A STUDY OF THE LOCAL WISDOM TRANSMISSION PROCESS OF CHIANG MAI LOCAL ARTISANS

Page 1

O J E D An Online Journal of Education http://www.edu.chula.ac.th/ojed Faculty of Education Chulalongkorn University

A STUDY OF THE LOCAL WISDOM TRANSMISSION PROCESS OF CHIANG MAI LOCAL ARTISANS’ LANNA TUNG PAPER CARVING TECHNIQUE. การศึกษากระบวนการถายทอด ภูมิปญ  ญาทองถิ่นของชางพื้นเมืองเชียงใหม ในการทําตุงลานนาดว ยวิธกี ารฉลุลายกระดาษ

Author ปริวิทย ไวทยาชีวะ Pariwit Vitayacheeva Advisor รศ.ดร.ปุณณรัตน พิชญไพบูลย Assoc. Prof. Poonarat Pichayapaiboon, Ed.D.

OJED, Vol.4, No.1, 2009, pp. 2027-2037


O J E D OJED, Vol.4, No.1, 2009, pp. 2027-2037 วารสารอิเล็กทรอนิกส ทางการศึกษา

An Online Journal of Education http://www.edu.chula.ac.th/ojed

การศึกษากระบวนการถายทอดภูมิปญญาทองถิน่ ของชางพื้นเมืองเชียงใหม ในการทําตุงลานนาดวยวิธีการฉลุลายกระดาษ

A STUDY OF THE LOCAL WISDOM TRANSMISSION PROCESS OF CHIANG MAI LOCAL ARTISANS’ LANNA TUNG PAPER CARVING TECHNIQUE.

ปริวิทย ไวทยาชีวะ * Pariwit Vitayacheeva รศ.ดร.ปุณณรัตน พิชญไพบูลย Assoc. Prof. Poonarat Pichayapaiboon, Ed.D. Abstract The purpose of this study was to present the investigation of local wisdom transmission process. It was qualitative research using in-depth interviews, and participatory observation from 7 local artisans. The data was analyzed by analytic-induction method. The study found that Chiang Mai artisans had been familiarized with the Lanna environment, and this motivated them to become absorbed and interested in paper carving and this led to transmission. Related factors which could cause more effective transmission are the readiness of the practitioners and the learners, the materials, contents, artisans’ beliefs and spiritual beliefs. The transmission process led to new professionals and the ability to transmit knowledge and moral values to later generations with The interaction between person and learning environment. Moreover, local artisans were proud of their work as well as their learners.

บทคัดยอ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค เพื่อ นําเสนอผลการศึกษากระบวนการถายทอดความรูภูมิปญ ญาทอ งถิ่น ของชางพื้นเมือ ง เชียงใหม ในการทําตุงลานนาดวยวิธีการฉลุลายกระดาษ ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้ใชระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ดวยวิธีการ สัมภาษณเชิงลึกและการสังเกตการณแบบมีสวนรวมจากกลุมปราชญทองถิ่นและศิษย จํานวน 7 คน วิเ คราะหขอมูล ดวยการ ตีความ ผลการวิจัยพบวา สาเหตุของการถายทอด เกิดจากการไดคลุกคลีในสิ่งแวดลอมทางศิลปะจนคุนเคย มีความสนใจใน งานศิลปะพื้นบาน จนเกิดการซึมซับ สามารถฝกฝนคนควาไดดวยตัวเอง กระบวนการถายทอด ประกอบไปดวย ความพรอม ของปราชญและศิ ษย วัสดุ อุปกรณ เนื้อ หาสาระในการถายทอด คติความเชื่อ พิธีกรรมบูชาครู สวนผลที่เ กิดขึ้น จากการ ถายทอด พบวาชางผูรับการถายทอด มีความสามารถในการทําตุงกระดาษฉลุ และยังสามารถถายทอดความรู คานิยมทาง สังคม ใหกับคนอีกรุนหนึ่งได ดวยการเกิดปฏิสัมพันธระหวา งบุคคลกับสิ่งแวดลอมในการเรียนรู และปราชญทอ งถิ่นเกิด ความภาคภูมิใจในในตัวศิษยและผลงานของศิษย KEYWORDS: Transmission Process / Local Wisdom / Local Artisan / Tung คําสําคัญ : กระบวนการถายทอด, ภูมิปญญาทองถิ่น, ชางพื้นเมือง, ตุง * สาขาวิชาศิลปศึกษา ภาควิชาศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลปศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย E-mail Address: red18cmu@hotmail.com ISSN 1905-4491


บทนํา ภาคเหนือของประเทศไทยเปนดินแดนที่มีความหลากหลายทางภาษา ความเชื่อ เชื้อชาติ และวัฒนธรรม ซึ่งสามารถอยูรวมกันไดอ ยางกลมกลืน รูป แบบของงานศิลปกรรมพื้น ถิ่น จึงถูกผสมผสานไปกับ ความเชื่อตาม สถานที่ตางๆมีลักษะที่มีแบบอยางเฉพาะตัว (สุรพล ดําริหกุล, 2545) ในวัฒ นธรรมไทยภาคเหนือ หรือ ที่เรียกวา ดินแดนลานนา การดําเนินชีวิตของผูคนในสังคมจะผูกพันกับพระพุท ธศาสนาอยางเหนียวแนน มีความเชื่อและ แรงศรัท ธาในศาสนาอยางแรงกลา การที่จะสรางสิ่งของที่นํามาใช ไมวาจะเพื่อเปนพุท ธบูชา หรือเพื่อใชในความ เชื่ออื่นๆนอกเหนือจากพระพุทธศาสนา ใชในงานพิธีกรรมทั้งมงคลและอวมงคล สิ่งของเครื่องใชเหลานี้จึงเกิด จากพื้นฐานและความเขาใจในทางวัฒ นธรรมที่ สั่งสมมา การทําตุงของลานนา ถือ ว าเปน งานศิล ปหั ตถกรรม พื้นบาน ที่เปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมทางวัตถุ ที่มีบ ทบาทในหนาที่การเปนเครื่อ งใช เพื่อพิธีกรรมทางศาสนา และยังเปนงานศิลปวัตถุเพื่อประดับ ตกแตงสถานที่ใหเกิดความสวยงาม ซึ่งลวดลายการตกแตงที่สวยงาม วิจิตร บรรจง สะทอนใหเห็นถึงความเชื่อความคิดสรางสรรคและความฉลาดหลักแหลมของผูที่คิดคน (วิบูลย ลี้สุวรรณ, 2546) ซึ่ง ได คํานึ งถึ ง รูป ทรงตา งๆของตุงวา ต องสัม พั นธ กับ หนา ที่แ ละมีความหมายในการเอาไปใช มี ความ ประณี ต ความมุง มั่น ศรัท ธา และยังคงรัก ษารูป แบบที่ เปน เอกลักษณไ วอยา งครบถวน นอกจากการใชตุงใน วัฒนธรรมไทยในภาคเหนือแลว ยังปรากฏวามีการใชตุงในพื้นที่อื่นๆอีกดวย การทําตุงดวยวิธีการตัดฉลุล าย คือ การนําเอาวัสดุตางๆ ซึ่งสวนใหญจะเปนกระดาษ หรือผาพื้น มาตัดฉลุใหเปนรูปรางตามแบบที่ตองการ และมีการ ตัดและฉลุลาย ซึ่งในภาษาพื้นเมืองลานนา จะเรียกเทคนิคในการทําลวดลายแบบนี้วา “การตองลายกระดาษ” ซึ่ง การ “ตองลาย” นี้เปนหนึ่งในวิธีการสรางลวดลายใหปรากฏบนตัวตุง ดวยการใชสิ่วและคอน ตอกลงไปบนแบบ หรือ ตนแบบลายที่รางเอาไว การถายทอดความรูหรือภูมิปญญาของชางไทย จึงเปนกระบวนการสําคัญในการดํารงอยูของมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรมในทองถิ่น โดยที่ในปจจุบันนั้นเอง การทําตุงดวยวิธีการฉลุล าย มีคนทํานอยลงเรื่อยๆ เนื่อ งการ ฉลุกระดาษมีกรรมวิธีที่พิถีพิถัน ตอ งใชฝมือที่ป ระณีตมาก คอ นขางใชเวลามากในการทํา และผูทําตอ งมีความ ตั้งใจจริง รวมถึงมีพรสวรรคในการฉลุใหเปนลวดลาย จึงทําใหชางที่เปนปราชญชาวบานมีนอ ยลงตามไปดวย การทําตุงดวยวิธีการฉลุกระดาษจึงไมแพรหลายในวงกวาง นอกจากนี้การทําตุงก็ยังไมปรากฏอยูในหลักสูตรการ เรียนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนั้นเยาวชนในภาคเหนือ จึงไมมีความรูท ี่ลึกซึ้งในเรื่อ งนี้ และผูสนใจ เองก็มีอยูในวงจํากัดจริงๆ และมีการถายทอดความรูกันในกลุมเล็กๆเทานั้น ผูที่คลุกคลีกับ ผูเ ฒาผูแ กในหมูบ าน ซึ่งมีความรูความสามารถในการทําตุง ก็จ ะไดรับ ความรูในดานนี้มากกวาผูท ี่ไมไดอ ยูใกลชิด ในขณะเดียวกัน ที่ คนรุนหลังที่สนใจในเรื่องการทําฉลุตุงกระดาษ ตองพยายามศึกษาคนควาดวยตนเอง และตองอาศัยความสนใจ เปนพิเศษ เพื่อเขาสูการรับการถายทอดความรูในการทํางานศิลปกรรมพื้นบานประเภทนี้ได ผูวิจัยเองจึงตองการที่ จะทราบถึงกระบวนการถายทอดความรู คุณคาแหงการถายทอดภูมิ ปญ ญา ประวัติความเปนมา คติความเชื่อ เกี่ยวกับตุงกระดาษ กระบวนการทําตุงดวยการฉลุลาย เพื่อ นําความรูท ี่ไดจ ากการวิจัยนํามาใชกับ การเรียนการ สอนในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการศึกษาตามอัธยาศัยตอไป วัตถุประสงคการวิจัย เพื่อศึกษากระบวนการถายทอดภูมิป ญ ญาทองถิ่น ในการทําตุงลานนาดวยวิธีการฉลุล ายกระดาษ ใน ดานสาเหตุของการถายทอดภูมิปญ ญา ดานกระบวนการถายทอดภูมิป ญญาและดานผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ ถายทอดภูมิปญญา


ขอบเขตการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาถึง กระบวนการถายทอดภูมิป ญญาทองถิ่น การทําตุงลานนาดวยวิธีการฉลุ ลายกระดาษ ที่มีการผลิตในปจจุบันเทานั้น โดยทําการศึกษาวิจัยในดานตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1. สาเหตุของการถายทอดภูมิปญญา ประกอบไปดวย ความเปนมาของการถายทอด ประวัติ ความเปนมา การกอกําเหนิดของตุงกระดาษ ประวัติศาสตรท องถิ่นเปาหมายในการถายทอดภูมิป ญ ญา คติความ เชื่อเกี่ยวกับ ผลงาน ในดานความเชื่อเกี่ยวกับตุง การบูชาครู 2. กระบวนการถายทอดภูมิป ญญาในการทําตุงลานนาที่ป ระดิษฐจากกระดาษ และมีวิธีการทํา ดวยการฉลุลวดลาย ประกอบไปดวย รูป แบบการถายทอดภูมิปญญาทองถิ่น เทคนิค วิธีเ ชิงชา ง ในดานการเตรียม การตัดตัวตุง การฉลุลาย การประกอบตกแตงคุณคาทางศิลปะ ประโยชนใชส อยและองคป ระกอบพื้น ฐานอื่นๆ ในการถายทอดภูมิป ญญาทองถิ่น 3. ผลที่เกิดขึ้นจากการถายทอด ประกอบไปดวย ความสามารถของชางในการทําตุงกระดาษ คุณลักษณะอันพึงประสงคของชางที่เกิดขึ้นและสิ่งแฝงอยูภายในกระบวนการถายทอด ประโยชนท ี่คาดวาจะไดรับ ทําใหท ราบถึงกระบวนการถายทอดภูมิปญญาทองถิ่น ในการทําตุงลานนาดวยวิธีการฉลุลายกระดาษ และเปนประโยชนตอผูที่สนใจ เพื่อใหมีผลตองานในดานอนุรักษ เห็นความสําคัญและตระหนักถึงคุณคาของภูมิ ปญญาทองถิ่น เพื่อเปนแนวทางในการทําวิจัยที่เกี่ยวของกับ งานศิลปหัตถกรรมพื้นบานของลานนาและสามารถ นําองคความรูจากการถายทอด ไปสูการเรียนการสอนทั้งในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียนและการศึกษาตาม อัธยาศัยไดตอไป วิธีดําเนินการวิจัย การวิ จัย ในครั้ งนี้ ใช ระเบี ยบวิธีก ารวิจั ยเชิง คุณ ภาพ ดํ าเนิน การเก็ บ รวมรวมข อ มู ล จากการวิจั ยด วย การศึ ก ษาเอกสารที่เ กี่ ยวข อ ง การสัม ภาษณ เ ชิง ลึ ก และวิธี การจากสัง เกตอยางมีส วนร วมในการทํ างานและ กระบวนการถายทอดของชางพื้นเมืองที่มีความรูในการทําตุงกระดาษโดยตรง และเลือกสัมภาษณจํานวน 7 คน ซึ่งจะทําการสัมภาษณกลุมปราชญทองถิ่น ผูทําการถายทอดความรู 3 คน และกลุมศิษย ผูรับ การถายทอดความรู จากปราชญทองถิ่นอีก 4 คน ตามลําดับ โดยจะมีบ รรยากาศในการสัมภาษณที่เ ปนกันเอง ไมมีพิธีรีตอง เปน การ สื่อความหมายแบบโตตอบกันทั้งสองฝาย (Two-ways Communication) ที่สามารถแสดงความคิดเห็นไดเ ต็มที่ เครื่องมือวิจัยที่ใช เปนแบบสัมภาษณท ี่มีโครงสรางคําถาม ซึ่งนอกจากการสํารวจขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับ สภาพ ทั่ วไปของชุ ม ชนที่ ทํ า การวิ จั ย ผู วิ จั ยได เ ข า ไปมี ส ว นร ว มในการสั ง เกตการณแ บบมี ส ว นร วม (Participant Observation) มีสวนรวมในกิจกรรม สังเกตบรรยากาศ ขั้นตอนกระบวนการในการถายทอดความรูของประชากร ทั้งสองกลุม บันทึกลงในแบบสังเกตที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น หลังจากเก็บ รวบรวมขอมูลเรียบรอ ยจึงใชการวิเคราะห ขอมูลแบบอุปนัย ซึ่งเปนวิธีการตีความ โดยสรางขอสรุป ขอมูลจากรูป ธรรมหรือปรากฏการณที่มองเห็น ไปสูการ สรางขอสรุป ในเชิงนามธรรม (สุภางค จันทวานิช, 2537) โดยการนําขอมูลที่จําแนก และจัดหมวดหมูเรียบรอย แลวในแตละบุคคลมาวิเคราะห ตีความและนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลในรูปแบบพรรณนาความ ผลการวิจัย ผลของการสัมภาษณเชิงลึกและการสังเกตการณแบบมีสวนรวม กระบวนการถายทอดภูมิปญญาทองถิ่น ของชางพื้นเมืองเชียงใหม ในการทําตุงลานนา ดวยวิธีการฉลุลายกระดาษ สามารถแบงออกไดตามประเด็นดังนี้


1. สาเหตุของการถายทอดภูมิปญญา: ความเปนมาและแรงบันดาลใจ ในเรื่องของการทําตุงลานนา ดวยวิธีการฉลุลายกระดาษ ความเปน มาของการถายทอดภูมิ ปญญาคือ ความตองการที่จะถายทอดความรูและการเรียนรูในภูมิปญ ญาดานนี้ ซึ่งเกิดจากการไดเ ห็นถึงคุณคาใน งานศิลปะพื้นบาน โดยเริ่มตนจากการเปนคนที่สนใจและรักในการทํางานศิล ปะมาตั้งแตเด็ก การไดคลุกคลีกับ ชางผูอาวุโสในทองถิ่น จนเกิดความรักและหวงแหนในงานศิลปะแขนงนี้ ทําใหเกิดความรูสึก อยากที่จ ะถายทอด เอาไวใหคงอยู และสาเหตุอีกประการหนึ่งคือ การไดรับการชักจูงมาจากผูที่รูจักเพื่อเปนแนวรวมมาทํางาน และที่ สําคัญคือการรับ ชวงตอ ผูที่ท ําการถายทอดใหตน โดยที่ตนเองนั้นก็มีความรักในการทําตุงและการทําลวดลาย กระดาษฉลุ เปน ทุนเดิมอยูแ ลว อยางเชน กรณีของพอ นอ ยสิงหแกว มโนเพ็ชร ศิลปน พื้นบานผูลวงลับ ที่เป น เหมือนผูบุกเบิกงานศิลปะการทําตุง รวมทั้งการฉลุกระดาษเพื่อประดับ บนตุง ซึ่งหลังจากยุคของพอนอยสิงหแกว ผูสืบสานการทําตุงนั้นหลงเหลืออยูนอยลงทุกที ความหวังในการสืบ ทอดสืบสานจึงตกไปอยูที่ศิษยสายตรงของ พอนอยสิงหแกว ผูรับชวงตอ ซึ่งก็คือ พอครูเบญจพล สิทธิประณีต ผูที่รักและสนใจในการทําตุงและโคม เปนผู ที่ยังคงถายทอดความรูภูมิปญ ญาในศิลปะแขนงนี้ ใหกับคนหนุมสาวรุนใหมที่อยากจะเรียนรูการทําตุงอีกจํานวน มาก จากที่ไดกลาวมาแสดงใหเห็นถึงการทําใหศิลปะการทําตุงนี้ ถูกถายทอดตอใหกับ คนรุนใหมตอไป จากพื้นเพของชางที่มีภูมิหลังอันเกี่ยวของกับ ความเปนมาของการถายทอด สิ่งที่นาสนใจคือ เชื้อชาติเผาพันธุที่มีสายเลือดของชางอยูในตัว ซึ่งหากมองยอนไปถึงยุคเก็บ ผักใสซาเก็บ ขาใสเมือ ง ที่มีการกวาด ตอนผูคนที่มีความรูความสามารถในศิลปะวิท ยาการ งานชางในแขนงตาง ๆ จนเกิดเปนชุมชนชางโบราณรอบ เมืองเชียงใหม ก็อาจจะบงบอกไดวา ชางแตล ะคนมีที่มาในการถายทอดและเกิดการเรียนรู จากการอาศัยอยูใน ชุมชนชาง วัฒ นธรรมของกลุมชนของตน ลวนแลวแตเ ปนสิ่งที่ทําใหเกิดกระบวนสรางสรรคงานพื้นบาน เพื่อ นํามาใชในพิธีกรรม อัน ทําใหเกิดการถายทอดความรูขึ้น ไมวาจะเปนการถายทอดความรูภูมิปญ ญาการทําตุง ภายในครอบครัว ในชุมชน หรือแมสถานศึกษา ดังที่พอครูเสถียร ณ วงศรักษ ซึ่งเปนหนึ่งในลูกหลาน เชื้อสายไท ใหญ ที่อาศัยอยูในชุมชนวัดเกตุ ที่มีฝมือฉลุลายกระดาษเปนอันดับ ตน ๆ ของเชียงใหม ความวิจิตรงดงามของตุง กระดาษ ที่พอครูเสถียรทําขึ้น นั้น มีท ี่มาในการถายทอดและเรียนรู หากถาพูดถึงงานตอ งลายกระดาษ(ฉลุลาย กระดาษ) ก็นับ วาชนชาวไทใหญนั้นมีความชํานาญเปนที่สุด ในสวนพิธี กรรมที่เกี่ ยวของกับ ความเป นมาของการถายทอดความรูภู มิป ญ ญา คื อ การที่ ผู ถายทอดและผูรับการถายทอดไดอยูรวมในพิธีไหวครู หรือพิธีกรรมตาง ๆ ที่มีนัยยะ และมีความเชื่อ มโยงกับ การ สืบทอด ใหกับ ชางอีกรุน เชน การขึ้นขันตั้งครู จึงเปนที่มาของการเกิดความรูสึกตองการถายทอดความรู และ ความศักดิ์สิทธิ์ของพิธีกรรมก็ท ําใหเกิดความตองการที่จะรับการถายทอดอีกดวย 2. กระบวนการถายทอดภูมิปญญา: มรรคาแหงการสงผานความรู ปราชญท องถิ่นที่เปนกรณีศึกษา แตละทานจะมีความชํานาญในการทําตุงกระดาษ ดวยวิธีท ี่ ตางกัน ซึ่งพอครูเสถียร ณ วงศรักษ จะมีความถนัดในการฉลุล วดลายดวยสิ่วและกรรไกร สวนพอครูเ บญจพล สิท ธิป ระณีต จะมี ความชํา นาญในการฉลุก ระดาษตะกั่ วและกระดาษสีด วยกรรไกร ตัว ผลงานนั้ นจะมี ความ ละเอียดเปนอยางสูง แมครูบ ัวไหล คณะปญ ญานั้นทานจะมีความสามารถผนวกกับ ความเพียรในการตัดกระดาษ ตะกั่ว มาเปนลวดลายเปนจํานวนมากและยังสามารถตัดลวดลายใหเ ทากัน ไดทั้งหมด ดังนั้นจากความชํานาญใน รูป แบบการทํางานของปราชญท องถิ่นแตล ะทาน ก็จะมีจุดประสงคการถายทอดและวิธีการถายทอดของแตล ะ ทานที่ความแตกตางกัน ออกไป หากแตแนวความคิดของทุกทานจะยืนอยูบ นฐานคิดเดียวกัน คือ กระบวนการ ถายทอดที่เกิดการสรางปฏิสัมพันธท ี่ดีระหวางครูและศิษย ตลอดขั้นตอนการถายถอดความรูภูมิปญ ญา ซึ่งขอ มูล


จากการสัมภาษณและการสังเกตแบบมีสวนรวม สามารถสะทอนใหเห็น ถึงขอคนพบตามขั้นตอนการทํางานได ดังตอไปนี้ 2.1 ขั้นตอนการใหความรูเบื้องตน ปราชญทองถิ่นจะเริ่มถายทอดทักษะเบื้องตนในการทําตุง ดวยการรางภาพขึ้นในกระดาษดวยรูป แบบในจินตนาการกอน เมื่อไดรูป แบบตามที่ตองการแลว จึงถอดแบบ ลวดลายลงในกระดาษสาหรือ กระดาษตะกั่วที่จ ะใชทํางานจริง สวนลวดลายกระดาษฉลุนั้น จะผูกลวดลายให สัมพันธไปตามพื้นที่วางในโครงตุงที่ออกแบบไว หรืออาจจะผูกลายตามเรื่องราวที่ตองการจะเลา ตุงกระดาษที่ทาํ ขึ้นมานั้นจะมีความสมบูรณและมีความสวยงามได ขึ้นอยูท ี่การผูกลายโดย เฉพาะอยางยิ่ง การเขาใจถึงแบบแผน และลีลาของลวดลายแบบลานนา ซึ่งตองทําการฝกออกแบบลวดลายใหคลองแคลวชํานาญ 2.2 ขั้นตอนการเตรียมการทําตุง กระบวนการในขั้นนี้ผูถายทอดความรูก็จะสอนใหผูเรียนไดรู วาการไดมาของสิ่งที่จะเปนตุงกระดาษนั้น มีที่มาอยางไร วัสดุอุปกรณจะสามารถหาซื้อไดที่ไหน พอครูเสถียร ณ วงศรักษ ก็จะใชกระดาษสาเพื่อการทําตุง โดยเลือกกระดาษสาจากลําปาง เพราะมีแผนใหญและมีความละเอียด เนื้อ กระดาษแนน ไม เปอยยุยเวลาใชสิ่วฉลุล งไปกระดาษจะมีล วดลายที่คมชัดสวยงาม ทุ กครั้งเมื่อ สอนพอ ครู เสถียรก็จะแนะนําอยางนี้ทุกครั้งไป การเลือกใชกระดาษ หากตุงตัวนั้นมีความสําคัญ หรือ นําไปใชในพิธีห ลวง การเลือกกระดาษตะกั่ว ก็เปนเรื่องสําคัญ ขั้นตอนการเตรียมวัสดุจึงเปนสวนสําคัญมาก ในการเตรียมอุปกรณ เชน กรรไกร สิ่ว คอน เขียงรอง กอนทํางานจะตองทําความสะอาดกอนทุกครั้ง เพราะงานตุงกระดาษตอ งอาศัยความ สะอาด มิเชนนั้นตุงที่ทําอาจดูมีสีห มองได สิ่วที่ใชทํางานฉลุลายนั้น ตองลับใหคมกอน ซึ่งวิธีการลับ คม ผูเ รียนก็ ตองรับ รูถึงวิธีการลับคมดวย เนื่องดวยหากลับคมผิดดานอุปกรณก็จะเสียคมไป สถานที่ที่ใชในการถายทอดก็เปน สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่ง ซึ่งสถานที่ที่มีความเหมาะสมและมีความเปน สิ่งแวดลอ มในการเรียนรูที่ดี ยอมมีผ ลดี ตอการเรียนการสอน ซึ่งจากขอมูล ที่มาของการถายทอดภูมิปญญาในขางตนนั้น การที่ไดอยูในสิ่งแวดลอ มที่เอื้อ ตอการทํางานศิลปะพื้นบาน จะทําใหเกิดความสนใจและรักในงานได สถานที่ที่ใชในการถายทอดความรูบ างแหง จะมีความเกี่ยวของกับศาสนา ในบางครั้งพอครูเบญจพล สิทธิประณีต ก็ใชวัดเปนสถานที่ในการถายทอดความรู เนื่องจากจะไดเห็นเครื่องสักการะของจริงและบรรยากาศในการถายทอดก็หลอหลอมใหผูรับ การถายทอดมีความ ตั้งใจ มีความมุมานะในการฉลุกระดาษเปนลวดลายเพื่อนําไปทําเปนตุงตอไปได การเตรียมบุคคลเพื่อมาเปนผูรับ การถายทอดนั้นจําเปนจะตองดูในเรื่องความพรอมแหงวัย ความพรอมในเรื่องทักษะงานชางเบื้องตน ความพรอ ม ในตนเองที่จะรอรับความรู นอกจากนี้การถายทอดในครอบครัวตนเอง ก็ตองดูความพรอ มดานอายุอีกดวย ใน สวนที่สําคัญ ที่สุด คือ พิธีกรรมที่เ กี่ยวขอ ง กอนการที่จ ะเรียน หรือ การทําตุงกระดาษ การเตรียมพิธีกรรมก็จะ แตกตางกันไปตามแตสูตรของครูบาอาจารยท ี่ไดสอนสั่งมา ดังเชนพอครูเบญจพล ก็มีวิธีการบูชาครูในลักษณะที่ คลายกันกับ การบูชาพระ คือ การนําดอกไมสีขาว 3 ดอก ธูป 3 ดอก เทียน 1 เลม ดอกไมใสกรวยใบตองจํานวน 5 กรวย ขันใสน้ําขมิ้นสมปอย 1 ขัน เงินเหรียญ 12 บาท วางไวในพานจากนั้นยกขึ้นเหนือ ศรีษะ กลาวนะโม 3 จบ แลวจึงกลาวคาถาบทที่วา “สิท ธิกิจจัง สิท ธิกัมมัง สิทธิตถาคโต สิทธิอิติป โส ภควา สิโรเม พุท ธวัน ทา” อีก 3 จบ นําขันครูไปตั้งไวที่หิ้งพระ เปนอันเสร็จ พิธีการ ในวัน ที่ 15 เมษายนของแตละป ก็ตองมีการเปลี่ยนดอกไมแ ละ กรวยใบตองใหม 2.3 ขั้นตอนการประดิษฐตุง ภาพสะทอนของกระบวนการถายทอดความรูในขั้นตอนนี้ แสดง ใหเห็นวา ขั้นตอนการประดิษ ฐตุง เปนขั้นตอนที่มีกระบวนการสอนที่เปน ขั้นตอนที่สุด เนื่อ งจากการขึ้น โครง การสรางตัวตุง การฉลุลวดลาย จําเปนตองใชวิธีการสอนแบบสาธิต ที่ตองทําใหดูกอน แลวจึงทําตาม หรือทําไป พรอม ๆ กัน และยังตองใชการฝกทักษะตาง ๆ จนชํานาญทั้งการจับสิ่ว การจับคอน การใชกรรไกร การหัดบิดมือ


การใชอุปกรณเพิ่มลวดลายแบบตาง ๆ ในวิธีการสอนของครูชางแตล ะคนก็จ ะแตกตางกันไป บางคนใหลูกศิษย เริ่มตัดจากลายงายหรือตุงแบบงายๆกอน ซึ่งเริ่มแรกจะตองเริ่มจากการหัดเขียนลายไทยเบื้องตน การหัดผูกลาย แลวจึงหัดลายเมือง (ลายพื้นเมืองภาคเหนือ) ลายพมา ลายประยุกต ซึ่งการหัดฉลุลายไมวาจะเปนการฉลุจ ากสิ่ว จากกรรไกร หรือจากใบมีด หากทําจนชํานาญ จนคลองแคลวแลวก็ส ามารถทํางานศิล ปะพื้นบานชนิดอื่นไดอีก เชน การทําโคมตาง ๆ จนไปถึงขั้น การทําปราสาทศพ ซึ่งตองอาศัยความอดทน การจดจําวิธีการทํางาน การได ติดตามครูผูสอนทํางาน หรือถายทอดความรูในที่ตาง ๆ ก็จ ะเกิดการซึมซับ สามารถเดินรอยตามครูชางที่ไดสั่ง สอนมา และสามารถไปถายทอดตอไดอีก จนเกิดเปนสายชางขึ้น 2.4 ขั้นตอนการตกแตงและนําไปใช ในเรื่องของการทําตุงกระดาษ การตกแตงหรือการนําไป ประกอบ จัดเปนขั้นตอนสุดทายในการสอนทําตุง ซึ่งจะมีการประเมินผลงานของศิษยที่ท ํางานไปดวย การตกแตง นั้นอยูที่ความคิดสรางสรรคของแตละคน อยางเชน การทําตุงคาคิง ซึ่งใชในงานมงคล ใชในการทําบุญ สืบ ชะตา อาจมีการประดับ ประดาเพิ่มเติมใหมีความวิจิตรสวยงาม แสดงใหเห็น วา การตกแตงตุงในขั้น ตอนสุดทายก็มี ความสําคัญเชนกัน เพราะการถวายหรือ การใชงานตุงนั้น จะตอ งวางรูป แบบการนําเสนอใหโดดเดน อยูในที่ที่ เหมาะสมคูควร วัสดุที่ใชตอ งเหมาะสม ไมลดคุณคาของงานตุงที่ทําไว ซึ่งผูเรียนสวนใหญก็ไมมีใครคิดแหวก แนวจากครูบ าอาจารย เนื่องดวยอาจมีขอจํากัดทางความเชื่อในการทําหรือการใชตุงกระดาษ 3. ผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการถายทอด: ชางฝมือ จริยธรรม คุณ คาและความภูมิใจ จากกระบวนการถ ายทอดภูมิป ญ ญาในการทํา ตุง ดวยการฉลุล ายกระดาษ สิ่งที่ไดรับ จาก กระบวนการดังกลาวคือ ผลผลิตของการถายทอด จากการประเมินดวยตัวของผูถายทอดความรู พบวาจะเกิดชาง พื้นบานที่มีความสามารถในการทําตุงกระดาษดวยวิธีการฉลุลายที่ไดรับ การถายพัฒนาทักษะ ความคิดสรางสรรค และการรั บ รู คุ ณค างาน ผา นกระบวนการขั ดเกลาทางสั ง คม ที่ ส อดแทรกอยูใ นกระบวนการถ ายทอดตลอด ขั้นตอน ซึ่งนอกเหนือจากการสอนใหทํางานชางเปนแลว ยังเปนการสอดแทรกจริยธรรมไปพรอมๆกัน ซึ่งมนุษย เองก็มีการเรียนรูอยูตลอดเวลาและยังสามารถถายทอดความรู คานิยมทางสังคมใหคนอีกรุนหนึ่งได จากการเกิด ปฏิสัมพันธระหวางบุคคลกับ สิ่งแวดลอ มในการเรียนรู อีกทั้งยังทําใหเ กิดความภาคภูมิใจในงานของศิษยแ ละ ความภาคภูมิใจในตัวศิษย ดังที่แมครูบัวไหล คณะปญญา ไดพ ูดถึง นพดล คํามูล ศิษยที่ไดท ําการเรียนรูการทําตุง และโคมจากแมครูบัวไหล โดยที่นพดลตั้งหนาตั้งตาฝกฝนอยูเชนนี้เ ปนเวลาถึง 8 ป เกิดการซึมซับ รูป แบบและ ลวดลายดั้งเดิมของแมครูบัวไหลไวอยางลึกซึ้ง จนสามารถพัฒนารูปแบบลวดลายเฉพาะตัวขึ้นมาได ซึ่งทุกวัน นี้ เองนพดลก็ไดถูกรับ เชิญใหไปเปนวิท ยากรใหความรูเรื่องงานศิลปะพื้นบานกับ สถาบันที่ส นใจ จนสามารถกาว ไปเปนพอครูสลาทําตุง ทําโคมอีกรุน ไดแลว ในดานคุณคาในตัวผลงาน จากบรรดาศิษ ยนับ ไมถวนของพอ ครู เบญจพล สิทธิป ระณีต นอ ยคนที่จะยึดมั่นในการที่จะเรียนรูแ ละมีความตั้งใจจริงในการสืบ สานงานการทําตุง กระดาษ เชนเดียวกันกับ เฉลิมพล อาทิตยสาม ซึ่งกอนที่จะรูจักกับพอครูเบญจพล เฉลิมพลเองนั้น ก็มีพ รสวรรค สวนตัวในการทําตุงและโคมอยูแลว และมีความสนใจมาตั้งแตสมัยชั้นมัธยมตนที่เชียงราย เมื่อ มาเรียนทําตุงแบบ ลานนากับ พอครูเบญจพลที่เชียงใหม ก็ไดนําลายตุงที่เรียนรูมาปรับใชใหมีสีสันในรูปแบบของตน ขณะเดียวกันก็ ไมทิ้งเอกลักษณลานนาดั้งเดิม ซึ่ง เฉลิมพลเองก็เปนความภาคภูมิใจของพอครูเ บญจพล หากมีงานที่ตอ งเรงหรือ ทําไมท ัน เฉลิมพลเองก็จะถูกเรียกใหมาชวยงานเสมอ หรือแมกระทั่งการไดไปแสดงผลงานดวยกัน ซึ่งเฉลิมพลก็ เปนตัวอยางจากการที่กระบวนการถายทอดนั้นไดสอดแทรกจริยธรรม พรอมทั้งความคิดความอาน ความอดทน ในการฝกฝน การรูจักแบงปนกับ เพื่อนที่รวมรับ การถายทอด และสิ่งสําคัญ คือ ความออ นนอ มถอมตน ที่มีตอ ครูผูส อน ไมเ วน แมครูผูสอนที่เ ปนผูห ญิงแบบแมครูบัวไหล ความออนโยนของผูห ญิงสูงวัยที่ส ะทอนไดจ าก


ลวดลายกระดาษฉลุท ี่แมครูบ ัวไหลประดิษฐขึ้น ไดถายทอดลงสูผูเปนศิษย เกิดการผสมผสานอยางกลมกลืนดวย น้ําเสียงและนิสัยใจคอของแบบอยางความเปนครู เสนหของงานเหลานี้อยูที่ผูทําการถายทอดที่สามารถนัง่ สอนให ศิษยป ระดิษฐลวดลายอยูไดเปนเวลานาน ๆ จากวันเปนเดือน จากเดือ นเปนป จนผูเ ปนศิษยสามารถทําเปนและ สามารถถายทอดความรูนี้ตอใหกับ คนรุนหลังตอไป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ กระบวนการถายทอดภูมิปญญาทองถิ่น ในการทําตุงลานนา ดวยวิธีการฉลุลายกระดาษ มีที่มาจากการที่ ตัวของปราชญท องถิ่นไดรับ รูถึงความรูภายนอกสิ่งที่อ ยู รอบกาย ทั้งสิ่งแวดลอ มและเอกสารตํารา เปนความรู เดนชัด (Explicit Knowledge) นํามาปรับใชกับความรูในตนที่สั่งสมมายาวนานเปนภูมิปญญา หรือความรูซอ นเรน (Tacit Knowledge) นอกจากนี้ยังเกิดจากการไดรับโอกาส การเปนที่ยอมรับ ทําใหเกิดแรงบันดาลใจในการที่ท ํา การถายทอดความรูนี้ใหกับคนในรุนตอไป จากสาเหตุดังกลาว สามารถเชื่อ มโยงไดกับ รูป แบบของการถายทอด ภูมิปญญาทองถิ่น ดังที่ ปฐม นิคมานนท (2539) ไดกลาวถึง การฝกจากผูรูผูชํานาญเฉพาะอยาง เปนการสอนที่ ผูสนใจนั้น ไปขอรับ การถายทอดวิชาความรูจากผูรู อาจเปน ญาติห รือ ไมใชญ าติห รือ อาจเปน ผูอ ยูในหรือนอก ชุมชนก็ได ซึ่งมีการถายทอดโดยการไปอยูเปนลูกมือฝกงาน ซึ่งอาจจะไดรับ หรือไมไดคาแรง แตไดความรูเปน ผลประโยชนตางตอบแทน นอกจากนี้การฝกฝนและคนควาดวยตนเอง ซึ่งเกิดขึ้น ดวยการคิดคน ดัดแปลงและ พัฒนาขึ้นมา แลวถายทอดไปสูลูกหลานหรือผูสนใจจะเรียนรูดวยตนเอง อาจจะเกิดขึ้นจากการที่ชอบสิ่งเหลานั้น มาตั้ง แต เ ด็ ก กระทั่ ง การไดเ ห็ น ตั วอย า งจากผู อื่น หรื อ มี ผู ชี้แ นะในเบื้ อ งตน ทํ า แลว เกิดความสนใจ พยายาม เลียนแบบและฝกฝน คิดคนดวยตนเอง จนมีความชํานาญ สาเหตุแหงการถายทอดความรู อันเปนการไดรับโอกาสจากครูผูถายทอดและบุคคลอื่นนั้น สะทอนให เห็นถึงความเมตตาของครูผูถายทอดความรูของปราชญท องถิ่น ที่มีความปรารถนาใหศิษยของตนไดเรียนรูท ี่จะทํา การถายทอดตอจากตน ซึ่งเปนการใหดวยความเมตตา การใหดวยความรักตองการใหผูอื่นมีความสุข ไมห วงใน วิชาของตน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ วศิษฎ นาสารี (2544) ที่ไดกลาวไววา การถายทอดความรูใหคนรุนหลัง อยูตลอดเวลาอยางไมหวงวิชา นาจะเปนการแสดงออกถึงความรักและหวงแหนในศิลปะทองถิ่นได โดยเฉพาะใน เรื่องของความไมหวงวิชา สะทอนใหเห็นถึงความรัก ความศรัท ธา และการใหโอกาส ในความรูความสามารถของ ผูรับการถายทอด และพรอมจะถายทอดใหผูอื่นไดเรียนรูในมรดกสืบทอดนั้นตอไป ความเชื่อที่เกี่ยวของกับกระบวนการถายทอด ภาพสะทอนของงานภูมิปญญาทองถิ่น มักจะถูกนําเสนอ ในเรื่องที่เกี่ยวของกับ ความเชื่อหรือรองรับ พิธีกรรมในทองถิ่น วัฒนธรรมการใชตุงกระดาษในสังคมลานนาจะมี ความเกี่ยวพันกับ ตัวบุคคลตั้งแตเกิดจนกระทั่งตาย หรือ แมแตการถวายเปนพุท ธบูชา เพื่อ ความเปนสิริมงคลกับ ชีวิต ภูมิปญ ญาในการควบคุมดูแลสังคม ก็จะถายทอดผานการสอน การประดิษฐงานศิลปะพื้น บานเหลานี้ ความ เชื่อเรื่องการบูชาครู เปนสิ่งสําคัญในการถายทอดความรูภูมิป ญญา หากไมมีครูแ ลวก็จะไมเ กิดการถายทอด และ ไมเกิดตัวชิ้นงานขึ้นมา ซึ่งพิธีกรรมดังกลาวไดสอดคลองกับ แนวคิดของ มณี พยอมยงค (2537) ที่ไดกลาวถึงความ เชื่อในเรื่องของพิธีกรรมที่ถายทอดกันสืบมา ซึ่งชาวลานาแตเดิมมานั้นไมวาจะศึกษาเลาเรียนวิชาใด ๆ จะมีการขึ้น ครูห รือไหวครูกอ น และเมื่อไดวิชาติดตัวนําไปใชป ระโยชนแ ลว ถือ วาควรมีการบูชาครูสม่ําเสมอ โดยเฉพาะ กอนที่จะนําวิชาไปใชก็จะทําพิธีไหวครูกอน ดังนั้นที่บานเรือ นคนสมัยกอ นจะมีการทําหิ้งบูชาไว หากผูใดไมมี ความเคารพครูบาอาจารย หรือที่เรียกวา ผิดครู คือการไมเคารพครูบ าอาจารยนอกจากจะเปนผูอกกตัญูแลว ผีครู อาจทําใหไดรับความเจ็บ ปวย เสียสติ หรือไมมีความเจริญ ในชีวิต และยังสอดรับ กับ สุมน อมรวิวัฒ นและคณะ (2538) ที่มีแ นวคิด ในเรื่อ งของความสัม พัน ธและปฏิสั มพัน ธร ะหว างครู กับ ศิ ษย อั น เปน ปจ จั ยที่ สําคั ญ ยิ่ งใน


กระบวนการเรียนการสอน ครูมีเจตคติตอ ตนเองวาเปน ผูรูแ ละผูให สวนศิษยมีเจตคติตอตนเองว าเปน “ผูรับ ความรู” และเปนความเมตตาอยางยิ่งที่ครูได “ใหความรู” แกตน ศิษยจึงบูชายกยอ งครูแ ละถือ เปนหนี้บ ุญ คุณ ซึ่ง ศิษยตองมีความกตัญ ูรูคุณอยางยิ่ง สิ่งเหลานี้เองจะถูกรับ การถายทอดใหกับ ผูรับ การถายทอดการทําตุง อีกนัย หนึ่งนอกเหนือจากการไดเรียนรูการทําตุงกระดาษแลว ยังเปนการอนุรักษพิธีกรรมทองถิ่น ที่มีความหมายและมี ความสําคัญตอกระบวน การถายทอดอีกดวย ซึ่งเหตุผลในการเคารพบูชา นอกเหนือจากเพื่อ เปน สิริมงคลแลวยัง เปน ที่ยึดเหนี่ยวจิต ใจ เพื่อ สรางขวัญ กําลังใจในการทํ างานศิลปะพื้นบานอีกดวย การพิธีกรรมบูชาครูดังกลา ว แสดงใหเห็นถึงภูมิป ญญาในการสอนเรื่องความพรอมของเครื่องมือ กอนทํางาน หากไมมีเครื่อ งมือ ก็จ ะไหวครู บูชาเครื่องมือไมได ไมมีขวัญกําลังใจไมมีการทํางานเกิดขึ้นเปนภูมิปญ ญาอันแยบยล ในการสอดแทรกความรูคู คุณธรรมไปดวย ในชวงระหวางการถายทอดภูมิปญญา พิธีกรรมซึ่งสอดคลองกับ แนวคิดของ เอกวิท ย ณ ถลาง (2546) ที่ไดกลาวถึง กระบวนการเรียนรูตาม ธรรม ชาติของมนุษย ในรูปแบบการเรียนรูโดยพิธีกรรม ซึ่งหากจะกลาวไวในเชิงจิตวิท ยาแลว พิธีกรรมมีความ ศักดิ์สิทธและมีอํานาจโนมนาวใหคน ที่มีสวนรวมรับเอาคุณคาและแบบอยางพฤติกรรมที่ตองการเนน เขาไปไว ในตั ว เปน การตอกย้ํ า ความเชื่อ และกรอบศี ล ธรรมจรรยา ของกลุ ม ชน รวมทั้ ง ตอกย้ํ า แนวปฏิบั ติ แ ละความ คาดหวัง โดยไมตองการใชการจําแนกแจกแจงเหตุผ ล แตใชความศรัท ธาความขลังความศักดิ์สิท ธของพิธีกรรม เปนการสรางกระแสความเชื่อ และพฤติกรรมที่พึงประสงค ซึ่งบทสวดในการเตรียมพิธีกรรมดังกลาว เปนการ นอมนําเอาหลักทางพระพุท ธศาสนามาใชในกระบวนการถายทอดภูมิป ญ ญา ดังที่เอกวิท ย ณ ถลาง (2546)ได กลาวถึง กระบวนการเรียนรูตามธรรม ชาติของมนุษย ในรูป แบบการเรียนรูโดยศาสนา ทั้งในดานหลักธรรมคํา สอน ศี ล และวัตรปฏิบ ัติตลอดจนพิธี กรรมและกิ จ กรรมทางสังคม ที่มีวัด เปน ศู น ยกลางของชุมชนในเชิงการ เรียนรู ลวนมีสวนตอกย้ําภูมิปญ ญาที่เปน อุดมการณแหงชีวิต ใหกรอบและบรรทัดฐานความประพฤติแ ละให ความมั่นคงอบอุน ทางจิตใจเปนที่ยึดเหนี่ยวแกคน ในการเผชิญ ชีวิตบนความไมแ นน อนอันเปนสัจธรรมอยาง หนึ่ง สถาบันศาสนาจึงมีอิทธิพลตอชีวิตของคนที่นับถือศาสนานั้น ๆ โดยตรงและโดยออ ม อีกทั้งเปน แกนและ กรอบในกระบวนการขัดเกลาทางสังคม นอกจากนี้ยังมีขอคนพบอีกประการคือ ความเปนมาของการถายทอดยังเชื่อมโยงจากความสัมพันธของ ผูถายทอดและผูรับ การถายทอดกับ สังคมลานนา ที่มีความเปนเมือ งแหงศิลปวัฒ นธรรม มีบ รรยากาศที่อ บอุน งดงาม ทามกลางสภาพแวดลอมของชางพื้นบาน เปนสิ่งที่เอื้ออํานวยตอการถายทอดและการเรียนรูในงานศิลปะ การทําตุงกระดาษ ที่ไดใหความสําคัญ กับ สิ่งแวดลอ มในการเรียนรูเปน การเปดกวางใหการรับ รูเ ปนไปอยางดี ดังเชน แมครูบัวไหล คณะปญ ญา ซึ่งเปนผูที่ชุมชนเมืองสาตรยกยอ งในความเปนผูที่มีความรูในการทําตุงและ โคมกระดาษ แมครูบัวไหลเอง ก็มีท ี่มาจากการอุทิศชีวิตใหแกการถายทอดการทําโคมและการทําตุงลานนา ดวย ความเปนคนชางประดิษฐคิดคนและรักในการทํางานศิลปะพื้นบาน แมวาอาชีพ แรกที่แ มครูบ ัวไหลทําคือ การ เปนเกษตรกรอยางเต็มตัว ไมคํานึงถึงความทุกขยาก แมครูบ ัวไหลก็ยังมีความรักในการถายทอดศิล ปะการฉลุ ลวดลายลงบนตุงกระดาษ จึงเริ่มฝกฝนและศึกษาเกี่ยวกับการทําลวดลายประดับ ผลงานดวยตนเอง เกิดเปนความ ชํานาญ พัฒนารูปแบบและลวดลายใหม ๆ ของกระดาษฉลุอยูเสมอ กระบวนการถายทอดภูมิปญญาการทําตุงของปราชญทองถิ่น นอกจากการเรียนรูในทักษะเชิงชางแลว ยังเปนการถายทอดความคิดในการแกปญ หาของการทํางานที่แฝงอยูในขั้นตอนอีกดวย ซึ่งสอดคลอ งกับ แนวคิด ในกระบวนการเรียนรูของชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของ สีลาภรณ นาครทรรพ (2538) ที่กลาวถึงการเรียนรูท ี่ เกิดขึ้นมีความตางกับ การเรียนในระบบโรงเรียน เปนการเรียนรูจ ากปญ หาในชีวิตจริง และเปนการเรียนรูเพื่อ


พยายามแกป ญหาที่เกิดขึ้นจริง ๆ การเรียนรูของชุมชนจึงมิไดมีความหมายเพียงการยกระดับ ความคิดสติป ญ ญา ของคนในชุมชนแตยังหมายถึงการแกปญ หาและพัฒ นาคุณภาพชีวิต ทําใหชุมชนสามารถชวยกันแกป ญ หาของ ตนเองดวยความมันใจในศักยภาพของตนเองก็จ ะสูงขึ้น และกลาที่จ ะริเ ริ่มคิดคนและหาทางเรียนรูเพิ่มเติมเพื่อ พัฒนาชุมชนของตนเองใหดีขึ้น นอกจากนี้การเรียนจากปญ หาในชีวิตจริงยังมีความหมายในอีกนัยหนึ่งคือ การ เรียนรูจากของใกลตัวผูเรียนรูจักอยูแลว การทําความเขาใจในสถานการณของผูเรียนยอมงายและเอื้อตอการพัฒนา ความคิดของผูเรียนเกี่ยวกับ เรื่องนั้น ไดอยางมีป ระสิท ธิภาพมากกวาการที่ผูเรียนเรียนจากเรื่อ งที่ไกลตัวหรือ ไม รูจัก เชน ในสวนของการสอนเรื่องการเรียงสิ่ว เปนการฝกใหรูจักการทํางานที่เปนระบบระเบียบแลว ยังสะทอน ใหเห็นถึงภูมิปญญาในการจัดการอุปกรณท ี่มีมากมายหลายขนาดใหสามารถใชทํางานอยางเต็มประสิท ธิภาพอีก ดวย สวนที่สําคัญในการฉลุลายอาจจะอยูที่การฝกใหสามารถแยกสวนที่ตองตัดออกได เปนการฝกประสาทสัมผัส ในการแยกแยะ ซึ่งตัวลวดลายจะเปนรูป รางที่ตรงขามกัน เชน สีขาวกับ ดํา เปนตน การพับ กระดาษสําหรับ ฉลุ ลวดลาย เปนการฝกใหศิษยคิดในเชิงคณิตศาสตร ซึ่งมีความเกี่ยวขอ งกับ ความรูเรื่องแกนสมมาตรและเรื่อ งมุม สวนการสอนวิธีการติดลวดลายลงบนตัวตุง ดวยการใชถุงพลาสติกเกา เปนการปลูกฝงการนําวัส ดุเ หลือ ใชมา ทํางานอีกดวย จากการศึกษาถึงกระบวนการถายทอดการทําตุงกระดาษ ดวยวิธีการฉลุล าย ผูวิจัยไดมองลึกเขาไปถึง ขั้นตอนในการทําตุงแตละขั้นตอน การเฝาสังเกตปรากฏการณที่เกิดขึ้น พบวา ในแตละขั้น ตอนนั้น แฝงความลุม ลึก ในวัต ถุป ระสงค ของการถา ยทอด กลวิ ธี อั นแยบยลในวิธี การถ า ยทอดภูมิป ญ ญาให ศิ ษย อั น เป น ผู รับ การ ถายทอดความรู โดยที่ป ราชญทอ งถิ่น แตละทานก็ไดใชป ระสบการณทักษะเชิงชางและความรูความเขาใจของ ตนเองที่สั่งสมมา ซึ่งอาจจะเรียกไดวาเปนการถายทอดประสบการณทักษะฝมือ และรสนิยม ผานกระบวนการ เรียนรู การฝกปฏิบัติ ทําใหเกิดกระบวนการเรียนรูการทํางานดวยทักษะทางศิลปะซึ่งกันและกัน จากปฏิสัมพันธ แบบถ อ ยทีถ อ ยอาศั ย ระหว า งปราชญ ท อ งถิ่ น และศิ ษ ย อี กทั้ งยั ง เกิ ด กระบวนการขัด เกลาทางสั ง คมทํ า ให กระบวนการซึมซับความรูจากชางรุนอาวุโส เกิดขึ้นมาอยางไมรูตัว หากความรูท ี่ไดรับการถายทอดมา ตกผลึกจน สามารถเกิดการพัฒนาความรู ความสามารถในตนเอง ตัวของผูที่รับ การถายทอดนั้นก็สามารถที่จ ะถายความรูภูมิ ปญญาไปสูผูอื่นตอไปได ผลลัพ ธท ี่ไดจากกระบวนการถายถอดภูมิปญ ญา ทําใหเกิดชางพื้นเมืองที่มีความสามารถในการถายทอด ความรู ดวยการใชตัวอยางจากครูผูสอนที่ดีท ี่ตนไดรับการถายทอดมา และการฝกฝมือการทํางานของตนอยูเสมอ การถายทอดความรูจําเปนตองใชความสามารถเปนอันมาก การสอนความรูในเรื่องภูมิปญ ญาทองถิ่นที่สอดแทรก เรื่องของความสนุกสนาน ลวนเปนเสนหของครูผูสอน ที่มีความสามารถ ซึ่งสอดคลองกับ แนวคิดของ สุมน อมร วิวัฒ น และคณะ (2538) ที่ไดทําการวิจัยเรื่อ ง ความคิดและภูมิป ญ ญาไทยดานการศึกษา แนวความคิดและภู มิ ปญญาของครูไทย อุบายการจูงใจผูเรียน คือ การทําใหผูเรียนมีความรูสึกอยากเรียน การจูงใจเปน การสอนหรือ การถายทอดความรูใหเด็กรูเรื่อง เขาใจและ สนุกสนานกับสิ่งที่เรียน และยังทําใหเ ด็กอยากเรียนมีท ัศนคติที่ดีตอ การเรียนวาไมใชเรื่องยากเกินไป ขณะเดียวกันผูสอนก็พยายามทําเรื่องยากใหดูงายดวยการใชถอยคํา ภาษา อธิบาย ถายทอดใหเ กิดความเขาใจได เพราะเมื่อ ผูเ รียนเรียนรูเ รื่อ งเขาใจ สนุกสนานจะทําใหเด็กมีความกระตือรือ รน สนใจอยากศึกษาคนควาตอไป (อารี พันธมณี, 2545) สิ่งที่แฝงอยูในผลลัพธที่เกิดขึ้นจากกระบวนการถายทอด คือ หัวใจของความสําเร็จในการทํางาน ซึง่ จาก กระบวนการถายทอดภูมิปญญาการทําตุงนั้น มีการเรียนรูเรื่องสภาพความดีจ ากปราชญทอ งถิ่น ของตนและหลัก คิดจากการทํางานของตนได เชน ความรับผิดชอบตอการทํางาน ดวยการรับผิดชอบในหนาที่การสอนของตนจน


ศิษยผูรับการถายทอด สามารถทํางานได การรับผิดชอบตอผูมารับการถายทอด รวมทั้งการรับ ผิดชอบตองานที่มีผู วาจางใหท ํา ความอดทนในการทํางาน ดวยการอดทนตอ ความยากลําบากในการทํางานตั้งแตเ ชาจรดเย็น การมี สมาธิและจิตใจที่แนวแนในการทํางาน ดวยการฝกสมาธิจิต โดยการใชกรรไกรตัดกระดาษทองทีละตัว เพื่อนําไป ประดับตกแตงตุง การมีความสนใจในงานอยางจริงจังและพัฒนาตนเองอยูเ สมอ ดวยการฝกฝนตนเอง เรียนรูสิ่ง ใหม ๆ ดวยการไปหัดเรียนเพิ่มเติม การที่ตองแขงขันกับตัวเองไมลืมหนาที่การทํางานในเสนทางเดินของตน และ สุดทายการมีความเอื้อเฟอแบงปน ดวยการเรียนรูการใหการแบงปนจากปราชญท องถิ่น ที่แบงปนวิชาและวัสดุ อุปกรณ กับศิษย นอกจากนี้การไดเรียนรูจากการรับหนาที่เปนพี่เลี้ยงในการถายทอดภูมิป ญญาก็เปนสิ่งที่ส อนให รูจักการแบงปนความรูใหกับ ผูอื่น การถายทอดความรูดังกลาวอาจกลาวไดวาเปน อุบ ายการปลูกฝงคุณธรรม ควบคูกับการใหความรู การปลูกฝงคุณธรรมและอาชีพเปนสิ่งที่มีคามาแตอดีต ซึ่งระหวางการฝกอาชีพ ครูผูส อน ถือเปนหนาที่ที่จะตองอบรมนิสัยในดานคุณธรรมอันเปนแบบอยางที่ดีในอาชีพ นั้นๆ โดยการใชแ บบอยางไมวา จะเปนคุณธรรมในทางอุดมคติ หรือชีวิตประจําวัน หรือในหนาที่การทํางาน การเปน แบบอยางจึงสําคัญ มากใน การปลูกฝงอาชีพ และคุณธรรมของคนไทย ครูเปนตนแบบทําใหดู ลูกศิษยฝกทําตาม เมื่อทําไดแลวจึงทําตามของ ตนเองตอไป การสืบ เนื่องของคุณธรรมและอาชีพจึงเปนไปโดยตอเนื่อง (ไพฑูรย สินลารัตน, 2541) ซึ่งสอดรับ กับ ผลการวิจัยของสุนทร ดอนอินทรัพย (2546) ผูทําวิจัยในเรื่องกระบวนการถายทอดการแทงหยวกของชางเมือ ง เพชรบุรีไดกลาวถึง ผลที่เกิดจากการถายทอด คือ เกิดชางแทงหยวกที่มีความรู มีทักษะ ในเชิงชางที่สามารถสราง งานแทงหยวกโดยการทําตามแบบแผนของบรรพบุรุษ แตมีเอกลักษณเฉพาะตัวของชาง และสามารถปรับ ตัวให อยูไดตามการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ทั้งยังไดรับ คุณธรรมการทํางาน คือ ความรับผิดชอบ มีสมาธิแนวแนในงาน การทํางานอยางเต็มที่ ดวยจิตใจเบิกบาน การพิจารณาตัวเอง และจิตใจหนักแนน การทํางานเปนกลุมทําใหเ กิด ขอ คิด คือ ความสามัคคี ความเคารพใหเกียรติกัน การปรับ ตัวเขาหากัน การใจกวางยอมรับ ความคิ ดเห็นผูอื่ น รวมถึงการไดรับความเพลิดเพลินสุขใจ สบายใจในการทํางานศิลปะ และรูสึกภาคภูมิใจเมื่องานสําเร็จ หากจะกลาวถึงการทํางานของปราชญทองถิ่นและศิษยในสังคมชางพื้นเมือ ง ผลที่ไดรับ จากการทํางาน ยังเปนความสุขที่เกิดจากการไดพ บปะพูดคุยกับ ศิลปน ชางพื้น บานคนอื่น ๆ เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกัน และกัน นอกจากนี้ความสุขที่ไดเกิดขึ้นจากการถายทอดความรู ลวนเกิดจากอุบายของปราชญท องถิ่นที่ตองเกิดให เกิดบรรยากาศในการเรียนรูที่มีความสุข ดวยการใหกําลังใจผูเรียน การใหกําลังใจผูเ รียน หรือการแสดงความชื่น ชมตอผูเรียนนับ เปนสิ่งสําคัญที่สงผลใหผูเรียนเกิดความเชื่อมั่นในสิ่งที่ทํา และเปนการเสริมแรงใหอยากทําสิ่งนัน้ ตอไป สิ่งที่แฝงอยูในกระบวนการถายทอดนี้เอง ก็เปนสิ่งที่ท ําใหผูเรียนไดคิดตาม พรอมกับ การที่ครูอธิบ ายและ ฝกปฏิบ ัติควบคูกัน นอกจากนี้ยังมีการอิงหลักธรรมทางพระพุท ธศาสนาในการสอดแทรกอีกดวย (สุมน อมร วิวัฒนและคณะ, 2538) ขอเสนอแนะจากการทําวิจัย 1. ควรใหสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งในสาขาที่เกี่ยวของกับ การเรียนการ สอนดานศิลปะและศิลปศึกษา สนใจในการทําวิจัยเกี่ยวกับ ภูมิป ญ ญาทอ งถิ่นในเรื่องที่แ ปลกใหม ซึ่งสามารถ นํามาใชประยุกตใชกับการเรียนการสอนได 2. ควรสงเสริมใหมีการทําวิจัยในเชิงลึก ที่เกี่ยวกับ งานศิลปะพื้นบาน โดยนํามาเชื่อ มโยงกับ ศาสตรของ การศึกษา เพื่อสรางเปนนวัตกรรมทางการศึกษาที่เกี่ยวของกับ การศึกษาภูมิปญ ญาทองถิ่นใหมากขึ้น


3. ควรมีการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ที่เปนการวิจัยแบบมีสวนรวม ไมวาจะเปนการใช PAR หรือ เทคนิค AIC ซึ่งทําใหสามารถดึงเอาศักยภาพจากกระบวนการมีสวนรวม ของปราชญทองถิ่นและผูท ี่เกี่ยวของกับ กระบวนการ ถายทอด มาพัฒนาชุมชนของตนและพัฒนาองคความรูนี้ตอไป รายการอางอิง ปฐม นิคมานนท. รายงานการวิจัยเรื่องการคนหาความรูและระบบการถายทอดความรู ในชุมชนชนบทไทย. วิท ยานิพนธป ริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาการศึกษาผูใหญ คณะศึกษาศาสตร มหาวิท ยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ, 2539. ไพฑูรย สินลารัตน. จําเปนตองปฏิรังสรรคการศึกษาไทย : รวมบทบรรยายและบทความ. กรุงเทพฯ: คณะครุ ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิท ยาลัย, 2541. มณี พยอมยงค. ประเพณีสบิ สองเดือนลานนาไทย. เชียงใหม: โรงพิมพ ส.ทรัพยการพิมพ, 2537. วิบ ูลย ลี้สุวรรณ. ศิลปะชาวบาน = Folk art. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: อมรินทรพ ริ้นติ้งแอนดพลับลิชชิ่ง, 2546. วิศิษฎ นาสารีย. การศึกษาการนําภูมิปญ  ญาทองถิ่นมาใชในการจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปศึกษาระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตนในโรงเรียนโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพ นธปริญญามหาบัณฑิต สาขาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2544. สีลาภรณ นาครทรรพ. ตัวชี้วัดสําหรับ งานพัฒนาชนบท : ประสบการณจากนักพัฒนา. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2538. สุนทร ดอนอินทรัพย. การศึกษากระบวนการถายทอดภูมิปญญาทองถิ่น “การแทงหยวก” ในจังหวัดเพชรบุร.ี วิท ยานิพนธป ริญญามหาบัณฑิต สาขาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546. สุรพล ดําริหกุล. แผนดินลานนา. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2545. สุภางค จันทวานิช. วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2537. สุมน อมรวิวัฒนและคณะ. ความคิดและภูมิป ญญาไทยดานการศึกษา. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพ: สํานักพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิท ยาลัย, 2538. อารีย พันธมณี. พอแมมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพใยไหม, 2545. เอกวิทย ณ ถลาง. ภูมิปญญาทองถิ่นกับการจัดการความรู. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพ ลับ ลิชชิ่ง, 2546.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.