ECO HOME

Page 1

ขนาด 230 + 6 มิล.

สัน 14 มิล.

ขนาด 230 + 6 มิล.

ขนาด 15 มิล.

ขนาด 275 + 6 มิล.

ขนาด 15 มิล.

ขนาด 15 มิล.

พิมพ์ครัง ้ ที่

ราคา395. 395 บาท

ISBN 978-974-289-323-1

1

บ้านหลากสไตล์ ไม่ดด ู ายสิง ่ แวดล้อม

ขนาด 15 มิล.

ภัทริน จินดาวัฒนานนท์

54-HP-052 Bihum 5c._J.indd 1

54-HP-052 Bihom 5c._san 14mm._J = CS2_G Classic Glossy

9/3/11 12:12:36 PM



001-011 ecohome.indd 1

8/26/11 7:29:36 PM


001-011 ecohome.indd 2

8/26/11 7:29:46 PM


001-011 ecohome.indd 3

8/26/11 7:29:51 PM


001-011 ecohome.indd 4

8/26/11 7:30:00 PM


คำนำ ในวันที่อะไร ๆ บนโลกใบนี้เริ่มส่งสัญญาณถี่ขึ้นเรื่อย ๆ

ถึงการเปลี่ยนแปลง และดูเหมือนจะเป็นไปในทางที่เรา

ทั้งหลายไม่อยากให้เป็นนั้น มีอีกหลายซอกมุมที่ยังคง

ความสวยงามของชีวิตและธรรมชาติไว้ได้อย่างเข้มแข็ง

เราอยากให้หนังสือเล่มนีเ้ ป็นตัวแทนของการมีความหวัง

ในการใช้ชวี ติ ในโลกปัจจุบนั ของแต่ละคน คืออยูใ่ นเมือง

ได้อย่างสงบไม่ร้อนรน และอยู่ในชนบทได้อย่างสุขกาย

บวกอบอุน่ ใจ จึงพยายามเลือกเนือ้ หาของการตกแต่งบ้าน

ซึ่งสอดประสานไปกับการดูแลโลกที่คิดว่าหลาย ๆ คน

น่าจะทำตามได้ไม่ยาก เพราะตราบทีค่ นเรายังมีความหวัง

เราก็จะมีกำลังใจในการสร้างสรรค์สิ่งดี ๆ ให้แก่ชีวิตและ

ธรรมชาติตอ่ ไป สำนักพิมพ์บา้ นและสวน

001-011 ecohome.indd 5

8/26/11 7:30:05 PM


สารบัญ 010

012

บทนำ

คุมงบได้กค ็ ม ุ้

028

042

“บ้านดำเนิน”

บ้านใต้ถน ุ สูง

ดำเนินอย่างเป็นมิตร

058

074

บ้านร่วมสมัย

บ้านเรือนไทย

ในเมืองร้อนชืน ้

ไม่จำกัดวัสดุ

088

102

“บ้านจิตสมาน”

“สวนชัชนาถ”

บ้านไม้เก่า เล่าเรือ ่ งใหม่

ปลูกบ้านจากป่าปลูก

116

128

ออกแบบหลบแดด

แตกต่าง

อย่างกลมกลืน

138

152

ปัน ้ บ้านให้มช ี ว ี ต ิ

ชุมชนน่าอยู ่ กับวิถช ี ว ี ต ิ ทีไ่ ม่ทำลายโลก...

001-011 ecohome.indd 6

8/26/11 7:30:13 PM


001-011 ecohome.indd 7

8/26/11 7:30:17 PM


“การทำเพือ ่ สิง ่ แวดล้อม เหมือนเป็นการทำเพือ ่ คนอืน ่  ซึง ่ ก็คอ ื การทำความดี เป็นเรือ ่ งทีไ่ ม่ตอ ้ งรณรงค์ แต่เราทุกคนควรต้องทำอยูแ ่ ล้ว” . ดร.ณรงค์วท ิ ย์ อารีมต ิ ร / สถาปนิก .

001-011 ecohome.indd 8

8/26/11 7:30:24 PM


001-011 ecohome.indd 9

8/26/11 7:30:29 PM


044

ทางเข้าบ้านเต็มไปด้วยสีเขียวของต้นไม้

ทุกวันนี้จะหาบ้านที่ใช้ประโยชน์จากใต้ถุนสูงอย่างเต็มที่คงยากเต็มที แต่บ้านไม้ของครอบครัว

“พลทรั พ ย์ ”  ที ่ ค ุ ณ ต้ อ ม -  ก ฤษฎา ลู ก ชายคนโตของบ้ า นออกแบบไว้   สมั ย เรี ย นอยู ่ ป ี  2 คณะ

สถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง สามารถใช้พื้นที่

ใต้ถุนของบ้านได้อย่างคุ้มค่า ด้วยคอนเซ็ปต์ “ลงทุ นสร้างบ้านชัน ้ เดียว  แต่ ได้พน ้ ื ทีเ่ หมือนบ้านสองชัน ้ ”  เพราะไม่ ตอ ้ งเสียค่าก่อสร้างผนังและพืน ้ ชัน ้ ล่าง เมื่อ 14 ปีที่แล้วครอบครัวพลทรัพย์ย้ายบ้านมาอยู่บนที่ดินแห่งนี ้ ซึ่งอยู่ติดคลองชุมชนโรงสุรา

(เดิม) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในช่วงของการออกแบบคุณต้อมได้รบั แรงบันดาลใจจากสิง่ แวดล้อม

ที่คณะ ซึ่งปลูกฝังเรื่องของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น บวกกับการรื้อถอนบ้านเดิมซึ่งเป็นบ้านไม้ ทำให้

มีไม้ที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้อีก จึงเน้นไปที่การออกแบบบ้านไม้ ยกใต้ถุนสูง มีหลังคาสูงชัน และ

ใช้ประตูบานเฟี้ยมไม้ที่เปิดรับลมได้เต็มที ่ ซึ่งทั้งหมดนั้นก็สอดคล้องกับวิถีความเป็นอยู่ของคุณพ่อ

คุณแม่ผู้อยู่ที่บ้านหลังนี้เป็นหลัก ในช่วงกลางวันท่านทั้งสองจะใช้เวลาส่วนมากที่ชั้นล่างของบ้าน

นั่งเล่น อ่านหนังสือ และเข้าครัวทำอาหาร อีกกิจกรรมหลักคือ การปลูก ดูแล และรดน้ำต้นไม้

นอกจากนี้วิถีความเป็นอยู่ของครอบครัวก็พยายามจะใช้พลังงานไฟฟ้าให้น้อยที่สุดด้วย พื้นที ่ ที่ไม่มีผนังอย่างใต้ถุนบ้าน จึงรองรับกิจกรรมที่กล่าวมาได้เป็นอย่างดี เพราะได้ทั้งการระบายอากาศ

โดยลมธรรมชาติ แล้วยังให้แสงธรรมชาติที่เพียงพอในตอนกลางวัน ไม่นานมานี้ทั้งครอบครัวลงความเห็นกันว่า ควรใช้พื้นที่ว่างข้างบ้านให้เกิดประโยชน์  จึง

สร้างอาคารอีกหลังเป็นโฮมสเตย์ชื่อ “บ้านท้ายวัง” โดยตั้งใจให้เป็นที่พักที่ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น

เหมือนอยู่บ้านคุณพ่อคุณแม่  แต่ยังคงใช้ใต้ถุนบ้านเป็นส่วนต้อนรับ  และเป็นพื้นที่รับประทาน

อาหารเช้าของนักท่องเที่ยวที่มาพัก ซึ่งถึงแม้จะมีพื้นที่ใช้สอยเพิ่มขึ้นอีกสองอย่าง แต่ก็แทบไม่ต้อง

ใช้พลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเลย

42-57_eco_03.indd 44

เนื่องจากมีที่ดินติดคลอง คุณต้อมวาง

ตำแหน่งของตัวบ้านให้มีระยะห่างจาก

คลองประมาณ 6 เมตร (ตามกฎหมาย)

นอกจากจะได้ทัศนียภาพที่สวยงามแล้ว

ยังไม่ต้องเจอกับปัญหาดินริมตลิ่งทรุด

เหมือนบ้านอื่น ๆ ถือเป็นการไม่รบกวน

สภาพแวดล้อมริมคลอง เพราะบ้านยัง

ต้องพึง่ พาน้ำจากคลองเพือ่ รดต้นไม้ และ

บรรยากาศริมคลองก็ช่วยให้จิตใจสดชื่น

แจ่มใสขึ้น

8/30/11 2:54:05 PM


คุณต้อมและคุณออม (ภรรยา) นั่งเล่นที่ระเบียงบ้าน

42-57_eco_03.indd 45

8/30/11 2:54:10 PM


050

มีสเปซเหมือนอยู่ในถ้ำ

วตกแต่งห้องใต้หลังคานี้ โดยกรุไม้ให้ แล้ น ้ พื ม เติ อ ต่ ง มจึ อ ต้ ณ คุ คา  ง ลั ห ้ งใต า ่ อกได้ดี ประกอบ

45 องศา ทำให้เกิดพื้นที่ว ่ายเทความร้อนใต้หลังคาออกไปสู่ภายน ยตลอดทั้งวัน รถถ ามา น ส งลอ อ ้ เบื กระ หลังคาออกแบบให้มีความชันมาก คือ อ ื คาค ง หลั ง ุ ม ัดผ่านตลอด ทำให้เย็นสบา ้หลังคาเป็นที่พักนอนค้าง วัสดุ ต้หลังคาได้ดียิ่งขึ้น พื้นที่ส่วนนี้จึงมีลมพ เวลาที่ลูก ๆ มาเยี่ยมเยียนจะใช้ห้องใต าศใ อาก บาย ยระ ว ่ ช ็ r) ก rme (Do คา  ง ลั มาจากห กับการออกแบบให้มีหน้าต่างที่ยื่นออก

42-57_eco_03.indd 50

8/30/11 2:54:53 PM


พื้นที่จังหวัดพร เคยเกิดพายุพัดแรงจนต ะนครศรีอยุธยามีลมแรง ้นไม้ใหญ่หักโค่นลง บ้านโครงสร้างไม้ใต้ถ ุนสูงและโปร่งเช่นนี้จะไ มาแล้ว

จึงรอดพ้นจากสถานก ม่ต้านลม

ารณ์นั้นมาได้

051

เลือกใช้ลูกฟักกระจกสำหรับ บานประตูหน้าต่างด้านที่มองเห็น วิวทิวทัศน์สวยงาม หรือด้านที่ ไม่ได้รบั แสงแดด ส่วนด้านทีแ่ สงแดด กระทบมากก็ใช้บานลูกฟักไม้ ช่วยกั้นแสงและความร้อน

พื้นใต้ถุนบ้านหลีกเลี่ยงการใช้พื้นคอนกรีตที่แข็ง และสะสมความร้อน โดยเลือกใช้พื้นดินอัดแน่น แล้วปูด้วยหินธรรมชาติสลับกับโรยกรวด ทำให้พื้นระบายน้ำ

ได้ง่าย และดูต่อเนื่องกับสวนรอบ ๆ บ้านได้อย่างกลมกลืน

42-57_eco_03.indd 51

8/30/11 2:54:58 PM


42-57_eco_03.indd 54

8/30/11 2:55:25 PM


055

“คณะสถาปัตย์ฯ  ลาดกระบัง  ปลูกฝังให้ชน ่ ื ชอบบ้านไทยพืน ้ ถิน ่ จึงนำมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบบ้าน  โชคดีทบ ่ี า ้ นใต้ถน ุ สูงหลังนี้ เข้ากับวิถช ี ว ี ต ิ ของผูอ ้ าศัยหลักคือพ่อกับแม่พอดี” . กฤษฎา พลทรัพย์ .

42-57_eco_03.indd 55

8/30/11 2:55:28 PM


10 ปัน ้ บ้านให้มช ี ว ี ต ิ

เจ้าของ . ออกแบบ  :  คุณศศิธร คำฤทธิ์ . คุณจิตติ ชืน ่ โชติ  ภาพ  :  ปรัชญา จันทร์คง

คุณแอนและคุณตั้ม ที่มุมนั่งเล่นหน้าบ้าน

138-151_eco_10.indd 138

8/26/11 8:48:17 PM


มุมทำงานของคุณตั้ม ได้รับแสงธรรมชาติทางหน้าต่าง

139

138-151_eco_10.indd 139

8/26/11 8:48:20 PM


ตู้ไม้เก่าซื้อ จากจังหวัดลำพูน

ม้านั่งที่ก่อขึ้นมาจากพื้น  ทำด้วยดินที่ใช้สร้างบ้านนั่นเอง  เมื่อวางเบาะนั่งสีสด เพิ่มโต๊ะไม้อีกตัว  ก็ได้มุมนั่งเล่นแสนสบาย

138-151_eco_10.indd 140

8/26/11 8:48:24 PM


“วิถท ี เ่ ี ป็นมิตรต่อธรรมชาติ เริม ่ ต้นขึน ้ แล้วในบ้านดินหลังนีแ ้ ละมีชว ี ต ิ ทีจ ่ ะเติบโต ไปพร้อมกับการเรียนรูธ ้ รรมชาติ”

“ทีเ่ ชียงใหม่มฝี นุ่ เยอะ ส่วนมากเป็นฝุน่ ทีเ่ กิดจากการก่อสร้าง และรื้อถอนอาคาร แม้จะปิดประตู - หน้าต่างสนิทแล้วฝุ่น ก็ยังเต็มบ้านอยู ่ ตอนคิดจะสร้างบ้านคิดถึงบ้านดิน เพราะ พอมันหมดอายุใช้งาน กระบวนการย่อยสลายน่าจะทำให้

เกิดมลพิษน้อยกว่าวัสดุอื่น” คำพูดของ คุณแอน - ศศิธร

คำฤทธิ์ หนึ่งในสมาชิกคณะละครกั๊บไฟ (Gabfai) กลุ่มคน

ใส่ใจสังคมที่ทำงานผ่านละครเร่ไปตามชุมชนต่าง ๆ ผู้เป็น

เจ้ า ของบ้ า นดิ น หลั ง เล็ ก น่ า รั ก ที ่ อ ำเภอแม่ ร ิ ม จั ง หวั ด

เชียงใหม่ ทำให้เราทึ่ง เพราะคงมีน้อยคนนักที่จะคิดถึง

ในจุดนี้ หลังจากไปเรียนทำบ้านดินอยู ่ 4 - 5 วัน กับ “พันพรรณ”

ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ เ พื่ อ การพึ่ ง พาตนเอง คุ ณ แอนรวบรวม

กลุ่มเพื่อนร่วมอุดมการณ์ค่อย ๆ เรียนรู้การปั้นบ้าน ลองผิด

ลองถูกแบบค่อยเป็นค่อยไป ผนังที่ก่อก้อนดินไปแล้ว แต่

ติดหน้าต่างหรือประตูไม่ได้ก็รื้อแล้วก่อใหม่   อยากเจาะ

ช่องแสงหรือหน้าต่างตรงไหนเลือกได้ตามใจชอบ อยู่ไป

เรื่อย ๆ ก็ตกแต่งไปเรื่อย ๆ ครั้งหนึ่งเมื่อสร้างบ้านเสร็จแล้ว

แต่ไม่ได้ทำหลังคาให้มีชายคายาวคลุมทั้งผนัง ทำให้ฝน

สาดเข้ามาได้ สักพักก็เกิดผนังข้าวงอก เพราะส่วนผสม

ของบ้านดินมีแกลบอยู่ด้วย แล้วบังเอิญเป็นแกลบข้าวลีบ

เพียงแค่เว้าผนังดินเข้าไปก็วางของใช้หรือของ ตกแต่งได้แล้ว แสนสะดวกและยังกลมกลืน ไปกับผนังทุกส่วน

พอได้นำ้  ต้นข้าวก็เลยงอกขึน้ มา คุณแอนจึงตัดสินใจสร้าง

หลังคาหลังจากนั้น บ้านดินหลังนี้ใช้เวลาสร้างอยู่ปีกว่า

แต่สิ่งที่ได้กลับมาไม่ใช่แค่บ้านที่น่ารักอย่างมีเอกลักษณ์

แต่ยังได้เรียนรู้ทั้งการสร้างบ้าน ได้สังสรรค์กระชับความ

สัมพันธ์กบั เพือ่ นฝูง (ในระหว่างสร้างบ้าน) แล้วยังเกิดความ

ภูมิใจเมื่อมีบ้านเป็นของตัวเอง ยังทำให้เกิดความรู้สึก

ใกล้ชดิ กับคุณแม่มากขึน้  เพราะเข้าใจความลำบากของท่าน

เมือ่ ต้องจัดการกับเรือ่ งต่าง ๆ ในบ้าน รวมถึงการซือ้ ข้าวของ -

เครื่องใช้เข้าบ้านด้วย คุณแอนพยายามปลูกไม้กนิ ได้รอบ ๆ บา้ น แต่เนือ่ งจาก

ดินเดิมไม่ดี เพื่อนแนะนำให้หมั่นทิ้งเศษอาหารที่กินเหลือ

และใส่น้ำชีวภาพลงไปบ้าง เป็นการเพิ่มสารอาหารให้ดิน

หลั ง จากนั ้ น ก็ ม ี ต ้ น นั ้ น ต้ น นี ้ ง อกขึ ้ น มา พอสั ง เกตดี  ๆ

ต้นไม้เหล่านั้นล้วนเป็นส่วนประกอบในการทำส้มตำทั้งสิ้น

เพราะส้มตำเป็นอาหารที่ขาดไม่ได้ประจำกลุ่มเพื่อนตอนที่

สร้างบ้าน คุณแอนยังมีโครงการปลูกผลไม้  เช่น ชมพู่

และมะเฟืองไว้กนิ เองด้วย วิถที เ่ี ป็นมิตรต่อธรรมชาติเริม่ ต้น

ขึ้นแล้วในบ้านดินหลังนี ้ และมีชีวิตที่จะเติบโตไปพร้อมกับ

การเรียนรูธ้ รรมชาติ อีกไม่นานคุณแอนก็จะเป็นฝ่ายไปช่วย

เพื่อนคนต่อไป “ปั้น” บ้านอีกหลังให้มีชีวิตขึ้นมาเช่นกัน

141

ครัวและส่วนรับประทานอาหารอยู่ทางด้านหลังของบ้านได้รับแสงแดดในตอนบ่าย ช่วยไล่ความชื้นบริเวณครัวออกไป คุณแอน ใช้ปูนขาวฉาบบริเวณท็อปเคาน์เตอร์เพื่อป้องกันน้ำและความชื้นเข้าไปสะสมในเนื้อดิน

138-151_eco_10.indd 141

8/26/11 8:48:28 PM


138-151_eco_10.indd 148

8/26/11 8:49:06 PM


149

“ตอนคิดจะสร้างบ้านคิดถึงบ้านดิน เพราะพอมันหมดอายุใช้งาน  กระบวนการย่อยสลาย น่าจะทำให้เกิดมลพิษน้อยกว่าวัสดุอน ่ื ” . ศศิธร คำฤทธิ์ .

138-151_eco_10.indd 149

8/26/11 8:49:09 PM


ขนาด 230 + 6 มิล.

สัน 14 มิล.

ขนาด 230 + 6 มิล.

ขนาด 15 มิล.

ขนาด 275 + 6 มิล.

ขนาด 15 มิล.

ขนาด 15 มิล.

พิมพ์ครัง ้ ที่

ราคา395. 395 บาท

ISBN 978-974-289-323-1

1

บ้านหลากสไตล์ ไม่ดด ู ายสิง ่ แวดล้อม

ขนาด 15 มิล.

ภัทริน จินดาวัฒนานนท์

54-HP-052 Bihum 5c._J.indd 1

54-HP-052 Bihom 5c._san 14mm._J = CS2_G Classic Glossy

9/3/11 12:12:36 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.