เล่น Acoustic ดีมาก ๆ ทั้ง เสียงที่ได้ และ จับไม่หลุดมือ พอท่อน จะ solo ก็เลื่อนนิ้วมาเพื่อให้ได้แบบ Heavy และเล่น solo ชัดเป็นเม็ด ๆ เนื้อ Polygel นั้นจะให้สัมผัสที่แข็งกว่า และเสียงที่มี attack และ แหลม กลาง น้อยกว่า ครับ Jazz Grip และ Grip Tip ทรงจะเหมือน Jazz III และ Jazz III XL ครับ แต่ว่าเค้าเพิ่มยาง มา ในส่วนจับที่ ให้ความรู้สึกจับแล้ว แน่น กระชับดี นุ่ม ๆ มือนิด ๆ ไม่หลุด มือง่าย ท�ำให้ control ได้ดีมากขึ้น ซึ่ง น่าจะเป็นจุดเด่นมาก ๆ ซึ่ง 2 รุ่นนี้จะ มากับ เนื้อ 3 เนื้อ คือ Derlin ซึ่งตัว นี้เสียงจะชัดเป็นเม็ด ๆ แน่น สะอาด Nylon นั้นจะให้ความรู้สึกนิ่มกว่า และ เสียงจะโปร่งกว่า เหมาะกับการตี คอร์ดมากกว่า และ Polygel ที่เนื้อจะ แข็งที่สุดให้ attack มากที่สุด สับ Riff เพลง Rock ชัด ๆ สะใจดีครับ ซึง่ ความ ต่างของ Jazz grip และ Grip tip นั้น นอกจากขนาดแล้ว โดยเนื้อที่เพิ่มขึ้น ท�ำให้เสียงที่ได้ก็ต่างกันอีกเล็กน้อยด้วย ทัง้ สองรุน่ นัน้ แชร์สงิ่ ดี ๆ เหมือนกัน คือ ตัวยางจับที่รู้สึกดีมาก ๆ และไม่ว่าคุณ จะชอบเนื้อ pick แบบไหนก็ไม่มีผลกับ การจับ ไม่ลื่นเพราะมียางจับเหมือนกัน 010

- BLAST

magazine -

Rock Control ตัวนี้เป็นตัวที่ผม ชอบมาก ๆ เพราะมัน ใหญ่สะใจมาก และ ส่วนที่ ใช้ควบคุมนั้น ถ้า คุณควบคุมระยะดีดีนั้น heavy ด้วย เนื้อที่หนากว่า และขนาดที่ ใหญ่ก็ให้ เสียงที่ชัดและแน่น กลางเด่นเหมาะ กับเพลง rock ขึ้นไปมาก ๆ หรือ เอาไปเล่น Bass ก็ดีเช่นกันครับ อีก ประโยชน์ของร่อง control ส�ำหรับ รุ่นนี้คือมันเว้าเข้าไปท�ำให้ใช้เป็น จุดในการวางนิ้วโป้งพอดี ท�ำให้จับ Pickสบายขึ้นและไม่หลุดด้วยครับ DAVA Pick เป็นอีกหนึ่งยี่ห้อที่ผม อยากให้เพื่อน ๆ ลองแล้วปรับตัวลอง ใช้ดูครับ มัน work มาก ๆ ครับผม และมันก็ทนด้วยครับ คุ้มแน่ ๆถ้าไม่ท�ำ หาย หรือตกบนเวที หรือจะห้องซ้อม นะครับ มันหายไปในมิติพิศวง 555 Stage Trix มา ๆ เรามาต่อกันทีส่ งิ่ ทีน่ า่ สนใจมาก ๆ แบบมีกไ็ ด้ไม่มกี ไ็ ด้ แต่มี แล้วแจ่ม ชีวติ คุณจะง่ายมาก ๆ ชีวติ ดี อย่างปากกา Setting Saver ซึง่ มัน เป็นปากกาช่วย Mark setting ของ เอฟเฟ็กส์ แอมป์ หรือจะ console อะไรก็ได้ ซึง่ สีเป็นเขียวสะท้อนแสงมอง เห็นง่ายบนเวทีครับ และช่วยเวลาเรา ขนย้ายและปุน่ มันเลือ่ นก็แค่ ขีดไว้ หรือ จะขีดไว้ เพือ่ จ�ำหลาย ๆ setting ก็ได้ แต่ ควรจะใช้กบั วัสดุผวิ เคลือบนะครับ และมันไม่รกเลอะเทอะเหมือนวิธอี นื่ ๆ ทีอ่ าจมีกาว หรืออะไรก็ตามเลอะเทอะ วิธลี บก็งา่ ยแสนง่ายก็แค่ ทิชชูเ่ ปียกครับ ลบออกหายหมด เจ๋งใช่มยั้ ครับ ลองหา มาใช้ดคู รับ เยีย่ มจริง ๆ ส�ำหรับคนที่ เดินทางขนย้ายอุปกรณ์บอ่ ย ๆ ทุกคืน อีกหนึง่ ตัวทีแ่ จ่มมาก ๆ คือ Pedal Riser เป็นตัวยกสูงส�ำหรับ effect ก้อนของคุณทีอ่ ยูแ่ ถวหลังท�ำให้ เหยียบง่ายขึน้ ไม่ไปเตะโดนก้อนหน้า ซึง่ หลาย ๆ คนคงเคยเจอปัญหาเอฟเฟค

จักรธิป ปุญญทลังค์

วันนี้ผมขอมาแนะน�ำของหลายอย่าง ๆ เพื่อให้เพื่อน ๆ นักดนตรีได้ เตรียมตัวส�ำหรับเทศกาลดนตรีและงานเล่นทั้งหลายในช่วงปลายปีกันนะครับ แอมป์ กีตาร์ เอฟเฟ็กต์ เพื่อน ๆ คงพร้อมกันอยู่แล้ว วันนี้ผมเลยมาน�ำเสนอ สิ่งที่น่าสนใจและจ�ำเป็นไม่แพ้กัน ว่าเสียงบางได้ แต่การออกแบบสายนี้ เวลาเจอพวก pedal board ปรกติเสียง จะทู่ ๆ ตัวนีก้ จ็ ะช่วยได้เช่นกันครับผม อีกทัง้ noise ยังน้อยด้วยครับผม PigHog Serie ตัวนีจ้ ะเป็นสาย ยางทีว่ สั ดุเป็นแบบ tension resistance คือแปลง่าย ๆ คือกันกระแทก พวกแรง กระชากเหยียบนัน่ เองครับ สายตัวนีจ้ ะ หนากว่า Vintage Series เล็กน้อย และ หนักกว่าเล็กน้อย แต่ความรูส้ กึ ตอบจับ สายผมชอบมาก ๆ คือมันแข็งแรง และ Pig Hog Cable สายไม่คอ่ ยพันตัวเองดีมาก ๆ ส่วนเสียงนัน้ ตัวนีเ้ สียงจะอิม่ กว่า เบสลูกใหญ่กว่า กลางเด่นกระชับ กลาง แหลมคม ๆ ท�ำให้เสียงใหญ่แต่ยงั ชัดอยู่ โดยความรูส้ กึ นัน้ พอเล่นเสียงคลีน ให้ เสียงทีก่ ว้างออกมาเต็มเม็ดเต็มหน่วย ไม่มยี า่ นไหนโดดเด่นเป็นพิเศษ พอเล่น Pig Hog Cable นัน้ เป็นสาย เสียงแตกอ่อน rhythm นัน้ สายตัวนี้ให้ cable น้องใหม่จาก USA ทีอ่ อกแบบ โดยมีความตัง้ ใจจะให้เป็นสายทีท่ นทาน เสียงทีเ่ คลียร์ได้ยนิ เสียงสายแยกออก มาชัดเจนระดับหนึง่ และได้ยนิ เสียงใน มาก ๆ ในราคาทีน่ กั ดนตรีทวั่ ๆ ไป คอร์ดชัดเจน ได้ลกู ที่ใหญ่ครับ แต่พอ จับต้องได้ดว้ ย ซึง่ ส�ำหรับสาย cable เล่นเป็น solo จะรูส้ กึ ได้เวลาเหมือน นัน้ นอกจากเรือ่ งเสียงทีด่ แี ล้ว ความ gain จะน้อยลงแต่ได้ headroom ที่ ทนทานเป็นอีกจุดหนึง่ ทีส่ ำ� คัญมาก ๆ ครับ เพราะเราเดินเตะไป ๆ มา ๆ บน มากขึน้ ซึง่ พอผมลองเล่นเป็น hi-gain เวที ขนย้าย กระแทก ซึง่ ทาง Pig Hog เสียง low end ลูกใหญ่แต่ไม่บานมาก solo ออกมาเป็นเม็ด ๆ ชัดเจนครับ เลยออกแบบมาโดยเน้นเรือ่ งความ เพือ่ น ๆ อาจต้องใช้ gain ทีม่ ากขึน้ อีก ทนทานเป็นพิเศษ นิดนึงแต่ เสียงและรายละเอียดที่ได้นนั้ Vintage Series มาในรูปแบบสายถักเพือ่ ป้องกัน จัดว่าแจ่มมาก ๆ ครับ และ noise ก็ สายไฟด้านใน ซึง่ มีหลากหลายสีมาก ๆ น้อยมาก ๆ อีกด้วย ตัง้ แต่สดี ำ� ยัน seafoam green (สวยมา โดยรวมแล้ว PigHog จากราคา กก) สิง่ แรกทีผ่ มรูส้ กึ เลยคือ น�ำ้ หนักที่ และคุณภาพทีส่ อดคล้องกันมาก ๆ นับ เป็นสายที่ได้มาตรฐานอีกยีห่ อ้ หนึง่ เลย เบามาก และม้วนเก็บได้งา่ ย ซึง่ ผมเชือ่ และว่าเค้าออกแบบจากการใช้งานจริง ทีเดียว ใครสนใจ PigHog ก็ตดิ ต่อทาง Jade Guitar Shop ได้เลยนะครับผม แบบ touring จริง ๆ โดยทีท่ างร้านน�ำเข้ามามีสายแปลก ๆ สิง่ ส�ำคัญอีกหนึง่ สิง่ ส�ำหรับสาย cable ส�ำหรับผมคือเสียงครับ vintage อย่าง สาย aux หรือ สาย stereo และ series นี้ เสียงที่ได้ออกมากลางแหลม สาย speaker หัว speakon ทีห่ ายาก เด่น และ low ทีก่ ระชับ ปลายแหลมใส ไว้ใช้กบั พวกล�ำโพงมอนิเตอร์อกี ด้วย นา ถ้ายังไม่พอหล่ะก็ กลัวเค้าไม่ทน เล่น clean เพราะ เสียงแตกนัน้ ให้ อารมเสียงพุง่ ๆ ชัดกระชับ เล่นสนุกมือ จริง ๆ PigHog มาพร้อมกับ lifetime มาก ๆ ซึง่ ถ้าแอมป์ที่ใช้ แหลมหรือกลาง warranty เสียจากการใช้งานจริง ๆ เอาไปเปลี่ยนได้เลยนะครับ ต�ำ่ น้อย ๆ อยูแ่ ล้วก็อาจจะให้ความรูส้ กึ ก้อนทีอ่ ยูแ่ ถวหลัง แล้วเหยียบยาก ตัวนีจ้ ะมาช่วย เพือ่ น ๆ ให้ชวี ติ ง่ายขึน้ และด้วยโบนัสพอยกสูงเค้าก็ทำ� ร่องไว้ ทัง้ ด้านข้าง และบนล่างไว้ซอ่ น หรือ ร้อยสายไฟและ cable ผ่านไปให้เป็น ระเบียบเรียบร้อยด้วยนะครับ ทัง้ Stage Trix และ Dava Pick หาซือ้ กันได้ทรี่ า้ น iGuitar ชัน้ 3 Fortune Tower นะครับ

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


VOX

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine -

011


A Blast FROM A PAST

DREAM THEATER

ฐิติวัฒน์ บุญวิวัฒน์

IMAGES, WORDS & BEYOND 25TH ANNIVERSARY TOUR LIVE IN BANGKOK

WHITE CASTLE ปะทะ LIFE IN COLOUR

เราขอให้คา� นิยามจ�ากัดความของทัง้ 2คอนเสิรต์ นีว้ า่ “คอนเสิรต์ ข๊าวขาวที่ พร้อมรอให้ละเลงสีจรดร่าง” และอีกหนึง่ ความดีงามของงานนีท้ ี่ไม่เพียงแต่ไลน์ อัพดีเจจะเลิศเลอแล้ว ความดีงามอีกประการนึงก็คอื .....อย่างทีเ่ ราเคยเขียนก่อน หน้าไปในฉบับก่อน ๆ หลายคนคงพอจะนึกออกว่ามันคืออะไร ใบ้ให้นดิ นึงว่ามัน ช่างเหมาะกับชาวร็อกซะจริง ๆ ลองไปเปิดหา ๆ กันดูนะฮะ งานนีถ้ กู จัดขึน้ สองวัน โดยแบ่งธีมกันอย่างชัดเจน โดยวันแรกจะเป็นงาน White Castle ปาร์ตปี้ ราสาท ขาวทีม่ าในแนวเพลง Progressive House กับโปรดิวเซอร์ดเี จมือฉมังทัง้ Hoaprox & THUAN HOANG , DJ BENZ & TONG APOLLP, JAGGS , HOLL&RUSH , MARNIK ซึง่ มีไฮไลท์อยูท่ ี่ CARTEL งานนีเ้ ป็นการสานต่อความส�าเร็จจากงาน Axtone เมือ่ ปีกอ่ นทีเ่ คยมาสร้างความตืน่ ตาตืน่ ใจกันไปแล้ว เพือ่ ไม่ให้ซา�้ มาใน ปีนเี้ ลยขอเปลีย่ นคอนเซ็ปท์ซะหน่อย เรือ่ งความอลังการนีห่ ายห่วง เพราะเวทีนี้ เป็นหนึง่ ในเวทียอ่ ยจากงาน Tomorrowland ทีว่ า่ กันว่าเป็นงานอิเล็กทรอนิคทีด่ ี ทีส่ ดุ ในโลก ควบคุมงานสร้างโดยดีเจหนุม่ หล่ออย่าง Axwell นัน่ แหละครับ ส่วน วันที่ 2 แนวเพลงเราว่าค่อนข้างจะหลากหลายนิดนึงกับงาน Life In Colour มีทงั้ Trap , Techno ยาวไปจนถึง Trance ก่อนเข้าไปในงานตรงทีต่ รวจบัตรจะมีการ แจกกระป๋องสีคนละขวด หากหมดก็สามารถซือ้ หาด้านในต่อได้ แจกไปท�าไม? ก็ แจกเพราะให้ไปสาดสีละเลงความเลอะกันด้านในน่ะซิ ประหนึง่ งานสงกรานต์ก็ มิปาน แต่เปลีย่ นจากน�า้ เป็นสีแทน ทุกตารางนิว้ ในฮอลล์ไม่วา่ คุณจะยืนอยูต่ รง ไหน เป็นได้เละแบบไม่มที างหลีกเลีย่ งได้เลยจริง ๆ เราขอเกริน่ นิดนึงว่างานนีอ้ ะ่ มันมีมาเป็น 10 ปีแล้ว และครัง้ นีถ้ า้ ข้อมูลเราไม่ผดิ มันคือการเวิลดิท์ วั ร์ออกนอก ประเทศอเมริกาเป็นครัง้ แรกอีกด้วย วันนีเ้ ราตัง้ ใจมาดู Andrew Rayel แค่คนเดียว เลย เนือ่ งจากเราค่อนข้างชอบแนว Trance เป็นพิเศษ และนัน่ ก็ไม่ทา� ให้เราผิดหวัง เล่นดีกว่าครัง้ ก่อนทีเ่ คยมาไทยแบบหลายเท่าตัวนัก ความระทึกยังไม่หมดอยูแ่ ค่นนั้ งานจบหักพวงมาลัยรถเลีย้ วซ้ายออกปากซอยเท่านัน้ แหละ เอ้า!!! เจอคอนเสิรต์ อีก แล้วครับ ดีเจในชุดยูนฟิ อร์มยืนเรียงแถวหน้ากระดานกันหน้าสล่อน ด้วยอาชีพการ งานเราเห็นแล้วมันอดรนทนไม่ได้ จึงขอลงไปนัง่ โต๊ะสัมภาษณ์กนั ซักหน่อย เวลา ผ่านไปร่วมครึง่ ชม.เราจึงเห็นว่า เอาละ ขอตัวกลับบ้านไปนอนดีกว่า...

ถึงจะมาเป็นครัง้ 4 แต่นนั่ ก็ไม่ได้ทา� ให้ความอยากดูของเราลดน้อยลงเลย Dream Theater เป็นเพียงไม่กวี่ งดนตรี ทีก่ ลับมาเล่นคอนเสิรต์ ทีป่ ระเทศไทยที ไร แทบจะไม่นา� เพลงทีเ่ คยเล่นมาแล้วกลับมาเล่นอีกเลย ฉะนัน้ !! ไม่วา่ คุณจะดู ซักกีค่ รัง้ คุณก็จะได้ฟงั เพลงที่ไม่เคยฟังมาก่อนอย่างแน่นอน นัน่ คือเหตุผลแรกที่ ท�าให้เรามาดูในวันนี้ ส่วนเหตุผลทีส่ องน่ะหรอ ก็จะอะไรซะอีกล่ะ ก็ทวั ร์ในครัง้ นี้ มันคือการฉลองครบรอบ25 ปีอลั บัม้ Images & Words ยังไงล่ะ แล้วจะไม่ให้มา ดูได้ยงั ไง ซึง่ คอนเสิรต์ ในวันนีถ้ กู แบ่งออกเป็น 3 องค์ดว้ ยกัน องค์แรก .... เริม่ เปิดฉากความระอุกนั ด้วย Dark Eternal Night ก่อนจะ เป็นการขนเพลงจากหลาย ๆ อัลบัม้ มาอีกระลอกใหญ่ ทัง้ The Bigger Picture , Hell’s Kitchen, The Gift of Music ,Our New World, As I Am ซึง่ ในเพลง สุดท้ายนัน้ ในท่อน Bridged เสียงกีตาร์ของ John Petrucci ได้คา� รามอินโทร เพลง Enter Sandman ของ Metallica ขึน้ มา แต่ทว่า ... มันไม่ใช่แค่อนิ โทร นะซิ นีเ่ ล่นล่อเข้าไปเกือบครึง่ เพลงเลยนะนัน่ องค์สอง .... หลังจากพักครึง่ ไปร่วม 20 นาที เหล่าขุนพลทัง้ 5 John Petrucci, John Myung, James LaBrie, Jordan Rudess และ Mike Mangini เดินกลับมาขึน้ เวทีพร้อมกับเพลง Pull Me Under โดยไร้ซงึ่ สัญญาณเตือนใด ๆ ใช่แล้ว!!! ถึงเวลาทีพ่ วกเขาจะซัดเพลงจากอัลบัม้ Images & Words แบบยกชุด ไล่เรียงไปทีละเพลง ๆ และเมือ่ ถึงเพลง Metropolis Pt.1 : The Miracle and the Sleeper ช่วงท้าย ๆ เครือ่ งดนตรีทกุ ชิน้ ถูกลดเสียงลง เหลือไว้แต่เพียงการ ควบกระเดือ่ งของ Mike Mangini นีเ่ ป็นครัง้ ที่ 2 ทีเ่ ราได้ดกู ารหวดกลองของ นางผูน้ ี้ บางทีมนั ก็ทา� ให้เราลืม Mike Portnoy ไปได้ชวั่ ขณะเลยทีเดียว องค์สาม .... ทีถ่ อื ได้วา่ เป็นช่วงอังกอร์ พวกเค้าเลือกทีจ่ ะน�าเพลงไต เติล้ แทร็คจากอีพอี ลั บัม้ A Change of Seasons มาบรรเลงยาว ๆ ต่อเนือ่ งกว่า ครึง่ ชัว่ โมง จะว่าไป อีพอี ลั บัม้ นีก้ ม็ อี ายุครบรอบ 30 ปีเหมือนกัน หวังว่าทัวร์ครัง้ ต่อไปของ Dream Theater จะเป็นเวิรค์ ทัวร์อลั บัม้ Awake นะ แล้วพวกเขาจะ กลับมาทีป่ ระเทศไทยอีก เหมือนเช่นทุกครัง้ ทีผ่ า่ นมา

ONEREPUBLIC

LIVE IN BANGKOK

ด้วยความพีคระดับมาสเตอร์พชี จากการปล่อยอัลบัม้ เต็มชุดแรก Dreaming Out Loud เมือ่ ปี 2007 ของวงป็อปร็อกหน้าหล่อกระฉากใจสาวอย่าง OneRepublic ส่งผลให้การท�างานในชุด ต่อ ๆ มาเริม่ หนักหนาสาหัสพอสมควร ท�าให้อลั บัม้ ชุดที่ 2,3,4 ในบ้านเรากระแสความแรงเริม่ จะแผ่ว ลงไป แต่นนั่ ก็ไม่ได้ทา� ให้คอนเสิรต์ ทีก่ รุงเทพฯจะสามารถลดจ�านวนคนดูลงไปได้เลย คนดูทอี่ ดั แน่น เกือบเต็มความจุของอิมแพคอารีนา่ เริม่ ท�าให้ใจชืน่ ขึน้ มาบ้าง แค่เพลงแรกก็สร้างเซอร์ไพรส์ให้กบั เราพอสมควร เพราะทางวงเลือกทีจ่ ะเล่นเพลงทีเ่ ราชอบมากทีส่ ดุ อย่าง Stop & Stare เหมือนเป็นคอนเสิรต์ ทีเ่ ล่นเอาใจเราโดยเฉพาะ (คือ...มรึงคิดไปเองอ่า) โปรดักชัน่ ช่วงนีม้ เี พียงไฟสีขาวเหลืองนวลสาดส่องมาจากทางด้านหลังเพียงอย่างเดียว ท�าให้ไม่สามารถทีจ่ ะเห็นหน้าของเหล่าสมาชิกวงได้เลย ก่อนจะตามมาด้วย Kids , Good Life , Wherever I Go , Better , Feel Again และในเพลง Halo นีเ่ องทีเ่ ราได้เห็นการเดีย่ วเปียโนของ Ryan Tedder สไตล์การบรรจงพรมนิว้ ลงบนแป้นคียบ์ อร์ดของ Ryan นัน้ เราว่าออกไปทางโปรดิวเซอร์มากกว่าศิลปินอีกนะ Apologize และ Counting Stars เป็นอีก 2 เพลงทีจ่ ะขาดไปไม่ได้เลยส�าหรับคอนเสิรต์ ในครัง้ นี้ ในช่วงท้าย Ryan ยังอุตส่าห์หยอดค�าหวานลงไปอีกว่า “ขอบคุณทีม่ าชมคอนเสิรต์ ของวง OneRepublic ในวันนี้ พวกเราจะกลับมาแสดงคอนเสิรต์ ที่ เมืองไทยอีกครัง้ อย่างแน่นอน กรุงเทพฯเป็นเมืองทีส่ วยงาม พวกเราทุกคนประทับใจจริง ๆ” ช่างเป็นภาพความประทับของทัง้ คนเล่นและคนดูทยี่ ากจะลืมเลยจริง ๆ ให้ตายซิ

012

- BLAST

magazine -

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine -

013


Build To Blast

JACKASS

SAD / DRUNK / Rock ‘n’ Roll เมือ่ ต้นเดือนตุลาคมทีผ่ า่ นมา มีขา่ วดังบนโลกออนไลน์วา่ นักร้องรุน่ ใหญ่ทา่ นหนึง่ เปิดคอนเสิรต์ ร้องเพลงพร้อมกระดกของมึนเมาต่อหน้าคนดูกว่าพันคน แถวนนทบุร ี แล้วปรากฏว่าเหมือนคุมสติไม่อยูร่ อ้ งเพลงหลุดลุย่ จนท�าให้แฟนเพลงหลายคนทีต่ งั้ ใจมาชมการแสดงสดของพีเ่ ขาบ่นผิดหวังกันมากมาย แต่กม็ อี กี หลายคนทีช่ นื่ ชมว่าพีเ่ ขานีม่ นั โคตรร็อกเลย ร้องไปดืม่ ไป วิถชี าวร็อกมันต้องแบบนีส้ เิ ว้ย!! ในวงการร็อกแอนด์โรล การเล่นคอนเสิรต์ ไปด้วย ดืม่ ไปด้วย ของพวกร็อกสตาร์คอื เรือ่ งปกติสามัญ บางคนก็ดมื่ เพือ่ ความคึกคักจะได้เล่นคอนเสิรต์ สนุกขึน้ มีอารมณ์รว่ มมากขึน้ แต่บางคนยิง่ ดืม่ ยิง่ เละก็ม ี ดังเช่นบรรดาป า ๆ ทัง้ หลายทีผ่ มจะหยิบยกมาฝากกัน และขอให้นอ้ ง ๆ นักดนตรีรนุ่ ใหม่ดไู ว้เป็นอุทาหรณ์นะจ ะ คีธ มูน (The Who) มือกลองขาเมา ต�านานแห่ง The Who ได้รบั ฉายาว่า “คีธ เดอะ ฟักกิง้ มูน” เพราะความบ้าคลัง่ ในการกระหน�า่ กลองและเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญเรือ่ งเครือ่ ง ดืม่ มึนเมา ครัง้ หนึง่ ในปี 1973 ระหว่างทีว่ งก�าลังบรรเลง Won’t Get Fooled Again ต่อหน้าคนดูอย่างเมามัน ปรากฏว่าป๋ามูน ทีซ่ ดั แอลกฮอลล์มาซะเต็ม คราบ ก็หยุดตีกลองไปซะดือ้ ๆ เมือ่ เพือ่ นร่วมวงหันไปดูภาพทีเ่ ห็นคือมือกลอง จอมซ่าของพวกเขาสลบไสลไปแล้วก่อนถึงท่อนโซโล่สดุ ปัน่ ป่วนเพราะฤทธิส์ รุ า ร้อนถึงทีมงานต้องมาแบกหามออกไป และ พีท ทาวน์เซนด์ มือกีตาร์กต็ อ้ งมา รับช่วงตีแทนจนจบ

สแลช (Gun’s N Roses ) มือกีตาร์หวั หยิกหยอยแห่ง Gun’s N Roses ผูเ้ ป็นฮีโร่ของเหล่า ขุนขวานทัว่ โลก แม้จะได้ชอื่ ว่าเป็น สุดยอดฝีมอื เพียงใดก็ยงั พลาดพลัง้ ได้ เพราะความเมาของตัวเอง คอนเสิรต์ ทีน่ วิ ยอร์ค ปี 1991 ขณะทีว่ งก�าลัง เตรียมเล่นเพลงโคตรฮิต Welcome to the Jungle โดยรอฟังเสียงอินโทร กีตาร์จากสแลช ปรากฏว่าพีแ่ กดัน เล่นผิดโน้ตซะงัน้ ต่อมาเมือ่ ถึงเพลง อมตะ Sweet Chilld’ O Mine พีท่ า่ น ก็แผลงฤทธิอ์ กี รอบด้วยการโซโล่ทอ่ น อินโทรแป้กเฉยเลย ซึง่ พีเ่ ขาก็ขอโทษ คนดูทเี่ มาไปหน่อย (ฮา) และเรียกสติ กลับมาเล่นเข้ารอยเดิมจนได้

014

- BLAST

magazine -

ออสซี่ ออสบอร น ราชาแห่งความมืดจากเกาะ อังกฤษ สมัยขึน้ เวทีรว่ มกับวง เก่า Black Sabbath ราวปี 2000 เจ้า ตัวจัดการกระดกเหล้าเข้าปากแบบที่ เคยท�าตามปกติ ทุกอย่างยังคงปกติดี กระทัง่ เมือ่ มาถึงเพลง War Pig คุณป๋าก็ชวนแฟนเพลงคนหนึง่ ขึน้ มา ร้องเพลงบนเวทีดว้ ยกัน แต่เพราะเมา จนสติเริม่ เลือนหายท�าให้คณ ุ ป๋าร้อง เพลงนีแ้ บบเสียงสัน่ คลอนแทบไม่เป็น โน๊ต ก่อนยกหน้าที่ให้แฟนเพลงผูโ้ ชค ดีโซโล่โชว์เสียงไปเลย เล่นเอาเพลง เกือบล่มแต่กย็ งั พอถูไถไปได้

เคิรท โคเบน (NIRVANA) คอนเสิรต์ ที่ ร็อตเทอร์ดมั ปี 1991 เคิรท์ และพลพรรค NIRVANA กระโดดขึน้ เวทีเพือ่ เตรียม ถวายความมันให้แก่สาวก เจ้าพ่อ แห่งกรัน๊ จ์ ทีด่ มื่ เข้าไปจนได้ที่ เริม่ บรรเลงเพลงแรก In Bloom ด้วย ริฟฟ์กตี าร์สดุ เดือด แต่ปรากฏว่าเสียง กีตาร์มปี ญ ั หา ซึง่ หากเป็นคนทีย่ งั ปกติ ก็จะลงไปจัดการได้อย่างรวดเร็ว แต่บงั เอิญพีเ่ คิรท์ ดันจิบน�า้ ชาไปเต็ม สูบ จึงเกิดอาการมึนเมาปรับซาวด์ไม่ ถูก เล่นเอาเพือ่ นร่วมวงต้องมาช่วย ประคองและให้ทมี งานช่วยกันแก้ไข ซาวด์กนั ไปจนท�าให้โชว์สะดุดไปพัก หนึง่ แต่สดุ ท้ายพีเ่ คิรท์ ก็กลับมา บรรเลงต่อได้และเล่นจนจบโชว์แบบ ไม่ลม้ พับไปซะก่อน

บิลลี โจ อาร มสตรอง น่าจะเป็นเคสทีล่ อื ลัน่ ทีส่ ดุ ตัง้ แต่ วงการเพลงเข้าสูย่ คุ มิลเลนเนียม เพราะมีการบันทึกวีดโี อเป็นหลัก ฐานลงโซเชียลไว้เพียบ เหตุการณ์ เกิดขึน้ ในงานเทศกาลดนตรี I Heart Radio ปี 2012 ระหว่าง ที่ บิลลี และผองเพือ่ นวง Green Day ซัดบทเพลงให้คนดูได้ดนิ้ พล่าน สายตาของคุณพีก่ เ็ หลือบไปเห็นทีม งานทีข่ นึ้ ข้อความว่าให้รบี ตัดจบโชว์ ภายใน 1 นาทีเพือ่ ให้ศลิ ปินคนอืน่ ขึน้ มาเล่นต่อ พีบ่ ลิ ลี ทีด่ มื่ ไปเต็มคราบ ก่อนขึน้ เวทีกย็ วั๊ ะสิพนี่ อ้ ง เลิกร้อง เพลงแล้วหันมาแจกฟักใส่ผจู้ ดั งานแบบ นอนสต๊อป พร้อมทุบกีตาร์โชว์สร้าง ความสะใจแก่สาวก แต่สดุ ท้ายพีเ่ ขา ก็ออกมาขอโทษส�าหรับพฤติกรรมไม่ เหมาะสมและไม่ทา� แบบนีอ้ กี เพราะรู้ แล้วว่าสิง่ ทีเ่ ขาท�านัน้ ท�าให้แฟนเพลง ตัวจริงผิดหวังแค่ไหน

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine -

015


COVER STORY

016

- BLAST

magazine -

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine -

017


ย้อนอดีตกันหน่อยครับ เรื่องระหว่างทาง ก่อตั้ง หยุดท�ำ จนมาถึงเริ่มใหม่ แบน : เริ่มแรกเมื่อปี 2005-2006 ผมอยากท�ำค่ายเพลงเล็ก ๆ ซึ่ง สครีมแล็บนี่มันมาจากกลุ่มคนดนตรีที่เป็นเพื่อน ๆ กัน Sweet Mullet, Retrospect, Housetrap, Bikini ผ่านไปแต่ละคนก็แยกย้ายกันไป ผมเอง เสียดายชื่อนี้ เพราะมันเบิกทางให้หลายคนรู้จัก ชื่อนี้มันเท่ห์ดี คนตั้งชื่อ “เชษฐ์” ไม่รู้ตอนนี้อยู่หรือเปล่า ผมอยากสานต่อไม่อยากให้ชื่อหายไป แล้ว ผมก็สนิทกับ “สุ่ม” วงแครช ไปคุยกันว่าเราจะท�ำกันแบบนี้ไหม เราเคยเห็น คนท�ำค่ายเรามาลองท�ำกันไหม ท�ำ ๆ ไปมันไม่เล่นแหะ แล้วมันเกินกว่าที่ เราตั้งใจไว้คือเรื่องค่าใช้จ่าย แล้วมันเป็นช่วงที่แฟนเพลงมันเริ่มเปลี่ยนไป มันท�ำให้ผมเจอมิวสิคบิซิเนสแบบไม่ต้องลงเรียนที่ไหน เจ็บจริง เจอจริง ๆ จนรู้สึกว่าเราไม่ไหวแล้ว พยายามที่จะรักษามันไว้ มองตากับสุ่มเราบอกกัน ว่าพอก่อนดีกว่า แพ้บ้างก็ได้มันจะได้สอนเราอะไรบางอย่าง คือความตั้งใจ อย่างเดียวมันไม่ได้ มันต้องวางแผนด้วย ตอนนั้นผมเพิ่ง 25-26 เอง เด็ก ล้วน ๆ เลย อ่านเกมไม่ขาด เราก็ลงเงินลงแรงเหมือนหายวับไป มีคนบอก ว่าซีดีมันขายไม่ได้ซึ่งมันก็ขายไม่ได้จริง ๆ ด้วย ซีดีเหลือบาน เอามาเทกอง รวมกันนี่ท่วมตัวผมมิดเลย สองพันแผ่นนี่มันเยอะมากจริง ๆ ก่อนท�ำเราไม่ เห็นภาพ หลังท�ำมาเจอทีถึงกับสะอึก มันต้องคิดมากกว่านี้ดิ เราเลยเลือก ที่จะหยุดท�ำกัน วงที่มาท�ำก็แยกย้าย บ้างก็หยุดบ้างก็ท�ำต่อ เราหยุดไป 5 ปี น่าจะได้ แล้วก็มาเจอกับพี่กัม อยู่แถวบ้าน ปั่นผมทุกวันว่าเมื่อไหร่จะกลับมา ท�ำอีก คนมีแผลมามันเจ็บจริง ๆ ข้างนอกหายแต่ข้างในยังระบม พี่เขาก็ปั่น อยู่หลายปีจนสุดท้ายท�ำแผนงานให้พี่เขาดูว่าโอเคไหม ? ผมก็ยังยืนยันว่าจะ ท�ำเพลงที่ขายไม่ค่อยได้เหมือนเดิม มันท้าทายดี แต่ผมก็จะมาดัดแปลงให้ ผสมผสานฟังง่ายขึ้น ผมก็เดินมาขอสตูดิโอเล็กมาท�ำออฟฟิศเลย ผมบอก ธุรกิจนี้ผมไม่แน่ใจนะ จะงอกงามไหม พี่เตรียมรับกล่องได้เลยแต่ตังส์ผมไม่ แน่ใจนะ พี่เขาชอบความท้าทายเลยอนุมัติท�ำกัน แล้วเมื่อปีที่แล้วก็ให้ ปิ๊ก ผู้จัด Old School Party ช่วยจัดงานลองเชิงกันว่าจ�ำกันได้ป่าว หายไปห้าปี เลยนะ พอวันงานก็เก็บข้อมูลเออพอท�ำได้ อาบน�้ำเปลี่ยนเสื้อผ้าใหม่ เดิน ไปหาวงนั้นวงนี้ชวนกันมาท�ำ เริ่มจากวง No Penguin In Alaska ก่อนเลย ผมถนัดสร้างก็พยายามให้โอกาสวงใหม่ ๆ ซึ่งอย่างที่เห็นตอนนี้มีวงใหม่ ๆ หมดเลย อย่างวง Lasthopper ผมเห็นน้องเขาตั้งแต่เด็ก ๆ น้องเขาพัฒนา ฝีมือมาตลอด ท�ำให้ผมต้องพัฒนาไม่หยุดบ้างละ ถามเจ้าของเงินบ้าง ยังไงครับ ? กัม : ผมปั่นหัวเขามาหลายปี ผมเคยท�ำค่ายเล็ก ๆ มาก่อนแล้วมัน ไม่มีระบบแล้วมันคล้ายกับค่ายที่แบนมาเสนอ ผมหยุดค่ายนั้นแล้วก็ไปบอก แบนว่ากลับมาท�ำกันเหอะ แล้วผมก็มาท�ำ Studio In Park ถึงเวลาแล้ว 018

- BLAST

magazine -

ละมั่งที่ต้องท�ำอะไรแปลก ๆ กันบ้าง ผมก็ไปปั่นแบนต่อให้ใจอ่อน ใจอ่อนป่าว แบน ? ฮา (แบน : ไม่ใจอ่อนนะพี่ พี่ปั่นจนร�ำคาญ ฮาฮาฮา) ฮาฮา ก็ประมาณ นี้ครับ เมื่อก่อนท�ำสเกลใหญ่มันก็เจ็บหนัก เราท�ำสเกลเล็ก ๆ ควบคุมง่ายให้ กลุ่มคนเล็ก ๆ เขายอมรับ ก็ให้แบนเขาจัดการ แบน : ก็เริม่ งานมาได้สกั พักแล้วครับ ท�ำได้ระดับนึงแต่กย็ งั ไม่ดพี อ ผม เอาข้อเสียทุกก้าวเป็นบทเรียน เราไม่ได้มตี น้ ทุนเยอะแยะ เราบริหารกันเล็ก มาก ๆ แต่เล็ก ๆ เราก็จะท�ำให้มนั ดูใหญ่ครับ เหมือนเขียนเสือให้ววั กลัว ฮาฮา มีแผนในใจกันแล้วใช่ ไหมครับ ? กัม : ผมก็มีบ้างนะครับ แต่เรื่องบริหารผมอาจจะไม่เก่งเลยต้องเรียก แบนมาช่วยหน่อย ถ้าให้ผมคิดนี่ท�ำใหญ่เลยนะ มันต้องมีคนมาตบ ๆ เตือน ตลอดว่าอย่าเพิ่งนะ ๆ คือผมมันเป็นคนเก่า ๆ อะ บอกแบนมันต้องเป็นอัลบั้ม สิวะ แบนบอกอัลบั้มใครเขาจะซื้อ ก็มาลดเป็นอีพี เอ็มวีต้องท�ำทุกตัวนะเว้ย แบนก็จะมาบอกพี่ใจเย็น แบน : คือเราก�ำหนดเวลาให้เหมาะสมในการท�ำงาน เราเริ่มมาหกเดือน แล้วลงตูมเลยก็ไม่ได้ เราก็ค่อย ๆ ปล่อยงานให้เห็นทีละนิด เพราะการหาย ไปห้าปีคนเก่า ๆ น่าจะหายกันไป คนใหม่ ๆ ก็อาจจะไม่รู้จัก ผมก็เลยกะเวลา ให้มีการซึมซับว่าค่ายเราคืออะไร ผมก็พยายามท�ำเพลงท�ำวงให้มีเปิดตลาดได้ กว้างขึ้น ผมก็บอกทุกวงว่าท�ำอะไรอย่าเขินนะ ท�ำกันให้เต็มที่ กลับมาครั้งนี้คิดว่ามันเปลี่ยนไปเยอะไหม ? แบน : มันก็เปลี่ยนไปตามเวลานะครับ แนวเพลงนึงที่เคยฮิตมาก ๆ แล้ววันนึงมันหายไป แล้วจู่ ๆ ก็มาบูมเหมือนขึ้น ๆ ลง ๆ ผมยังไงก็คงคอน เซ็ปท์ร็อกเหมือนค่ายสมัยก่อนนะครับ ซึ่งทุกวันนี้มันหายไปหมดละ ผมก็ พยายามสร้างให้ค่ายสครีมแล็ปให้ดูเป็นค่ายร็อกที่ใคร ๆ ก็คิดถึง ผมก็อยาก ให้แบรนด์มันติด ใครอยากฟังเพลงร็อกต้องฟังค่ายนี้ คราวนี้มันก็อยู่ที่ โปรดักส์เราละว่ามันมีคุณภาพขนาดไหนละ ก้าวต่อไป แผนต่อไป เราจะยังไงต่อครับ ? แบน : ตอนนี้เราก็อยู่กันเป็นครอบครัว รับฟังความคิดเห็นทุกคน ออก ความเห็นกันว่าเราจะท�ำอะไรยังไง ผมเน้นที่จะสร้างวงใหม่ ๆ เพื่อให้เขาซึมซับ ผมเองก็อยากได้พลังจากเด็ก ๆ ท�ำให้ผมพัฒนาไปด้วย ทุกวันนี้ก็เขียนงาน ให้ออกทุกเดือน อันไหนขายไม่ได้ อันไหนจะบริหารยังไง อันไหนขายได้เราก็ ลุยแต่เราก็ต้องระวังด้วย ก้าวไหนที่เคยพลาดก็จะไม่ท�ำ อย่างปีหน้าจะมีอะไร สนุก ๆ แน่นอนครับ ยิงยับให้วงการมันสนุกขึ้น เพราะทุกวงทุกคนจะช่วยกัน ครับ ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


EX‘S AND OH’S

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

สายหนักผสมเมโลดีส้ วย ๆ เนือ้ ร้องกินใจ ต้องวงนี้ แฟนคลับติดตามมากมาย ด้วยนักร้องน�ำที่ อัธยาศัยดี อยูใ่ นแวดวงเพลงทางเลือกมานาน โดยเริม่ จากการตัง้ วง Shit Of Blood มาก่อนในช่วงสัน้ ๆ เน้นความมันส์ทะลุแดดจนเกิดอาการเบือ่ หน่าย เลยหันมารวมตัวกับเพือ่ น ๆ ก่อตัง้ วงนีข้ นึ้ มาป้อนแฟน เพลงแบบละมุนละไมมากขึน้

จามาล : เริม่ ตัง้ วงก็รว่ มสิบปีแล้วครับ ก็มเี ปลีย่ นสมาชิกอยูต่ ลอด แรก ๆ ก็แนวทางเมทัล เพราะความวัยรุน่ วัยคะนอง ก็เหมือนทัว่ ไป สนุก มันส์ กันอย่างเดียว เริม่ แรกก็มอี กี ชือ่ นึงจนวันนึง อยากเปลีย่ นรสชาติ เปลีย่ นอาหารกันบ้าง เลยเปลีย่ นชือ่ วงท�ำวงใหม่ เพลงใหม่ แรก ๆ ก็เนือ้ หา ภาษาอังกฤษ หลัง ๆ ก็เริม่ เอียนกันเองอีกแล้ว เลยเปลีย่ นเป็นเนือ้ ร้องภาษาไทยจนถึงทุกวันนี้ สมาชิกวง : จามาล แตรสังข์ - ร้องน�ำ สุภสันต์ วงฤทธิ์ – กีตาร์, ร้องประสาน ภานุมาส สุนทรวิทย์ - เบส ศุภวัฒณ์ วงศ์แสงข�ำ - กีตาร์

- BLAST

magazine -

019


STRAY WOLVES

สมาชิกวง : ถาวร ภัสสรศิรกิ ลุ - ร้องน�ำ สิทธิชยั ไผ่งาม - กีตาร์ บดินทร์ เตชะกฤดาธิการ - กีตาร์ สิทธิพร สวรรค์นมิ ติ สุข - เบส ศักดิด์ า เบญมาตย์ - กลอง

สามในห้ามาจากสมาชิกวงสายหนักทีแ่ ยกย้ายกันออกมาท�ำงานเพลงทีช่ อบกันจริง ๆ ซึง่ นัน้ มีผล ท�ำให้วง “หมาป่าหลงทาง” วงนีท้ ำ� เพลงลืน่ หู ท่อนฮุคโดน ๆ กลิน่ อายลูกผสมแบบโพสท์ ฮาร์ดคอร์ ในเพลง Escape ทีป่ ล่อยออกมาชิมลางกับบ้านหลังใหม่ ท�ำได้ดสี มการรอคอย ไลน์กตี าร์ครู่ งั สรรค์ ไลน์ ได้ทงั้ อ่อน ละมุนจนถึงกระแทกบ้องหูอย่างในเพลง My Decision เพิม่ ดีกรีความหนักรวมถึงเสียงร้องส�ำรอกฟังง่าย คลุกเคล้าได้เยีย่ มจริง ๆ

SW : วงพวกเราเริม่ มาไม่ถงึ ปีครับ มีผลงานออกมาแล้วสองเพลง เราก็เข้ามาเริม่ ทุกอย่างใหม่ หมด อะไรทีอ่ ยากเล่นกันจริง ๆ เราก็ใส่ไว้ในผลงาน ทุกคนในวงคุยกัน กินข้าวกัน พยายามต้องเจอ กันให้ได้หนึง่ วันภายในหนึง่ อาทิตย์ พวกเราเองก็ไม่ได้อยากเล่นแนวเพลงทีห่ นักจนเกินไป ก็ผสม ๆ ระหว่างโพสท์ ฮาร์ดคอร์ พยายามหาสิง่ ทีเ่ ราถนัดมาผสมกันให้โอเคทีส่ ดุ ครับ

020

- BLAST

magazine -

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


THE BURDEN FROM GOD สมาชิกวง : ศุภกิจ ศรีตระกูล (โก้) - ร้องน�ำ นพัตธร สมัครสโมสร (มายด์) – กีตาร์ วรรณธนชาติ เผือกสกนธ์ (โปร) - กีตาร์ วรภส เอกบุตร (มังกร) - กลอง

เมทัล คอร์ สไตล์เก่าเก็บมากฝีมอื ออกตัวครัง้ แรกเมือ่ หลายปีกอ่ น เรียกกระแสฮือฮาได้พอสมควร กระทัง่ จบการศึกษาสมาชิกวงแยกย้ายกันไป ท�ำงาน หายไปหลายปี กลับมาครัง้ นีก้ ย็ งั คงสไตล์เฟีย้ วฟ้าวมะพร้าวห้าวเช่น เคย ใครชอบแบบจัดหนัก ลูกลิคสวย ๆ วงนีค้ ณ ุ ภาพคับแก้ว

BFG : เป็นวงทีต่ ดิ สไตล์เมทัล คอร์ เก่า ๆ อย่างวง Unearth ยุค นัน้ เลย พอเราจะท�ำเพลงก็ตอ้ งปรับตัวกันหน่อย ให้มนั ทันสมัยมากขึน้ ทางวงหยุดหายไปนานก็เพราะแยกย้ายไปท�ำงาน ในใจก็อยากเล่น ไม่อยากทิง้ มันไปเลย พอมาเจอพีแ่ บนก็โดนถามว่ายังเล่นอยูห่ รือเปล่า ? ก็บอกไปว่าแค่หยุดมาท�ำงาน แกเลยชวนมาอยูด่ ว้ ยกัน ท�ำงานไปด้วย ท�ำวงไปด้วย ซึง่ พีแ่ บนเขายังเชือ่ มัน่ ในพวกเราอยู่ ส�ำหรับเพลงแรก Do Not Obey ทีป่ ล่อยออกมาก็พอได้เรือ่ ย ๆ ด้วยความทีห่ ายไปนาน ฐาน แฟนเพลงก็ตอ้ งสร้างใหม่เริม่ ใหม่หมด ยังไงรอติดตามวงพวกเราได้เลย ครับ

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine -

021


จัดว่าเป็นวงทีม่ กี ลุม่ แฟนเพลงติดตามมาก่อนหน้าแล้ว ด้วยเพลงดัง “คิดถึง” “บอกลา” ดรามาติก ร็อก เอาใจวัยรุน่ อกเดาะทัง้ หลาย เคยไปโชว์ศกั ยภาพทีเ่ กาะไต้หวันในมิวสิคเฟสฯ มา แล้วครัง้ หนึง่ ล่าสุด My Way เพลงร็อก กลิน่ อายอิเล็กทรอนิกส์ สร้างบรรยากาศล่องลอย งานดีขนึ้ เนีย้ บ ฟังลืน่ หู ติดตามกันยาว ๆ ส�ำหรับวงนี้

เพลง : แรก ๆ ก็ยงั มึน ๆ งง ๆ ว่าท�ำไมพีแ่ บนชวนมาอยูด่ ว้ ย ตอนแรกผมยังถาม เลยว่าเห็นเป็นน้องหรือเปล่า ? แกบอกถ้าคิดอย่างนัน้ กูไม่ชวนมาหรอก ส่วนเรือ่ งเพลง พวกผมมีตนุ กันไว้อยูแ่ ล้ว แต่ยงั ไงเราก็ตอ้ งสร้างฐานแฟนเพลงใหม่หมดครับ สมาชิกวง : อิทธิพล ทองบุญมา (เพลง) – ร้องน�ำ ณัฐวุฒิ แก้วมณี (แด่ว) - กีตาร์ กวิน ฉอ้อม (วิน) - กีตาร์ เยีย่ มพล ด�ำเนินพิพฒ ั น์กลุ (แน็ป) - เบส นัฐวุฒิ กอศรีสกุล (บอม) - กลอง

022

- BLAST

magazine -

THE 9 0 ’s ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


NO PENGUIN IN ALASKA

อีกหนึง่ วงสไตล์เดธ คอร์ ยุคแรก เริม่ ในวงการ เปิดตัวครัง้ แรกด้วยนักร้อง น�ำสาวเสียงโหด (ปัจจุบนั มีลกู มีสามีไป เรียบร้อย) หน้าตาเรียกความเหีย้ นกระหือ รือของผูช้ มได้ไม่นอ้ ย ความโหดของเมโลดี้ เพลงเข้าขัน้ ทารุณกรรมรูดากส์ชนิดเลือด ออกซิบ ๆ วงก�ำลังขึน้ แต่กต็ อ้ งหยุดชะงัก ด้วยหลายสาเหตุ สุดท้ายก็โดนหัวหน้า ค่ายดึงกลับมาปัดสนิม แถมได้ “เอ็ม” มือ กลองหน้าหล่อกลับมาด้วย

NPIA : พวกเรากลับมาเล่น เมือ่ ตอนทีส่ ครีมแล็ปกลับมาจัดงาน คอนเสิรต์ แต่ละคนแยกย้ายไปท�ำงาน กันหมด พอได้กลับมาเล่นนีโ่ คตรมี ความสุขเลยครับ มีแรงทีจ่ ะท�ำต่อ แต่ ตอนนีจ้ ะติดหน่อยตรงทีม่ อื กีตาร์ตดิ รับ ใช้ชาติอยูเ่ ลยยังไม่ได้ทำ� เพลงอะไรกัน มาก ตอนทีเ่ รากลับมาเล่นก็ยงั มีคนจ�ำ วงเราได้ รูส้ กึ ดีใจครับ

สมาชิกวง : พงศกร เอีย๊ บฮวย (เอีย๊ บ) - ร้องน�ำ ธีรยุทธ ลิว่ วิทยาคม (เอ็ม) – กลอง ธนวัฎ พุม่ จันทร์ (น็อป) - กีตาร์ เฉลิมศักดิ์ ดริยรัตนทัต (แชมป์) - เบส

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine - 023


LASTHOPER

วงลูกหม้อทีอ่ ยูด่ ว้ ยกันมาตัง้ แต่ครัง้ แรก ถูกเรียกตัวกลับมาร่วมงานอีกครัง้ เพลงดัง “รอการพบเจอ” สร้างฐานแฟนเพลงวัยรุน่ ได้อย่างแรง และมีอกี หลายเพลงไปหาฟังกันได้ ล่าสุด Everest กลมกล่อมตามวัยที่ มากขึน้ ละเมียดละไม เนือ้ หาคมคายกระแทกใจ วงร็อกน�ำ้ ดีวงนี้ หลายส�ำนักหลายเกจิตา่ งก็ฟนั ธง ไปได้อกี ไกล ขยัน นิสยั ดี นีแ่ หละเสน่หว์ งร็อกขวัญใจในอนาคต

LH : ดีใจที่ได้กลับมาท�ำงานร่วมกับพีแ่ บนอีกครัง้ แนวเพลงของพวกเราก็เกิดมาจากความคิดห้าคน ภายในวง ชีวติ แต่ละคนเอามาใส่เป็นวัตถุดบิ จะให้ไปในทางไหน เหมือนเป็นอุบตั เิ หตุทางความคิด เรา เรียกกันเองว่า Accident Rock ครับ

สมาชิกวง : ทวีทรัพย์ อาจอ�ำนวย (อาร์ท) - ร้องน�ำ ปัฐฎสิทธิ์ ห้วยห้อง (เต้) - กีตาร์ จักรพงษ์ จันทร์กลุ (พง) - กีตาร์ องอาจ สายป้อง (งู) - เบส จักรพันธ์ จันทร์กลุ (พัน) - กลอง 024

- BLAST

magazine -

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


ขอขอบคุณ : สถานที่ Studio In Park / ผูจ้ ดั การค่าย อัน๋ บีเวอร์

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine - 025


BLAST OFF

BLAST TEAM

W E D N E S D AY

E X TA Z Y

สิปปกร เพียงค�าพร – ร้องน�า อมร ซังบุศบา – เบส ณัฐพล ประกิง่ - กลอง เมธา ไทรัตนาภิรมย์ – กีตาร์ ภาคภูมิ หอมกลิน่ – กลอง (ส�ารอง) https://www.facebook.com/ExtazyHCPC หนึง่ ต�านานวงสายรากหญ้าจากแดนประตูอสิ าน อ�าเภอปากช่อง นครราชสีมา จ�าได้ดเี มือ่ สิบปี เศษทีแ่ ล้วผูจ้ ดั ทีป่ ากช่องเชิญวงจากกรุงเทพฯ ไปเปิดประสบการณ์ความมันส์ให้เหล่าวัยรุน่ ซาดิสม์ หลายวงไปถล่มและมีวงพืน้ ทีท่ ชี่ อื่ Extazy อยู่ในลิส วงยังวัยเยาว์หาแนวทางกัน ซึง่ เพลงทีเ่ ล่นก็ ผสมจากสิง่ ที่ได้ฟงั มา มีทงั้ นู เมทัล พัง้ ก์ ฮาร์ดคอร์ แต่อย่างน้อยวงนีค้ อื วงแรก ๆ ทีท่ า� ให้รสู้ กึ ตืน่ เต้นว่าต่างจังหวัดได้กอ่ ก�าเนิดคนพันธุเ์ ดียวกัน ทุกวันนีก้ ย็ งั คงโลดแล่นกันประปราย “เต๊าะ” ร้องน�า และหัวหน้าวงก็เปิดกิจการเสือ้ ผ้า Rockdamn Clothing พร้อมคอยขับเคลือ่ นวงการอิสานใต้ให้เป็น ทีร่ จู้ กั และเร็ว ๆ นีจ้ ะไปทัวร์รอบสองทีป่ ระเทศอินโดนีเซีย ด้วยความเคารพครับ

H E N R Y B E A G L E ลุค ทาวน์เซน (ลุค) - คียบ์ อร์ด กรมินทร์ คงรอด (มีน) – ร้องน�า, ซินธ์ฯ เตวิชช์ กฤษณามระ (เต้) – กีตาร์ นิธศิ แสนตรง (บิลลี)่ – กลอง ณัฐสิทธิ์ ตูพานิช (โต๊ด) - เบส https://www.facebook.com/HenryBeagleTheBand วงป็อปหน้าใหม่ ฟังง่ายสบายหู ปล่อยเพลง Repeace ออกมาให้ฟงั ซึง่ นักร้องน�าสร้างเอกลักษณ์ดว้ ยการใส่เอีย๊ มยีนส์สีให้เป็นทีจ่ ดจ�า แถมรับหน้าที่ แต่งเนือ้ ร้อง ท�านองคนเดียวเบ็ดเสร็จหลากความสามารถจริง ๆ ดูจากสมาชิกวงคนอืน่ เข้าขัน้ หน้าตาหล่อเหลาเอาการ เผลอ ๆ ซิงเกิล้ ต่อไปอาจจะดัง เปรีย้ งปร้างก็เป็นได้ ถ้าเพลงขยับจังหวะสนุก ๆ ผสมปนเปกันไป 026

- BLAST

magazine -

สนใจอยากลงโปรโมทวง ไม่จำ� กัดแนวทำง จะเดีย่ ว จะเป็นวง มำได้หมด ส่งอีเมลมำได้ที่ leesic@gmail.com ยินดีนำ� เสนอเผยแพร่ให้รจู้ กั กว้ำงมำกขึน้

Puttho Suksriwan - กีตาร์ Chigusa Tomita - เบส Ginn Sentaro - กลอง Nuttakorn Sinlawat – กีตาร์ https://www.facebook.com/putxwednesday แทบจะเป็นวันแมนโชว์กนั เลยทีเดียวเชียวของ พุต Wednesday ซึง่ ก่อตัง้ วงมาก็หลายปี เล่นคนเดียวมาพอควร เลยดึงเพือ่ น พี่ น้องในวงการมาช่วย เล่นให้อยู่ จากอดีตหนุม่ นักเรียนนอกท�าร้าน Harmonica เปิดไลฟ์โชว์ วง สายโพทส์ ร็อกไปเยือนให้เพียบ ไหนจะเป็นคนจัดงานดึงวงต�านานอย่าง Melt Banana, Shonen Knife มาเล่นในบ้านเรา ไหนจะไปเล่นเบสในวงฮาร์ดคอร์ CANA เพิง่ ออกงานชุดล่าสุด Surfing Ghost ทิง้ ห่างชุดแรก Lazarus สองปี แฟนเพลงก็รอฟังกันเพียบ เป็นงานทีโ่ คตรเฟีย วฟ้าวถ้าได้ดเู ล่นสดด้วยจะเพลิน ไปกับมือเบสหญิง ซาวด์กตี าร์ทมิ่ แทงบาดลึก ไลน์กลองเชือ่ ใจได้ หวดได้สะเด่า อุดหนุนผลงานกัน แนะน�าเลย

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine - 027


BLAST OFF

BLAST TEAM

I G O T O S C H O O L B Y B U S

H O M e R U N ธีรวัฒน์ อุนจะน�ำ (ปอ) – ร้องน�ำ มาณพ ตัง้ อรุณสันติ (โมชิ) – คียบ์ อร์ พีรวิชญ์ หรูวจิ ติ ร์พงษ์ (ปิงปอง) - กลอง https://www.facebook.com/homerunbandofficial อดีตนักร้องน�ำวง Soul-da ค่ายย่านอโศกทีต่ อนนีอ้ อกมาฟอร์มวงใหม่ ปล่อย ซิงเกิล้ แรก “ยิม้ ทัง้ น�ำ้ ตา” อยูก่ บั ค่าย Five Four Records ซึง่ ค่ายนีก้ ม็ ที งั้ วิน รัตนพล (วิน โปเตโต้) เป็นศิลปินเดีย่ วในสังกัดด้วย เรียกว่าคุณภาพค่ายและทีม งานคับแก้ว แค่เพลงแรกก็ถกู ใจวัยรุน่ อกเดาะเป็นทิวแถว เหลือบไปเห็นมือมาส เตอร์รงิ่ ท�ำโดย Andy Walter ณ Abbey Road Studios ทีอ่ งั กฤษประสบการณ์ ระอุมาก ทัง้ ซาวด์แทร็คหนังอย่างแฮรี่ พอตเตอร์ หรืองานบันทึกเสียงไลฟ์ของวง U2 เพลงนีท้ มุ่ ทุนสร้างจริง ๆ

เติด๊ ได หนุม่ ธนดล เจนจิรโฆษิต (เติด๊ ) - กลอง กรเอก อุทากรณ์ (เจได) - ร้อง ชนน รัตนวิโรจน์ (หนุม่ ) - กีตาร์ https://www.facebook.com/ThirdDiNoom เป็นวงสุดกวนทีส่ ร้างชือ่ มาได้สองสามปีแล้ว ด้วยแนวทางเพลงเมทัล คอร์ ผสมคอมเมอดี้ เนือ้ ร้องโคตรกวนทีน ฟังแล้วอดฮาแตกไม่ได้ เอาจริง ๆ ภาคดนตรีไม่ได้ขเี้ หร่ไปกว่าวงไหน ๆ เลย เพียงแต่ทางวงเน้นความฮามากกว่า ท�ำให้มแี ฟนเพลงอยากดูเล่นสดกันเพียบ เพลงแรกทีส่ ร้างชือ่ “กินข้าวยัง ครับ” นาทีกว่า ๆ แต่โคตรได้ จากนัน้ ก็ทยอยปล่อยเพลงเรียกเสียงหัวเราะ “น้องโซดาสีข่ วด” “ต้มข่า” “อะไรก็ได้” “ตัดผม” และล่าสุด “เมีย” ใครทีย่ งั ไม่ ได้ลมิ้ ลองความแรงแบบเนือ้ ไทย จัดไปอย่าให้เสีย ฮาฮาฮา 028

- BLAST

magazine -

สนใจอยากลงโปรโมทวง ไม่จำ� กัดแนวทาง จะเดีย่ ว จะเป็นวง มาได้หมด ส่งอีเมลมาได้ที่ leesic@gmail.com ยินดีนำ� เสนอเผยแพร่ให้รจู้ กั กว้างมากขึน้

พงษ์อนนต์ กูช้ สู อน (น�ำ้ พุ) – ร้องน�ำ วรรธนชาติ เผือกสกนธ์ (โปร) - กีตาร์ จิตภูมิ เมืองสุวรรณ (โบ้) - เบส ธนาธร ชุตวิ ทิ รู ชัย (เต้น) - กลอง https://www.facebook.com/igorockz อีกหนึง่ วงร็อกฟังง่าย สบายหู เนือ้ หากระแทกใจวัยรุน่ ด้วยเพลงล่าสุด “ฝันกับจริง” น�ำ้ เสียงนักร้องน�ำเข้าถึงอารมณ์เนือ้ ๆ แน่น ๆ ภาคดนตรีเยีย่ ม เคยเห็นในลิสเล่นงานโคตรอินดี้ แต่ไม่เคยมีโอกาสได้ดู เอาเป็นว่าท�ำเพลงกัน ต่อไปเพือ่ พิสจู น์คณ ุ ภาพวง เชือ่ ว่าจะมีเพลงเจ๋ง ๆ ออกมาอีกแน่นอน

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine - 029


OLD RECORD STILL ALIVE

(1) คงจะไม่เกินเลยไปนักหากจะ กล่าวว่า “มีเพียงวงเมทัล อันเดอร์กราว น์ดชัน้ น�าของบ้านเราเพียงไม่กวี่ งที่ สามารถจะก้าวขึน้ ไปประสบความส�าเร็จ กับค่ายเพลงขนาดใหญ่ได้อย่างมัน่ คง” ทีผ่ า่ นมาแม้จะมีวงดนตรีระดับหัวแถว หลายรายไม่วา่ จะเป็น “ดอนผีบนิ ” ที่ได้ โอกาสออกงานกับทาง Warner Music และ Giraffe Records (สังกัดในเครือ แกรมมี)่ , Growing Pain กับทาง Real & Sure (สังกัดลูกของ RS.Promotion) รวมไปถึง Dezember กับสังกัดเมเจอร์ อย่าง Sony Music แต่ทกุ วงทีก่ ล่าวมา ต่างก็ไม่ถงึ กับประสบความส�าเร็จอย่าง ถล่มทลายแต่อย่างใดเลย ขณะเดียวกัน บางวงอย่าง “มักกะโรนี” ถึงขนาดจ�า ต้องย้ายสังกัดจาก Eminer (สังกัดลูก ของ EMI) ไปซบ Perfect Records เพือ่ ทีจ่ ะออกวางจ�าหน่ายอัลบัม้ “ฌาปนกิจ” งานเพลงชุดแรกของพวกเขาในปี 2539 ในส่วนของ Medusa ถึงกับจ�าต้องกลาย เป็นวง I’m Fine Thank You พร้อมกับ เปลีย่ นแนวทางไปเป็นวงอัลเตอร์เนทีฟ 030

- BLAST

magazine -

กันเลยทีเดียว จะมีกแ็ ค่วงอย่าง “อีโบ ล่า” และ Brandnew Sunset เท่านัน้ แหละทีด่ เู หมือนว่าจะประสบความ ส�าเร็จได้อย่างยาวนานมาจนกระทัง่ ทุก วันนี้ อย่างไรก็ดหี ากเราลองตรึกตรอง กันอีกสักนิดก็จะพบว่ามีวงดนตรีเมทัล อันเดอร์กราวน์ดในบ้านเราอีกหนึง่ วงที่ สามารถก้าวขึน้ มาประสบความส�าเร็จ ในระดับวงกว้างได้อย่างต่อเนือ่ งและ ยาวนาน อีกทัง้ งานเพลงของพวกเขาก็ ยังไม่เคยออกวางจ�าหน่ายในแบบใต้ดนิ แม้แต่ชดุ เดียว ซึง่ วงดนตรีดงั กล่าวก็คอื Silly Fools วงดนตรีมากฝีมอื ทีบ่ รรดา คอเพลงวัยรุน่ ขาร็อกทัง้ หลายรูจ้ กั มัก คุน้ กันเป็นอย่างดีนนั่ เอง และในวันนี้ ผมเองก็จะมาเจาะเวลาพาทุก ๆ ท่าน ไปท�าความรูจ้ กั กับพวกเขาอย่างทะลุ ปรุโปร่งกันเลยทีเดียว ดังนัน้ แล้วอย่าง ช้าไปลุยกันเลยครับ!!! จุดเริม่ ของ Silly Fools นัน้ เกิดขึน้ โดยมี “ต้น” จักรินทร์ จูประเสริฐ มือ กีตาร์ของวงผูฟ้ อร์มวงร่วมกับ “เต้ย” กอบภพ ใบแย้ม มือกลอง ซึง่ ต่อมา

ก็ไปได้ตวั “โต” ณัฐพล พุทธภาวนา และ “หรัง่ ” เทวฤทธิ์ ศรีสขุ เข้ามา เสริมทีมในฐานะของนักร้องน�าและมือ เบสตามล�าดับ โดยในยุคแรกนั้นพวก เขายังใช้ชอื่ วงกันว่า Silly Foolish กัน อยู่ แต่ภายหลังก็ได้ตดั เหลือเพียงแค่ Silly Fools อย่างทีเ่ ราได้รู้ ๆ กัน กล่าว ได้วา่ ในช่วงแรกของทางวงก็ไม่ตา่ งจาก วงเมทัล อันเดอร์กราวน์ดหน้าใหม่ ทัว่ ๆ ไปทีต่ อ้ งเล่นเพลงคัฟเวอร์วงอย่าง Sepultura เป็นหลัก ในขณะเดียวกัน ก็ได้เริม่ ต้นเขียนเพลงของตนเองเก็บไว้ บ้างและก็ได้มโี อกาสขึน้ แสดงสดตาม งานต่าง ๆ บ้างตามโอกาสอาทิเช่นงาน Home Sweet Hell ทีจ่ ดั ขึน้ ณ X Rock Pub แถบย่านฮอลลีวดู สตรีท ในช่วงวัน ที่ 4 สิงหาคม 2539 ซึง่ งานในวันนัน้ พวก เขาได้ขนึ้ แสดงสดร่วมกับวงอย่าง “อีโบ ล่า”, Dezember, Growing Pain และ “มักกะโรนี” หลังจากนัน้ ไม่นานทางวงก็ได้ โอกาสส่งเดโมของตนไปยังสังกัดอย่าง Bakery Music จนในทีส่ ดุ ก็ได้โอกาส

ออกอีพีในชือ่ ของ Bakery Sampler ร่วมกับวงหน้าใหม่ในยุคนัน้ อย่าง “วิเศษ นิยม” และ Stone Soul ซึง่ อีพดี งั กล่าว หลายคนอาจจะรูจ้ กั กันในนามของ “อี พีกล่องกระดาษ” นัน่ เอง อย่างไรก็ดี เพลงจากอีพนี กี้ ไ็ ด้แจ้งเกิดให้กบั พวกเขา ได้อย่างงดงามไม่วา่ จะเป็น “ว่างเปล่า”, “รอยยิม้ ” และ “จิบเดียวก็ซงึ้ แมน” (ชือ่ เพลงท�าเอาผมคิดถึงตัวการ์ตนู ญีป่ นุ่ ใน เรือ่ ง Lucky Man ขึน้ มาในทันที) และหลังจากความส�าเร็จเบือ้ ง ต้นกับผลงานอีพดี งั กล่าวมันก็ได้สง่ ผล ให้ทางวงเริม่ เป็นทีร่ จู้ กั ในวงกว้างมาก ขึน้ ก้าวเข้าสูป่ ี 2541 ทางวงก็ได้สร้าง ความฮือฮาให้กบั แวดวงการเพลงอีกครัง้ เมือ่ พวกเขาได้โอกาสเซ็นสัญญากับทาง More Music ค่ายเพลงลูกข่ายไฟแรง ในเครือของแกรมมีพ่ ร้อมกับได้โอกาส ปล่อย I.Q.180 ผลงานสตูดโิ ออัลบัม้ เต็ม ชุดแรกออกวางจ�าหน่าย แต่ดว้ ยความที่ งานชุดนีย้ งั มีเพลงทีห่ นักหน่วงดุดนั เกิน กว่าทีแ่ ฟนเพลงร็อกทีย่ งั ไม่คนุ้ ชินกับเพลง เมทัลหนัก ๆ สักเท่าไหร่นกั จะรับกัน ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


METALMANIAC

ได้ในวงกว้าง มันก็ได้สง่ ผลให้อลั บัม้ นี้ ไม่ประสบความส�าเร็จเท่าทีค่ วร แต่ถงึ กระนัน้ พวกเขาก็ยงั มีเพลงฮิตทีถ่ กู หูของ ผมรวมไปถึงแฟนเพลงอยูห่ ลายแทร็คด้วย กันทีด่ จู ะโดดเด่นกว่าใครอยูส่ กั หน่อย ก็นา่ จะเป็น “สูไ้ ม่ได้” (แทร็คนีถ้ อื เป็น เพลงทีแ่ สดงตัวตนของ Silly Fools ใน ยุคดัง้ เดิมได้เป็นอย่างดี) ขณะทีเ่ พลงบัล ลาดอย่าง “เมือ่ รักฉันเกิด” ทีม่ าในสไตล์ อะคูสติกแทร็คก็ถอื เป็นอีกเพลงทีส่ ร้าง ชือ่ ให้กบั พวกเขาได้เป็นอย่างดีทเี ดียว แม้จะเอ่ยไม่ได้วา่ อัลบัม้ I.Q.180 จะประสบกับความล้มเหลวอย่างสิน้ เชิง อย่างไรก็ตามทางวงยังโชคดีที่ได้โอกาส แก้ตวั อีกครัง้ หนึง่ ปีถดั มา Candy Man สตูดโิ ออัลบัม้ ล�าดับที่ 2 ของพวกเขาก็ได้ ออกวางจ�าหน่ายอีกครัง้ พร้อมกับการ เปลีย่ นแปลงตัวสมาชิกเมือ่ ได้ตวั “ต่อ” ต่อตระกูล ใบเงิน เข้ามาเสียบแทนที่ “เต้ย” กอบภพ ใบแย้ม มือกลองคนเดิม ขณะเดียวกันซาวด์โดยรวมของอัลบัม้ นี้ ก็ดจู ะอิงเข้าหาตลาดกันอย่างเต็มที่ ซึง่ ก็แน่นอนว่ามันได้สง่ ผลให้อลั บัม้ ชุดนี้ ประสบความส�าเร็จได้อย่างงดงาม โดย มีเพลงดังอย่าง “อย่าบอกว่ารัก” และ “ไหนว่าจะไม่หลอกกัน” เป็นแทร็คฮิต ทะลุทะลวงใจแฟนเพลงทีช่ นื่ ชอบเพลง ชนิดฟังง่าย ในส่วนของเพลงดังอืน่ ๆ ในอัลบัม้ นีก้ ม็ ที งั้ “เพียงรัก”, “นางฟ้า”, “ฝัน” รวมไปถึง “Hey” ส่วนตัวผมเองนัน้ ในช่วงแรกที่ อัลบัม้ นีอ้ อกใหม่ ๆ ผมเองก็ไม่ทราบ ว่าพวกเขาเปลีย่ นแปลงแนวเพลงให้องิ เข้าหาตลาดมากขึน้ จ�าได้วา่ ตอนนัน้ เพือ่ นหลานคนหนึง่ ฝากหลานผมซือ้ อัลบัม้ ชุดนีข้ อง Silly Fools กับอัลบัม้ ของวง Bubble Girls (วงป๊อปเกิรล์ กรุป๊ ในสังกัดแกรมมีน่ แี่ หละครับ) บังเอิญ ผมก็อยูต่ รงนัน้ ด้วย ยังคิดเลยว่า ‘เพือ่ น หลานผมคนนีม้ นั ฟังเพลงของ Silly Fools ด้วยหรือ?’ แต่พอครัน้ ได้ฟงั อัลบัม้ นีแ้ บบ เต็ม ๆ มันก็ทา� ให้ผมเริม่ รูส้ กึ ได้วา่ ‘นีม่ นั ไม่ใช่ Silly Fools ทีเ่ ราเคยรูจ้ กั เลยนีห่ ว่า’ และมันก็ทา� ให้ผมบอกลาพวกเขาไปใน ห้วงระยะเวลาหนึง่ เลยละครับ มาถึงเวลานีเ้ ข้าท�านองสุภาษิต ไทยทีว่ า่ “น�า้ ขึน้ ให้รบี ตัก” ในราวกลาง ปี 2543 Mint สตูดโิ ออัลบัม้ ล�าดับที่ 3 ก็ออกวางจ�าหน่ายต่อเนือ่ งในทันที แน่นอนว่างานเพลงชิน้ นี้ได้รบั การตอบ รับจากแฟนเพลงชนิดอุน่ หนาฝาคัง่ เช่น เคย โดยมีเพลงฮิตท่วงท�านองสนุกสนาน อย่าง “จิจ๊ ะ๊ ” และ “150 CC” เป็นหัว ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

หอกส�าคัญ ขณะทีเ่ พลงบัลลาดหวาน และเพลงท่วงท�านองปานกลางก็ยงั คงอัด แน่นอยูเ่ ต็มอัลบัม้ ไม่วา่ จะเป็น “คิดถึง”, “ไม่”, “เพลงนีเ้ กีย่ วกับความรัก” ส่วน อีกเพลงทีจ่ ะลืมไม่ได้เลยก็คอื “บัน้ ท้าย” แทร็คทีผ่ มชืน่ ชอบอีกเพลงนัน่ เอง และ จากความฮอตฮิตของอัลบัม้ ชุดนีม้ นั ก็ได้ ส่งผลให้ทางวงสามารถก้าวขึน้ ไปคว้า รางวัลใหญ่ทางดนตรีอย่างสีสนั อวอร์ดส์ ในปี 2543 ทัง้ ในสาขาศิลปินร็อกยอด เยีย่ มและอัลบัม้ ร็อกยอดเยีย่ ม เรียกได้ ว่าถึงเวลาชือ่ ของ Silly Fools ได้กลาย เป็นวงร็อกระดับหัวแถวไปโดยปริยาย นอกจากนีแ้ ล้วในปีดงั กล่าวทาง Bakery Music ได้จดั การน�าผลงานอีพีในปี 2539 มาออกวางจ�าหน่ายอีกครัง้ ในรูปแบบ แผ่นซีดนี ยั ว่าเพือ่ ให้แฟนเพลงได้ตามเก็บ สะสมกันอีกครัง้ นัน่ เอง ส่วนตัวผมเองในช่วงปลายปีนนั้ ก็ สบโอกาสได้ชมพวกเขาแสดงสด (เป็น ครัง้ แรกและครัง้ เดียว) ในงานทีท่ าง A-Time Media ร่วมกับสังกัด EMI จัด ขึน้ เมือ่ ช่วงวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 โดยมีวงดังอย่าง UltrachuadZ และ The Moffatts (วงดนตรีพนี่ อ้ ง 4 คนชาวแคนาดาจากสังกัด EMI) ขึน้ แสดงสดในครัง้ นัน้ ด้วย ซึง่ ก็บอกได้อย่าง เต็มปากเลยว่าพวกเขานัน้ เป็นวงทีแ่ สดง สดได้อย่างดุดนั เต็มไปด้วยพลังอย่าง แท้จริงครับ ทิง้ ช่วงไปในราวเกือบ 2 ปี ใน ทีส่ ดุ Juicy สตูดโิ ออัลบัม้ ล�าดับที่ 4 ของ พวกเขาก็ได้ออกวางจ�าหน่าย และก็ยงั

เป็นผลงานอีกชุดหนึง่ ของทางวงทีย่ งั คง ประสบความส�าเร็จได้อย่างต่อเนือ่ ง ชนิด ทีพ่ ดู ได้วา่ ถึงเวลานี้ไม่มีใครหน้าไหนจะ หยุดยัง้ ความพีคของพวกเขาได้อกี แล้ว หลาย ๆ เพลงในอัลบัม้ นีล้ ว้ นแต่ฮอตฮิต ไม่แพ้กนั โดยเฉพาะอย่างยิง่ เพลงจังหวะ สนุกทัง้ “บ้าบอ” และ “ขีห้ งึ ” สองเพลง ทีพ่ ดู ได้วา่ เป็นแทร็คทีถ่ กู หูผมแบบสุด ๆ ในขณะทีแ่ ทร็คอืน่ ๆ อย่างเช่น “แกล้ง”, “น�า้ นิง่ ไหลลึก” และ “วัดใจ” ต่างก็ได้รบั ความนิยมในระดับที่ไม่แพ้กนั เลย และ ในช่วงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2545 นัน้ เองทางวงก็ได้ขนึ้ เวทีคอนเสิรต์ ใหญ่ใน งาน Fat Live V.3 ทีถ่ กู จัดขึน้ ณ สนาม อินดอร์สเตเดียม หัวหมาก ซึง่ ก็ถอื เป็น งานคอนเสิรต์ ใหญ่ครัง้ แรกของพวกเขา โดยภายหลังมีการน�าคอนเสิรต์ ในครัง้ นีม้ าผลิตเป็นอัลบัม้ บันทึกการแสดงสด (แผ่นคู)่ วางจ�าหน่ายในชือ่ Fat Live: V3 ขบวนการ Silly Fools สีสนั สดใส ก่อน ที่ในช่วงปี 2557 ทีผ่ า่ นมามีการน�ามา ออกวางจ�าหน่ายอีกครัง้ ในรูปแบบของ ดีวดี เี พือ่ ให้แฟนเพลงได้สะสมกันอย่าง ครบครันมากขึน้ และจากความฮอต ฮิตของอัลบัม้ นีม้ นั ก็ได้สง่ ผลให้พวกเขา สามารถก้าวขึน้ ไปคว้ารางวัลใหญ่อย่าง สีสนั อวอร์ดส์ประจ�าปี 2545 ในสาขา ศิลปินร็อกยอดเยีย่ มได้อกี ครัง้ ขณะที่ ในปี 2546 แม้วา่ จะทางวงจะยังไม่มผี ล งานใหม่ออกวางจ�าหน่าย แต่ถงึ กระนัน้ พวกเขาก็ยงั ดอดไปคว้ารางวัล “ศิลปิน ในดวงใจศิลปิน” จากงานแจกรางวัล Fat Awards ครัง้ ที่ 1 อีกหนึง่ รางวัล

ก้าวเข้าสูป่ ี 2547 King Size ผล งานสตูดโิ ออัลบัม้ ล�าดับที่ 5 ของทางวง ก็ได้ออกวางจ�าหน่าย จุดเด่นอีกอย่าง ของอัลบัม้ นีก้ ค็ อื ภาพปกอัลบัม้ ทีส่ มาชิก ทัง้ 4 ของวงในมาดของนักเพาะกาย ทีโ่ ชว์กล้ามเนือ้ ชนิดสุดจะเซ็กซี่ (น่าจะ เป็นการแต่งภาพเป็นแน่) ส�าหรับภาพ รวมของอัลบัม้ นีก้ ย็ งั คงตัวตนในแบบ ฉบับของ Silly Fools ได้อย่างครบถ้วน เหมือนเช่นเคย โดยมีเพลงฮิตอย่าง “น�า้ ลาย” เป็นแทร็คทะลุทะลวงชนิดที่ เรียกว่าได้ฟงั ทราบในทันทีวา่ นีแ่ หละ เพลงของ Silly Fools ขณะทีเ่ พลงดัง แทร็คอืน่ ๆ ทีแ่ ฟนเพลงหลงใหลได้ปลืม้ กันเป็นพิเศษก็คงหนีไม่พน้ ไปจาก “แล้ว แต่แป๊ะ”, “ไม่หวัน่ แม้วนั มามาก” (ชือ่ เพลงได้ยนิ แล้วท�าเอาผมชอบเลยครับ), “คนทีฆ่ า่ ฉัน” และ “หนึง่ เดียวของฉัน” อย่างไรก็ดแี ม้คณ ุ ภาพของพวกเขาจะ ยังคงไม่ตกไปจากมาตรฐานเดิมทีเ่ คย ท�าเอาไว้ แต่ดว้ ยความที่ในช่วงเวลานัน้ มีวงดนตรีหน้าใหม่กา้ วขึน้ มาอย่างต่อ เนือ่ ง ประกอบกับพวกเขาทิง้ ช่วงไปใน ราวเกือบ 2 ปีดว้ ยกันมันก็เลยส่งผลให้ ยอดขายของอัลบัม้ นีด้ จู ะไม่พคี เท่ากับ งานทีผ่ า่ น ๆ มาของทางวงเท่าไหร่นกั แม้ในช่วงปี 2548 พวกเขาจะไม่ได้มขี า่ ว คราวส�าคัญอะไรเล็ดรอดออกมา แต่ถงึ กระนัน้ ทางวง Silly Fools ก็ยงั ดอดไป คว้ารางวัล “ศิลปินไทยยอดนิยม” ของ งาน MTV Asia Awards 2005 มาครอง ได้อย่างเต็มภาคภูมิ - BLAST

magazine -

031


BLAST SPECIAL

: ONE HELL LIVE IN PHILIPPINES 1 1 / 1 0 / 2 0 1 7 @ K I A T H E AT E R

สารภาพว่าก่อนไปดูคอนเสิร์ตนี้ ผมไม่มีความรู้ใด ๆ เกี่ยวกับฟิลิปปินส์มา ก่อนเลยแม้แต่นิดเดียว แค่จ�าได้ในหัวลาง ๆ มาตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมว่า เป็นประเทศที่ มีเกาะแก่งมากมาย ผู้คนหน้าตาคล้ายคลึง กับคนไทย พ้นจากนี้ มืดแปดด้านครับ และ พอเริ่มลงมือท�าความรู้จักมากขึ้น ก็ได้ แต่ช็อกเบา ๆ เพราะเอาเข้าจริงแล้วมันเป็น ประเทศที่ค่อนข้างอันตราย มีรัฐบาลของ หลายประเทศ ประกาศให้ฟิลิปปินส์เป็น พื้นที่สีด�าส�าหรับนักท่องเที่ยว ด้วยเหตุผล ง่าย ๆ ว่ามันเป็นดินแดนแห่งอาชญากรรม ไม่อยากซวย ไม่อยากตาย ก็อย่าไป!

นานาชาติ นินอย อาคีโน (สถานะเทียบ เท่ากับสุวรรณภูมบิ า้ นเรา) แล้วกราดยิง ใส่ผคู้ นทีอ่ ยู่ในนัน้ ตายไป 37 ศพ บาด เจ็บร่วม 50 ราย เรียกว่ายิง่ สืบค้นเรือ่ ง ราวเกีย่ วกับทีน่ มี่ ากเท่าไหร่ ก็ยงิ่ พบเรือ่ ง ที่ไม่นา่ พิสมัยมากขึน้ เท่านัน้ อย่างไรก็ดคี รับ Slayer ก็สา� คัญ กับผมพอสมควร ถือเป็นหนึง่ ในวงที่ ทรงอิทธิพลสูงสุดในชีวติ นักฟังเพลง และโอกาสทีว่ งจะเวียนมาเล่นแถบนี้ ก็มีไม่บอ่ ยเสียด้วย ถ้าจ�าไม่ผดิ หรือ ตกหล่นอะไรไป ตัง้ แต่กอ่ ตัง้ วงขึน้ ใน ปี 1981 จนถึงปัจจุบนั ตารางทัวร์ของ ไล่มาตัง้ แต่ คดียอ่ ย ๆ อย่าง Slayer เคยเฉีย่ วมาแถวเซาธ์อสี เอเชีย ฉกชิงวิง่ ราว จีป้ ล้น ทีเ่ กิดขึน้ เป็นปกติ แค่โชว์เดียวเท่านัน้ เอง คือ ทีส่ งิ คโปร์ ปี ทุกวัน จนคุกไม่มที ี่ให้ขงั หลัง ๆ ต�ารวจ 2006 และเป็นอะไรทีพ่ ลาดมากส�าหรับ เลยเริม่ ใช้การ ซ้อม กระทืบ สัง่ สอนผู้ แฟนเพลงเช่นผมทีต่ อนนัน้ ตัดสินใจว่า ต้องหาแทนการจับกุม (แล้วแต่กรณี) “ปล่อยไปก่อน เดีย๋ วก็มาอีก” แต่กลาย ส่วนคดีอกุ ฉกรรจ์มากกว่านัน้ ก็เช่น การ เป็นหลังโชว์จบ Slayer ถูกเพ่งเล็งจาก ลักพาตัวนักท่องเทีย่ วไปเรียกค่าไถ่ ที่ รัฐบาลสิงคโปร์ สัง่ ห้ามวงไม่ให้กลับเข้า ช่วง 2-3 ปีมานีส้ ถิตพิ งุ่ สูงขึน้ ไปเป็น มาเล่นในประเทศอีกเป็นอันขาด โอกาส อันดับต้น ๆ ของโลก, การยกพวกยิง ทีว่ งจะมาซ�า้ ก็รบิ หรีล่ งไปทันที หนักไป ถล่มกัน ระหว่างแก๊งนักเลงในย่านสลัม อีกขัน้ คล้อยหลังมาไม่กปี่ ี เจฟฟ์ ฮันเน (ซึง่ คุณอาจพลัดหลงเข้าไปโดยไม่รอู้ โิ หน่ แมน มันสมองหลักของวงก็ชงิ อ�าลาโลก อิเหน่) มากกว่านัน้ ก็เป็นการปล้นฆ่ากัน นี้ไปแบบถาวรเสียอีก ปิดฉากไลน์อพั แบบเถือ่ น ๆ ซึง่ เกิดขึน้ ได้ทกุ เมือ่ แบบ คลาสสิคของวงไปตลอดกาล ไม่เลือกสถานทีแ่ ละเวลา อาทิ เมือ่ 3 พอมีโชว์นที้ ฟี่ ลิ ปิ ปินส์โผล่ขนึ้ มา ความ เดือนก่อน มีคนร้ายควงปืนเข้าไปในเอน คิดผมเลยมีอยูอ่ ย่างเดียว คือ ยังไงเสีย เตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ ของสนามบิน ครัง้ นีจ้ ะไม่ยอมพลาดแน่ ๆ ประกอบ

032

- BLAST

magazine -

กับด้วยเซนส์สว่ นตัว จากการติดตามวง มาอย่างต่อเนือ่ ง ทีเ่ ริม่ รูส้ กึ ขึน้ มาว่าถ้า ไม่ดคู รัง้ นี้ ก็อาจจะไม่มโี อกาสครัง้ ต่อ ไปอีกเลย เพราะเส้นทางของพวกเขา ตลอดกว่า 30 ปีทผี่ า่ นมาได้เดินมาถึงโค้ง สุดท้ายแล้ว ด้วยหลายปัจจัย โดยเฉพาะ ส่วนทีม่ าจากตัวของ ทอม อรายา นัก ร้องน�า/มือเบสของวง อย่างทีท่ ราบกันดี งานของ Slayer ไม่เพียงแค่ดกี รีความดุเดือด รุนแรงของตัวดนตรีทมี่ มี ากกว่าวงร่วม ยุคอย่าง Metallica, Megadeth และ Anthrax เท่านัน้ แต่ยงั มีความโดดเด่น ของเนือ้ หาในทางด�ามืด ต่อต้านความ เชือ่ ของศาสนาคริสต์ ซึง่ ถูกใช้เป็นธีม หลักของวงมาโดยตลอด แต่ประเด็น คือ โดยส่วนตัวแล้ว ทอม อรายา นับถือ คริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก การต้องขึน้ เวทีแล้วร้องเพลงอย่าง “The Antichrist” “Disciple” และเพลงอืน่ ๆ ทีม่ เี นือ้ หาใน แนวทางนี้ จากการแต่งของ ฮันเนแมน กับ คิง (สองคนนี้ไม่นบั ถือศาสนาใด ๆ) มันเลยกลายเป็นความลักลัน่ ทีข่ ดั แย้งอยู่ ภายในของ อรายา มายาวนาน จนถึง ปัจจุบนั เจ้าตัวเริม่ หมดไฟลงไปตาม ล�าดับ ถัดมา ปัญหาเรือ่ งสุขภาพก็เป็น อีกเรือ่ งทีท่ า� ให้ อรายา เริม่ ไม่แฮปปี กับการขึน้ เวทีเท่าเมือ่ ก่อน ประมาณ

ปี 2010 เขามีอาการบาดเจ็บเกีย่ วกับ กระดูกสันหลังและต้นคอ จนต้องเข้ารับ การผ่าตัด ผลปรากฏว่า หมอสัง่ ห้ามไม่ ให้เขาโยกหัวตลอดชีวติ ไม่เช่นนัน้ แล้ว อาจจะส่งผลร้ายแรงจนถึงขัน้ พิการ ถ้า ใครไปไล่ดกู ารแสดงสดผ่านยูทบู ตัง้ แต่ ช่วงปลายปี 2010 จนถึงปัจจุบนั จะเห็น อารายา ขึน้ ไปเล่นเพลงบนเวทีตงั้ แต่ตน้ จนจบ ด้วยท่าทางนิง่ ๆ สนิทไม่มแี อ็ค ชัน่ ดุเดือดใด ๆ จากตัวเขาให้เห็นอย่าง ในอดีต ก็ไม่แปลกทีร่ ะยะหลัง เราจะได้ อ่านบทสัมภาษณ์ในลักษณะทีเ่ ขาเริม่ พูด ถึงการรีไทร์ตวั เองออกไปจากวงอยู่ บ่อย ๆ หรือแม้แต่ เคอร์รี คิง เองเมือ่ ไม่ นานนี้ ก็ออกมาให้สมั ภาษณ์วา่ ปัจจุบนั อารายา “โคตรจะไม่เคลียร์” เลยว่าเอา ไงกันแน่กบั อนาคตของ Slayer ทัง้ หลายทัง้ ปวงทีว่ า่ ท�าให้ผมสรุป เอาเองว่า บัน้ ปลายของแธรชเมทัลต้น ต�าหรับสายโหดวงนี้ใกล้เข้ามาแล้วจริง ๆ อย่างดีทสี่ ดุ อาจจะมีผลงานออกมาได้ อีกสัก 1 ชุด แล้วก็อาจจะยุบวงไปเลย หรือไม่กพ็ กั ไม่มกี า� หนด ส�าหรับการมาเยือนแดนปินอย ครัง้ นีข้ องวง เป็นเหมือนทัวร์เฉพาะกิจ ครับ เพราะความจริงวงหยุดทัวร์ไปแล้ว ตัง้ แต่ชว่ งกลางสิงหาคม แต่กลับมาเล่น ด้วยสาเหตุอะไรผมก็ไม่ทราบ อยูด่ ี ๆ ก็มโี ผล่มาแค่ 3 โชว์ คือบินตรงจาก ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


โดย แอม เอสเตลา

อเมริกามาลงทีฟ่ ลิ ปิ ปินส์ 1 โชว์ ต่อด้วย ข้ามไปเล่นในญีป่ นุ่ อีก 2 โชว์ แล้วก็กลับ ไปพักยาว แรงดึงดูดทีท่ า� ให้ผมเลือกไปดู การแสดงของวงทีฟ่ ลิ ปิ ปินส์มาจากเรือ่ ง ของสถานทีแ่ สดงเป็นหลักครับ เนือ่ งจาก มันเป็นสถานที่ไม่ใหญ่โตมากนัก เดิม เป็นโรงหนังเก่าแก่ แต่ถกู ปรับปรุงให้ กลายมาเป็นทีจ่ ดั อีเวนท์ตา่ ง ๆ จุคนได้ ประมาณ 2 พัน (เล็กกว่าธันเดอร์โดม บ้านเรา) ด้านในแบ่งเป็น 2 ชัน้ หลังตรวจ สอบโครงสร้างภายในผ่านอินเตอร์เน็ต จนทะลุปรุโปร่ง ผมเลือกซือ้ บัตรชัน้ 2 แบบไม่ลงั เล จนมีคนแซวผมเรือ่ งนีว้ า่ ไป ดู Slayer ทัง้ ที แต่ดนั ซือ้ บัตรนัง่ เนีย่ นะ เสียของ... ไม่รสู้ ิ ส�าหรับผมการไปดูคอื ไปด้วยอารมณ์ของการอยากเก็บโมเมนต์ การแสดงสด ๆ ของวงทีเ่ กิดขึน้ ตรง หน้า ตัง้ แต่ตน้ จนจบ ฝังลงไปเป็นภาพจ�า ไว้ในใจแบบไม่มวี นั ลืม เสียมากกว่าจะ เป็นการไปเอ็นจอยกับตัวเองท่ามกลางวง มอซพิท ประเภทโชว์จบแล้วแทบจ�าอะไร ไม่ได้เลย ชัน้ 2 ของโรงหนังแห่งนีจ้ งึ เป็น ต�าแหน่งทีด่ งี ามเอามาก ๆ ส�าหรับคน ทีม่ าเพือ่ ดูอย่างแท้จริงเช่นผม เพราะมัน เป็นเหมือนชัน้ ลอยขนาดใหญ่ ห่างออก มาจากเวทีแค่ 60-70 เมตรเท่านัน้ เอง และก็ไม่มกี ารบุค๊ ทีต่ ายตัว ใครมาเร็วก็ อยูห่ น้า ใครมาช้าก็อยูห่ ลัง ส่วนจะยืน ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

จะนัง่ จะโยก ทุกอย่างฟรี ตามสบายใจ ท่าน แฟนเพลงทีน่ บี่ า้ คลัง่ สุด ๆ ตาม คาด ตัง้ แต่ตอ่ แถวอยูข่ า้ งนอก ยัน แถวถูกปล่อยให้เดินเข้าไปข้างใน มีทงั้ เสียงตะโกน ตะคอก ค�าราม เรียกชือ่ วง Slayer! Slayer! อยูต่ ลอดเวลา แต่ ทีน่ า่ ประทับใจก็คอื ในความเถือ่ นก็ยงั มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่มีใคร ลัดคิว หรือถือวิสาสะของคนรูจ้ กั เบียด เข้ามาแทรกคิวเอาเปรียบคนอืน่ เลย แม้แต่รายเดียว แฟนเพลงในงาน ส่วน ใหญ่เป็นคอเมทัลสายโอลด์สคูล เสือ้ กัก๊ ยีนส์ตดิ แพ็ตเต็มตัว เสือ้ หนังด�าขลับ ปัก ลายไม้กางเขนกลับหัว หรือไม่กเ็ สือ้ ยืดที่ มีสกรีนชือ่ วงแธรชจากยุค 80 เป็นหลัก ส่วนสายเมทัลคอร์ หรือฮาร์ดคอร์ ก็มี มาดูบา้ งประปราย แต่เป็นส่วนน้อยของ คอนเสิรต์ โชว์เริม่ ตรงเวลาเป๊ะ ชนิดทีว่ า่ พอ เข็มนาฬิกากระดิกบอกเวลา 2 ทุม่ ตรง เสียงอินโทร “Delusions of Saviour” ก็ ดังขึน้ ทันที พร้อมกับเสียงตะโกนเรียกวง ของแฟนเพลงทีด่ กั กึกก้องไปทัว่ ถัดจาก นัน้ ทอม อรายา, เคอรี คิง, พอล บอส ตาฟ และแกรี โฮลท์ ก็เดินขึน้ มาประจ�า ต�าแหน่งของตัวเองบนเวทีแล้วบรรเลง “Repentless” ออกมาให้ฟงั เป็นเพลง แรก ตะลึงครับ! ไม่รคู้ นอืน่ เป็นแบบผม หรือเปล่า เวลาทีเ่ ราเห็นศิลปิน หรือวง ดนตรีผา่ นสิง่ พิมพ์หรือผ่านจอทีวมี าเป็น 20 ปี แล้วมาวันหนึง่ คนเหล่านัน้ ก็มาโผล่ อยูต่ รงหน้าเรา เล่นเพลงทีเ่ ราฟังมาทัง้ ชีวติ ให้ฟงั แบบสด ๆ ความรูส้ กึ ทีเ่ กิดขึน้ ภายใน มันจะคล้ายกับอาการที่ไม่อยาก จะเชือ่ ว่าสิง่ ทีเ่ ห็นอยูต่ รงหน้าคือของ จริง เวลานีร้ อบข้างผม ทุกคนลุกขึน้ ยืน โยกหัวกันหมดแล้ว บ้างก็แหกปากร้อง ตามไปกับเพลงอย่างชัดถ้อยชัดค�า จนมี หลายช่วง อรายา ถึงกับหยุดแล้วเปลีย่ น เป็นยิม้ พยักเพยิดหน้าให้คนดูรอ้ งแทน กว่าจะตัง้ สติได้ “The Antichrist” เพลง ถัดมาก็กระแทกเข้าแสกหน้าจัง ๆ พลัง จากการแสดงจากบนเวทีพวยพุง่ ออกมา ปะทะคนดูสงู มาก ผมแอบเหลือบไปมอง ไอ้หนุม่ หน้าเจีย๋ มทีอ่ ยูข่ า้ ง ๆ ณ จุดนี้ หัวมันหมุนเป็นลูกข่างไปแล้ว และหมุน ต่อเนือ่ งไปกับเพลงอย่าง “Disciple” “Postmortem” จนกระทัง่ “Hate Worldwide” เพลงที่ 5 ถูกเล่นจบลง อรายา ถึงเอ่ยปากทักทายแฟนเพลงสัน้ ๆ ประมาณว่าเป็นไงบ้างชาวปินอย รอพวก

เรามานานแล้วใช่ไหม พวกเราก็อยากจะ มาเล่นทีน่ นี่ านมากแล้วเหมือนกัน เสร็จ แล้วก็จดั เซ็ตใหญ่ออกมาถล่มแฟนเพลง อีกรอบ ทัง้ “War Ensemble” “When the Stillness Comes” “You Against You” “Mandatory Suicide” และ “Hallowed Point ทุกอย่างเคลือ่ นตัวไป ข้างหน้าอย่างรวดเร็วจนน่าใจหาย ทีว่ า่ มานีค่ อื ผ่านมาครึง่ โชว์แล้วครับ การแสดง ซาวด์ และโดยเฉพาะแสงสี ออกมายอดเยีย่ มไร้ทตี่ ิ ด้วยความทีม่ นั เป็นโรงหนัง-โรงละคร จึงมีออปชัน่ เรือ่ ง การใช้แสงทีห่ ลากหลายเป็นพิเศษหาก เทียบกับทีอ่ นื่ ซึง่ ก็รบั กับแบ็คดร็อป ฉากหลังทีเ่ ป็นภาพหน้าปกอัลบัม้ ชุด ล่าสุดขนาดมหึมา และพิมพ์ดว้ ยสีเรือง แสงเป็นอย่างดี แต่ทรี่ สู้ กึ เศร้าอยูล่ กึ ๆ คือ ทุกครัง้ ทีเ่ หลียวไปมองทางด้านซ้าย ของเวทีแล้วเห็น แกรี โฮลท์ ยืนปัน่ กีตาร์หวั สัน่ หัวคลอนอยูต่ รงนัน้ มันอด รูส้ กึ ไม่ได้วา่ ถ้ายังคงเป็น ฮันเนแมน คง ดีไม่นอ้ ย เพราะส�าหรับผมยังไง โฮลท์ ก็เป็นคนนอก เป็นสมาชิกวง Exodus อยูด่ ี เขาไม่ใข่ Slayer แม้วา่ จะเล่นออก มาได้เนีย๊ บ และเก็บรายละเอียดโดย รวมทุกอย่างตามที่ ฮันเนแมน เคยท�า ไว้ในต้นฉบับได้ครบทุกเม็ด แต่สา� เนียง เพชฌฆาตอย่างทีเ่ คยมีมนั ขาดหายไป อย่างรูส้ กึ ได้ การแสดงถูกพักสัน้ ๆ อีกรอบ เมือ่ อรายา หยุดพูดแนะน�าว่า “เพลงต่อ ไปเป็นเพลงรักของ Slayer เมือ่ คุณรัก ใครสักคนมาก ๆ คุณจะต้องรักคนนัน้ ต่อไปแม้กระทัง่ ความตายจะมาเยือน...” ก่อนทีเ่ ฮียแกจะตะโกนขึน้ มาว่า Dead! Skin!...แล้วแฟนเพลงก็ตะโกนรับพร้อม ๆ กันว่า Maaaassskkkk! นีถ่ อื เป็นช่วง โคตรเซอร์ไพรส์ “Dead Skin Mask” เป็นหนึง่ ในเพลงช้าไม่กเี่ พลงของวงทีท่ า� ออกมา แต่มนั ไม่ได้เป็นเพลงช้าประเภท ทีม่ ที อ่ นคอรัสสวย ๆ ร้องตามง่าย ๆ การที่ได้เห็นมีแฟนเพลงปินอยร่วมกัน ร้องเพลงนีต้ งั้ แต่ตน้ จนจบแบบกระหึม่ ทุก ประโยค จึงเป็นอะไรทีน่ บั ได้วา่ เซอร์เรี ยลชวนขนลุกอยูเ่ หมือนกัน “Born of Fire” กับ “Bloodline” สองเพลงถัดมา ฉุดให้บรรยากาศกลับ มาสูค่ วามเดือดดาลร้อนแรงเต็มพิกดั อีกครัง้ จบคราวนีเ้ วทีเปลีย่ นฉากไป เป็นโลโก้วง พร้อมแสงสีมว่ งแปลก ตา แล้วความมันส์ชว่ งสุดท้ายก็ถกู อัด เข้ามาแบบรวดเดียวจบ แบบไม่จา� เป็น ต้องมีคา� อธิบายใด ๆ เพิม่ เติมอีก เริม่

จาก “Seasons in the Abyss” “Hell Awaits” “South of Heaven” ตามมา ด้วยไคลแม็กซ์สง่ ท้ายทีท่ า� ให้อารมณ์ของ นักดนตรีบนเวที และคนดู พลุง่ พล่าน ขึน้ ไปถึงขีดสุดกับเพลงอย่าง “Raining Blood” “Chemical Warfare” และ “Angel of Death” รวมแล้วทัง้ หมด 19 เพลง วงใช้เวลาในการแสดงไปประมาณ 90 นาที ก่อนที่ ทอม อรายา จะออก มาขอบคุณคนดูดว้ ยการยกมือประกบ กันไหว้ แล้วเดินหายลับเข้าไปหลังเวที พร้อมกับสมาชิกคนอืน่ ๆ ระหว่างทีผ่ มเดินออกมาหลังโชว์ จบ รูส้ กึ ดีใจอย่างบอกไม่ถกู กับการได้ดู การแสดงของ Slayer ทีฟ่ ลิ ปิ ปินส์ แม้วา่ ลึก ๆ จะมีความหวัน่ อยูบ่ า้ งจากความ ไม่คนุ้ เคยกับสภาพบ้านเมือง ซึง่ ผมเพิง่ มาเหยียบเป็นครัง้ แรกแบบไม่รเู้ หนือรูใ้ ต้ อะไรมาก่อนเลยอย่างที่ได้บอกไว้ตอน ต้นนัน่ แหละ หลังจากสัมผัสมากับตัว โดยตรง ก็พอจะบอกได้วา่ มันมีมมุ มืด และความอันตรายซ่อนอยูจ่ ริง แต่ไม่ได้ เลวร้ายจนเกินรับ 50 / 50 ครับส�าหรับ ชีวติ การท่องเทีย่ วทีน่ ี่ แล้วแต่ดวงว่า จะเจออะไร (ฮา) ทีแ่ น่ ๆ ทัง้ เมือง ร้าน ทุกร้าน เซเว่นอีเลฟเว่นทุกแห่ง ต้อง มี รปภ. ถือปืนคอยคุม้ กัน ด้วยใบหน้า ถมึงทึง พร้อมระเบิดขมองทุกคน หาก แหลมเข้ามาด้วยจุดประสงค์ไม่ดี ทีน่ า่ สะพรึงมากกว่านัน้ ในความคิดผม คือ ป้ายข้อความทีว่ า่ “กรุณาฝากปืนก่อนเข้า รับบริการภายในร้าน” ซึง่ ไม่ใช่มกุ ตลก ร้ายมีไว้ให้ขา� เล่น ๆ แต่อย่างใด เพราะ ประเทศนีค้ อ่ นข้างหาปืนง่าย และปล่อย ให้บคุ คลทัว่ ไปครอบครองปืนได้อย่าง เสรี ก็ไม่แปลกทีส่ ดุ ท้ายมันจะน�าไปสู่ อาชญากรรมต่าง ๆ มากมาย ถามว่าตอนนีถ้ า้ ให้ยอ้ นกลับ ไปเลือกใหม่อกี ครัง้ ระหว่างญีป่ นุ่ กับ ฟิลปิ ปินส์ ผมก็ยงั เลือกมาดูที่ ฟิลปิ ปินส์เหมือนเดิมอยูด่ ี เพราะไม่เพียง บรรยากาศในคอนเสิรต์ ทีค่ อ่ นข้างมัน่ ใจ ได้วา่ บ้าคลัง่ กว่า สุดขัว้ กว่าทีญ ่ ปี่ นุ่ เท่านัน้ แต่ภมู ทิ ศั น์โดยรวมภายนอก ทีเ่ ต็มไป ด้วยโบสถ์คริสต์อยูแ่ ทบทุกหัวมุมถนน ยังเพิม่ มนต์ขลังให้กบั คอนเสิรต์ ของ Slayer ครัง้ นีด้ ว้ ยอีกทาง ราวกับว่ามัน เป็นพิธกี รรมของเหล่าคนนอกรีตทีแ่ อบ มาเผยแพร่สารจากโลกมืดในดินแดน ของพระเจ้า

- BLAST

magazine - 033


MOVIES

BLADE RUNNER 2049

ฟิลิป เค. ดิค นักเขียนนิยาย วิทยาศาสตร์ชาวอเมริกันเขียน นิยายแนวไซไฟ/ปรัชญาล�้ำลึกเรื่อง Do Androids Dream of Electric Sheep? ขึ้นในปี 1968 โดยนิยายเล่ม นี้ถือเป็นเพชรน�้ำงามที่อยู่เหนือกาล พิสูจน์ของกาลเวลา เนื่องจากมันตั้ง ค�ำถามที่ทั้งส�ำคัญและชวนให้ครุ่นคิด ว่า “มนุษย์คืออะไร”, “สิ่งที่เราเห็นอยู่ ในทุกวันนี้เป็นความจริงหรือว่าความ ฝัน”, “เจตจ�ำนงค์เสรี (Free Will) ส�ำหรับมนุษย์แล้วมีอยู่จริงหรือไม่” ชีวิตของเราทุกคนเดินไปข้างหน้าได้ ด้วยปีกแห่งเสรีภาพหรือแท้ที่จริงแล้ว มีสิ่งเร้นลับบางอย่างที่บงการให้เราไม่ สามารถมีอิสรภาพได้อย่างสมบูรณ์กัน แน่ ข้อความบนย่อหน้าข้างต้นแค่ อ่านผ่าน ๆ ก็ปวดหัวแล้ว แต่ ฟิลิป เค. ดิค ได้สร้างความปวดเศียรเวียน เกล้าให้หนักข้อมากขึ้นไปอีกด้วย การตั้งค�ำถามว่า “ถ้าหากในวันหนึ่ง เทคโนโลยีสามารถพัฒนาหุ่นยนต์ จนมีความรู้สึกนึกคิด, มีเลือดมีเนื้อ, มีความฉลาดเฉลียวและไหวพริบ ปฏิภาณล่ะ หุ่นยนต์เหล่านี้จะมีสิทธิ์ ที่จะเป็นมนุษย์อย่างสมบูรณ์ได้หรือ ไม่” ความน่าฉงนฉงายชวนให้เครียด นี้ถูกผู้ก�ำกับ ริดลีย์ สก็อตต์ น�ำมา ดัดแปลงเป็นภาพยนตร์เรื่อง Blade Runner ที่เข้าฉายในปี 1982 ซึ่งเป็น หนังแนววิทยาศาสตร์/ปรัชญาที่ถือว่า มาก่อนกาลอย่างแท้จริง เนื่องจากใน ช่วงเวลาที่ Blade Runner เข้าฉาย 034

- BLAST

magazine -

ยังไม่มีหนังไซไฟเรื่องไหนที่ตั้งค�ำถาม ถึงหลักปรัชญาที่ซีเรียสจริงจังเท่านี้ มากนัก (หากไม่นับหนังเรื่อง 2001: A Space Odyssey ของผู้ก�ำกับ สแตนลีย์ คูบริก เข้าฉายปี 1968 ปี เดียวกับที่นิยาย Do Androids Dream of Electric Sheep? ตีพิมพ์และวาง จ�ำหน่าย) Blade Runner เป็นหนัง วิทยาศาสตร์ก็จริง แต่ฟอร์มของ หนังเป็นฟิล์มนัวร์อย่างชัดเจนไม่ว่า จะเป็นฉากหลังของหนังที่เกิดขึ้นใน ลอส แอนเจลิส ปี 2019 ก็สร้างความ อึดอัดไม่สบายใจให้กับผู้ชมด้วยหยาด ฝนที่โปรยปรายลงมาอยู่ตลอดเวลา เหตุการณ์เกือบทั้งหมดเกิดขึ้นในเวลา กลางคืนที่เต็มไปด้วยแสงสว่างจอม ปลอมจากหลอดไฟประดิษฐ์ ส่วนตัว ละครก็แทบจะไม่มีใครที่สามารถพูด ได้อย่างเต็มปากเต็มค�ำว่ามีความดี งามและมีมนุษยธรรมอย่างแท้จริง ในส่วนของเนือ้ หาหลัก ๆ หนังเล่าเรือ่ ง ของ ริค เดคคาร์ด (แฮร์ริสัน ฟอร์ด) อดีตเจ้าหน้าที่ต�ำรวจแอลเอที่จ�ำใจ เข้าหน่วย Blade Runner ที่จัดตั้ง ขึ้นมาเพื่อสังหาร Replicant มนุษย์ เทียมแรงงานทาสที่บริษัท ไทเรลล์ คอร์เปอเรชั่น ได้สร้างขึ้นมาพัฒนา ไปจนถึงรุ่น Nexus 6 ซึ่งเป็นรุ่นที่ดู ภายนอกเหมือนมนุษย์จนแยกไม่ออก ส่วนภายใน Nexus 6 มีเลือดมีเนื้อ มีความรู้สึกนึกคิดรวมถึงความทรง จ�ำที่มีการปลูกถ่ายจากผู้ผลิต หน้าที่ ของ ริค เดคคาร์ด และหน่วย Blade

นิพพานของมนุษย์เทียม

Runner ก็คือปลดระวาง (หรืออีกนัย หนึ่ง สังหาร) หุ่นยนต์รุ่นนี้ทุกตัวที่เจอ เนื่องจากพวกมันก่อเหตุความวุ่นวาย ในดาวอื่นและยังมี Replicant จ�ำนวน 4 ตัวที่หลบหนีมายังแอลเออย่างผิด กฎหมาย ก่อนที่พวกมันจะท�ำอันตราย ต่อมนุษย์บนโลก Blade Runner ภาคแรกเมื่อ 30 ปีก่อนไม่ได้เปิดเผยรายละเอียด ส�ำคัญอย่างชัดเจน มีข้อสงสัยหลาย อย่างที่ผู้สร้างจงใจทิ้งไว้เป็นปริศนา ข้อมูลที่ ให้ไว้ก็ดูเลื่อนลอยมึนงงสับสน สิ่งหนึ่งที่ยังคงถกเถียงมาจนถึงทุก วันนี้ก็คือแท้ที่จริงแล้ว ริค เดคคาร์ด เป็นมนุษย์แท้หรือมนุษย์เทียมกันแน่, ความหมายของม้ายูนิคอร์นในฝันของ เดคคาร์ด คืออะไร แต่สิ่งหนึ่งที่ถือ เป็นสาระส�ำคัญที่สื่อมาถึงผู้ชมอย่าง ชัดเจนเลยก็คือในโลกอนาคตมนุษย์ เทียมดูมีความเป็นมนุษย์มากกว่า มนุษย์จริง ๆ เสียอีก Replicant บาง ตัวมีความเห็นอกเห็นใจ, มีความ รักที่บริสุทธิ์, มีความเสียสละและมี มนุษยธรรมในระดับอุดมคติ ฉาก ส�ำคัญที่บ่งบอกความจริงข้อนี้ได้ ชัดเจนที่สุดอยู่ในฉากที่ รอย แบ็ต ตี้ (รุทเกอร์ ฮาวเออร์) มนุษย์เทียม ที่มีบทบาทส�ำคัญในหนังภาคแรกได้ ช่วยชีวิต เดคคาร์ด ไว้ทั้ง ๆ ที่ตัวเอง เป็นผู้ถูกล่าก่อนที่จะเอ่ยค�ำพูดก่อนที่ จะหมดลมหายใจที่มีใจความส�ำคัญ ในช่วงท้ายว่า “All those moments will be lost in time, like tears in rain” ซึ่งแปลได้ว่า “ช่วงเวลาเหล่านั้น

ที่สูญหายไปในกาลเวลา ไม่ต่างจาก หยาดน�้ำตากลางสายฝน” ใน Blade Runner 2049 ฉาก หลังของหนังก็ยังคงเป็นแอลเอซึ่งใน อีก 30 ปีต่อมาก็ยังคงมีสภาพไม่น่า ใช้ชีวิตอยู่เฉกเช่นเดิม สายฝนยังคง โปรยปรายโดยไม่มีทีท่าว่าจะหยุด ทุก ซอกมุมของเมืองดูเสื่อมโทรมสมกับ เป็นโลกดิสโทเปียโดยสมบูรณ์ สิ่ง ที่ประชดประชันก็คือโฆษณา 3 มิติ ที่ผุดขึ้นทุกหัวระแหงในเมืองกลับ ดูสวยงามเย้ายวนใจซึ่งดูขัดแย้งกับ ความเสื่อมโทรมอย่างมากสมกับที่ ริดลีย์ สก็อตต์ (ที่ ในภาคนี้รับหน้าที่ อ�ำนวยการสร้าง ส่วนหน้าที่ก�ำกับเป็น ของ เดนิส วิลล์เนิฟ จาก Sicario และ Arrival) มองว่าในโลกอนาคต นายทุนจะเข้ามาบริหารบ้านเมือง แทนที่นักการเมือง และในโลกอนาคต ปี 2049 บริษัท วอลเลซ คอร์โปเรชั่น ได้เข้ามาคุมระบบทุนของเมืองและ ได้พยายามสร้างมนุษย์เทียมรุ่นใหม่ ขึ้นมาอย่างลับ ๆ ไรอัน กอสลิง รับ บทเป็น เค มนุษย์เทียมที่ถูกสร้างขึ้น มาเป็น Blade Runner สังกัดกรม ต�ำรวจแอลเอ หน้าที่ของ เค ก็คือตาม ล่าเหล่า Replicant เพื่อปลดระวาง มนุษย์เทียม โดยในการปฏิบัติภารกิจ หนึ่งหลังจากที่ เค ได้สังหาร เซป เปอร์ (เดฟ บาติสตา) ลงแล้ว เขา กลับได้พบกับกล่อง ๆ หนึ่งที่ฝังอยู่ใต้ ต้นไม้ตายซากและพบว่ามันคือโลงศพ ที่บรรจุโครงกระดูกของหญิงสาวคน หนึ่งที่เสียชีวิตเพราะคลอดลูกเอาไว้ ที่ ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


ศรัณยู ตรีสุคนธ์

อนาคต จากการสืบหาหลักฐานแบบ สุดตัวท�ำให้เจ้าหน้าที่ เค ตามหา ริค เดคคาร์ด จนเจอที่ ลาส เวกัส และ ได้รู้ว่าผู้หญิงในโลงศพก็คือ เรเชล (ฌอน ยัง) Replicant สาวที่ ริค เดค คาร์ด พากันหลบหนีจากการตาม ล่าของ Blade Runner ในภาคแรก ข้อมูลและหลักฐานต่าง ๆ ล้วนแล้วแต่ เชื่อมโยงมายังสิ่งที่มีความเป็นไปได้ สูงว่า เค อาจจะเป็นลูกของ ริค เดค คาร์ด และ เรเชล ไม่ว่าจะเป็นค�ำพูด ของ เซปเปอร์ ที่บอกว่าเขาได้เห็น ปาฏิหาริย์ต่อหน้าต่อตา หรือการค้น พบม้าไม้ของเล่นที่ซ่อนอยู่ในที่เลี้ยง เด็กก�ำพร้าซึ่งเป็นความทรงจ�ำของเขา สมัยยังเป็นเด็ก น่าประหลาดใจก็คือผู้หญิงคนนี้เป็น บทสรุปของหนังควรที่จะจบ มนุษย์เทียมเสียด้วย อย่าง Happy Ending และทุกอย่าง Blade Runner 2049 มีการ ควรจะคลี่คลายถ้าหากหนังไม่หักมุม เปิดเผยข้อมูลส�ำคัญที่ไม่ดูเลื่อนลอย ด้วยการเผยความจริงที่น่าเศร้าที่ว่าแท้ บางเบาเท่าภาคแรก แต่การเล่าเรื่อง ที่จริงแล้ว เค เป็นเพียงมนุษย์เทียม ที่ไม่ปะติดปะต่อมากนักซึ่งเป็นความ และสิ่งที่ท�ำให้เขาคิดว่าตัวเองเป็นลูก ตั้งใจของผู้สร้างท�ำให้มันเป็นหน้าที่ ของ ริค เดคคาร์ด และ เรเชล นั้นก็ ของผู้ชมในการต่อจิกซอว์เพื่อค้นหา เป็นเพราะว่าความทรงจ�ำของตัวเอง ความลับที่ส�ำคัญเอาเอง โดยพล็อต ได้ถูกปลูกถ่ายมาจากความทรงจ�ำของ หลักของหนังเล่าเรื่องราวการสืบสวน ลูกสาว เดคคาร์ด เพื่อเป็นกลอุบาย และค้นหาเด็กที่เกิดจากมนุษย์เทียม หลีกเลี่ยงโศกนาฏกรรมที่อาจเกิดขึ้น และก�ำจัดเด็กตามค�ำสั่งของ โจชี ได้หากมีคนรู้ว่าลูกสาวของเขาเกิดขึ้น (โรบิน ไรท์ เพนน์) เจ้านายหญิง มาได้อย่างไร โดยความจริงทั้งหมด ของ เค ในกรมต�ำรวจ สิ่งที่น่าสนใจ นี้น�ำไปสู่สารรัตถะที่แท้จริงของหนัง ก็คือรายละเอียดเพิ่มของ โจชี ที่พูด เรื่องนี้ที่มีการตั้งค�ำถามมาตั้งแต่ภาค เป็นนัยว่าระบบชนชั้นเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับ แรกแล้วว่า “ความจริงคืออะไร” ใน มนุษย์มาช้านาน มนุษย์เทียมถึงแม้ว่า โลกที่พัฒนารุดหน้าไปมากเสียจน ดูเหมือนมนุษย์มากแค่ไหนก็ตามแต่ก็ มนุษย์สามารถสร้างทุกสิ่งให้เหมือน เป็นได้แค่เพียงชนชั้นแรงงานเท่านั้น กับของจริงได้อย่างแนบเนียนอย่าง ซึ่งถ้าหากก�ำแพงทางชนชั้นถูกท�ำลาย ชนิดที่เรียกได้ว่าแทบจะแยกความจริง ลงด้วยความจริงที่ว่ามนุษย์เทียม กับความลวงไม่ออก สามารถให้ก�ำเนิดลูกได้และถูกเปิด ความจริงที่มาจากข้อมูลชุด เผยออกไป การต่อสู้ระหว่างมนุษย์แท้ หนึ่งอาจจะไม่ได้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ๆ และมนุษย์เทียมก็อาจจะเกิดขึ้นได้ ก็ได้ สิ่งนี้เกิดขึ้นกับตัวผู้ชมเองเมื่อ เรื่องราวของหนังทวีความซับ ข้อมูลส�ำคัญบางอย่างชี้ลงไปได้อย่าง ซ้อนมากขึ้นเมื่อ เค ได้พบข้อมูล สมบูรณ์ว่า เค เป็นลูกของ เดคคาร์ด ส�ำคัญบางอย่างที่ท�ำให้เชื่อได้ว่าตัว แน่นอน แต่ข้อมูลส�ำคัญในภายหลัง เขาเองอาจจะเป็นลูกของมนุษย์เทียม ก็เข้ามาหักล้างความจริงที่เรารับรู้มา หญิงในโลงศพ และในขณะเดียวกัน ทั้งหมด ความจริงนี้ท�ำให้ เค หัวใจ วอลเลซ (จาเร็ด เลโต) ที่ไม่สามารถ สลายพอ ๆ กับผู้ชม เมื่อท้ายที่สุด ท�ำให้มนุษย์เทียมที่สร้างขึ้นมีลูกเอง แล้ว เค ได้รู้ว่าตัวเขาเองถูกสร้างขึ้น ได้เสียทีก็พยายามที่จะหาเด็กที่เกิด มาอย่างมีเป้าหมายและอย่างมีนัยยะ จากมนุษย์เทียมมาศึกษาเพื่อที่จะ ส�ำคัญเพื่อช่วยปกป้องไม่ให้ลูกสาว เพิ่มประสิทธิภาพของ Replicant ใน ของ เดคคาร์ด ตกอยู่ในอันตราย ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

ความจริงนี้ปรากฏอยู่แม้กระทั่งใน ซับพล็อตที่สนับสนุนพล็อตหลักได้ อย่างมีชั้นเชิง ซับพล็อตที่ว่านี่เล่า เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง เค และ จอย (อนา เดอ อาร์มัส) ปัญญา ประดิษฐ์สาวสวยที่เป็นผลิตภัณฑ์ของ บริษัท วอลเลซ และเป็นคนรักสาว ของ เค ความรักที่แต่ละฝ่ายมีให้ กันดูสมบูรณ์แบบและผู้ชมก็สามารถ สัมผัสได้ว่าทั้งคู่มีความรักและเป็น ห่วงเป็นใยกัน ความรักที่ลึกซึ้งนี้น�ำ ไปสู่โศกนาฏกรรมความรักที่เกิดขึ้น ใน ลาส เวกัส เมื่อ จอย ถูก เลิฟ (ซิลเวีย โฮคส์) Replicant สาวใจ อ�ำมหิตท�ำลายลงอย่างโหดร้ายใน ขณะที่เธอก�ำลังบอกรัก เค เป็นครั้ง สุดท้าย ผู้ชมเชื่อมั่นมาตลอดว่าความ รัก เค และ จอย มีให้กันนั้นเป็นรัก แท้ แต่ความเชื่อนั้นถูกสั่นคลอนอย่าง รุนแรงหลังจากที่ เค ได้เห็นโฆษณา 3 มิติของผลิตภัณฑ์หุ่นปัญญาประดิษฐ์ สาวรุ่น จอย ที่อยู่บนตึกเสื่อมโทรม แห่งหนึ่งพร้อมทั้งค�ำโปรยที่ว่า “เธอ จะท�ำและพูดในสิ่งที่คุณอยากได้ยิน” ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าความรักที่ จอย มีให้กบั เค นัน้ เป็นเพียงแค่โปรแกรม ๆ หนึ่งไม่ต่างไปจากการปลูกถ่ายความ ทรงจ�ำให้กับมนุษย์เทียม มีค�ำพูดหนึ่ง ของ วอลเลซ ที่ค่อนข้างน่าสนใจและ ก่อให้เกิดการตั้งค�ำถามและความ สงสัยมากขึ้นด้วย ค�ำพูดที่ว่านั้นก็คือ ความรู้สึกเป็นสิ่งที่เย้ายวนน่าหลงใหล และท�ำให้เราหลงลืมตัวตนที่แท้จริง ไป กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คืออารมณ์และ ความรู้สึกที่ถือก�ำเนิดขึ้นนั้นท�ำให้เรา มองข้ามความจริงแท้ไปและจะท�ำให้ เราสร้างความจริงขึ้นจากสิ่งที่เรารู้สึก เชื่อว่ามันจริงเท่านั้น หากมองในแง่ มุมนี้ จอย ก็จะเป็นเพียงแค่ปัญญา ประดิษฐ์สาวที่สร้างความรักขึ้นมา จากการประมวลผลของเลขฐานสอง เท่านั้น และ เค ก็เป็นเพียงผู้ชายคน หนึ่งที่ตกเป็นเหยื่อทางการตลาดใน ระบบทุนนิยมที่สร้างได้แม้แต่ความรัก จอมปลอม แกฟฟ์ (เอ็ดเวิร์ด เจมส์ ออ ลมอส) อดีต Blade Runner ที่ชอบ พับกระดาษโอริกามิเป็นรูปสัตว์ที่ ปรากฏตัวในภาคนี้ด้วยได้พับแกะ

กระดาษให้ได้เห็นเพื่อสื่อเป็นนัยว่า ความจริงที่ทั้ง เค และผู้ชมรู้นั้น อาจเป็นเพียงภาพลวงตาหรือการ สร้างความรู้สึกเชื่อว่าข้อมูลที่น�ำมา ประกอบกันเป็นความจริงนั้นแท้ที่ จริงแล้วเป็นสิ่งจอมปลอมทั้งสิ้น สิ่ง เหล่านี้ล้วนแล้วแต่กลับมาสู่ค�ำถาม อภิปรัชญาที่ว่ามนุษย์มี Free Will หรือเจตจ�ำนงเสรีมีอิสรภาพที่แท้ จริงหรือไม่ ซึ่งหัวใจส�ำคัญของหนัง ดังที่กล่าวมาทั้งหมดได้กาค�ำตอบ ลงไปในหน้ากระดาษตัวใหญ่ ๆ ว่า “ไม่มี” เนื่องจากความรู้สึก, ความรัก, ความชิงชัง, ความหลงใหล, ความ เคียดแค้น และสิง่ เร้าอืน่ ๆ อีกมากมาย ได้สร้างอัตตาหรือตัวตนของเราขึ้นมา การละอัตตาของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็น มนุษย์แท้หรือว่ามนุษย์เทียมในโลก อนาคตนั้นยิ่งเป็นสิ่งที่ยากเข้าไปแบบ ทบเท่าทวีคูณ เนื่องด้วยเทคโนโลยี ไปไกลจนถึงขั้นสร้างอารมณ์ความ รู้สึกให้กับหุ่นยนต์ได้ เส้นแบ่งระหว่าง “ความจริง” และ “ความลวง” ก็ยิ่ง ดูพร่าเลือนจนแทบจะแยกกันไม่ออก มากขึ้นไปอีกแต่ถึงจะเป็นเช่นนั้น โลก อนาคตก็ไม่ได้ไร้ซึ่งความหวังไปเสียที เดียว สิ่งส�ำคัญนั้นเกิดขึ้นกับ เค เฉก เช่นเดียวกันกับสิ่งที่ รอย แบ็ตตี้เคย ช่วยชีวิตของ ริค เดคคาร์ด เอาไว้ใน หนังภาคแรก เมื่อ เค ได้ตัดสินใจน�ำ เดคคาร์ด กลับมาหาลูกสาวอีกครัง้ ทัง้ ๆ ที่รู้ดีว่าตัวเองถูกหลอกใช้มาตลอด ก่อนที่ตัวเองจะสิ้นใจลงอย่างสงบ Blade Runner 2049 ยังคง เดินตามรอยภาคแรกอย่างหนักแน่น มั่นคง นั่นก็คือการแสดงความเชื่อว่า ในโลกอนาคต มนุษย์เทียมอาจจะมี ความเป็นมนุษย์มากกว่ามนุษย์แท้ ๆ เสียอีก มันยังคงมีสิ่งหนึ่งที่ยังคงต่อ ยอดความหวังให้กับโลกใบนี้ได้ไม่ว่า มันจะเสื่อมโทรมลงไปมากแค่ไหน ก็ตาม สิ่งนั้นก็คือการปล่อยวางความ ยึดมั่นถือมั่นในตัวเองให้หลุดพ้นจาก การควบคุมของอ�ำนาจแปลกปลอม เพื่อที่จะได้มีอิสระอย่างแท้จริงในที่สุด หากมองในแง่มุมนี้ทั้ง รอย แบ็ตตี้ และเจ้าหน้าที่ เค อาจจะเป็น มนุษย์เทียม 2 ตัวแรกในโลกที่บรรลุ ถึงกระแสนิพพานก็เป็นได้ - BLAST

magazine - 035


GAMES

H O M E S W E E T H O M E : บ้านหลอนซ่อนเฮี้ยน

สวัสดีนักอ่านทุกท่านครับ ใน ฉบับนี้ผมจะกล่าวถึงเกมนึง ๆ ให้ ทุกท่านได้รู้จัก สืบเนื่องมาจากว่าผม ต้องการเกมแนวสยองขวัญโดน ๆ ซักเกมมาเล่นในระหว่างที่รอเกม ใหม่ ๆ ในสไตล์Horrorออกมาหลัง จากที่ได้รับประสบการณ์สุดสะพรึง มาจากเกม Resident Evil 7 จนได้ พบเจอกับทริลเลอร์เปิดตัวเกมที่มีชื่อ ว่า Home Sweet Home ซึ่งเป็นเกม ที่พัฒนาขึ้นโดยคนไทย หลังจากที่ ผมดูจบ สิ่งที่สมองผมคิดคือถ้าเกม นี้ออกมาเมื่อไหร่ก็ต้องหามาเล่นซะ แล้ว แล้วในที่สุดเกม Home Sweet Home ก็ได้ออกจ�ำหน่ายผ่านระบบ Steam บนเครื่องคอมพิวเตอร์ใน ราคา 349 บาท แน่นอนว่าเป็นราคา 036

- BLAST

magazine -

ที่ผู้เล่นเกมหลายคนสามารถจับต้อง ได้อย่างสบาย ๆ กระเป๋า เกมนี้มี ความเป็นภาษาไทยอย่างสมบูรณ์ ทั้ง บรรยากาศในตัวเกม ภาษาในตัวเกม ความเป็นยูนิคของผีไทยที่ท�ำให้แตก ต่างจากผีญี่ปุ่น ผีฝรั่งอย่างชัดเจน รูปแบบการเล่นของเกม จะ เป็นแบบมุมมองบุคคลที่ 1 ว่าง่าย ๆ ก็คือไม่เห็นตัวผู้เล่นเองนั่นหล่ะ โดย ผู้เล่นจะได้สวมบทบาทเป็น ติม ชาย หนุ่มที่ออกตามหาเจนแฟนสาวของ เค้าเนื่องจากจู่ ๆ เธอก็ได้หายตัวไป และเหตุการณ์ประหลาด ๆ ก็ได้เกิด ขึ้นกับตัวของติม เมื่อจู่ ๆ วันนึงติม ได้ตื่นมาที่ห้องพักของตึกแห่งหนึ่ง (ผมเดาว่าเป็นหอพักนักศึกษาจาก บรรยากาศ) ที่ไม่ใช่ห้องบ้านตัวเอง

เค้าต้องหาทางกลับบ้านให้ได้ โดย ระหว่างที่หาทางออกจากตึกแห่งนี้ ติมได้พบกับวิญญาณของนักศึกษา สาวถือคัตเตอร์คอยไล่ฆ่าเค้า ใน ขณะที่พยายามหนีแทบเป็นแทบตาย จนพบเจอทางออก ติมก็ได้พบว่า ตึกแห่งนี้ได้เชื่อมต่อกับห้องเก็บของ ภายในบ้านเค้า และไม่ใช่เพียงแค่ตึก นี้เท่านั้น ยังมีจุดเชื่อมไปสู่ด่านต่าง ๆ ที่เกมได้ออกแบบไว้ไม่ว่าจะเป็น บ้าน ไม้เก่า สถานีต�ำรวจ มหาวิทยาลัย ซึ่งสิ่งแวดล้อม สถาปัตยกรรมฉายใน ตัวฉากแต่ละฉากได้ออกแบบอย่าง ประณีตและสมจริง ผู้เล่นจะต้องหา เหตุและผลของเหตุการณ์ภายในเกม ไปพร้อมกับติม ซึ่งผู้เล่นจะรู้เรื่อง ภายในเกมนี้ได้จากการเก็บไอเท็ม

จ�ำพวกไฟล์เอกสารต่าง ๆ ที่มีอยู่ ภายในเกม ไม่ว่าจะเป็นไดอารี่ของ เจน เศษกระดาษ หนังสือพิมพ์ต่าง ๆ รวมถึงไอเท็มอืน่ ๆ ทีเ่ อาไว้แก้ปริศนา ในจุดต่างอาทิเช่นกุญแจ ชแลง เป็นต้น ในบางจุดผู้เล่นเองก็ต้อง แก้ไขปริศนาโดยการหาจุดเชือ่ มต่าง ๆ เช่น รหัสปลดล็อคต่าง ๆ ซึ่งก็เป็น เอกลักษณ์ของเกมในสไตล์นี้ ระบบของเกม เนื่องจากเกม นี้ไม่ใช่เกมสายบู๊ชนิดที่ว่าควักปืน ขึ้นมายิงผีได้แบบ Resident Evil 7 ดังนั้นสิ่งที่จะท�ำให้เรารอดพ้นจาก สถานการณ์แย่ ๆ เวลาเจอวิญญาณ ร้ายคือ การหลบซ่อน ไม่ว่าจะ เป็นการหนีเข้าไปหลบในล็อคเกอร์ การหมอบคลานแอบซุ่ม หรือปิด ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


NOOKVERSUS

(ฉากสถานีต�ำรวจ)

(ฉากบ้านไม้) ไฟฉายเพื่ออ�ำพรางตัวเองในที่มืด ผีในตัวเกมจะมีผู้วิญญาณนักศึกษา สาว และผีเปรตเป็นหลัก ซึ่งเอา จริง ๆ ส่วนตัวผมไม่ค่อยได้ตกใจ ในเวลาที่เจอผีเท่าไหร่นัก เนื่องจาก พอจะเดาได้ในบางจุดว่าผีมันน่าจะ มาโดยอ้างอิงประสบการณ์จากการ เล่นเกมผีแบบเอาตัวรอดอย่างเช่น Outlast, Juon หรือเกมผีที่ผลิตโดย คนไทยก่อนหน้านี้อย่าง Araya แต่ที่ ท�ำให้ตกใจจริง ๆ คงจะเป็นจุดที่ไม่ คาดถึงมากกว่า เช่นจู่ ๆ วิทยุในห้อง ก็เล่นเองและเป็นเสียงสวดมนต์ หรือ จู่ ๆ ก็มีเสียงโครมครามแบบไม่ทราบ สาเหตุ เอาเป็นว่าผีในเกมส�ำหรับผม ไม่ท�ำให้แต๋วแตก แต่บรรยากาศใน เกมนี้หล่ะท�ำให้หลอนได้มาก ๆ ยิ่ง ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

(ผีนักศึกษา) ถ้าปิดไฟเล่นเกมนี้ตอนกลางคืน แล้วใส่เฮดโฟนดี ๆ เพื่อให้ได้ยินเสียง ภายในเกมโดยไม่ให้มีเสียงรอบข้าง เข้ามารบกวน มันจะเป็นอะไรที่ได้ อรรถรสในการเล่นเกมนี้มาก ๆ ครับ คุณผู้อ่าน นอกจากนี้ตัวเกมยังได้ แฝงมุกตลกหรือที่เรียกว่า Easter Egg ของเกมเข้าลงไปในเกมเยอะ มาก เช่น การแอบโฆษณาของบริษัท ผู้ผลิตเกมไว้ในหนังสือพิมพ์บ้าง หรือ ใช้ตัวย่อเป็นยี่ห้อกุญแจที่เอาไว้ไขใน บางจุด รวมถึงจุดที่ฮาที่สุดคือในฉาก สถานีต�ำรวจหากใครได้สังเกตบนโต๊ะ ท�ำงานของผู้ก�ำกับการที่สถานีจะแบบ ว่า เฮ้ยคิดได้ไง (ผมไม่สปอยให้ผู้อ่าน ไปหาเอาเอง) ซึ่งจุดต่าง ๆ เหล่านี้ ผู้เล่นจะต้องสังเกตด้วยตนเองถึงจะ

หามันเจอครับ ข้อเสียของเกมนี้ ผมพบแค่ สองจุดและคิดว่าในภาคต่อ ๆ ไปจะ ต้องได้รับการพัฒนาแน่ ๆ คือเสียง พากย์ของตัวเอกทั้งเจนและติม ผม รู้สึกว่ามันแข็งไปมาก ๆ ไม่มีอารมณ์ ร่วมในสถานการณ์ที่แม่งโคตรจะน่า กลัวเลย แต่ผมกลับชอบเสียงพากย์ ของผีนักศึกษานะ นี่หล่ะโคตรได้ อารมณ์หลอนมาก ๆ ส่วนอีกเรื่องก็ คือเนื้อเรื่องของเกมที่ยังไม่เฉลยปม ที่มาที่ไปว่ามันเกิดอะไร ท�ำให้ผู้เล่น หลายคนต้องงงและสงสัย ไม่เคลียร์ ก็ต้องรอว่าภาคใหม่จะมาเมื่อไหร่เพื่อ ลุ้นเฉลยว่ามันเกิดอะไรกับติมและ เจนกันแน่ สุดท้ายนี้ส�ำหรับเกม Home

Sweet Home ผมยกให้เป็นเกมผีอีก หนึ่งเกมที่ท�ำได้ดีและคิดว่าสามารถ ยังพัฒนาได้อีกในภาคต่อไป หาก ท่านผู้อ่านสนใจยังไงก็สามารถเข้าไป หาซื้อกันได้ใน Steam อย่าพึ่งรีบหา โหลดเล่นแบบเถื่อนเลย ของเค้าดี จริง ๆ ราคาก็ไม่แพงด้วย (ผู้เขียนไม่ ได้ค่าโฆษณาแต่อย่างใดนะ) แล้วพบ กันใหม่ในฉบับหน้าครับ

- BLAST

magazine - 037


Album Review

DEAD CROSS

INTEGRITY

คราวนีเ้ ราจะเขียนถึงวงดนตรีใหม่กนั บ้าง จะว่าหน้าใหม่กไ็ ม่ใช่ เพราะนัก ดนตรีทกุ คนในวงเคยมีผลงานมาแล้ว บางคนจัดว่าเป็นต�ำนานของวงการดนตรี เลย วงดนตรีวงนีจ้ ดั ว่าเป็นซุปเปอร์กรุป๊ ได้เลยด้วยซ�ำ้ Dead Cross ประกอบไป ด้วยสมาชิกได้แก่ Michael Crain กีตาร์ จากวง Retox, Justin Pearson เบส จาก วง Retox, Head Wound City และ The Locust, Dave Lombardo กลอง อดีต วง Slayer ปัจจุบนั อยูก่ บั Suicidal Tendencies และ Mike Patton ร้องน�ำ จาก Faith No More, Tomahawk และโปรเจ็คอีกมากมาย แค่เห็นชือ่ Dave Lombardo กับ Mike Patton ก็สร้างความตืน่ เต้นแล้ว ทัง้ คูเ่ คยร่วมโปรเจ็คด้วยกันแล้วในนาม Fantômas ส่วน Dead Cross ก่อตัง้ เมือ่ ปี 2015 จริง ๆ แล้ว Patton ไม่ได้เป็นนักร้อง คนแรกของโปรเจ็คนี้ นักร้องคนแรกได้แก่ Gabe Serbian มือกลอง The Locust และ Head Wound City เพือ่ นร่วมวงของ Justin Pearson จริง ๆ แล้ว Gabe ได้ อัดเสียงร้องเสร็จแล้วด้วยซ�ำ้ แต่มปี ญ ั หาต้องออกจากวงเนือ่ งจากอยากไปโฟกัสกับ ครอบครัว และทางวงก็เลือกทีจ่ ะไม่ใช้เสียงร้องของเขาทีอ่ ดั ไว้แล้ว แต่เลือกทีจ่ ะ หานักร้องคนใหม่และหน้าทีต่ กเป็นของ Patton ซึง่ ได้เขียนเนือ้ เพลงขึน้ ใหม่ทงั้ หมด ให้กบั อัลบัม้ การเข้ามาของ Patton ท�ำให้คนสนใจในโปรเจ็คส์นมี้ ากขึน้ ด้วย สไตล์ ดนตรีที่ Dead Cross เลือกเล่น คือฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์ทม่ี อี ทิ ธิพลของเฮฟวี่ เมทัลและ แทรช เมทัล อัลบัม้ นีโ้ ปรดิวซ์โดยทางวงร่วมกับ Ross Robinson คนดังแห่งยุคนู เมทัล คนนัน้ นัน่ แหละ ผลงานทีเ่ คยผ่านมาได้แก่ Korn, Glassjaw, At The Drive-In เปิด อัลบัม้ มากับเพลงแรก Seizure And Desist จังหวะไม่เร็วมาก เสียงร้องของ Patton เบรกดนตรีเล็กน้อย แต่ชดั ถ้อยชัดค�ำเสมอ ท�ำให้ฟงั ไม่หนักมาก Idiopathic เพลงนี้ ได้ Gabe Serbian นักร้องคนแรกมาร่วมร้อง เพลงนีเ้ ร่งจังหวะจากเพลงแรก มีทอ่ น ฮุคและเบรกดาวน์ ดนตรีอลหม่าน แต่ยงั ไม่เท่า The Locust เพลงต่อมา Obedience School จังหวะโคตรมัน สับคอร์ดเป็นแทรช เมทัล ได้ฟงั เสียงร้องของ Patton ใน เพลงแบบนีก้ แ็ ปลกดี Shillelagh ฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์จงั หวะมัน ๆ ลูกล่อลูกชนดีมาก ชวนโยกหัว Bela Lugosi’s Dead คัฟเวอร์เพลงดังของวงโกธิคร็อกในต�ำนานอย่าง Bauhaus ค่อนข้างจะเคารพต้นฉบับ เล่นไม่ตา่ งจากเดิมมากเท่าไหร่ โทนเพลงมืดมน ตามสไตล์โกธิค Divine Filth ดนตรีใส่กนั มัน จังหวะสนุกสนาน Grave Slave ได้ฟงั Patton แหกปาก แค่นกี้ พ็ อใจแล้ว กลองเพลงนีโ้ คตรจ๊าบ The Future Has Been Cancelled ดนตรีโคตรมัน มีพาร์ทประหลาดให้ฟงั เล็กน้อย Gag Reflex ขึน้ มา จังหวะช้า ๆ ดึง ๆ ฟังแปลกทีส่ ดุ ในอัลบัม้ เหมาะส�ำหรับคนทีค่ าดหวังว่าจะเจออะไร ประหลาด ๆ Church Of The Motherfuckers เพลงสุดท้าย ช้าแต่หนัก กีตาร์ลอย ๆ กลองอย่างเซียน โครงสร้างเพลงแปลกดี แต่จบห้วนไปหน่อย ครัง้ แรกเลยทีท่ ราบว่าโปรเจ็คส์นจ้ี ะเกิดขึน้ ก่อนที่ Patton จะเข้ามา คิดว่า คงเป็นสไตล์เดิม ๆ ของ Retox หรือ The Locust แค่มชี อื่ Lombardo เป็นจุดขาย แต่พอมี Patton เข้ามาด้วย เลยคาดหวังว่าโปรเจ็คส์นตี้ อ้ งแปลกประหลาดแน่ ๆ เพราะ Fantômas ที่ Patton และ Lombardo ร่วมเล่นด้วยกันนัน้ เป็นหนึง่ โปรเจ็คส์ ทีช่ อบมาก ๆ ยิง่ นีจ่ ะได้เล่นกับ Justin Pearson สุดเพีย้ นอีก ความคาดหวังความ ประหลาดก็ยงิ่ มากขึน้ แต่เอาเข้าจริง Dead Cross กลับเป็นโปรเจ็คส์ทผี่ ดิ ความคาด หมาย ดนตรีเป็นฮาร์ดคอร์พงั้ ก์ตดิ แทรชทีค่ อ่ นข้างจะตามแบบแผนด้วยซ�ำ้ ถ้าไม่นบั สองเพลงสุดท้ายทีม่ คี วามแปลกเล็กน้อย แต่ไม่ใช่วา่ จะไม่ใช่อลั บัม้ ที่ไม่ดนี ะ หลาย ๆ อย่างในอัลบัม้ นีเ้ ป็นสิง่ ทีอ่ ลั บัม้ ฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์ควรจะมีและท�ำออกมาดีเสียด้วย แค่ เราได้ยนิ เสียง Patton แหกปากในเพลงแบบนีก้ ร็ สู้ กึ ดีแล้ว อ่านสัมภาษณ์ของ Patton ทีพ่ ดู ถึงโปรเจ็คส์นวี้ า่ “เป็นโปรเจ็คส์ฮาร์ดคอร์ พัง้ ก์ตามแบบดัง้ เดิม ไม่ได้ตอ้ งการ จะใส่เสียงคียบ์ อร์ดหรือเสียงออเครสตร้าลงไป มันยังท�ำให้เค้านึกถึงสิง่ ทีเ่ คยได้ยนิ และชอบตอนเป็นสมัยวัยรุน่ รุนแรง ไม่ประนีประนอมและตรงประเด็น” แค่นเี้ ราก็ น่าจะเข้าใจทิศทางของอัลบัม้ นีแ้ ล้ว จากการฟังและดูวดี โี อแสดงสดหลาย ๆ เพลง จากอัลบัม้ นีร้ สู้ กึ ได้วา่ Patton มีอารมณ์รว่ ม สนุก และอินกับโปรเจ็คส์นมี้ ากเสียด้วย แฟน ๆ ของทุกวงทีส่ มาชิกในวงนีอ้ ยูส่ ามารถฟังอัลบัม้ นี้ได้ เป็นโปรเจ็คส์ทสี่ นุกอีก งานนึง หวังว่าจะมีอลั บัม้ ต่อไปให้ฟงั กัน 038

- BLAST

magazine -

*RIYL = Recommend If You Like

ALBUM : DEAD CROSS LABEL : IPECAC, THREE.ONE.G RIYL : RETOX, UNITED NATIONS, OFF! ตอบสนองย่านความเสียว : 8.5

ALBUM : HOWLING, FOR THE NIGHTMARE SHALL CONSUME LABEL : RELAPSE RIYL : RINGWORM, ALL OUT WAR, CRO-MAGS ตอบสนองย่านความเสียว : 9.5 มาถึงคิวของโคตรวงเมทัลลิคฮาร์ดคอร์ในต�ำนาน อย่าง Integrity กันบ้าง เรียกว่าเป็นต้นแบบของ แนวทางนี้เลย Integrity ก่อตั้งเมื่อปี 1988 จาก เมืองคลีฟแลนด์ โอไฮโอ สหรัฐอเมริกา แกนน�ำหลัก สมาชิกก่อตั้งที่เหลือคนเดียวได้แก่ Dwid Hellion ร้องน�ำ โดยที่ปัจจุบันเค้าย้ายไปพ�ำนักอยู่ที่ประเทศเบลเยี่ยม อัลบั้มนี้ได้ สมาชิกใหม่แถมยังเป็นพาร์ทเนอร์ในการร่วมแต่งเพลงด้วยอย่าง Domenic Romeo อดีตมือกีตาร์ของวงสุดเจ๋งอย่าง Pulling Teeth โดยที่เค้ายังเป็น เจ้าของค่ายเพลงที่มีแต่วงเจ๋ง ๆ อย่าง A389 อีกด้วย อัลบั้มนี้ Domenic อัด เสียงทั้งกีตาร์และเบสพ่วงด้วยมือกลองอย่าง Joshua Brettell หรือ Joshy ที่ เป็นสมาชิกวงดูมเมทัลอย่าง Ilsa โดยที่เวลาทัวร์คอนเสิร์ตทางวงได้สมาชิกมา เสริมอีกสองคน ได้แก่ Francis Kano เบส และ Tony Hare กีตาร์ ซึ่ง Tony เป็นอดีตสมาชิกของ Pulling Teeth เช่นกัน Howling, For The Nightmare Shall Consume เป็นอัลบั้มที่ 12 ของวง ในปกอัลบั้มไม่ได้ให้เครดิตไว้เลย ว่าใครเป็นโปรดิวเซอร์ คาดเดาว่าจะเป็นทางวงเอง มาเริ่มฟังเพลงแรกกัน เลย Fallen To Destroy แทร็คสั้น ๆ เหมือนเป็นอินโทรเปิดอัลบั้ม แต่กีตาร์ นี่โชว์บรื๋อเลย Blood Sermon อัดกันไม่ยั้ง กีตาร์นี่เกือบเป็นแบล็ค เมทัล เลย มีท่อนผ่อน เสียงร้องของ Dwid ยังคงยอดเยี่ยมเสมอ กีตาร์โซโล่หวือ หวามาก ๆ Hymm For The Children Of The Black Flame กีตาร์โดดเด่น มีอารมณ์แทรชเมทัลเล็กน้อย I Am The Spell อินโทรมืดหม่น กีตาร์สุด ๆ ไปเลย โคตรเฮฟวี่ มีจังหวะผ่อนเล็กน้อย พอให้โยกหัวตาม Die With Your Boots On เพลงนี้ได้ Tony Hare มาร่วมโซโล่กีตาร์ ดนตรีนี่เป็นเฮฟวี่ เมทัล เลย แต่มีเสียงร้องของ Dwid คอยเบรคไว้ ดนตรีครบเครื่องมาก ๆ Serpent Of The Crossroads อินโทรมาเป็นเพลงช้าเลย Dwid ร้องได้ดีมาก เพลง เฮฟวี่บาดลึก ไม่เคยฟัง Integrity ในความชัดเจนแบบนี้มาก่อน กีตาร์แม่ง สุด ๆ Unholy Salvation Of The Sabbatai Zevi เพลงช้าอีกเพลง เต็มไป ด้วยความหน่วง มีกลิ่นความตายอบอวล 7 Reece Mews หน่วงกว่าเพลงก่อน หน้าอีก บรรยากาศมืดมน Burning Beneath The Devils Cross กลับมาเพลง เร็วกันบ้าง เป็นเพลงสไตล์เดิมของวง แต่เพิ่มโซโล่กีตาร์เข้าไป String Up My Teeth เพลงนี้ฟังครั้งแรกงงเลย จังหวะค่อนข้างโจ๊ะ มีเสียงคอรัสสาวด้วย แต่ ฟังแล้วโอเค ไม่ประหลาดจนรับไม่ได้ Howling, For The Nightmare Shall Consume กลับมาที่จังหวะหน่วง ๆ อีก เพลงนี้เจ๋งมาก ครบเครื่อง โซโล่ กีตาร์หวือหวามาก Viselle De Drac ดนตรีเป็นนีโอโฟล์คเลย หลอกหลอน ใครไม่เคยฟังดนตรีแบบนี้มีงง Entartete Kunst เป็นแทร็คสั้น ๆ ชวนปวด กบาล Deathly Fighter เพลงนี้คัฟเวอร์ Randy Uchida Group วงเฮฟวี่ เมทั ลจากญี่ปุ่น โดยที่ Randy Uchida นี้เป็นมือกีตาร์วงฮาร์ดคอร์ พั้งก์ในต�ำนาน จากญี่ปุ่นอีกวงอย่าง G.I.S.M. เพลงนี้เป็นเฮฟวี่ เมทัลเลย ได้ฟัง Dwid ร้อง ภาษาญี่ปุ่นด้วย เป็นเพลงปิดอัลบั้ม ตลอดเวลาในวงการเกือบ 30 ปี Integrity ท�ำมาแล้วหลายอย่าง ไม่ว่า จะเป็นฮาร์ดคอร์เพียว ๆ หรือดนตรีอิเล็กทรอนิคก็เคยท�ำมาแล้ว อาจจะมีคน ชอบบ้างไม่ชอบบ้าง การเข้ามาของสมาชิกใหม่อย่าง Domenic Romeo ส่ง ผลกับทิศทางของวงมาก และเป็นผลดีเสียด้วย ส�ำเนียงกีตาร์แบบเฮฟวี่ เมทัล ยุค 80’s สร้างความสดใหม่ให้กับเพลงมาก ๆ เรียกว่าฟังสดที่สุดในรอบหลาย สิบปีเลย แล้วฝีมือของ Domenic ก็จัดว่าไม่ธรรมดา โซโล่กีตาร์ได้หวือหวา มาก ๆ ครั้งนี้ Dwid ได้คู่หูคนใหม่ในการแต่งเพลงแล้ว และหาได้ดีเสียด้วย หวังว่าจะอยู่ร่วมวงกันได้นาน ๆ โดยความเห็นส่วนตัว Howling, For The Nightmare Shall Consume เป็นอัลบั้มที่ดีที่สุดของวงในรอบหลายปี แทบจะ เป็นอัลบั้มที่ดีที่สุดของวงได้ด้วยซ�้ำ แนะน�ำเลยอัลบั้มนี้ รีบไปหามาฟังด่วน ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


CLASSIC ALBUM

FLEET FOXES

ALBUM : CRACK-UP LABEL : NONESUCH RIYL : BON IVER, MY MORNING JACKET, FATHER JOHN MISTY ตอบสนองย่านความเสียว : 8.5 หลังจากพักวงไปสามปี วงดนตรีอเมริกันอิน ดี้โฟล์คอย่าง Fleet Foxes ซึ่งก่อตั้งกันเมื่อ ปี 2006 จากเมืองซีแอตเทิล วอชิงตัน และ ออกอัลบั้มแรกในปี 2008 ชื่อเดียวกับชื่อวง โดยเป็นที่กล่าวขวัญกันมากในความละเมียด ละไมของดนตรี และตอกย�้าความยอดเยี่ยม กับอัลบั้มที่ 2 อย่าง Helplessness Blues ในปี 2011 หลังจากทัวร์ สนับสนุนอัลบั้ม ทางวงก็ประกาศพักวงชั่วคราวในปี 2013-2016 กลับ มากับอัลบั้มล่าสุด Crack-Up โดยที่สมาชิกวงยังเป็นชุดเดิมกับอัลบั้ม ทีแ่ ล้วโดยแกนน�าและนักแต่งเพลงหลักได้แก่ Robin Pecknold ร้องน�า, กีตาร์, เปียโน, และอืน่ ๆ อีกมากมาย Skyler Skjelset กีตาร์, ร้องน�า, และอีกมากมาย Christian Wargo เบส, ร้อง Casey Wescott เปียโน, คีย์บอร์ด และ Morgan Henderson ดับเบิ้ลเบส, เชลโล่, ฟลุต, และ คลาริเน็ต ซึ่ง Morgan เคยเป็นอดีตมือเบสวงโพสท์ฮาร์ดคอร์โคตร แนวอย่าง The Blood Brothers ที่บอกว่าเครื่องดนตรีอื่น ๆ อีก มากมาย สามารถหาดูได้จากในปกอัลบั้มที่มีบอกไว้ชัดเจนว่าสมาชิก แต่ละคนเล่นอะไรในแต่ละเพลงบ้าง ส่วนสมาชิกที่ขาดหายไปได้แก่ มือกลอง Josh Tillman หรือที่เรารู้จักกันในอีกชื่อว่า Father John Misty นักร้องนักแต่งเพลงสุดเท่ ซึ่งไปได้ดีกับอัลบั้มเดี่ยว โดยที่อัลบั้ม นี้ได้หลาย ๆ นักดนตรีมาตีกลองให้และโปรดิวซ์โดย Robin Pecknold และ Skyler Skjelset และมิกซ์โดยยอดฝีมือแห่งวงการอินดี้อย่าง Phil Ek ที่เคยร่วมงานกับ Built To Spill, Modest Mouse, และ The Shins เปิดอัลบั้มมากับเพลงแรก I Am All That I Need / Arroyo Seco / Thumbprint Scar แค่ชอื่ เพลงก็อนิ ดีแ้ ล้ว ขึน้ มาเป็นโฟล์คเหงา ๆ ดูเอท กับนักร้องสาว ตัดเข้าท่อนรายละเอียดดนตรีเยอะมาก เพลงค่อน ข้างจะเล่นกับอารมณ์ Cassius, - ละเมียดมาก ๆ กลิ่นไซคีเดลิคตลบ อบอวล เพลงมีจังหวะขึ้นมาหน่อย - Naiads, Cassadies เพลงนี้ฟัง ง่าย ถ้าเทียบกับสองเพลงแรก ฟังผ่อนคลาย Kept Woman อินโทร เพราะมาก เสียงร้องประสานก็เพราะ ดนตรีค่อนข้างจะน้อย เป็น เพลงผ่อนคลายอีกเพลง Third of May / Ōdaigahara เพราะมาก ๆ ฟังแล้วเหมือนก�าลังเดินทาง เป็นเพลงที่ยาวที่สุดในอัลบั้ม If You Need To, Keep Time On Me เพลงนี้เอาตาย เพราะแบบเพราะชิบ หาย ฟังง่าย ๆ เลย Mearcstapa ดนตรีซับซ้อน รายละเอียดมากมาย จังหวะไม่ธรรมดา ฟังตอนเมานี่มีหลุดออกจากร่าง On Another Ocean (January / June) เหมือนฟังบทสวด เสียงร้องในเพลงนี้ดี มาก ๆ Fool’s Errand เร่งจังหวะขึ้นมาหน่อย มีอารมณ์โฟล์คโบราณ ท่อนฮุคนี่สุด ๆ ไปเลย I Should See Memphis เสียงร้องค่อนข้าง จะต่างกับเพลงอื่น เครื่องสายล่องลอยเต็มไปหมด Crack-Up ร้อง ประสานกันเพราะมาก จังหวะย�่า ๆ มีเสียงเครื่องเป่าคอยประสานรับ มีอะไรหลายอย่างใน Crack-Up ที่ท�าให้นึกถึง A Moon Shaped Pool อัลบั้มล่าสุดของ Radiohead ที่เคยเขียนถึงไปแล้ว ไม่ ว่าจะเป็นบรรยากาศ โครงสร้าง และความสลับซับซ้อนของเพลง จะ ว่าเป็นอัลบั้มที่ฟังง่าย ผ่อนคลาย ก็ฟังได้ หรือจะฟังรายละเอียดของ ดนตรีที่สลับซับซ้อนก็ได้เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับมุมมองของคนฟัง การ กลับมาของ Fleet Foxes หลังจากพักวงไปช่วงนึงก็ถือว่าสมศักดิ์ศรีกับ การเป็นวงดนตรีรุ่นใหม่ที่น่าจับตามองในตอนที่ออกอัลบั้มแรก ใครที่ อยากหาอะไรเพราะ ๆ แต่เคี้ยวยากนิดนึง ลองหาอัลบั้มนี้มาฟังได้ รับประกันว่าไม่ผิดหวัง ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

NOTE

DEPECHE MODE

ALBUM : VIOLATOR LABEL : MUTE RIYL : NEW ORDER, THE HUMAN LEAGUE, GARY NUMAN

ต่อเนือ่ งจากเล่มทีแ่ ล้วทีค่ ลาสสิคอัลบัม้ เขียนถึงวงและหนึง่ ในอัลบัม้ ทีผ่ มชอบมากทีส่ ดุ เล่มนีผ้ มจะเขียนถึงวงรุน่ ใกล้เคียงกัน อายุวงอาจจะมาทีหลังเล็กน้อย แต่อลั บัม้ ออกมาปีใกล้ เคียงกัน สไตล์เพลงอาจต่างกันเล็กน้อย แต่คดิ ว่ากลุม่ แฟนเพลงค่อนข้างใกล้เคียงกัน วงทีว่ า่ นีค้ อื Depeche Mode อัลบัม้ Violator ซึง่ เป็นอัลบัม้ ที่ 7 ออกมาในปี 1990 Depeche Mode เป็นวงดนตรีจากบาซิลดอน เอสเซ็กซ์ ประเทศอังกฤษ ก่อตัง้ วงในปี 1980 โดยมีสมาชิกทีอ่ ดั เสียงในอัลบัม้ นี้ ประกอบด้วย Dave Gahan ร้องน�า Martin Gore กีตาร์, คียบ์ อร์ด และแต่ง เพลงทัง้ หมดในอัลบัม้ Andy Fletcher เบส, คียบ์ อร์ด และ Alan Wilder กลอง, คียบ์ อร์ด และ เปียโน ดนตรีของ Depeche Mode เป็นอัลเทอร์เนทีฟทีม่ สี า� เนียงแบบซินธ์ปอ็ ป อิเล็กทรอนิคทีม่ ี อิทธิพลจากโพสท์พงั้ ก์ ในช่วงแรกดนตรีคอ่ นข้างจะมีความสดใส แต่ในช่วงปลายยุค 80’s ดนตรี จะมีความมืดหม่นมากขึน้ เห็นได้ชดั จากอัลบัม้ ก่อนหน้าอย่าง Music For The Masses ทีอ่ อก มาในปี 1987 และยิง่ ตอกย�า้ ความมืดหม่นมากขึน้ จากอัลบัม้ Violator นี้ อัลบัม้ นีโ้ ปรดิวซ์โดย ทางวงเองร่วมกับ Flood ทีห่ ลังจากนีจ้ ะได้ทา� งานร่วมกับ U2, Nine Inch Nails, The Smashing Pumpkins ส่วนการมิกซ์เป็นหน้าทีข่ อง François Kevorkian ที่ไม่คอ่ ยมีผลงานมากมาย นัก แต่ในอัลบัม้ เขาไม่ได้มกิ ซ์เพลงดังอย่าง Enjoy The Silence ซึง่ การมิกซ์เพลงนีเ้ ป็นหน้าที่ ของ Daniel Miller ผูก้ อ่ ตัง้ Mute Records และมิกซ์เพลงนีร้ ว่ มกับ Phil Legg ส่วนปกอัลบัม้ เป็นการออกแบบและถ่ายรูปโดยยอดฝีมอื อย่าง Anton Corbijn ทีภ่ ายหลังไปได้ดกี บั การก�ากับ ภาพยนตร์อตั ชีวประวัตขิ อง Ian Curtis อย่างเรือ่ ง Control ซึง่ รูปถ่ายในปกอัลบัม้ นีส้ วยมาก ๆ เปิดอัลบัม้ มากับ World In My Eyes ดนตรีเป็นอิเล็คทรอนิคทีม่ คี วามหม่นเล็กน้อย แต่ยงั พอโยกตามได้ ได้ยนิ อิทธิพลจาก Kraftwerk อยูม่ ากพอสมควร ท่อนฮุคติดหูมาก เป็นซิงเกิล้ ที่ 4 ของอัลบัม้ Sweetest Perfection จังหวะหน่วง เสียงดนตรีไม่เยอะเท่าเพลงแรก จังหวะกลอง ย�า่ ๆ มีเครือ่ งสายประกอบ พอมีเสียงกีตาร์ให้ได้ยนิ Personal Jesus เพลงนีเ้ ป็นเพลงชาติเลย ได้ยนิ เมือ่ ไหร่ตอ้ งลุกขึน้ ยืน ดนตรีเกือบจะเป็นเพลงร็อกทีม่ ซี าวด์อเิ ล็กทรอนิคเป็นส่วนประกอบ เป็นซิงเกิล้ แรกของอัลบัม้ ท�าอันดับในชาร์ตได้ที่ 13 ในฝัง่ UK และอันดับที่ 28 ในฝัง่ อเมริกา Halo กลับมาเป็นอิเล็กทรอนิคอีกเพลง แต่เสียงกลองสด จังหวะค่อนข้างลึกลับ Waiting For The Night เป็นเพลงทีส่ ว่ นตัวชอบมาก ๆ ชอบแทบจะทีส่ ดุ ของวงเลย ดนตรีนอ้ ย ๆ ได้ยนิ แบบ แผ่ว ๆ เป็นเพลงหม่นทีเ่ พราะมาก ๆ Enjoy The Silence เพลงชาติอกี เพลง แทบจะทุกคนต้อง เคยได้ยนิ เพลงนี้ ดนตรีใกล้เคียง New Order แต่หม่นกว่า ท่อนฮุคนี่ใครร้องตามไม่ได้ ไปอยู่ ที่ไหนมา เป็นซิงเกิล้ ที่ 2 ของอัลบัม้ ได้รางวัลซิงเกิล้ ยอดเยีย่ มของอังกฤษในปี 1991 จากเวที Brit Awards เว็บไซต์ Pitchfork จัดให้อยู่ในอันดับ 15 จาก Top 200 Tracks Of The 90’s หลาย ๆ คนยกให้เป็นเพลงทีด่ ที สี่ ดุ ของวง Policy Of Truth ซิงเกิล้ ที่ 3 มีจงั หวะขึน้ มาหน่อย ค่อน ข้างฟังสนุก ดนตรีโจ๊ะ ท่อนฮุคติดหู Blue Dress เพลงนีด้ าร์ค ถ้าตัดซาวด์อเิ ล็กทรอนิคออกไปจะ ได้ยนิ เพลงของ The Smiths เลย Clean ค่อนข้างจะหม่นมาก ๆ ชอบช่วงท้ายเพลง เป็นเพลงปิด ท้ายอัลบัม้ Violator เป็นอัลบัม้ ทีป่ ระสบความส�าเร็จทีส่ ดุ ทัง้ ด้านค�าวิจารณ์และยอดขายของวงใน ยุคนัน้ เป็นอัลบัม้ แรกทีค่ นจะยกตัวอย่างถ้าพูดถึงวง Depeche Mode และเป็นอิทธิพลให้กบั วง ดนตรีในยุค 90’s อีกมากมาย แม้แต่ในสายเมทัล วงดนตรีหลายวงยกว่าอัลบัม้ นีเ้ ป็นแรงบันดาล ใจในการฟังเพลงและการเล่นดนตรีอย่างเช่น Deftones โดยเฉพาะ Chino Moreno เวลาพูดถึง อิทธิพลและแรงบันดาลใจ เขาจะพูดถึง Depeche Mode อยูเ่ สมอ หรือแม้แต่วงดูม เมทัลอย่าง Paradise Lost ไม่เชือ่ ลองไปหาอัลบัม้ Host มาฟัง จะรูว้ า่ Violator มีอทิ ธิพลกับอัลบัม้ นีม้ าก ขนาดไหน หลังออกอัลบัม้ Violator ได้ออกอัลบัม้ Songs Of Faith And Devotion ในปี 1993 ซึง่ เป็นอัลบัม้ ทีร่ อ็ กทีส่ ดุ ของวง เพราะต้านทานกระแสอัลเทอร์เนทีฟร็อกและกรันจ์จากทางฝัง่ อเมริกาไม่ไหว หลังจากนัน้ ในปี 1995 Alan Wilder มือกลอง คียบ์ อร์ด และเปียโน ก็ออกจาก วงและตัวนักร้องน�า Dave Gahan ก็ตดิ เฮโรอีนอย่างหนักในช่วงนัน้ จนมีขา่ วลือว่าวงแทบจะ แตก ในการทัวร์สนับสนุนอัลบัม้ Songs Of Faith And Devotion นีเ้ อง วงประกาศว่าจะมีการ ทัวร์คอนเสิรต์ ขึน้ ในประเทศไทย แต่กต็ อ้ งยกเลิกไปด้วยเหตุผลบางประการ ปัจจุบนั สมาชิกทัง้ 3 คนของ Depeche Mode ยังคงท�าดนตรีกนั อยู่ อัลบัม้ ล่าสุดพึง่ ออกมาในต้นปีนอี้ ย่าง Spirit ก็ ถือว่าเป็นอัลบัม้ ที่ใช้ได้ แต่ความยอดเยีย่ มยังไงก็ไม่เท่าช่วงทีพ่ คี ทีส่ ดุ ของวงอย่างอัลบัม้ Violator นี้ ไม่เชือ่ ลองไปหาดูวดี โี อ Devotional Tour ทีอ่ อกมาในปี 1993 ว่าช่วงนัน้ พีคและยอดเยีย่ มมาก ขนาดไหน - BLAST

magazine - 039


BLA BLA BLAST

ศิลป นอันเดอร กราวนด และอินดี้ในเมืองไทย กับทิศทางและแสงสว่างปลายอุโมงค ที่ดูจะสดใสมากขึ้น?

หากใครได้ติดตามข่าวสาร ของวงการดนตรีบ้านเราในช่วง 1-2 เดือนที่ผ่านมาอยู่บ้างคงพอจะทราบ ว่า ฤกษ์ดีปีหน้าจะมีรายการใหม่ ที่เกี่ยวกับแวดวงฮิปฮอปและแร็ป โดยตรงออนแอร์ทางฟรีทีวี 2 ช่อง 2 รายการโดยมิได้นัดหมาย โดยมี 040

- BLAST

magazine -

เนื้อหาคล้ายคลึงกันที่เกี่ยวกับการ ประกวดเพื่อค้นหาแร็ปเพอร์หน้า ใหม่ของเมืองไทย หนึ่งก็คือ “Show Me The Money Thailand” ซึ่ง ทางช่อง True4U ซื้อลิขสิทธิ์มาจาก รายการที่ฮอตฮิตมากที่สุดรายการ หนึ่งของประเทศเกาหลีใต้ ส่วนอีก

หนึ่งรายการอย่าง “The Rapper” นั้นสรรสร้างโดยฝีมือของคนไทย อย่างเจ้าพ่อเกมโชว์ Workpoint Entertainment และ บริษัท โต๊ะ กลมโทรทัศน์ จ�ากัด ซึ่งรายหลังเคย อยู่เบื้องหลังการประกวดร้องเพลง อย่าง The Voice Thailand ในซีซั่น

1-2 มาแล้ว หลายคนที่อ่านมาจนถึงตัว อักษรนี้อาจสงสัยว่ามันเกี่ยวข้อง อะไรกับหัวข้อที่ผมหยิบยกมาเขียน ในครั้งนี้ซึ่งจั่วหัวว่าเป็นเรื่องราวของ ศิลปินอันเดอร์กราวนด์ในเมืองไทย ซึ่งอาจหมายรวมไปถึงศิลปินอินดี้ที่มี ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


CHANOM

ความอิสระในการสร้างสรรค์บทเพลง ออกมาให้คอดนตรีทั่วประเทศได้ เสพย์กัน เชื่อเหลือเกินว่า แร็ปเพอร์ที่ ตัดสินใจสมัครเข้าร่วมแข่งขันของ ทั้ง 2 รายการดังกล่าว (ซึ่งเปิดรับ สมัครมาสักพักใหญ่) ส่วนใหญ่ต่างก็ เป็น “Nobody” ที่แทบไม่เคยมีใคร รู้จักชื่อเสียงเรียงนามมาก่อน ซึ่งก็ สามารถเปรียบเทียบได้ว่าพวกเขา เป็นศิลปินใต้ดินที่มีจุดเริ่มต้นในการ ไล่ล่าความฝันทางดนตรีไม่ต่างจาก วงดนตรีแนวไหนก็ตาม หรืออย่างรายการ The Rapper ก็มีการเผยโฉมศิลปินสาย ฮิปฮอปที่มีชื่อเสียงจ�ำนวน 6 คนซึ่ง จะเข้ามาช่วยกันเฟ้นหาแร็ปเพอร์สาย เลือดใหม่ร่วมกันทั้ง โจอี้ บอย, ขัน Thaitanium, กอล์ฟ ฟักกลิ้ง ฮีโร่, Twopee Southside, ปู่จ๋าน ลองไมค์ และ UrboyTJ ซึ่งแต่ละคนต่างก็ถือ ก�ำเนิดมาจากแวดวงฮิปฮอปอันเดอร์ กราวนด์ทั้งสิ้น... หรือคุณจะปฏิเสธว่า วงฮิปฮอปในต�ำนานอย่าง AA Crew ที่มี โจอี้ บอย และ ขันเงิน เนื้อนวล ร่วมเป็นสมาชิกไม่ได้เป็นผู้บุกเบิกให้ ศิลปินฮิปฮอปชาวไทยในยุคต่อมาให้ มีที่ทางอันชัดเจนของตนเองกันล่ะ? อีกหนึ่งประเด็นส�ำคัญที่คงจะ ไม่พูดถึงไม่ได้นั่นก็คือ การที่รายการ The Rapper ได้ทีม Rap is Now ผู้ ปลุกกระแสการแร็ปแบทเทิลจากที่ แต่เดิมจัดกันเพียงวงแคบ ๆ ในซีน อันเดอร์กราวนด์ที่ไม่ต่างอะไรจาก ภาพที่เราเห็นในภาพยนตร์เรื่อง 8 Mile เมื่อ 15 ปีที่แล้วซึ่งมีแร็ปเพอร์ ระดับโลกอย่าง Eminem น�ำแสดง สู่ การเป็นปรากฏการณ์ที่สั่นสะเทือนวง การฮิปฮอปเมืองไทยมาร่วม “RUN” และสร้างสรรค์รายการอีกแรง รวม ถึง หลุยส์ (aka 1-Flow) พิธีกรจาก รายการแร็ปแบทเทิลแห่งยุคอย่าง The War is On ทั้ง 3 ซีซั่นก็ก้าว ขึ้นมาอยู่บนดินในฐานะพิธีกรของ รายการช่อง Workpoint อีกต่างหาก ที่ยกเรื่องราวของรายการประ กวดแร็ปเพอร์มาเกริ่นน�ำไม่ใช่เพราะ ผม “อิน” หรือ “เติบโต” มากับบีตส์ ฮิปฮอป หรือหวังจะตีเนียนโปรโมต รายการที่ผมไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องแต่ อย่างใด เพียงแต่ว่านี่อาจเป็นภาพที่ ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

ชัดเจนที่สุดในการบ่งบอกว่า การที่ ศิลปินอันเดอร์กราวนด์จะก้าวขึ้นมา เจิดจรัสในกระแสหลัก “ไม่ใช่สิ่งที่ เป็นไปไม่ได้” ครั้งหนึ่งผมเคยกล่าวกับ รุ่นพี่ในวงการที่ผมเคารพคนหนึ่ง ว่า หลายปีที่ผ่านมา วงการเพลง อันเดอร์กราวนด์และอินดี้ในบ้านเรา คึกคักมาก เรามีโอกาสได้ท�ำความ รู้จักกับศิลปินเดี่ยวและวงดนตรีที่ ท�ำเพลงกันเอง โปรโมตกันเอง จัด จ�ำหน่ายกันเองในจ�ำนวนที่มาก ขึ้น อาจจะมากกว่ายุครุ่งเรืองของ คลื่นวิทยุ Fat Radio ด้วยซ�้ำไป หาก เปรียบวงการดนตรีบ้านเราเหมือน มหาสมุทรอันกว้างใหญ่ ซีนอันเดอร์ กราวนด์และอินดี้คงเสมือนเป็นคลื่น ที่มีความเร็วลมแรงอยู่พอสมควร และเป็นคลื่นลูกที่ขยายวงกว้างมาก ขึ้นเรื่อย ๆ ด้วย นั่นอาจเป็นเพราะโลกใบนี้ที่ เปลี่ยนไปแล้วโดยสิ้นเชิง ยุค Digital ที่ท�ำลายล้างแพลตฟอร์ม Physical ลงอย่างราบคาบซึ่งหลายคนมอง เห็นแต่ข้อเสีย แต่ความดีงามที่แอบ ซ่อนอยู่ก็คงเป็นการที่ศิลปินและแฟน เพลงสามารถเชื่อมโยงเข้าหากัน ได้ง่ายดายมากขึ้น เป็นช่องทางที่ผู้ สร้างศิลปะทุกแขนงใช้ติดต่อสื่อสาร กับผู้รับสารในแบบที่ไม่ต้องผ่านค่าย หรือผ่านใคร ซึ่งนั่นน่าจะส่งผลดีต่อ ศิลปินโดยเฉพาะในแวดวงใต้ดินหรือ อินดี้มากกว่าด้วยซ�้ำหรือเปล่า? เราต่างได้ทราบว่า Bomb at Track วงแร็ป เมทัลที่สมาชิกวง มีอายุเพียง 20 ต้น ๆ และเพิ่งก่อ ตั้งวงมาได้เพียงปีกว่าได้ไปประกาศ ศักดาวงร็อกไทยถึงเทศกาลดนตรี ร็อกที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในเกาหลีใต้ อย่าง Busan International Rock Festival 2017 วงโพสต์ร็อกอย่าง Hope the flowers ได้เดินทางไป เปิดการแสดงสดที่ประเทศไต้หวัน สายทรอปิคอลป๊อปสดใสอย่าง Gym and Swim ก็ออกทัวร์ทั้งในประเทศ ญี่ปุ่นและไต้หวันมาแล้ว หรือแม้แต่ การที่วง BrandNew Sunset เปิด ตัวอัลบั้มล่าสุดที่พวกเขากลายเป็น ศิลปินอิสระอย่างเต็มตัวอีกครั้งอย่าง Of Space and Time ด้วยซิงเกิ้ล โปรโมตเพลงแรกที่มีความยาวถึง 17

นาทีเศษ หรือล่าสุดกับการที่วงดนตรี เมทัล ฮาร์ดคอร์ที่ใช้ชีวิตอยู่ในวงการ เพลงใต้ดินมามากกว่า 10 ปีอย่าง Annalynn ซึ่งขึ้นมาสูดลมหายใจบน ภาคพื้นดินในระบบค่ายเพลง เป็นต้น ที่ยกตัวอย่างมาทั้งหมด 90% (หรือมากกว่านั้น) เราก็รับรู้ข่าวสาร จากโซเชียลมีเดียของศิลปินเองมิใช่ หรือ? ดูเหมือนว่ามันจะเป็นแสงสว่าง ปลายอุโมงค์ที่ศิลปินซึ่งมีพื้นที่จ�ำกัด ในการน�ำเสนอผลงานจะมีโอกาสลุก ขึ้นมาเชิดหน้าชูตา หายใจได้อย่าง เต็มปอดมากขึ้น แต่หากมันเป็นคลื่นที่ทวีความ รุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ เหตุใดมันจึงพัดมา ไม่ถึงชายฝั่งสักที? สื่อกระแสหลักยังคงมองข้าม วิถีแห่งการสร้างสรรค์ผลงานของ พวกเขา? คนฟังยังไม่เปิดใจ ตั้งแง่ว่า ฟังยาก? หรือปัญหาอยู่ที่ทัศนคติของ ตัวศิลปินเองกันแน่? ย้อนกลับไปสู่โลกแห่งฮิปฮอปที่ ผมกล่าวถึงในตอนแรก กว่าที่ศิลปิน ที่มีชื่อเสียงเหล่านั้นจะเดินทางมาถึง จุดนี้ เคยมีช่วงเวลาไหนบ้างไหมที่ พวกเขา “หยุด” จากมิกซ์เทปที่เด็กหนุ่ม 3 คนในนาม Thaitanium สู่การครบ รอบ 17 ปีของวงในปีนี้ที่มาพร้อมสตู ดิโออัลบั้มล�ำดับที่ 5 อย่าง Now เจ้า พ่อฟีทเจอริ่ง กอล์ฟ ฟักกลิ้ง ฮีโร่ ที่พักหลังเริ่มออกจอโทรทัศน์มากขึ้น ในบทบาทคอมเมนเตเตอร์รายการ ต่าง ๆ กลายเป็นพรีเซนเตอร์ หรือ แม้กระทั่งการท�ำเพลงโฆษณาที่หลาย คนอาจมองว่าเป็นการขายวิญญาณ แต่สิ่งที่เขาท�ำทั้งหมดก็เพื่อหาเลี้ยง ครอบครัว ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าเชิดชู และ ที่ผ่านมา เขาก็พิสูจน์ตัวเองจากไรห์ม อันจัดจ้านและถึงลูกถึงคนอันเป็น เอกลักษณ์มากว่า 10 ปีไม่ใช่หรือ แม้กระทั่ง โจอี้ บอย ที่พักหลังหัน ไปโฟกัสกับกิจกรรมอื่น ๆ แต่ใครจะ ปฏิเสธล่ะว่า 7 อัลบั้มเต็มระหว่างปี 2538-2547 และผลงานอีกมากมาย ของเขาได้สร้างคุโณปการให้กับวง การฮิปฮอปและแร็ปของเมืองไทย อย่างมากมายมหาศาล หรือจะเป็นค�ำถามที่เกิดขึ้นกับ ทีม Rap is Now ซึ่งถือก�ำเนิดจาก การจัดปาร์ตี้ฮิปฮอปอันเดอร์กราวนด์

ขนาดย่อมที่มีคนร่วมงานเพียงหลัก ร้อย ก่อนจะต่อยอดมาสู่การท�ำราย การแร็ปแบทเทิลแห่งยุคที่ใช้ช่องทาง ออนไลน์เพียงช่องทางเดียวในการ โปรโมต และมีคนซื้อบัตรมาชมรอบ ไฟนอลของศึกแร็ปแบทเทิลหลาย พันคนว่า การท�ำงานร่วมกับช่อง Workpoint ซึ่งเป็นตัวพ่อของวงการ โทรทัศน์ไทยในยุคสมัยนี้จะท�ำให้พวก เขาสูญเสียตัวตนไปมากน้อยแค่ไหน การออนแอร์ในช่องฟรีทีวีซึ่งแน่นอน ว่าต้องไร้ซึ่งค�ำหยาบในการประชัน ฝีปากมันคงไม่สนุกแล้ว ค�ำถามก็คือ การแร็ปมันจ�ำเป็นต้องใช้ค�ำหยาบพ่น ใส่กันเพียงอย่างเดียวหรือ? และการที่ ฟักกลิ้ง ฮีโร่ ประกาศระหว่างโชว์บนเวทีว่า Rap is Now เพิ่งจะปลดหนี้ราว 2 ล้านบาท ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างการท�ำรายการแร็ป แบทเทิลในซีซนั่ 3 ได้กอ่ นรอบไฟนอล จะเกิดขึ้นแสดงให้เห็นว่า การล้มครั้ง ใหญ่ในหนนี้ไม่ได้ท�ำให้ความรักและ ความเชื่อในสิ่งที่พวกเขาท�ำมลายหาย ไปแต่อย่างใด แน่นอนว่าถนนสายดนตรีโดย เฉพาะในเมืองไทยไม่ใช่เส้นทางที่ สวยหรู ใคร ๆ ก็รู้ในเรื่องนี้ ยิ่งเป็น ศิลปินอิสระในซีนอันเดอร์กราวนด์ หรืออินดี้ที่ไม่ได้มีระบบค่ายรองรับ ยิ่งแล้วใหญ่ เชื่อว่าพวกคุณต้องผ่าน ความรู้สึกเหนื่อยล้า ท้อแท้ ล้มลุก คลุกคลาน หรือบาดเจ็บ มาไม่มากก็ น้อย แต่หากยัง “รัก” และ “เชื่อ” ในสิ่งที่ท�ำ ก็ไม่มีเหตุผลอันใดที่จะ “หยุด” อยู่เพียงเท่านี้ ไม่ได้โลกสวย ไม่ได้ตัดสินฝ่าย ใดว่าเป็นคนผิด ไม่ได้ต้องการให้คิด เหมือนหรือต่างไปจากผม แต่ผมเชื่อ เสมอว่า “ไม่มีอะไรที่เป็นไปไม่ได้” ทุกปัญหาย่อมมีทางออกเสมอ ไม่ ทางใด... ก็ทางหนึ่ง และที่ส�ำคัญ มี ศิลปินจ�ำนวนไม่น้อยที่ท�ำให้เห็นเป็น รูปธรรมแล้ว แสงสว่างปลายอุโมงค์ยังคงตั้ง มั่นอยู่ที่เดิม ทีนี้ก็ได้เวลาถามตัวเอง แล้วล่ะว่า... คุณยังคงจะก้าวไปหา แสงนั้นอย่างมุ่งมั่นต่อไปหรือไม่?

- BLAST

magazine -

041


COVER STORY

042

- BLAST

magazine -

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


BLAST TEAM

WIKIPEDIA, JACOB CARTEL THEO WARGO

เว้นวรรคจากงาน Sick Of It All เพียงเดือนเดียว พีน่ อ้ งชาวไทยก็ได้กลับมา เดือดระลอกใหม่ทนั ทีกบั Madball อีกหนึง่ ต�านานนิวยอร์คฮาร์ดคอร์ ทีจ่ ะมาเล่นโชว์ ให้ดกู นั สด ๆ ในกรุงเทพฯ วันที ่ 8 ธันวาคม ทีจ่ ะถึงนี ้ ซึง่ บอกเลยว่าไม่งา่ ยแน่นอนทีว่ ง จะมาบ้านเราเป็นครัง้ แรก เพราะฉะนัน้ ก็ เตรียมตัวกันไว้ให้พร้อมเสียแต่เนิน่ ๆ จะได้ไม่ ต้องมาโอดครวญบ่นเสียดายกันภายหลัง แน่นอนว่าเพือ่ เป็นการต้อนรับการมาเยือน ของพวกเขา เรามีบทสัมภาษณ์พเิ ศษ เฟรดดี ้ คริเชียน นักร้องน�าและแกนหลักคน ส�าคัญของ Madball กับเรือ่ งราวเส้นทาง จุดเริม่ ต้นของวง แนวคิดในผลงาน ทัง้ ใน อดีต และปัจจุบนั จากปากค�าของเขาเอง มา ให้แฟน Blast แม็กกาซีน ได้อา่ นกัน เผือ่ ว่า จะท�าให้รจู้ กั วงดนตรีวงนีม้ ากขึน้ กว่าทีเ่ คย

ส�าหรับแฟนเพลงสายฮาร ดคอร คง ไม่มีใครไม่รจู้ กั Madball แต่ถา้ จ�าเป น ต้องแนะน�าวงแบบสัน้ ๆ คุณจะบอก ว่า… เฟรดดี:้ พวกเราเป็นวง นิวยอร์คฮาร์ดคอร์ ทีร่ วมตัวกัน เล่นดนตรีมาตัง้ แต่ปี 1989 มีผล งานแรกออกมาเป็นอีพชี อื่ “Ball of Destruction” และเริม่ ออกทัวร์กนั จริงจังในช่วงต้นยุค 90 ผมค่อนข้าง ใกล้ชดิ กับวง Agnostic Front เพราะ โรเจอร์ มิเรท (นักร้องน�า) เป็นพี่ ชายของผม เขาเป็นคนแรกทีช่ กั น�า ผมเข้ามาสูว่ งการฮาร์ดคอร์ เดิมที Madball ตัง้ ใจให้เป็นไซด์โปรเจ็กต์ ของ Agnostic Front ครับ แต่สดุ ท้าย มันก็มเี ส้นทางของมันเอง และกลาย มาเป็นเราอย่างทุกวันนี้

ของ Agnostic Front แต่สดุ ท้ายมัน ไม่ได้นา� ไปใช้ แน่นอนว่าทัง้ หมดมัน มาจากมันสมองของ โรเจอร์ กับ วินนีย์ ผมไม่ได้แต่งเพลงใด ๆ ในงาน 2 ชิน้ แรกของ Madball อย่างในอีพี “Droppin’ Many Suckers” ส่วน ใหญ่กเ็ ป็นฝีมอื ของ โรเจอร์ กับ แมต เฮนเดอร์สนั (อดีตสมาชิก Agnostic Front)

ย้อนกลับไปตอนออกตะลอนกับ Agnostic Front ครัง้ แรก คุณอายุ เท่าไหร่ เฟรดดี:้ น่าจะซัก 7 หรือ 8 ขวบ (หัวเราะ) แน่นอนว่าครอบครัว เป็นห่วงผมมาก ๆ โดยเฉพาะแม่ ทริปแรกของผมกับพวกเขาคือเจอร์ซี ช่วงหน้าร้อนในยุค 80s ตอนนัน้ โรเจอร์ น่าจะอายุสกั 18 เขาเริม่ เข้า งัน้ แสดงว่าผลงานช่วงเริม่ ต้นของ วงการนี้ ไม่มีใครทีบ่ า้ นผมรูว้ า่ ใน Madball เป นฝ มอื ของ วินนีย สติกมา แวดวงฮาร์ดคอร์ใช้ชวี ติ กันอย่างไร (มือกีตาร Agnostic Front) ใช่ไหม การได้ออกมาเผชิญโลกกับเขาและคน เฟรดดี:้ งานทัง้ หมดใน “Ball อืน่ ๆ ในวง จึงเป็นประสบการณ์ทนี่ า่ of Destruction” มาจากไอเดียของ ทึง่ และบ้าคลัง่ มากส�าหรับเด็กในวัย โรเจอร์ กับ วินนีย์ ครับ มันเป็นเพลง อย่างผม ณ ตอนนัน้ ทีแ่ ต่งขึน้ ส�าหรับอีพี “United Blood” ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

แล้วคุณก็สนใจวงการฮาร ดคอร มา นับแต่นนั้ เฟรดดี:้ ใช่ครับ สิง่ ต่าง ๆ ที่ ผมซึมซับเกีย่ วกับวงการฮาร์ดคอร์เริม่ ต้นขึน้ นับตัง้ แต่นนั้ เป็นต้นมา ตอนนี้ไลน อพั ของ Madball มีใคร บ้าง เฟรดดี:้ ปัจจุบนั ก็มี โฮยา มือ เบสทีเ่ ข้ามาในวงตัง้ แต่ปี 93 และก็ อยูด่ ว้ ยกันมาตลอด เขาเป็นคนทีน่ บั ได้วา่ เป็นสมาชิกดัง้ เดิมของ Madball นอกเหนือจากตัวผม แล้วก็มี ไบรอัน มิททส์ แดเนียลส์ ทีเ่ ข้ามาร่วม อุดมการณ์กบั เราเมือ่ 15 ปีกอ่ น และ ไมค์ จัสเตียน มือกลองทีอ่ ายุนอ้ ย ทีส่ ดุ ในวง (หัวเราะ) ซึง่ ผมยังคิดอยู่ เสมอว่าเขาเป็นสมาชิกใหม่ แต่เอา จริงก็อยูก่ บั วงมา 7 ปีเข้าไปแล้ว มีใครในแวดวงพัง้ ก และฮาร ดคอร ที่ มีอทิ ธิพลต่อคุณมากกว่าพีช่ ายของ คุณเองอีกมัย้ เฟรดดี:้ น่าจะไม่มี แน่นอนว่า โร เจอร์ มิเรท ย่อมต้องถูกพูดถึงเป็น ล�าดับแรก เพราะเขาเป็นคนเปิดโลก

ทัศน์ของผมต่อวงการ ถ้าไม่มเี ขาก็ ไม่มผี มในวันนี้ แม้หลังจากนัน้ ผม จะมีนกั ร้องนักดนตรีทชี่ นื่ ชอบและมี อิทธิพลต่อตัวผมอีกหลายต่อหลาย คนก็เถอะ ขึน้ อยูก่ บั ว่าจะมองในเรือ่ ง เรือ่ งของงานดนตรี แนวคิด หรือตัว บุคคล คุณอยากให้ผมพูดถึงในแง่ ไหนดีละ่ เอาเป นในแง่ของการเล่นดนตรี หรือ การแสดงสด ทีป่ ลุกพลังฮาร ดคอร ในตัวคุณจนอยากออกไปแสดงสด มันส ๆ ต่อหน้าฝูงชนแบบนัน้ บ้างน่ะ คุณชอบใคร เฟรดดี:้ ส�าหรับผมโดยทัว่ ไป ผมเคารพในพลังในการแสดงของ ชาวฮาร์ดคอร์ทกุ คนอยูแ่ ล้ว มันมี ฟรอนท์แมนเจ๋ง ๆ อยูเ่ ต็มไปหมดใน วงการนี้ อย่างถ้าเป็นรุน่ เก่าหน่อย ก็ เช่น จอห์น โจเซฟ วง Cro-Mags, เอชอาร์ วง Bad Brains หรือแม้แต่ ลู วง Sick Of It All ทัง้ หมดนีล้ ว้ น สุดยอด นอกจากตัวบุคคลแล้ว อันที่ จริงผมยังรูส้ กึ ว่าตัวเองได้รบั อิทธิพล มาจากพลังของดนตรีในแง่ของความ กระตือรือร้นในการเสพมันด้วยนะ - BLAST

magazine - 043


พยายามพัฒนาให มนั ดีขนึ้ ในทุก ๆ ครัง้ กับผลงานใหม แต โดยรวมแล วก็ไม ได เปลีย่ นอะไรมากเสียจน กลายเป นคนละวงไปเลย เพราะเราเป นวงนิวยอร คฮาร ดคอร และจะเป นเช นนัน้ ตลอดไป แล้วอย่าง ดรูว สโตน กับหนัง สารคดี The New York Hardcore Chronicles Film ล่ะ คุณคิดว่าไง เฟรดดี:้ ผมได้ดมู นั แล้ว เจ๋งนะ ดรูว์ มีสว่ นแน่นอนกับวงการนี้ ผม หมายถึงเขาเป็นส่วนหนึง่ เลยละทีค่ อย ซัพพอร์ตแวดวงดนตรีมาตลอด สมัย ก่อนจ�าได้วา่ เขาเคยท�าวงด้วยนะ

• เฟรดดี้ และโรเจอร์ ในยุค 80 มันไม่ใช่แค่เรือ่ งทีว่ า่ เราชอบใคร หรือ เราอยากเป็นอย่างใครตอนขึน้ ไป แสดง แต่การซึมซับเอาความรูส้ กึ จากท่วงท�านองต่าง ๆ ทีเ่ ราฟัง การ เป็นส่วนหนึง่ กับสิง่ ทีเ่ ราเล่น ก็เป็นสิง่ ส�าคัญด้วยเหมือนกัน ดังนัน้ เวลาขึน้ แสดงสด โดยเฉพาะในแนวฮาร์ดคอร์ ตัวดนตรีเองก็มสี ว่ นมาก ๆ ในการ ช่วยให้เราระเบิดพลังงานออกมาตอน อยูบ่ นเวที คุณไม่จา� เป็นต้องเป็นคนที่ กระตือรือร้นเรือ่ งดนตรีมากทีส่ ดุ ใน โลกก็ได้ แต่อย่างน้อยคุณควรจะรูส้ กึ กับดนตรีทคี่ ณ ุ มีสว่ นร่วมในระดับหนึง่ ฮาร์ดคอร์มนั เป็นดนตรีทเี่ ต็มไปด้วย ความทุกข์และความวุน่ วายจากภายใน ถ้ามันไม่ถกู ปลดปล่อยออกมาตอน เล่นสด ใครล่ะจะไปเชือ่ ในสิง่ ทีค่ ณ ุ ก�าลังพูดถึง ดังนัน้ อิทธิพลส�าหรับผม จึงมีอยูส่ องอย่างคือ หนึง่ ความรูส้ กึ ทีเ่ รามีกบั ตัวดนตรี สอง บรรดานัก ดนตรีที่ได้พดู ถึงไปเมือ่ กี้ ซึง่ ผมเคารพ ในตัวของพวกเขา และสิง่ ทีพ่ วกเขา ท�าเสมอมา ยังจ�าได้ ไหมว่า อัลบัม้ ฮาร ดคอร / พัง้ ก ชุดแรกในชีวติ ของคุณ คืองาน ของวงอะไร เฟรดดี:้ โอ้ย นัน่ ง่ายมาก “United Blood” กับ “Victim in Pain” ของ Agnostic Front ไงล่ะ โรเจอร์เป็นคนให้ผมเองกับมือ สมัย ผมเด็ก ๆ ในบ้านเรามีพนี่ อ้ งกันอยู่ หลายคน ผมเป็นคนทีส่ นใจการฟัง 044

- BLAST

magazine -

มาเพือ่ สือ่ ถึงซีนฮาร์ดคอร์อย่างที่ หลายคนเข้าใจ ผมอยากสือ่ ถึงความ เป็นมนุษย์มากกว่า แต่ไม่รทู้ า� ไม คน ชอบเอาเนือ้ เพลงของวงเราไปโยงเข้า กับธีมของวงการฮาร์ดคอร์อยูต่ ลอด แม้วา่ บางทีอาจจะไม่ได้เขียนถึงใน แนวทางนัน้ ก็ตาม อย่างเช่นเพลงนี้ ทีเ่ ป็นมุมมองแบบกว้าง ๆ มันหมาย ถึงการทีค่ นเราเกิดมาพร้อมกับพลัง เอาละเราพูดถึงเรือ่ งในอดีตมาพอ ทีม่ อี ยู่ในตัว ไม่วา่ จะเป็นในแง่ของ สมควรแล้ว มาทีป่ จ จุบนั บ้าง ดูเหมือน ร่างกาย หรือจิตใจ และก็อย่างทีบ่ อก เพลงมากทีส่ ดุ มันน่าตืน่ เต้นมากเวลา ว่ายุคหลังการเขียนเพลงของคุณเริม่ ว่ามันเป็นเพลงทีพ่ ดู ถึงมนุษย์ มันเลย ทีม่ คี นเอาอัลบัม้ มาให้เราฟัง ผมลอง มีเนือ้ หาในแนวทางใหม่ ๆ ทีต่ า่ งไปจาก ไม่ได้กนิ ความหมายแค่เฉพาะผูช้ าย หมด ไม่วา่ จะเป็นแนว ร็อกแอนด์โรล วัฒนธรรมดัง้ เดิมของฮาร ดคอร อยู่ เราเลยเลือก แคนแดซ จากวง Walls ฮิพฮอพ ดิสโก้ หรือซัลซ่า เป็นความ เหมือนกัน หรือคุณก�าลังจะบอกแฟน of Jericho มาเพือ่ เป็นตัวแทนของ เพลงว่าปรัชญาของ Madball คือ รูส้ กึ ทีส่ นุกจริง ๆ เวลาเราได้คว้า มนุษย์เพศแม่ หรือผูห้ ญิงทีแ่ ข็งแกร่ง อัลบัม้ นัน้ อัลบัม้ นีม้ าฟังไปเรือ่ ย พร้อม การไม่ยดึ ติดกับอดีต แต่ควรมองไป ในเพลงนี้ กับตัดสินในใจว่า อันนัน้ ฉันชอบ อันนี้ ข้างหน้า และท�าในสิง่ ใหม่ เฟรดดี:้ ถูกครับ นีเ่ ป็นเรือ่ ง ห่วย ไม่เจ๋งเลย นัน่ แหละ ผมโตมากับ มีแฟนเพลงบอกว่า Madball มีซาวด การฟังเพลงมากมายแบบนัน้ ซึง่ ส่วน ส�าคัญส�าหรับพวกเราเลย เราเรียน ดนตรีตา่ งไปพอสมควร หากเทียบกับ รูป้ ระวัตศิ าสตร์ เพือ่ เคารพมัน แต่ ใหญ่จะเป็นการฟังผ่านแผ่นเสียง เมือ่ ก่อน เราก็ตอ้ งเดินไปข้างหน้า ผมคิดว่า เฟรดดี:้ (หัวเราะ) ไม่รสู้ ิ แม้ แล้วในความเห็นคุณ คิดว่าทุกวันนี้ใคร Madball เป็นวงนิวยอร์คอาร์ดคอร์ เราจะเปิดใจลองรับอะไรใหม่ ๆ เข้า คือคนทีท่ รงอิทธิพลมากทีส่ ดุ ในแวดวง รุน่ ที่ 2 นะ เราเป็นคนทีม่ าใหม่ใน มาบ้าง แต่ผมคิดว่าเรายังคงยึดซาวด์ วงการนี้ และอาจจะท�าบางอย่างที่ ฮาร ดคอร ดัง้ เดิมของนิวยอร์คฮาร์ดคอร์เป็น เฟรดดี:้ (หัวเราะ) ไม่อยากจะ คนรุน่ เก่าไม่เห็นด้วย แต่ผมเชือ่ ว่า แกนหลักอยูเ่ สมอนะ แต่ถา้ คุณจะ พูดซ�า้ เดิมนะ แต่ผมยังต้องกล่าวถึง ทุกคนจ�าเป็นต้องพัฒนาและก้าวหน้า เอา “Ball of Destruction” มาเป็น คุณไม่สามารถติดอยูก่ บั อดีตได้ตลอด ตัวตัง้ ต้นว่านัน่ คือซาวด์ดงั้ เดิมของ โรเจอร์ มิเรท พีช่ ายของผมอีกนัน่ แหละ เขาเพิง่ จะเขียนหนังสือเกีย่ วกับ ไปหรอก ตอนเราเริม่ วงผมยังอยู่ใน เรา มันก็แน่อยูแ่ ล้วว่ามีบางอย่างที่ ดนตรีฮาร์ดคอร์เสร็จไปเล่มหนึง่ น่า โรงเรียนอยูเ่ ลย และเพิง่ จะได้เรียนรู้ งานในปัจจุบนั มันแตกต่างออกไป จะออกวางจ�าหน่ายเร็ว ๆ นี้ นอกจาก เรือ่ งต่าง ๆ ในวงการ ถึงตอนนีก้ ผ็ า่ น นัน่ เป็นเพราะเราค้นพบช่องทางการ นัน้ ก�าลังมีโครงการจะท�าหนังด้วย โร มานานมากแล้ว มันเป็นเรือ่ งปกติที่ น�าเสนอเพลงในแบบของเรา และ เจอร์ เป็นคนทีข่ บั เคลือ่ นวงการนีอ้ ยู่ เราต้องค้นหาสิง่ ใหม่ ๆ ให้กบั สิง่ ทีเ่ รา พยายามพัฒนาให้มนั ดีขนึ้ ในทุก ๆ ท�า ผมไม่ยดึ ตืด และไม่คดิ ว่าตัวเอง ครัง้ กับผลงานใหม่ แต่โดยรวมแล้วก็ สม�า่ เสมอ แล้วก็ไม่ใช่แค่นวิ ยอร์ค จะเป็นคนหัวโบราณ ฮาร์ดคอร์ดว้ ย แต่เป็นวงการฮาร์ด ไม่ได้เปลีย่ นอะไรมากเสียจน กลาย คอร์ในภาพรวม มีคนจ�านวนมากทีเ่ ข้า เป็นคนละวงไปเลย เพราะเราเป็นวง อย่างเช่น การเอานักร้องจากวง มาในวงการนีแ้ ล้วก็ออกไปท�าอย่าง นิวยอร์คฮาร์ดคอร์ และจะเป็นเช่นนัน้ Walls of Jericho มาเป นแขกรับเชิญ ตลอดไป อืน่ แต่โรเจอร์ยงั อยู่ อาจจะรวมถึง หลายคนทีผ่ มไม่ได้พดู ถึง คนแห่งหน ในอัลบัม้ ชุดก่อนใช่ไหม ว่าแต่เพลงนัน้ คุณเขียนเนือ้ หาเกีย่ วกับอะไร ใดบนโลกใบนีก้ ต็ าม ทีย่ งั คงท�าให้ Madball ยังไม่ถงึ จุดสูงสุดของวง เฟรดดี : ้ “Born Strong” มั น วัฒนธรรมฮาร์ดคอร์มนั มีชวี ติ และ สามารถพัฒนาให้เจ งกว่านี้ได้อกี ใช่ เดินหน้าต่อไปได้ นัน่ เป็นเรือ่ งส�าคัญ เป็นเพลงทีพ่ ดู ถึงเกีย่ วกับความ ไหม แข็ ง แกร่ ง ของร่ า งกายและจิ ต และถือว่าเป็นคนทีท่ รงอิทธิพลส�าหรับ เฟรดดี:้ ใช่ครับ คนชอบพูด วิญญาณ ผมไม่ได้เขียนเพลงนีอ้ อก กันว่า โอ้ว ชอบ “Set It Off” แต่นนั่ วงการฮาร์ดคอร์ทงั้ หมด ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


มันอัลบัม้ ชุดแรกของวง ตอนทีท่ า� มัน ออกมา พวกเราทุกคนยังเป็นเด็กอยู่ เลย ไอเดียตอนนัน้ มาจากความคิดที่ ว่า ดนตรีฮาร์ดคอร์แบบไหนบ้างทีเ่ รา สามารถท�ามันออกมา โดยที่ไม่จา� เป็น ต้องเหมือนกับงานของ Agnostic Front, Murphy’s law หรือ CroMags เราคือคนหนุม่ ทีพ่ ยายามท�าใน สิง่ ทีค่ นอืน่ ไม่เคยท�ามาก่อน ปัจจุบนั ผมกับวงก็ยงั เป็นคนเดิม พร้อมที่ จะเรียนรูส้ งิ่ ใหม่ การเรียนรูเ้ ป็นสิง่ จ�าเป็นส�าหรับทุกเรือ่ งในชีวติ เป็น เหมือนจุดเริม่ ต้นของทุกสิง่ ในฐานะ นักดนตรี ผมไม่มที างทีจ่ ะแต่งเพลงใด ๆ ออกมาได้เลย ถ้าผมไม่พยายาม ท�าความเข้าใจเกีย่ วกับการเขียนเพลง ก็เหมือนกับประสบการณ์ในชีวติ นัน่ แหละ เราต้องสัง่ สมมันเพิม่ เติมอยู่ ตลอดเวลา ล่าสุดคุณออกสปลิตอัลบัม้ กับวง Wisdom In Chains ช่วยเล่าให้เรา ฟ งหน่อยเกีย่ วกับงานชิน้ นี้ เฟรดดี:้ งานชิน้ นีเ้ กิดขึน้ จาก ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

มิตรภาพเป็นหลักครับ Wisdom In Chains เป็นวงฮาร์ดคอร์จากเพนซีล วาเนีย วนเวียนอยู่ในวงการมานาน แล้ว ไม่ใช่เด็กใหม่ทเี่ พิง่ ตัง้ วงเมือ่ วาน พวกเขาให้ความนับถือในผลงานของ เรา ขณะทีส่ ว่ นตัวผม มองว่านีเ่ ป็นวง ฮาร์ดคอร์ทเี่ จ๋งมาก ไม่รทู้ า� ไมถึงได้ ถูกคนฟังมองข้ามมาตลอด หรืออาจ จะมีปจั จัยบางอย่างทีก่ ดี กันจนท�าให้ พวกเขาไม่เป็นทีร่ จู้ กั ในวงกว้างอย่างที่ ควรเป็น การออกสปลิตอัลบัม้ ร่วมกับ Madball ก็เป็นหนทางทีผ่ มพอช่วย เหลือได้ ชาวฮาร์ดคอร์แบบพวกเรา ก็เหมือนพีน่ อ้ ง การแบ่งปันมิตรภาพ ไม่วา่ จะในเรือ่ งของงานดนตรี หรือ เรือ่ งส่วนตัว เป็นสิง่ ดี ๆ ทีค่ วรมีให้ แก่กนั

ตัง้ ชือ่ ไว้แล้วว่า “For The Cause” ผมรูว้ า่ มันแปลกทีเ่ อางานใหม่มาท�า สปลิตแบบนี้ แต่เราอดใจไม่ไหว อยากปล่อยให้คนได้ลองฟังก่อนที่ ตัวงานเต็ม ๆ จะตามออกมา

ในฐานะทีค่ ณ ุ เป นฟรอนท แมนของวง คุณรูส้ กึ กดดันไหมเวลาเด็ก ๆ ยกให้ คุณเป นแบบอย่างในเส้นทางฮาร ดคอร ของพวกเขา เฟรดดี:้ โอ้ เวรละ ผมไม่ได้ อยากจะเป็นแบบอย่างของใครหรอก คือมันอาจเป็นปกติ เวลาทีเ่ ราเล่น ดนตรีหรือท�าผลงานอะไรออกมาสัก อย่าง ต่อให้เป็นสิง่ ทีอ่ ยู่ในระดับใต้ดนิ แค่ไหนก็เถอะ สุดท้ายก็จะมีคนออก มาให้ความเคารพยกย่องในตัวคุณ แต่ผมก็ยงั คงเป็นผมคนเดิม ความจริง แล้วอัลบัม้ ใหม่ของ Madball ล่ะ เราจะ ถ้าเป็นไปได้ ก็อยากจะน�าเสนอตัวเอง ออกมาในแบบทีส่ ง่างามอยูเ่ หมือน ได้ฟง เมือ่ ไหร่ ุ รูด้ ี ผมเป็นแค่มนุษย์ปถุ ชุ น เฟรดดี:้ มาแน่นอน เร็ว ๆ นี้ กัน แต่คณ แหละครับ เพลงในสปลิตอัลบัม้ ทีเ่ รา ธรรมดา และก็ยงั ท�าในสิง่ ทีผ่ ดิ พลาด อยูต่ ลอด ส่วนอะไรทีท่ า� แล้วกลาย ออกกับ Wisdom In Chains นัน่ ก็ เป็นส่วนหนึง่ ในอัลบัม้ ชุดใหม่ ซึง่ เรา ไปเป็นแรงบันดาลใจให้ใคร นัน่ ถือว่า

เป็นเกียรติกบั ตัวผมมาก ๆ ครับ ช่วงนีม้ เี หตุกอ่ การร้ายในคอนเสิรต บ่อยมาก รวมถึงการท�าร้ายนักดนตรี แบบรายบุคคลจากแฟนเพลงด้วย เช่น ในกรณีของ แกรี เมสคิล วง ProPain คุณมีความคิดเห็นยังไงเกีย่ วกับ เรือ่ งนีบ้ า้ ง เฟรดดี:้ ท�าได้แค่ตอ้ ง ระมัดระวังอย่างเดียวเลย ผมคิดว่า Madball โชคดีทมี่ มี ติ รมากกว่าศัตรู กระจายอยูท่ วั่ โลก (หัวเราะเบา ๆ) หลายเมืองทีเ่ ราไปผูค้ นก็หยิบยืน่ มิตรภาพดี ๆ ให้ตลอด มันก็มบี า้ ง บางครัง้ กับสายตาในกลุม่ คนดู ทีม่ อง มาโดยทีเ่ ราไม่รวู้ า่ เขาคิดอะไร ชอบ หรือไม่ชอบ วงอย่างเราไม่มที มี รักษา ความปลอดภัยทีจ่ ะมาดูแลอะไรตรง นีห้ รอก สิง่ ทีท่ า� ได้กแ็ ค่ระมัดระวังให้ มากทีส่ ดุ แต่เชือ่ เถอะ ไม่มอี ะไรหยุด เราจากการเดินออกไปเล่นดนตรีให้ แฟนเพลงฟังได้หรอก

- BLAST

magazine - 045


046

- BLAST

magazine -

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


ISSUE 17 - NOVEMBER 2017

- BLAST

magazine - 047


M A D B A L L 048

- BLAST

magazine -

ISSUE 17 - NOVEMBER 2017


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.