The Myths of Safe Pesticides มายาคติว่าด้วยสารกำจัดศัตรูพืชที่อ้างว่าปลอดภัย (ตัวอย่าง)

Page 1


จากสํานักพิมพ์ เรื่องอาหารปนเปอนสารเคมีกําลังเปนภัยคุกคามและนํามาสูความเสี่ยงตอ สุขภาพของคนในสังคมมากขึน้ เรือ่ ยๆ ขณะนีก้ ารเกษตรของเราเปนเกษตรกรรม ทีพ่ งึ่ พาสารเคมีในทุกขัน้ ตอน เกษตรกรกวา ๙๐ เปอรเซ็นตในประเทศไทยเปน เกษตรกรทีผ่ ลิตในแบบเกษตรเคมีแทบทัง้ สิน้ มีเพียงไมกเี่ ปอรเซ็นตทยี่ งั คงวิถี เกษตรพืน้ บาน เกษตรผสมผสาน เกษตรนิเวศและเกษตรอินทรีย  เมือ่ อาหาร โดยเฉพาะพืชผัก ผลไม ถูกผลิตดวยการใชสารเคมี ไดแก สารกําจัดศัตรูพืช พวกยาฆาแมลง ยาฆาหญา ปุย เคมี ฮอรโมนเรงการเจริญเติบโตตางๆ มากมาย หลายชนิด คําถามคือ แลวอาหารพวกพืชผักและผลไมมคี วามปลอดภัยเพียงใด ตอการบริโภคในทุกๆ วัน ยิง่ องคการอนามัยโลกระบุวา เราทุกคนควรบริโภคผัก และผลไมในอัตราสวนวันละ ๔๐๐ กรัม อันเปนสัดสวนทีช่ ว ยใหเราไดรบั คุณคา และสารอาหารรวมทัง้ แรธาตุตา งๆ ทีร่ า งกายตองการ ดังนัน้ ความพยายามทีจ่ ะ สรางเกณฑมาตรฐานตางๆ เพือ่ คุม ครองผูบ ริโภค โดยเฉพาะมาตรฐานการปฏิบตั ิ ทางการเกษตรทีด่ แี ละเหมาะสม (Good Agriculture Practice-GAP) อันเปน เบื้องตนของการเกษตรที่ยังใชสารเคมีทางการเกษตร แตใหอยูในระดับหรือ ปริมาณทีร่ บั ได รวมทัง้ ระดับการตกคางทีย่ งั นาจะพอรับได จึงมักถูกทึกทักเรียก กันวาผักและผลไมมาตรฐานปลอดภัย ซึง่ เมือ่ ใชนานวันเขาก็ไดกลายมาเปนความ เชือ่ วา พืชผักและผลไมนนั้ ปลอดภัยอยางแทจริง แตเกณฑทวี่ า นีก้ ม็ กั ไมไดมี หลักประกันและการยืนยันทีห่ นักแนนมากพอจากหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบในเรือ่ งนี ้ ทัง้ ในระบบตลาดก็ยงั เรียกชือ่ ผักทีย่ งั คงใชสารเคมีหากอยูใ นระดับทีพ่ อจะรับได นีว้ า พืชผักและผลไมปลอดภัย อันยิง่ เพิม่ ความนาเชือ่ ถือและความสับสนในเวลา เดียวกัน การพัฒนาใหอาหารมีคณ ุ ภาพทีป่ ลอดภัยอยางแทจริงจึงเปนเรือ่ งเรงดวน และจําเปน ดวยการเจ็บปวยทีม่ เี พิม่ มากขึน้ ในสังคมทุกหนแหงมาจากรูปแบบ การใชชวี ติ ทีเ่ รียกวา โรควิถชี วี ติ (Non-communicable Diseases-NCD) การ ผลิตอาหารควรเปนการผลิตแบบเกษตรอินทรีย  เพราะเปนการเกษตรทีไ่ มพงึ่ พา การใชสารเคมีสงั เคราะห หากใชปจ จัยการผลิตแบบชีวภาพทดแทน บํารุงรักษา ดินและระบบนิเวศของฟารมใหสมดุล ความทาทายทีส่ าํ คัญเพือ่ สนับสนุนเรือ่ ง คุณภาพของอาหาร โดยเฉพาะหลักฐานขอมูลทางวิทยาศาสตรที่จะมาพิสูจน จากสํานักพิมพ Ù


เกณฑมาตรฐานอาหารอินทรียว า ดีตอ สุขภาพมากกวาอาหารทัว่ ๆ ไปทีผ่ ลิตดวย เกษตรเคมี ยังมีอภิปรายอยูท วั่ ไป ยิง่ การอภิปรายโตแยงในเรือ่ งจีเอ็มโอหรือการ ตัดแตงพันธุกรรมพืชและสัตวดว ยแลวยิง่ มีความทาทายมากยิง่ ขึน้ ไปอีก โดยกลุม ทีร่ ณรงคใหยตุ กิ ารใชจเี อ็มโอหรือเรียกรองใหมกี ารติดฉลากทีช่ ดั เจนวามีสว น ประกอบของจีเอ็มโอ มักถูกมองวาเปนพวกปฏิเสธวิทยาศาสตรและการคนควา ทดลองใหมๆ หนังสือเลมนี้เขียนขึ้นโดยอองเดร ลิว เกษตรกรผลไมชาวออสเตรเลีย ผูม ปี ระสบการณในการศึกษาคนควาและสํารวจวรรณกรรมทางวิทยาศาสตรที่ เกี่ยวกับสารกําจัดศัตรูพืชและการดัดแปลงอาหารในทุกวันนี้ของเรา ที่ไดจาก หองทดลอง จนสามารถยืนยันดวยขอมูลความรูแ ละงานวิจยั สนับสนุนอยางหนัก แนน เขายังมีหลักฐานขัน้ ปฐมภูมอิ นั เกิดจากประสบการณตรงของเขาเอง อัน ทําใหเขาตระหนักอยางชัดแจงวาปจจัยการผลิตทางเคมีนนั้ สงผลตอสุขภาพ จาก อาการเจ็บปวยในทันทีทเี่ พือ่ นบานพนยากําจัดศัตรูพชื ในพืน้ ทีก่ ารเกษตร เขา เปนเกษตรกรอินทรียมาเปนเวลาชานาน อาศัยการศึกษาดวยตนเองจากการ รวบรวมขอมูลหลักฐาน ไมแตทไี่ ดจากประสบการณของตนเองเทานัน้ หากยัง ไดจากหนังสือและงานวิจยั จํานวนมากทีแ่ สดงใหเห็นวาสุขภาพของคนเรา โดย เฉพาะสุขภาพของเด็กๆ และลูกหลานของเรากําลังอยูใ นอันตรายถึงขัน้ เกินระดับ ปกติอยางไมอาจจะจินตนาการไดเลย เขาไดพบวา สาธารณชนรวมทัง้ ผูม อี าํ นาจ รับผิดชอบในเรือ่ งอาหาร กําลังถูกทําใหเขาใจผิดอยางเปนขัน้ เปนตอนและเปน ระบบ ในนามของวิทยาศาสตรทเี่ ต็มไปดวย ‘มายาคติ’ มายาคติอนั เลวรายนี ้ จําตองมีการทาทายอยางเรงดวน ควรมีกระบวนการตรวจสอบและวงสนทนาที่ มีหลักฐานอางอิงทางวิทยาศาสตรประกอบเพือ่ ชวยใหเกิดความกระจางมากขึน้ นับจากวันทีก่ ารจัดพิมพหนังสือเลมนีใ้ นภาษาไทยโดยสํานักพิมพสวนเงิน- มีมาไดเผยแพรออกไปสูส งั คมในวงกวาง คงไมมผี ใู ด องคกรใด หนวยงานใดใน ประเทศไทยจะปฏิเสธวาไมมขี อ มูล และไมมใี ครจะอางวาไมมคี วามรูแ ละหลักฐาน ทางวิทยาศาสตรตอ ปญหาและขอเท็จจริงทีน่ า เปนหวงในเรือ่ งสารเคมี เพราะสิง่ เหลานีก้ าํ ลังจะทําใหเห็นกระจางมากขึน้ เรือ่ ยๆ และหนังสือนีก้ เ็ ปนสวนหนึง่ ของ กระบวนการสรางความกระจางในเรื่องสารกําจัดศัตรูพืชที่ถูกใชกันอยางแพร หลายในขณะนี ้ ใหเกิดความชัดเจนมากขึน้ ไมปด บังอําพรางและสรางมายาคติ แกสงั คมอีกตอไป Ú • มายาคติวาดวยสารกําจัดศัตรูพืชที่อางวาปลอดภัย


สารบัญ จากสํานักพิมพ กิตติกรรมประกาศ คํานํา โดย วันทนา ศิวะ บทเกริน่ นํา มายาคติท ี่ ๑ มายาคติท ี่ ๒ มายาคติท ี่ ๓ มายาคติท ี่ ๔ มายาคติท ี่ ๕ บทสรุป บรรณานุกรม

ทดสอบอยางเครงครัดแลว ปริมาณนิดเดียว การสลายตัว หนวยงานกํากับดูแลทีเ่ ชือ่ ถือได สารเคมีกาํ จัดศัตรูพชื จะขาดเสียมิไดในการทําเกษตร

๗ ๑๑ ๑๒ ๒๑ ๒๙ ๗๑ ๙๙ ๑๑๑ ๑๕๓ ๑๘๕ ๒๐๕


คํานํา มายาคติวาดวยสารกําจัดศัตรูพืชที่อางวาปลอดภัย ของ อองเดร ลิว พาพวกเราทองไปในเวลาเกือบหนึง่ ศตวรรษของการใชสารกําจัดศัตรูพชื นับจากการเริ่มใชมันเพื่อเขนฆามนุษยดวยกันในคายกักกันและในการ สงคราม จนถึงการนํามาใชฆา ศัตรูพชื ในการทําเกษตรเคมีแบบอุตสาหกรรม ในปจจุบนั จึงไมนา แปลกใจทีส่ ารเคมีทมี่ รี ากเหงาอยูใ นระบบคิดแบบทหาร ยังคงกออันตรายอยูท กุ วันนี้ ราเชล คารสนั เขียนไวใน Elixirs of Death บทที ่ ๓ ของหนังสือ เรือ่ ง Silent Spring ถึงการทีส่ ารกําจัดศัตรูพชื เปนผลพลอยไดของสงคราม “ในการพัฒนาสารเคมีเพือ่ ใชในการสงคราม มีการคนพบวาสารเคมีบาง ตัวที่สรางขึ้นในหองทดลอง สามารถฆาแมลงได...และบางตัวเปนกาซที่ ทําลายระบบประสาทอยางรุนแรง สวนตัวอืน่ ๆ ทีม่ โี ครงสรางใกลเคียงกัน มากกลายเปนยาฆาแมลง” โศกนาฏกรรมกาซพิษทีเ่ มืองโบพาลในป ๑๙๘๔ เปนเครือ่ งเตือน ความจําถึงฤทธิ์สังหารของยาฆาแมลง กาซที่รั่วจากโรงงานผลิตยาฆา แมลงของบริษทั ยูเนียน คารไบด ในอินเดีย ซึง่ ปจจุบนั เปนของบริษทั ดาว ฆาคนมากกวา ๓,๐๐๐ คนภายในคืนเดียว และหลังจากนัน้ ประมาณวาได รับผลกระทบอีกกวา ๓๐,๐๐๐ คน สารกําจัดศัตรูพชื ทีใ่ ชในภาคเกษตร และที่ตกคางในอาหารยังคงสังหารคนที่ทํางานในไรนา ผูบริโภค เด็กๆ ผีเสือ้ ผึง้ และอืน่ ๆ ตอไป โศกนาฏกรรมโบพาลยังไมสนิ้ สุด ผูค นนับพัน ÓÔ • มายาคติวาดวยสารกําจัดศัตรูพืชที่อางวาปลอดภัย


ยังคงไดรบั อันตรายและพิกลพิการไป และเหตุการณโบพาลใหมๆ ก็กาํ ลัง มีการสรางขึน้ อีกในอินเดีย ทีร่ ฐั คาเรลาเกิดโศกนาฏกรรมเอนโดซัลแฟน และทีป่ ญ  จาบมีการเปนมะเร็งตอเนือ่ งเปนขบวน ในชวงเวลา ๕ ปทผี่ า น มามีผเู สียชีวติ ดวยโรคมะเร็งถึง ๓๓,๓๑๘ ราย ในรัฐปญจาบ และมะเร็ง เหลานั้นก็มีความสัมพันธกับการใชสารเคมีที่เปนพิษในปริมาณมาก ใน การเกษตรแบบปฏิวตั เิ ขียวตัง้ แตป  ๑๙๖๕ โศกนาฏกรรมทีเ่ ผยโฉมใน ปญจาบและโบพาลเชือ่ มโยงกับมรดกพิษของการปฏิวตั เิ ขียวทีอ่ ยูบ นฐาน ของสารเคมีอนั ตราย ปุย และสารกําจัดศัตรูพชื สังเคราะห ในหนังสือของเรา Poisons in Our Food (เขียนโดยฉัน ดร.มิรา ศิวะ และ ดร.ไวภาว สิงห พิมพในอินเดียโดยสํานักพิมพนัทราจ ในป ๒๐๑๒) เราสังเคราะหงานวิจยั วาดวยความเกีย่ วโยงระหวางการระบาด ของโรคตางๆ เชน มะเร็ง กับการใชสารเคมีกาํ จัดศัตรูพชื ในการเกษตร ของอินเดีย หนังสือ มายาคติวา ดวยสารกําจัดศัตรูพชื ทีอ่ า งวาปลอดภัย อองเดร ลิวปลุกใหพวกเราไดรบั รูถ งึ แบบแผนระดับโลกของการระบาดของ โรคตางๆ ทีก่ าํ ลังคุกคามชีวติ และสุขภาวะของมนุษย ซึง่ เกิดจากภัยคุกคาม ของสารกําจัดศัตรูพชื ผสมกับพืชตัดแตงพันธุกรรมทีผ่ ลิตสารกําจัดศัตรู พืชไดเอง ตามทีล่ วิ รายงานไว ระหวางป ๑๙๘๐ ถึง ๒๐๐๘ มีประชากรเปน โรคเบาหวานประเภท ๒ เพิ่มขึ้นจาก ๑๕๓ ลานคนเปน ๓๔๗ ลานคน อัตราการเกิดโรคออทิสซึมในสหรัฐฯ เคยอยูท ี่ ๑ คนในเด็กทุก ๘๘ คนใน ป ๒๐๑๒ กระโดดเปน ๑ ตอ ๖๘ ในป ๒๐๑๔ โรคมะเร็งเตานม มะเร็ง ตอมไทรอยด และมะเร็งกระเพาะปสสาวะเพิม่ ขึน้ แบบยกกําลังในสหรัฐอเมริกา ตามการเพิม่ ขึน้ ของการใชพชื จีเอ็มโอและไกลโฟเซต (ราวดอปั ) พันธุวศิ วกรรมไดรบั การนําเสนอเปนทางเลือกแทนการใชสารเคมี กําจัดศัตรูพชื แตมนั ก็เปนสวนหนึง่ ของตรรกะเดียวกันกับการทําสงคราม กับธรรมชาติดว ยยาพิษ ตอนนีม้ กี ารใสยาพิษเขาไปในตนพืชในรูปของยีน คํานํา • ÓÕ


ทีส่ ามารถผลิตสารพิษได ดังนัน้ พืชจีเอ็มโอจึงเปนพืชทีผ่ ลิตสารเคมีกาํ จัด ศัตรูพชื ไดเอง ผลลัพธกจ็ ะเชนเดียวกับการทีส่ ารกําจัดศัตรูพชื ผลิตแมลง ศัตรูพชื แทนทีจ่ ะควบคุมมัน เพราะพืชจีเอ็มโอทีผ่ ลิตสารกําจัดศัตรูพชื ได กลับทําใหศตั รูพชื เพิม่ มากขึน้ และสรางซูเปอรศตั รูพชื ทีส่ ามารถตานทาน สารกําจัดศัตรูพชื ไดขนึ้ มา เทากับเรามีศตั รูพชื ชนิดใหมเกิดขึน้ สวนชนิด เกาก็สามารถตานทานสารเคมีได ผลทีต่ ามมาก็คอื การเพิม่ ปริมาณการ ใชสารเคมีกาํ จัดศัตรูพชื ขึน้ ไปอีก พืชทีต่ า นทานยาฆาวัชพืช เชน ขาวโพดและถัว่ เหลืองราวดอปั เร็ดดี้ ทําใหมีการใชไกลโฟเซตเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเปนสารเคมีที่ฆาพืชอื่นทุกชนิด รวมทัง้ ตนมิลควดี ซึง่ เปนพืชประเภทเดียวทีผ่ เี สือ้ โมนารคใชวางไข เมือ่ การปลูกพืชราวดอปั เร็ดดี ้ เพิม่ ปริมาณขึน้ เปนรอยละ ๙๐ ของพืชไรทงั้ หมด ตนมิลควดี ก็ลดจํานวนลงถึงรอยละ ๖๐ และจํานวนผีเสือ้ โมนารคทีป่ กติ จะอพยพผานสหรัฐอเมริกาทุกป ไปอาศัยอยูในปาในเม็กซิโกตลอดชวง ฤดูหนาว ก็ลดลงจากกวา ๑ พันลานตัวในป ๑๙๙๗ เหลือเพียง ๓๓.๕ ลานตัว การศึกษาเมือ่ ไมนานมานีจ้ ากศรีลงั กา แสดงใหเห็นวามีการระบาด ของโรคไตลมเหลวซึง่ สัมพันธกบั การใชไกลโฟเซต ศรีลงั กาไดประกาศ หามใชสารเคมีตวั นี ้ แตแลวก็ตอ งยกเลิกประกาศนัน้ หลังจากถูกกดดันจาก อุตสาหกรรมสารเคมีทางการเกษตร สวนในสหรัฐอเมริกา ราวดอปั ไม สามารถจะควบคุมวัชพืชไดอีกตอไป และทําใหเกิดซูเปอรวัชพืชขึ้นมา ตอนนีก้ าํ ลังมีการตัดแตงยีนพืชจีเอ็มโอใหตา นทานสารทีเ่ ปนองคประกอบ หนึง่ ของฝนเหลือง ระบบนิเวศทีม่ คี วามหลากหลายทางชีวภาพ ไมเพียงแตปกปองผึง้ และแมลงทีช่ ว ยผสมเกสรพืชทีห่ ลอเลีย้ งชีวติ พวกเรา แตยงั ชวยควบคุม ศัตรูพชื ดวยการรักษาสมดุลของศัตรูพชื กับตัวหํา้ โดยการคํา้ จุนศัตรูธรรมชาติทมี่ อี ยูม ากมายเพือ่ ปองกันไมใหเกิดการระเบิดตัวของจํานวนประชากร ÓÖ • มายาคติวาดวยสารกําจัดศัตรูพืชที่อางวาปลอดภัย


ศัตรูพชื การปลูกพืชเชิงเดีย่ วเปนการจัดงานเลีย้ งใหญใหกบั ศัตรูพชื เพราะ ในพืน้ ทีน่ นั้ ไมมคี วามหลากหลายทางชีวภาพทีจ่ ะทําหนาทีท่ างนิเวศในการ ควบคุมศัตรูพชื อยางไรก็ด ี ในกระบวนทัศนของอุตสาหกรรม การควบคุม ศัตรูพืชเปนเรื่องของสงคราม ดังที่ตําราวาดวยการจัดการศัตรูพืชระบุ วา “สงครามตอตานศัตรูพชื เปนสงครามหนึง่ ทีย่ งั ดําเนินอยู  ทีม่ นุษยตอ ง ตอสูเ พือ่ ประกันการอยูร อด ศัตรูพชื (โดยเฉพาะแมลง) เปนคูแ ขงตัวฉกาจ ของเราบนโลกใบนี”้ แตสงครามตอตานศัตรูพชื เปนสิง่ ทีไ่ มจาํ เปนและไมเกิดประสิทธิผล สารกําจัดศัตรูพชื สรางศัตรูพชื ไมไดควบคุมมัน ศัตรูพชื เพิม่ จํานวน ขึน้ จากการใชสารกําจัดศัตรูพชื เพราะชนิดพันธุท มี่ ปี ระโยชนถกู ฆาตาย และศัตรูพชื ก็กลายเปนสายพันธุท ตี่ า นทานสารเคมีได เดอ บาค กลาวไว วา “ปรัชญาของการควบคุมศัตรูพชื ดวยสารเคมี คือการฆามันใหมากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะทําได และอัตราการตายเปนมาตรวัดหลักในการคัดสรรสารเคมี ตัวใหมในหองทดลอง เมือ่ วัตถุประสงคเพือ่ ฆาใหมากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะทําได มาผนวกกับความไมร ู หรือไมไยดีกบั แมลงและตัวเห็บตัวไรทีไ่ มใชเปาหมาย ยอมรับรองไดวาจะเปนเสนทางที่เร็วที่สุดที่การระบาดจะฟนคืนกลับมา และความตานทานฤทธิส์ ารกําจัดศัตรูพชื ก็จะพัฒนาขึน้ ” ศัตรูพชื จะอยู ภายใตการควบคุมเมือ่ มีสมดุลทางนิเวศ ระหวางองคประกอบทีห่ ลากหลาย ของระบบการทําการเกษตร ความหลากหลายทางชีวภาพเปนเพือ่ นทีด่ ที สี่ ดุ ของเราในการรับมือ กับปญหาศัตรูพชื ประการแรก ศัตรูพชื จะไมเกิดขึน้ ในระบบการเกษตร ทีอ่ ยูบ นฐานของความหลากหลาย ประการทีส่ อง หากเกิดการระบาดของ ศัตรูพชื ความหลากหลายทางชีวภาพจะจัดหาทางเลือกทางนิเวศวิทยาให ใช เชน สารสกัดจากพืชเชนสะเดาสําหรับควบคุมแมลง สะเดาเปนไม พืน้ เมืองของอินเดียทีท่ นแลงไดด ี ซึง่ สามารถใชเปนสารกําจัดศัตรูพชื ทาง เลือกแทนสารเคมีสงั เคราะหได ในป ๑๙๘๔ ชวงเวลาทีเ่ กิดเหตุหายนะที่ คํานํา • Ó×


โบพาล ฉันไดเริม่ การรณรงค “ตองไมมโี บพาลอีก ปลูกตนสะเดากันเถอะ” สิบปหลังจากนัน้ ฉันก็พบวาการใชสะเดาถูกจดสิทธิบตั รโดยกระทรวงเกษตร ของสหรัฐฯ และ ดับเบิลยู. อาร. เกรซ ฉันกับแมกดา อาลวูท จากพรรค กรีนในรัฐสภายุโรป และลินดา บุลลารด อดีตประธานสมาพันธเกษตร อินทรียน านาชาติ ไดยนื่ ประทวงคัดคานโจรสลัดทางชีวภาพทีเ่ กิดกับสะเดา มันใชเวลาถึง ๑๑ ป แตสดุ ทายเราเปนฝายชนะ สิทธิบตั รสําหรับการใช สารสกัดจากสะเดาเปนยาฆาเชือ้ ราถูกยกเลิกไป การระบาดของศัตรูพชื เปนอาการของระบบทีไ่ รดลุ ยภาพ สิง่ ทีจ่ าํ เปน ตองทําคือ คืนสมดุลใหกบั ธรรมชาติดว ยการสรางความหลากหลายทาง ชีวภาพ แตการทําเกษตรแบบอุตสาหกรรมรังแตจะทําใหภาวะไรดลุ ยภาพ นีร้ นุ แรงมากยิง่ ขึน้ ดวยการเติมสารพิษอันตรายไปฆาศัตรูพชื ดังทีอ่ ลั เบิรต เฮาเวิรด ตัง้ ขอสังเกตไว “การทําลายลางศัตรูพชื เปนการหลบเลีย่ งปญหา ในการเกษตรทัง้ หมด มากกวาจะเปนทางแกปญ  หา” ดังทีร่ าเชล คารสนั สรุปไวใน Silent Spring “การควบคุมธรรมชาติ” เปนวลีอหังการ ทีถ่ อื กําเนิดขึน้ ในยุคของ มนุษยหนิ ทางชีววิทยาและปรัชญา ซึง่ ทึกทักเอาวาธรรมชาติดาํ รง อยูเ พือ่ ความสะดวกสบายของมนุษย มโนทัศนและแนวปฏิบตั ิ ทางกีฏวิทยาประยุกต สวนใหญเริม่ ตนจากยุคหินทางวิทยาศาสตร นี ้ มันเปนความโชครายอันนาตระหนกของเรา ทีว่ ทิ ยาศาสตร โบราณนี้ไดติดอาวุธใหตัวเองดวยเครื่องประหารที่ทันสมัยและ รายแรงทีส่ ดุ ซึง่ เมือ่ นํามาใชทาํ ลายแมลง ก็ทาํ ลายโลกไปพรอม กันดวย

ระบบอาหารและการเกษตรทีอ่ ยูบ นฐานของความหลากหลายทาง ชีวภาพ และปลอดจากสารเคมีและยากําจัดศัตรูพชื เปนคําตอบทีแ่ ทจริง ÓØ • มายาคติวาดวยสารกําจัดศัตรูพืชที่อางวาปลอดภัย


ทัง้ ทางดานการควบคุมศัตรูพชื และดานความมัน่ คงทางอาหารและโภชนาการ ผลิตภาพทีแ่ ทจริงของระบบเกษตรตางๆ ไมเคยมีการวัด เพราะการเกษตร เชิงอุตสาหกรรมเนนการผลิตสินคา ไมใชการผลิตอาหาร การผลิตสินคา โดยการปลูกพืชเชิงเดีย่ วตองใชปจ จัยนําเขาทัง้ ปุย เคมีและสารกําจัดศัตรู พืชอยางเขมขน และตองใชเงินทุนและเชือ้ เพลิงฟอสซิลอยางเขมขน คือ ใชพลังงานมากถึง ๑๐ กิโลแคลอรีเพือ่ ผลิตอาหาร ๑ กิโลแคลอรี ในแง ของผลิตภาพทีแ่ ทจริง นีเ่ ปนเศรษฐกิจทีต่ ดิ ลบ แตกม็ กี ารสรางภาพลวงตา วาระบบอาหารทีใ่ ชปจ จัยนําเขาในการผลิตมากกวาผลผลิตทีไ่ ดออกมานัน้ มีประสิทธิภาพและผลิตภาพ และจําเปนตองทําใหมนั ขยายตัว สินคาที่มากขึ้นหมายถึงอาหารที่นอยลง เพียงรอยละ ๑๐ ของ ขาวโพดและถั่วเหลืองที่ผลิตเปนสินคากลายมาเปนอาหารมนุษย สวน ที่เหลือกลายเปนเชื้อเพลิงชีวภาพและอาหารเลี้ยงสัตว กวารอยละ ๗๐ ของอาหารทีเ่ รากินมาจากฟารมเกษตรขนาดเล็ก มีเพียงรอยละ ๓๐ เทานัน้ ที่มาจากฟารมอุตสาหกรรมขนาดใหญ ในขณะที่ผลิตอาหารใหโลกใน สัดสวนทีน่ อ ยกวา ระบบเกษตรเคมีแบบอุตสาหกรรมกลับมีสว นกอใหเกิด ปญหาทางนิเวศสวนใหญคอื การเสือ่ มโทรมของความหลากหลายทางชีวภาพ การใชนาํ้ สิน้ เปลืองและมลพิษในนํา้ การกัดเซาะและการเสือ่ มสภาพของ ดิน และการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เราจําเปนตองนําผลกระทบ เหลานีม้ าคํานวณเปนตนทุนภายในระบบการผลิตอาหาร ตองไมปลอยให เปนตนทุนภายนอกทีส่ งั คมและสิง่ มีชวี ติ สายพันธุอ นื่ ตองแบกรับ เราจําเปนตองรวมตนทุนทางสุขภาพเขามาในสมการอาหารและ เกษตร อาหารเปนเรือ่ งของการหลอเลีย้ งรางกายและโภชนาการ การ ผลิตสิง่ ทีไ่ มมคี ณ ุ คาทางโภชนาการทีเ่ ต็มไปดวยสารพิษ เปนการผลิตสิง่ ที่ ตอตานอาหารไมใชอาหาร หากเราอยากใหอาหารชวยบํารุงรางกายไมใชนําโรคสูรางกาย ก็ จําเปนตองเปลีย่ นกระบวนทัศนในการทําการเกษตร เมือ่ พูดถึง “การเพิม่ คํานํา • ÓÙ


ความเขมขน” ในการทําเกษตร เราตองเจาะจงลงไปใหชดั ขึน้ ระบบเกษตร ทีเ่ ปนกระแสหลักมีความเขมขนในแงของการใชสารกําจัดศัตรูพชื ซึง่ สงผล อันตรายตอสุขภาพดังทีบ่ รรยายไวในหนังสือเลมนี ้ มันมีความเขมขนใน แงการปลูกพืชเชิงเดีย่ ว ซึง่ นําไปสูก ารสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ดวยอานุภาพทําลายลางหนาทีท่ างนิเวศของความหลากหลายทางชีวภาพ ของการควบคุมศัตรูพชื และวัชพืช การใชสารกําจัดศัตรูพชื จึงเทากับไปเพิม่ ปญหาดานศัตรูพชื และวัชพืชขึน้ ซึง่ จะนําไปสูก ารใชสารกําจัดศัตรูพชื และ สารพิษเพิม่ ขึน้ อีก นอกจากนี ้ มันยังบัน่ ทอนสุขอนามัยและโภชนาการที่ จะเกิดขึน้ ไดจากระบบความหลากหลายทางชีวภาพทีม่ คี วามยัง่ ยืนทางนิเวศ เทานัน้ เราจําเปนตองขยับออกจากการเกษตรทีใ่ ชสารเคมีอยางเขมขน ใช เชือ้ เพลิงฟอสซิลอยางเขมขน และใชเงินทุนอยางเขมขน มาสูร ะบบเกษตร ทีม่ คี วามเขมขนของความหลากหลายทางชีวภาพ ความเขมขนของระบบ นิเวศ ความเขมขนของความรูท อี่ ยูบ นหลักการของนิเวศวิทยาการเกษตร และความหลากหลายทางชีวภาพ หากวัดผลลัพธตอเอเคอร ในแงของ ผลผลิตทีม่ คี วามหลากหลายและในแงของสุขภาพกับคุณคาทางโภชนาการ ระบบนิเวศวิทยาทีห่ ลากหลายทางชีวภาพผลิตอาหารและคุณคาทางโภชนาการไดมากกวา แมวา จะควบคุมศัตรูพชื ดวยกระบวนการทางนิเวศเทานัน้ ความหลากหลายทางชีวภาพไมเพียงเสนอทางเลือกทางนิเวศสําหรับ แทนทีก่ ารใชสารกําจัดศัตรูพชื เทานัน้ ระบบนิเวศวิทยาการเกษตรยังเพิม่ พูน รายไดใหเกษตรกร และนําไปสูก ารลดความยากจนดวย ภาระหนีส้ นิ ทีเ่ กิดจากการซือ้ เมล็ดพันธุจ เี อ็มโอและสารกําจัดศัตรู พืชที่มีราคาแพง ผลักดันใหชาวไรชาวนากวา ๒๘๔,๐๐๐ คนในอินเดีย ฆาตัวตาย ตัง้ แตป  ๑๙๙๕ เปนตนมา ไมมเี กษตรกรอินทรียร ายใดทีใ่ ช เมล็ดพันธุพื้นเมืองและปลูกพืชผักหลากหลายชนิดในอินเดียฆาตัวตาย การฆาตัวตายทัง้ หมดเกิดขึน้ กับเกษตรกรทีต่ ดิ กับอยูใ นวงจรหนีส้ นิ อันเกิด ÓÚ • มายาคติวาดวยสารกําจัดศัตรูพืชที่อางวาปลอดภัย


จากเมล็ดพันธุแ ละสารกําจัดศัตรูพชื ทีม่ รี าคาสูง การฆาตัวตายสวนใหญ กระจุกตัวในเขตพืน้ ทีป่ ลูกฝาย ซึง่ กวารอยละ ๙๕ เปนฝายบีท ี การเกษตร ทีป่ ลอดสารกําจัดศัตรูพชื ปลอดเมล็ดพันธุจ เี อ็มโอ สามารถเพิม่ รายไดสทุ ธิ ใหกบั เกษตรกรได ๒-๑๐ เทา ซึง่ แปลไดวา เปนระบบการเกษตรทีป่ ลอด หนีแ้ ละปลอดการฆาตัวตาย อองเดร ลิวนําเสนอบทสังเคราะหขอ มูลระดับโลก เกีย่ วกับหลักฐาน ทางวิทยาศาสตรของอันตรายของสารกําจัดศัตรูพชื และพืชจีเอ็มโอทีผ่ ลิต สารกําจัดศัตรูพืชไดเองที่มีตอสุขภาพของสาธารณชน และยังไดจัดหา หลักฐานทางวิทยาศาสตรมาแสดงใหเห็นวา ทางเลือกทีป่ ลอดสารกําจัด ศัตรูพชื มีผลิตภาพมากกวา ถึงเวลาแลวที่เราตองสรางการเปลี่ยนผาน และใชปญญาของเรา ทําการเกษตรทีป่ ลอดสารพิษ หรือตามคําของราเชล คารสนั คือกาวไปให พน “ยุคของมนุษยหนิ ทางนิเวศวิทยาและปรัชญา” อันเปนยุคแหงสารเคมี กําจัดศัตรูพชื และพืชทีผ่ ลิตสารกําจัดศัตรูพชื ไดเอง ดร.วันทนา ศิวะ นิวเดลี อินเดีย ๒๐๑๔

คํานํา • ÓÛ



บทเกริ่นนํา


ชีวิตการทําเกษตรที่ประกอบดวยความสุข ความเพลิดเพลิน และ ความจุใจยิง่ ยวดกับการไดเก็บเกีย่ วผลผลิตจากนํา้ พักนํา้ แรงของตนนัน้ ดําเนินไปพรอมกับความยากลําเค็ญทีเ่ กิดจากภัยแลง นํา้ ทวม ศัตรูพชื โรค พืช ตลาด และสารพัดความไมแนนอนอืน่ ๆ เกษตรกรทีด่ เี รียนรูท จี่ ะเฝา สังเกต ตัง้ คําถาม และศึกษาขอทาทายเหลานีอ้ ยางใกลชดิ เพือ่ ใหสามารถ ตัดสินใจไดดขี นึ้ วาจะรับมือกับปญหาเหลานีอ้ ยางไร สาเหตุหนึง่ ทีเ่ ขียน หนังสือเลมนี ้ มาจากการทีไ่ ดสงั เกตเห็นการเจ็บปวยมากมายในชุมชนของ เรา โดยเฉพาะโรคมะเร็ง ความผิดปกติทางพฤติกรรมและโรคทีเ่ กีย่ วกับ การเสือ่ มสภาพของอวัยวะ กรณีของผมเองนัน้ จะลมปวยในฤดูฉดี พนยา ทุกครัง้ แมวา ในฟารมของตัวเองจะไมมกี ารฉีดพนเลยก็ตาม เจาหนาที่ กํากับดูแลและสงเสริมการเกษตรก็จะบอกวาไมเกีย่ วอะไรกับยากําจัดศัตรู พืชทีใ่ ชในการเกษตร เพราะขอมูลทางวิทยาศาสตรระบุวา เปนการใชอยาง ปลอดภัย ดังนัน้ ผมจึงตัดสินใจนําบทเรียนทีไ่ ดเรียนรูใ นฐานะเกษตรกร มาประยุกตใช แมจะไมไดเปนนักวิทยาศาสตร แตผมก็เริม่ ตัง้ คําถามตอ ÔÔ • มายาคติวาดวยสารกําจัดศัตรูพืชที่อางวาปลอดภัย


คํากลาวขางตน โดยการศึกษางานวิจยั ทางวิทยาศาสตรเกีย่ วกับสารกําจัด ศัตรูพชื ทีต่ พี มิ พเผยแพรและผานการประเมินโดยผูร เู สมอกันแลว การเกษตรทีท่ าํ กันทัว่ ไปพึง่ พายาพิษสังเคราะหในการกําจัดศัตรูพชื เปนอยางมาก ยาพิษเหลานีน้ าํ มาใชในการผลิตอาหารเพือ่ กําจัดแมลง โรค พืช และวัชพืช การใชสารพิษเหลานีอ้ ยางแพรหลายไดรบั การรับรองจาก หนวยงานรัฐที่ทําหนาที่กํากับดูแลวาปลอดภัยตราบที่มีการใช “อยาง ถูกตอง” ทัง้ ภาคอุตสาหกรรมและรัฐบาลกําลังสงเสริมแนวคิด “การปฏิบตั ิ ทางการเกษตรที่ดี” เพื่อสรางความมั่นใจใหผูบริโภคไมตองวิตกกังวล เกีย่ วกับการตกคางของสารกําจัดศัตรูพชื ทีเ่ ปนพิษในอาหาร สวนหนึง่ ของ กิจกรรมการสงเสริมนีค้ อื การติดฉลากสินคาวา “อาหารปลอดภัย” “ธรรม-

ã¹»‚ ñùùù §Ò¹ÇԨѨҡ»ÃÐà·ÈÊÇÔµà«Íà Ᏼ áÊ´§ãË à Ëç ¹ Ç Ò ºÒ§Ê Ç ¹¢Í§¹íé Ò ½¹·Õè µ ¡ã¹ÂØ â û ÁÕ Ê ÒÃà¤ÁÕ ¡í Ò ¨Ñ ´ ÈÑ µ ÃÙ ¾× ª »¹ÍÂÙ ã ¹ÃÐ´Ñ º ÊÙ § ÁÒ¡¨¹ ÍÒ¨¼Ô´¡®ËÁÒÂËÒ¡¹íÒ仨 ÒÂà» ¹¹íéÒ´×èÁ ชาติ” “ใชยาปราบศัตรูพชื ระดับตํา่ ” “เพือ่ สิง่ แวดลอม” เปนตน อยางไรก็ด ี รายงานการศึกษาระหวางประเทศชิน้ สําคัญๆ เชน รายงานของคณะกรรมการมะเร็งของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ป ๒๐๑๐ ทีช่ี อื่ รายงานการ ประเมินระหวางประเทศวาดวยความรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทาง การเกษตรเพือ่ การพัฒนา สถานะของวิทยาศาสตรวา ดวยสารเคมีทรี่ บกวน การทํางานของตอมไรทอ ๒๐๑๐ โดยองคการอนามัยโลกและโครงการ สิง่ แวดลอมแหงสหประชาชาติ รายงานสังเคราะหการประเมินคุณคาระบบ นิเวศในรอบสหัสวรรษขององคการสหประชาชาติ และรายงานการศึกษา อีกหลายชิน้ ทีจ่ ดั ทําโดยนักวิจยั ทางวิทยาศาสตร ลวนชูประเด็นวาสารเคมี ทางการเกษตรมีสวนอยางสําคัญในการกอการเปลี่ยนแปลงทางลบของ บทเกริน่ นํา • ÔÕ


สิง่ แวดลอมโลกและกอผลรายตอสุขภาพของมนุษย เนือ่ งมาจากการตกคาง ของสารพิษตางๆ ในสิง่ แวดลอมทัง้ ระยะยาวนานและระยะสัน้ ๑ ความเสียหายตอสิง่ แวดลอมและสุขภาพมนุษยทเี่ กิดจากสารเคมี ทางการเกษตร เริม่ ไดรบั ความสนใจตอนตนทศวรรษ ๑๙๖๐ เมือ่ ราเชล คารสนั เขียนหนังสือ ฤดูใบไมผลิทเี่ งียบงัน (Silent Spring)๒ ทีแ่ สดงให เห็นวา สารเคมีเหลานีต้ กคางยาวนานและสะสมอยูใ นสิง่ แวดลอม ทําให เกิดการเสียชีวติ ความพิการของทารกแรกเกิด การกลายพันธุ  และโรคภัย ตางๆ ในมนุษยและสัตว จากนัน้ มา จํานวนประเภทและปริมาณการใชสาร เคมีในการผลิตอาหารของเราและในสิง่ แวดลอมไดเพิม่ ขึน้ แบบกาวกระโดด ในทศวรรษ ๑๙๙๐ หนังสืออยาง อนาคตของเราทีถ่ ูกขโมย ของ ธีโอ คอลบอรน, ไดแอน ดูมานอสกี และจอหน ปเตอรสนั ไมเออรส และ ความเปนหญิงของธรรมชาติ ของเดบอราห แคดเบรี ทําใหเรือ่ งราวของ การทีส่ ารเคมีสง ผลรบกวนตอการเจริญพันธุแ ละระบบฮอรโมนของสิง่ มี ชีวติ ทุกสายพันธุร วมทัง้ มนุษยเปนทีส่ นใจของสาธารณะ หนังสือเหลานี้ ไดสรุปผลงานวิจยั ทางวิทยาศาสตรทผี่ า นการประเมินโดยนักวิทยาศาสตร ดวยกัน ซึง่ แสดงใหเห็นวาสารเคมีจาํ นวนมากโดยเฉพาะสารเคมีทางการ เกษตรไดเลียนแบบฮอรโมน เชน เอสโตรเจน และสงผลใหเกิดการถดถอย ของภาวะเจริญพันธุเ นือ่ งจากทําใหการผลิตสเปรม ลดปริมาณและคุณภาพ ลง และทําใหระบบอวัยวะเพศและทางเดินปสสาวะเสียหาย อีกทัง้ มีสว น สําคัญทีท่ าํ ใหอตั ราการเกิดมะเร็งของเนือ้ เยือ่ ทีเ่ กีย่ วกับเพศสูงขึน้ อยางมาก ไดแก มะเร็งเตานม มดลูก รังไข ชองคลอด อัณฑะ และตอมลูกหมาก๓ ขอมูลวิทยาศาสตรโดยรวมที่แสดงวาสารเคมีทางการเกษตรเปน ตัวการทีท่ าํ ใหความหลากหลายทางชีวภาพลดลง และสรางปญหาทางสิง่ แวดลอมและสุขภาพนัน้ กําลังเพิม่ พูนขึน้ อยางตอเนือ่ ง บัดนีส้ ารพิษเหลานี้ ไดแพรกระจายไปทัว่ โลก ไปสรางมลพิษในนํา้ ดิน อากาศของเรา และที่ สําคัญสุดในเนือ้ เยือ่ ของสิง่ มีชวี ติ จํานวนมาก๔ ในป ๑๙๙๙ งานวิจยั จาก ÔÖ • มายาคติวาดวยสารกําจัดศัตรูพืชที่อางวาปลอดภัย


สวิตเซอรแลนดแสดงใหเห็นวา บางสวนของนํา้ ฝนทีต่ กในยุโรปมีสารเคมี กําจัดศัตรูพชื ปนอยูใ นระดับสูงมากจนอาจผิดกฎหมายหากนํามาจายเปน นํา้ ดืม่ ๕ นํา้ ฝนในยุโรปมีสารอะทราซีน อะลาคลอร 2, 4-D และสารเคมี ทางการเกษตรอืน่ ๆ ทีใ่ ชฉดี พนพืชผลทีป่ ลูก งานวิเคราะหนาํ้ ฝนในประเทศ กรีซ ในป ๑๙๙๙ พบวารอยละ ๙๐ ของนํา้ ฝน ๒๐๕ ตัวอยาง มีสารกําจัด ศัตรูพชื ปนอยูห นึง่ ชนิดหรือมากกวา๖ การควบคุมการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืชที่ไมเพียงพอ ทําใหเกิด ปญหากับสิง่ แวดลอมและสุขภาพของมนุษยอยางสําคัญ ขอสรุปนีไ้ ดรบั การยืนยันจากงานวิจยั ทางวิทยาศาสตรจาํ นวนหลายรอยชิน้ ทีส่ าํ คัญมาก ทีส่ ดุ ชิน้ หนึง่ คือ รายงานป ๒๐๑๐ ของคณะกรรมการมะเร็งของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (USPCP) ซึง่ เขียนโดยนักวิทยาศาสตรทมี่ ชี อื่ เสียงและ ผูเ ชีย่ วชาญทางการแพทยในสาขานี ้ และตีพมิ พโดยกระทรวงสุขภาพและ บริการมนุษย สถาบันแหงชาติวา ดวยสุขภาพ และสถาบันมะเร็งแหงชาติ รายงานนีร้ ะบุอยางชัดเจนวา สารพิษในสิง่ แวดลอมรวมถึงสารเคมีทใี่ ชใน การทําเกษตรเปนสาเหตุหลักของโรคมะเร็ง รายงานนีไ้ ดนาํ เสนอประเด็น สําคัญหลายประเด็นเกีย่ วกับการควบคุมสารเคมี สารเคมีกาํ จัดศัตรูพชื เกือบ ๑,๔๐๐ ชนิด ไดรบั การขึน้ ทะเบียน (คือ ไดรบั อนุมตั )ิ โดยองคการพิทกั ษสงิ่ แวดลอม (EPA) ใหใช ไดทงั้ ในภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตร การไดรบั สาร เคมีเหลานีม้ กี ารพิสจู นแลววา เชือ่ มโยงกับโรคมะเร็งระบบประสาท/ สมองสวนกลาง เตานม ลําไส ปอด รังไข (หญิงที่สมรสแลว) ตับออน ไต อัณฑะ และกระเพาะ รวมถึงมะเร็งตอมนํ้าเหลือง ทัง้ ชนิดฮอดจกนิ และไมใชฮอดจกนิ (non-Hodgkin) มะเร็งเม็ด- เลือดขาวชนิดมัลติเพิล มัยอิโลมา และมะเร็งเนือ้ เยือ่ ออน พบวา เกษตรกรทีส่ มั ผัสกับยาปราบศัตรูพชื ผูท ฉี่ ดี พนยา นักบินทีข่ บั บทเกริน่ นํา • Ô×


เครือ่ งบินพนยา และผูผ ลิตสารเคมีเหลานีล้ ว นมีอตั ราเสีย่ งตอการ เปนมะเร็งตอมลูกหมาก เมลาโนมาและมะเร็งผิวหนังอืน่ ๆ และ มะเร็งริมฝปากเพิม่ สูงขึน้ สารเคมีประมาณ ๔๐ ชนิดทีอ่ งคการนานาชาติเพือ่ การวิจยั โรคมะเร็ง (IARC) จัดประเภทวาเปนทีร่ ชู ดั นาจะเปน หรือเปน ไปไดวา จะเปนสารกอมะเร็งในมนุษย รวมอยูใ นบัญชีสารเคมีกาํ จัด ศัตรูพชื ทีอ่ งคการพิทกั ษสงิ่ แวดลอมใหการรับรองและวางขายใน ตลาดอยูท กุ วันนี๗้

มายาคติทงั้ ปวง หนังสือเลมนีไ้ ดรวบรวมหลักฐานทีห่ นักแนนตอตานสารเคมีกาํ จัดศัตรูพชื บนฐานของงานวิจัยทางวิทยาศาสตรที่ไดรับการตีพิมพนับรอยชิ้นที่ตั้ง คําถามอยางจริงจังถึงประเด็นความปลอดภัยทีเ่ กีย่ วของกับการควบคุมสาร เคมีทเี่ ปนพิษ หนังสือนีเ้ สนอวา หลักเกณฑทใี่ ชสนับสนุนการใชสารกําจัด ศัตรูพชื ในอาหารและสิง่ แวดลอมของเราในปจจุบนั นัน้ ไดมาจากกระบวน วิธที ลี่ า สมัย ไมใชจากการศึกษาทางวิทยาศาสตรทตี่ พี มิ พเผยแพรลา สุด ความเชือ่ ทีว่ า ปริมาณของสารตกคางในอาหารและสิง่ แวดลอมของเราอยู ในระดับทีป่ ลอดภัยนัน้ จึงไมมหี ลักฐานทางวิทยาศาสตรใดๆ ทีด่ พี อรองรับ จนกวาจะมีการออกระเบียบควบคุมการใชสารเคมีกาํ จัดศัตรูพชื ทีก่ าํ หนด ขึน้ บนฐานของวิทยาศาสตร ทีผ่ า นการประเมินของนักวิทยาศาสตรดว ย กันและไดรบั การตีพมิ พเผยแพรในปจจุบนั หนวยงานรัฐทีม่ หี นาทีค่ วบคุม การใชสารเคมีกาํ ลังใชขอ สันนิษฐานทีป่ ราศจากขอมูลมาเกือ้ หนุนใหมายาศาสตรทงั้ ชุดคงอยูถ าวร เพือ่ กลอมใหประชาชนหลงคิดไปวาระดับของสาร กําจัดศัตรูพชื ทีพ่ วกเขาไดรบั อยูน นั้ ไมเปนอันตราย ÔØ • มายาคติวาดวยสารกําจัดศัตรูพืชที่อางวาปลอดภัย


ดวยเหตุทมี่ สี ตู รผสมสารเคมีนบั พันสูตรทีใ่ ชในการผลิตอาหารของ เรา การลงรายละเอียดทัง้ หมดนัน้ จะทําใหหนังสือเลมนีห้ นาเกินไป ผมจึง เลือกใหความสําคัญเฉพาะกับสารเคมีทางการเกษตรทีใ่ ชกนั มากทีส่ ดุ เพือ่ เปนตัวอยางของความหลากหลายของประเด็นปญหาทีแ่ วดลอมการใชสาร เคมีเหลานี้อยางกวางขวางในการผลิตอาหารและในสิ่งแวดลอมของเรา หลายตัวอยางทีย่ กมาแสดงในทีน่ มี้ าจากประเทศสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย ซึง่ เปนประเทศทีผ่ มรูจ กั ดีทสี่ ดุ เมือ่ พูดถึงการใชสารกําจัดศัตรูพชื อยางไร ก็ด ี ประเด็นคลายกันนีม้ อี ยูแ ทบทุกประเทศ หนังสือเลมนีใ้ ชคาํ วา “สารกําจัดศัตรูพชื ” เปนคําศัพทสามัญทีห่ มาย ถึงสารเคมีทฆี่ า สิง่ มีชวี ติ (ไบโอไซด) หลายชนิดทีใ่ ชกนั ในภาคเกษตร เชน ยาฆาหญาหรือวัชพืช ยาฆาเชือ้ รา และยาฆาแมลง หนังสือเลมนีม้ งุ เนน ทีผ่ ลกระทบดานลบหรือผลรายของสารกําจัดศัตรูพชื ตอสุขภาพของมนุษย เปนหลัก โดยมีการอางอิงถึงผลทีเ่ กิดกับสิง่ มีชวี ติ สายพันธุอ นื่ ดวย สวน ขอมูลเกี่ยวกับผลรายของสารกําจัดศัตรูพืชที่มีตอสิ่งแวดลอมนั้น คงจะ เขียนเปนหนังสือไดอกี เลมหนึง่ ทีห่ นากวานี ้ เพราะมีเนือ้ หาสาระมากมาย และแผซา นทัว่ ทุกสวนของโลกใบนี ้

บทเกริน่ นํา • ÔÙ


อางอิง ๒ ๓ ๑

๗ ๖

Millennium Ecosystem Assessment Synthesis Report, United Nations Environment Programme, March 2005. Rachel Carson, Silent Spring (New York: Penguin Books, 1962). Theo Colborn, Dianne Dumanoski, and John Peterson Myers, Our Stolen Future: Are We Threatening Our Fertility, Intelligence, and Survival? A Scientific Detective Story (New York: Dutton, 1996); Deborah Cadbury, The Feminization of Nature: Our Future at Risk (Middlesex, England: Penguin Books, 1998). Kate Short, Quick Poison, Slow Poison: Pesticide Risk in the Lucky Country (St. Albans, NSW: K. Short, 1994); “U.S. President’s Cancer Panel 2008–2009 Annual Report; Reducing Environmental Cancer Risk: What We Can Do Now,” Suzanne H. Reuben for the President’s Cancer Panel, U.S. Department Of Health And Human Services, National Institutes of Health, National Cancer Institute, April 2010; Åke Bergman et al., eds., State of the Science of Endocrine Disrupting Chemicals 2012, United Nations Environment Programme and the World Health Organization, 2013; Colborn, Dumanoski, and Myers, Our Stolen Future; Cadbury, Feminization of Nature. Fred Pearce and Debora Mackenzie, “It’s Raining Pesticides,” New Scientist, April 3, 1999, 23. Emmanouil Charizopoulos and Euphemia Papadopoulou-Mourkidou, “Occurrence of Pesticides in Rain of the Axios River Basin, Greece,” Environmental Science & Technology 33, no. 14 (July 1999): 2363– 68. “U.S. President’s Cancer Panel Annual Report,” 2010.

ÔÚ • มายาคติวาดวยสารกําจัดศัตรูพืชที่อางวาปลอดภัย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.