230+15+6mm
san=14mm
230+15+6mm
การออกแบบเพือ ่
275+6+30mm
คนทุกวัยในบ้าน
ราคา 395 บาท
I S B N 9 7 8 - 9 7 4 - 2 8 9 - 3 2 2 - 4
395.-
54-HP-044_cover family h_P.indd
1 54-HP-044_cover family h_P=G classic Glossy=cs2=230*275mm
UK-POKHUM BSspe-8-54.pdf 1 8/4/11 11:51 PM
8/11/11 11:32:55 AM
Route relationship “เฉินใจ๋” บ้านตระกูลเฉิน
of
เจ้าของบ้าน ครอบครัวตันคงคารัตน์ สถาปนิก ต้นศิลป์ สตูดิโอ ตกแต่งภายใน ปิยะพร ตันคงคารัตน์ ออกแบบภูมิทัศน์ บริษัทบลูแพลนเนตดีไซน์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด โดย ปิยเมศ ไกรฤกษ์, อุทัย ทรงพันธุ์, สุพจน์ สุประดิษฐ์อาภรณ์ หัวหน้าทีมก่อสร้าง วิวัฒน์ เกิดลาภ ผู้รับเหมา บริษัทลายคราม จัดสวน สวนสิริน โทร. 08-1839-5742 เรื่อง ศรายุทธ ศรีทิพย์อาสน์ ภาพ ปรัชญา จันทร์คง ผู้ช่วยช่างภาพ ปิยวัฒน์ สินสมบูรณ์ สไตล์ ธัญญานันท์ ศรีชัยวรรณ ภาพประกอบ คณาธิป จันทร์เอี่ยม
“การคลี่คลายจากครอบครัวใหญ่ที่เคย อยู่รวมกันแบบ ‘กงสี’ สู่การอยู่ใกล้ชิดกัน ในบ้านแบบ Co-Housing”
family home 106-125_Home 06.indd 106
106 8/11/11 11:34:06 AM
107 106-125_Home 06.indd 107
8/11/11 11:34:09 AM
106-125_Home 06.indd 108
8/11/11 11:34:14 AM
เมื่อเดินเข้ามาจะพบบ้านหลังแรกคือบ้านอาม่าสไตล์จีน ทำผนังด้วยคอนกรีตเปลือย ให้ความรู้สึกหนักแน่นและร่วมสมัย โดยชั้นล่างตั้งใจให้เป็นห้องนอนของอาม่า ส่วนรับแขก และรับประทานอาหาร ชั้นบนเป็นห้องนอนสำหรับแขกที่มีกลิ่นอายแบบโรงเตี๊ยม
“ห้องครัวในบ้านแต่ละหลังค่อนข้างเล็ก เพราะทุกคน จะมากินข้าวด้วยกัน ซึ่งเป็นหัวใจของบ้านคนจีน” 106-125_Home 06.indd 109
8/11/11 11:34:17 AM
ชั้นล่างของบ้านอาม่าเป็นส่วนรับประทานอาหาร ที่ทุกคนจะมารวมตัวกัน และในวันพิเศษอย่างวันไหว้ ก็ใช้รับรองญาติกว่ายี่สิบคน จึงออกแบบประตูให้เปิดโล่งแบบศาลา ตกแต่งด้วยไม้เก่าที่ไม่แต่งผิว และโชว์ท้องพื้นไม้ชั้นบน ให้กลิ่นอายของบ้านอากง - อาม่าในสมัยก่อนที่เป็นเรือนแถวไม้
106-125_Home 06.indd 110
8/11/11 11:34:21 AM
ไอน้ำจากกาน้ำชาโชยกลิน่ ใบชาจีนหอมอ่อน ๆ ผมจิบชา ชโลมคอ ลิม้ รสขนมเปีย๊ ะ ตง้ั เซ่งจัว้ ะ ทอ่ี ร่อยกว่าครัง้ ไหน ๆ เพราะได้มาเยือนถึงบ้านต้นตำรับ ค่อย ๆ ดื่มด่ำบรรยากาศ รอบตัว สัมผัสความเป็นบ้านและพูดคุยความเป็นมากับ ครอบครัวตันคงคารัตน์ ซึง่ บอกเราอย่างภูมใิ จว่า บ้านนี ้ ออกแบบโดย คุณชาตรี ลดาลลิตสกุล แห่ง ต้นศิลป์ สตูดิโอ ซึ่งได้ร่วมงานและรู้จักกันจนเปรียบเสมือนญาติ อีกคนหนึ่งของครอบครัว และออกแบบตกแต่งภายในโดย คุณปิยะพร ตันคงคารัตน์ ซึง่ เป็นลูกหลานของครอบครัวนี ้ และเป็นผูเ้ ล่าเรือ่ งราวของบ้านนีใ้ ห้เราฟัง
ก่อนจะเป็นบ้านหลังนี้
“ครอบครัวเราอยู่กันเป็นครอบครัวใหญ่แบบ ‘กงสี’ มาตลอด ย้อนกลับไปเมือ่ ประมาณแปดสิบปี ก่อน เราอยูเ่ รือนแถวไม้รมิ น้ำ ใกล้ตลาดน้ำบางคล้า เป็นบ้านของ อากงฮก และ อาม่าเปียซิม แซ่ต้ง แต่เกิดไฟไหม้ตลาด ซึง่ รวมถึงบ้านเราด้วย จึงย้าย มาอยู่ห้องแถวสี่ห้อง แล้วค่อยย้ายมาที่ตรงนี้ ซึ่ง มีพน้ื ที ่ 1 ไร่ และซือ้ ทีด่ นิ เพิม่ จนเป็น 8 ไร่ในปัจจุบนั ซึ่งเราขยับขยายบ้านตามขนาดธุรกิจครอบครัว” ออกแบบส่วนรับแขกให้อยู่ใกล้ห้องนอนอาม่า เพื่อความสะดวก พร้อมทำประตู 2 ชั้น คือ ประตูห้องนอนและตรงทางเข้าโถงบันได เพื่อสร้างความสงบเมื่ออาม่าต้องการพักผ่อน 111 106-125_Home 06.indd 111
8/11/11 11:34:24 AM
สมัยอาม่าอยู่บ้านเดิมไม่สามารถนำรถเข็นเข้าห้องน้ำได้ ต้องช่วยกันพยุง ทำให้ลำบากและอันตราย เมื่อสร้างบ้านใหม่จึงทำประตูและห้องน้ำให้รถเข็น เข้าได้สะดวก พร้อมทำราวจับและพื้นเรียบเสมอกันเพื่อความปลอดภัย
จาก “กงสี” กลายเป็น Co-Housing
“เมือ่ คนรุน่ ผมเริม่ แต่งงานก็มสี มาชิกเพิม่ บ้านเดิมทีเ่ คยอยูก่ ไ็ ม่เพียงพอ ผมรูส้ กึ ชิน กับการอยู่รวมกันแบบครอบครัวใหญ่ แต่เขยและสะใภ้ที่เข้ามาอยู่อาจจะไม่ชิน การ อยูร่ วมกันก็มที ง้ั ข้อดีขอ้ ด้อย คืออบอุน่ ดี ทว่าความเป็นส่วนตัวน้อย แต่คดิ ว่าน่าจะหา จุดร่วมทีล่ งตัวได้ ก่อนหน้าทีจ่ ะตัดสินใจสร้างบ้านนีก้ ช็ ว่ ยกันคิดว่าจะต่างแยกกันไปอยู ่ ดีไหม แต่อยู่แถวนี้ใกล้ ๆ กัน หรือถ้าอยู่กันคนมาก ๆ แบบเดิมจะมีปัญหาไหม หรือถ้า แยกบ้านกันอยู่แล้วช่วงกลางวันขโมยขึ้นบ้านก็ไม่มีใครรู้ อีกทั้งถึงบ้านเราไม่อยู่ติดกัน เอง บ้านเราก็ต้องติดกับเพื่อนบ้านคนอื่นอยู่ดี แล้วจะสู้อยู่กับญาติพี่น้องได้อย่างไร เราจึงสรุปว่ามาสร้างบ้านอยู่ด้วยกันดีกว่า และตอนนั้นอาม่ายังอยู่ เราก็คิดว่ามีอาม่า เป็นศูนย์กลาง ลูกหลานจะได้ใกล้ชิดกัน” ห้องนอนอาม่าวางเตียงเดิม ที่อาม่าเคยใช้ ออกแบบเผื่อเวลาเจ็บป่วย ต้องมีคนมานอนเฝ้า โดยทำส่วนนอน สำหรับคนเฝ้าไว้ด้านข้าง (ตรงที่วางตั่ง) ซึ่งสามารถติดผ้าม่านกั้น ให้คนเฝ้ามีความเป็นส่วนตัวได้
106-125_Home 06.indd 112
8/11/11 11:34:28 AM
“บ้านสามารถยืดหยุ่นตามอายุของคน ในครอบครัว อย่างบ้านที่ตอนนี้แยกกัน ก็สามารถรวมกันได้เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง การอยู่อาศัยในอนาคต เพราะแต่ละหลัง ก็มีส่วนเชื่อมถึงกันอยู่แล้ว” 106-125_Home 06.indd 113
8/11/11 11:34:31 AM
บ้านคุณช่วงชัยและลูก ออกแบบห้องนั่งเล่นล้อมรอบด้วยน้ำ คุณช่วงชัยเล่าว่า “หลายปีก่อนไปเที่ยวไต้หวัน เห็นบ้านขุนนางเก่า มีห้องจมอยู่ใต้น้ำแล้วเกิดความประทับใจ ก็บอกหลานๆ ว่า ถ้าเรามีโอกาสปลูกบ้านจะทำห้องแบบนี้บ้าง” พร้อมทำทางลาด ให้รถเข็นของอาม่าเข้าบ้านลูกหลานได้สะดวก
106-125_Home 06.indd 114
8/11/11 11:34:36 AM
สร้างความเป็นสัดส่วนให้บ้านแต่ละหลังด้วยประตูวงพระจันทร์ที่แสดงความเป็นจีน อย่างชัดเจน แต่ลดทอนรายละเอียดและใช้คอนกรีตเปลือยทำให้ดูร่วมสมัย ส่วนรั้วสูงแค่ พอมองเห็นกันได้ ให้ความรู้สึกไม่ตัดขาดจากกัน และปูพื้นหินแกรนิต คุณช่วงชัยบอกว่า “เพื่อให้นึกถึงถนนหน้าบ้านคุณพ่อที่เมืองจีนที่ปูด้วยก้อนแกรนิต”
วางแผนสร้างบ้านอย่างไร
“เราตั้งใจสร้างบ้านสำหรับ 5 ครอบครัว คือ ครอบครัวคุณชวน (พี่ชาย คนโตของบ้าน) ครอบครัวคุณจรัส (ลูกชายคุณชวน) ครอบครัวคุณช่วงชัย (น้องคุณชวน) ครอบครัวคุณระบิล (ลูกชายคุณช่วงชัย) และบ้านสำหรับ อาม่าที่อยู่ด้านหน้า ซึ่งมีส่วนรับรองแขกและญาติด้วย ช่วงที่สร้างบ้าน อาม่าเดินไม่ค่อยได้ ก็เลยทำสิ่งอำนวยความสะดวกเผื่อไว้ เช่น ทางลาด ลิฟต์ ราวจับ เพื่อให้อาม่าเข้าไปในบ้านได้ทุกหลัง และมีอยู่ช่วงหนึ่งที่ คุณชวน คุณพ่อของผม ขีจ่ กั รยานล้ม เดินไม่คอ่ ยได้ ขึน้ บันไดลำบาก แต่ ก็เข้าบ้านได้สะดวกเพราะมีทางลาด ทำให้เรารู้สึกดีมาก เพราะตอนที่ทำ ทางลาดก็จะยุง่ ยากกว่าปกติ ตอนทีเ่ ราไม่ได้นง่ั รถเข็นจะไม่รหู้ รอกว่าทางลาด สะดวก ๆ มันดีแค่ไหน”
อักษรจีน “ซุ่น” แปลว่า ราบรื่น เป็นคำที่สร้างกำลังใจและเตือนสติว่า “เมื่อมีความมานะและอดทนแล้ว ทุกสิ่งย่อมราบรื่น”
115 106-125_Home 06.indd 115
8/11/11 11:34:39 AM
ออกแบบพื้นห้องนั่งเล่นลดระดับและ ทำบ่อน้ำล้อมรอบ ให้ความรู้สึกเหมือน ห้องจมอยู่ใต้น้ำ และเตรียมลิฟต์ไฮดรอลิก สำหรับรถเข็นของอาม่า
106-125_Home 06.indd 116
8/11/11 11:34:42 AM
Designer’s IDEA “เกิดจากความคิดแบบครอบครัวขยายที่จะอยู่ด้วยกัน มีลกู หลานเติบโตมาด้วยกันเป็นครอบครัวใหญ่ โดยมีอาม่าเป็นศูนย์รวมจิตใจ ในมาสเตอร์แปลนจะครอบคลุมพื้นที่ 8 ไร่ ในภาพรวมคือ บ้านนี้เป็น บ้านกลาง มีทจ่ี อดรถส่วนกลาง รวมถึงทีด่ นิ แปลงทีย่ งั ไม่ได้สร้างบ้านสำหรับลูกหลานขยายครอบครัว โดย ออกแบบให้สามารถเข้าถึงบ้านกลางได้ เตรียมทุกแปลงให้มีทางออกถนนได้ ซึ่งเป็นความคิดมาจาก ตัวผมเอง เผื่ออนาคตหากต้องการแยกแปลงที่ดินกัน บ้านจึงมีลักษณะเป็น Co-Housing และผสมผสาน กับความเป็นเจ้าของบ้านที่เป็นคนมีวิสัยทัศน์ ทันสมัย เดินทางบ่อย และมีความฝัน ซึ่งสะท้อนออกมา เป็นบ้านนี้” ภาพหล่อโลหะเป็นรูปโครงหน้าของคุณพ่อและคุณช่วงชัย ซึง่ ได้ไอเดียมาจากศิลปินตัดกระดาษเมือ่ ครัง้ ไปเทีย่ วบ้านทีเ่ มืองจีน ห้องนั่งเล่นชั้นบนตกแต่งเรียบง่าย โดยทำฝ้าเพดานสูงตามโครงหลังคา มีทางขึ้น ไปชั้นบนสำหรับออกไปซ่อมบำรุงหลังคาได้ และทำราวกันตกเป็นลวดลายแบบบ้านหลังเดิม ให้ความรู้สึกผสมผสานอดีตและปัจจุบัน
106-125_Home 06.indd 117
8/11/11 11:34:45 AM
มุมนั่งเล่นที่ระเบียงบ้านครอบครัวคุณจรัส เปิดโล่งให้มองเห็นส่วนต่าง ๆ ของบ้านที่ดูต่อเนื่องและเดินถึงกันได้ ออกแบบสวนแบบเรียบง่าย แต่สร้างจุดเด่นด้วยต้นไม้ที่มีกิ่งก้านสวยงาม
“สิ่งสำคัญของบ้านนี้คือ ความคิดที่อยากจะอยู่ด้วยกัน มีส่วนกลางที่ช่วยกันดูแล และมีศูนย์รวมจิตใจ” 106-125_Home 06.indd 118
8/11/11 11:34:50 AM
106-125_Home 06.indd 119
8/11/11 11:34:53 AM
ห้องนั่งเล่นเป็นโถงโล่งถึงส่วนรับประทานอาหาร ทำพื้นและผนังคอนกรีตเปลือย โชว์เนื้อแท้ของวัสดุที่มีความดิบหยาบ แต่ยังคงดูอบอุ่นด้วยเฟอร์นิเจอร์ไม้ น้องฮาจิเมะ
106-125_Home 06.indd 120
8/11/11 11:34:56 AM
หัวใจของครอบครัว
“ความผูกพันที่เรามีร่วมกัน -- บางทีเราไม่รู้หรอกว่าสิ่งที่เรามีอยู่มันดี ทีวีที่ดูพร้อมกัน หลาย ๆ คน หรือตู้เย็นที่ใช้ร่วมกัน มันไม่สะดวกหรอก แต่มันดี ความสำเร็จของบ้านหลังนี ้ เป็นอีกก้าวหนึ่งของการอยู่ร่วมกัน ให้คนรุ่นต่อ ๆ ไปสามารถเชื่อมถึงกันได้ โชคดีที่เรามีที่ดิน พอจะปลูกบ้านใกล้ ๆ กัน มีสถาปนิกทีเ่ ข้าใจครอบครัวเรา ปรุงรสบ้านให้เรามีความภูมใิ จกับ บ้าน ใช้ชีวิตได้อย่างสบาย และยังคงความเป็นครอบครัวที่อบอุ่น”
ภาพบ้านยามเย็นให้ความรูส้ กึ อบอุน่ กว่าเมือ่ แรก มาเยื อ นมากนั ก อาจเป็ น เพราะได้ เข้ า ใจถึ ง สาย สั ม พั นธ์ ค รอบครั ว ที ่ เป็ นทั ้ ง จุ ด เริ ่ ม ต้ น และกำลั ง เชือ่ มโยงสานต่อออกไป ทำให้นกึ ถึงถ้วยน้ำชาร้อน ๆ ในมือระหว่างที่นั่งคุยกัน ช่างหอมนัก เพราะได้ สัมผัสตั้งแต่การต้มน้ำด้วยถ่าน การเลือกกาน้ำชา ใบชาที่ใช้ ความตั้งใจในการชงของเจ้าของบ้าน เป็นอรรถรสที่หลอมรวมเป็นกลิ่นและรสที่ละมุนยิ่ง บ้านคุณจรัสลูกชายคุณชวน ผสมผสานความทันสมัยด้วยการ ใช้เสาเหล็กรูปพรรณแทนเสาไม้หรือเสาคอนกรีตอย่างหลังอืน่ ๆ แต่ยังคงดูเป็นส่วนเดียวกัน ด้วยการทำทางเดินเชื่อมต่อกัน การสร้างจังหวะช่วงเสา และหลังคาแบบเดียวกัน
106-125_Home 06.indd 121
8/11/11 11:34:59 AM
บ้านแบบ Co-Housing ที่สร้างบ้านแยกครอบครัว แต่มีความต่อเนื่องเป็นส่วนเดียวกัน โดยมีพื้นที่ส่วนกลาง คือ บ้านอาม่าที่ทุกคนมาใช้งานร่วมกัน
106-125_Home 06.indd 122
8/11/11 11:35:04 AM
106-125_Home 06.indd 123
8/11/11 11:35:07 AM
บ้านครอบครัวคุณช่วงชัย
บ้านครอบครัวคุณชวน
05 02
06 03 04
01 07
บ้านคุณชวนและลูก
01 บ้านคุณจรัส (ลูก) 02 บ้านคุณชวน 03 ห้องนั่งเล่นบ้านคุณชวน
09
08
บ้านอาม่า
บ้านคุณช่วงชัยและลูก
04 ห้องนั่งเล่นบ้านคุณช่วงชัย 05 บ้านคุณช่วงชัย 06 บ้านคุณระบิล (ลูก)
บ้านอาม่า 07 ห้องนอนอาม่า 08 ส่วนรับรองแขกและรับประทานอาหาร 09 ศาลา 10 ซุ้มประตูทางเข้า
106-125_Home 06.indd 124
10
8/11/11 11:35:12 AM
Good ideas
a b d e
c
a ทำทางลาดกว้างอย่างน้อย b พื้นที่ระดับต่างกันไม่มาก c เพิ่มความปลอดภัยให้อ่าง d ทำพื้นห้องให้เรียบเสมอ e ปูพื้นห้องน้ำด้วยไม้เว้น
เหมาะกับลิฟต์ไฮดรอลิก โดย ซ่อนระบบเครือ่ งไว้ใต้พน้ื แล้ว ตกแต่งให้เข้ากับบ้านโดยทำ เมตร เพื ่ อ ความสะดวกใน ราวกันตกและประตูไม้เก่า การหมุ นกลั บ รถเข็ น ปู ห ิ น แกรนิ ต พ่ น ไฟ ผิ ว ที ่ ม ี ค วาม หยาบช่วยกันลื่นได้ดี 90 เซนติเมตร ลาดชันไม่เกิน 1 : 12 และควรมี พ ื ้ นที ่ ห น้ า ทางลาดกว้างอย่างน้อย 1.50
อาบน้ำที่ต่างระดับ ด้วยการ ทำราวจับและบันไดให้เดินขึน้ ลงได้ ส ะดวกและปลอดภั ย เพิ่มความโปร่งด้วยสกายไลต์ จากหลังคา มองเห็นพระจันทร์ ได้ระหว่างนอนแช่น้ำ
กันในทุกพื้นที่ที่ผู้สูงอายุต้อง ใช้สอย แต่เปลี่ยนวัสดุตาม การใช้งานในแต่ละห้อง ซึ่ง ต้องเตรียมตัง้ แต่เริม่ สร้างบ้าน เพราะวั ส ดุ แต่ ล ะชนิ ด มี ก าร เตรียมความหนาพื้นต่างกัน
ร่ อ งให้ ร ะบายน้ ำ ได้ เร็ ว และ ไม่ลน่ื และเพิม่ ความปลอดภัย ด้วยราวจับพยุงตัวและที่นั่ง อาบน้ำ
125 106-125_Home 06.indd 125
8/11/11 11:35:15 AM