สารบัญ
จากสำนักพิมพ์
๑๐
6 เอนหลังฟัง
จากสำนักพิมพ์ คำนิยม โดย ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ คำนิยม โดย นายแพทย์อดี๊ ยังวัน ยงย่วน ๑ ฟังแต่ไม่ได้ยนิ ๒ เสียงกระทบหู ใครได้ยนิ ๓ คิดตาม ตามคิด ๔ การฟัง ๔ แบบ ๕ ภาษากรีก กับ ขีจ้ งิ้ จก ๖ บีบ,ี บีบกี นั และ บี. บี. คิง ๗ ถ้อยคำ อารมณ์ เจตนา ๘ เรียนรูไ้ ด้แต่ไม่เท่ากัน ๙ ถือนิสยั ‘ห้อย’ ศีลไว้ทปี่ าก ‘แขวน’ สากไว้กบั ตัว ๑๑ ความรูส้ กึ ตัว ๑๒ สัมผัสรู้ ๑๓ เติมใจให้กนั ๑๔ ฟังอย่างเยียวยา ๑๕ รูแ้ ล้วละเสีย คำตาม โดย สุวชิ านนท์ รัตนภิมล หนังสืออ่านเพิม่ เติม เกีย่ วกับผูเ้ ขียน
๕ ๘ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐ ๐๐
คำนิยม โดย ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ เมือ่ ผมได้รบั ต้นฉบับหนังสือ เอนหลังฟัง: ศิลปะการฟังอย่างลึกซึง้ แล้ว เริ่มอ่านบทต้นๆ ของหนังสือ มันมีความรู้สึกแวบเข้ามาเหมือนได้อ่าน หนังสือเรือ่ ง โลกียชน ของ จอห์น สไตน์เบค ซึง่ ได้เล่าเรือ่ งของคนกลุม่ หนึ่งที่ใช้ชีวิตนอกกรอบสังคมอเมริกันสมัยหลังฟองสบู่แตก ก่อนที่จะ นำไปสู่การเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง หนังสือเล่มนี้เกิดขึ้นจากความ เพียรของศรชัยที่พยายามทบทวนและบันทึกการสนทนาของเขาและ ผองเพื่อนที่เป็น ‘คอเดียวกัน’ ซึ่งแตกต่างไปจากวงพูดคุยของคนไทย ทัว่ ๆ ไป เมือ่ กีตาร์เทพ ภินท์ และแมนนี่ กับตัวละครอืน่ ๆ ได้จบิ กาแฟ เอนหลังสนทนาบนชานบ้าน ผูอ้ า่ นคงนึกภาพของสถานทีแ่ ละบรรยากาศทีม่ ชี วี ติ ชีวาห่อหุม้ ‘สนามการสนทนา’ ได้ ผมคิดว่าเป็นหนังสือที่ ให้ความรู้เรื่องการพูดและการฟัง อันเป็นแก่นของหลักปรัชญาและ กระบวนการ dialogue ของเดวิด โบห์มอย่างมีรสชาติ น่าจะทำให้ผทู้ ี่ เป็นกระบวนกรหรือผูด้ ำเนินการสนทนาไม่วา่ จะเรียกชือ่ ใด (แล้วแต่จะ ประดิดประดอยศัพท์) เข้าใจเรื่องการ ‘ห้อยแขวน’ หรือการฟังโดยไม่ ตัดสินว่าผิดหรือถูก ชอบหรือไม่ชอบ ฟังอย่างมีอเุ บกขา และพยายาม จะเข้าใจเรื่องราวสาระอีกทั้งอารมณ์ของผู้เล่า พยายามฟังอย่างเอาใจ เขามาใส่ใจเรา การพูดและฟังให้บรรลุมาตรฐานขัน้ นีไ้ ด้ไม่ใช่เรือ่ งง่ายเลย แต่กไ็ ม่ 8 เอนหลังฟัง
ยากจนเกินไป เพียงแต่ตอ้ งทำด้วยการฝึกฝนตนเองให้มสี ติรตู้ วั ทัง้ กาย และใจระหว่างการสนทนา มันเป็นการบูรณาการสิง่ ทีธ่ รรมชาติได้มอบ ให้เรามาแล้วตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา เมื่อเรารู้เท่าทันตนเองก็ไม่ยาก ที่จะบูรณาการความรู้สึกในร่างกายเข้ากับความคิดในสมองเข้ากับ อารมณ์และหัวใจของเรา ศักยภาพเหล่านี้ล้วนแล้วแต่มีติดตัวเรามา แต่ออ้ นแต่ออก แต่เราไม่มเี วลาใคร่ครวญ สนทนากับตนเองแล้วฝึกทำ บ่อยๆ เสมือนเราขับรถยนต์ทกุ วันทำให้มนั เป็นความสามารถส่วนหนึง่ ติดตัวเรา การดึงศักยภาพแห่งการสนทนาทีซ่ อ่ นลึกในตัวเราออกมาให้ ได้นนั้ คงทำคนเดียวได้ยาก เราต้องมี “เพือ่ น” ทีช่ ว่ ยกันฝึกกันและกัน เหมือนกีตาร์เทพ แมนนีแ่ ละภินท์ ผลัดกันเป็นครูและผลัดกันเป็นศิษย์ เป็นเพือ่ นที่ (แม้จะออกเพีย้ นๆ เล็กน้อย แต่นา่ รักตามประสาคนไม่เดิน ตามมาตรฐานจอมปลอม) นับถือกันโดยไม่ตอ้ งเสแสร้ง ขบกัดหยอกล้อ กันเพือ่ ให้ชวี ติ รืน่ รมย์ พร้อมกับการก่อตัวของเกลียวสว่านแห่งปัญญา ไปทีละเกลียวตามจังหวะเวลาอันเหมาะสม สิ่งที่ภินท์เล่าเรียงด้วยตัวอักษร เมื่อเรา ‘ฟังด้วยตา’ ก็ต้องห้อย แขวนเอาไว้เหมือนกัน ข้อคิดบางอย่างเกีย่ วกับการฟังของภินท์ เราจะ เห็นด้วยหรือเห็นต่างล้วนท้าทายให้เราเอาไปคิดต่อ จากการมองจาก มุมอื่นบ้าง หรือบางเรื่องผมก็จะรู้สึกแปลกๆ เพราะผมเองก็ไม่คุ้นกับ มัน เนื่องจากบางคำเป็นศัพท์ที่พบเป็นครั้งแรก เช่น ‘พิรุธในใจ’ และ ‘เอาหน้าไปรับ’ ทำให้ตนเองเปิดกว้างการรับรู ้ ‘อ้อ เขาพูดกันอย่างนี’้ หนังสือ เอนหลังฟัง ทัง้ เล่มถ้าจะกลัน่ ออกมาเพือ่ ใช้ในเวทีเรียนรู้ ในห้องประชุมก็ยอ่ มทำได้ ถ้าเราเห็นสิง่ ทีท่ งั้ มองเห็นด้วยตาและมองไม่ เห็นด้วยตาซึง่ ได้โอบอุม้ การสนทนาทีล่ มุ่ ลึกกว่าธรรมดา คือบรรยากาศ ที่ผ่อนคลายของชานบ้าน (แต่ห้องประชุมไม่มี แล้วเราจะมีส่วนร่วม คำนิยม 9
คำนิยม โดย ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ เมือ่ ผมได้รบั ต้นฉบับหนังสือ เอนหลังฟัง: ศิลปะการฟังอย่างลึกซึง้ แล้ว เริ่มอ่านบทต้นๆ ของหนังสือ มันมีความรู้สึกแวบเข้ามาเหมือนได้อ่าน หนังสือเรือ่ ง โลกียชน ของ จอห์น สไตน์เบค ซึง่ ได้เล่าเรือ่ งของคนกลุม่ หนึ่งที่ใช้ชีวิตนอกกรอบสังคมอเมริกันสมัยหลังฟองสบู่แตก ก่อนที่จะ นำไปสู่การเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง หนังสือเล่มนี้เกิดขึ้นจากความ เพียรของศรชัยที่พยายามทบทวนและบันทึกการสนทนาของเขาและ ผองเพื่อนที่เป็น ‘คอเดียวกัน’ ซึ่งแตกต่างไปจากวงพูดคุยของคนไทย ทัว่ ๆ ไป เมือ่ กีตาร์เทพ ภินท์ และแมนนี่ กับตัวละครอืน่ ๆ ได้จบิ กาแฟ เอนหลังสนทนาบนชานบ้าน ผูอ้ า่ นคงนึกภาพของสถานทีแ่ ละบรรยากาศทีม่ ชี วี ติ ชีวาห่อหุม้ ‘สนามการสนทนา’ ได้ ผมคิดว่าเป็นหนังสือที่ ให้ความรู้เรื่องการพูดและการฟัง อันเป็นแก่นของหลักปรัชญาและ กระบวนการ dialogue ของเดวิด โบห์มอย่างมีรสชาติ น่าจะทำให้ผทู้ ี่ เป็นกระบวนกรหรือผูด้ ำเนินการสนทนาไม่วา่ จะเรียกชือ่ ใด (แล้วแต่จะ ประดิดประดอยศัพท์) เข้าใจเรื่องการ ‘ห้อยแขวน’ หรือการฟังโดยไม่ ตัดสินว่าผิดหรือถูก ชอบหรือไม่ชอบ ฟังอย่างมีอเุ บกขา และพยายาม จะเข้าใจเรื่องราวสาระอีกทั้งอารมณ์ของผู้เล่า พยายามฟังอย่างเอาใจ เขามาใส่ใจเรา การพูดและฟังให้บรรลุมาตรฐานขัน้ นีไ้ ด้ไม่ใช่เรือ่ งง่ายเลย แต่กไ็ ม่ 8 เอนหลังฟัง
ยากจนเกินไป เพียงแต่ตอ้ งทำด้วยการฝึกฝนตนเองให้มสี ติรตู้ วั ทัง้ กาย และใจระหว่างการสนทนา มันเป็นการบูรณาการสิง่ ทีธ่ รรมชาติได้มอบ ให้เรามาแล้วตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา เมื่อเรารู้เท่าทันตนเองก็ไม่ยาก ที่จะบูรณาการความรู้สึกในร่างกายเข้ากับความคิดในสมองเข้ากับ อารมณ์และหัวใจของเรา ศักยภาพเหล่านี้ล้วนแล้วแต่มีติดตัวเรามา แต่ออ้ นแต่ออก แต่เราไม่มเี วลาใคร่ครวญ สนทนากับตนเองแล้วฝึกทำ บ่อยๆ เสมือนเราขับรถยนต์ทกุ วันทำให้มนั เป็นความสามารถส่วนหนึง่ ติดตัวเรา การดึงศักยภาพแห่งการสนทนาทีซ่ อ่ นลึกในตัวเราออกมาให้ ได้นนั้ คงทำคนเดียวได้ยาก เราต้องมี “เพือ่ น” ทีช่ ว่ ยกันฝึกกันและกัน เหมือนกีตาร์เทพ แมนนีแ่ ละภินท์ ผลัดกันเป็นครูและผลัดกันเป็นศิษย์ เป็นเพือ่ นที่ (แม้จะออกเพีย้ นๆ เล็กน้อย แต่นา่ รักตามประสาคนไม่เดิน ตามมาตรฐานจอมปลอม) นับถือกันโดยไม่ตอ้ งเสแสร้ง ขบกัดหยอกล้อ กันเพือ่ ให้ชวี ติ รืน่ รมย์ พร้อมกับการก่อตัวของเกลียวสว่านแห่งปัญญา ไปทีละเกลียวตามจังหวะเวลาอันเหมาะสม สิ่งที่ภินท์เล่าเรียงด้วยตัวอักษร เมื่อเรา ‘ฟังด้วยตา’ ก็ต้องห้อย แขวนเอาไว้เหมือนกัน ข้อคิดบางอย่างเกีย่ วกับการฟังของภินท์ เราจะ เห็นด้วยหรือเห็นต่างล้วนท้าทายให้เราเอาไปคิดต่อ จากการมองจาก มุมอื่นบ้าง หรือบางเรื่องผมก็จะรู้สึกแปลกๆ เพราะผมเองก็ไม่คุ้นกับ มัน เนื่องจากบางคำเป็นศัพท์ที่พบเป็นครั้งแรก เช่น ‘พิรุธในใจ’ และ ‘เอาหน้าไปรับ’ ทำให้ตนเองเปิดกว้างการรับรู ้ ‘อ้อ เขาพูดกันอย่างนี’้ หนังสือ เอนหลังฟัง ทัง้ เล่มถ้าจะกลัน่ ออกมาเพือ่ ใช้ในเวทีเรียนรู้ ในห้องประชุมก็ยอ่ มทำได้ ถ้าเราเห็นสิง่ ทีท่ งั้ มองเห็นด้วยตาและมองไม่ เห็นด้วยตาซึง่ ได้โอบอุม้ การสนทนาทีล่ มุ่ ลึกกว่าธรรมดา คือบรรยากาศ ที่ผ่อนคลายของชานบ้าน (แต่ห้องประชุมไม่มี แล้วเราจะมีส่วนร่วม คำนิยม 9
สร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลายในห้องสี่เหลี่ยมแข็งกระด้างได้อย่างไร?) สภาวะผ่อนคลายทีอ่ ยูใ่ นใจของผูเ้ ข้ามาในวงสนทนา และสภาวะทีไ่ ม่ได้ พูดแต่ก็เราสามารถได้ยินสิ่งที่เขาอยากจะบอก เนื่องจากผู้พูดหาศัพท์ แสงทีเ่ หมาะสมกับความรูส้ กึ ทีบ่ างครัง้ บรรยายออกมาเป็นคำพูดไม่ได้ แต่รอู้ าจจะได้ยนิ สิง่ ทีอ่ ยูใ่ นใจเขาด้วยแววตาและภาษากายของเขา ในโลกสังคมออนไลน์ทสี่ รรพสิง่ เคลือ่ นไหวเร็วจีจ๋ นหายใจหายคอ ไม่ทัน เพราะความเป็นคนทันสมัยต้องสื่อสารผ่านทวิตเตอร์ เฟซบุ๊ก หรือส่งผ่านเอสเอ็มเอส ได้ทงิ้ ช่องว่างบางอย่างระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ ทีย่ งั ไม่ได้เติมเต็ม แล้วเราก็โหยหามันโดยจะรูต้ วั หรือไม่กต็ าม เมือ่ อ่าน หนังสือ เอนหลังฟัง จบลง ผมคิดว่านัยระหว่างบรรทัดได้ชกั ชวนให้เรา ทำตัวให้เนิบช้าลง มีเวลาให้กบั เพือ่ นมนุษย์มากขึน้ ใส่ใจให้แก่กนั มาก ขึ้น พูดคุยกันเพื่อสร้างสรรค์อะไรที่เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและมี ความสุข อ่านหนังสือสี่ห้าบทแรกด้วยความรู้สึกสัมผัสกลิ่นอายหนังสือ โลกียชนของจอห์น สไตน์เบค ครั้นผมจบบทสุดท้ายปิดหนังสือลง ทำให้ผมอดนึกถึงเฒ่าโพล้งและผองเพื่อนวงเหล้าโรงซึ่งสรวลเสเฮฮา ยามเย็นกันที่กระท่อมใกล้ดงตาลของ มนัส จรรยงค์ขึ้นมา เฒ่าโพล้ง และเหล่าสหายสนทนากันอย่างออกรสแฝงปรัชญาชีวติ ชาวบ้านผูเ้ ป็น อิสระชน มันทำให้ผมอดคิดไม่ได้วา่ นีห่ รือเปล่าทีค่ นไทยจำนวนมากได้ ทำให้มนั หล่นหายไปในยุคแห่งการไล่ลา่ ความทันสมัย ภินท์ เล่าเรือ่ ง กีตาร์เทพ แมนนี่ และผองเพื่อนผู้มีศิลปะแห่งชีวิตผ่านการสนทนา พร้อมกับจิบกาแฟ มาให้เราได้ครุน่ คำนึงถึงบางสิง่ ทีข่ าดหายไปในชีวติ อันเร่งรีบ
คำนิยม โดย นายแพทย์อิ๊ดยังวัน ยงย่วน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพรหมพิราม หนังสือเรื่อง เอนหลังฟัง ฟังแค่ชื่อก็น่าสนใจไม่น้อยครับ ถ้าไม่อ่านให้ จบเล่มก็คงจะรูส้ กึ ว่าค้างคาใจ ภายในหนังสือเล่มนีม้ เี นือ้ หาทีน่ า่ สนใจ เกีย่ วกับการ “ฟังอย่างลึกซึง้ ” อ่านแล้วไม่เบือ่ หน่ายครับ มีบทสนทนา คล้ายกับว่ากำลังอ่านนิยายหรืออ่านการ์ตูน เพลินดีครับ แถมได้รับ ความรู้แนวจิตตปัญญาศึกษาอีกด้วย นักจิตตปัญญาไม่ควรพลาดและ คนทีร่ สู้ กึ ว่าฟังไม่รเู้ รือ่ งหรือคนอืน่ ทำไมพูดไม่รเู้ รือ่ งยิง่ ไม่ควรพลาดครับ ผูเ้ ขียนคืออาจารย์ศรชัย ฉัตรวิรยิ ะชัย เป็นนักอ่านหนังสือและนัก ปฏิบัติแนวจิตตปัญญาศึกษาที่มีประสบการณ์มากมาย ผมได้มีโอกาส รูจ้ กั กับอาจารย์มาปรมาณ ๕-๖ ปี ได้สนทนาแลกเปลีย่ นความคิดต่างๆ กับอาจารย์ตงั้ แต่เริม่ รูจ้ กั จนถึงปัจจุบนั อาจารย์มคี วามรูค้ วามสามารถ ด้านนี้มากครับ ไม่ใช่ผมคนเดียวนะที่คิดแบบนี้ ผู้ร่วมงานของผมอีก จำนวนมากที่ได้รู้จักกับอาจารย์ก็พูดกับผมแบบนี้เหมือนกัน อ่าน หนังสือเล่มนีแ้ ล้วไม่ผดิ หวังแน่ ไม่ลองไม่รคู้ รับ
10 เอนหลังฟัง
คำนิยม 11
สร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลายในห้องสี่เหลี่ยมแข็งกระด้างได้อย่างไร?) สภาวะผ่อนคลายทีอ่ ยูใ่ นใจของผูเ้ ข้ามาในวงสนทนา และสภาวะทีไ่ ม่ได้ พูดแต่ก็เราสามารถได้ยินสิ่งที่เขาอยากจะบอก เนื่องจากผู้พูดหาศัพท์ แสงทีเ่ หมาะสมกับความรูส้ กึ ทีบ่ างครัง้ บรรยายออกมาเป็นคำพูดไม่ได้ แต่รอู้ าจจะได้ยนิ สิง่ ทีอ่ ยูใ่ นใจเขาด้วยแววตาและภาษากายของเขา ในโลกสังคมออนไลน์ทสี่ รรพสิง่ เคลือ่ นไหวเร็วจีจ๋ นหายใจหายคอ ไม่ทัน เพราะความเป็นคนทันสมัยต้องสื่อสารผ่านทวิตเตอร์ เฟซบุ๊ก หรือส่งผ่านเอสเอ็มเอส ได้ทงิ้ ช่องว่างบางอย่างระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ ทีย่ งั ไม่ได้เติมเต็ม แล้วเราก็โหยหามันโดยจะรูต้ วั หรือไม่กต็ าม เมือ่ อ่าน หนังสือ เอนหลังฟัง จบลง ผมคิดว่านัยระหว่างบรรทัดได้ชกั ชวนให้เรา ทำตัวให้เนิบช้าลง มีเวลาให้กบั เพือ่ นมนุษย์มากขึน้ ใส่ใจให้แก่กนั มาก ขึ้น พูดคุยกันเพื่อสร้างสรรค์อะไรที่เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและมี ความสุข อ่านหนังสือสี่ห้าบทแรกด้วยความรู้สึกสัมผัสกลิ่นอายหนังสือ โลกียชนของจอห์น สไตน์เบค ครั้นผมจบบทสุดท้ายปิดหนังสือลง ทำให้ผมอดนึกถึงเฒ่าโพล้งและผองเพื่อนวงเหล้าโรงซึ่งสรวลเสเฮฮา ยามเย็นกันที่กระท่อมใกล้ดงตาลของ มนัส จรรยงค์ขึ้นมา เฒ่าโพล้ง และเหล่าสหายสนทนากันอย่างออกรสแฝงปรัชญาชีวติ ชาวบ้านผูเ้ ป็น อิสระชน มันทำให้ผมอดคิดไม่ได้วา่ นีห่ รือเปล่าทีค่ นไทยจำนวนมากได้ ทำให้มนั หล่นหายไปในยุคแห่งการไล่ลา่ ความทันสมัย ภินท์ เล่าเรือ่ ง กีตาร์เทพ แมนนี่ และผองเพื่อนผู้มีศิลปะแห่งชีวิตผ่านการสนทนา พร้อมกับจิบกาแฟ มาให้เราได้ครุน่ คำนึงถึงบางสิง่ ทีข่ าดหายไปในชีวติ อันเร่งรีบ
คำนิยม โดย นายแพทย์อิ๊ดยังวัน ยงย่วน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพรหมพิราม หนังสือเรื่อง เอนหลังฟัง ฟังแค่ชื่อก็น่าสนใจไม่น้อยครับ ถ้าไม่อ่านให้ จบเล่มก็คงจะรูส้ กึ ว่าค้างคาใจ ภายในหนังสือเล่มนีม้ เี นือ้ หาทีน่ า่ สนใจ เกีย่ วกับการ “ฟังอย่างลึกซึง้ ” อ่านแล้วไม่เบือ่ หน่ายครับ มีบทสนทนา คล้ายกับว่ากำลังอ่านนิยายหรืออ่านการ์ตูน เพลินดีครับ แถมได้รับ ความรู้แนวจิตตปัญญาศึกษาอีกด้วย นักจิตตปัญญาไม่ควรพลาดและ คนทีร่ สู้ กึ ว่าฟังไม่รเู้ รือ่ งหรือคนอืน่ ทำไมพูดไม่รเู้ รือ่ งยิง่ ไม่ควรพลาดครับ ผูเ้ ขียนคืออาจารย์ศรชัย ฉัตรวิรยิ ะชัย เป็นนักอ่านหนังสือและนัก ปฏิบัติแนวจิตตปัญญาศึกษาที่มีประสบการณ์มากมาย ผมได้มีโอกาส รูจ้ กั กับอาจารย์มาปรมาณ ๕-๖ ปี ได้สนทนาแลกเปลีย่ นความคิดต่างๆ กับอาจารย์ตงั้ แต่เริม่ รูจ้ กั จนถึงปัจจุบนั อาจารย์มคี วามรูค้ วามสามารถ ด้านนี้มากครับ ไม่ใช่ผมคนเดียวนะที่คิดแบบนี้ ผู้ร่วมงานของผมอีก จำนวนมากที่ได้รู้จักกับอาจารย์ก็พูดกับผมแบบนี้เหมือนกัน อ่าน หนังสือเล่มนีแ้ ล้วไม่ผดิ หวังแน่ ไม่ลองไม่รคู้ รับ
10 เอนหลังฟัง
คำนิยม 11
๑ ฟังแต่ไม่ได้ยิน
เมื่ อ ต่ า งคนต่ า งตื่ น และเก็ บ ที่ น อนแล้ ว เรา
มักจะมานัง่ ๆ นอนๆ กันอยูห่ ลังบ้านของเทพกีตาร์ ชานไม้เต็งยืน่ ออกไป
ดูกว้างขวางพอที่จะให้วงดนตรีสักวงมาแจมกันได้อย่างสบาย ใต้ชาน บ้านทีย่ กสูงคือทีเ่ ก็บของซึง่ บางครัง้ ใช้เป็นทีจ่ อดรถ ไม้เต็งสีซีดเผยให้เห็นความคร่ำคร่าของการผ่านแดดและฝนมา หลายปี ก่อนหน้านีเ้ ทพกีตาร์ไม่ได้ทำหลังคาคลุมแบบทุกวันนี้ ไม้พนื้ บาง ถูกฝนถูกความชืน้ จนโก่งขึน้ มาบ้าง เวลาเดินต้องระวังเพราะอาจสะดุด หัวทิม่ เจ้าของบ้านอยากให้มมุ นีเ้ ป็นมุมทีผ่ คู้ นมาใช้สนทนา จึงตีไม้เป็น ม้านัง่ ยาวรอบกระชาน มุมหนึง่ มีตน้ กระบองเพชรของสะสมของลูกชาย อีกมุมแขวนไม้ประดับพวกเคราฤษี สร้อยนางกรอง เดฟ ดูระย้าและ สดชืน่ กิจวัตรของพวกเราคือการมารอจิบกาแฟแก้วแรกของวันทีบ่ ริเวณ นี้ เรารู้ว่ามันเป็นช่วงเวลาเหมาะที่สุดสำหรับการสนทนา ระหว่างรอ กาแฟ วันนีห้ วั ข้อสนทนาคือเรือ่ งของการฟัง แน่นอนว่าเรือ่ งนีแ้ ม้เราจะ คุยกันครัง้ แล้วครัง้ เล่า แต่ยงั ดูเหมือนมีเรือ่ งให้ลงลึกกันอีก “คนส่วนใหญ่ฟังแต่ไม่ได้ยิน หรือบางทีได้ยินอยู่แต่ก็ไม่ได้ฟัง” แมนนี่ เอ่ยขึ้น เอ...หรือว่าวันนี้การสนทนาจะไปยาวก่อนที่จะได้จิบกาแฟกัน เสียอีก มือข้างหนึง่ ของผมกดน้ำร้อนจากกาต้มน้ำใส่ในแก้วกาแฟเพือ่ อุน่
เช้าตรู่ฤดูหนาว
จิตใจของเราจะทำหน้าที่ได้ทีละอย่าง ถ้าเรากำลังคิด เราก็จะไม่ได้ฟัง ถ้าหากเราฟังจริงๆ เราก็จะไม่ได้คิด แต่บางคนบอกว่าฟังด้วยคิดด้วย จริงๆ แล้วเพราะไม่ละเอียดในการสังเกตตัวเอง
ฟังแต่ไม่ได้ยิน 15
เมื่ อ ต่ า งคนต่ า งตื่ น และเก็ บ ที่ น อนแล้ ว เรา
มักจะมานัง่ ๆ นอนๆ กันอยูห่ ลังบ้านของเทพกีตาร์ ชานไม้เต็งยืน่ ออกไป
ดูกว้างขวางพอที่จะให้วงดนตรีสักวงมาแจมกันได้อย่างสบาย ใต้ชาน บ้านทีย่ กสูงคือทีเ่ ก็บของซึง่ บางครัง้ ใช้เป็นทีจ่ อดรถ ไม้เต็งสีซีดเผยให้เห็นความคร่ำคร่าของการผ่านแดดและฝนมา หลายปี ก่อนหน้านีเ้ ทพกีตาร์ไม่ได้ทำหลังคาคลุมแบบทุกวันนี้ ไม้พนื้ บาง ถูกฝนถูกความชืน้ จนโก่งขึน้ มาบ้าง เวลาเดินต้องระวังเพราะอาจสะดุด หัวทิม่ เจ้าของบ้านอยากให้มมุ นีเ้ ป็นมุมทีผ่ คู้ นมาใช้สนทนา จึงตีไม้เป็น ม้านัง่ ยาวรอบกระชาน มุมหนึง่ มีตน้ กระบองเพชรของสะสมของลูกชาย อีกมุมแขวนไม้ประดับพวกเคราฤษี สร้อยนางกรอง เดฟ ดูระย้าและ สดชืน่ กิจวัตรของพวกเราคือการมารอจิบกาแฟแก้วแรกของวันทีบ่ ริเวณ นี้ เรารู้ว่ามันเป็นช่วงเวลาเหมาะที่สุดสำหรับการสนทนา ระหว่างรอ กาแฟ วันนีห้ วั ข้อสนทนาคือเรือ่ งของการฟัง แน่นอนว่าเรือ่ งนีแ้ ม้เราจะ คุยกันครัง้ แล้วครัง้ เล่า แต่ยงั ดูเหมือนมีเรือ่ งให้ลงลึกกันอีก “คนส่วนใหญ่ฟังแต่ไม่ได้ยิน หรือบางทีได้ยินอยู่แต่ก็ไม่ได้ฟัง” แมนนี่ เอ่ยขึ้น เอ...หรือว่าวันนี้การสนทนาจะไปยาวก่อนที่จะได้จิบกาแฟกัน เสียอีก มือข้างหนึง่ ของผมกดน้ำร้อนจากกาต้มน้ำใส่ในแก้วกาแฟเพือ่ อุน่
เช้าตรู่ฤดูหนาว
จิตใจของเราจะทำหน้าที่ได้ทีละอย่าง ถ้าเรากำลังคิด เราก็จะไม่ได้ฟัง ถ้าหากเราฟังจริงๆ เราก็จะไม่ได้คิด แต่บางคนบอกว่าฟังด้วยคิดด้วย จริงๆ แล้วเพราะไม่ละเอียดในการสังเกตตัวเอง
ฟังแต่ไม่ได้ยิน 15
อากาศแบบนี้แก้วกาแฟเย็นเยียบ หากเทกาแฟลงไปทันทีกาแฟจะชืด ไม่อร่อย คำของแมนนี่ชวนให้คิด เวลาเราฟังเสียงอะไรเราต้องตั้งใจฟังจึง จะได้ยิน แต่ทำไมเสียงบางเสียงเราไม่ได้ตงั้ ใจ แถมบางครั้งไม่ต้องการ ฟัง แต่กลับได้ยนิ สมัยตอนเรียนมัธยมปลาย ผมย้ายจากต่างจังหวัดเข้ามาเรียนใน กรุงเทพฯ ทีบ่ า้ นเซ้งตึกแถวเอาไว้ใกล้โรงเรียนแถวสามย่าน คนทางบ้าน คงไม่อยากให้ผมต้องไปอยู่หอพักซึ่งดูจะทำให้เสียผู้เสียคนได้มากกว่า สามย่านสะดวกทีส่ ดุ แล้วสำหรับนักเรียนเตรียมอุดมฯ เพราะห่างไปแค่ อึดใจเดียว บ่อยครั้งที่ผมโหนขึ้นรถเมล์ แล้วยังไม่ทันที่กระเป๋าจะเดิน มาเก็บค่าโดยสารผมก็เผ่นเผล็วลงไปจากรถเสียแล้ว การเดินทางจึง ไม่ใช่ปัญหา แต่ปัญหาอยู่ที่ร้านค้าคูหาติดกันเป็นร้านทำเบาะแท็กซี่ ชอบเปิดเพลงลูกทุ่งเสียงดังชะมัด ตอนนั้นผมเกลียดเพลงลูกทุ่งเข้าไส้ ได้ยนิ ทีไรอ่านหนังสือไม่รเู้ รือ่ ง เมือ่ หงุดหงิดมากๆ เข้า ผมเลยหาทางหนี ออกไปอ่านหนังสือที่อื่น ตกค่ำจึงค่อยกลับเข้าบ้าน อาศัยความเงียบ ช่วงกลางคืนทำให้ผมมีสมาธิในการอ่าน เวลาค่ำคืนจึงเป็นโอกาสที่ผม จะได้อา่ นหนังสือโดยไม่ถกู รบกวน แต่มอี ยูว่ นั หนึง่ ขณะทีผ่ มกำลังเพิง่ จะเริม่ อ่านหนังสือได้เข้าที่ จูๆ่ ข้างบ้านเปิดทีวีเสียงดังมาก เสียงดังมาจากบ้านอาซิ้มขายของกระจุก กระจิกข้างบ้าน ผมพยายามจะไม่ใส่ใจแต่กท็ ำไม่ได้ จากความหงุดหงิด เปลีย่ นเป็นความโกรธ เลือดทีพ่ ล่านของวัยรุน่ ทำให้ผมลงมือชนิดไม่คดิ ยับยั้งชั่งใจ ผมดุ่มไปหยิบวิทยุเทปกระเป๋าหิ้วขนาด ๘๐ วัตต์ มาเปิด เพลงเสียงเฮฟวีเ่ มทัลแผดใส่ขา้ งบ้านด้วยความสะใจ ได้ผลแฮะ!! เสียง ทีวีเมื่อครู่เงียบลง แต่กลับได้ยินเสียงสบถโขมงโฉงเฉงของอาซิ้มแทน
อาซิ้มกับผมเป็นไม้เบื่อไม้เมากันเพราะสร้างวีรกรรมต่อกันหลายต่อ หลายครัง้ ... เรือ่ งนีเ้ ทพกีตาร์เคยอธิบายให้ฟงั ว่า เมือ่ ตอนแรกใจผมจดจ่ออยูก่ บั การ อ่าน แต่เจตนาของการอ่านหนังสือมันไม่มั่น ใจจึงวอกแวกไปจับเรื่อง ราวอืน่ ยิง่ สิง่ ทีม่ ากระทบนัน้ มีความแรง คือเสียงทีวขี า้ งบ้าน ใจก็ไปจับ อยู่กับเสียงนั้นจนรู้สึกไม่พอใจ ในกรณีนี้จึงได้ยินด้วยและฟังด้วย แต่ หากผมจดจ่ออยู่กับการอ่านหนังสือจริงๆ จนใจไม่ไปจับอยู่กับเสียง รบกวน ช่วงเวลานัน้ ผมจะไม่รดู้ ว้ ยซ้ำว่าข้างบ้านกำลังเปิดเพลงอะไร มี เนือ้ หาอย่างไร แต่ตอ้ งดิง่ ในสมาธิจริงๆ ซึง่ ไม่ใช่เรือ่ งง่าย ขณะนัน้ แป๋มเดินออกมา จูงไอ้ ‘วัวนม’ สุนขั พันธ์พุ ติ บูลเข้าไปเก็บ ในกรงของมัน ท่านเทพฯ เห็นดังนัน้ จึงตะโกนเรียก “แป๋มเอ๊ย แป๋ม ไปซือ้ โจ๊กให้นา้ หน่อยเถอะวะ” เด็กหนุ่มชาวสุรินทร์ไม่ได้เงยหน้าขึ้นมอง ยังคงทำในสิ่งที่เขาทำ อยูต่ อ่ ไปเหมือนไม่มอี ะไรเกิดขึน้ หรือเขากำลังมีสมาธิจดจ่ออยูก่ บั สิง่ ที่ ทำจึงไม่ได้ใส่ใจกับเสียงเรียก “ดูมัน...เอาหูทวนลมอีกแล้ว” แต่ดูเหมือนท่านเทพฯ ไม่ได้คิด อย่างนัน้ .... หลังจากที่แป๋มเข้ามารับออเดอร์โจ๊กและขี่มอเตอร์ไซค์ออกไปที่ตลาด ผมแจกจ่ายแก้วกาแฟ แล้วการสนทนาก็ดำเนินต่อ “ผมคิดว่าผมเข้าใจนะ การได้ยนิ แต่ไม่ได้ฟงั คือหากเราไม่ใส่ใจกับ เสียงที่เข้ามากระทบหู เสียงที่ได้ยินก็เป็นเพียงคลื่นเสียงไม่ได้มีความ หมายอะไร ว่าแต่การฟังแต่ไม่ได้ยนิ นีม่ นั ยังไงกัน”
16 เอนหลังฟัง
ฟังแต่ไม่ได้ยิน 17
อากาศแบบนี้แก้วกาแฟเย็นเยียบ หากเทกาแฟลงไปทันทีกาแฟจะชืด ไม่อร่อย คำของแมนนี่ชวนให้คิด เวลาเราฟังเสียงอะไรเราต้องตั้งใจฟังจึง จะได้ยิน แต่ทำไมเสียงบางเสียงเราไม่ได้ตงั้ ใจ แถมบางครั้งไม่ต้องการ ฟัง แต่กลับได้ยนิ สมัยตอนเรียนมัธยมปลาย ผมย้ายจากต่างจังหวัดเข้ามาเรียนใน กรุงเทพฯ ทีบ่ า้ นเซ้งตึกแถวเอาไว้ใกล้โรงเรียนแถวสามย่าน คนทางบ้าน คงไม่อยากให้ผมต้องไปอยู่หอพักซึ่งดูจะทำให้เสียผู้เสียคนได้มากกว่า สามย่านสะดวกทีส่ ดุ แล้วสำหรับนักเรียนเตรียมอุดมฯ เพราะห่างไปแค่ อึดใจเดียว บ่อยครั้งที่ผมโหนขึ้นรถเมล์ แล้วยังไม่ทันที่กระเป๋าจะเดิน มาเก็บค่าโดยสารผมก็เผ่นเผล็วลงไปจากรถเสียแล้ว การเดินทางจึง ไม่ใช่ปัญหา แต่ปัญหาอยู่ที่ร้านค้าคูหาติดกันเป็นร้านทำเบาะแท็กซี่ ชอบเปิดเพลงลูกทุ่งเสียงดังชะมัด ตอนนั้นผมเกลียดเพลงลูกทุ่งเข้าไส้ ได้ยนิ ทีไรอ่านหนังสือไม่รเู้ รือ่ ง เมือ่ หงุดหงิดมากๆ เข้า ผมเลยหาทางหนี ออกไปอ่านหนังสือที่อื่น ตกค่ำจึงค่อยกลับเข้าบ้าน อาศัยความเงียบ ช่วงกลางคืนทำให้ผมมีสมาธิในการอ่าน เวลาค่ำคืนจึงเป็นโอกาสที่ผม จะได้อา่ นหนังสือโดยไม่ถกู รบกวน แต่มอี ยูว่ นั หนึง่ ขณะทีผ่ มกำลังเพิง่ จะเริม่ อ่านหนังสือได้เข้าที่ จูๆ่ ข้างบ้านเปิดทีวีเสียงดังมาก เสียงดังมาจากบ้านอาซิ้มขายของกระจุก กระจิกข้างบ้าน ผมพยายามจะไม่ใส่ใจแต่กท็ ำไม่ได้ จากความหงุดหงิด เปลีย่ นเป็นความโกรธ เลือดทีพ่ ล่านของวัยรุน่ ทำให้ผมลงมือชนิดไม่คดิ ยับยั้งชั่งใจ ผมดุ่มไปหยิบวิทยุเทปกระเป๋าหิ้วขนาด ๘๐ วัตต์ มาเปิด เพลงเสียงเฮฟวีเ่ มทัลแผดใส่ขา้ งบ้านด้วยความสะใจ ได้ผลแฮะ!! เสียง ทีวีเมื่อครู่เงียบลง แต่กลับได้ยินเสียงสบถโขมงโฉงเฉงของอาซิ้มแทน
อาซิ้มกับผมเป็นไม้เบื่อไม้เมากันเพราะสร้างวีรกรรมต่อกันหลายต่อ หลายครัง้ ... เรือ่ งนีเ้ ทพกีตาร์เคยอธิบายให้ฟงั ว่า เมือ่ ตอนแรกใจผมจดจ่ออยูก่ บั การ อ่าน แต่เจตนาของการอ่านหนังสือมันไม่มั่น ใจจึงวอกแวกไปจับเรื่อง ราวอืน่ ยิง่ สิง่ ทีม่ ากระทบนัน้ มีความแรง คือเสียงทีวขี า้ งบ้าน ใจก็ไปจับ อยู่กับเสียงนั้นจนรู้สึกไม่พอใจ ในกรณีนี้จึงได้ยินด้วยและฟังด้วย แต่ หากผมจดจ่ออยู่กับการอ่านหนังสือจริงๆ จนใจไม่ไปจับอยู่กับเสียง รบกวน ช่วงเวลานัน้ ผมจะไม่รดู้ ว้ ยซ้ำว่าข้างบ้านกำลังเปิดเพลงอะไร มี เนือ้ หาอย่างไร แต่ตอ้ งดิง่ ในสมาธิจริงๆ ซึง่ ไม่ใช่เรือ่ งง่าย ขณะนัน้ แป๋มเดินออกมา จูงไอ้ ‘วัวนม’ สุนขั พันธ์พุ ติ บูลเข้าไปเก็บ ในกรงของมัน ท่านเทพฯ เห็นดังนัน้ จึงตะโกนเรียก “แป๋มเอ๊ย แป๋ม ไปซือ้ โจ๊กให้นา้ หน่อยเถอะวะ” เด็กหนุ่มชาวสุรินทร์ไม่ได้เงยหน้าขึ้นมอง ยังคงทำในสิ่งที่เขาทำ อยูต่ อ่ ไปเหมือนไม่มอี ะไรเกิดขึน้ หรือเขากำลังมีสมาธิจดจ่ออยูก่ บั สิง่ ที่ ทำจึงไม่ได้ใส่ใจกับเสียงเรียก “ดูมัน...เอาหูทวนลมอีกแล้ว” แต่ดูเหมือนท่านเทพฯ ไม่ได้คิด อย่างนัน้ .... หลังจากที่แป๋มเข้ามารับออเดอร์โจ๊กและขี่มอเตอร์ไซค์ออกไปที่ตลาด ผมแจกจ่ายแก้วกาแฟ แล้วการสนทนาก็ดำเนินต่อ “ผมคิดว่าผมเข้าใจนะ การได้ยนิ แต่ไม่ได้ฟงั คือหากเราไม่ใส่ใจกับ เสียงที่เข้ามากระทบหู เสียงที่ได้ยินก็เป็นเพียงคลื่นเสียงไม่ได้มีความ หมายอะไร ว่าแต่การฟังแต่ไม่ได้ยนิ นีม่ นั ยังไงกัน”
16 เอนหลังฟัง
ฟังแต่ไม่ได้ยิน 17
“ฟังแต่ไม่ได้ยินเพราะใจไม่ได้อยู่กับการฟัง” เทพกีตาร์เสนอ สมมุติฐาน แต่เขามักจะเสนออะไรด้วยความมั่นอกมั่นใจจนราวกับว่า มันเป็นสัจจะทีค่ วรค่าแก่การจารึกเอาไว้บนแท่นศิลา “จะบอกให้นะว่า หลายคนนึกว่าตัวเองเป็นนักฟังที่ดี เพราะดู เหมือนตั้งอกตั้งใจฟัง แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่อย่างนั้น เขาเป็นนักฟังที่ไม่ดี เพราะเขาคิดตามระหว่างทีฟ่ งั ตลอด เขาจึงไม่ได้ฟงั ” ท่านเทพฯ หยุดพูดเพือ่ จิบกาแฟหอมกรุน่ สีหน้าบ่งบอกถึงความ พอใจ “อันนัน้ แหละเรียกว่าฟังอยูแ่ ต่ไม่ได้ยนิ ” แมนนี่มาช่วยขยายต่อให้อีกหน่อย “เพราะคิดตามจึงไม่ได้ฟัง เพราะมัวแต่คดิ ในเรือ่ งราวของตัวเอง” “เอ๊ะเดีย๋ วนะผมงงเล็กน้อย ก็เวลาฟังมันก็นา่ จะคิดตามไม่ใช่หรือ ถ้าไม่คดิ ตามจะเข้าใจได้ยงั ไง” ผมถามด้วยความสงสัย ยังไม่ทนั ทีท่ า่ นเทพฯ จะว่าอะไร แมนนีก่ ช็ งิ ตอบ “อ้าว ถ้าคิดตาม ก็เข้าใจอยู่ แต่ไม่รเู้ รือ่ งนะ และแม้ถงึ จะรูเ้ รือ่ งก็ไม่เข้าใจ” ไอ้ภาษาวกวน แบบนีแ้ มนนีช่ อบนัก แต่ยงิ่ ทำให้ผมมึนหนักเข้าไปใหญ่ “อ่า...สงสัยผมจะไปคิดตามเข้าให้แล้ว เพราะผมเริ่มมึนกับสิ่งที่ น้าๆ สองคนพูดมา และผมก็ไม่เห็นจะเข้าใจอะไรเลย อีกอย่างนะ ผมว่า คนอืน่ ทีไ่ ด้ยนิ ได้ฟงั แบบนีเ้ ขาก็คงไม่เข้าใจเหมือนกัน ทำไมไม่พดู แบบที่ ผมจะรูเ้ รือ่ งเข้าใจได้ละ่ ” “อืมนั่นน่ะสิ แต่ก่อนก็มีคนบอกว่าผมพูดจาไม่รู้เรื่อง” นัยน์ตา ท่านเทพฯ ลุกวาว พูดเหมือนนึกอะไรขึน้ ได้ “แต่ตอนผมมาคุยกับแมนนี่ แมนนี่ถามผมว่าผมรู้หรือเปล่าว่าผมกำลังพูดอะไร ผมบอกว่าผมรู ้ แมนนีเ่ ลยบอกว่า งัน้ ผมพูดรูเ้ รือ่ งแล้ว แต่คนอืน่ เขาไม่เข้าใจในสิง่ ทีผ่ ม
พูดต่างหาก” ผมเม้มปากแน่น เพราะไม่รู้ว่าท่านเทพฯ กำลังแขวะผมอยู่หรือ เปล่า สายตาแอบเหลือบไปเห็นแมนนีซ่ งึ่ กำลังอมยิม้ อยู ่ อาร์. ดี. แลงจ์ ผูท้ คี่ ลุกคลีอยูก่ บั คนไข้จติ เภท จนพบสัจธรรมบางอย่าง เคยกล่าวว่า “ถ้าหากฉันไม่รวู้ า่ ฉันไม่รู้ ฉันคิดว่าฉันรู ้ ถ้าหากฉันไม่รวู้ า่ ฉันรู้ ฉันคิดว่าฉันไม่ร”ู้ อันนัน้ สำหรับคนฟัน่ เฟือนทีไ่ ม่รตู้ วั เองหรือเปล่านะ แต่ผมยังไม่ถงึ ขัน้ นัน้ เพราะยังรูอ้ ยูว่ า่ ตัวเองรูว้ า่ ไม่รอู้ ะไร แป๋มกลับมาพอดี เราจึงขยับขยายมาทีโ่ ต๊ะทานอาหาร “ผมขอย้อนนิดนึงนะ ประเด็นเรือ่ งการฟังแต่ไม่ได้ยนิ คือว่า...” ผมเอ่ย ขึน้ ในโต๊ะอาหาร “นัย ไม่ใช่ ประเด็น” แมนนี่สวนขึ้นมาทันควัน ผมทำหน้าฉงน “ประเด็นมันตัดสั้น แต่นัยมันจะขยายออก” แมนนี่อธิบายว่าหากเรา จะสนทนาเป็นประเด็นมันจะตัดสั้น ลดทอนความจริงลงเป็นเสี่ยงๆ
ซึง่ หากทำเช่นนัน้ การสนทนาก็จะขาดมิตคิ วามเป็นองค์รวม เพราะทุก อย่างในจักรวาลเชือ่ มโยงและเนือ่ งกันอยู่ ไม่อาจจะตัดทอนเอามาเพียง ท่อนเดียว แมนนีจ่ งึ ชอบใช้คำว่านัย เพราะไม่วา่ จะพูดเรือ่ งอะไรก็ยอ่ ม จะโยงกลับเข้ามาสูค่ วามจริงทีเ่ กิดขึน้ กับจิตใจของเราได้เสมอ
18 เอนหลังฟัง
ฟังแต่ไม่ได้ยิน 19
ประเด็นมันตัดสั้น ลดทอน แต่นัยมันขยายออก สืบต่อ
“ฟังแต่ไม่ได้ยินเพราะใจไม่ได้อยู่กับการฟัง” เทพกีตาร์เสนอ สมมุติฐาน แต่เขามักจะเสนออะไรด้วยความมั่นอกมั่นใจจนราวกับว่า มันเป็นสัจจะทีค่ วรค่าแก่การจารึกเอาไว้บนแท่นศิลา “จะบอกให้นะว่า หลายคนนึกว่าตัวเองเป็นนักฟังที่ดี เพราะดู เหมือนตั้งอกตั้งใจฟัง แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่อย่างนั้น เขาเป็นนักฟังที่ไม่ดี เพราะเขาคิดตามระหว่างทีฟ่ งั ตลอด เขาจึงไม่ได้ฟงั ” ท่านเทพฯ หยุดพูดเพือ่ จิบกาแฟหอมกรุน่ สีหน้าบ่งบอกถึงความ พอใจ “อันนัน้ แหละเรียกว่าฟังอยูแ่ ต่ไม่ได้ยนิ ” แมนนี่มาช่วยขยายต่อให้อีกหน่อย “เพราะคิดตามจึงไม่ได้ฟัง เพราะมัวแต่คดิ ในเรือ่ งราวของตัวเอง” “เอ๊ะเดีย๋ วนะผมงงเล็กน้อย ก็เวลาฟังมันก็นา่ จะคิดตามไม่ใช่หรือ ถ้าไม่คดิ ตามจะเข้าใจได้ยงั ไง” ผมถามด้วยความสงสัย ยังไม่ทนั ทีท่ า่ นเทพฯ จะว่าอะไร แมนนีก่ ช็ งิ ตอบ “อ้าว ถ้าคิดตาม ก็เข้าใจอยู่ แต่ไม่รเู้ รือ่ งนะ และแม้ถงึ จะรูเ้ รือ่ งก็ไม่เข้าใจ” ไอ้ภาษาวกวน แบบนีแ้ มนนีช่ อบนัก แต่ยงิ่ ทำให้ผมมึนหนักเข้าไปใหญ่ “อ่า...สงสัยผมจะไปคิดตามเข้าให้แล้ว เพราะผมเริ่มมึนกับสิ่งที่ น้าๆ สองคนพูดมา และผมก็ไม่เห็นจะเข้าใจอะไรเลย อีกอย่างนะ ผมว่า คนอืน่ ทีไ่ ด้ยนิ ได้ฟงั แบบนีเ้ ขาก็คงไม่เข้าใจเหมือนกัน ทำไมไม่พดู แบบที่ ผมจะรูเ้ รือ่ งเข้าใจได้ละ่ ” “อืมนั่นน่ะสิ แต่ก่อนก็มีคนบอกว่าผมพูดจาไม่รู้เรื่อง” นัยน์ตา ท่านเทพฯ ลุกวาว พูดเหมือนนึกอะไรขึน้ ได้ “แต่ตอนผมมาคุยกับแมนนี่ แมนนี่ถามผมว่าผมรู้หรือเปล่าว่าผมกำลังพูดอะไร ผมบอกว่าผมรู ้ แมนนีเ่ ลยบอกว่า งัน้ ผมพูดรูเ้ รือ่ งแล้ว แต่คนอืน่ เขาไม่เข้าใจในสิง่ ทีผ่ ม
พูดต่างหาก” ผมเม้มปากแน่น เพราะไม่รู้ว่าท่านเทพฯ กำลังแขวะผมอยู่หรือ เปล่า สายตาแอบเหลือบไปเห็นแมนนีซ่ งึ่ กำลังอมยิม้ อยู ่ อาร์. ดี. แลงจ์ ผูท้ คี่ ลุกคลีอยูก่ บั คนไข้จติ เภท จนพบสัจธรรมบางอย่าง เคยกล่าวว่า “ถ้าหากฉันไม่รวู้ า่ ฉันไม่รู้ ฉันคิดว่าฉันรู ้ ถ้าหากฉันไม่รวู้ า่ ฉันรู้ ฉันคิดว่าฉันไม่ร”ู้ อันนัน้ สำหรับคนฟัน่ เฟือนทีไ่ ม่รตู้ วั เองหรือเปล่านะ แต่ผมยังไม่ถงึ ขัน้ นัน้ เพราะยังรูอ้ ยูว่ า่ ตัวเองรูว้ า่ ไม่รอู้ ะไร แป๋มกลับมาพอดี เราจึงขยับขยายมาทีโ่ ต๊ะทานอาหาร “ผมขอย้อนนิดนึงนะ ประเด็นเรือ่ งการฟังแต่ไม่ได้ยนิ คือว่า...” ผมเอ่ย ขึน้ ในโต๊ะอาหาร “นัย ไม่ใช่ ประเด็น” แมนนี่สวนขึ้นมาทันควัน ผมทำหน้าฉงน “ประเด็นมันตัดสั้น แต่นัยมันจะขยายออก” แมนนี่อธิบายว่าหากเรา จะสนทนาเป็นประเด็นมันจะตัดสั้น ลดทอนความจริงลงเป็นเสี่ยงๆ
ซึง่ หากทำเช่นนัน้ การสนทนาก็จะขาดมิตคิ วามเป็นองค์รวม เพราะทุก อย่างในจักรวาลเชือ่ มโยงและเนือ่ งกันอยู่ ไม่อาจจะตัดทอนเอามาเพียง ท่อนเดียว แมนนีจ่ งึ ชอบใช้คำว่านัย เพราะไม่วา่ จะพูดเรือ่ งอะไรก็ยอ่ ม จะโยงกลับเข้ามาสูค่ วามจริงทีเ่ กิดขึน้ กับจิตใจของเราได้เสมอ
18 เอนหลังฟัง
ฟังแต่ไม่ได้ยิน 19
ประเด็นมันตัดสั้น ลดทอน แต่นัยมันขยายออก สืบต่อ
ผมล้มกระดานใหม่ “นัยเรื่องการฟังแต่ไม่ได้ยิน ที่บอกว่าหากฟังแล้ว คิดตามจะไม่รู้เรื่อง แล้วจะให้ฟังอย่างไม่ต้องคิดอะไรเลย คือฟังไป เรือ่ ยๆ อย่างนัน้ หรือ” แมนนีต่ กั ชิน้ ตับงามๆ เข้าปากเคีย้ วกร้วมๆ กลืนลงคอแล้วพูดต่อ “เวลาฟังเธอไม่ได้ฟังเฉยๆ หรอกนะ เธอพูดตามสิ่งที่ได้ยินได้ฟังตลอด เวลา ลองไม่พูดตามในใจสิ เธอก็จะไม่รู้เรื่องว่าน้าพูดอะไร ลองสังเกต
ดูส”ิ แมนนี่กำลังพูดสิ่งใหม่ที่ผมไม่เคยได้ยินได้ฟังที่ไหนมาก่อน มัน ยากที่จะเชื่อสำหรับผู้ที่เพิ่งได้สัมผัสเป็นครั้งแรก แต่ผมไม่ได้ขอให้คุณ เชื่อ เพราะเรื่องนี้จะรู้ได้ต้องอาศัยการสังเกตอย่างละเอียดลึกซึ้ง เริ่ม จากการลองสังเกตการอ่านหนังสือของคุณก็ได้ ทัง้ ๆ ทีต่ วั อักษรเหล่านี้ เป็นเพียงน้ำหมึกบนกระดาษ แต่ในใจของคุณมันจะปรากฏเป็นเสียง ของการอ่านหนังสือ ถึงแม้ไม่ได้เปล่งเสียงออกมาจากลำคอ เสียงของ การอ่านก็กำลังเกิดขึน้ ในใจคุณในขณะนี้ เพราะหากไม่มกี ารออกเสียง ในใจก็จะอ่านหนังสือไม่ออก ความหมายของแต่ละคำเกิดขึ้นหลังจาก เกิดเสียงในใจแล้ว แต่กระบวนการทัง้ หมดเกิดขึน้ เร็วมากจนถ้าหากเรา ไม่สงั เกตเราก็ไม่อาจจะจับรายละเอียดตรงนีไ้ ด้ แมนนีบ่ อกว่าจิตใจของเราจะทำหน้าทีไ่ ด้ทลี ะอย่าง ถ้าเรากำลังคิด เราก็จะไม่ได้ฟงั ถ้าหากเราฟังจริงๆ เราก็จะไม่ได้คดิ แต่บางคนบอกว่า ฟังด้วยคิดด้วย จริงๆ แล้วเพราะไม่ละเอียดในการสังเกตตัวเอง อีก อย่างเป็นเพราะจิตใจเราทำงานเร็วมากจนดูเหมือนว่าเราสามารถทีจ่ ะ ทำอะไรได้หลายอย่างในเวลาเดียวกัน แต่จริงๆ แล้วมันเป็นคนละขณะ เวลา เหมือนกับซีพยี ใู นเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทจี่ ะทำหน้าทีต่ ามคำสัง่ ทีละ อย่าง แต่เนื่องจากซีพียูทำงานไวมากจึงดูเสมือนว่ามันสามารถทำงาน
หลายอย่างไปได้พร้อมกันในขณะเดียวกัน ถ้าหากว่า ‘สมมุตฐิ าน’ นีเ้ ป็นจริง (ทีผ่ มเรียกว่าสมมุตฐิ านเพราะ ไม่อยากให้คณ ุ เชือ่ จนกว่าจะได้ลองพิสจู น์ดว้ ยตนเอง) การฟังทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ของคนส่วนใหญ่กค็ งผิดหมด เพราะคนส่วนใหญ่ฟงั แล้วก็คดิ ไป ด้วย จะหาคนที่มีใจจดจ่ออยู่กับการฟังจริงๆ น้อยมากตามประสบการณ์ของผม ในบทที่ ๔ เราจะมาลองจำแนกการฟังเป็น ๔ แบบเพือ่ ได้ลองสังเกตการฟังของเราว่าเป็นแบบใด .................................................. เราคุยกันแบบนีม้ านาน ผม แมนนี่ กับเทพกีตาร์ เคยคุยกันยาวต่อเนือ่ ง เป็นสิบวัน เรือ่ งทีค่ ยุ ดูเหมือนน่าจะหมดแต่กไ็ ม่หมด มันวนเวียนอยูก่ บั เรื่องความจริงของจิตใจมนุษย์ ความจริงที่เกิดขึ้นและพิสูจน์ได้กับตัว เราเอง การฟังเป็นเรือ่ งหนึง่ ทีค่ ยุ กันมาก มีนยั ขยายออกไปเรือ่ ย แต่ก็ ไม่เคยมีครัง้ ใดทีก่ ารสนทนาจะย่ำอยูท่ เี่ ดิม แมนนีบ่ อกว่าเพราะการพูด คุยทุกครั้งเราไม่ถูกจำกัดด้วยประเด็น นัยมันจึงขยายออกเป็นอนันต์ การสนทนาส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นแบบนั้น การประชุม การพูดคุย มักจะ ถูกกำหนดวาระเอาไว้ลว่ งหน้า การสนทนานัน้ จึงเป็นของตายซึง่ ทุกคน ก็พอจะรู้ว่ามันมีข้อสรุปอย่างไร แต่การสนทนาของพวกเราไม่เคยมี
บทสรุป ไม่เคยมีการจับประเด็นแบบแข็งตัว การสนทนาจึงพร้อมจะ เลื่อนไหลไปในทิศทางแห่งการเรียนรู้ เราไม่เคยถามกันว่าได้อะไรจาก การพูดคุยครัง้ นี้ เพราะไม่ตงั้ เป้าไว้ทผี่ ล จึงเกิดผลเพราะความสมบูรณ์ ในกระบวนการเรียนรู้ ซึง่ เริม่ ต้นจาก ‘การฟัง’
20 เอนหลังฟัง
ฟังแต่ไม่ได้ยิน 21
ผมล้มกระดานใหม่ “นัยเรื่องการฟังแต่ไม่ได้ยิน ที่บอกว่าหากฟังแล้ว คิดตามจะไม่รู้เรื่อง แล้วจะให้ฟังอย่างไม่ต้องคิดอะไรเลย คือฟังไป เรือ่ ยๆ อย่างนัน้ หรือ” แมนนีต่ กั ชิน้ ตับงามๆ เข้าปากเคีย้ วกร้วมๆ กลืนลงคอแล้วพูดต่อ “เวลาฟังเธอไม่ได้ฟังเฉยๆ หรอกนะ เธอพูดตามสิ่งที่ได้ยินได้ฟังตลอด เวลา ลองไม่พูดตามในใจสิ เธอก็จะไม่รู้เรื่องว่าน้าพูดอะไร ลองสังเกต
ดูส”ิ แมนนี่กำลังพูดสิ่งใหม่ที่ผมไม่เคยได้ยินได้ฟังที่ไหนมาก่อน มัน ยากที่จะเชื่อสำหรับผู้ที่เพิ่งได้สัมผัสเป็นครั้งแรก แต่ผมไม่ได้ขอให้คุณ เชื่อ เพราะเรื่องนี้จะรู้ได้ต้องอาศัยการสังเกตอย่างละเอียดลึกซึ้ง เริ่ม จากการลองสังเกตการอ่านหนังสือของคุณก็ได้ ทัง้ ๆ ทีต่ วั อักษรเหล่านี้ เป็นเพียงน้ำหมึกบนกระดาษ แต่ในใจของคุณมันจะปรากฏเป็นเสียง ของการอ่านหนังสือ ถึงแม้ไม่ได้เปล่งเสียงออกมาจากลำคอ เสียงของ การอ่านก็กำลังเกิดขึน้ ในใจคุณในขณะนี้ เพราะหากไม่มกี ารออกเสียง ในใจก็จะอ่านหนังสือไม่ออก ความหมายของแต่ละคำเกิดขึ้นหลังจาก เกิดเสียงในใจแล้ว แต่กระบวนการทัง้ หมดเกิดขึน้ เร็วมากจนถ้าหากเรา ไม่สงั เกตเราก็ไม่อาจจะจับรายละเอียดตรงนีไ้ ด้ แมนนีบ่ อกว่าจิตใจของเราจะทำหน้าทีไ่ ด้ทลี ะอย่าง ถ้าเรากำลังคิด เราก็จะไม่ได้ฟงั ถ้าหากเราฟังจริงๆ เราก็จะไม่ได้คดิ แต่บางคนบอกว่า ฟังด้วยคิดด้วย จริงๆ แล้วเพราะไม่ละเอียดในการสังเกตตัวเอง อีก อย่างเป็นเพราะจิตใจเราทำงานเร็วมากจนดูเหมือนว่าเราสามารถทีจ่ ะ ทำอะไรได้หลายอย่างในเวลาเดียวกัน แต่จริงๆ แล้วมันเป็นคนละขณะ เวลา เหมือนกับซีพยี ใู นเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทจี่ ะทำหน้าทีต่ ามคำสัง่ ทีละ อย่าง แต่เนื่องจากซีพียูทำงานไวมากจึงดูเสมือนว่ามันสามารถทำงาน
หลายอย่างไปได้พร้อมกันในขณะเดียวกัน ถ้าหากว่า ‘สมมุตฐิ าน’ นีเ้ ป็นจริง (ทีผ่ มเรียกว่าสมมุตฐิ านเพราะ ไม่อยากให้คณ ุ เชือ่ จนกว่าจะได้ลองพิสจู น์ดว้ ยตนเอง) การฟังทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ของคนส่วนใหญ่กค็ งผิดหมด เพราะคนส่วนใหญ่ฟงั แล้วก็คดิ ไป ด้วย จะหาคนที่มีใจจดจ่ออยู่กับการฟังจริงๆ น้อยมากตามประสบการณ์ของผม ในบทที่ ๔ เราจะมาลองจำแนกการฟังเป็น ๔ แบบเพือ่ ได้ลองสังเกตการฟังของเราว่าเป็นแบบใด .................................................. เราคุยกันแบบนีม้ านาน ผม แมนนี่ กับเทพกีตาร์ เคยคุยกันยาวต่อเนือ่ ง เป็นสิบวัน เรือ่ งทีค่ ยุ ดูเหมือนน่าจะหมดแต่กไ็ ม่หมด มันวนเวียนอยูก่ บั เรื่องความจริงของจิตใจมนุษย์ ความจริงที่เกิดขึ้นและพิสูจน์ได้กับตัว เราเอง การฟังเป็นเรือ่ งหนึง่ ทีค่ ยุ กันมาก มีนยั ขยายออกไปเรือ่ ย แต่ก็ ไม่เคยมีครัง้ ใดทีก่ ารสนทนาจะย่ำอยูท่ เี่ ดิม แมนนีบ่ อกว่าเพราะการพูด คุยทุกครั้งเราไม่ถูกจำกัดด้วยประเด็น นัยมันจึงขยายออกเป็นอนันต์ การสนทนาส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นแบบนั้น การประชุม การพูดคุย มักจะ ถูกกำหนดวาระเอาไว้ลว่ งหน้า การสนทนานัน้ จึงเป็นของตายซึง่ ทุกคน ก็พอจะรู้ว่ามันมีข้อสรุปอย่างไร แต่การสนทนาของพวกเราไม่เคยมี
บทสรุป ไม่เคยมีการจับประเด็นแบบแข็งตัว การสนทนาจึงพร้อมจะ เลื่อนไหลไปในทิศทางแห่งการเรียนรู้ เราไม่เคยถามกันว่าได้อะไรจาก การพูดคุยครัง้ นี้ เพราะไม่ตงั้ เป้าไว้ทผี่ ล จึงเกิดผลเพราะความสมบูรณ์ ในกระบวนการเรียนรู้ ซึง่ เริม่ ต้นจาก ‘การฟัง’
20 เอนหลังฟัง
ฟังแต่ไม่ได้ยิน 21
๒
เมื่อเสียงกระทบหู ใครได้ยิน
แมนนี่เคยตั้งคำถามว่า “เมือ่ เสียงกระทบหู ใครได้ยนิ ?”
มันเป็นเรื่องยาก ที่เราจะตั้งใจจดจ่ออยู่กับการฟังเพียงอย่างเดียว เพราะธรรมชาติของจิตใจคนเรา ไม่ชอบอยู่กับสิ่งหนึ่งสิ่งใดเพียงสิ่งเดียว การเผลอแวบไปจึงเป็นเรื่องปกติ และเมื่อใดที่เราเผลอไปคิดเรื่องอื่นๆ และใจไม่ได้อยู่กับการฟังแล้วล่ะก็ เราจะเกิดอาการ ‘ฟังแต่ไม่ได้ยิน’
ความรูว้ ทิ ยาศาสตร์ชนั้ ประถมบอกกับผมว่า หูเป็นอวัยวะทีเ่ อาไว้ รับเสียง แล้วเสียงก็คือคลื่นชนิดหนึ่งที่อาศัยอากาศเป็นตัวนำพา ถ้า ไม่มคี ลืน่ เสียงมากระทบหูการได้ยนิ ก็เกิดไม่ได้ หรือหากเสียงกระทบหู แล้ว แต่อวัยวะรับเสียงของเราพิการ การได้ยนิ ก็เกิดขึน้ ไม่ได้เช่นกัน ผมจึงตอบว่า “ก็หนู ะ่ สิได้ยนิ ” แมนนี่จึงถามต่อไปว่า “แล้วเวลาหลับทำไมหูมันไม่ได้ยินล่ะ” แมนนี่ตั้งใจจะสื่อให้เห็นว่ามันอาจจะมีอะไรมากกว่าคำอธิบายในเชิง วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับกลไกของการฟัง การฟังอาจจะไม่ใช่จบลงแค่
คลื่นเสียงที่แปรเป็นคลื่นไฟฟ้าในระบบประสาทและตีความด้วยสมอง แต่มเี รือ่ งราวของจิตใจซึง่ เป็นนามธรรมเข้ามาเกีย่ วข้อง เพราะคนไม่ใช่ หุน่ ยนต์ เมือ่ ฟังแล้วก็เกิดความรูส้ กึ ชอบใจหรือไม่ชอบใจเกิดขึน้ ประกอบ ด้วยเสมอ ความสำคัญจึงอยูท่ วี่ า่ เมือ่ ได้ยนิ แล้วเกิดอะไรขึน้ กับใจ ผมคุยกับน้าสองคนเรื่องเสียงรบกวนรอบตัวที่มันมากเกินไป เพื่อนๆ หลายคนอยูใ่ นชมรมหรีเ่ สียงกรุงเทพฯ ต้องการออกมารณรงค์เรียกร้อง ให้ทงั้ ภาครัฐและเอกชนลดการใช้เสียงอย่างไม่บนั ยะบันยังลงเสียบ้าง “แล้วใครใช้ให้มหี ”ู เทพกีตาร์ตอบห้วน มุมปากปรากฏรอยยิม้
24 เอนหลังฟัง
เมื่อเสียงกระทบหู ใครได้ยิน 25
แมนนี่เคยตั้งคำถามว่า “เมือ่ เสียงกระทบหู ใครได้ยนิ ?”
มันเป็นเรื่องยาก ที่เราจะตั้งใจจดจ่ออยู่กับการฟังเพียงอย่างเดียว เพราะธรรมชาติของจิตใจคนเรา ไม่ชอบอยู่กับสิ่งหนึ่งสิ่งใดเพียงสิ่งเดียว การเผลอแวบไปจึงเป็นเรื่องปกติ และเมื่อใดที่เราเผลอไปคิดเรื่องอื่นๆ และใจไม่ได้อยู่กับการฟังแล้วล่ะก็ เราจะเกิดอาการ ‘ฟังแต่ไม่ได้ยิน’
ความรูว้ ทิ ยาศาสตร์ชนั้ ประถมบอกกับผมว่า หูเป็นอวัยวะทีเ่ อาไว้ รับเสียง แล้วเสียงก็คือคลื่นชนิดหนึ่งที่อาศัยอากาศเป็นตัวนำพา ถ้า ไม่มคี ลืน่ เสียงมากระทบหูการได้ยนิ ก็เกิดไม่ได้ หรือหากเสียงกระทบหู แล้ว แต่อวัยวะรับเสียงของเราพิการ การได้ยนิ ก็เกิดขึน้ ไม่ได้เช่นกัน ผมจึงตอบว่า “ก็หนู ะ่ สิได้ยนิ ” แมนนี่จึงถามต่อไปว่า “แล้วเวลาหลับทำไมหูมันไม่ได้ยินล่ะ” แมนนี่ตั้งใจจะสื่อให้เห็นว่ามันอาจจะมีอะไรมากกว่าคำอธิบายในเชิง วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับกลไกของการฟัง การฟังอาจจะไม่ใช่จบลงแค่
คลื่นเสียงที่แปรเป็นคลื่นไฟฟ้าในระบบประสาทและตีความด้วยสมอง แต่มเี รือ่ งราวของจิตใจซึง่ เป็นนามธรรมเข้ามาเกีย่ วข้อง เพราะคนไม่ใช่ หุน่ ยนต์ เมือ่ ฟังแล้วก็เกิดความรูส้ กึ ชอบใจหรือไม่ชอบใจเกิดขึน้ ประกอบ ด้วยเสมอ ความสำคัญจึงอยูท่ วี่ า่ เมือ่ ได้ยนิ แล้วเกิดอะไรขึน้ กับใจ ผมคุยกับน้าสองคนเรื่องเสียงรบกวนรอบตัวที่มันมากเกินไป เพื่อนๆ หลายคนอยูใ่ นชมรมหรีเ่ สียงกรุงเทพฯ ต้องการออกมารณรงค์เรียกร้อง ให้ทงั้ ภาครัฐและเอกชนลดการใช้เสียงอย่างไม่บนั ยะบันยังลงเสียบ้าง “แล้วใครใช้ให้มหี ”ู เทพกีตาร์ตอบห้วน มุมปากปรากฏรอยยิม้
24 เอนหลังฟัง
เมื่อเสียงกระทบหู ใครได้ยิน 25
ผมรู้สึกว่าคำตอบนี้ช่างกวนบาทาเสียจริง แต่พยายามจะสื่อสาร อย่างสันติกบั เขา “ท่านเทพฯ สุดทีร่ กั ครับ มันไม่ถกู หรือครับทีค่ นเราซึง่ เป็นพลเมือง ผู้มีสิทธิอันชอบธรรมตามรัฐธรรมนูญ จะลุกขึ้นมาแสดงสิทธิของเรา
เสียบ้าง พอเราเดินห้างพวกแ-่ง นึกจะเปิดเพลง ห่าน อะไรก็แผดออก มาจากเครื่องเสียงพีเออย่างไม่มีเกรงอกเกรงใจ พอขึ้นรถไฟฟ้าแทนที่ จะหาความสงบใจ mind my own business พวกเหียก/เจีย๊ กนีก่ ย็ งั อุตส่าห์หาโฆษณากะหลั่วๆ มาเปิดให้ดูให้เป็นที่ระคายตาเคืองหูของ สุภาพชนอย่างผมนัก ขนาดอยู่บ้านผมยังเปลี่ยนช่องทุกครั้งที่โฆษณา แล้วมันธุระกงการอะไรของพวกเขาล่ะครับทีม่ ายัดเยียดความอึกทึกให้ โสตประสาทของผม ผมขึน้ รถต้องจ่ายเงินนะ ไม่ใช่ขนึ้ ฟรี ครัง้ ล่าสุดที่ ผมตรวจดูผมก็ไม่ได้มรี อยสักอยูบ่ นหน้าผากนะว่าให้พวก ‘แ-่ง’ เอาเปรียบ ผมได้” ผมถือโอกาสพล่ามความในใจยาวเหยียด “ก่อนที่เสียงจะทำให้เรารำคาญ มันเป็นคลื่นสูงๆ ต่ำๆ เป็นพลังงานอย่างหนึ่งเท่านั้นเองใช่มั้ย” เทพกีตาร์ว่าต่อ ราวกับไม่ได้ยินเสียง พร่ำบ่นของผมเมือ่ สักครู่ เห็นความจริงจังของแกแบบนีผ้ มได้แต่พยักหน้าอย่างช้าๆ เป็นเครือ่ งหมายให้แกลุยต่อ “แล้วถ้าใครมาด่าเราเป็นภาษาอียปิ ต์เราก็คงจะไม่โกรธใช่มยั้ ” “ไม่มงั้ เพราะไม่รภู้ าษานัน้ ” ผมตอบอย่างไม่รไู้ ม่ชี้ “ถ้าอย่างนั้นทำไมเราจึงรู้สึกรำคาญหรือโกรธเมื่อถูกด่า” ท่าน เทพฯ จบลงด้วยคำถาม ผมตอบทันควัน “อ่า ท่านเทพฯ ครับ ประเดีย๋ วก่อน ผมน่ะรำคาญ ได้โดยไม่ต้องให้ใครมาด่าหรอกครับ ได้ยินเสียงริงโทนสั่วๆ นี่ก็รำคาญ แล้ว หรือได้ยนิ เสียงวัยรุน่ แอ๊บแบ๊วใส่กนั ทีส่ ยามก็อยากประทับรอยถีบ
แล้ว” “เสียงทีเ่ ข้ามาทำงานในใจ แม้จะฟังไม่ได้ศพั ท์ อืมม...” ท่านเทพฯ ไม่ใส่ใจอาการพาลพาโล แต่ดรู าวกับจะครุน่ คำนึงถึงอะไรบางอย่าง แต่ แล้วใบหน้าก็กลับมาเรียบเฉย เขายกยาดมพม่าขึน้ มาสูดดังเฮือก “แล้วเคยถูกใครด่าแบบนิม่ ๆ มัย้ ” แมนนีเ่ สริมเข้ามา “หมายความว่า?” “ก็เขาพูดนิม่ ๆ ไม่มคี ำหยาบเลยนะ แต่เล่นเอาหน้างีช้ าเลย” ผมรู้ ว่าแมนนี่หมายถึงอะไร คำพูดนิ่มๆ แต่เชือดเฉือนมาจากแววตาอันใส ซื่อของเธอ “อยากให้เลื่อนไปก่อน รู้สึกว่าไม่พร้อม” เธอคนนั้นพูดถึง งานแต่งงานของเรา ซึ่งเริ่มแจกการ์ดไปบ้างแล้ว โบรชัวร์อาหารงาน เลีย้ งวางอยูบ่ นโต๊ะ แล้วผมก็เพิง่ วางสายจากการคุยนัดสตูดโิ อถ่ายภาพ ไปเมือ่ เช้า กะว่าจะตกลงนัดหมายวันทีเ่ ธอว่าง แต่อนิจจา วันนัน้ มันไม่ เคยมาถึง... ผมสลัดความคิดนัน้ เพือ่ กลับสูก่ ารคุย “ถ้างัน้ ความรูส้ กึ ก็ไม่ขนึ้ กับเสียง ที่ได้ยินนะสิครับ เพราะบางครั้งเรารำคาญเสียงดัง แต่บางคราก็เป็น เสียงเบาทีท่ ำให้เรารำคาญ” “อันนั้นมันแน่นอนอยู่ มันขึ้นกับว่าเราอยู่ใน มู้ด ไหน พูดให้ชัด
ก็คอื มันอยูท่ ภี่ าครับสัญญาณของเรา” แมนนีพ่ ดู พลางหยิบซองสายฝน และด้วยความเร็วปานสายฟ้าแลบ เขากระดกซองขึ้นงับบุหรี่ไว้ที่มุม ปาก “ถ้าไม่เกีย่ วกับท่าทีในการพูด การทีถ่ อ้ ยคำมันไปทำงานในใจเรา ก็เป็นเพราะเราไปตีความมันอย่างนัน้ เอง ใช่เปล่า” ระหว่างผมพูด เทพ กีตาร์กท็ ำท่าโยคะบิดตัวช้าๆ
26 เอนหลังฟัง
เมื่อเสียงกระทบหู ใครได้ยิน 27
ผมรู้สึกว่าคำตอบนี้ช่างกวนบาทาเสียจริง แต่พยายามจะสื่อสาร อย่างสันติกบั เขา “ท่านเทพฯ สุดทีร่ กั ครับ มันไม่ถกู หรือครับทีค่ นเราซึง่ เป็นพลเมือง ผู้มีสิทธิอันชอบธรรมตามรัฐธรรมนูญ จะลุกขึ้นมาแสดงสิทธิของเรา
เสียบ้าง พอเราเดินห้างพวกแ-่ง นึกจะเปิดเพลง ห่าน อะไรก็แผดออก มาจากเครื่องเสียงพีเออย่างไม่มีเกรงอกเกรงใจ พอขึ้นรถไฟฟ้าแทนที่ จะหาความสงบใจ mind my own business พวกเหียก/เจีย๊ กนีก่ ย็ งั อุตส่าห์หาโฆษณากะหลั่วๆ มาเปิดให้ดูให้เป็นที่ระคายตาเคืองหูของ สุภาพชนอย่างผมนัก ขนาดอยู่บ้านผมยังเปลี่ยนช่องทุกครั้งที่โฆษณา แล้วมันธุระกงการอะไรของพวกเขาล่ะครับทีม่ ายัดเยียดความอึกทึกให้ โสตประสาทของผม ผมขึน้ รถต้องจ่ายเงินนะ ไม่ใช่ขนึ้ ฟรี ครัง้ ล่าสุดที่ ผมตรวจดูผมก็ไม่ได้มรี อยสักอยูบ่ นหน้าผากนะว่าให้พวก ‘แ-่ง’ เอาเปรียบ ผมได้” ผมถือโอกาสพล่ามความในใจยาวเหยียด “ก่อนที่เสียงจะทำให้เรารำคาญ มันเป็นคลื่นสูงๆ ต่ำๆ เป็นพลังงานอย่างหนึ่งเท่านั้นเองใช่มั้ย” เทพกีตาร์ว่าต่อ ราวกับไม่ได้ยินเสียง พร่ำบ่นของผมเมือ่ สักครู่ เห็นความจริงจังของแกแบบนีผ้ มได้แต่พยักหน้าอย่างช้าๆ เป็นเครือ่ งหมายให้แกลุยต่อ “แล้วถ้าใครมาด่าเราเป็นภาษาอียปิ ต์เราก็คงจะไม่โกรธใช่มยั้ ” “ไม่มงั้ เพราะไม่รภู้ าษานัน้ ” ผมตอบอย่างไม่รไู้ ม่ชี้ “ถ้าอย่างนั้นทำไมเราจึงรู้สึกรำคาญหรือโกรธเมื่อถูกด่า” ท่าน เทพฯ จบลงด้วยคำถาม ผมตอบทันควัน “อ่า ท่านเทพฯ ครับ ประเดีย๋ วก่อน ผมน่ะรำคาญ ได้โดยไม่ต้องให้ใครมาด่าหรอกครับ ได้ยินเสียงริงโทนสั่วๆ นี่ก็รำคาญ แล้ว หรือได้ยนิ เสียงวัยรุน่ แอ๊บแบ๊วใส่กนั ทีส่ ยามก็อยากประทับรอยถีบ
แล้ว” “เสียงทีเ่ ข้ามาทำงานในใจ แม้จะฟังไม่ได้ศพั ท์ อืมม...” ท่านเทพฯ ไม่ใส่ใจอาการพาลพาโล แต่ดรู าวกับจะครุน่ คำนึงถึงอะไรบางอย่าง แต่ แล้วใบหน้าก็กลับมาเรียบเฉย เขายกยาดมพม่าขึน้ มาสูดดังเฮือก “แล้วเคยถูกใครด่าแบบนิม่ ๆ มัย้ ” แมนนีเ่ สริมเข้ามา “หมายความว่า?” “ก็เขาพูดนิม่ ๆ ไม่มคี ำหยาบเลยนะ แต่เล่นเอาหน้างีช้ าเลย” ผมรู้ ว่าแมนนี่หมายถึงอะไร คำพูดนิ่มๆ แต่เชือดเฉือนมาจากแววตาอันใส ซื่อของเธอ “อยากให้เลื่อนไปก่อน รู้สึกว่าไม่พร้อม” เธอคนนั้นพูดถึง งานแต่งงานของเรา ซึ่งเริ่มแจกการ์ดไปบ้างแล้ว โบรชัวร์อาหารงาน เลีย้ งวางอยูบ่ นโต๊ะ แล้วผมก็เพิง่ วางสายจากการคุยนัดสตูดโิ อถ่ายภาพ ไปเมือ่ เช้า กะว่าจะตกลงนัดหมายวันทีเ่ ธอว่าง แต่อนิจจา วันนัน้ มันไม่ เคยมาถึง... ผมสลัดความคิดนัน้ เพือ่ กลับสูก่ ารคุย “ถ้างัน้ ความรูส้ กึ ก็ไม่ขนึ้ กับเสียง ที่ได้ยินนะสิครับ เพราะบางครั้งเรารำคาญเสียงดัง แต่บางคราก็เป็น เสียงเบาทีท่ ำให้เรารำคาญ” “อันนั้นมันแน่นอนอยู่ มันขึ้นกับว่าเราอยู่ใน มู้ด ไหน พูดให้ชัด
ก็คอื มันอยูท่ ภี่ าครับสัญญาณของเรา” แมนนีพ่ ดู พลางหยิบซองสายฝน และด้วยความเร็วปานสายฟ้าแลบ เขากระดกซองขึ้นงับบุหรี่ไว้ที่มุม ปาก “ถ้าไม่เกีย่ วกับท่าทีในการพูด การทีถ่ อ้ ยคำมันไปทำงานในใจเรา ก็เป็นเพราะเราไปตีความมันอย่างนัน้ เอง ใช่เปล่า” ระหว่างผมพูด เทพ กีตาร์กท็ ำท่าโยคะบิดตัวช้าๆ
26 เอนหลังฟัง
เมื่อเสียงกระทบหู ใครได้ยิน 27
แมนนีน่ งิ่ ไปเล็กน้อย พอขยับจะตอบ เทพกีตาร์กโ็ พล่งขึน้ ทัง้ ๆ ที่ กำลังบิดตัวอยู่ “ภาษาคน เราเรียนรูจ้ ากคน จากพ่อจากแม่” แล้วเงียบ ไป ทำโยคะต่อ “อ่าฮ้ะ” ผมเน้นคำสุดท้ายเสียงสูงปรีด๊ แทนคำว่า “แล้วไงต่อ” “ก่อนจะพูดได้ต้องฟังก่อน เด็กต้องเห็นคน เห็นแม่ เห็นญาติ ได้ยนิ เขาคุยกัน ไม่ชา้ เด็กก็จะพูดเป็นคำ เป็นประโยค เป็นภาษานัน้ ได้ เอง” เทพกีตาร์กล่าวจบเอามือซ้ายขวามาวางไว้บนหน้าตักเป็นสัญญาณ ว่าจบกระบวนท่าโยคะ “ผมมีเพื่อนคนไทยไปแต่งงานกับคนเยอรมัน ลูกเขาพูดได้สอง ภาษาเลย อย่างคล่องด้วยนะ” นึกถึงเพื่อนคนหนึ่งซึ่งไปสบายแล้ว มี ครอบครั ว อบอุ่ น สามี ฝ รั่ ง รั ก เธอมาก เธอเป็ น แม่ บ้ า นที่ ไ ม่ ข าดตก บกพร่อง “ภาษาคนก็ต้องตีความ บางทีเด็กไม่รู้จักคำด่า เวลาถูกด่าก็ไม่ โกรธ บางทีเอาคำหยาบไปล้อเล่นกันสนุกๆ เด็กวัยรุ่นที่พูดมึงกูกันก็ เพราะอย่างนี้ แรกๆ มันสนุกดีที่ได้ลอง ตอนหลังมันก็สะใจดีที่ได้พูด พูดไปๆ ก็เคยชิน ได้รสู้ กึ อะไรอีก” แมนนีแ่ ทรกขึน้ บ้าง เทพกีตาร์สง่ สายตาเป็นประกาย “คำหยาบเด็กชอบเพราะเลียนแบบผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่เผลอพูดเด็กก็เอาอย่าง พอเด็กพูดผู้ใหญ่ทำหน้า ตกใจ แต่เด็กหัวเราะ เพราะเข้าใจไปคนละอย่าง” “เขาก็เรียนรูจ้ ากคนใกล้ตวั นีแ่ หละ” แมนนีก่ ล่าวสัน้ ๆ นึกถึงตอนที่ผมเรียกแม่บ้านที่มาทำความสะอาดบ้านว่า “เย..สร้อย” หรือ “ยาย..สร้อย” แทนทีจ่ ะเรียกเป็น “เจ๊...สร้อย” ซึง่ เป็นคำนำหน้า ที่น่าจะเหมาะสมกว่า สำหรับครอบครัวคนจีนอย่างผม ครั้งแรกที่แม่
ได้ยินผมพูดอย่างนั้นชัดๆ แม่ทำหน้าย่นหันกลับมาถามผมว่าทำไมจึง เรียกเจ๊สร้อยอย่างนัน้ ผมตอบแม่วา่ “อ้าว...ก็เรียกตามแม่ไง” แม่คอ้ น ประหลับประเหลือก ผมรีบหลบออกจากรัศมีทำการของมือเท้าแม่ ไม่ หรอก แม่ไม่ได้โหดขนาดนัน้ แต่กนั ไว้กอ่ นก็ด ี เมื่อแหล่งกำเนิดเสียงสร้างแรงสั่นสะเทือนเป็นคลื่นมากระทบระบบ ประสาทหู ไม่ว่าจะเป็นเสียงกีตาร์ หรือเสียงคน ถ้าระบบประสาทหู ของเราไม่บกพร่อง แน่นอนว่าเรามีโอกาสจะได้ยิน แต่มันก็ขึ้นอยู่กับ ปัจจัยแวดล้อมอีกด้วย เช่นเสียงรบกวนภายนอก และทีส่ ำคัญก็คอื เสียง รบกวนภายใน หากเสียงรบกวนทั้งสองอย่างนี้ดำเนินอยู่เราอาจจะไม่ ได้ยนิ เสียงรบกวนภายใน หรือ Internal Noise จะเข้ามาก่อกวนภาค รับสัญญาณของเรา ‘คุณภาพของภาครับ’ จึงมีสว่ นสำคัญ “ฟังอยูห่ รือเปล่า?” เสียงของแมนนีแ่ ทรกเข้ามาในความรับรู้ “จำได้มยั้ ที่เราคุยกันว่าการรับฟังจึงต้องขึ้นอยู่กับเจตนาของผู้รับ” ผมมีปัญหา กับคำนี้ คำว่า ‘เจตนา’ แมนนีบ่ อกว่ามันก็คอื ความตัง้ ใจนัน่ เอง ปัญหา ก็คือคนเรามักจะคิดว่าเรามีความตั้งใจ แต่เรากลับรู้จักมันน้อยมาก แมนนีบ่ อกว่าเจตนาของคนเราสามารถเปลีย่ นแปลงได้ทกุ ขณะ แรกเริม่ เดิมทีเราอาจจะมีความตัง้ ใจอย่างหนึง่ แต่เพียงแวบเดียวเราก็เปลีย่ นใจ เสียแล้ว แมนนีช่ อบยกตัวอย่างการตักข้าว “ลองสังเกตดูสิ บางทีเราเอือ้ มมือไปตักผัดผัก พอเอือ้ มมือออกไป ไม่ทนั ไร มือเรามันไพล่ไปตักไข่เจียวเสียนี”่ ผมเคยลองสังเกตดูเหมือนกัน ก็จริงอย่างที่แมนนี่ว่า บางทีเรา ตั้งใจจะไปกินอาหารร้านหนึ่ง แต่พอเดินผ่านอีกร้านเกิดเปลี่ยนใจ จะ
28 เอนหลังฟัง
เมื่อเสียงกระทบหู ใครได้ยิน 29
แมนนีน่ งิ่ ไปเล็กน้อย พอขยับจะตอบ เทพกีตาร์กโ็ พล่งขึน้ ทัง้ ๆ ที่ กำลังบิดตัวอยู่ “ภาษาคน เราเรียนรูจ้ ากคน จากพ่อจากแม่” แล้วเงียบ ไป ทำโยคะต่อ “อ่าฮ้ะ” ผมเน้นคำสุดท้ายเสียงสูงปรีด๊ แทนคำว่า “แล้วไงต่อ” “ก่อนจะพูดได้ต้องฟังก่อน เด็กต้องเห็นคน เห็นแม่ เห็นญาติ ได้ยนิ เขาคุยกัน ไม่ชา้ เด็กก็จะพูดเป็นคำ เป็นประโยค เป็นภาษานัน้ ได้ เอง” เทพกีตาร์กล่าวจบเอามือซ้ายขวามาวางไว้บนหน้าตักเป็นสัญญาณ ว่าจบกระบวนท่าโยคะ “ผมมีเพื่อนคนไทยไปแต่งงานกับคนเยอรมัน ลูกเขาพูดได้สอง ภาษาเลย อย่างคล่องด้วยนะ” นึกถึงเพื่อนคนหนึ่งซึ่งไปสบายแล้ว มี ครอบครั ว อบอุ่ น สามี ฝ รั่ ง รั ก เธอมาก เธอเป็ น แม่ บ้ า นที่ ไ ม่ ข าดตก บกพร่อง “ภาษาคนก็ต้องตีความ บางทีเด็กไม่รู้จักคำด่า เวลาถูกด่าก็ไม่ โกรธ บางทีเอาคำหยาบไปล้อเล่นกันสนุกๆ เด็กวัยรุ่นที่พูดมึงกูกันก็ เพราะอย่างนี้ แรกๆ มันสนุกดีที่ได้ลอง ตอนหลังมันก็สะใจดีที่ได้พูด พูดไปๆ ก็เคยชิน ได้รสู้ กึ อะไรอีก” แมนนีแ่ ทรกขึน้ บ้าง เทพกีตาร์สง่ สายตาเป็นประกาย “คำหยาบเด็กชอบเพราะเลียนแบบผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่เผลอพูดเด็กก็เอาอย่าง พอเด็กพูดผู้ใหญ่ทำหน้า ตกใจ แต่เด็กหัวเราะ เพราะเข้าใจไปคนละอย่าง” “เขาก็เรียนรูจ้ ากคนใกล้ตวั นีแ่ หละ” แมนนีก่ ล่าวสัน้ ๆ นึกถึงตอนที่ผมเรียกแม่บ้านที่มาทำความสะอาดบ้านว่า “เย..สร้อย” หรือ “ยาย..สร้อย” แทนทีจ่ ะเรียกเป็น “เจ๊...สร้อย” ซึง่ เป็นคำนำหน้า ที่น่าจะเหมาะสมกว่า สำหรับครอบครัวคนจีนอย่างผม ครั้งแรกที่แม่
ได้ยินผมพูดอย่างนั้นชัดๆ แม่ทำหน้าย่นหันกลับมาถามผมว่าทำไมจึง เรียกเจ๊สร้อยอย่างนัน้ ผมตอบแม่วา่ “อ้าว...ก็เรียกตามแม่ไง” แม่คอ้ น ประหลับประเหลือก ผมรีบหลบออกจากรัศมีทำการของมือเท้าแม่ ไม่ หรอก แม่ไม่ได้โหดขนาดนัน้ แต่กนั ไว้กอ่ นก็ด ี เมื่อแหล่งกำเนิดเสียงสร้างแรงสั่นสะเทือนเป็นคลื่นมากระทบระบบ ประสาทหู ไม่ว่าจะเป็นเสียงกีตาร์ หรือเสียงคน ถ้าระบบประสาทหู ของเราไม่บกพร่อง แน่นอนว่าเรามีโอกาสจะได้ยิน แต่มันก็ขึ้นอยู่กับ ปัจจัยแวดล้อมอีกด้วย เช่นเสียงรบกวนภายนอก และทีส่ ำคัญก็คอื เสียง รบกวนภายใน หากเสียงรบกวนทั้งสองอย่างนี้ดำเนินอยู่เราอาจจะไม่ ได้ยนิ เสียงรบกวนภายใน หรือ Internal Noise จะเข้ามาก่อกวนภาค รับสัญญาณของเรา ‘คุณภาพของภาครับ’ จึงมีสว่ นสำคัญ “ฟังอยูห่ รือเปล่า?” เสียงของแมนนีแ่ ทรกเข้ามาในความรับรู้ “จำได้มยั้ ที่เราคุยกันว่าการรับฟังจึงต้องขึ้นอยู่กับเจตนาของผู้รับ” ผมมีปัญหา กับคำนี้ คำว่า ‘เจตนา’ แมนนีบ่ อกว่ามันก็คอื ความตัง้ ใจนัน่ เอง ปัญหา ก็คือคนเรามักจะคิดว่าเรามีความตั้งใจ แต่เรากลับรู้จักมันน้อยมาก แมนนีบ่ อกว่าเจตนาของคนเราสามารถเปลีย่ นแปลงได้ทกุ ขณะ แรกเริม่ เดิมทีเราอาจจะมีความตัง้ ใจอย่างหนึง่ แต่เพียงแวบเดียวเราก็เปลีย่ นใจ เสียแล้ว แมนนีช่ อบยกตัวอย่างการตักข้าว “ลองสังเกตดูสิ บางทีเราเอือ้ มมือไปตักผัดผัก พอเอือ้ มมือออกไป ไม่ทนั ไร มือเรามันไพล่ไปตักไข่เจียวเสียนี”่ ผมเคยลองสังเกตดูเหมือนกัน ก็จริงอย่างที่แมนนี่ว่า บางทีเรา ตั้งใจจะไปกินอาหารร้านหนึ่ง แต่พอเดินผ่านอีกร้านเกิดเปลี่ยนใจ จะ
28 เอนหลังฟัง
เมื่อเสียงกระทบหู ใครได้ยิน 29
ไปกินก๋วยเตี๋ยว แต่พอเดินผ่านร้านส้มตำไก่ย่างก็เลี้ยวเข้าไปนั่งโซ้ย หน้าตาเฉย วันหนึง่ ๆ ผมเปลีย่ นใจหลายรอบ ไม่รวู้ า่ เป็นพวกเจตนาไม่ แน่วแน่หรือเปล่า แต่เพิง่ มารูว้ า่ ตัวเองก็เป็นคนปกติคนหนึง่ อาจจะเป็น เพราะเอาตัวเองไปเปรียบเทียบกับ ‘น้องหนึง่ ’ นักดนตรีอว้ นมาดเซอร์ รายนัน้ เปลีย่ นได้ตลอดแบบนาโนวินาทีเลยเชียว เป็นเรือ่ งยากมากทีจ่ ะ ทำให้เขาสนใจอะไรนานๆ เพราะหากทำกับเขาอย่างนัน้ เขาจะมีระบบ ป้องกันตัวทีส่ มบูรณ์แบบมาก อันหนึง่ ก็คอื การ ‘หลับ’ คุณชายโงกได้ อย่ า งไม่ เ ลื อ กที่ แ ละเวลา สามารถหลั บ ได้ ทุ ก สถานการณ์ นั บ เป็ น พรสวรรค์พเิ ศษอย่างหนึง่ ผมมาเรียนรูภ้ ายหลังว่ามันเป็นเรือ่ งยากทีเ่ ราจะตัง้ ใจจดจ่ออยูก่ บั การฟังเพียงอย่างเดียว เพราะธรรมชาติของจิตใจคนเราไม่ชอบอยู่กับ สิง่ หนึง่ สิง่ ใดเพียงสิง่ เดียว การเผลอแวบไปจึงเป็นเรือ่ งปกติ และเมือ่ ใด ทีเ่ ราเผลอไปคิดเรือ่ งอืน่ ๆ และใจไม่ได้อยูก่ บั การฟังแล้วล่ะก็ เราจะเกิด อาการ ‘ฟังแต่ไม่ได้ยนิ ’ แต่อกี พวกน่าจะเรียกว่าพวก ‘หูทวนลม’ เพราะ ใจไม่ได้อยูก่ บั การฟังตัง้ แต่แรกแล้ว จึงได้ยนิ อยู่ แต่เพราะไม่ใส่ใจฟังจึง ไม่รวู้ า่ เขาคุยกันเรือ่ งอะไร แมนนีเ่ ล่าเรือ่ งคุณป้าข้างบ้าน แกหูตงึ เวลาพูดด้วยต้องใช้เสียงเกือบจะ ตะโกน แต่เป็นเรื่องแปลกแต่จริงหากใครนินทาแกเมื่อใด แกจะได้ยิน ชัดเจนทุกครั้ง ไม่ว่าผู้พูดจะพยายามหรี่เสียงลงขนาดไหนก็ตาม แล้ว เป็นที่รู้กันว่าป้าแกมีฝีมือทำอาหารใช่ย่อยเสียเมื่อไหร่ ครั้งหนึ่งขี้เมา ข้างบ้านสองคนคิดว่าจะได้ลาภปากมาแกล้มเหล้าฟรีๆ “ป้า ทอดอะไรอยูน่ ะ่ กลิน่ งีส้ ดุ ยอด” ป้าเงียบกริบ แม้จะร้องทัก ไปอีกสองสามทีก็ยังเงียบฉี่ สองคนมองหน้ากันเป็นเชิงว่าจะยังไงต่อ
คนหนึง่ ตัดสินใจแสร้งพูดเสียงดัง “พวกเรามันบุญน้อย หมาบ้านนีย้ งั ได้กนิ ดีกว่าเราอีกแฮะ” เงีย่ หูฟงั ป้าแกยังทำเฉยไม่พดู อะไร สองคนจึงแอบซุบซิบกัน “สงสัยทำเป็นหูตงึ เพราะไม่อยากชวน เรากินข้าวว่ะ คนอาร้ายขี้เหนียวชิบ” พอพูดจบ ป้าแกเสียงดังฟังชัด ออกมาจากข้างในครัว “อ้าว! อีหนู เอาไก่ทอดนีไ่ ปให้หมามันกินหน่อย” “แต่หมามันเพิง่ กินข้าวไปนะป้า หนูคลุกให้มนั กับมือ” หลานป้า เรียนชัน้ ประถมเงยหน้ามองขึน้ มาจากกองการบ้านวิชาเลข “ป้าพูดถึงสองตัวโน้น ทีย่ นื เกาะรัว้ ทำตาละห้อยอยูน่ นั่ ” “อ๋อ หมาสองตัว รวมกันเป็นสีข่ า หนูบวกเลขถูกมัย้ ป้า” เธอยิม้ แบบมีเลศนัยแล้วเดินไปรับจานไก่ทอดจากมือป้า สองหนุม่ มองหน้ากันยิม้ แหยๆ เสียหมาดีกว่าอดกินว่ะ...
30 เอนหลังฟัง
เมื่อเสียงกระทบหู ใครได้ยิน 31
ไปกินก๋วยเตี๋ยว แต่พอเดินผ่านร้านส้มตำไก่ย่างก็เลี้ยวเข้าไปนั่งโซ้ย หน้าตาเฉย วันหนึง่ ๆ ผมเปลีย่ นใจหลายรอบ ไม่รวู้ า่ เป็นพวกเจตนาไม่ แน่วแน่หรือเปล่า แต่เพิง่ มารูว้ า่ ตัวเองก็เป็นคนปกติคนหนึง่ อาจจะเป็น เพราะเอาตัวเองไปเปรียบเทียบกับ ‘น้องหนึง่ ’ นักดนตรีอว้ นมาดเซอร์ รายนัน้ เปลีย่ นได้ตลอดแบบนาโนวินาทีเลยเชียว เป็นเรือ่ งยากมากทีจ่ ะ ทำให้เขาสนใจอะไรนานๆ เพราะหากทำกับเขาอย่างนัน้ เขาจะมีระบบ ป้องกันตัวทีส่ มบูรณ์แบบมาก อันหนึง่ ก็คอื การ ‘หลับ’ คุณชายโงกได้ อย่ า งไม่ เ ลื อ กที่ แ ละเวลา สามารถหลั บ ได้ ทุ ก สถานการณ์ นั บ เป็ น พรสวรรค์พเิ ศษอย่างหนึง่ ผมมาเรียนรูภ้ ายหลังว่ามันเป็นเรือ่ งยากทีเ่ ราจะตัง้ ใจจดจ่ออยูก่ บั การฟังเพียงอย่างเดียว เพราะธรรมชาติของจิตใจคนเราไม่ชอบอยู่กับ สิง่ หนึง่ สิง่ ใดเพียงสิง่ เดียว การเผลอแวบไปจึงเป็นเรือ่ งปกติ และเมือ่ ใด ทีเ่ ราเผลอไปคิดเรือ่ งอืน่ ๆ และใจไม่ได้อยูก่ บั การฟังแล้วล่ะก็ เราจะเกิด อาการ ‘ฟังแต่ไม่ได้ยนิ ’ แต่อกี พวกน่าจะเรียกว่าพวก ‘หูทวนลม’ เพราะ ใจไม่ได้อยูก่ บั การฟังตัง้ แต่แรกแล้ว จึงได้ยนิ อยู่ แต่เพราะไม่ใส่ใจฟังจึง ไม่รวู้ า่ เขาคุยกันเรือ่ งอะไร แมนนีเ่ ล่าเรือ่ งคุณป้าข้างบ้าน แกหูตงึ เวลาพูดด้วยต้องใช้เสียงเกือบจะ ตะโกน แต่เป็นเรื่องแปลกแต่จริงหากใครนินทาแกเมื่อใด แกจะได้ยิน ชัดเจนทุกครั้ง ไม่ว่าผู้พูดจะพยายามหรี่เสียงลงขนาดไหนก็ตาม แล้ว เป็นที่รู้กันว่าป้าแกมีฝีมือทำอาหารใช่ย่อยเสียเมื่อไหร่ ครั้งหนึ่งขี้เมา ข้างบ้านสองคนคิดว่าจะได้ลาภปากมาแกล้มเหล้าฟรีๆ “ป้า ทอดอะไรอยูน่ ะ่ กลิน่ งีส้ ดุ ยอด” ป้าเงียบกริบ แม้จะร้องทัก ไปอีกสองสามทีก็ยังเงียบฉี่ สองคนมองหน้ากันเป็นเชิงว่าจะยังไงต่อ
คนหนึง่ ตัดสินใจแสร้งพูดเสียงดัง “พวกเรามันบุญน้อย หมาบ้านนีย้ งั ได้กนิ ดีกว่าเราอีกแฮะ” เงีย่ หูฟงั ป้าแกยังทำเฉยไม่พดู อะไร สองคนจึงแอบซุบซิบกัน “สงสัยทำเป็นหูตงึ เพราะไม่อยากชวน เรากินข้าวว่ะ คนอาร้ายขี้เหนียวชิบ” พอพูดจบ ป้าแกเสียงดังฟังชัด ออกมาจากข้างในครัว “อ้าว! อีหนู เอาไก่ทอดนีไ่ ปให้หมามันกินหน่อย” “แต่หมามันเพิง่ กินข้าวไปนะป้า หนูคลุกให้มนั กับมือ” หลานป้า เรียนชัน้ ประถมเงยหน้ามองขึน้ มาจากกองการบ้านวิชาเลข “ป้าพูดถึงสองตัวโน้น ทีย่ นื เกาะรัว้ ทำตาละห้อยอยูน่ นั่ ” “อ๋อ หมาสองตัว รวมกันเป็นสีข่ า หนูบวกเลขถูกมัย้ ป้า” เธอยิม้ แบบมีเลศนัยแล้วเดินไปรับจานไก่ทอดจากมือป้า สองหนุม่ มองหน้ากันยิม้ แหยๆ เสียหมาดีกว่าอดกินว่ะ...
30 เอนหลังฟัง
เมื่อเสียงกระทบหู ใครได้ยิน 31