หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
สุขศึกษา
1
ชั้นม
ี่ าปท
ธั ยมศึกษ
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หนังสือสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
คำนำ ดวยพระนามของอัลลอฮฺ ผูทรงเมตตาปรานี ผูทรงกรุณาเสมอ การดูแลแกไขปญหาในสังคมปจจุบันตองใหความสำคัญกับคุณธรรมและจริยธรรมอยางเปนรูปธรรม การบูรณาการวิถีอิสลามในแบบเรียนเปนสวนหนึ่งของวัตถุประสงคแผนงานฯในการประมวลองคความรู อิสลามกับสุขภาวะเพื่อถายทอดผานเครือขายและผานชองทางอื่นๆ ของแผนงานฯ ซึ่งมีกลุมเปาหมายมุสลิม ทั่วประเทศกวา 3 ลาน 5 แสนคน ภายใตโครงการผลิตแบบเรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาแบบบูรณาการวิถี อิสลามในกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 โครงการผลิตแบบเรียนวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาแบบบูรณาการวิถีอิสลามฯ มีวัตถุประสงคเพื่อจัด ทำแบบเรียนที่บูรณาการอิสลาม ซึ่งประกอบดวยมาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง โครงสราง หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรู คำอธิบายรายวิชาและการออกแบบหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐานหลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 โดยไดจัดทำจำนวน 6 เลม ใน 4 ชวงชั้น ที่พรอมจะนำไปใชเปนแบบ เรียนในโรงเรียนที่มีนักเรียนนับถือศาสนาอิสลามเปนสวนใหญซึ่งรวมถึงโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามกวา 800 แหง โดยเฉพาะในจังหวัดชายแดนภาคใตและภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศ ผลผลิตของโครงการนี้จะเปนประโยชนกับชุมชนมุสลิมไทยทั่วประเทศเกือบ 3,500 แหง เพราะ ความตองการของชุมชนมุสลิมทุกคน คือการที่บุตรหลานไดมีโอกาสเรียนรูทั้งวิชาดานศาสนาและวิชาสามัญที่ สอดคลองกับวัฒนธรรมและความเชื่อที่มีฐานมาจากศาสนาอิสลาม ดวยเหตุผลดังกลาวจึงเชื่อไดวาตำราเรียน ที่บูรณาการเนื้อหาวิชาดังกลาวเขากับหลักคำสอนของอิสลามเลมนี้จะไดรับการตอบรับที่ดีจากสังคมมุสลิม อีกทั้งผูเรียนจะมีความตั้งใจเรียนอยางจริงจัง เพราะไมมีความกังวลวาจะขัดกับหลักคำสอนของศาสนา ซึ่งจะ เปนผลดีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน ในอนาคตแผนงานฯ จะนำเสนอแบบเรียนบูรณาการศาสนาอิสลามกับวิชาสามัญ (สุขศึกษาและพล ศึกษา) ที่สอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางของรัฐชุดนี้ใหแกหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน กระทรวงศึกษาธิการ และสภาการศึกษาแหงชาติ เพื่อใหเกิดผลในระยะยาว และมีเปาหมายที่จะจัดพิมพเผยแผใหแกโรงเรียนที่มี ความตองการตำราเหลานี้ไวใชเปนตำรายืมเรียน นอกจากนี้ยังจะขยายผลไปสูการบูรณาการอิสลามในระดับ การศึกษาที่สูงขึ้นและวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวของตอไป สุดทายนี้ขอขอบคุณ รศ.ดร.อิบราเฮ็ม ณรงครักษาเขต อาจารยประจำวิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี และคณะ ที่มีสวนสำคัญในความสำเร็จของผลงานฉบับนี้ ขอเอกองค อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงประทานความโปรดปรานและสิ่งดีงามแกคณะทำงานและผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทาน อามีน รองศาสตราจารย ดร.อิศรา ศานติศาสน ผูจัดการแผนงานสรางเสริมสุขภาวะมุสลิมไทย
คำนำ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและ พลศึกษาเลมนี้ เปนหนังสือเรียนที่มีการบูรณาการอิสลามเพื่อใหสอดคลองกับวัฒนธรรมและหลักคำ สอนของศาสนาอิสลาม ทั้งนี้เพื่อใหผูเรียนที่เปนมุสลิมจะไดมั่นใจวาเนื้อหาที่มีในหนังสือเรียนรายวิชา พื้นฐานสุขศึกษาเลมนี้ ไมขัดกับหลักคำสอนของศาสนา และผูเรียนจะไดเรียนดวยความตั้งใจ ขอขอบคุณผูมีสวนรวมในการเขียนหนังสือเรียนเลมนี้ใหเสร็จสมบูรณ และขอขอบคุณแผนงาน สรางเสริมสุขภาวะมุสลิมไทย (สสม.) ผูสนับสนุนงบประมาณในการจัดทำหนังสือเรียนฉบับนี้ คณะผูจัดทำ
สุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ขอมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแหงชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data สุขศึกษา ม.1.-- กรุงเทพฯ : สำนักงานแผนงานสรางเสริมสุขภาวะมุสลิมไทย มูลนิธิสรางสุขมุสลิมไทย (สสม.), 2555. 150 หนา. 1. สุขศึกษา--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา). II. อิบรอฮีม ณรงครักษาเขต. III. ชื่อเรื่อง. 613.07 ISBN 978-616-7725-02-4 รายชื่อคณะกรรมการยกรางหนังสือสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 1. เภสัชกร ยูซูฟ นิมะ 2. ดร.มะรอนิง สาแลมิง 3. นายอัสมัน แตอาลี 4. นางสาวสุจิตรา ยีหวังเจริญ 5. นายฮอซาลี บินลาเตะ 6. นายอิลฟาน ตอแลมา 7. นายมูฮัมหมัดอาฟฟ อัซซอลีฮีย 8. เภสัชกรหญิง ซีตีแอเสาะ ดือเระ 9. นายศาสตรา ศาสนโสภา 10. นายอนันต กาโบะ 11. นางสาวพัตตู อาแวกาจิ บรรณาธิการ
1. รศ.ดร.อิบรอฮีม ณรงครักษาเขต 2. ดร.มะรอนิง สาแลมิง 3. เภสัชกร ยูซูฟ นิมะ 4. นายอัสมัน แตอาลี
รูปภาพและกราฟฟก
1. นายอุสมัน เลาะมา 2. นางสาวปราณี หลำเบ็ญสะ
ออกแบบปก
นายอุสมาน ลีมอปาแล
จัดรูปเลม
1. นายมูฮามะ ปาปา 2. นางสาวปราณี หลำเบ็ญสะ
พิมพครั้งที่ 1
พฤษภาคม 2555
จัดพิมพและเผยแพร
แผนงานสรางเสริมสุขภาวะมุสลิมไทย (สสม.) มูลนิธิสรางสุขมุสลิมไทย เลขที่ 1 หมู 13 ถนนสีหบุรานุกิจ แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510
สงวนลิขสิทธิ์
หามลอกเลียนแบบไมวาสวนใดสวนหนึ่งของหนังสือ นอกจากไดรับอนุญาต
สารบัญ หนวยการเรียนรูที่ 1 ระบบประสาทและระบบตอมไรทอ หนวยการเรียนรูที่ 2 วัยรุนกับการเจริญเติบโตตามเกณฑมาตรฐาน หนวยการเรียนรูที่ 3 วัยรุนและพัฒนาการทางเพศ หนวยการเรียนรูที่ 4 การเห็นคุณคาของชีวิตและการปองกันการถูกลวงละเมิดทางเพศ หนวยการเรียนรูที่ 5 วัยรุนกับโภชนาการตามบทบัญญัติอิสลามเพื่อสรางสุขภาพ หนวยการเรียนรูที่ 6 วัยรุนกับการดูแลน้ำหนักตัวและการทดสอบสมรรถภาพทางกาย หนวยการเรียนรูที่ 7 การปฐมพยาบาลและการเคลื่อนยายผูปวยอยางปลอดภัย หนวยการเรียนรูที่ 8 มหันตภัยจากสารเสพติด หนวยการเรียนรูที่ 9 ความสัมพันธของการใชสารเสพติดกับการเกิดโรค และอุบัติเหตุ หนวยการเรียนรูที่ 10 การปองกันภัยจากสารเสพติด
1-15 16-26 27-41 42-50 51-62 63-82 83-105 106-111 112-126 127-138
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ตัวชี้วัด 1. อธิบายความส�ำคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ทอ่ ทีม่ ผี ลต่อสุขภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น 2. อธิบายวิธีดูแลระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อให้ท�ำงานตามปกติ
ระบบประสาทกับการเจริญเติบโต และภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโต และภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
1
1. ระบบประสาทกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบประสาทเป็นระบบหนึง่ ในหลายระบบของร่างกาย ท�ำหน้าทีค่ วบคุมและประสานการท�ำงาน ระหว่างระบบต่างๆ ดังนั้นหากระบบประสาทเกิดความผิดปกติจนไม่สามารถท�ำหน้าที่พื้นฐานดังกล่าวได้ ย่อมจะส่งผลกระทบต่อการท�ำงานของระบบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องรวมทัง้ ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและ พัฒนาการตลอดจนภาวะสุขภาพของเราด้วย 1.1 ความหมายและองค์ประกอบของระบบประสาท ระบบประสาท คือ ระบบทีป่ ระกอบด้วยสมอง ไขสันหลัง และเส้นประสาททัว่ ร่างกาย ซึง่ อวัยวะ ดังกล่าวจะท�ำหน้าที่ร่วมกันในการควบคุมและประสานการท�ำงานส่วนต่างๆ ของร่างกายรวมทั้งรับความ รู้สึกจากอวัยวะทุกส่วน ตลอดจนความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ และความทรงจ�ำต่างๆ ระบบประสาทแบ่ง ตามลักษณะของการท�ำงานออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ ระบบประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทส่วน ปลาย 1.1.1 ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทส่วนกลาง ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ สมอง และไขสันหลัง เป็นอวัยวะทีเ่ ป็นศูนย์กลาง ในการควบคุมและประสานการท�ำงานของร่างกายทั้งหมด 1) สมอง เป็นอวัยวะที่ส�ำคัญและมีขนาดใหญ่กว่าอวัยวะส่วนอื่นๆ ของระบบประสาท บรรจุอยูภ่ ายในกะโหลกศีรษะ เมือ่ สมองของคนเราพัฒนาเต็มทีจ่ ะมีนำ�้ หนักโดยเฉลีย่ ประมาณ 1.4 กิโลกรัม หรือ 3 ปอนด์ สมองจะเริ่มเจริญเติบโตตั้งแต่เป็น ตัวอ่อนในครรภ์มารดา ในช่วงอายุ 1-9 ปีสมองจะ เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและจะเจริญเติบโตเต็มที่ เมื่ออายุ 18-20 ปี เนื้อสมองแบ่งออกเป็น 2 ชิ้น คือ พืน้ ผิวชัน้ นอกซึง่ มีสเี ทา เรียกว่าส่วนพืน้ ผิว ชัน้ ในจะมีสีขาวเรียกว่า ไวท์แมตเตอร์ เป็นส่วนของ ใยประสาทที่ออกจากเซลล์ประสาท สมองแบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง และสมองส่วน ท้าย โดยแต่ละส่วนมีโครงสร้างที่ท�ำหน้าที่เฉพาะ ดังนี้ ภาพแสดงโครงสร้างและส่วนประกอบของสมอง (1) สมองส่วนหน้า ประกอบด้วย 3 ส่วน Muj,khttp://www.macalester.edu/ html คือ - ซีรบี รัม เป็นสมองส่วนหน้าทีส่ ดุ ทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ท�ำหน้าทีเ่ กีย่ วกับความจ�ำ ความนึกคิด ไหวพริบ และความรูส้ กึ ผิดชอบ นอกจากนีย้ งั เป็นศูนย์กลางควบคุมการท�ำงานของส่วนต่างๆ ของร่างกาย ที่อยู่ใต้อ�ำนาจจิตใจ เช่น ศูนย์ควบคุมการท�ำงานของกล้ามเนื้อ การรับสัมผัส การพูด การมองเห็น 2
- ทาลามัส เป็นส่วนที่อยู่ด้านหน้าของสมองส่วนกลางหรืออยู่ข้างๆ โพรงสมอง ท�ำหน้าที่ เป็นสถานีถ่ายทอดกระแสประสาทนั้นๆ - ไฮโพทาลามัส สมองส่วนนี้อยู่ใต้ส่วนทาลามัส ซึ่งอยู่ด้านล่างสุดของสมองส่วนหน้า ท�ำ หน้าทีเ่ ป็นศูนย์ควบคุมอุณหภูมขิ องร่างกาย การเต้นของหัวใจ การนอนหลับ ความดันโลหิต ความหิว ฯลฯ นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์ควบคุมอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ เช่น อารมณ์เศร้า (2) สมองส่วนกลาง เป็นส่วนทีต่ อ่ จากสมองส่วนหน้า ท�ำหน้าทีเ่ กีย่ วกับการเคลือ่ นไหวของลูก ตาและม่านตา เช่น การกลอกลูกตาไปมา การปิดเปิดม่านตา (3) สมองส่วนท้าย ประกอบด้วย - ซีรีเบลลัม อยู่ใต้ส่วนล่างของซีรีบรัม ท�ำหน้าที่ดูแลการท�ำงานในส่วนต่างๆ ให้ประสาน สัมพันธ์กนั อย่างเหมาะสม อีกทัง้ ยังเป็นตัวรับกระแสประสาทจากอวัยวะควบคุมการทรงตัว ซึง่ อยูใ่ นหูชนั้ ใน และจากข้อต่อและกล้ามเนื้อต่างๆ ซีรีเบลลัมจึงเป็นส่วนส�ำคัญในควบคุมการทรงตัวของร่างกาย - พอนส์ เป็นส่วนของก้านสมองทีอ่ ยูด่ า้ นหน้าของซีรเี บลลัมติดกับสมองส่วนกลาง ท�ำหน้าที่ ควบคุมการท�ำงานบางอย่างของร่างกาย เช่น การเคี้ยวอาหาร การหลั่งน�้ำลาย การเคลื่อนไหวของกล้าม เนื้อบริเวณใบหน้า ควบคุมการหายใจ การฟัง 2) ไขสันหลัง เป็นส่วนที่ต่อจากสมองลงไปตามแนวช่องกระดูกสันหลัง โดยเริ่มจาก กระดูกสันหลังข้อแรกไปจนถึงกระดูกบั้นเอวข้อที่ 2 ซึ่งมีความยาวประมาณ 2 ใน 3 ของความยาวของ กระดูกสันหลัง และมีแขนงเส้นประสาทแตกออกจากไขสันหลังมากมาย ไขสันหลังท�ำหน้าที่รับกระแสประสาทจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายส่งต่อไปยังสมอง และ รับกระแสประสาทตอบรับจากสมองเพื่อส่งไปยังอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย นอกจากนี้ยังควบคุมปฏิกิริยา รีเฟลกซ์ หรือปฏิกริ ยิ าตอบสนองต่อสิง่ เร้าอย่างกะทันหันโดยไม่ตอ้ งรอค�ำสัง่ จากสมอง เช่น เมือ่ มือของเรา บังเอิญถูกไฟหรือของร้อนจะเกิดปฏิกิริยารีเฟลกซ์ เกิดการกระตุกมือออกจากไฟหรือของร้อนทันที 1.1.2 ระบบประสาทส่วนปลาย ระบบประสาทส่วนปลาย ประกอบด้วย เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสันหลังและระบบ ประสาทอัตโนมัติ ระบบประสาทส่วนปลายจะท�ำหน้าทีน่ ำ� ความรูส้ กึ จากส่วนต่างๆ ของร่างกายเข้าสูร่ ะบบ ประสาทส่วนกลางไปยังอวัยวะส่วนที่ปฏิบัติงาน ซึ่งมีรายละเอียดของการท�ำงานดังนี้ 1) ระบบประสาทสมองและไขสันหลัง (1) เส้นประสาทสมอง มีอยู่ 12 คู่ ทอดมาจากสมองผ่านรูตา่ งๆ ของกะโหลกศีรษะ ไปเลี้ยงบริเวณศีรษะและล�ำคอเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นคู่ที่ 10 ไปเลี้ยงอวัยวะภายในช่องอกและช่องท้อง (2) เส้นประสาทไขสันหลัง มีอยู่ 31 คู่ ออกจากไขสันหลังเป็นช่วงๆ ผ่านรูระหว่าง กระดูกสันหลังไปสู่ร่างกาย แขน และขา โดยปกติแล้วเส้นประสาทสมองและไขสันหลังจะประกอบด้วยใยประสาท 2 จ�ำพวก คือ ใยประสาท ซึง่ จะน�ำสัญญาณจากหน่วยรับความรูส้ กึ ไปยังสมองหรือไขสันหลังอีกพวกหนึง่ จะน�ำค�ำสัง่ จากระบบประสาทส่วนกลางไปยังกล้ามเนื้อลายต่างๆ ได้ 3
2) ระบบประสาทอัตโนมัติ เป็นระบบประสาททีค่ วบคุมการท�ำงานของอวัยวะทีอ่ ยูน่ อก อ�ำนาจจิตใจโดยไม่รู้สึกตัว เช่น การเต้นของหัวใจ การเคลื่อนไหวของอวัยวะภายใน ผนังของหลอดเลือด และต่อมต่างๆ ศูนย์กลางการควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัตอิ ยูใ่ นก้านสมองและส่วนทีอ่ ยูล่ กึ ลงไปใน สมองที่เรียกว่า ไฮโพทาลามัส โดยระบบประสาทอัตโนมัติแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
(1) ระบบประสาทซิมพาเทติก จะเริม่ ต้นจากไขสันหลังส่วนอกที่ 1 จนถึงไขสันหลัง ส่วนเอวที่ 2 โดยมีศูนย์กลางอยู่ในไขสันหลัง ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์อยู่ในบริเวณด้านข้างของเนื้อสีเทา ของไขสัน หลังจากศูนย์กลางจะมีเส้นใยประสาทไปสู่ปมประสาท ซึ่งจะอยู่ห่างจากอวัยวะที่ไปสู่ แต่จะมี เส้นทางประสาทแยกออกไปควบคุมการท�ำงานของอวัยวะต่างๆ ดังกล่าว การเร้าประสาทซิมพาเตติกจะ ท�ำให้ร่างกายเตรียมพร้อมส�ำหรับเผชิญอันตรายหรือภาวะฉุกเฉิน (2) ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก จะออกจากระบบประสาทส่วนกลาง โดยผ่าน ร่วมไปกับเส้นประสาทสมองบางเส้น และประสาทไขสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ ใยประสาทพาราซิมพาเต ติกมากกว่าร้อยละ 80 อยู่ในเส้นประสาทเวกัส ซึ่งไปเลี้ยงบริเวณช่องอกและช่องท้อง เป็นระบบประสาท ที่ท�ำหน้าที่ควบคุมการสะสมพลังงาน ควบคุมระดับการท�ำงานของอวัยวะภายใน หลอดเลือดส่วนต่างๆ ให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะท�ำงานได้
4
ผลของระบบประสาทอัตโนมัติต่ออวัยวะต่างๆ ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ผลต่อหัวใจ ท�ำให้หัวใจเต้นเร็วและแรง ท�ำให้หัวใจเต้นช้าและเบา ผลต่อม่านตา ท�ำให้ม่านตาขยาย ท�ำให้ม่านตาหดเล็ก ผลต่อหลอดลม ท�ำให้หลอดลมขยายตัว ท�ำให้หลอดลมหดเกร็งตัว ผลต่อหลอดเลือด ท�ำให้หลอดเลือดหดตัวเล็กน้อย ท�ำให้หลอดเลือดขยายเล็กน้อย ผลต่อความดันโลหิต ท�ำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น ท�ำให้ความดันโลหิตลดต�่ำลง ผลต่อระบบทางเดินอาหาร ท�ำให้ทางเดินอาหารเคลื่อนไหวช้า ท�ำให้ทางเดินอาหารเคลื่อนไหวเร็วขึ้น และท�ำงานลดลง และท�ำงานดีขึ้น ผลต่อต่อมเหงื่อ ท�ำให้เหงื่อออกมาก ให้เหงื่อออกน้อยลง ผลต่ออุณหภูมิร่างกาย ท�ำให้อุณหภูมิกายเพิ่มขึ้น ท�ำให้อุณหภูมิกายลดลง ผลต่อกระเพาะปัสสาวะ ท�ำให้กระเพาะปัสสาวะขยายยืดออก ท�ำให้กระเพาะปัสสาวะหดตัว ผลต่อมดลูก ท�ำให้มดลูกบีบตัวลดลง ท�ำให้มดลูกบีบตัวเพิ่มขึ้น 1.2 ความส�ำคัญของระบบประสาทกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น ระบบประสาทเป็นปัจจัยภายในที่มีอิทธิพลและมีความส�ำคัญต่อภาวะการเจริญเติบโตและ พัฒนาการของวัยรุ่น โดยเฉพาะฮอร์โมนที่ต่อมใต้สมองผลิตออกมา ซึ่งนักเรียนจะได้เรียนรู้และท�ำความ เข้าใจถึงรายละเอียดในเรือ่ งดังกล่าว ในหัวข้อที่ 2 เรือ่ งระบบต่อมไร้ทอ่ กับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพ ของวัยรุน่ ต่อไป และเพือ่ ให้นกั เรียนได้เข้าใจและตระหนักถึงความส�ำคัญของระบบประสาททีส่ ง่ ผลต่อภาวะ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่นที่เกิดขึ้น ในระดับชั้นนี้นักเรียนจะได้ศึกษาและท�ำความเข้าใจใน เรื่องที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. ลักษณะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับโครงสร้างภายในสมองของวัยรุ่น ขนาดและโครงสร้างภายในสมองของคนเราซึง่ เป็นอวัยวะหลักของระบบประสาทพบว่า สมอง จะมีการพัฒนาไปอย่างต่อเนือ่ ง เริม่ ตัง้ แต่ในช่วงการเป็นตัวอ่อนในครรภ์มารดา จนกระทัง่ อายุมากกว่า 20 ปี 5
สมองจะมีการเจริญเติบโตและมีการพัฒนาเต็มที่ และจากการศึกษาวิจัยของสถาบันสุขภาพจิตแห่งชาติ ของสหรัฐอเมริกา ( National Institute of Mental Health : NIMH ) พบว่า สมองของเด็กอายุ 12 ปี จะมีรอยหยัก น�ำ้ หนัก และหน้าทีก่ ารท�ำงานของสมองบริเวณต่างๆ เหมือนกับสมองของวัยผูใ้ หญ่ และเมือ่ ศึกษาติดตามความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสมองของคนเราตั้งแต่อายุ 5 ขวบ จนถึง 20 ปี พบว่า พื้นผิว สมองชัน้ นอกทีม่ สี เี ทา ซึง่ เรียกว่า เกรย์แมตเตอร์ ในช่วงวัยเด็กจะมีชนั้ ของผิวนอกทีห่ นาและจะค่อยๆ บาง ลงเมือ่ เข้าสูว่ ยั ผูใ้ หญ่ และจากการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างเพศจะพบว่า กระบวนการทีเ่ กิดขึน้ กับพืน้ ผิว ของสมองชัน้ นอกในเด็กหญิง ความหนาของชัน้ พืน้ ผิวดังกล่าวจะบางลงเร็วกว่าเด็กชาย ซึง่ เป็นเหตุผลส�ำคัญ ประการหนึ่งที่ชี้ให้เห็นว่า เด็กหญิงจะเข้าสู่ช่วงของวัยรุ่นและเข้าสู่วัยผู้ใหญ่เร็วกว่าเด็กชาย 2. พฤติกรรมของวัยรุ่นกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในสมองของวัยรุ่น การทีโ่ ครงสร้างภายในสมองของวัยรุน่ มีการพัฒนาและเกิดการเปลีย่ นแปลง โดยเฉพาะการ เชื่อมโยงระหว่างเส้นใยประสาท การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อพฤติกรรมและสุขภาพของวัยรุ่นอย่าง ต่อเนื่องในบางลักษณะ ดังนี้ - วัยรุ่นมักแสดงพฤติกรรมชอบเสี่ยงและเกิดความว้าวุ่นใจได้ง่าย พฤติกรรมดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับ โครงสร้างของสมองส่วนหน้าของวัยรุ่น ซึ่งจากการศึกษา โครงสร้างของสมองส่วนนี้จะพบว่า สมองส่วนที่ควบคุม การตัดสินใจจะยังไม่สมบูรณ์เท่ากับส่วนที่ท�ำหน้าที่ใน การแสวงหาความรู้ใหม่ๆ แต่ก็จะพบว่ามีบ่อยครั้งที่วัยรุ่น มักจะแสดงพฤติกรรมที่ขาดความรอบคอบและชอบที่จะ เสี่ยงในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ อันเป็นเหตุท�ำให้วัยรุ่น มักประสบกับอุบัติเหตุและเกิดการบาดเจ็บที่สืบเนื่องมา จากพฤติกรรมการแสดงออก ได้มากกว่าผูท้ อี่ ยูใ่ นวัยผูใ้ หญ่ ทั้งนี้เนื่องจากในวัยผู้ใหญ่สมองส่วนที่ท�ำหน้าที่ช่วยในการตัดสินใจจะมีความสมบูรณ์มากขึ้นจึงพบว่า วัย ผู้ใหญ่จะเป็นช่วงวัยที่ใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจได้ดีกว่าวัยรุ่น นอกจากโครงสร้างของสมองในส่วนที่ควบคุมการตัดสินใจของวัยรุ่นจะยังไม่สมบูรณ์ดี การที่เส้นใยประสาทของวัยรุ่นอยู่ในช่วงที่มีการแตกแขนง ขยายตัว และแผ่โครงสร้างเครือข่ายเพื่อเชื่อม โยงระหว่างกัน แต่เครือข่ายความเชื่อมโยงดังกล่าวยังขาดความเป็นระเบียบและไม่สมบูรณ์พอ ส่งผลให้ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ตลอดจนสิ่งที่ต้องการตรวจสอบของวัยรุ่นขาดความชัดเจน จึงเป็นเหตุ ที่ท�ำให้วัยรุ่นมักแสดงออกถึงความว้าวุ่นใจและเกิดความเครียดทางอารมณ์ได้ง่าย ดังนัน้ ผูท้ อี่ ยูใ่ นช่วงวัยรุน่ จึงควรศึกษาและท�ำความเข้าใจในพฤติกรรมและผลกระทบทีเ่ กิด ขึ้นซึ่งจะส่งผลเสียต่อสุขภาพตามมา และควรเรียนรู้ที่จะฝึกใช้เหตุผลประกอบกระบวนการคิดให้มากขึ้น จะส่งผลท�ำให้เส้นใยประสาทในส่วนที่เกี่ยวข้องดังกล่าวมีการพัฒนาที่ดีขึ้น ซึ่งจะช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุ จากการขาดเหตุผลในขณะปฏิบตั กิ จิ กรรมหรือลดพฤติกรรมเสีย่ งต่าง ๆ นัน่ เอง นอกจากนีย้ งั ช่วยลดความ ว้าวุ่นใจและความเครียดทางอารมณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ 6
- สมองของวัยรุ่นจะตอบสนองต่อฤทธิ์ของสารเสพติดและสุรามากกว่าวัยผู้ใหญ่ การทีบ่ ริเวณโครงสร้างภายในสมองของวัยรุน่ ในส่วนทีก่ ระตุน้ ให้เกิดความสนใจแสวงหา ความรูแ้ ละสิง่ เร้าใหม่ๆ มีการพัฒนามากขึน้ จึงมัก พบว่า วัยรุ่นให้ความใจ อยากทดลอง และอยาก เรียนรู้ในสิ่งแปลกใหม่ แต่ถ้าหากวัยรุ่นได้เรียนรู้ ในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง โดยเฉพาะการทดลองในเรื่อง สารเสพติดสุรา จะส่งผลเสียต่อสุขภาพของวัยรุ่น ได้อย่างรุนแรง และผลดังกล่าวจะสืบเนื่องไปถึง วัยผู้ใหญ่ เนื่องจากโครงสร้างทางสมองในช่วงวัย รุ่นจะตอบสนองต่อฤทธิ์ของสารเสพติดและสุรา ได้ง่ายกว่าวัยผู้ใหญ่ โอกาสที่จะเกิดการเสพติดหรือได้รับผลกระทบที่เกิดจากการใช้สารเสพติดและสุรา จึงมีความรุนแรงและเกิดขึ้นได้ง่ายกว่าวัยผู้ใหญ่เมื่อเปรียบเทียบกับวัยอายุในการเริ่มเข้าเกี่ยวข้อง ดังนั้น นักเรียนจึงควรหลีกเหลี่ยงการเข้าไปเกี่ยวข้องหรือทดลองในเรื่องดังกล่าว - พฤติกรรมในการนอนหลับพักผ่อนของวัยรุน่ จะเข้าสูช่ ว่ งของการนอนหลับช้ากว่าวัย เด็กและวัยผู้ใหญ่ การนอนหลับ เป็นวิธกี ารพักผ่อนด้วยการนอนหลับประมาณวันละ 6-8 ชัว่ โมงโดยฮอร์โมน เมลาโทนิน(Melatonin) ที่ต่อมพิเนียล (pineal) ซึ่งเป็นต่อมไร้ท่อในสมองขับออกมาจะมีฤทธิ์ในการช่วย ควบคุมระบบการนอนหลับของคนเรา โดยต่อมไร้ท่อพิเนียลนี้จะท�ำงานสัมพันธ์กับแสงสว่างซึ่งมักพบว่า หากคนเราอยู่ในที่มืดหรือช่วงเวลาที่มืดส่งผลให้เกิดอาการง่วงและนอนหลับได้ง่าย รวมไปถึงการออก ก�ำลังกายที่พอเหมาะยังเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ช่วยให้คนเรานอนหลับได้ดีขึ้น จากการศึกษาพฤติกรรมการ นอนหลับของวัยรุ่นจะพบว่า การท�ำงานของ ต่อม พิเนียลที่หลั่งฮอร์โมนควบคุมการนอนหลับของวัย รุน่ ทีม่ กี ารท�ำงานช้ากว่าของเด็กหรือผูใ้ หญ่รา่ งกาย จึงเข้าสูช่ ว่ งของการนอนหลับช้ากว่าวัยอืน่ ๆ ผลกระ ทบที่เกิดขึ้นสามารถกล่าวได้ว่าหากวัยรุ่นขาดการ พักผ่อนอย่างเพียงพอ ย่อมส่งผลกระทบท�ำให้เกิด ปัญหาสุขภาพได้ และหากวัยรุน่ พักผ่อนไม่เพียงพอ จะส่งผลท�ำให้การเจริญเติบโตของร่างกายต�่ำกว่า เกณฑ์มาตรฐาน โดยเฉพาะความสูงของร่างกายอาจต�่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน นอกจากนี้การนอนหลับพัก ผ่อนที่ไม่เพียงพอจะส่งผลท�ำให้พัฒนาการสมองเกิดความผิดปกติได้ ดังนั้นนักเรียนซึ่งเป็นผู้ที่อยู่ในช่วง ของการเป็นวัยรุ่นจึงควรให้ความส�ำคัญต่อเรื่องดังกล่าว โดยพยายามพักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ และ หากประสบกับปัญหาของการนอนไม่หลับควรน�ำหลักความสัมพันธ์ในการท�ำงานของต่อมไพเนียล เช่น ไม่เปิดไฟฟ้าหรือปล่อยให้มีแสงสว่างเข้ามารบกวนกระบวนนอนหลับ ควรออกก�ำลังกายอย่างเหมาะ จะ ช่วยให้การนอนหลับเป็นไปอย่างดีขึ้น ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ 7
1.3 ความสัมพันธ์ของระบบประสาทกับภาวะสุขภาพของวัยรุ่น ระบบประสาทนอกจากจะมีอทิ ธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุน่ แล้ว ปัญหาสุขภาพ ของวัยรุน่ บางลักษณะยังมีผลสืบเนือ่ งมาจากความผิดปกติของระบบประสาททีเ่ กิดขึน้ โดยเฉพาะความผิด ปกติของภาวะสุขภาพที่สืบเนื่องมาจากปัญหาสุขภาพจิตหรือโรคทางจิตเวช ซึ่งมีมากมายหลายชนิด และ เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและเห็นความส�ำคัญในเรื่องดังกล่าว ปัญหาสุขภาพที่มักเกิดขึ้นกับวัยรุ่นมีดังนี้ 1) โรคซึมเศร้า โรคซึมเศร้าเป็นภาวะความบกพร่องทางสุขภาพทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั การท�ำงานของระบบ ประสาทในร่างกาย ซึ่งโรคซึมเศร้าที่เกิดขึ้นในวัยรุ่นมักพบในวัยรุ่นเพศหญิงมากกว่าวัยรุ่นเพศชาย อาการส�ำคัญของโรค ผู้ที่เป็นโรคนี้มักแสดงออกด้วยอาการซึมเศร้าหงอยเหงา จิตใจ เลื่อนลอยซึ่งเห็นได้อย่างชัดเจนและอาจมีอาการอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น หงุดหงิด โกรธง่าย ไม่ค่อยสนใจใน สิ่งต่างๆ รอบตัว เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย ขาดสมาธิ ง่วงนอนง่าย และมีความรู้สึกว่าตนเองไร้ ค่า ซึ่งหากอาการของโรคมีระดับความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น อาจท�ำให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกที่ต้องการท�ำร้าย ตนเองหรือท�ำลายชีวิตของตนเองได้ สาเหตุของโรค การเกิดโรคซึมเศร้าในวัยรุ่นนอกจากมีสาเหตุที่เกิดจากปัจจัยทาง พันธุกรรมและปัจจัยทางด้านจิตใจทีเ่ ป็นผลสืบเนือ่ งมาจากปัญหาชีวติ แล้ว ความผิดปกติของสมองในส่วน ที่เกี่ยวข้องกับระดับของสื่อประสาทในสมองส่วนกลางที่ขาดความสมดุลก็เป็นสาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้เกิด อาการดังกล่าวขึ้นได้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของระบบประสาทที่มีต่อภาวะสุขภาพของวัยรุ่น การป้องกันและการแก้ไข มีแนวทางการปฏิบัติดังนี้ - ผู้ที่มีอัตราความเสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้าสูง เช่น ผู้ที่อยู่ในครอบครัวที่มีประวัติ ครอบครัวเกี่ยวกับการถ่ายทอดปัญหาภาวะสุขภาพดังกล่าว หากพบว่าตนเองเป็นมีความเสี่ยงต่อการเกิด โรคก็ควรได้รบั การตรวจสอบทางด้านสุขภาพพืน้ ฐานจากแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญทางด้านจิตเวช เพือ่ ตรวจสอบ และสืบค้นความผิดปกติทอี่ าจเกิดขึน้ ซึง่ จะช่วยให้การบ�ำบัดรักษาผูท้ มี่ อี าการของโรคดังกล่าวเป็นไปอย่าง ทันท่วงที - สมาชิกในครอบครัวควรร่วมมือ ร่วมใจกันในการส่งเสริมสัมพันธภาพทีด่ ใี ห้เกิดขึน้ ภายในครอบครัว เพราะนอกจากจะเป็นวิธีการ ป้องกันการเกิดปัญหาครอบครัวแล้ว ยังช่วยส่ง เสริมบรรยากาศภายในครอบครัวให้ดีขึ้นซึ่งจะส่ง ผลท�ำให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาพจิตที่ดีและ ป้องกันการเกิดปัญหาภาวะสุขภาพดังทีก่ ล่าวมาได้ - ควรออกก�ำลังกายและพักผ่อนให้เพียงพอ ซึ่งนอกจากจะช่วยให้มีภาวะสุขภาพที่ดีแล้ว ยังช่วยสร้างเสริมให้ผู้ปฏิบัติมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น เป็นการช่วยลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้าได้เป็น อย่างดี - ควรพบแพทย์เพือ่ รับการวินจิ ฉัยและบ�ำบัดรักษา เมือ่ รูส้ กึ ว่าตนเองหรือผูใ้ กล้ชดิ มีอาการ 8
หรือเกิดความผิดปกติทมี่ คี วามสัมพันธ์กบั โรคซึมเศร้า เพราะการบ�ำบัดรักษาเบือ้ งต้นจะช่วยให้ผทู้ มี่ อี าการ ของโรคดังกล่าวหายขาดจากโรคได้ 2) โรคไมเกรน โรคไมเกรน เป็นภาวะความบกพร่องทางสุขภาพอีกโรคหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับการ ท�ำงานของระบบประสาทในร่างกาย โรคไมเกรนเป็นโรคทีเ่ กิดอาการปวดศีรษะเรือ้ รัง ซึง่ มีลกั ษณะเฉพาะ ของอาการที่ส�ำคัญโดยพบว่า อาการปวดศีรษะที่เกิดขึ้นนั้นมักจะปวดข้างเดียวหรือเริ่มปวดข้างเดียวก่อน แล้วจึงปวดทั้งสองข้างตามมา ส่วนใหญ่จะเริ่มปรากฏอาการในช่วงอายุตั้งแต่ 10 – 25 ปี และมักจะพบ กับผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย โดยเฉพาะผู้ที่มีความเครียดทางอารมณ์และจิตใจสูง อาการส�ำคัญของโรค อาการปวดศีรษะไมเกรนแตกต่างจากอาการปวดศีรษะธรรมดาใน ลักษณะที่ว่า อาการปวดศีรษะธรรมดามักจะปวดทั่วทั้งศีรษะและส่วนใหญ่จะหายได้เองเมื่อได้นอนหลับ สนิทอย่างเพียงพอ แต่ส�ำหรับอาการปวดศีรษะไมเกรนนั้นมักจะปวดข้างเดียวหรือเริ่มปวดข้างเดียวก่อน แล้วจึงปวดทั้ง 2 ข้างตามมา และแต่ละครั้งที่เกิดอาการปวดศีรษะจะพบว่า มีการสลับข้างไปมาหรือย้าย ต�ำแหน่งบริเวณที่รู้สึกปวดได้ แต่บางครั้งก็อาจจะปวดทั้งสองข้างขึ้นมาพร้อมๆ กัน ลักษณะอาการปวดศีรษะของโรคไมเกรนมักจะปวดแบบตุ้บๆ เป็นระยะๆ แต่ก็มีบาง ครั้งที่ปวดแบบตื้อๆ แล้วจะค่อยๆ ปวดทีละน้อย จนกระทั่งปวดรุนแรงเต็มที่แล้วจึงค่อยๆ บรรเทาอาการ ปวดลง ซึ่งในขณะที่ปวดศีรษะมักจะมีอาการคลื่นไส้หรืออาเจียนร่วมด้วย ระยะเวลาปวดมักจะนานหลาย ชั่วโมง ในบางรายอาจมีอาการผิดปกติอื่นๆ เกิดขึ้นก่อนจะมีอาการปวดศีรษะไมเกรน เช่น สายตาพร่ามัว ชาบริเวณอวัยวะข้างใดข้างหนึ่งของร่างกาย หรือมองเห็นแสงกะพริบๆ ผู้ที่มีอาการปวดศีรษะไมเกรนมัก จะทรมานจากการปวด ส่งผลท�ำให้ผู้ป่วยมีสุขภาพร่างกายเสื่อมโทรม ซึ่งหากเกิดอาการบ่อยและอาการ รุนแรงมากๆ ก็จะท�ำให้สุขภาพจิตเสียไปด้วย สาเหตุและกลไกของเกิดโรคไมเกรนนั้นยัง ไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด แต่จากผลการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ พบว่ า ระบบประสาทของผู ้ ที่ เ ป็ น โรคไมเกรนจะไวต่ อ การ เปลี่ยนแปลงของร่างกาย สิ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยกระตุ้น ต่างๆ ได้มากกว่าคนปกติ เนื่องจากสมองส่วนที่เรียกว่า ไฮโพ ทาลามัส เกิดการเปลีย่ นแปลงหรือท�ำงานผิดปกติ ซึง่ หากระบบ ประสาทมีการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง จะท�ำให้เกิดการ อักเสบของเส้นเลือดและเส้นประสาทรอบๆ สมอง นอกจากนี้ ยังมีหลายทฤษฎีที่เชื่อว่า อาจเกิดจากความผิดปกติของระดับ สารเคมีในสมองขาดความสมดุล สารสื่อประสาทในสมองส่วน กลาง หรือหลอดเลือดในสมองมีความผิดปกติ การป้องกันและแก้ไข สามารถปฏิบัติได้ โดยการออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ รับ ประทานอาหารที่มีประโยชน์ พยายามไม่เครียด ท�ำจิตให้ร่าเริงแจ่มใส มองโลกในแง่ดีอยู่เสมอ และหาก 9
มีอาการปวดศีรษะเรื้อรังหรือสงสัยว่าตนเองเป็นโรคไมเกรน ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจวินิจฉัย และรับการรักษาต่อไป ปัจจุบนั โรคไมเกรนยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่มวี ธิ คี วบคุมอาการของโรคไมเกรน ให้สงบลงได้หลายวิธี ทีส่ ำ� คัญได้แก่ การบรรเทาอาการปวดศีรษะและการป้องกันไม่ให้เกิดหรือลดความถี่ และความรุนแรงของอาการปวดศีรษะนัน้ อาจไม่จ�ำเป็นต้องใช้ยา เช่น การนวด การกดจุด การประคบเย็น การประคบร้อน หรือการนอนหลับ ส่วนในรายที่ไม่ได้ผลหรือมีอาการปวดที่รุนแรงก็จ�ำเป็นต้องใช้ยาแก้ ปวดตามค�ำสั่งของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ การป้องกันไม่ให้เกิดหรือลดความถี่และความรุนแรงของอาการปวด ศีรษะที่ส�ำคัญมีอยู่ 2 วิธี การก�ำจัดความเครียดอย่างเหมาะสม และการรับประทานยาป้องกันอาการปวด ศีรษะไมเกรนตามค�ำสัง่ ของแพทย์ในกรณีทปี่ วดศีรษะบ่อยหรือรุนแรงต่อเนือ่ งหลายวัน ซึง่ ผูป้ ว่ ยแต่ละคน จะได้รบั ยาทีม่ ชี นิดและขนาดของยาทีแ่ ตกต่างกันตามความเหมาะสม โดยต้องรับประทานยาตามค�ำสัง่ ของ แพทย์อย่างเคร่งครัด 1.4 การบ�ำรุงรักษาระบบประสาทให้ท�ำงานได้อย่างปกติ มีแนวทางการปฏิบัติดังนี้ 1. ระวังไม่ให้เกิดการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ เพราะหากโครงสร้างสมองส่วนซีรบี รัม ได้รับการกระทบกระเทือนอย่างรุนแรง อาจท�ำให้เกิดอาการความจ�ำเสื่อมหรือไม่สามารถจ�ำสิ่งที่พบเห็น ใหม่ๆ ได้ และหากบริเวณที่ได้รับความกระทบกระเทือนเป็นบริเวณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายก็อาจท�ำให้ส่วนนั้นเป็นอัมพาตได้ 2. ระมัดระวังป้องกันไม่ให้เกิดโรคทางสมอง โดยใช้วิธีการต่างๆ เช่น ฉีดวัคซีนป้องกันโรค สมองอักเสบในวัยเด็กตามระยะเวลาทีแ่ พทย์ก�ำหนด หรือรีบไปพบแพทย์เพือ่ รับการตรวจวินจิ ฉัยเมือ่ เกิด ความผิดปกติ 3. หลีกเลี่ยงการใช้ยาชนิดต่างๆ ที่ มีผลต่อสมอง รวมทั้งสารเสพติดและเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ เพราะการดื่มแอลกอฮอล์มากๆ อาจท�ำให้เกิดโรคสมองเสื่อมหรือโรคอัลไซเมอร์ได้ 4. พยายามผ่อนคลายความเครียด หากปล่อยให้เครียดสะสมเป็นเวลานาน จะก่อให้ เกิดผลเสียทั้งต่อร่างกายและจิตใจ จึงควรหาทาง ผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ออก ก�ำลังกาย พบปะสังสรรค์กับเพื่อน ท�ำตัวให้ร่าเริง แจ่มใส พักผ่อนให้เพียงพอโดยเฉพาะการนอน หลับ เพราะเป็นการพักผ่อนสมองและร่างกายที่ ดีทสี่ ดุ โดยขณะทีเ่ รานอนหลับ ระบบประสาททุก ส่วนที่อยู่ใต้อ�ำนาจจิตใจจะได้รับการพักผ่อนอย่างเต็มที่ และระบบประสาทนอกอ�ำนาจจิตใจก็จะท�ำงาน น้อยลง 5. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยเฉพาะอาหารที่ให้วิตามินบี 1 สูง ได้แก่ อาหารจ�ำพวกข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ ถั่วลิสง เครื่องในสัตว์ และเมล็ดทานตะวัน เพราะวิตามินบี 1 จะช่วย 10
ให้ระบบประสาทบริเวณแขน ขา และศีรษะท�ำงานได้เป็นปกติ ช่วยป้องกันโรคเหน็บชาและป้องกันการเกิด อาการเมื่อยล้าทางด้านจิตใจ
2. ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อ เป็นอีกหนึ่งระบบที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในร่างกายโดยมี ต่อมไร้ท่อที่อยู่ในต�ำแหน่งต่างๆ ของร่างกายท�ำหน้าที่ผลิตสารเคมีที่เรียกว่า ฮอร์โมน ซึ่งมีหน้าที่เกี่ยว กับ กระบวนการเมแทบอลิซึม ในร่างกายออกมา หากฮอร์โมนที่ผลิตออกมานั้นมีปริมาณที่เหมาะสมกับ ร่างกาย จะส่งผลท�ำให้การท�ำงานของกระบวนการดังกล่าวเป็นไปได้ดว้ ยดี ในทางตรงกันข้ามหากปริมาณ ของฮอร์โมนทีผ่ ลิตออกมานัน้ มีมากหรือน้อยจนเกินไป ก็จะส่งผลท�ำให้เกิดความผิดปกติหรือเกิดโรคต่างๆ ขึ้นได้ 2.1 ความหมายและองค์ประกอบของระบบต่อมไร้ท่อ ระบบต่อมไร้ทอ่ คือ ระบบทีป่ ระกอบด้วยต่อมไร้ทอ่ ทีต่ งั้ อยูใ่ นต�ำแหน่งต่างๆ ของร่างกายซึง่ ต่อมดังกล่าวจะมีหน้าที่ผลิตฮอร์โมนซึ่งเป็นสารเคมีที่มีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัวที่กระตุ้นให้อวัยวะต่างๆ ในร่างกายที่ท�ำงานและมีการเจริญเติบโตได้ตามปกติ ต่อมไร้ท่อที่ส�ำคัญในร่างกาย ได้แก่ 1. ต่อมใต้สมองหรือต่อมพิทูอิทารี (pituitary gland) เป็นต่อมที่มีขนาดเล็ก รูปร่างกลม อยู่ใต้สมอง เป็นศูนย์ควบคุมใหญ่ของร่างกาย มีหน้าที่ส�ำคัญหลายอย่าง เช่น สร้างฮอร์โมนควบคุมการ เจริญเติบโตของร่างกายและกระดูก และสร้างฮอร์โมนที่ท�ำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น ท�ำให้การขับปัสสาวะ เป็นปกติ และการบีบตัวของมดลูกในเพศหญิงขณะคลอดบุตร นอกจากนี้ยังท�ำหน้าที่ควบคุมการท�ำงาน ของต่อมไร้ท่ออื่นๆ เช่น ต่อมไทรอยด์ ต่อมหมวกไต ต่อมพาราไทรอยด์ 2. ต่อมหมวกไต (adrenal gland) เป็นต่อมที่มีรูปร่างค่อนข้างแบนคล้ายหมวกครอบ อยู่ส่วนบนของไต แบ่งออกเป็น 2 ชั้น ชั้นในจะสร้างฮอร์โมนอะดรีนาลิน ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนสารที่หลั่ง จากปลายประสาทอัตโนมัติ โดยจะกระตุน้ ร่างกายทุกส่วนให้เตรียมพร้อมในการท�ำงานตามหน้าที่ กระตุน้ ให้หลอดเลือดทั่วไปหดตัวและท�ำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น ส่วนชั้นนอกสร้างฮอร์โมนควบคุมการเผาผลาญ อาหาร ตลอดจนฮอร์โมนควบคุมการดูดซึมเกลือที่ไต 3. ต่อมไทรอย (thyroid gland) เป็นต่อมที่มีลักษณะเป็นพู 2 พูเชื่อมต่อกัน เป็นต่อมที่ อยูต่ ดิ กับกล่องเสียงและหลอดลม ต่อมนีจ้ ะมีขนาดโตขึน้ ตามอายุ เพศ และภาวะโภชนาการท�ำหน้าทีห่ ลัง่ ฮอร์โมนที่เรียกว่า ไทรอกซิน ซึ่งมีความส�ำคัญต่อการควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายให้ด�ำเนินไปได้ อย่างปกติ 4. ต่อมพาราไทรอยด์ (parathyroid gland) เป็นต่อมขนาดเล็ก มี 2 คู่อยู่ติดกับต่อม ไทรอยด์ ท�ำหน้าที่สร้างฮอร์โมนพาราไทรอยต์ ฮอร์โมนที่ท�ำหน้าที่ควบคุมปริมาณของแคลเซียมในเลือด และรักษาความเป็นกรดเป็นด่างในร่างกายให้อยู่ในระดับเหมาะสม 5. ต่อมทีอ่ ยูใ่ นตับอ่อน (islets of langerhans) เป็นต่อมทีส่ ร้างฮอร์โมนอินซูลนิ ซึง่ มีหน้า 11
ที่ควบคุมปริมาณน�้ำตาลของร่างกาย ถ้าขาดฮอร์โมนชนิดนี้จะท�ำให้เป็นโรคเบาหวาน เพราะไม่สามารถ เปลี่ยนน�้ำตาลในเลือดให้เป็นไกลโคเจนไปเก็บไว้ในกล้ามเนื้อหรือในตับได้ 6. ต่อมเพศ ในเพศหญิง (gonads) คือ รังไข่ และในเพศชายคือ อัณฑะ โดยที่รังไข่จะท�ำ หน้าที่ผลิตไข่และสร้างฮอร์โมนเพศ คือ เอสโทรเจน (estrogen) กับโพรเจสเตอโรน (progesterone) ซึ่ง เป็นฮอร์โมนทีค่ วบคุมเกีย่ วลักษณะต่างๆ ของเพศหญิง เช่น เสียงเล็กแหลม สะโพกพาย การขยายใหญ่ของ อวัยวะเพศและเต้านม ส่วนอัณฑะจะท�ำหน้าทีส่ ร้างตัวอสุจแิ ละสร้างฮอร์โมนเพศชาย คือ เทสโทสเตอโรน (testosterone) เพื่อควบคุมลักษณะต่างๆ ของเพศชาย เช่นเสียงห้าว ลูกเดือกแหลม มีขนขึ้นบริเวณหน้า แข้ง รักแร้ และตามอวัยวะเพศ 7. ต่อมไทมัส (thymus gland) เป็นต่อมที่มีรูปร่างคล้ายพีระมิดแบนทางข้าง มี 2 กลีบ ขนาดและรูปร่างแตกต่างกันไปตามอายุ มีขนาดใหญ่ในทารกแรกเกิด และจะค่อยๆ เล็กลงเมื่อเข้าสู่วัย ผู้ใหญ่ โดยต่อมนี้จะท�ำหน้าที่ควบคุมการท�ำงานของระบบคุ้มกันของร่างกาย
ภาพแสดงต�ำแหน่งของต่อมต่างๆ ที่มา :http://www.emc.maricopa.edu/faculty/farabee/biobk/biobookendocr.html
2.2 ความส�ำคัญของระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น ต่อมไร้ทอ่ ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุน่ ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ต่อมใต้สมอง หรือต่อมพิทูออทารี ต่อมหมวกไต ต่อมไทรอยด์ และต่อมเพศ ซึ่งต่อมไร้ท่อแต่ละต่อมจะส่งผลการเจริญ เติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น ดังนี้ 12
1. ต่อมใต้สมองหรือต่อมพิทูอิทารี เป็นต่อมไร้ท่อที่มีความส�ำคัญที่สุดในร่างกาย เพราะ ฮอร์โมนที่ต่อมนี้ผลิตจะมีคุณสมบัติพิเศษในการเป็นผู้ควบคุมการสร้างฮอร์โมนของต่อมไร้ท่ออื่นๆ ใน ร่างกาย ฮอร์โมนส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเพศของวัยรุ่น ได้แก่ ฮอร์โมน กระตุ้นการเจริญเติบโต และฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโตของต่อมเพศ อิทธิพลของต่อมใต้สมองทีเ่ ห็นได้ชดั เจนมากทีส่ ดุ ในวัยรุน่ พบว่า ถ้าต่อมนีผ้ ลิตฮอร์โมนกระตุน้ การเจริญเติบโตมากเกินไป จะส่งผลให้วัยรุ่นมีร่างกายที่ใหญ่โตผิดปกติ และในทางตรงกันข้าม ถ้าต่อมนี้ ผลิตฮอร์โมนดังกล่าวมาน้อยเกินไป ก็จะส่งผลให้วัยรุ่นมีร่างกายที่เตี้ยหรือแคระแกร็นได้ ซึ่งการมีรูปร่าง ผิดสัดส่วนทั้งสองลักษณะนี้จะท�ำให้วัยรุ่นเกิดความรู้สึกว่าเป็นปมด้อย และส่งผลท�ำให้สุขภาพจิตมีความ บกพร่องได้
2. ต่อมหมวกไต เป็นต่อมไร้ท่อที่ผลิตฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของร่างกาย และฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางเพศ ฮอร์โมนที่ส�ำคัญ ได้แก่ 1. กลูโคคาร์ติคอยด์ ฮอร์โมน เป็นฮอร์โมนที่ท�ำหน้าที่ควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึม พลังงานและสารอาหารในร่างกาย 2. มิเนราโลคอร์ติคอยด์ ฮอร์โมน เป็นฮอร์โมนที่ท�ำหน้าในการสร้างความสมดุลของน�้ำ และแร่ธาตุในร่างกาย 3. ฮอร์โมนเพศ ปกติต่อมหมวกไตจะผลิตฮอร์โมนเพศออกมาเพียงเล็กน้อย เมื่อเปรียบ เทียบกับฮอร์โมนทีอ่ วัยวะสืบพันธุไ์ ด้ผลิตออกมา ฮอร์โมนเพศทีต่ อ่ มหมวกไตผลิตออกมาทีส่ ำ� คัญเช่น แอน โดรเจน เอสโทรเจน และโพรเจสเทอโรน แต่ถ้าหากต่อมหมวกไตมีความผิดปกติ ผลิตฮอร์โมนเพศออกมา 13
มากเกินไป จะท�ำให้เกิดความผิดปกติทางเพศขึ้นได้ ในเด็กชายจะพบว่ามีพัฒนาทางเพศที่เร็วขึ้น มีขนขึ้น ตามร่างกายมากกว่าปกติ ส่วนในเพศหญิงจะมีลกั ษณะค่อนไปทางเพศชาย โดยจะมีหนวดเคราปรากฏขึน้ 3. ต่อมไทรอยด์ เป็นต่อมไร้ท่อที่ผลิตฮอร์โมนไทรอกซิน ซึ่งมีอิทธิพลในการควบคุมการใช้ พลังงานและการเผาผลาญอาหาร ถ้าต่อมนี้ท�ำงานผิดปกติจะส่งผลท�ำให้ร่างกายแคระแกร็น ตัวเตี้ย และ มีสติปัญญาต�่ำ ส�ำหรับในเพศหญิงระหว่างมีประจ�ำเดือนและในระยะตัง้ ครรภ์ ต่อมนีจ้ ะขยายตัวขึน้ เล็กน้อย ซึง่ ไม่ถอื ว่าเป็นความผิดปกติ แต่ถา้ ต่อมนีท้ ำ� งานผิดปกติโดยผลิตฮอร์โมนได้นอ้ ยกว่าทีร่ า่ งกายต้องการ จะ ส่งผลให้ต่อมนี้ขยายโตขึ้นกลายเป็นโรคคอพอก
4. ต่อมเพศ ต่อมนีจ้ ะควบคุมและกระตุน้ ให้มกี ารเจริญเติบโตและพัฒนาคุณลักษณะความ เป็นชายและเป็นหญิงให้เห็นได้อย่างชัดเจน และมีหน้าที่ส�ำคัญ 2 ประการ คือ 1. สร้างเซลล์สืบพันธุ์ในเพศชายจะโดยสร้างตัวอสุจิและในเพศหญิงจะสร้างไข่ เพื่อ ประโยชน์ต่อการรักษาและด�ำรงเผ่าพันธุ์ต่อไป 2. สร้างฮอร์โมนต่างๆ เพื่อควบคุมและกระตุ้นให้ร่างกายเจริญเติบโตและพัฒนาการ ทางเพศเป็นปกติ ฮอร์โมนเพศชาย คือ เทสโทสเตอโรน ซึ่งท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเพศชายในช่วง วัยรุ่นขึ้น เช่น มีเสียงห้าว มีหนวดเครา มีกล้ามเนื้อเป็นมัด มีขนขึ้นตามแขน ขา รักแร้ อวัยวะเพศ และมี ความรู้สึกทางเพศ เป็นต้น ส่วนฮอร์โมนในเพศหญิง คือ เอสโตรเจน และโปรเจสเตอโรน ซึ่งท�ำให้เกิดการ เปลีย่ นแปลงทีแ่ สดงถึงลักษณะของเพศหญิงเมือ่ เข้าสูช่ ว่ งวัยรุน่ เช่น เสียงแหลม ผิวพรรณเปล่งปลัง่ เต้านม เจริญเติบโต สะโพกผาย มีขนบริเวณรักแร้และอวัยวะเพศ มีประจ�ำเดือน และมีความรู้สึกทางเพศ เป็นต้น 14
2.3 การบ�ำรุงรักษาระบบต่อมไร้ท่อให้ท�ำงานได้อย่างปกติ มีแนวทางการปฏิบัติดังนี้ เพือ่ ให้ระบบต่อมไร้ทอ่ สามารถท�ำงานได้อย่างปกติ เราจึงควรบ�ำรุงรักษาระบบไร้ทอ่ โดยการ ปฏิบัติ ดังนี้ 1. เลื อ กรั บ ประทานอาหารที่ มี ประโยชน์ต่อร่างกาย โดยกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ให้ความส�ำคัญกับการกินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับ ไปกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ ซึ่งถ้าเป็น ไปได้ ควรกินข้าวกล้อง หรือข้าวซ้อมมือ ควรกิน พืช ผักให้มาก และกินผลไม้เป็นประจ�ำ กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจ�ำ ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย ซึ่งวัยนี้สามารถดื่มได้ วันละ 1-2 แก้ว กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร นอกจากนี้ ค วรหลี ก เลี่ ย งการกิ น อาหารรสจั ด และเค็มจัด เลือกกินอาหารที่สะอาดปราศจาก การปนเปื้อน ที่ส�ำคัญต้องงดหรือลดเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ 2. ออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอและให้เหมาะสมกับวัย โดยเด็กและวัยรุ่นให้ออกก�ำลังกาย วันละ 60 นาทีทุกวัน 3. พักผ่อนให้เพียงพอกับวัยสภาพร่างกาย ไม่ท�ำงานหนักจนเกินไป ทั้งนี้วัยรุ่นควรได้นอน หลับวันละประมาณ 8 – 10 ชั่วโมง เป็นเวลาติดต่อกันในช่วงกลางคืน 4. ท�ำจิตใจให้ร่างเริงแจ่มใสอยู่เสมอ หาวิธีการผ่อนคลายความเครียดด้วยการเล่นกีฬา ท�ำ กิจกรรมนันทนาการ เป็นต้น 5. เมื่อเกิดความผิดปกติต่อระบบต่อมไร้ท่อควรรีบไปพบแพทย์ในทันที เพื่อตรวจสุขภาพ และรักษาอย่างทันท่วงที
15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
วัยรุ่นกับการเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ตัวชี้วัด 1. วิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตทางร่างกายของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน 2. แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย
การวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาวะการเจริญเติบโต ทางร่างกายของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน
วัยรุ่นกับการเจริญเติบโต ตามเกณฑ์มาตรฐาน
แนวทางการพัฒนาตนเอง ให้เจริญเติบโตสมวัย
16
การเจริ ญ เติ บ โตและพั ฒ นาการของมนุ ษ ย์ คื อ การพั ฒ นาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในแต่ ล ะช่ ว งวั ย ต่ า งๆที่ มี กระบวนการต่อเนื่อง แบ่งเป็น วัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยชรา พระองค์อัลลอฮ์ได้ตรัสความว่า “แท้จริงเราได้บังเกิดพวกเจ้าจากดิน แล้วจากเชื้ออสุจิ แล้วจาก ก้อนเลือด แล้วจากก้อนเนื้อ ทั้งที่เป็นรูปร่างที่สมบูรณ์ และไม่เป็นรูปร่างที่สมบูรณ์ เพื่อเราจะได้ชี้แจง เคล็ดลับแห่งเดชานุภาพแก่พวกเจ้าและเราให้การตั้งครรภ์เป็นที่แน่นอนอยู่ในมดลูกตามที่ประสงค์ จนถึง เวลาทีก่ ำ� หนดไว้แล้วเราให้พวกเจ้าคลอดออกมาเป็นทารก แล้วเพือ่ พวกเจ้าจะได้บรรลุสวู่ ยั ฉกรรจ์ของพวก เจ้า และในหมู่พวกเจ้ามีผู้เสียชีวิตในวัยหนุ่ม และในหมู่พวกเจ้ามีผู้ถูกน�ำกลับสู่วัยต�่ำต้อย วัยชรา เพื่อเขา จะไม่รู้อะไรเลยหลังจากมีความรู้” (สูเราะฮฺอัลหัจญ์ อายะฮฺที่ 5) จากอายะฮฺอลั กุรอานดังกล่าวข้างต้น สามารถอธิบายได้วา่ ร่างกายของมนุษย์มกี ารพัฒนาและเจริญ เติบโตตามที่อัลลอฮ์ ได้ทรงก�ำหนดไว้ เริ่มจากสภาพที่อ่อนแอ ซึ่งหมายถึงวัยทารกและวัยเด็กเล็ก หลัง จากนั้นร่างกายก็จะมีการเจริญเติบโตและมีการเปลี่ยนแปลงของกระดูก กล้ามเนื้อ และอวัยวะส่วนอื่นๆ เป็นวัยหนุ่มและวัยผู้ใหญ่ที่มีความแข็งแรง หลังจากนั้นร่างกายของมนุษย์ก็จะกลับไปสู่ความอ่อนแออีก ครั้งหนึ่งในวัยชรา
1. การวิเคราะห์และเปรียบเทียบภาวะการเจริญเติบโตทางร่างกายของตนเองกับ เกณฑ์มาตรฐาน
วัยรุ่นจะเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตของร่างกายอย่างรวดเร็ว โดยที่เด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงจะ มีการเจริญเติบโตเข้าสู่วัยรุ่นเร็วช้าต่างกัน โดยที่เด็กผู้หญิงจะเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายก่อนเด็ก ผู้ชายประมาณ 2 ปี 1.1 ภาวะการเจริญเติบโตทางร่างกายของตนเอง 1. ขนาดและความสูง ในวัยเด็กทั้งเด็กผู้หญิงและเด็กผู้ชายจะมีความกว้างของไหล่และ สะโพกใกล้เคียงกัน แต่เมือ่ เข้าสูว่ ยั รุน่ ผูช้ ายจะมีอตั ราเร็วในการเจริญเติบโตของไหล่มากทีส่ ดุ ท�ำให้วยั รุน่ ผู้ชายจะมีไหล่กว้างกว่า ในขณะที่วัยรุ่นผู้หญิงมีอัตราการเจริญเติบโตของสะโพกมากกว่าผู้ชาย นอกจาก นี้การที่วัยนี้มีการเจริญเติบโตสูงใหญ่ได้รวดเร็ว โดยเฉพาะที่คอ แขน ขา มากกว่าที่ล�ำตัว จะท�ำให้วัยรุ่น รูส้ กึ ว่าตัวเองมีรปู ร่างเก้งก้างน่าร�ำคาญ และการเจริญเติบโตหรือการขยายขนาดของร่างกายในแต่ละส่วน อาจเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน หรือไม่เป็นไปตามขั้นตอน เช่น ร่างกายซีกซ้ายและซีกขวาเจริญเติบโตมีขนาดไม่ เท่ากันในระยะแรกๆ ซึ่งเป็นเหตุท�ำให้เด็กตกอยู่ในความวิตกกังวลสูงได้ จึงควรให้ความมั่นใจกับวัยนี้ 2. ไขมันและกล้ามเนือ้ เด็กผูช้ ายและเด็กผูห้ ญิงมีความหนาของไขมันทีส่ ะสมอยูใ่ ต้ผวิ หนัง ใกล้เคียงกัน จนกระทั่งอายุประมาณ 8 ปี จะเริ่มมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว วัยรุ่นชายจะมีก�ำลังของ กล้ามเนื้อมากกว่าวัยรุ่นผู้หญิง พละก�ำลังของกล้ามเนื้อจะแข็งแรงขึ้น หลังจากนั้นวัยรุ่นชายจะมีไขมันใต้ ผิวหนังบางลง พร้อมๆกับมีกล้ามเนือ้ เพิม่ มากขึน้ และแข็งแรงขึน้ ซึง่ จะท�ำให้วยั รุน่ ชายดูผอมลงโดยเฉพาะที่ ขา น่อง และแขน ส�ำหรับวัยรุน่ หญิงถึงแม้วา่ จะมีการเพิม่ ขึน้ ของกล้ามเนือ้ แต่ขณะเดียวกันจะมีการสะสม 17
ของไขมันใต้ผิวหนังเพิ่มขึ้นอีกโดยที่น�้ำหนักจะเพิ่มได้ถึงร้อยละ 25 ของน�้ำหนัก โดยเฉพาะไขมันที่สะสมที่ เต้านมและสะโพก ประมาณร้อยละ 50 ของวัยรุ่นหญิงจะรู้สึกไม่พอใจในรูปลักษณ์ของตน และมักคิดว่า ตัวเอง “อ้วน” เกินไป มีวัยรุ่นหลายคนที่พยายามลดน�้ำหนัก จนถึงขั้นที่มีรูปร่างผอมแห้ง 3. โครงสร้างใบหน้า ช่วงนี้ก ระดูก ของจมู ก จะโตขึ้ น ท� ำ ให้ ดั้ง จมู ก เป็ นสั นขึ้ น กระดู ก ขากรรไกรบนและขากรรไกรล่างเติบโตเร็วมากในระยะนี้ เช่นเดียวกับกล่องเสียง ล�ำคอ และกระดูกอัยลอยด์ ที่พบว่าในวัยรุ่นชายจะเจริญเติบโตเร็วกว่าวัยรุ่นหญิง เป็นเหตุให้วัยรุ่นชายเสียงแตก 4. การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน ทั้งฮอร์โมนการเติบโต (growth hormone) และ ฮอร์โมนจากต่อมธัยรอยด์มอี ทิ ธิพลต่อการเจริญเติบโต รวมทัง้ ฮอร์โมนทางเพศ นอกจากระดับฮอร์โมนจะ มีผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตทางร่างกาย และอวัยวะเพศในวัยรุ่นแล้ว ตัวของมันเองยังส่งผลถึงความ รู้สึกทางอารมณ์และจิตใจ วัยรุ่นที่จะผ่านช่วงวิกฤตนี้ได้ นอกจากจะต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพร่างกายที่ เปลี่ยนไปแล้ว ยังต้องเข้าใจและควบคุมอารมณ์ความรู้สึกที่พลุ่งพล่านขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงของระดับ ฮอร์โมนต่างๆ อีกด้วย โดยเฉพาะต่อมไขมันใต้ผิวหนัง และต่อมเหงื่อจะท�ำหน้าที่เพิ่มมากขึ้น เป็นสาเหตุ ท�ำให้เกิดปัญหาเรื่อง “สิว” และ “กลิ่นตัว” แต่เนื่องจากวัยนี้จะให้ความสนใจเกี่ยวกับร่างกายที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีความระแวดระวังตัวเองมาก จึงท�ำให้วัยรุ่นพยายามที่จะรักษา “สิว” อย่างเอาเป็นเอาตาย ทั้งๆ ที่ “สิว” จะเป็นปัญหาในช่วงวัยนี้แค่ระยะสั้นๆ เท่านั้น 5. การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะอื่นๆ วัยรุ่นหญิงมีการเจริญเติบโตของเต้านม ซึ่งเริ่มมีการ ขยายขนาดเมื่ออายุประมาณ 8-13 ปี และจะใช้เวลา 2-2 ปีครึ่ง จึงจะเจริญเติบโตเต็มที่ ในช่วงอายุ 11-13 ปี วัยรุ่นหญิงส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80) จะมีรูปร่างเป็นสาวเต็มตัว ดังนั้นในชั้นประถมตอนปลายหรือมัธยม ต้น จะเห็นว่าวัยรุ่นสาวจะมีรูปร่างสูงใหญ่เป็นสาวน้อยแรกรุ่น ในขณะที่พวกผู้ชายยังดูเป็นเด็กชายตัว เล็กๆ ทัง้ ๆ ทีเ่ ด็กผูห้ ญิงเคยตัวเล็กกว่าเด็กผูช้ ายมาตลอด ท�ำให้เด็กสับสนและเป็นกังวลกับสภาพร่างกายได้ การมีรอบเดือนครั้งแรก จะมีเมื่ออายุประมาณ 12-13 ปี การที่มีประจ�ำเดือนแสดงให้เห็นว่า มดลูกและ ช่องคลอดได้เจริญเติบโตเต็มที่ แต่ในระยะ 1-2 ปี แรกของการมีประจ�ำเดือน มักจะเป็นการมีประจ�ำเดือน โดยไม่มีไข่ตก รอบเดือนในช่วงปีแรกจะมาไม่สม�่ำเสมอ หรือขาดหายไปได้ และเมื่อมีประจ�ำเดือนแล้ว พบ ว่าเด็กผูห้ ญิงยังสูงต่อไปอีกเล็กน้อยไปได้อกี ระยะหนึง่ และจะเติบโตเต็มทีเ่ มือ่ ประมาณอายุ 15-17 ปี การ มีรอบเดือนครั้งแรกอาจท�ำให้รู้สึกพอใจและภูมิใจที่เป็นผู้หญิงเต็มตัว หรืออาจจะรู้สึกในทางลบ คือ หวั่น ไหว หวาดหวั่นหรือตกใจได้เช่นกัน โดยทั่วไปการมีรอบเดือนครั้งแรกจะเพิ่มความใกล้ชิดระหว่างวัยรุ่น หญิงกับมารดาถ้าเคยไว้วางใจกันมาก่อน แต่วัยรุ่นหญิงบางคนจะปกปิดไม่กล้าบอกใคร เพราะเข้าใจไปว่า อวัยวะเพศฉีกขาด หรือเป็นแผลจากการส�ำรวจตัวของวัยรุ่นเอง ในช่วงนี้วัยรุ่นจะกังวลหมกมุ่นกับรูปร่าง หน้าตา และมักใช้เวลาอยู่หน้ากระจกนานๆ เพื่อส�ำรวจรูปร่าง ส่วนเว้าส่วนโค้งหรือใช้กระจกส่งดูบริเวณ อวัยวะเพศด้วยความอยากรู้ อยากเห็น ซึ่งก็ไม่ใช่พฤติกรรมที่ผิดปกติแต่อย่างใด ส�ำหรับวัยรุ่นชาย ซึ่งจะเริ่มมีการเจริญเติบโตของลูกอัณฑะ เมื่อเข้าสู่ช่วงอายุ 10-13 ปี ครึ่ง และจะใช้เวลานาน 2 - 4 ปี กว่าที่จะเติบโตและท�ำงานได้อย่างสมบูรณ์ ในขณะที่รูปร่างภายนอกจะมีการ เจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงช้ากว่าวัยรุ่นหญิง ประมาณ 2 ปี คือ ประมาณอายุ 12-14 ปี ในขณะที่เพื่อน 18
ผู้หญิงที่เคยตัวเล็กกว่า กลับเจริญเติบโตแซงหน้า ท�ำให้วัยรุ่นชายมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับรูปร่าง ความ สูงได้มาก เมื่อเติบโตเข้าสู่วัยรุ่นตอนกลางช่วงวัย 14-16 ปี ลูกอัณฑะเจริญเติบโตและท�ำงานได้เต็มที่ จึง สามารถพบภาวะฝันเปียกได้ บางคนเข้าใจผิดคิดว่าฝันเปียกเกิดจากการส�ำเร็จความใคร่ดว้ ยตัวเอง หรือเป็น ความผิดอย่างแรง หรือท�ำให้สภาพจิตผิดปกติ หรือบางรายวิตกกังวลไปกับจินตนาการหรือความฝัน เพราะ บางครั้งจะเป็นความคิด ความฝันเกี่ยวข้องกับคนในเพศเดียวกัน ซึ่งก็ไม่ถือว่าเป็นเรื่องที่ผิดปกติอย่างใด 1.2 เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโต เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตของน�้ำหนักและส่วนสูง เป็นค่าที่ได้จากการรวบรวมข้อมูล น�ำ้ หนัก และความยาวหรือส่วนสูงจากเด็กทีม่ กี ารเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ โดยใช้จำ� นวนของเด็กในแต่ละ กลุ่มอายุ แต่ละเพศเป็นจ�ำนวนมาก โดยเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้นั้น จะมีด้วยกัน 2 รูปแบบ ดังนี้ 1. เกณฑ์มาตรฐานที่เป็นข้อมูลตัวเลข เป็นการแสดงข้อมูลออกมาเป็นตัวเลขว่าในกลุ่มอายุต่างๆ นั้นควรมีน�้ำหนักและความยาว หรือส่วนสูงอยู่ในระดับจึงเหมาะสม และระดับใดที่ไม่เหมาะสม 2. เกณฑ์มาตรฐานที่เป็นรูปกราฟการเจริญเติบโต เป็นการน�ำข้อมูลตัวเลขแสดงโดยกราฟ โดยจุดข้อมูลต่างๆ ลงบนกราฟแล้วเชือ่ มโยงข้อมูล แต่ละจุด เพื่อแสดงระดับของการเจริญเติบโตและแนวโน้มที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งไม่ว่าจะเกณฑ์มาตรฐานในรูปแบบของตัวเลขหรือกราฟก็ตาม พบว่าโดยทั่วไปนั้นนิยม ประเมินการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางด้านร่างกาย ดังนี้ 1) การประเมินน�้ำหนักตามเกณฑ์อายุ เป็นตัวชี้ว่าน�้ำหนักเหมาะสมกับอายุหรือไม่ ถ้า ร่างกายขาดอาหารหรือเจ็บป่วยจะมีผลกระทบต่อขนาดของร่างกาย ท�ำให้นำ�้ หนักลดลงและถ้าขาดอาหาร ระยะยาวจะท�ำให้ตัวผอมและเตี้ย ดังนั้นน�้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์อายุจะบ่งชี้ว่าร่างกายขาดสารอาหารโดย รวมและสามารถใช้ในการติดตามการเจริญเติบโตได้ 2) การประเมินส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ เป็นตัวชีภ้ าวะโภชนาการระยะยาวทีผ่ า่ นมาว่า ส่วน สูงเหมาะสมกับอายุหรือไม่ ถ้าร่างกายขาดสารอาหารแบบเรื้อรังเป็นระยะยาวนานจะมีผลกระทบต่อการ เจริญเติบโตทางโครงสร้างของร่างกายท�ำให้เตี้ย
19
กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเพศชาย อายุ 5-18 ปี
20
กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเพศหญิง อายุ 5-18 ปี
หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมินการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียนทีเ่ หมาะสม ควรใช้ดชั นีสว่ นสูงตามเกณฑ์อายุ น�ำ้ หนักตาม เกณฑ์ส่วนสูง ร่วมกับน�้ำหนักตามเกณฑ์อายุ ข้อมูล : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2543 เกณฑ์อ้างอิง น�้ำหนัก ส่วนสูง และเครื่องชี้วัดภาวะโภชนาการของ ประชาชนไทย อายุ 1 วัน – 19 ปี 21
กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเพศชาย อายุ 5-18 ปี
22
กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเพศหญิง อายุ 5-18 ปี
หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมินการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียนทีเ่ หมาะสม ควรใช้ดชั นีสว่ นสูงตามเกณฑ์อายุ น�ำ้ หนักตาม เกณฑ์ส่วนสูง ร่วมกับน�้ำหนักตามเกณฑ์อายุ ข้อมูล : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2543 เกณฑ์อ้างอิง น�้ำหนัก ส่วนสูง และเครื่องชี้วัดภาวะโภชนาการของ ประชาชนไทย อายุ 1 วัน – 19 ปี 23
3. น�้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง เป็นตัวชี้ว่าน�้ำหักเหมาะสมกับส่วนสูงหรือไม่ ถ้าร่างกายขาด สารอาหารระยะสั้นในปัจจุบันหรือเกิดเจ็บป่วยร่างกายจะผอม น�้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงจะมีค่าน้อยกว่า ปกติ
BMI = น�้ำหนักตัว (กิโลกรัม) ส่วนสูง (เมตร)2
เกณฑ์เปรียบเทียบ ค่าค�ำนวณที่ได้ ความหมาย น้อยกว่า 18.5 ผอม 18.5 – 24.9 ปกติ 25.0 – 29.9 น�้ำหนักเกิน 30.0 – 39.9 อ้วน มากกว่า 40 อันตราย
วิธีการใช้ให้วัดส่วนสูงเป็น ซม. น�้ำหนักเป็น กก. ดูช่องส่วนสูงว่าสูงเท่าใดไล่ตัวเลขไปทางขวาจนพบน�้ำ หนักที่ใกล้เคียงน�้ำหนักที่วัดได้มากที่สุดให้ดูช่องเดียวกันแถวบนสุด จะได้ค่า BMI ตารางในการหาค่าดัชนีมวลกาย [BMI] ส�ำหรับผู้ที่มีส่วนสูง 140-180 ซม ดัชนีมวลกาย ส่วนสูง (ซม.) 140 141 142 143 144 145 146 147 148 149 150 151
24
20
21
22
23
39.20 39.76 40.33 40.90 41.47 42.05 42.63 43.22 43.81 44.40 45.00 45.60
41.16 41.75 42.34 42.94 43.55 44.15 44.76 45.38 46.00 46.62 47.25 47.88
43.12 43.74 44.36 44.99 45.62 46.26 46.90 47.54 48.19 48.84 49.50 50.16
45.08 45.73 46.38 47.03 47.69 48.36 49.03 49.70 50.38 51.06 51.75 52.44
24 น�้ำหนัก 47.04 47.71 48.39 49.08 49.77 50.46 51.16 51.86 52.57 53.28 54.00 54.74
25
26
27
28
29
29.5
49.00 49.70 50.41 51.12 51.84 52.56 53.29 54.02 54.76 55.50 56.25 57.00
50.96 51.69 52.43 53.17 53.91 54.67 55.42 56.18 56.95 57.72 58.50 59.28
52.92 53.68 54.44 55.21 55.99 56.77 57.55 58.34 59.14 59.94 60.75 61.56
54.88 55.67 56.46 57.26 58.06 58.87 59.68 60.51 61.33 62.16 63.00 63.84
56.84 57.65 58.48 59.30 60.13 60.97 61.82 62.67 63.52 64.38 65.25 66.12
57.82 58.65 59.48 60.32 61.17 62.02 62.88 63.75 64.62 65.49 66.38 67.26
ดัชนีมวลกาย ส่วนสูง (ซม.) 152 153 154 155 156 157 158 159 160 161 162 163 164 165 166 167 168 169 170 171 172 173 174 175 176 177 178 179 180
20
21
22
23
46.21 46.82 47.43 48.05 48.67 49.30 49.93 50.56 51.20 51.84 52.49 53.14 53.79 54.45 55.11 55.78 56.45 57.12 57.80 58.48 59.17 59.86 60.55 61.25 61.95 62.66 63.37 64.08 64.80
48.52 49.16 49.80 50.45 51.11 51.76 52.42 53.09 53.76 54.43 55.11 55.79 56.48 57.17 57.87 58.57 59.27 59.98 60.69 61.41 62.13 62.85 63.58 64.031 65.05 65.79 66.54 67.29 68.04
50.83 51.50 52.18 52.86 53.54 54.23 54.92 55.62 56.32 57.03 57.74 58.45 59.17 59.90 60.62 61.36 62.09 62.83 63.58 64.33 65.08 65.84 66.61 67.38 68.15 68.92 69.70 70.49 71.28
53.14 53.84 54.55 55.26 55.97 56.69 57.42 58.15 58.88 59.62 60.36 61.11 61.86 62.62 63.38 64.14 64.92 65.69 66.47 67.25 68.04 68.84 69.63 70.44 71.24 72.06 72.87 73.69 74.52
24 น�้ำหนัก 55.45 56.18 56.92 57.66 58.41 59.16 59.90 60.07 61.44 62.21 62.99 63.77 64.55 65.34 66.13 66.93 67.74 68.55 69.36 70.18 71.00 71.83 72.66 73.50 74.34 75.19 76.04 76.90 77.76
25
26
27
28
29
29.5
57.76 58.52 59.29 60.06 60.84 61.62 62.41 63.20 64.00 64.80 65.61 66.42 67.24 68.06 68.89 69.72 70.56 71.40 72.25 73.10 73.96 74.82 75.69 76.56 77.44 78.32 79.21 80.10 81.00
60.07 60.86 61.66 62.47 63.27 64.09 64.91 65.73 66.56 67.39 68.23 69.08 69.93 70.79 71.65 72.51 73.38 74.26 75.14 76.03 76.92 77.82 78.72 79.63 80.54 81.46 82.38 83.31 84.24
62.38 63.20 64.03 64.87 65.71 66.55 67.40 68.26 69.12 69.99 70.86 71.74 72.62 73.51 74.40 75.30 76.20 77.11 78.03 78.95 79.88 80.81 81.57 82.69 83.64 84.59 85.55 86.51 87.48
64.69 65.55 66.40 67.27 68.14 69.02 69.90 70.79 71.68 72.58. 73.48 74.39 75.31 76.23 77.16 78.09 79.03 79.97 80.92 81.87 82.84 83.80 84.77 85.75 86.73 87.72 88.72 89.71 90.72
67.00 67.89 68.78 69.67 70.57 71.48 72.40 73.31 74.24 75.17 76.11 77.05 78.00 78.95 79.91 80.88 81.85 82.83 83.81 84.80 85.79 86.79 87.80 88.81 89.83 90.85 91.88 92.92 93.96
68.16 69.06 69.96 70.87 71.79 72.71 73.64 74.58 75.52 76.47 77.42 78.38 79.34 80.31 81.29 82.27 83.26 84.25 85.26 86.26 87.27 88.29 89.31 90.34 91.38 92.42 93.47 94.52 95.58
25
2. แนวทางการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย 2.1 ปัจจัยส�ำคัญที่มีผลต่อการเจริญเติบโต 1. กรรมพันธุ์ ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญที่สุดในการก�ำหนดความสูงของแต่ละคน ผู้ใดที่มีพ่อแม่ ตัวสูงก็มักจะสูงเหมือนพ่อแม่ 2. ภาวะโภชนาการ การได้รบั การปลูกฝังในการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมูแ่ ละสมดุล จนเป็นนิสยั ซึง่ ประกอบไปด้วยแป้ง ไขมัน เนือ้ สัตว์ไข่ ผักและผลไม้ จะช่วยให้การเจริญเติบโตของร่างกาย เป็นไปตามปกติ 3. การออกก�ำลังกาย นอกจากจะมีประโยชน์โดยตรงกับการพัฒนาของกระดูกและกล้าม เนื้อแล้ว การออกก�ำลังกายยังเป็นตัวช่วยส�ำคัญที่จะท�ำให้ร่างกายมีการเจริญเติบโตที่เป็นไปตามปกติโดย การออกก�ำลังกายที่พอเหมาะประมาณ 45 - 60 นาที/วัน ถือว่าเพียงพอแล้ว 4. สุขภาพร่างกาย การมีโรคประจ�ำตัว เช่น โรคหัวใจ โรคปอดเรื้อรัง โรคภูมิแพ้เรื้อรัง โรค ทางเดินอาหาร แพ้อาหารบางชนิดอย่างรุนแรง และภาวะเครียด จะมีผลโดยรวมต่อการเจริญเติบโตของ ร่างกาย 5. ฮอร์โมน ที่เป็นปัจจัยส�ำคัญต่อการเจริญเติบโตของคนมีหลายชนิด ได้แก่ ฮอร์โมนเจริญ เติบโต (Growth hormone) ฮอร์โมนไทรอยด์ (Thyroid hormone) ฮอร์โมนเพศ (Sex hormone) และ ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoid) 2.2 แนวทางการพัฒนาตนเองให้สมวัย กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขไห้ค�ำแนะน�ำเพื่อการเจริญเติบโตที่สมวัยไว้ ดังนี้ 1. รับประทานอาหารมื้อหลักให้ครบ 3 มื้อ และครบ 5 หมู่ในแต่ละวัน อาหารมื้อเช้าเป็น มื้อที่ส�ำคัญส�ำหรับเด็กวัยเรียน เพราะสมองต้องใช้พลังงานในการเรียนรู้ตลอดทั้งวัน นักเรียนจึงไม่ควรงด อาหารเช้า 2. ดื่มนมวันละ 1-2 แก้วเป็นประจ�ำ นมมีคุณค่าทางโภชนาการสูง คือมีโปรตีน แคลเซียม เพราะแคลเซียมในนมเป็นแคลเซียมที่มีคุณภาพ นมจึงช่วยให้นักเรียนมีรูปร่างเติบโต สูงใหญ่ และแข็งแรง 3. ออกก�ำลังกาย หรือเล่นกีฬาอย่างต่อเนือ่ งเป็นเวลาอย่างน้อย 20 นาที และอย่างสม�ำ่ เสมอ ไม่ตำ�่ กว่าสัปดาห์ละ 3 ครัง้ การออกก�ำลังกายจะท�ำให้รา่ งกายแข็งแรง ไม่เจ็บป่วยบ่อยและทีส่ ำ� คัญจะช่วย ให้ร่างกายสูงใหญ่
26
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
วัยรุ่นและพัฒนาการทางเพศ มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการด�ำเนินชีวิต ตัวชี้วัด 1. อธิบายวิธกี ารปรับตัวต่อการเปลีย่ นแปลงทางร่างกายจิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศ อย่างเหมาะสม
วัยรุ่นและการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
บทบาทหน้าที่ของมุสลิม
วัยรุ่นกับการเจริญเติบโต ตามเกณฑ์มาตรฐาน
พัฒนาการทางเพศของวัยรุ่นตามหลักอิสลาม
27
1. วัยรุ่นและการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น
วัยรุ่นคือใคร ค�ำว่า “วัยรุ่น” มีความหลากหลายขึ้นกับความแตกต่างของแต่ละขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม ตลอดจนความแตกต่างทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของวัยรุ่น ในแต่ละแห่ง อย่างไรก็ตาม องค์การอนามัยโลกได้ก�ำหนดความหมายกว้างๆ ของวัยรุ่นไว้ดังนี้ วัยรุ่น หมายถึง ช่วงอายุที่มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย ในลักษณะที่พร้อมจะมีเพศสัมพันธ์ได้ วัยรุ่น เป็นระยะที่มีการพัฒนาทางจิตใจมาจากความเป็นเด็ก ไปสู่ความเป็นผู้ใหญ่ วัยรุ่น เป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงจากสภาพที่ต้องพึ่งพาทางเศรษฐกิจไปสู่ภาวะที่ต้องรับผิด ชอบและพึ่งพาตนเอง วัยรุ่น จะครอบคลุมอายุโดยประมาณ คือ เด็กหญิง ระหว่างอายุ 10-20 ปี และเด็กชาย ระหว่าง อายุ 12-22 ปี ซึ่งสามารถแบ่งช่วงอายุของวัยรุ่นได้เป็น 3 ระยะ คือ วัยรุ่นตอนต้น เด็กผู้หญิงอยู่ในช่วงอายุ 10-14 ปี เด็กผู้ชายอยู่ในช่วงอายุ 12-16 ปี ในระยะนี้มี การเปลี่ยนแปลง คือ - มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายอย่างรวดเร็ว เช่น เด็กหญิงจะมีเต้านมใหญ่ขึ้น มีประจ�ำ เดือน มีการสร้างฮอร์โมนอีสโตรเจน และโปรเจสเตอโรน มีขนตามรักแร้และอวัยวะเพศภายนอก มีรูปร่าง สูงใหญ่ขึ้น - ค่อนข้างหลงตัวเอง (Narcissistic phase) - มีความเพ้อฝัน (Magical Thinking) - มีความเป็นอิสระ (Emancipation) แต่ยังต้องพึ่งพ่อแม่ ยังสนใจเพศเดียวกัน วัยรุ่นตอนกลาง เด็กผู้หญิงอยู่ในช่วง 14-18 ปี เด็กผู้ชายในช่วงอายุ 16-20 ปี ในระยะนี้มีการ เปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญคือ - เป็นระยะที่ดื้อรั้น โมโหง่าย มักจะมีความขัดแย้งกับพ่อแม่สูง - เพื่อนมีอิทธิพลสูง - เริ่มสนใจเพศตรงข้าม - การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายเริ่มสมบูรณ์เต็มที่ - เป็นระยะที่เริ่มทดลองเกี่ยวกับเพศ ซึ่งถ้าขาดความรู้และการป้องกันจะก่อให้เกิดปัญหา ตั้งครรภ์ที่ไม่พึงปรารถนา หรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รวมทั้งโรคเอดส์ได้ - ยังคงมีความคิดเพ้อฝัน วัยรุ่นตอนปลาย เด็กผู้หญิงอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 18-20 ปี เด็กผู้ชายอยู่ในช่วง 20-22 ปี เป็น ระยะที่เจริญเติบโตเข้าสู่วัยผู้ใหญ่เต็มที่ ดังนั้นระยะนี้จึงมีลักษณะ - รู้จักบทบาทของเพศตนเองเต็มที่ - มีความเป็นอิสระเต็มที่ในการด�ำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ - ค่อนข้างยอมรับการให้ค�ำแนะน�ำได้ง่ายกว่าวัยต้นๆ - ให้ความสนใจต่อค�ำแนะน�ำต่างๆ รวมทั้งเรื่องการป้องกันปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ เหมาะสม 28
วัยรุ่นเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่วุฒิภาวะทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม จึงนับว่าเป็น วิกฤติช่วงหนึ่งของชีวิต เนื่องจากเป็นช่วงต่อของวัยเด็กและวัยผู้ใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะต้นของ วัยจะมีการเปลี่ยนแปลงมากมายเกิดขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะมีผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างวัย รุ่นด้วยกันเอง และบุคคลรอบข้าง หากกระบวนการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นไปอย่างเหมาะสม โดยการ ดูแลเอาใจใส่ใกล้ชิด จะช่วยให้วัยรุ่นสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสมบรรเทาปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิด ขึ้น และเป็นทั้งแรงผลักดันและแรงกระตุ้นให้พัฒนาการด้านอื่นๆ เป็นไปด้วยดี 1.1 การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายของวัยรุ่น การเปลีย่ นแปลงทางร่างกาย (physical changes) ร่างกายจะเติบโตขึน้ อย่างรวดเร็ว แขน ขาจะยาวขึ้นก่อนจะเห็นการเปลี่ยนแปลงอื่นประมาณ 2 ปี เพศหญิงจะมีไขมันมากกว่าชายที่มีกล้ามเนื้อ มากกว่า ท�ำให้เพศชายแข็งแรงกว่า น�้ำหนักและส่วนสูง จะมีอัตราเพิ่มสูงสุด เด็กหญิงจะมีน�้ำหนักเพิ่มถึงปีละ 4-5 กิโลกรัม เด็กชายเพิ่มปีละ 5-7 กิโลกรัม ความสูงมีอัตราเพิ่มสูงสุดเช่นกัน โดยเด็กหญิงจะสูงปีละ 6-7 เซนติเมตร เด็กชายสูงปีละ 7-9 เซนติเมตร การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบต่างๆ ของร่างกาย ได้แก่ กล้ามเนื้อและกระดูกแขนขา มี อัตราเพิ่มสูงสุดเช่นกัน มีการเพิ่มปริมาณของโปแตสเซียมในร่างกาย ปริมาณน�้ำในเซลล์ ขนาดของปอด หัวใจ ปริมาณของเม็ดเลือด และฮีโมโกลบิน การเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์และการเกิดลักษณะเพศ มีล�ำดับดังนี้ ในเด็กหญิง มีการเจริญเติบโตของเต้านม เริ่มอายุ 9-11 ปี ขนที่หัวหน่าว เริ่มอายุ 11-12 ปี น�้ำเมือกจากช่องคลอดเปลี่ยนฤทธิ์จากด่างเป็นกรด เริ่มอายุ 11-12 ปี ขนรักแร้ เริ่มอายุ 12-14 ปี ประจ�ำเดือนครั้งแรก เริ่มอายุประมาณ 12 ปี การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการทางด้านร่างกายของวัยรุ่นหญิง การเจริญเติบโตและ พัฒนาการของวัยรุ่นหญิง จะเกิดขึ้นระหว่างอายุ 11 - 13 ปี จะเร็วกว่าวัยรุ่นชายประมาณ 1 – 2 ปี ใน ช่วงวัยรุ่นตอนต้น ร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และจะลดอัตราการเจริญเติบโตเมื่อเข้าสู่ระยะวัย รุ่นตอนกลาง ความสูงมักจะคงที่ตั้งแต่ช่วงวัยรุ่นตอนกลาง ร่างกายของเด็กหญิงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นจะมีการ เปลี่ยนแปลงดังนี้ 1. รูปร่างสูงขึ้น น�้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ลักษณะของร่างกายภายนอกดูคล้ายกับผู้ใหญ่มากขึ้น เนื้อจะนิ่มไม่แข็งเหมือนผู้ชาย 2. มีหน้าอกขยายใหญ่ เอวคอด สะโพกผายออกหรือใหญ่ขนึ้ ใบหน้าและผิวพรรณเปล่งปลัง่ 3. มีน�้ำเสียงและท่าทางอ่อนหวาน เสียงจะเล็กแหลม แต่บางคนก็อาจเสียงห้าว 4. ผมเริ่มดกหนาเป็นมัน 29
5. มีไขมันมาพอกตามไหล่ อก แขน ขา และสะโพก ท�ำให้รูปร่างสมส่วน 6. มีขนขึ้นบริเวณอวัยวะเพศและหัวหน่าว และบริเวณรักแร้ 7. อาจมีสิวขึ้นบริเวณใบหน้า 8. อวัยวะเพศโตขึ้น และมีความรู้สึกทางเพศแบบผู้หญิงทั่วไป 9. ส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงภายในนั้นต่อมเพศจะหลั่งฮอร์โมน ออกมากระตุ้นให้รังไข่ตกไข่ ออกมาเดือนละ 1 ฟอง สลับข้างซ้ายและข้างขวา รังไข่เจริญเติบโตเต็มที่ช่วงมีระดูหรือประจ�ำเดือน ในเด็กผู้ชาย มีการเพิ่มของขนาดลูกอัณฑะและถุงอัณฑะ เริ่มอายุ 10-12 ปี ต่อมลูกหมากเริ่มท�ำงาน เริ่มอายุ 11-12 ปี นมแตกพาน เริ่มอายุ 13-14 ปี มีขนที่หัวหน่าวและรักแร้ เริ่มอายุ 14-16 ปี เสียงห้าว เริ่มอายุ 14-16 ปี ตัวอสุจิโตเต็มที่ เริ่มอายุ 14-16 ปี การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการทางด้านร่างกายของวัยรุ่นชาย จะเกิดขึ้นระหว่างอายุ 11 - 13 ปี ในช่วงวัยรุ่นตอนต้นร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และจะลดอัตราการเจริญเติบโตเมื่อ เข้าระยะวัยรุน่ ตอนกลาง ในช่วงวัยรุน่ ตอนปลายอัตราความสูงแทบจะไม่เพิม่ เด็กชายจะโตช้ากว่าเด็กหญิง ร่างกายของเด็กชายเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นจะมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ 1. รูปร่างสูงขึน้ น�ำ้ หนักตัวเพิม่ ขึน้ แขนขายาวเก้งก้าง ไหล่กว้าง กล้ามเนือ้ เป็นมัด กระดูก และกล้ามเนื้อแข็งแรงสามารถใช้พละก�ำลังท�ำงานได้ดี 2. ริมฝีปากหนา คางใหญ่ หน้าผากกว้าง ลูกกระเดือกโตเห็นชัดเจน 3. เสียงแตก (เสียงแหบห้าว) 4. เต้านมอาจโตและเจ็บ (นมแตกพาน) 5. มีหนวดเครา ขนขึ้นตามแขน ขา หน้าแข้ง หน้าอก รักแร้ และบริเวณอวัยวะเพศ 6. อวัยวะเพศโตขึ้นและแข็งตัวเมื่อมีความรู้สึกทางเพศหรือถูกสัมผัส 7. บางคนอาจมีสิวขึ้นบริเวณใบหน้า หน้าอกหรือหลัง 8. มีความรู้สึกทางเพศแบบผู้ชายทั่วไป 9. ส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงภายในนั้นต่อมเพศจะหลั่งฮอร์โมนออกมา ท�ำให้มี การสร้างตัว อสุจิหรือเซลล์สืบพันธุ์ขึ้น มีน�้ำอสุจิและมีการหลั่งน�้ำอสุจิ 1.2 การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและอารมณ์ วัยนีจ้ ะมีพฒ ั นาการทางสติปญ ั ญาทีส่ งู ขึน้ มีความคิดแบบรูปธรรม ซึง่ หมายถึงความสามารถ ในการเรียนรู้ เข้าใจเหตุการณ์ต่างๆ ได้ลึกซึ้ง มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์สิ่งต่างๆ ได้มากขึ้นตามล�ำดับจนพ้นวัยรุ่นแล้วจะมีความสามารถทางสติปัญญาเหมือนผู้ใหญ่ แต่ช่วงวัยรุ่นจะขาด ความยั้งคิด มีความหุนหันพลันแล่น ขาดความไตร่ตรองให้รอบคอบ 30
วัยรุน่ มักมีจติ ใจและอารมณ์เปลีย่ น ไปจากวัยเด็กมาก มีความรูส้ กึ นึกคิดเกีย่ วกับเรือ่ ง เพศหรือเพศตรงข้ามมากขึน้ ชอบความเป็นอิสระ มีความภาคภูมิใจในความเป็นชายและเป็น หญิง ของตนเอง มีจิตใจพร้อมที่จะท�ำงานให้กับสังคม มากขึน้ มักมีอารมณ์รนุ แรง แสดงความรูส้ กึ ชอบ ไม่ชอบ พอใจ ไม่พอใจ รัก เกลียดได้ชัดเจนและ รุนแรงขึ้น จิตใจและอารมณ์จะแปรเปลี่ยนเร็ว อยากได้หรือท�ำอะไรจะต้องได้เร็ว หรือท�ำอย่างไม่ชกั ช้า คือมักจะใจร้อน ซึง่ เรามักเรียกว่า “วัยรุน่ ใจร้อน” ความคิดเกี่ยวกับตนเอง (Self Awareness) วัยนี้จะเริ่มมีความสามารถในการรับรู้ตนเอง ด้านต่างๆ ดังนี้ 1) เอกลักษณ์ (identity) วัยรุ่นจะ เรื่องอารมณ์ อิสลามได้ให้ข้อเตือน เริม่ แสดงออกถึงสิง่ ตนเองชอบ สิง่ ทีต่ นเองถนัด ซึง่ จะ แสดงถึงความเป็นตัวตนของเขาทีโ่ ดดเด่น ได้แก่ วิชา ที่ไม่ให้ปล่อยไปตามอารมณ์จนเกินไป ทีเ่ ขาชอบเรียน กีฬาทีช่ อบเล่น งานอดิเรก การใช้เวลา ดังที่ปรากฏในสูเราะฮศอด อายะฮที่ 26 ความว่า ว่างให้เกิดความเพลิดเพลิน กลุม่ เพือ่ นทีช่ อบและสนิท “และท่านอย่าได้ปฏิบัติตามอารมณ์ สนมด้วย โดยเขาจะเลือกคบคนทีม่ สี ว่ นคล้ายคลึงกัน ใฝ่ต�่ำ มันจะท�ำให้ท่านหลงไป หรือเข้ากันได้ และจะเกิดการเรียนรูแ้ ละถ่ายทอดแบบ จากทางของอัลลอฮ์” อย่างจากกลุ่มเพื่อนนี้เอง ทั้งแนวคิด ค่านิยม ระบบ จริยธรรม การแสดงออกและการแก้ปญ ั หาในชีวติ จน สิ่งเหล่านี้กลายเป็นเอกลักษณ์ของตน และกลายเป็น บุคลิกภาพนั่นเอง สิ่งที่แสดงถึงเอกลักษณ์ตนเองยังมีอีกหลายด้าน ได้แก่ เอกลักษณ์ทางเพศ แฟชั่น ดารา นักร้อง การแต่งกาย ทางความเชื่อในศาสนา อาชีพ คติประจ�ำใจ เป้าหมายในการด�ำเนิน 2) ภาพลักษณ์ของตนเอง (self image) คือการมองภาพของตนเอง ในด้านต่างๆ ได้แก่ หน้าตา รูปร่าง ความสวยความหล่อ ความพิการ ข้อดีขอ้ ด้อยทางร่างกายของตนเอง วัยรุน่ จะสนใจหรือให้ เวลาเกี่ยวกับรูปร่าง ผิวพรรณมากกว่าวัยอื่นๆ ถ้าตัวมีข้อด้อยกว่าคนอื่นก็จะเกิดความอับอาย 3) การได้รบั การยอมรับจากผูอ้ นื่ (acceptance) วัยนีต้ อ้ งการการยอมรับจากกลุม่ เพือ่ น อย่างมาก การได้รับการยอมรับจะช่วยให้เกิดความ รู้สึกมั่นคง ปลอดภัย เห็นคุณค่าของตนเอง มั่นใจ ตนเอง วัยนี้จึงมักอยากเด่นอยากดัง อยากให้มีคนรู้ จักมากๆ 4) ความภาคภูมิใจตนเอง (self esteem) เกิดจากการที่ตนเองเป็นที่ยอมรับของเพื่อน และคนอื่นๆ ได้ รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า เป็นคนดีและ 31
มีประโยชน์แก่ผู้อื่นได้ ท�ำอะไรได้ส�ำเร็จ 5) ความเป็นตัวของตัวเอง (independent) วัยนี้จะรักอิสระ เสรีภาพ ไม่ค่อยชอบอยู่ใน กฎเกณฑ์กติกาใดๆ ชอบคิดเอง ท�ำเอง พึ่งตัวเอง เชื่อความคิดตนเอง มีปฏิกิริยาตอบโต้ผู้ใหญ่ที่บีบบังคับ สูง ความอยากรู้อยากเห็นอยากลองจะมีสูงสุดในวัยนี้ อาจจะท�ำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงได้ง่ายถ้าวัยรุ่น ขาดการยั้งคิดที่ดี การได้ท�ำอะไรด้วยตนเอง และท�ำได้ส�ำเร็จจะช่วยให้วัยรุ่นมีความมั่นใจในตนเอง (self confidence) 6) การควบคุมตนเอง (self control) วัยนี้จะเรียนรู้ที่จะควบคุมความคิด การรู้จักยั้งคิด การคิดให้เป็นระบบ เพื่อให้สามารถใช้ความคิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อารมณ์ (mood) อารมณ์จะปัน่ ป่วน เปลีย่ นแปลงง่าย หงุดหงิดง่าย เครียดง่าย โกรธง่าย อาจเกิดอารมณ์ซึมเศร้าโดยไม่มีสาเหตุได้ง่าย อารมณ์ที่ไม่ดีเหล่านี้อาจท�ำให้เกิดพฤติกรรมเกเร ก้าวร้าว มีผลต่อการเรียนและการด�ำเนินชีวิต ในวัยรุ่นตอนต้น การควบคุมอารมณ์ยังไม่ค่อยดีนัก บางครั้งยังท�ำ อะไรตามอารมณ์ตัวเองอยู่บ้าง แต่จะค่อยๆดีขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น อารมณ์เพศวัยนี้จะมีมาก ท�ำให้มีความ สนใจเรื่องทางเพศหรือมีพฤติกรรมทางเพศ เช่น การส�ำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องปกติ ในวัยนี้ แต่พฤติกรรมบางอย่างอาจเป็นปัญหา เช่น เบี่ยงเบนทางเพศ กามวิปริต หรือการมีเพศสัมพันธ์ ในวัยรุ่น จริยธรรม (moral development) วัยนีจ้ ะมีความคิดเชิงอุดมคติสงู (idealism) เพราะเขา จะแยกแยะความผิดชอบชั่วดีได้แล้ว มีระบบมโนธรรมของตนเอง ต้องการให้เกิดความถูกต้อง ความชอบ ธรรมในสังคม ชอบช่วยเหลือผู้อื่น ต้องการเป็นคนดี เป็น ทีช่ นื่ ชอบของคนอืน่ และจะรูส้ กึ อึดอัดคับข้องใจกับความ ไม่ถกู ต้องในสังคม หรือในบ้าน แม้แต่พอ่ แม่ของตนเองเขา ก็เริ่มรู้สึกว่าไม่ได้ดีสมบูรณ์แบบเหมือนเมื่อก่อนอีกต่อไป แล้ว บางครั้งเขาจะแสดงออก วิพากษ์วิจารณ์พ่อแม่หรือ ครูอาจารย์ตรงๆ อย่างรุนแรง การต่อต้าน ประท้วงจึงเกิด ได้บอ่ ยในวัยนีเ้ มือ่ วัยรุน่ เห็นการกระท�ำทีไ่ ม่ถกู ต้อง หรือมี การเอาเปรียบ เบียดเบียน ความไม่เสมอภาคกัน ในวัยรุน่ ตอนต้นการควบคุมตนเองอาจยังไม่ดีนัก แต่เมื่อพ้นวัยรุ่นนี้ไป การควบคุมตนเองจะดีขึ้น จนเป็นระบบ จริยธรรมที่สมบูรณ์เหมือนผู้ใหญ่
2. พัฒนาการทางเพศของวัยรุ่นตามหลักอิสลาม
พัฒนาการของมนุษย์ซึ่งได้มีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน รวมถึงรูปร่างและการเปลี่ยนแปลงของตัวอ่อน ในระยะต่างๆ แล้ว ยังมีข้อมูลในเรื่องอื่นๆ อีกด้วย อย่างเช่น เรื่องของโครโมโซมซึ่งเป็นตัวชี้วัดว่าเด็กคน นั้นจะเป็นเพศหญิงหรือเพศชาย ซึ่งเราทราบดีว่าโครโมโซมจากเพศชายเป็นตัวแปรหลักในเรื่องเพศ เพศ หญิงมีโครโมโซมเป็น (XX) และเพศชายเป็น (XY) และถ้าไม่เพราะ “Y“ จากเพศชายเด็กคนนั้นก็จะเป็น เด็กผู้หญิง 32
ในอัลกุรอานได้มีการกล่าวถึงพัฒนาการของมนุษย์ไว้ความว่า “เขามิได้เป็น นุฏฟะฮ์ ที่ออกมา ดอกหรือ แล้วเขาได้เคยเป็นอะละเกาะฮ์ แล้วพระองค์ทรงบังเกิดแล้วก็ทรงท�ำให้ได้สัดส่วนสมบูรณ์ แล้ว พระองค์ทรงท�ำให้เขาเป็นคู่ เป็นเพศชายและเพศหญิง” (สูเราะฮอัลกิยามะฮ อายะฮที่ 37-39) การบรรลุศาสนภาวะเริม่ ตัง้ แต่เด็กได้บรรลุวยั เริม่ หนุม่ สาว (Puberty) เป็นระยะทีร่ า่ งกายเริม่ การ เจริญเติบโตทางเพศอย่างสมบูรณ์ทงั้ ในเด็กหญิงและเด็กชาย โดยถือการฝันเปียกหรือการหลัง่ น�ำ้ อสุจเิ ป็น ครั้งแรกส�ำหรับเด็กชาย และการมีประจ�ำเดือนหรือตั้งครรภ์ หรือดูการมีขนที่อวัยเพศ หรือการมีอายุครบ 15 ปี บริบูรณ์ ตามจันทรคติหรือประมาณ 14 ปี 6 เดือนครึ่งตามสุริยคติ เพราะเด็กทุกคนจะมีความรู้สึก ทางเพศเมื่อถึงวัยนี้ เด็กที่บรรลุนิติภาวะแล้วจะเรียกว่า “บาลิฆ” เด็กก่อนบรรลุศาสนภาวะเริ่มมีความคิดความอ่านแล้ว จะต้องฝึกให้เขาปฏิบัติตนตามกฎบัญญัติ ศาสนา ละทิ้งสิ่งที่ต้องห้าม และกระท�ำสิ่งที่ศาสนาบังคับทุกประการ อิบนุ มัสอูดกล่าวว่า “เมื่อเด็กบรรลุ สิบขวบความดีของเขาจะถูกบันทึก แต่ความชั่วจะไม่ถูกบันทึกจนกว่าจะฝัน(เปียก)” 2.1 การเบี่ยงเบนทางเพศและบทลงโทษในอิสลาม อิสลามได้ให้เกียรติกับเพศ และความเป็นธรรมชาติของเพศ การที่มนุษย์เกิดการเบี่ยงเบน ทางเพศโดยความตัง้ ใจนัน้ ถือว่าเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งห้ามและน่ารังเกียจ ผูช้ ายทีม่ พี ฤติกรรมเลียนแบบผูห้ ญิงด้าน มารยาท ค�ำพูด และอิรยิ าบถต่างๆ โดยตัง้ ใจจริงทีจ่ ะเป็นผูห้ ญิงให้ได้ ถือว่าเป็นการกระท�ำทีต่ อ้ งห้าม แต่ถา้ หากว่าเขาถูกก�ำเนิดมาให้มพี ฤติกรรมเช่นหญิง ไม่ถอื ว่าเป็นทีน่ า่ ต�ำหนิ แต่จำ� เป็นทีเขาต้องก�ำจัดพฤติกรรม ดังกล่าวให้หมดไปจากตัวเขา และผู้หญิงที่เลียนแบบพฤติกรรมผู้ชายด้านการแต่งตัว อิริยาบถต่างๆ เช่น การเดิน การพูดคุย การกินอาหาร ถือว่าเป็นที่ต้องห้ามเช่นกัน การเบี่ยงเบนทางเพศ จากชายเป็นหญิง หรือจากหญิงเป็นชาย เป็นการท�ำลายการสร้างของอัลลอฮ์ ที่พระองค์ทรงก�ำหนดมา อันเป็นการแสดงถึง ความไม่พอใจต่อการก�ำหนดของพระองค์ เพราะว่าหน้าที่ของมุสลิมคือ ต้องยอมรับ ต้องพอใจ ต้องขอบ คุณต่ออัลลอฮ์ และต้องอดทนต่อก�ำหนดการต่างๆ ของพระองค์ รายงานจากอิบนุ อับบาส กล่าวว่า “ท่านนบีได้สาปแช่งบรรดากะเทยที่เดิมเป็นชาย และ บรรดาชายเทียมทีเ่ ดิมเป็นหญิง โดยท่านได้กล่าวว่า พวกท่านจงไล่พวกเขาออกจากบ้านของพวกท่าน และ ท่านนบีได้ไล่นายคนหนึ่งออกไป และท่านอุมัรได้ไล่นายคนหนึ่งออกไป” (บันทึกโดยบุคอรีย์) จากอบูฮุรอยเราะฮ์รายงานว่า “ท่านนบี ได้มีผู้พากะเทยมาหาท่าน โดยที่เขาได้ย้อม มือและเท้าทั้งสองข้างของเขาด้วยใบเทียน ท่านนบีจึงกล่าวว่า นี่มันเกิดอะไรขึ้น มีผู้กล่าวขึ้นว่า โอ้ ท่านเราะสูลเขาเลียนแบบผู้หญิงครับ ท่านเราะสูลจึงสั่งให้เนรเทศเขาออกไปอยู่ทีนะเกี๊ยะอ์ เหล่า เศาะหาบะฮ์กล่าวว่า โอ้ท่านเราะสูล ให้พวกเราฆ่ามันหรือไม่ ท่านเราะสูลกล่าวว่า แท้จริงฉันถูกห้าม ไม่ให้ฆ่าบรรดาผู้ละหมาด” “อบูอสุ ามะฮ์กล่าวว่า นะเกีย๊ ะอ์เป็นชือ่ สถานที่ ทีห่ า่ งจากมะดีนะฮ์ ไม่ใช่บะเกีย๊ ะอ์” (บันทึก โดยอะบูดาวูด) บทลงโทษส�ำหรับพวกเบี่ยงเบนทางเพศ ความผิดส�ำหรับการเบี่ยงเบนทางเพศ กล่าวคือ การเลียนแบบเพศตรงข้ามเท่านั้น โทษคือ 33
การถูกสาปแช่งจากท่านเราะสูล และถูกเนรเทศออกจากบ้านเมืองโดยมีระยะทางสองคืน ส�ำหรับการ “ลีวาต” คือ เป็นการร่วมประเวณีทางทวารหนัก จะเป็นชายกับชายหรือชายกับหญิงนั้นจะเป็นสิ่งที่น่า เกลียดและวิปริตที่สุด “พวกท่านจะกระท�ำสิง่ ทีน่ า่ เกลียด ทีไ่ ม่มคี นใดในประชาชาติทงั้ หลายได้กระท�ำมันก่อนพวก ท่านกระนัน้ หรือ แท้จริงพวกท่านจะสมสูด่ ว้ ยกัน ด้วยตัณหาราคะอืน่ จากหญิง ยิง่ กว่านัน้ พวกท่านยังเป็น พวกที่ละเมิดขอบเขตอีกด้วย” (สูเราะฮอัลอะอรอฟ อายะฮที่ 80-81) อัลลอฮ์กล่าวถึงพวกลู๊ฏที่นิยมรักร่วมเพศว่า เป็นพวกจิตวิปริตที่ไม่เคยมีมาก่อน ดังนั้น การลงโทษจึงกระหน�่ำลงมาอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน โดยการพลิกแผ่นดิน และฝนหินจากนรกตกลงมาใส่ พวกเขา อิบนุตัยมียะฮ์กล่าวในหนังสือ “ฟัตวาไชยคุลิสลาม” มีใจความว่า “ที่ถูกต้องตามแนวปฏิบัติของเศาะหาบะฮ คือ ฆ่ามันทั้งคู่ คนที่อยู่บนและคนที่อยู่ล่าง จะ ผ่านการแต่งงานมาแล้วหรือไม่ก็ตาม เศาะหาบะฮไม่ขัดแย้งกันในการฆ่าพวกเขา และบางท่านเห็นว่า ให้ น�ำเขาขึ้นไปบนก�ำแพงที่สูงที่สุดของหมู่บ้าน แล้วโยนเขาลงมาและกระหน�่ำตามด้วยก้อนหิน” อัลมุฟฟัก อิบนุกุดามะฮ์กล่าวไว้มีใจความว่า “เพราะว่า การฆ่าพวกรักร่วมเพศเป็นมติเอก ฉันท์ของเศาะหาบะฮ แท้จริงพวกเขาลงมติให้ฆ่าพวกเขา และที่ขัดแย้งกันคือ วิธีการฆ่าพวกเขา” อิบนุรอญับกล่าวไว้มใี จความว่า ทีถ่ กู ต้องคือ การฆ่าพวกเขา เท่ากันไม่วา่ จะผ่านการแต่งงาน มาแล้วหรือไม่ก็ตาม เพราะค�ำกล่าวของอัลลอฮ์ที่ว่า “ดังนั้นเมื่อค�ำสั่งของเราได้มาถึง เราได้ให้ข้างบนของมันเป็นข้างล่าง และเราได้ให้ก้อนหิน แกร่งหล่นพรูลงมา” (สูเราะฮูด อายะฮที่ 82) อะหมัดมีทัศนะว่า บทลงโทษของการลีวาต คือการขว้าง จะแต่งงานแล้วหรือยังไม่แต่ง ก็ตาม และนี่เป็นค�ำพูดของมาลิก และคนอื่นๆ และเป็นหนึ่งในสองค�ำพูดของชาฟิอี ด้วยค�ำพูดของท่าน เราะสูลที่บันทึกโดยอิบนุอับบาสความว่า “ท่านเราะสูลได้กล่าว ความว่า ผู้ใดที่พวกท่านพบว่าเขา ได้กระท�ำเช่นพวกลู๊ฏ พวกท่านจงฆ่าคนกระท�ำและคนถูกกระท�ำ”
3. บทบาทหน้าที่ของมุสลิม
“มุสลิม” คือ ผู้ที่นับถืออิสลาม ซึ่งมีความหมายว่า ผู้นอบน้อมถ่อมตนเองโดยสิ้นเชิงต่อพระผู้ทรง สร้าง นั้นคือ อัลลอฮ์ และมุสลิมต้องเป็นผู้ที่ใฝ่สันติ เนื่องจากอิสลามมีความหมายว่า สันติภาพ บทบาทของมุสลิม คือ การท�ำหน้าที่เป็น “เคาะลีฟะตุลลอฮ์” บนหน้าแผ่นดิน โดยรับเอา แบบอย่างหรือแบบฉบับของท่านนบีมาปฏิบัติ เพื่อหวังในความโปรดปรานของอัลลอฮ์ ส่วนหน้าที่นั้น มุสลิมมีหน้าที่ที่จะต้องเคารพ สักการะ ภัคดี ต่ออัลลอฮ์ ดังอายะฮกุรอานความว่า 34
“และข้ามิได้สร้างญินและมนุษย์เพือ่ อืน่ ใดเว้นแต่เพือ่ เคารพภักดีตอ่ ข้า” (สูเราะฮอัซซาริยาต อายะฮที่ 56) ความรับผิดชอบ เรียกในภาษาอาหรับว่า “มัสอูลยี ะฮฺ” ความรับผิดชอบทีม่ าในรูปของหน้าที่ การงานนัน้ เรียกได้อกี ว่าเป็น “อะมานะฮฺ” คือสิง่ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้อยูใ่ นการพิทกั ษ์ ในการดูแลและใน การปฏิบัติให้ครบถ้วน ดังมีปรากฏในคัมภีร์อัลกุรฺอาน “แท้จริง ! อัลลอฮ์ทรงบัญชาสูเจ้าให้มอบคืนบรรดาของฝากแก่เจ้าของของมัน และเมือ่ สูเจ้า พิพากษาระหว่างมนุษย์ จงพิพากษาโดยยุติธรรม แท้จริง อัลลอฮ์ทรงแนะน�ำสูเจ้าโดยนัยนี้ ประเสริฐแท้ๆ แท้จริง ! อัลลอฮ์เป็นผู้ทรงได้ยินเสมอ ผู้ทรงเห็นเสมอ” (สูเราะฮอันนิสาอ อายะฮที่ 58) “บรรดาผู้ศรัทธาเอ๋ย ! จงอย่า ทรยศ (ในหน้าที่ของตน) ต่ออัลลอฮ์และเราะสูลนี้ และจงอย่า ทรยศต่อการมอบหมาย (ความรับผิดชอบ) ทัง้ หลายของสูเจ้า ทัง้ ๆ ทีส่ เู จ้ารูอ้ ยู”่ (สูเราะฮอัลอัมฟาล อายะฮ ที่ 27) เมือ่ เป็นเช่นนี้ ความรับผิดชอบทีเ่ กิดขึน้ เป็นแนวทางให้วางแผนงาน ท่านนบีมฮุ มั มัดกล่าว ว่า “จงเผยแพร่จากฉัน แม้จะเพียงโองการเดียวก็ตาม” (บันทึกโยอัลบุคอรีย์) ในอัลกุรฺอาน มีกล่าวว่า “และควรให้มีจากหมู่สูเจ้าซึ่งคณะหนึ่งเชิญชวนไปสู่ความดีและก�ำชับในเรื่องดีงาม ทั้งห้าม ปราบในเรื่องชั่วช้า เหล่านี้แหละ-พวกเขาเป็นผู้บรรลุความส�ำเร็จ” (สูเราะฮอาละอิมรอน อายะฮที่ 103) มุสลิมทุกคนจ�ำต้องเรียนรู้ศาสนาของตนพร้อมทั้งท�ำหน้าที่เผยแผ่ด้วย เพราะในศาสนา อิสลามไม่มีการเป็นพระสงฆ์ ผู้ใดอุทิศตนเพื่อแสวงและเสนอสันติภาพด้วยการประพฤติดี-ชอบ เว้นจาก สิ่งชั่วช้าลามกทั้งปวง ผู้นั้นก็เป็นแบบอย่างแก่สังคมเพราะคุณงามความดีนั่นเอง ข้อนี้เป็นที่ง่ายแก่มุสลิม ที่ยึดมั่นในการศรัทธาและการปฏิบัติเรื่องดีงามทั้งหลาย ในอัล-กุรฺอานก็ได้กล่าวความว่า “สูเจ้าเป็นหมู่ชนที่ดียิ่งที่ถูกอุบัติขึ้นส�ำหรับมนุษยชาติ สูเจ้าก�ำชับการดีและห้ามปรามการ ชั่ว ทั้งสูเจ้าศรัทธาในอัลลอฮ์” (สูเราะฮอาละอิมรอน อายะฮที่ 109) ลักษณะสิบประการของมุสลิมและมุสลิมะฮฺ ในศาสนาอิสลาม ผูห้ ญิงได้รบั การยกย่องให้มฐี านะเท่าเทียมชาย ทัง้ ในด้านศาสนาและสังคม เมื่อเราพิจารณาดูลักษณะทั้งสิบประการที่อัลลอฮ์ตรัสแก่ชายและหญิงมุสลิมจะเห็นได้ว่า ผู้มีลักษณะเช่น นี้คือหลักของสังคม ถ้ามีลักษณะเช่นนี้แล้วจะท�ำให้สังคมดีขึ้น ปัญหาสังคมลดน้อยลง ความสันติสุขจะ ปรากฏ คุณสมบัตินี้ได้มีกล่าวในอัลกุรอานความว่า “แท้จริง ! ชายผู้นอบน้อม และหญิงผู้นอบน้อม ชายผู้ศรัทธา และหญิงผู้ศรัทธา, ชายผู้ภักดี และหญิงผู้ภักดี, ชายผู้สัตย์จริง และหญิงผู้สัตย์จริง, ชายผู้อดทน และหญิงผู้อดทน, ชายผู้ถ่อมตัว และ 35
หญิงผู้ถ่อมตัว, ชายผู้บริจาคทาน และหญิงผู้บริจาคทาน, ชายผู้ถือศีลอดและหญิงผู้ถือศีลอด, ชายผู้รักษา ความบริสุทธิ์ของเขาทั้งหลาย (คือไม่ล่วงในกาม) และหญิงผู้รักษาเช่นกัน, ชายผู้ร�ำลึกถึงอัลลอฮ์มาก และ หญิงผู้ร�ำลึก (มาก) เช่นกัน อัลลอฮ์ได้ทรงเตรียมไว้ส�ำหรับเขาซึ่งการอภัยโทษและรางวัลอันใหญ่หลวง” (สูเราะฮฺอัลอะหซาบ อายะฮที่ 35) ภารกิจวัยรุ่นมุสลิมในสังคมไทย ภารกิจของวัยรุ่นในสังคมไทย มีภารกิจหลายอย่างด้วยกัน เช่น ขยันศึกษาอิสลาม ยืนหยัด ต่อสูก้ บั สภาพแวดล้อม อนุรกั ษ์บคุ ลิกภาพของมุสลิม รวมกลุม่ วัยรุน่ มุสลิมเพือ่ ท�ำ กิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อตนและสังคม ติดตามสถานการณ์ภายใน ประเทศ และต่าง ประเทศ และวางแผนสร้าง ครอบครัวมุสลิมที่มั่นคง การเรี ย นรู ้ อิ ส ลามเป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ส�ำหรับวัยรุ่นมุสลิม เพราะการที่วัยรุ่นมุสลิม ได้ เรี ย นรู ้ ห ลั ก การศาสนาที่ เ พี ย งพอนั้ น จะ สามารถป้องกันตนเองจากปัญหาต่างๆ ได้ เนื่องจากความรู้เป็นสิ่งที่จะช่วยป้องกันเราไม่ ให้หลงไปกับสภาพแวดล้อม กระแสสังคม รวม ทัง้ ปัญหาทีเ่ ราต้องเผชิญในสังคมภายนอก เราจะต้องเป็นผูท้ มี่ อี ดุ มการณ์อสิ ลาม มีหลักการ มีจดุ ยืนทีม่ นั่ คง พยายามท�ำให้สงั คมมองเราเป็นผูใ้ หญ่โดยการให้สงั คมพึง่ พาอาศัยเรา และรักษาบุคลิกภาพความเป็นมุสลิม ในทุกสถานการณ์ ซึง่ บุคลิกภาพมุสลิมก็คอื มีความนอบน้อมถ่อมตน พูดจาดี ต้องแสดงออกเพือ่ ให้สงั คมรู้ โดยการรวมกลุ่มวัยรุ่นมุสลิมเพื่อสร้างศักยภาพในการท�ำกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อตนและสังคม เช่น การ ชักชวนกันละหมาด ศึกษาอัลกุรอาน อัลหะดีษ การติดตามสถานการณ์ทั้งในและ ต่างประเทศ เพื่อให้วัย รุน่ มุสลิมเป็นคนทีท่ นั สมัยและรูท้ นั แผนการของศัตรูอสิ ลาม นอกจากนีว้ ยั รุน่ มุสลิมยังมีภารกิจทีส่ ำ� คัญอีก ประการหนึง่ คือ การวางแผนสร้างครอบครัวมุสลิมทีม่ นั่ คง โดยเริม่ ตัง้ แต่การวางแผนชีวติ ของตัวเอง ซึง่ จะ ท�ำให้มีความคิดเป็นผู้ใหญ่ การเลือกคู่ครอง การวางแผนอนาคตครอบครัว การอบรมลูก เป็นต้น บทบาทหน้าที่ต่อครอบครัว อิสลามถือว่าพ่อบ้านเป็นช้างเท้าหน้า และแม่บา้ นเป็นช้างเท้าหลังสามีเป็นผูป้ กครองอุปการะ ครอบครัว “ผู้ชายเป็นผู้ปกครองเลี้ยงดูผู้หญิง โดยที่อัลลอฮ์ได้ทรงโปรดปรานให้บางคนในหมู่พวก เขาเหนือกว่าอีกบางคน และโดยที่พวกเขาใช้จ่ายจากสมบัติของพวกเขา (เลี้ยงดูนาง)” (สูเราะฮอันนิสาอ อายะฮที่ 34) 36
ตามสามัญส�ำนึกของพ่อบ้าน และแม่บ้านหรือสามีภรรยาคือ ร่วมรับผิดชอบในการเลี้ยงดู ครอบครัวและดูแลการบ้านเรือน ศาสนาอิสลามถือว่าครอบครัวต้องมาก่อน เพราะฉะนัน้ ภรรยาจึงมีหน้า ที่รับผิดชอบในครอบครัว ในการดูแลบ้านเรือน ในสมัยนี้ ผู้หญิงออกไปท�ำงานนอกบ้านปล่อยให้สถาบัน ต่างๆ ท�ำหน้าที่เลี้ยงดูลูกแทน แทนที่จะได้ดื่มนมมารดากลับดื่มนมแป้ง แทนที่จะได้รู้จักความอบอุ่นจาก พ่อแม่กลับมีแต่ความว้าเหว่และกระด้าง ทารกสมัยใหม่ในประเทศตะวันตกหรือประเทศที่ก้าวหน้าทาง วัตถุนิยมมักจะเป็นเช่นนี้ ซึ่งอิสลามไม่สนับสนุน อัลกุรอฺ าน ได้กล่าวถึงหน้าทีข่ องพ่อแม่ไว้ตอนหนึง่ ความว่า “บรรดาผูศ้ รัทธาเอ๋ย ! จงช่วยตัว ของสูเจ้าและครอบครัวของสูเจ้าให้พ้นจากไฟนรก” (สูเราะฮอัตตะหรีม อายะฮที่ 6) โองการนี้กล่าวถึงพ่อบ้านให้ปกป้องตนเองและครอบครัวของตนให้พ้นจากไฟนรก ด้วยการ อยู่ในทางที่ดีงาม ไม่ใช่อยู่ในทางที่เสียหายอันน�ำไปสู่ความหายนะ อัลกุรอานได้กล่าวถึงแม่บ้านความว่า “และ(พวกเธอ) จงร�ำลึกถึง (โดยการอ่านและท่องจ�ำปฏิบตั ติ ามอัล-กุรอฺ าน) ซึง่ ได้ถกู อ่าน (โดย ท่านนบี) ในเหย้าเรือนของพวกเธอ-คือโองการทัง้ หลายของอัลลอฮ์และวิทยปัญญา แท้จริง อัลลอฮ์ทรง รอบรู้ที่ละเอียดอ่อน ทรงตระหนักเสมอ” (สูเราะฮอัลอะหซาบ อายะฮที่34) ครอบครัวที่ดีนั้นคือครอบครัวที่มีศาสนามีจริยธรรม และสิ่งเหล่านี้มาจากการอบรมสั่งสอน ของแม่ก่อนผู้อื่น เพราะแม่เป็นครูคนแรกของลูก นอกจากให้เรียนรู้เรื่องศาสนา แม่ยังต้องพยายามให้ลูก ได้เข้าใจวิทยาการต่างๆ ซึ่งเป็นวิชาที่มีประโยชน์ ด้วยความดีของพ่อแม่ อิสลามจึงก�ำชับให้ เราปฏิบัติดีต่อพ่อแม่ ดังที่ตรัสไว้ความว่า “และเรา ได้สั่งมนุษย์ให้ท�ำการดีต่อพ่อแม่ของเขา แม่ของเขา ได้อุ้มครรภ์เขาด้วย ความเหนื่อยยาก และได้คลอด เขาด้วยความเจ็บปวด” (สูเราะฮฺอลั อะฮกอฟ อายะฮฺ ที่ 15) “และพระผู้อภิบาลของเจ้าได้ทรงบัญชาว่า สูเจ้าจงอย่าเคารพภักดีผู้ใดนอกจากพระองค์ เท่านั้น และจงท�ำการดีต่อพ่อแม่ ถ้าผู้ใดในทั้งสองลุวัยชราอยู่กับสูเจ้า ดังนั้น! จงอย่ากล่าวแก่ทั้งสองว่า “อุฟ” (เช่น เฮ้ย-เออ-อือ) และจงอย่าตะเพิดทั้งสอง แต่จงพูดแก่ทั้งสองซึ่งถ้อยค�ำที่อ่อนโยนยิ่ง” (สูเราะฮฺ อัลอิสรออฺ อายะฮที่ 23) “และจงน้อมแก่ทงั้ สองซึง่ ปีกทัง้ สอง (หมายถึงความเข้มแข็ง) แห่งความถ่อมตนเนือ่ งจากความ เมตตา (คือให้ปฏิบัติต่อแม่ด้วยคารวะและมีความเอ็นดูเมตตา) และจงกล่าวว่า ข้าแต่พระผู้อภิบาลของฉัน! ได้ทรงโปรดเมตตาแก่ทั้งสองเช่นที่ทั้งสองได้เลี้ยงดูฉันเมื่อยังเล็ก” (สูเราะฮฺอัลอิสรออฺ อายะฮฺที่ 24) 37
ได้มีหะดีษเล่าโดยท่านหญิงอาอิชะฮฺว่า “มีผู้หญิงคนหนึ่งพาลูกสาวของนางมาหาฉันแล้วก็ ขออาหารจากฉัน แต่เวลานั้นฉันไม่มีอะไรเลยนอกจากลูกอินทผลัมลูกเดียว ฉันจึงให้ลูกอินทผลัมแก่นาง นางได้แบ่งออกเป็นสองซีกแบ่งให้ลูกของนาง ส่วนตัวนางเองไม่ได้กินอะไรแล้วก็จากไป หลังจากนั้นท่าน นบีมุฮัมมัดได้มา ฉันจึงเล่าเรื่องนี้ให้ท่านฟัง ท่านกล่าวว่า ผู้ใดก็ดีที่ได้ถูกทดลองให้ได้รับความล�ำบาก เนื่องด้วยลูกของคนนั้นเขาจะถูกกั้นออกจากไฟนรก” (บันทึกโดยอัลบุคอรีย์) ท่านมุอาวิยะฮฺ อิบนิ ญาฮิมะฮฺกล่าวความว่า “ท่านญาฮิมะฮฺมาหาท่านนบีมุฮัมมัดแล้วกล่าวว่า โอ้ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ฉันต้องการเป็น พลรบ และได้มาหาท่านเพื่อปรึกษาท่าน ท่านจึงถามว่า เจ้ามีแม่ไหม เขาตอบว่า มี ท่านจึงบอกว่า ดัง นั้นจงอยู่กับแม่เถิด เพราะสวนสวรรค์อยู่ใต้ฝ่าเท้าทั้งสองของนาง” (บันทึกโดย นะสาอีย์) จะเห็นได้ว่า ความรับผิดชอบที่บุคคลมีต่อมารดาของตนด้วยการรับใช้ปรนนิบัติท่านให้อยู่ดี กินดี มีความสุขนั้น เท่ากับผู้นั้นจะสะสมความดี เพราะการปฏิบัติเช่นนี้ได้ผลบุญ บทบาทหน้าที่ต่อสังคม สังคมของมุสลิมจึงเป็นสังคมสงเคราะห์ เพราะอ�ำนาจสิทธิข์ าดเป็นของอัลลอฮ์ พระบัญชา มาจากอัลลอฮ์ สิ่งใด เรื่องใดที่อัลลอฮ์ทรงสั่งให้ปฏิบัติ มุสลิมก็ต้องน้อมปฏิบัติโดยสิ้นเชิง และสิ่งใดที่ พระองค์ทรงห้ามให้ละเว้น มุสลิมก็หลีกห่างทัง้ กายและใจ สังคมของมุสลิมจึงเป็นสังคมทีม่ กี ารเคลือ่ นไหว อยู่เสมอ “และจงเคารพภักดีอัลลอฮ์ และจงอย่าตั้งภาคีใดๆ ต่อพระองค์ และจงปฏิบัติการดีต่อ พ่อแม่ และญาติสนิท และเด็กก�ำพร้า และผู้ขัดสน และเพื่อนบ้านใกล้ชิด และเพื่อนบ้านห่างไกล (แม้เป็น ศาสนิกอื่นและผู้แปลกหน้า) และเพื่อนร่วมข้าง (คือผู้ร่วมเดินทาง) และผู้เดินทาง และที่มือขวาของสูเจ้า ครอบครอง (หมายถึงบ่าวชายหญิง และแม้แต่สัตว์เลี้ยง) แท้จริง ! อัลลอฮ์มิทรงรักผู้โอหัง-ผู้คุยโว” (สู เราะฮอันนิสาอ อายะฮที่ 36) ท่านบะรออิ อิบนิ อาซิบ กล่าวว่า “ท่านนบีมุฮัมมัดได้สั่งแก่เราไว้ 7 ประการคือ : ท่าน สั่งให้เราเดินตามไปส่งศพ ให้ไปเยี่ยมคนป่วย ให้ตอบรับค�ำเชิญ ให้ช่วยเหลือคนที่ถูกข่มเหง ให้ปฏิบัติตาม สัญญาให้ครบ ให้ตอบสลาม ให้ขอพรเมื่อได้ยินใครจาม” (บันทึกโดยอัลบุคอรีย์) และอัลลอฮ์ได้กล่าว ความว่า “มนุษย์เอ๋ย-แท้จริง เราได้ให้ก�ำเนิดสูเจ้าจากเพศชายและเพศหญิง และได้ทรงท�ำให้สูเจ้า เป็นก๊ก-เป็นเหล่า เพื่อสูเจ้าจะได้รู้จักกัน แท้จริง ผู้มีเกียรติยิ่งในหมู่สูเจ้าตามทรรศนะของอัลลอฮ์นั้น คือผู้ อยู่ในหมู่สูเจ้าส�ำรวมตนจริง แท้จริง อัลลอฮ์เป็นผู้ทรงรอบรู้ ผู้ทรงตระหนักเสมอ” (สูเราะฮอัลหุญุรอต อายะฮที่ 18) 38
หน้าที่ของมุสลิมที่พึงมีต่อคนต่างศาสนิก หน้าที่ของมุสลิมที่พึงมีต่อคนต่างศาสนิกนั้นมีอยู่หลายข้อด้วยกันดังนี้ 1. มุสลิมนั้นมีหน้าที่ในการเรียกร้องเชิญชวนคนต่างศาสนิก ให้มาสู่หนทางของ อัลลอฮ์ โดยเมือ่ มีโอกาสเราจะต้องท�ำการอธิบายถึงศาสนาอิสลามทีแ่ ท้จริงให้กบั คนต่างศาสนิกในเรือ่ งทีเ่ ขาสงสัย หรือได้รบั รูม้ า ซึง่ วิธกี ารดังกล่าวนีจ้ ะเป็นรูปแบบการเผยแพร่ศาสนาทีด่ ที สี่ ดุ เนือ่ งจากเมือ่ เขาได้รบั ทราบ ข้อเท็จจริงเกีย่ วกับศาสนาอิสลามแล้ว เขาก็จะสามารถน�ำสิง่ เหล่านีไ้ ปบอกกล่าวแก่บรรดาเพือ่ นฝูงหรือคน ทีเ่ ขารูจ้ กั ต่อไป ซึง่ บุคคลเหล่านัน้ อาจจะเป็นชาวยิว คริสต์ รวมถึงผูท้ นี่ บั ถือพระเจ้าหลายองค์(มุชริกนี )ด้วย ดังที่ท่านนบีมุฮัมมัดได้กล่าวไว้ว่า “ใครก็ตามที่แนะน�ำบุคคลอื่นในเรื่องของความดีงาม เขาก็จะได้รับรางวัลตอบแทนเท่ากับผู้ ที่ได้ลงมือกระท�ำความดีนั้นๆ ด้วย” และท่านนบีได้กล่าวกับท่านอะลีว่า เมื่อท่านได้เดินทางไปถึงกะบะฮฺแล้ว ให้ท่านท�ำการ เรียกร้องเชิญชวนชาวยิวให้มาเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม และ “หากเป็นพระประสงค์ของพระองค์ อัลลอฮ์ ในการที่จะให้ทางน�ำแก่ผู้ใด โดยผ่านการเผยแผ่ของท่าน นั้นย่อมเป็นการดีกว่าที่ท่านจะรับ ฝูงอูฐพันธุ์ที่ดีที่สุด” และท่านนบียังได้กล่าวอีกว่า “บุคคลใดก็ตามที่เรียกร้องเชิญชวนผู้อื่นมาสู่หนทางที่ถูกต้อง เขาจะได้รับรางวัลเหมือนกับ ผู้ที่ได้ปฏิบัติตามสิ่งที่เขาได้แนะน�ำเอาไว้ โดยรางวัลของเขาจะไม่ถูกตัดทอนให้ลดน้อยลงเลยแม้แต่น้อย” ดังนั้นการเรียกร้องเชิญชวนผู้อื่นมาสู่หนทางของอิสลาม จึงเป็นการกระท�ำที่แสดงออกให้ เห็นถึงความบริสทุ ธิใ์ จทีเ่ รามีตอ่ พระองค์อลั ลอฮ์ ซึง่ จะเป็นแนวทางทีจ่ ะท�ำให้เราได้เข้าใกล้ตอ่ พระองค์ อัลลอฮ์ 2. มุสลิมนัน้ จะต้องไม่ตำ� หนิหรือว่าร้ายต่อคนต่างศาสนิก ไม่วา่ บุคคลดังกล่าวนัน้ จะอยูใ่ น ประเทศหรือนอกประเทศของมุสลิม หรือบุคคลดังกล่าวนัน้ จะอยูภ่ ายใต้หรือไม่ได้อยูภ่ ายใต้กฏหมายของ อิสลาม มุสลิมก็จะต้องไม่ตำ� หนิเขาทัง้ ในเรือ่ งของรูปร่าง ฐานะ หรือเกียรติยศของเขา และเราจะต้องมอบ สิทธิอันชอบธรรมให้แก่เขา ไม่ริดรอนหรือเอาเปรียบเขาในเรื่องของทรัพย์สิน ไม่ว่าจะโดยการลักขโมย หรือหลอกลวงเอาทรัพย์สินของเขามาโดยไม่ชอบธรรม และจะต้องไม่ท�ำร้ายร่างกายของเขา ทั้งด้วยการ ใช้กำ� ลังหรือเข่นฆ่าเขา เพราะผูท้ ไี่ ม่ได้นบั ถือศาสนาอิสลามนัน้ เขาได้รบั การคุม้ ครองตามกฎของชารีอะฮ์ 3. มุสลิมนัน้ สามารถทีจ่ ะท�ำการติดต่อหรือประสานงานกับคนต่างศาสนิกได้ ไม่วา่ จะเป็น รูปแบบของการค้าขาย การให้เช่า หรือการว่าจ้าง และอื่นๆ ซึ่งมีรายงานจากหะดีษที่เศาะฮีหว่า ท่าน นบีได้ซอื้ ของจากชาวกุฟฟาร ซึง่ เป็นผูท้ ที่ �ำการเคารพภักดีตอ่ รูปปัน้ และท่านนบีได้ซอื้ ของจากชาวยิว ด้วย ซึง่ นีแ้ สดงถึงหลักฐานของการติดต่อระหว่างชาวมุสลิมและคนต่างศาสนิก และครัน้ เมือ่ ท่านนบีได้ กลับไปสู่ความเมตตาของพระองค์อัลลอฮ์แล้ว โล่ห์ของท่านได้ถูกน�ำไปใช้ในการแลกเป็นเงินจากชาวยิว เพื่อที่จะน�ำเงินที่ได้มานั้น มาใช้ในการซื้ออาหารให้แก่คนในครอบครัวของท่านนบี 4. ส�ำหรับกรณีของการกล่าวค�ำทักทายนัน้ มุสลิมจะต้องไม่ให้สลามแก่คนต่างศาสนิกก่อน 39
แต่เราสามารถตอบรับค�ำกล่าวทักทายได้ ดังที่ท่านนบีได้กล่าวเอาไว้ว่า “ท่านอย่าเป็นผู้กล่าวให้สลามแก่ชาวยิวหรือชาวคริสต์ก่อน” และท่านนบีได้กล่าว ความว่า“ถ้าชาวคัมภีร์ได้ทักทายท่านด้วยค�ำว่า “อัสลามมุอะลัยกุม” ก็ให้ท่านจงกล่าวตอบ ว่า “วะอะลัยกุม” กล่าวคือ มุสลิมนั้นจะไม่ให้สลามแก่กาเฟรก่อน แต่ถ้าคนต่างศาสนิกไม่ว่าจะเป็น กาเฟร ยิว คริสต์ หรือใครก็ตาม ได้กล่าวสลามแก่เรา ก็ให้เราตอบกลับว่า วะอะลัยกุม ซึ่งเป็นแบบอย่างที่ท่าน นบีได้กล่าวเอาไว้ ส�ำหรับเรื่องสิทธิต่างๆ ที่มุสลิมพึงมีแต่คนต่างศาสนิกนั้น มีอยู่ด้วยกันหลายประการดังนี้ สิทธิของเพื่อนบ้าน มุสลิมนั้นจะต้องปฏิบัติอย่างดีต่อเพื่อนบ้านของเรา ต้องไม่ท�ำการรบกวนเพื่อนบ้าน และต้องให้ความช่วยเหลือแบ่งปัน หากเพื่อนบ้านนั้นเป็นผู้ที่ขัดสน จงมอบของขวัญให้กับเขา ให้ค�ำ แนะน�ำที่ดีแก่เขา เนื่องจากท่านนบีได้กล่าวถึงสิทธิของเพื่อนบ้านเอาไว้ “ท่านญิบรีล ได้กล่าวย�้ำแก่ฉันว่าให้ท�ำดีต่อเพื่อนบ้าน จนกระทั่งฉันคิดว่าเขาสามารถที่จะ เป็นผู้รับมรดกจากฉันได้” ซึ่งมีหะดีษที่เศาะฮีห รายงานสอดคล้องกันว่า แม้ว่าเพื่อนบ้านนั้นจะเป็นชาวกาเฟร เขาก็ มีสิทธิของเพื่อนบ้านที่เขาพึงจะได้รับจากชาวมุสลิม และถ้าหากชาวกาเฟรนั้นเป็นญาติของเราด้วย เขา ก็จะได้รับสิทธิถึง 2 สิทธิ์ด้วยกัน คือสิทธิของเพื่อนบ้านและสิทธิของญาติที่พึงจะได้รับจากเรา หนึง่ ในสิทธิของเพือ่ นบ้านทีค่ วรจะได้รบั คือ การได้รบั เงินช่วยเหลือ ถ้าหากเขาเป็นผูท้ ยี่ ากจน (ซึ่งเงินดังกล่าวนี้ไม่ใช่เงินซะกาต) ซึ่งพระองค์อัลลอฮ์ ได้ตรัสเอาไว้ว่า “อัลลอฮ์ มิได้ทรงห้ามพวกเจ้าเกี่ยวกับบรรดาผู้ที่มิได้ต่อต้านพวกเจ้าในเรื่องศาสนาและ พวกเขามิได้ขับไล่พวกเจ้าออกจากบ้านเรือนของพวกเจ้าในการที่พวกเจ้าจะท�ำความดีแก่พวกเขา และให้ ความยุติธรรมแก่พวกเขา แท้จริงอัลลอฮ์ทรงรักผู้มีความยุติธรรม” (สูเราะฮอัลมุมตะฮินะฮ อายะฮที่ 8) และมีหะดีษเศาะฮีห ทีบ่ นั ทึกโดยท่านหญิง อัสมา บิน อะบีบกั ร (ขอความโปรดปรานจากพระองค์อลั ลอฮ์ ทรงมีแด่ท่านด้วยเทอญ) ได้กล่าวความว่า “แม่ของเธอซึ่งเป็นชาวมุชรีก ได้มาหาเธอในช่วงที่มีการสงบศึกระหว่างท่านนบี และชาว มักกะฮฺ ซึ่งแม่ของเธอนั้นต้องการความช่วยเหลือ ท่านหญิงอัสมาจึงได้ถามท่านนบี เพื่อขออนุญาตจาก ท่านว่าเธอจะสามารถให้ความช่วยเหลือแด่แม่ของเธอได้หรือไม่ ซึง่ ท่านนบี ได้กล่าวตอบว่า “จงให้การ ดูแลช่วยเหลือแม่ของเธอเถิด” แต่สำ� หรับการเข้าร่วมงานในพิธกี ารต่างๆ ของคนต่างศาสนิกนัน้ ชาวมุสลิมจะต้องไม่เข้าไป ยุง่ เกีย่ ว ยกเว้นเป็นการแสดงความเสียใจต่อการจากไปของบุคคลซึง่ เป็นทีร่ กั ของท่านทีเ่ ป็นคนต่างศาสนิก ซึ่งการกระท�ำดังกล่าวนั้นไม่ถือเป็นความผิดแต่อย่างใด ซึ่งท่านสามารถที่จะกล่าวว่า “ขอพระองค์อัลลอฮ์ทรงโปรดประทานสิ่งที่ดีทดแทนให้แก่คุณ เนื่องจากการที่คุณสูญ เสียบุคคลอันเป็นที่รักไป” หรือการกล่าวถ้อยค�ำที่ดีๆ แต่คุณไม่ควรจะกล่าวว่า 40
“ขอให้พระองค์อลั ลอฮ์ทรงโปรดอภัยในความผิดบาปของเขา หรือขอความเมตตาพระองค์ จากพระองค์ทรงมีแด่เขา” ถ้าหากว่าผู้ตายนั้นเป็นชาวกาเฟร และเราต้องไม่ท�ำการละหมาดคนตายให้กับเขา แต่เรา สามารถทีจ่ ะท�ำการละหมาดและขอดุอาให้กบั ผูท้ ยี่ งั มีชวี ติ อยู่ เพือ่ ขอให้พระองค์อลั ลอฮ์โปรดประทาน ทางน�ำหรือขอให้พระองค์ทดแทนสิ่งที่ดีต่างๆ ให้กับเขาได้
41
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
การเห็นคุณค่าของชีวิต และการป้องกัน การถูกล่วงละเมิดทางเพศ มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการด�ำเนินชีวิต ตัวชี้วัด 1. แสดงทักษะการปฏิเสธเพื่อป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ
คุณค่าของชีวิตและครอบครัว
การเห็นคุณค่าของชีวิตและ การป้องกันการถูกล่วงละเมิดทางเพศ
การล่วงละเมิดทางเพศ
42
1. คุณค่าของชีวิตและครอบครัว
อัลลอฮ์ได้สร้างมนุษย์โดยมีรปู โฉมทีส่ วยงาม เพียบพร้อมด้วยสติปญ ั ญา และความนึกคิด ที่แตกต่างไปจากสัตว์ทั้งหลาย และยังได้ประทานปัจจัยยังชีพเพื่อเป็น สิ่งที่จะช่วยให้เขาประทังชีวิตบนหน้าแผ่น ให้เนียะมัต และเราะห์มัต มากมาย ซึ่งถือว่า อัลลอฮ์ทรงเมตตา กรุณาเสมอ และอัลลอฮ์ยังให้ บ่าวของพระองค์ดูแลและรักษาชีวิตของตน พระองค์อัลลอฮ์ได้ตรัสไว้ ความว่า “แท้จริงแล้วเราได้สร้างมนุษย์ขนึ้ ด้วยลักษณะทีด่ ยี งิ่ ” (สูเราะ ฮอัตตีน อายะฮที่ 4) “พระองค์คือผู้ทรงสร้างสิ่งต่างๆ ทั้งหมดบนแผ่นดินเพื่อพวก เจ้า” (สูเราะฮอัลบะเกาะเราะฮ อายะฮที่ 29) สิ่งเหล่านี้นับว่าเป็นเครื่องหมายแห่งเกียรติและมีคุณค่ายิ่งที่ พระองค์ได้มอบให้กับมนุษย์ ดังที่พระองค์ตรัสไว้ ความว่า “และแท้จริงแล้วเรามอบเกียรติให้แก่ลูกหลานอาดัม (คือเผ่าพันธุ์มนุษย์) เราได้บรรทุกพวก เขาทั้งทางบกและทางน�้ำ ได้ประทานปัจจัยที่ดีต่างๆ และได้ยกย่องให้เกียรติพวกเขาเหนือสิ่งที่เราได้สร้าง ขึ้นมา” (สูเราะฮอัลอิสรออฺ อายะฮที่ 70) ดังนั้นมนุษย์ต้องรู้จักคุณค่าของตัวเอง และต้องส�ำนึกอยู่เสมอว่า ตนเองเป็นผู้ที่ถูกสร้างขึ้น มาและยังได้รบั การประทานปัจจัยยังชีพอีกมากมายจากอัลลอฮ์ ควรทีม่ นุษย์จกั ใช้สงิ่ ต่างๆ เหล่านีเ้ พือ่ ด�ำรงชีวิตที่ดี ตรงกับข้ามชีวิตมนุษย์จะไม่มีคุณค่าใดๆ หากไม่ส�ำนึกตนว่าเป็นบ่าวของอัลลอฮ์ หรือ ด�ำเนินชีวิตด้วยหนทางที่ผิดๆ ประกอบแต่ความชั่ว ชีวิตเขาจะเป็นชีวิตที่น่าเหยียดหยาม เพราะกลายเป็น ผู้ที่เนรคุณและไม่รู้จักตนเอง คุณค่าของมนุษย์จะเกิดขึ้น ด้วยการรู้จักธาตุแท้ของตัวเองเป็นอันดับแรก รู้จักว่าตนนั้นมี ชีวิตอยู่ได้ด้วยความกรุณาของอัลลอฮ์ และการประกอบคุณงามความดี อัลลอฮ์ได้ตรัสไว้ความว่า “ผู้ใดอีกที่จะดีกว่าบุคคลผู้ซึ่งเชิญชวนสู่อัลลอฮ์ (คือร่วมกันเชิญชวนให้ผู้คนเคารพภักดีต่อ อัลลอฮ์ ด�ำเนินชีวิตตามหนทางของอัลลอฮ์) โดยเขาได้ปฏิบัติความดีงามและได้กล่าวว่า แท้จริงฉัน เป็นหนึ่งในบรรดมุสลิมผู้มอบตนต่ออัลลอฮ์” (สูเราะฮฟุศศิลัต อายะฮที่ 33) ครอบครัว นับเป็นแหล่งแรกและส�ำคัญที่สุดในการอบรมตักเตือน เป็นสถาบันหลักในการ อบรม เลี้ยงดู หล่อหลอมให้ลูกหลานสามารถออกมาด�ำเนินชีวิตในสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ ครอบครัว มิได้เป็นแค่แหล่งอบรมฟูมฟักมนุษย์เท่านั้น การที่จะให้การสร้างสถาบันครอบครัวประสบความส�ำเร็จ และสอดรับกับปรัชญาในการครองเรือน จ�ำเป็นต้องมีปฏิญญาหรือค�ำมั่นสัญญาของครอบครัว หรือต้อง มีธรรมนูญในการด�ำเนินชีวิตภายใต้สถาบันครอบครัว เพื่อให้เกิดครอบครัวที่เปี่ยมสุข ครอบครัวเปี่ยมสุข คือ ครอบครัวที่ได้เชื่อฟังอัลลอฮ์ และเป็นครอบครัวที่ปฏิบัติตาม สุนนะฮ์หรือแบบอย่างของท่านเราะสูลอย่างจริงจัง
43
การสร้างคุณค่าในตนเองตามแนวทางอิสลาม แท้จริงแล้วมนุษย์นั้น ไม่ได้เป็นมนุษย์ที่มีเกียรติที่ถูกคัดเลือกอันเนื่องจากพลังอ�ำนาจและ ความใหญ่โตของเขา หากเป็นเช่นนี้พวกโค กระบือ และเสือสิงห์ต่างๆ ย่อมแข็งแรงและใหญ่โตกว่า ด้วย เหตุนี้ร่างกายของบุรุษก็ไม่ใช่เครื่องมือที่ใช้วัดความประเสริฐของเขา และไม่ใช่เหตุแห่งความก้าวหน้าของ เขาแต่ประการใด ปริมาณและพละก�ำลังไม่ใช่ เรื่องส�ำคัญ รวมทั้งภาพลักษณ์ภายนอกที่ดูดี แต่ สิ่งที่ส�ำคัญก็คือหัวใจต่างหาก หากว่ามันดี เรือน ร่างทั้งหมดก็ดีด้วย หากว่ามันเสียหาย เรือนร่าง ทั้งหมดก็เสียหายด้วย อัลลอฮ์ได้ตรัสไว้ความ ว่า “วันทีท่ รัพย์สมบัตแิ ละลูกหลานจะ ไม่อ�ำนวยประโยชน์ได้เลย เว้นแต่ผู้มาหาอัลลอฮ์ ด้วยหัวใจที่บริสุทธิ์ผ่องใส” (สูเราะฮอัชชุอะรอฮ อายะฮที่ 88-89) ท่านนบีได้กล่าวเอาไว้ในหะดีษความว่า พึงทราบเถิด ในร่างกายมีก้อนเนื้ออยู่ก้อนหนึ่ง หากว่ามันดี ร่างกายจะดีไปด้วยทั้งหมด หากว่ามันเสียหาย ร่างกายทั้งหมดก็จะเสียหายไปด้วย มันคือ หัวใจ ดังนั้นจากที่จะสร้างคุณค่าของตนเองนั้นควรที่ต้องเน้นที่ใจก่อนเป็นส�ำคัญ นั้นคือ อีมาน (ความศรัทธา) และการตักวาของแต่ละคน ดังที่อัลลอฮ์ได้ตรัสไว้ว่า “แท้จริงผู้ที่มีเกียรติที่สุดในหมู่พวกเจ้า ณ อัลลอฮ์ คือผู้ที่ส�ำรวมตนต่ออัลลอฮ์มากที่สุด ในหมู่พวกเจ้า “ (สูเราะฮอัลหุญุรอต อายะฮที่ 3) แนวทางในการเสริมสร้างคุณค่าแก่ตนเองของมุสลิมควรที่จะประกอบด้วย 1) ย�ำเกรงอัลลอฮ์ ด้วยการยึดมั่นค�ำสอนของพระองค์ และปฏิบัติตามสุนนะฮ์ของท่าน เราะสูล และส�ำนึกอยู่ตลอดเวลาว่าอัลลอฮ์ทรงดูเราอยู่ มลาอิกะฮ์อยู่รอบข้างเรา ซัยฏอนศัตรูตัวฉกาจก�ำ ลงจะหลอกล่อเราอยู่ตลอดเวลาเช่นกัน การตักวาอยู่ตลอดเวลาจะท�ำให้เราเกิดความบริสุทธิใจ (อิคลาส) สู่การหลุดพ้นจากการตั้งภาคี และตักวาเป็นรากฐานแห่งความส�ำเร็จและเป็นปัจจัยหลักของการมีชีวิตที่ มีเกียรติ 2) อามัลอิสลามีย์ หมั่นละหมาดฟัรฎูห้าเวลา การละหมาดทุกครั้งต้องปฏิบัติด้วยหัวใจที่ อิคลาสและมีความส�ำรวม ขยันอ่านอัลกุรอานเป็นกิจวัตรประจ�ำวัน อ่านอัษการฺนะบะวียะฮฺทุกเช้าเย็น ษิกริ หลังละหมาด อ่านดุอาอ์ประจ�ำวันและปฏิบตั อิ ะมัลที่ อิสลามบัญญัตไิ ว้ อาทิ ละหมาด สุนตั ต่างๆ เช่น 3) แสวงหาความรู้ มุ่งมั่นในการเพิ่มพูนความรู้แก่ตนเอง เป็นผู้ใฝ่รู้ กระหายที่จะเรียนรู้ และแสวงหาความรู้ทั้งความรู้ที่เกี่ยวเนื่องกับการท�ำอีบาดะฮฺ หรือความรู้เฉพาะด้าน เช่นด้านเทคโนโลยี ให้เกิดความเชี่ยวชาญ เป็นเลิศ เพราะอัลลอฮ์เป็นผู้ที่ทรงรอบรู้ และรักบ่าวของพระองค์ที่มีความรู้ และท่านเราะสูลเองก็รักอุมมะฮ์ของท่านที่เป็นผู้ใฝ่รู้ 44
4) ภารดรภาพ การทอสาย สัมพันธ์ ความเป็นภราดรภาพในอิสลามจะวาง อยู่บนหลักการของความรักและให้ความช่วย เหลือ ท�ำความรู้จัก ถามไถ่ทุกข์สุขอย่างใกล้ ชิด ให้และรับสลามด้วยใบหน้าที่ยิ้มแย้ม ให้ เกียรติซงึ่ กันและกัน มอบความรักและเอ็นดูแก่ ผู้น้อย ให้เกียรติและเคารพต่อผู้อาวุโส มีกิริยา มารยาททีง่ ดงาม มีความเอือ้ อาทรและสามัคคี ปรองดอง ปกป้องซึง่ กันและกัน เยีย่ มเยียน ให้อภัยและขอดุอาทัง้ ต่อหน้าและลับหลัง จงห่างไกลจากนิสยั ที่ไม่ดีที่ท�ำให้สายสัมพันธ์ฉันท์พี่น้องต้องขาดสะบั้นลง พึงระวังพฤติกรรมที่น�ำไปสู่การแตกแยกและการ แบ่งพรรคแบ่งพวก นี่คือฐานแห่งการสร้างชีวิตที่เปี่ยมสุขของประชาชาตินี้ 5) เผยแผ่อิสลาม มนุษย์ทุกคนล้วนเป็นบ่าวของอัลลอฮ์ ลูกหลานของนบีอาดัมและ ประชาชาติของนบีมุฮัมมัด ดังนั้น จงพยายามเผยแผ่อิสลาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่บรรดาชนต่างศาสนิ กด้วยวิทยปัญญาอันลุ่มลึก ยึดมั่นกับหลักสายกลางที่ใฝ่สันติและวิทยปัญญาอันน�ำไปสู่ความเมตตา ความ สงบสุขและความเจริญแก่สากลจักรวาล หลีกห่างไกลจากแนวคิดสุดโต่งและ พฤติกรรมการใช้ความรุนแรง ที่ น�ำไปสู่ความเสียหายและความถดถอยล้าหลัง 6) บริหารเวลา ควรให้ความส�ำคัญของเวลา บริหารจัดการเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ กระชับ เปีย่ มด้วยสิรมิ งคล(บะเราะกะฮฺ) และมีความสมดุลในหน้าทีป่ ระจ�ำวันตามภารกิจทีก่ ำ� หนดไว้ อย่าให้เวลา ผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์ 7) ท�ำงานเป็นทีม เคารพเชื่อฟังผู้น�ำ ใส่ใจค�ำตักเตือน ยึดมั่นหลักการปรึกษาหารือ (ชูรอ) และหลักการท�ำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ (ญะมาอะฮฺ) ใช้ความวิริยะอุตสาหะ เสียสละเวลาและทรัพย์สิน รวมทั้งหมั่นดุอาเพื่อให้ตัวเอง ครอบครัว สังคม ประเทศชาติ และประชาชาติอยู่ในความสุขสงบ 8) ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง เนื่องจากความฟุ่มเฟือย เป็นนิสัยของมารร้ายซัยฏอน เป็นนิสัยที่ ส่งผลให้เกิดความอับจน และอาจท�ำให้เกิดการทรยศต่ออัลลอฮ์ในอนาคต
2. การล่วงละเมิดทางเพศ 2.1 ความหมายและลักษณะของพฤติกรรมการล่วงละเมิดทางเพศ การล่วงละเมิดทางเพศ หมายถึง การกระท�ำทางเพศตัง้ แต่การสัมผัสร่างกาย จนถึงขัน้ กระท�ำ ช�ำเรา เป็นการกระท�ำที่เกิดขึ้นโดยใช้ก�ำลัง ข่มขู่ บังคับ หลอกล่อ หรือใช้สิ่งชักชวนตอบแทน โดยบุคคลที่ อยู่ภายในครอบครัวหรือบุคคลที่ไม่ได้อยู่ในครอบครัวเดียวกัน โดยสามารถแบ่งการล่วงละเมิดตามความ รุนแรงและผลกระทบที่เกิดขึ้นได้แก่ 1. กรณีไม่รนุ แรงหรือการกระท�ำทางเพศทีไ่ ม่มกี ารสัมผัสร่างกาย ได้แก่ การเปลือยกายให้ดู อวัยวะเพศ แอบดูขณะอาบน�้ำ พูดลวนลาม พูดสองแง่สองง่าม โทรศัพท์ลามก หรือการให้ดูภาพวิดีโอ 45
ลามกเพื่อกระตุ้นอารมณ์ทางเพศ 2. กรณีที่รุนแรง เป็นการกระท�ำ ทางเพศที่ มี ก ารสั ม ผั ส ร่ า งกาย แบ่ ง เป็ น สอง ลักษณะ คือ 1). การกระท�ำทางเพศที่ยังไม่ ถึงขั้นล่วงล�้ำเข้าไปในอวัยวะเพศ เช่น การลูบคล�ำ อวั ย วะเพศหรื อ ร่ า งกายด้ ว ยมื อ หรื อ ปากเพื่ อ กระตุน้ อารมณ์ทางเพศ การให้จบั คล�ำอวัยวะเพศ หรือส�ำเร็จความใคร่ให้ผู้กระท�ำเป็นต้น 2). การกระท�ำทางเพศที่มีการล่วงล�้ำเข้าไปในอวัยวะเพศหรือทางทวารหนัก เช่น การ ข่มขืนการกระท�ำช�ำเรา หรือการกระท�ำอนาจารทางทวารหนัก เป็นต้น ซึง่ บางกรณีอาจมีการท�ำร้ายร่างกาย ด้วย 2.2 สาเหตุของการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศนับวันจะยิง่ ทวีความรุนแรงมากขึน้ หากแต่เดีย๋ วนีไ้ ม่ใช่แค่หญิง สาวเท่านัน้ แต่ยงั รวมไปถึงเด็กเล็กๆ ก็ถกู ล่วงเกินแล้ว และผูก้ ระท�ำก็ไม่ใช่ใครอืน่ แต่เป็นคนทีอ่ ยูร่ อบๆ ตัว ซ�้ำยังมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันอีกด้วย ซึ่งจากปรากฏการณ์ที่เกิดพบว่า ปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศมี สาเหตุมาจากครอบครัว จากสภาพของสังคม และจากตัวของผู้ที่ถูกละเมิดเองด้วย เช่น 1) การแต่งตัวที่ล่อแหลมให้เกิดการละเมิดทางเพศ เช่น การแต่งกายของสตรีโดยในกลุ่ม วัยรุ่นสมัยปัจจุบันที่นิยมสายเดี่ยว เกาะอก นุ่งน้อยห่มน้อย ใส่เสื้อผ้ารัดรูป ทาหรือใส่น�้ำหอม เป็นสาเหตุ ส�ำคัญของการเกิดอาชญากรรมรุนแรงทางเพศ 2) ไปอยู่ หรือเดินผ่านในสถานทีล่ บั คน หรือทีเ่ ปลีย่ ว ไม่มผี คู้ น ซึง่ อาจจะก่อให้เกิดการละเมิด ทางเพศได้ 3) การคบกับเพศตรงข้ามที่เลยขอบเขต มีการสัมผัสเนื้อต้องตัว การพูดจาที่เย้ายวน ออด อ้อน เป็นต้น สาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศในครอบครัวมากที่สุดคือมีลักษณะดังนี้ 1) เป็นครอบครัวที่แตกแยก 2) มีความรุนแรงในครอบครัว 3) มีปัญหาด้านเศรษฐกิจ 4) ครอบครัวมีความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุและอบายมุข 5) บิดาหรือมารดาเลี้ยงตามล�ำพัง 6) ให้การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม สาเหตุจากสังคม เป็นเพราะสังคมปัจจุบนั ขาดภูมคิ มุ้ กันทางความคิด บกพร่องทางจิตวิญญาณ จน ท�ำให้เยาวชนตกอยู่ในวังวนแห่งความชั่ว เสพเซ็กส์ ก้าวร้าวและรุนแรง 46
2.3 ผลกระทบจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ผลกระทบของบการถูกล่วงละเมิดทางเพศ นั้นโดยส่วนใหญ่เข้าใจว่าจะเกิดกับผู้ที่ถูกล่วง ละเมิดเพียงอย่างเดียว แต่แท้ที่จริงแล้วจะกระทบทั้งตัวของผู้ที่ถูกละเมิดและสังคมด้วย 1. ผลกระทบต่อร่างกาย 1) ถูกฆาตกรรม การถูกฆาตกรรมเป็นผลกระทบจากการกระท�ำทีถ่ อื ว่ารุนแรงทีส่ ดุ อาจ เริม่ จากการทะเลาะวิวาทกัน การบังคับขูเ่ ข็ญ คุกคาม และจบลงด้วยการถูกฆาตกรรม หรือเสียชีวติ เพราะ การบาดเจ็บอย่างสาหัส 2) บาดเจ็บหรือพิการ เป็นผลกระทบที่มีการกระท�ำรุนแรงที่อาจไม่มากนัก ไปจนถึงพิการ 3) ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์จากการท้องไม่พร้อม หรือถูก บังคับข่มขืนที่น�ำไปสู่การยุติด้วยการตั้งครรภ์ ผู้หญิงและเด็กที่ถูกกระท�ำความรุนแรงโดยการล่วงละเมิด ทางเพศ หรือการกระท�ำทารุณกรรมทางเพศ มีความเสี่ยงสูงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ในช่วงวัย เจริญพันธุ์ โดยเฉพาะในวัยรุ่น 4) ติดโรคทางเพศสัมพันธ์รวมทั้งโรคเอดส์ ปัจจุบันผู้หญิงมีความเสี่ยงต่อการติดโรค ทางเพศสัมพันธ์คอ่ นข้างสูง ทีอ่ าจมีปญ ั หาแทรกซ้อนระหว่างการตัง้ ครรภ์ การแท้งตามธรรมชาติ และการ คลอดก่อนก�ำหนดได้ นักวิจัยในประเทศไทยพบว่า ผู้หญิงที่ถูกข่มขืน 1 ใน 10 ราย ติดโรคทางเพศสัมพันธ์ จากการถูกข่มขืน 5) ความเสีย่ งต่อการเป็นโรคอืน่ ๆ พบว่าผูห้ ญิงทีถ่ กู กระท�ำความรุนแรงมีโอกาสเจ็บป่วย ได้ง่าย ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะมีภูมิต้านทานต�่ำจากความเครียดและการถูกท�ำร้าย 2. ผลกระทบทางด้านจิตใจ 1) ฆ่าตัวตาย ผู้หญิงที่ถูกท�ำร้ายในลักษณะต่างๆ ได้รับความกดดัน มีความเครียดกังวล ที่บางครั้งแสดงอาการโดยไม่รู้สาเหตุ เช่น ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ หรืออาจมีอาการซึมเศร้า โดยเฉพาะ ในผู้หญิงที่ถูกข่มขืนกระท�ำช�ำเรา และกระท�ำทารุณกรรมทางเพศ จากคนที่อยู่ใกล้ชิดและไว้วางใจมาก ที่สุด จะมีความกดดันทางร่างกายและอารมณ์จนอาจน�ำไปสู่การฆ่าตัวตาย จากผลการศึกษาในประเทศ สหรัฐอเมริกา แสดงให้เห็นว่า ผู้หญิงที่ถูกสามีท�ำร้ายทุบตีมีแนวโน้มฆ่าตัวตายสูงกว่าผู้หญิงโดยทั่วไปถึง 5 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับผู้หญิงที่สามีไม่ได้ใช้ความรุนแรง 2) ปัญหาสุขภาพจิต ผูห้ ญิงทีถ่ กู กระท�ำรุนแรง แม้จะไม่มรี อ่ งรอยบาดแผล หรือร่องรอย ที่เกิดขึ้นตามร่างกายในกรณีที่ไม่รุนแรงจะเลือนหายไป แต่บาดแผลภายในจิตใจนั้นถือว่าไม่อาจลบเลือน ไปได้งา่ ยๆ และอาจอยูใ่ นส่วนลึกของจิตใจ ผลกระทบนีส้ ง่ ผลต่อบุคลิกภาพของผูถ้ กู กระท�ำทีต่ อ้ งการ การ เยียวยา บางรายอาจมีผลกระทบต่อการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวัน การประกอบอาชีพ หรือการท�ำหน้าทีก่ ารงาน ผลกระทบที่รุนแรงของการถูกกระท�ำความรุนแรง กรณีที่ถูกข่มขืนและทารุณกรรมทาง เพศ ซึ่งอาจจะเพียงครั้งเดียว ก็มีผลมากพอที่จะท�ำให้เกิดภาพลบต่อจิตใจไปตลอดชีวิต โดยเฉพาะกับเด็ก มีรายงานอ้างถึงค�ำพูดของผู้หญิงที่ระบุถึงสภาพจิตใจของผู้ถูกกระท�ำความรุนแรงว่า “สิ่งที่แย่ที่สุดของการถูกทุบตีไม่ใช่อยู่ที่ความรุนแรงของการถูกทุบตี แต่อยู่ที่ความทุกข์ ทรมานทางจิต กับการที่ต้องอยู่ในความหวาดกลัวและทุกข์ทรมาน” 47
3. ผลกระทบทางสังคม 1) วงจรความรุนแรงที่ไม่สิ้นสุด การกระท�ำความรุนแรงเป็นวงจรที่ไม่สิ้นสุด เด็กที่เห็น เหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว จะเกิดผลกระทบที่ท�ำให้เด็กมีปัญหาทางจิตใจเท่าเทียมกับเด็กที่ถูก ทารุณกรรมทางร่างกายและทางเพศโดยตรง เด็กผู้หญิงที่เห็นเหตุการณ์พ่อหรือพ่อเลี้ยงกระท�ำรุนแรงกับ แม่มีแนวโน้มที่จะยอมรับความรุนแรงเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตคู่มากกว่าเด็กผู้หญิงที่มาจากครอบครัวที่ไม่มี ความรุนแรง ขณะทีเ่ ด็กผูช้ ายทีเ่ ห็นหรือประสบเหตุการณ์ในลักษณะเดียวกัน มีแนวโน้มจะใช้ความรุนแรง ต่อภรรยา เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ มีครอบครัวของตัวเอง นอกจากนี้ เด็กบางคนยังเลียนแบบพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงที่พบเห็น ดังเช่นกรณี ของเด็กผูช้ ายทีใ่ ช้มดี ปอกผลไม้ขม่ ขูน่ อ้ งสาวให้หยุดร้องไห้ ซึง่ พบว่าเด็กเลียนแบบพฤติกรรมทีพ่ อ่ ท�ำกับแม่ 2) ปัญหาสังคมเรื้อรังและซ�้ำซ้อน ผู้หญิงที่ถูกกระท�ำความรุนแรงซ�้ำซากมาเป็นเวลา นาน หากไม่เสียชีวิต อาจใช้ความรุนแรงตอบโต้ เช่น ฆ่าสามี ผลตามมาคือผู้หญิงต้องรับโทษ ลูกไม่มีคน เลี้ยงดูกลายเป็นปัญหาสังคม วิธีปฏิบัติเพื่อป้องกันการถูกล่วงละเมิดทางเพศสามารถท�ำได้ดังนี้ 1. รูจ้ กั ปฏิเสธ เมือ่ ถูกคุกคามทางเพศ ต้องพูดดังๆ ว่า “อย่า” พร้อมกับแสดงท่าทีวา่ ไม่พอใจ 2. ลุกหนีทันที ขณะที่พูดปฏิเสธ ต้องอย่าพูดเฉยๆ ควรลุกหนีจากตรงนั้นทันที 3. ต้องมีสติ หากไปเที่ยวกับแฟน ไม่ควรดื่มเหล้า หรือใช้ยาเสพติดเพราะจะท�ำให้เราขาด สติ และไม่สามารถควบคุมตนเองได้ 4. ไปในที่ปลอดภัย ไม่ว่าจะไปเที่ยวที่ไหน ควรอยู่ในที่ที่เรายังมองเห็นเพื่อนคนอื่นๆ ด้วย และต้องรู้วิธีกลับบ้านตนเอง วิธีการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ ท�ำได้ดังนี้ 1. ฉันยังไม่พร้อม 2. ฉันว่าเรารอก่อนได้ 3. ชีวิตของฉันไม่จ�ำเป็นต้องรีบร้อนขนาดนั้น 4. เราน่าจะรู้จักกันดีกว่านี้ 5. คนรักกันจริงเขาไม่ท�ำอย่างนี้หรอก 6. ฉันไม่ต้องการมีเพศสัมพันธ์อย่างฉาบฉวย 7. ถ้ารักกันต้องเลิกท�ำเรื่องแบบนี้ 8. ฉันไม่อยากท�ำร้ายตนเอง 9. ที่เกิดเรื่องก็เพราะครั้งเดียวนี่แหละ 10. เสียโอกาสดีๆ ที่จะได้รับในอนาคต 11. ฉันไม่อยากติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ฉันกลัวท้อง 12. ฉันกลัวจะรับปัญหาที่ตามมาไม่ไหว 13. พ่อแม่อาจเสียใจ 14. พูดด้วยความนิ่มนวล และพูดด้วยเหตุผล 15. หะรอม ศาสนาห้าม 48
2.3 การปฏิบัติตัวตามแนวทางอิสลามเพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงการถูกล่วงละเมิดทางเพศ ผลสุดท้ายของการล่วงละเมิดทางเพศ เป็นการกระท�ำ พฤติกรรม ที่ไม่เหมาะสม ไม่ถูกต้อง ซึ่งทุกสังคมเห็นตรงกันว่าเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจ และยังเป็นพฤติกรรมที่น�ำไปสู่การกระท�ำผิดอื่นๆ อีกด้วย โดยเฉพาะการผิดประเวณี หรือ ซีนา ซินา คือ การผิดประเวณี เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติอิสลามไม่ว่าจะเป็นการมีเพศ สัมพันธ์ การสัมผัส การมอง การอยู่กันตามล�ำพังระหว่างชายหญิง ซึ่งยังไม่ได้แต่งงานกันอย่างถูกต้องตาม หลักการของอิสลาม ปัจจุบันซินาเกิดขึ้นมากมายทุกสังคม ไม่ว่าจะเป็นสังคมมุสลิมหรือสังคมอื่น สังคม ผู้ใหญ่หรือสังคมเด็กหรือเยาวชน อิสลามได้ห้ามเรื่องนี้ และได้ต่อสู้กับอาชญากรรมที่เป็นภัยต่อสังคมมา โดยตลอด อัลลอฮ์ทรงมีรับสั่งไว้ ความว่า “และจงอย่าเข้าใกล้การละเมิดประเวณี แท้จริงมันเป็นการลามกและหนทางทีช่ วั่ ร้ายยิง่ ” (สู เราะฮอัลอิสรออฺ อายะฮฺที่ 32) เมื่ออิสลามสั่งห้ามสิ่งใด อิสลามก็ปิดหนทางทุกอย่างที่จะเข้าไปสู่สิ่งนั้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นใน เรื่องของการมองเพศตรงข้ามด้วยความปรารถนา ท่านเราะสูลได้กล่าว ความว่า “ดวงตาก็ท�ำซินาด้วย และซินาของมันก็คือการมองด้วยตัณหา” (บันทึกโดยอัลบุคอรีย์) การลดสายตา หมายถึง การที่คนๆ หนึ่งระมัดระวังสายตาของตนเองด้วยการไม่มองสิ่งต้อง ห้ามหรือเบนสายตาไปทางอืน่ จากสิง่ ทีห่ ะรอม ซึง่ การยับยัง้ สายตาจากสิง่ ต้องห้ามนี้ จ�ำเป็นต้องอาศัยความ ศรัทธา(อีมาน)ที่มั่นคงและความมุ่งมั่นอันแรงกล้า เพราะโดยสามัญส�ำนึกทั้งชายและหญิงต่างสนใจที่จะ เพ่งมองเพศตรงกันข้าม ด้วยเหตุนี้อัลกุรอานจึงบัญชาให้ทั้งชายและหญิงลดสายตาจากการมองเพศตรง ข้าม ดังที่อัลกุรอานกล่าวไว้ ความว่า “จงกล่าวเถิด(มุฮัมมัด)แก่บรรดามุอ์มิน ให้พวกเขาลดสายตาของพวกเขาลงต�่ำ(คือให้ระงับ การมองหญิงแปลกหน้าที่อนุญาตให้แต่งงานกันได้) และให้พวกเขารักษาอวัยวะเพศของพวกเขา(คือ รักษาอวัยวะเพศของพวกเขาให้พน้ จากการ ท�ำซินา) นั่นเป็นการบริสุทธิ์ยิ่ง แก่พวกเขา แท้จริงอัลลอฮ์ทรงรอบรู้สิ่งที่พวกเขากระท�ำ และจงกล่าวเถิดมุฮัมมัดแก่บรรดามุมินะฮ์ให้พวกเธอลดสายตาของพวกเธอลงต�่ำ และให้ พวกเธอรักษาอวัยวะเพศของพวกเธอ” (สูเราะฮอัน นูร อายะอที่ 31) หรือไม่ว่าจะเป็นการอยู่ล�ำพังสองต่อสองในที่ลับตาคนโดยไม่มีมะหรอม “บุคคลใดทีศ่ รัทธาต่ออัลลอฮ์และวันอาคิเราะฮฺ ดังนัน้ เขาต้องไม่อยูก่ บั ผูห้ ญิงในทีล่ บั ตา โดย ไม่มีมะฮฺรอมของนางอยู่ด้วย เพราะมิเช่นนั้นแล้วบุคคลที่สามก็คือชัยฏอน” (บันทึกโดยอะหมัด) ท่านเราะสูลุลลอฮฺได้กล่าวความว่า “การที่ท่านจะถูกเหล็กแหลมแทงเข้าไปในศีรษะนั้น ยังดีกว่าการที่จะไปสัมผัสผู้หญิงที่ไม่ได้รับอนุญาตให้สัมผัส” (บันทึกโดยอัฏฏอบรอนีย์) รวมถึงการก�ำชับสตรีเพศว่าอย่าให้เป็นสาเหตุของการเกิดซินาขึน้ พระองค์อลั ลอฮ์ทรงมี รับสั่ง ความว่า “โอ้นบีเอ๋ย จงกล่าวแก่บรรดาภรรยาของเจ้า บุตรสาวของเจ้า และบรรดาผูห้ ญิงของผูศ้ รัทธา ให้พวกนางดึงเสือ้ คลุมของพวกนางลงมาปิดตัว ของ พวกนาง นัน่ เป็นการเหมาะสมกว่าทีน่ างจะเป็นทีร่ จู้ กั เพื่อที่พวกนางจะไม่ถูกรบกวน...” (สูเราะฮอัลอะหฺซาบ อายะฮฺที่ 59) 49
ท่านนบีได้กล่าวความว่า “ผูห้ ญิงทีใ่ ส่นำ�้ หอมและเดินผ่านทีช่ มุ นุมนัน้ คือ หญิงทีล่ ะเมิดประเวณี “ (บันทึกโดยอะบูดาวุด) การคบเพื่อนที่ดี อิสลามให้ความส�ำคัญกับการคบเพื่อนมาก การที่จะเป็นคนดีมีคุณธรรมได้ ต้องได้รับความดูแลเอาใจใส่และการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ครูบาอาจารย์ เพื่อนจึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะ น�ำพาเพือ่ นให้ถงึ ฝัง่ ทีส่ วยงามด้วยกัน คบคนแบบใดย่อมเป็นเช่นคนนัน้ คบคนเลวย่อมเลวตาม และคบคน ดี ย่อมดีขึ้นในทันที มีศัตรูเป็นบัณฑิตดีกว่ามีมิตรที่เป็นอันธพาล เพราะการคบเพื่อนเหมือนกับการเริ่มต้น ของการเดินทาง การคบเพือ่ นทีไ่ ม่ดเี หมือนการเดินทางผิดยิง่ เดินก็ยงิ่ ผิดทาง เพราะฉะนัน้ จึงต้องตัง้ ต้นเดิน ใหม่ นั่นคือ การเลือกคบแต่คนดี นบีมุฮัมมัดได้กล่าวความว่า “คนๆ หนึ่งจะมีนิสัยใจคอเหมือนกับเพื่อนรักของเขา ดังนั้นท่านจงสังเกตว่าเขาคบใครเป็น เพื่อนรักของเขา “ (บันทึกโดยอัตติรมิษีย์) “ท่านอย่าคบเพือ่ นคนใดคนหนึง่ เว้นแต่คนนัน้ เป็นผูศ้ รัทธาเท่านัน้ และอย่าให้ใครรับประทาน อาหารของท่าน เว้นแต่แก่ผู้ย�ำเกรงเท่านั้น” (บันทึกโดยอัตติรมิษีย์) สิง่ ต่างๆ เหล่านีเ้ ป็นเหตุทจี่ ะน�ำไปสูก่ ารผิดประเวณี(ท�ำซินา) เพราะมันจะน�ำไปสูค่ วามสับสน วุ่นวายในการสืบทอดเชื้อสาย การสร้างปัญหาให้แก่เด็ก การแตกแยกในครอบครัว การแพร่หลายของ กามโรคและการส�ำ่ ส่อนทางเพศ และจะเกิดปัญหาอีกมากมายตามมาไม่รจู้ บสิน้ อันเนือ่ งมาจากการละเมิด ค�ำสั่งของอัลลออฮฺ
50
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
วัยรุน่ กับโภชนาการตามบทบัญญัตอิ สิ ลามเพือ่ สร้างสุขภาพ มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การด�ำรงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ตัวชี้วัด 1. เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย 2. วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
หลักการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับวัย และถูกต้องตามหลักการอิสลาม
ภาวะโภชนาการที่มีผลต่อสุขภาพ
วัยรุ่นกับโภชนาการตามบทบัญญัติ อิสลามเพื่อสร้างสุขภาพ
อาหารฮาลาลที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
51
การที่คนเราจะมีสุขภาพดีหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆ อย่าง ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ภายใต้การ ควบคุมของตัวเอง ส่วนที่นอกเหนือการควบคุมมีน้อย เช่น กรรมพันธุ์ ดังนั้นถ้าเราควบคุมปัจจัยต่างๆ ได้ เช่น การเลีย้ งดูตงั้ แต่เด็ก การด�ำเนินชีวติ อย่างถูกต้อง คนส่วนใหญ่ชว่ ยกันรักษาสิง่ แวดล้อม ในครอบครัวมี ความสงบสุขดีคอื มีสขุ ภาพจิตดี และสิง่ ทีส่ ำ� คัญอีกประการหนึง่ คือ การเอาใจใส่เรือ่ งโภชนาการ ถ้าสามารถ ควบคุมสิ่งเหล่านี้ได้หมด สุขภาพดีถ้วนหน้าก็คงจะไม่เกินความเป็นจริง กิจกรรมของมนุษย์ในแต่ละวันจ�ำเป็นต้องใช้พลังงาน และสารอาหารที่ร่างกายได้รับจากการรับ ประทานอาหารในแต่ละมื้อ การรู้จักเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย จะช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตอย่างเต็มที่สมบูรณ์ และมี สุขภาพร่างกายที่แข็งแรง โภชนาการเป็นการศึกษาความ สัมพันธ์ระหว่างอาหารกับกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ สุขภาพ และการเจริญเติบโตของสิง่ มีชวี ติ หากสภาพร่างกาย ได้รบั อาหารทีม่ สี ารอาหารครบ และเพียงพอต่อความต้องการ ร่างกายสามารถน�ำสารอาหารเหล่านั้นไปใช้ได้อย่างเต็มที่ เรียกว่าภาวะโภชนาการที่ดี แต่ถ้าร่างกายได้รับสารอาหารที่ ไม่ครบถ้วน และไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย จะ เรียกว่าภาวะโภชนาการที่ไม่ดี หรือทุพโภชนาการ
1. หลักการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับวัยและถูกต้องตามหลักการอิสลาม อาหารเป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับทุกคน ซึ่งแต่ละคนต่างก็มีความต้องการทั้งในด้านปริมาณและสาร อาหารทีแ่ ตกต่างกัน ขึน้ อยูก่ บั ความต้องการในแต่ละวัย โดยเฉพาะวัยรุน่ ซึง่ เป็นวัยทีม่ กี ารเจริญเติบโตเกิด ขึน้ อย่างรวดเร็ว จ�ำเป็นต้องได้รบั สารอาหารทีค่ รบถ้วนทัง้ 5 หมู่ ในปริมาณทีเ่ พียงพอต่อความต้องการของ ร่างกาย หากสามารถเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับวัยของตนเองได้ ก็จะท�ำให้มีสุขภาพกายที่ แข็งแรง และส่งผลให้มีสุขภาพจิตที่ดีตามไปด้วย วัยรุ่นเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตในด้านร่างกายอย่างมาก และในวัยนี้เองที่จะมีการเปลี่ยนแปลง ทางอารมณ์ และจิตใจค่อนข้างสูง มีกิจกรรมต่างๆ ค่อนข้างมาก ทั้งในด้านสังคม กีฬาและบันเทิง ความ ต้องการสารอาหารย่อมมีมากขึน้ เป็นธรรมดา ซึง่ จะต้องค�ำนึงทัง้ ปริมาณและคุณภาพให้ถกู หลักโภชนาการ ส�ำหรับปัจจัยที่ส�ำคัญ มีดังนี้ 1. ครอบครัว การปลูกฝังนิสยั การรับประทานอาหารทีถ่ กู หลักโภชนาการ ควรเริม่ ต้นมาจาก ทีบ่ า้ น ส�ำหรับวัยรุน่ ทีอ่ าจชอบรักสวยรักงาม อาจพยายามจ�ำกัดอาหารลง ซึง่ คนในครอบครัวจะต้องให้ค�ำ แนะน�ำเพื่อไม่ไปจ�ำกัดอาหารที่มีคุณค่าและมีความจ�ำเป็นต่อร่างกาย 2. ตัววัยรุน่ เอง วัยรุน่ จะเริม่ มีพฤติกรรมเปลีย่ นไปโดยมีความคิดความเห็นเป็นของตัวเองมาก ขึน้ การให้ความรูเ้ กีย่ วกับโภชนาการ มีความจ�ำเป็นเพือ่ ชีใ้ ห้เห็นความส�ำคัญของการรับประทานอาหาร ที่ มีคุณค่าทางโภชนาการอย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งจะมีผลต่อตัววัยรุ่นเองโดยตรง 52
3. สิง่ แวดล้อม ในโรงเรียนหรือสถานศึกษา อิทธิพลจากเพือ่ นฝูงมีสว่ นทีท่ ำ� ให้วยั รุน่ เอาอย่าง กันไม่ว่าจะเป็นเรื่องการรับประทานอาหาร ตลอดจนการบริโภคสารอันตราย เช่น เหล้า บุหรี่ และยาเสพ ติด การดูแลอย่างใกล้ชิด ตลอดจนการสนับสนุนให้วัยรุ่นเล่นกีฬา หรือท�ำกิจกรรมที่มีประโยชน์ จะมีผล ทางอ้อมท�ำให้นิสัยที่ดีในการบริโภคอาหารไม่ถูกเบี่ยงเบนไป ความต้องการอาหารทีใ่ ห้โปรตีนพลังงาน และวิตามินต้องเพียงพอส�ำหรับวัยรุน่ วิตามินต้อง เหมาะและโดยเฉพาะอย่างยิง่ อาหารทีม่ เี กลือแร่ประเภท แคลเซียม และเหล็ก ต้องเพียงพอกับวัยรุน่ ในวัย ต่างๆ 1.1 ประเภทของสารอาหาร ส่วนประกอบในอาหารทีม่ คี วามส�ำคัญต่อร่างกายของมนุษย์เรียกกว่า สารอาหาร ซึง่ จ�ำเป็น ต่อการรักษาหน้าทีต่ า่ งๆ ของร่างกายในยามปกติ และขึน้ อยูก่ บั เลือกอาหารทีไ่ ด้สดั ส่วนถูกต้อง สารอาหาร ทีม่ คี วามส�ำคัญต่อร่างกายจะต้องได้มาจากอาหาร เพราะร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ขนึ้ ได้ในร่างกาย ดัง นั้นสารอาหารที่จ�ำเป็นจะต้องได้มาจากอาหารและมีความส�ำคัญต่อการเจริญเติบโต และการท�ำงานของ ร่างกายให้เป็นปกติได้ ดังนี้ 1. โปรตีน โปรตีนเป็นสารอาหารทีอ่ ยูใ่ น อาหารหมูท่ ี่ 1 พบใน เนือ้ สัตว์ตา่ งๆ ไข่ ถัว่ เมล็ด แห้ง และนม ทัง้ นีโ้ ปรตีนมีประโยชน์ตอ่ ร่างกาย คือ ช่วยท�ำให้รา่ งกายเจริญเติบโตและซ่อมแซม ส่วนทีส่ กึ หรอ โดยโปรตีน 1 กรัม จะให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ (ภาพที่ 3.7) ซึ่งเด็ก และคนที่ ภาพที่ 1 สารอาหารโปรตีน อยู่ในวัยเจริญเติบโตจะมีความต้องการโปรตีน ที่มา (กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข, 2542) มากกว่าวัยอื่นๆ นอกจากนี้โปรตีนยังเป็นสาร อาหารที่จ�ำเป็นและส�ำคัญต่อร่างกายของมนุษย์ ประโยชน์ของโปรตีน โปรตีน มีบทบาทที่ส�ำคัญต่อร่างกาย 6 ประการ คือ 1. ป็นสารอาหารที่จ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโต โดยไขมัน และคาร์โบไฮเดรตไม่สามารถ ทดแทนโปรตีนได้เพราะไม่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ 2. เพื่อน�ำไปซ่อมแซมเนื้อเยื่อต่างๆ ที่สึกหรออยู่ทุกขณะ 3. โปรตีนช่วยรักษาดุลน�ำ้ เพราะโปรตีนทีม่ อี ยูใ่ นเซลล์และหลอดเลือดช่วยรักษาปริมาณ น�้ำในเซลล์ และหลอดเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ที่พอเหมาะ 4. โปรตีนส่วนหนึ่งถูกน�ำไปสังเคราะห์เป็นฮอร์โมน เอ็นไซม์ และสารภูมิคุ้มกัน ซึ่งสาร อินทรีย์เหล่านี้จะท�ำหน้าที่ควบคุมกลไกลการท�ำงานของร่างกายได้ 53
5. โปรตีนช่วยรักษาดุล กรด ด่างของร่างกาย เนื่องจากโปรตีนประกอบด้วยกรดอะมิโน และในตัวกรดอะมิโนเองมีหน่วยคาร์บ๊อกซิล ซึ่งมีฤทธิ์เป็นกรด และหน่วยอะมิโนมีฤทธิ์เป็นด่าง โปรตีนจึง มีคุณสมบัติรักษาดุล กรด ด่าง ของร่างกาย ซึ่งมีความส�ำคัญต่อปฏิกิริยาต่างๆ ภายในร่างกาย 6. โปรตีนหนึ่งกรัมให้พลังงาน 4 แคลอรี่ ถ้าร่างกายได้พลังงานจากคาร์โบไฮเดรตและ ไขมันเพียงพอ ก็จะสงวนโปรตีนไว้ใช้ในหน้าที่อื่นต่อไป 2. คาร์โบไฮเดรต คาร์โบไฮเดรต เป็นสารอาหารอยู่ในอาหารหมู่ที่ 2 พบได้ในแป้งและน�้ำตาล เช่น แป้งข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวโพด แป้งสาลี แป้งมันส�ำปะหลัง แป้งขนมปังต่างๆ เผือก มัน ลูกกวาด น�้ำเชื่อม น�้ำตาล น�้ำผึ้งช็อกโกแลต ขนมหวาน เป็นต้น คาร์โบไฮเดรตมีประโยชน์ คือ ให้พลังงานและความอบอุ่นแก่ร่างกาย ซึ่ง คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม จะให้พลังงาน 4 กิโล แคลอรี่ (ภาพที่ 2) และถ้าร่างกายขาดสาร ภาพที่ 2 สารอาหารคาร์โบไฮเดรต อาหารคาร์โบไฮเดรตก็จะท�ำให้ร่างกายขาด ที่มา (กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข, 2542) พลังงาน อ่อนเพลีย และเกิดโรคแทรกซ้อนได้ นอกจากนี้คาร์โบไฮเดรตยังเป็นสารประกอบอินทรีย์เคมี ประกอบด้วย ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจนออกซิเจน ทั้งนี้พืชสีเขียวสามารถสังเคราะห์คาร์โบไฮเดรตได้จากคาร์บอนไดออกไซด์ในอาหาร และน�้ำ ซึ่ง รากดูดมาจากดินโดยอาศัยพลังงานจากแสงแดด แล้วสะสมไว้ในส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ล�ำต้น ราก เมล็ด ใบ หัว เป็นต้น ประโยชน์ของคาร์โบไฮเดรต คาร์โบไฮเดรต เป็นสารอาหารอยู่ในอาหารหมู่ที่ 2 พบได้ในแป้งและน�้ำตาล เช่น แป้งข้าวเจ้า ข้าวเหนียว ข้าวโพด แป้งสาลี แป้งมันส�ำปะหลัง แป้งขนมปังต่างๆ เผือก มัน ลูกกวาด น�้ำเชื่อม น�้ำตาล น�้ำผึ้ง 1. ให้พลังงานและความร้อน 2. ช่วยให้ไขมันเผาไหม้สมบูรณ์ ถ้าไขมันในร่างกายเผาไหม้ไม่สมบูรณ์จะท�ำให้เกิดสารทีเ่ ป็น โทษแก่ร่างกายขึ้นในเลือดและปัสสาวะ 3. ช่วยสงวนหรือประหยัดการใช้โปรตีนในร่างกาย ทั้งนี้ถ้าร่างกายได้รับพลังงานจาก คาร์โบไฮเดรต และไขมันไม่เพียงพอ ร่างกายจะน�ำโปรตีนมาเผาผลาญ ให้เกิดพลังงานให้พอเพียงจึงเป็นการ ไม่ประหยัด เพราะโปรตีนเป็นสารอาหารที่ราคาแพงควรจะใช้ประโยชน์ในการเสริมสร้างและซ่อมแซม ร่างกายเพียงอย่างเดียว 4. ช่วยการท�ำงานของล�ำไส้ โดยเฉพาะในคนและสัตว์ทเี่ ลีย้ งลูกด้วยน�ำ้ นม คาร์โบไฮเดรตจะ 54
ช่วยให้ลำ� ไส้ทำ� งานดีขนึ้ ป้องกันท้องผูก ป้องกันการเกิดโรคมะเร็งทีท่ วารหนัก ช่วยท�ำให้ทารกเจริญเติบโต ได้ดี เป็นต้น 5. เป็นส่วนประกอบของสารเคมีที่ส�ำคัญๆ ในร่างกาย เช่น กาแลคโตส เป็นส่วนประกอบ ของสารเคมี พวกกาแลคโตสไลปิด ซึ่งจ�ำเป็นส�ำหรับเซลล์ของระบบประสาท เป็นต้น 6. ช่วยรักษาสภาพในร่างกายให้คงที่เพื่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกายจะได้ท�ำงานเป็นปกติ เช่น คนปกติจะมีระดับน�้ำตาลให้เลือดคงที่ ถ้าสูงกว่าปกติจะเป็นอาการของโรคเบาหวาน และถ้าต�่ำผิดปกติ อาจท�ำให้เกิดการชักและช็อก หรือหมดสติ เป็นต้น 7. ช่วยท�ำลายพิษของสารบางอย่าง เช่น ถ้าสารเคมีบางอย่างเข้าไปในร่างกายโดยบังเอิญ หรือติดอาหารเข้าไป เมือ่ ไปทีต่ บั ตับจะท�ำลายพิษโดยสารจ�ำพวกคาร์โบไฮเดรตให้กลายเป็นสารทีไ่ ม่มพี ษิ แล้วถูกขับถ่ายออกทางปัสสาวะ 8. คาร์โบไฮเดรตที่เหลือใช้ภายในร่างกาย สามารถเปลี่ยนเป็นไขมันและกรดอะมิโน ที่ไม่ จ�ำเป็นแก่ร่างกายได้ 9. อาหารพวกคาร์โบไฮเดรต ยังให้ประโยชน์อย่างอืน่ อีก เช่น ให้วติ ามินบี วิตามินซี และช่วย แต่งกลิ่น รส และสีให้สารอื่นได้ อย่างไรก็ตาม ความต้องการในวันหนึง่ ๆ ร่างกายของคนเราต้องการใช้พลังงานไม่เท่ากัน ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั ขนาดของร่างกาย อายุ กิจกรรม (กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2550) ถ้าคน เรารับประทานคาร์โบไฮเดรตมากเกินไป อาจท�ำให้มีน�้ำหนักมากเกินไป เกิดเป็นโรคอ้วน ซึ่งมักมีผลท�ำให้ เกิดโรคอื่นตามมาได้ง่าย เช่น โรคเบาหวาน โรคไต โรคหัวใจ และหลอดเลือดบางอย่าง นอกจากนี้ อาจท�ำให้รบั ประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์อย่างอืน่ ได้นอ้ ยลง ถ้าปริมาณคาร์โบไฮเดรตในอาหารมีมากเกิน ไป จึงอาจท�ำให้เกิดโรคขาดสารอาหารอื่นๆ ได้ ใบ หัว เป็นต้น 3. ไขมัน ไขมัน อยู่ในอาหารหมู่ที่ 5 พบใน ไขมันพืชและสัตว์ เช่น น�้ำมันถั่วเหลือง น�ำ้ มันมะพร้าว น�ำ้ มันงา น�ำ้ มันเมล็ดทานตะวัน กะทิ น�้ำมันหมู น�้ำมันไก่ เนย เป็นต้น ไขมันมี ประโยชน์ตอ่ ร่างกาย คือ ให้พลังงานและความ อบอุ่นแก่ร่างกาย เช่นเดียวกับคาร์โบไฮเดรท แต่ไขมันให้พลังงานสูง มากกว่าคาร์โบไฮเดรท ภาพที่ 3 สารอาหารไขมันจากพืช และสัตว์ ถึง 2 ½ เท่า คือ ไขมัน 1 กรัม จะให้พลังงาน ที่มา (กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข, 2542) 9 กิโลแคลอรี่ (ภาพที่ 3.9) อีกทั้งยังช่วยในการ ละลาย และช่วยในการดูดซึมของวิตะมินที่ละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามินที่ละลายในไขมัน เช่น วิตามินเอ (A) วิตามินดี (D) วิตามินอี (E) และวิตามินเค (K) เพื่อให้ร่างกายสามารถดูดซึมวิตามินเหล่านั้นไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่อีกด้วย 55
ประโยชน์ของไขมัน 1. ให้พลังงานและความร้อน ไขมันบริสทุ ธิ์ 1 กรัม จะให้พลังงานประมาณ 9 แคลอรี่ มากกว่า คาร์โบไฮเดรต และโปรตีนประมาณเท่าตัว 2. ป้องกันการกระทบกระเทือนของอวัยวะภายใน เพราะไขมันที่อยู่รอบอวัยวะส�ำคัญๆ ภายใน เช่น ในช่องอก และช่องท้อง จะท�ำหน้าทีเ่ ป็นเกราะป้องกันการกระทบกระเทือนของอวัยวะเหล่านัน้ 3. สามารถเปลี่ยนเป็นคาร์โบไฮเดรตและกรดอะมิโนที่จ�ำเป็นแก่ร่างกายได้ เมื่อร่างกาย ต้องการ 4. ให้กรดไขมันที่จ�ำเป็น ซึ่งจ�ำเป็นส�ำหรับการเจริญเติบโตของทารกและเด็ก และบ�ำรุงสุข ภาพของผิวหนัง 5. เป็นแหล่งเกิดของวิตามินที่ละลายในไขมัน และช่วยการดูดซึมของวิตามินเหล่านั้น 6. ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกาย เพราะเป็นสื่อความร้อนที่เลว 7. ช่วยให้อาหารมีรส กลิ่น และเนื้อสัมผัสดี ถึงแม้ว่าไขมันหรือน�้ำมันจะเป็นสารปราศจาก รสชาติ แต่ไขมันสามารถดูดกลิ่นได้ และเนื้อสัมผัสของไขมันยังช่วยให้อาหารมีรสอร่อยขึ้น 8. ช่วยพยุงหรือท�ำให้อวัยวะทรงรูป เช่น ไขมันที่บุแก้ม ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ไขมันที่บุฝ่ามือยังช่วย ให้หยิบสิ่งของได้สะดวกด้วย ดังนั้น ไขมันมีแหล่งที่มาจาก 2 แหล่ง คือ ไขมันจากสัตว์ ได้แก่ ไขมันที่อยู่ในหมู วัว ไก่ หอย กุ้ง ปลา เนย นม และไข่แดง ส่วนอีกแหล่งคือ ไขมันจากพืช ได้แก่ ไขมันที่อยู่ในมะพร้าว งา ถั่ว ร�ำ เมล็ด ทานตะวัน และข้าวโพด อย่างไรก็ตาม ความต้องการไขมันในวันหนึ่งๆ ของร่างกายเพื่อเปลี่ยนให้เป็น พลังงานประมาณร้อยละ 15-20 ของจ�ำนวนแคลอรี่ทั้งหมด ที่ร่างกายต้องการ นอกจากนี้ ไขมันจากสัตว์ ยังมีคอเรสเทอรอล (cholesterol) อยู่มากถ้าหากร่างกายของผู้ใหญ่ได้รับสารคอเรสเทอรอลเข้าไปมาก สารนี้อาจเข้าไปเกาะอยู่ตามผนังของหลอดเลือดซึ่งเป็นสาเหตุส�ำคัญของโรคเกี่ยวกับหลอดเลือดเช่นโรค หลอดเลือดตีบ เป็นต้น 4. วิตามิน วิตามินในผักและผลไม้ อยูใ่ น อาหารหมู่ที่ 3 และ 4 พบใน ผักชนิดต่างๆ เช่น ต�ำลึง คะน้า มะเขือเทศ กะหล�่ำปลี กระถิน มะเขือเทศ แครอท และวิตะมินในผลไม้ เช่น ฝรั่ง กล้วย มะละกอ ส้ม มะม่วง องุ่น มังคุด สับปะรด พุทธา เป็นต้น ทัง้ นีอ้ าหารแต่ละชนิด จะให้วิตามินที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งวิตามิน ที่มีความส�ำคัญและจ�ำเป็นต่อร่างกาย ได้แก่ วิตามิน A, B1, B2, C, D (ภาพที่ 4) 56
ภาพที่ 4 สารอาหารวิตามินจากผักและผลไม้ ที่มา (กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข, 2542)
วิตามิน คือ สารอินทรียท์ จี่ ำ� เป็นส�ำหรับปฏิกริ ยิ าเคมีในร่างกาย เป็นสารอาหารทีไ่ ม่ได้ให้ พลังงานแก่รา่ งกาย แต่รา่ งกายต้องการปริมาณน้อยและขาดไม่ได้ ถ้าขาดจะท�ำให้อวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ท�ำงานผิดปกติ เพราะวิตามินจะควบคุมการเผาผลาญ และช่วยให้การใช้ไขมัน โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต ในร่างกายมีประสิทธิภาพสูงสุด ช่วยเสริมสร้างความเจริญเติบโตให้แก่ร่างกาย ช่วยให้ร่างกายท�ำงานได้ ตามปกติ และช่วยสร้างเสริมความต้านทานโรคให้แก่ร่างกายด้วยอย่างไรก็ตามวิตามินบางตัวสังเคราะห์ ขึ้นได้เพียงพอ แต่บางตัวสังเคราะห์ไม่ได้หรือสังเคราะห์ได้แต่ไม่พอจึงจ�ำเป็นต้องได้รับจากอาหารเพิ่ม ดัง นั้น วิตามินแบ่งออกเป็น 2 พวกใหญ่ๆ คือ 1) วิตามินที่ละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามินเอ วิตามินดี วิตามิน อี และวิตามินเค ซึ่งวิตามินพวกนี้จะไม่สูญเสียโดยการหุงต้มด้วยความร้อนธรรมดา และไม่ละลายในน�้ำที่ ใช้หุงต้ม และ 2) วิตามินที่ละลายน�้ำ ได้แก่ วิตามินบีรวม และวิตามินซี โดยวิตามินพวกนี้ละลายได้ง่ายใน น�้ำและบางส่วนจะถูกท�ำลายไปโดยความร้อนจากการหุงต้ม เป็นต้น 5. เกลือแร่ เกลือแร่เป็นสารอาหารที่จ�ำเป็นอย่างหนึ่งในอาหาร และเป็นส่วนประกอบของร่างกาย มนุษย์ที่ขาดไม่ได้ โดยทั่วไปแล้วเกลือแร่จะช่วยเสริมสร้างร่างกาย และเป็นส่วนประกอบของอวัยวะ เป็นส่วนประกอบของสารเคมีที่เกี่ยวข้องกับขบวนการเติบโตในร่างกาย และท�ำหน้าที่ควบคุมการท�ำงาน ของร่างกาย ทั้งนี้เกลือแร่มีอยู่ในร่างกายประมาณร้อยละ 4 ของน�้ำหนักของร่างกายทั้งหมดและเกลือ แร่ที่จ�ำเป็นส�ำหรับร่างกายมีหลายชนิดด้วยกัน เช่น แคลเซียม เหล็ก ไอโอดีน ฟอสฟอรัส ก�ำมะถัน โซเดียม คลอรีน โปรแทสเซียม แมกนีเซียม และทองแดงที่ช่วยท�ำให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายท�ำงาน ปกติซึ่งแต่ละชนิดจะมีหน้าที่แตกต่างกันออกไป 6. แคลเซี่ยม แคลเซีย่ มเป็นเกลือแร่ทมี่ อี ยูใ่ นร่างกายมากกว่าเกลือแร่ชนิดอืน่ ๆ ประมาณร้อยละ 99 ของ แคลเซี่ยมภายในร่างกายจะอยู่ที่กระดูกและฟัน อีกร้อยละ 1 อยู่ที่เลือด มีมากในนม เนย ไข่แดง ปลาเล็ก ปลาน้อย ที่กินได้ทั้งตัว กุ้ง กะปิ ถั่วเมล็ดแห้ง งา ลูกเดือย และผักใบเขียวต่างๆ เช่น ใบมะกรูด ผิวมะกรูด ใบชะพลู ใบตังโอ๋ ผักโขมหนาม ผักสะเดา ใบยอ ผักกระเฉด เป็นต้น (ภาพที่ 5) ประโยชน์ของแคลเซี่ยม 1. เป็นสารจ�ำเป็นส�ำหรับสร้างกระดูกและฟัน โดยใช้วิตามินดีและฟอสฟอรัสช่วย 2. เป็นสารจ�ำเป็นส�ำหรับการแข็งตัวของเลือด 3. เป็นสารจ�ำเป็นส�ำหรับการท�ำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ ถ้าเลือดมี แคลเซี่ยมต�่ำ ประสาทจะไวผิดปกติในการรับสื่อกระตุ้น และเกิดอาการชักได้ 4. ช่วยควบคุมการท�ำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ 5. ช่วยกระตุ้นการท�ำงานของเอนไซม์ส�ำคัญหลายชนิด เช่น เอนไซม์จากตับอ่อน 6. ควบคุมการเคลื่อนไหวของสารอื่นๆ ที่ผ่านเข้าออกในเซลล์ทุกเซลล์ 57
ภาพที่ 5 สารอาหารวิตามินจากผักและผลไม้ ที่มา (กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข, 2542)
ดังนั้น แคลเซี่ยมเป็นส่วนประกอบที่ส�ำคัญของกระดูกและฟัน โดยร่างกายมีความต้องการ แคลเซี่ยมสูงที่สุดในระยะที่ร่างกายมีการเจริญเติบโต เช่น วัยทารก เด็ก และหญิงมีครรภ์ และแคลเซี่ยม เป็นเกลือแร่ที่มีมากที่สุดในร่างกาย ส่วนใหญ่จะพบที่กระดูกและฟัน ทั้งนี้ผู้ใหญ่ต้องการแคลเซี่ยมวันละ ประมาณ 400 – 500 ม.ก.ส�ำหรับในเด็กถ้าได้รับแคลเซี่ยมไม่เพียงพอจะท�ำให้เติบโตไม่เต็มที่ไม่แข็งแรง และถ้าขาดมากหรือได้รบั ไม่เพียงพอจะเป็นโรคกระดูกอ่อนเลือดแข็งตัวช้าและอาจมีอาการชักส่วนในหญิง มีครรภ์และหญิงที่ให้นมบุตรถ้าได้รับแคลเซี่ยมไม่เพียงพอจะท�ำให้ฟันผุและเป็นโรคกระดูกอ่อนอย่างไร ก็ตามถ้าทุกคนรับประทานอาหารทีม่ แี คลเซีย่ มสูงจะเกิดประโยชน์ตอ่ ร่างกายคือช่วยสร้างกระดูกและฟัน และยังช่วยป้องกันโรคกระดูกอ่อนและฟันผุได้ 7. น�้ำ น�้ำเป็นสารอาหารที่ส�ำคัญที่สุด และเป็นสารอาหารที่มีมากที่สุดในร่างกายของคน และ สิง่ มีชวี ติ อืน่ ๆ เพราะเป็นส่วนประกอบส�ำคัญ ของเซลล์และเนือ้ เยือ่ ต่างๆ ของร่างกาย ช่วยดูดซึมวิตามินบี และวิตามินซี ในร่างกายของคนเรา ทั้งนี้ร่างกายมีน�้ำประมาณร้อยละ 60-70 ของน�้ำหนักร่างกาย โดยคน อ้วนที่มีไขมันในร่างกายมากมักจะมีน�้ำน้อยกว่าคนผอม อย่างไรก็ตามปริมาณน�้ำในร่างกายนี้ ร่างกายควร จะพยายามรักษาไว้ให้คงที่อยู่เสมอ เพราะการสูญเสียน�้ำออกจากร่างกาย หรือมีน�้ำมากเกินไปเพียงเล็ก น้อยอาจท�ำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้เนื่องจากน�้ำเป็นส่วนประกอบของเซลล์ทุกเซลล์ในร่างกาย และมีการ ถ่ายออก หรือไหลเข้าออกในเซลล์ได้ตลอดเวลา ดังนั้นการสูญเสียน�้ำออกจากร่างกาย มักท�ำให้มีการสูญ เสียสารอื่นที่ละลายในน�้ำด้วย อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับผู้ใหญ่ในวันหนึ่งๆ น�้ำในร่างกายร้อยละ 6 จะถูกใช้ไป และจะมีน�้ำ ใหม่เข้ามาแทนที่ แต่ถ้าเป็นทารกน�้ำในร่างกายร้อยละ 15 จะถูกใช้ไป ซึ่งมากกว่าผู้ใหญ่ ทั้งนี้ อาหารที่มี น�้ำมากและควรรับประทานเป็นประจ�ำ ได้แก่ ผักสด และผลไม้สด รองลงไป คือ เนื้อสัตว์และผลิตผลจาก สัตว์ หน้าที่และประโยชน์ของน�้ำ 1. ช่วยให้ผิวพรรณสดชื่น 2. ช่วยให้ปฏิกิริยาเคมี และการเผาผลาญอาหารในร่างกายดีขึ้น 3. ช่วยน�ำสารอาหารไปหล่อเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย 4. ช่วยในการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย 58
5. ช่วยในการสะสมอาหาร เช่น ไขมัน โปรตีน 6. เป็นส่วนประกอบของเลือด ซึ่งของเหลวในเลือดมีไม่น้อยกว่า 80 เปอร์เซนต์ 7. ช่วยรักษาและควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ 8. ช่วยในการหล่อลื่น เช่น น�้ำตา ไขข้อต่างๆ ดังนั้น เมื่อน�้ำมีประโยชน์หลายอย่าง นอกจากจะท�ำให้ผิวพรรณสดชื่น ช่วยเผาผลาญ อาหารอาหารไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย และยังช่วยขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย คนเราจึงควรดื่ม น�้ำวันละ 1 ซี.ซี. ต่อพลังน�ำสารงงาน 1 กิโลแคลอรี่ ที่ได้รับจากอาหาร ส�ำหรับผู้ใหญ่ ประมาณวันละ 6-8 แก้ว ส่วนเด็กโดยเฉพาะทารก ควรได้รับน�้ำ 1.5 ซี.ซี ต่อพลังงาน 1 กิโลแคลอรี่ อย่างไรก็ตามการบริโภค น�้ำยังขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่างเช่น อาหารที่มีโปรตีนสูง เพราะร่างกายต้องการใช้น�้ำในการขับถ่ายออก มากจึงท�ำให้ต้องการน�้ำมาก และเมื่อมีอากาศร้อน หรือเมื่อร่างกายมีโรคภัยไข้เจ็บ ซึ่งเป็นสาเหตุท�ำให้สูญ เสียน�้ำ มากก็ควรดื่มน�้ำมากขึ้นมากกว่าปกติด้วยอย่างไรก็ตามถ้าร่างกายได้รับน�้ำไม่เพียงพอจะมีอาการ กระหายน�้ำ ผิวแห้ง เยื่อบุอวัยวะแห้ง น�้ำหนักลด ปัสสาวะน้อย ปริมาณไนโตรเจนในเลือดต�่ำ โซเดียมและ คลอรีนสูงขึ้น ส่วนโปแทส เซียมจะลดต�่ำลง ท้ายสุดอาจหมดสติได้ สรุปได้วา่ อาหารทีค่ นเรารับประทานจะแตกต่างกันตามเชือ้ ชาติศาสนาตลอดจนวัฒนธรรม ประเพณีแต่พื้นฐานแล้วความต้องการสารอาหารของร่างกายคนเราจะคล้ายกันดังนั้นไม่ว่าจะเป็นบุคคล ในลักษณะใดก็ตามควรรับประทานอาหารให้ครบตามสารอาหารทีร่ า่ งกายต้องการเพือ่ เป็นพืน้ ฐานในการ สร้างสุขภาพที่ดีต่อไป
2. อาหารหะลาลที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ความหมายของอาหารหะลาล อาหารหะลาล หมายถึง อาหารซึ่งผลิตขึ้นถูกต้องตามบทบัญญัติของศาสนา และอิสลาม อนุญาตให้มุสลิมสามารถบริโภคได้ โดยค�ำนึงถึงความสะอาด มีคุณค่าตามหลักโภชนาการ อิสลามได้วางหลักโภชนาการเพื่อสร้างจิตส�ำนึกและแนวทางให้กับมุสลิมในเรื่องของการ เลือกอาหารและความผูกพันระหว่างมุสลิมกับพระผู้เป็นเจ้า ผู้ซึ่งประทานปัจจัยยังชีพให้กับมนุษย์และ ความสัมพันธ์ของการบริโภคกับสังคมดังต่อไปนี้ 1. อาหารหรือปัจจัยยังชีพที่องค์อัลลอฮ์ทรงประทานให้ ฉะนั้นทุกครั้งที่บริโภคหรือได้รับปัจจัยยังชีพสิ่งที่พึ่งกระท�ำคือระลึกถึงอัลลอฮและขอ ดุอาอ์ให้เกิดความจ�ำเริญในอาหารนั้น อัลลอฮ์ได้ตรัสมีความว่า ใครก็ตามที่ย�ำเกรงต่ออัลลอฮ แน่แท้ อัลลอฮจะให้ทางออกแก่เขา และประทานปัจจัยยังชีพโดยที่เขาไม่สามารถประมาณได้ ในสูเราะฮฺ อัลบะเกาะเราะฮอัลลอฮ์ได้ตรัสว่า บรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลาย จงบริโภคสิ่งที่เราได้ ให้เป็นปัจจัยยังชีพแก่พวกเจ้า จากสิ่งดีๆ ทั้งหลาย และจงขอบคุณอัลลอฮ์เถิด หากเฉพาะพระองค์เท่านั้น ที่พวกเจ้าจักเป็นผู้เคารพสักการะ 59
ท่านเราะสูลได้กล่าวมีความว่า ผู้ใดที่อัลลอฮ์ได้ทรงประทานอาหารใดๆให้แก่เขา เขาจึง กล่าวขอพรว่าโอ้อลั ลอฮ์โปรดประทานความจ�ำเริญในอาหารนีด้ ว้ ยเถิดและโปรดประทาน(อาหาร)ทีด่ กี ว่า นี้แก่เรา (บันทึกโดย อบูดาวูดและอัตติรมิษีย์) ถือศิลอด)
ในรายงานอื่นท่านนบี ได้รายงานว่า ( ผู้บริโภคที่รู้คุณ อัลลอฮ์จะให้ผลบุญเสมื่อนผู้ที่
2. ต้องเป็นอาหารที่อนุมัติ (หะลาล) ในตัวอาหารเองหรือการได้มาของอาหารต้องเป็นการได้มาที่ถูกต้อง โดยหลีกเลี่ยงอาหารที่ หารอมหรือคลางแคลงไม่แน่ชัดว่าหะลาลหรือหะรอม) อัลลอฮ์ได้ตรัสในอัลกุอ่าน ความว่า : ผู้ที่ศรัทธาทั้งหลาย! จงอย่าได้ให้เป็นที่ต้องห้าม ซึ่ง บรรดาสิง่ ดีๆ ในสิง่ ทีอ่ ลั ลอฮ์ได้ทรงหะลาล(อนุมตั )ิ ให้แก่สเู่ จ้าเป็นของหะรอม(ต้องห้าม)และพวกเจ้าจงอย่า ละเมิด แท้จริงอัลลอฮ์นั้นไม่ทรงชอบบรรดาผู้ละเมิด และจงบริโภคจากสิ่งที่อัลลอฮ์ได้ทรงให้เครื่องยังชีพ แก่สเู่ จ้าซึง่ สิง่ อนุมตั แิ ละทีด่ แี ละจงส�ำรวมตนต่ออัลลอฮ์ในพระองค์ทสี่ เู่ จ้าเป็นผูศ้ รัธทา (สูเราะฮอัลมาอิดะฮฺ อายะฮที่ 87-88) ต่อสังคม
3. เป็นอาหารที่มีประโยชน์มีคุณค่าทางด้านโภชนาการ ไม่ใช่อาหารที่มีโทษและอันตรายต่อผู้บริโภคหรือเป็นสาเหตุให้เกิดโทษต่อคนรอบข้างหรือ
อัลลอฮตรัสมีความว่า เขาเหล่านั้นจะถามเจ้าว่า มีอะไรบ้างที่ถูกอนุมัติแก่พวกเขา จง กล่าวเถิด ที่ถูกอนุมัติแก่พวกเจ้านั้นคือสิ่งดีๆ ทั้งหลายและบรรดาสัตว์ส�ำหรับล่าเนื้อที่พวกเจ้าฝึกสอนมัน พวกเจ้าจงบริโภคจากสิ่งที่มันจับมาให้แก่พวกเจ้าและจงกล่าวพระนามของอัลลอฮ์บนมันเสียก่อนและจง กลัวเกรงอัลลอฮ์เถิด แท้จริงอัลลอฮ์นั้นเป็นผู้ทรงรวดเร็วในการช�ำระสอบสวน ท่านเราะสูลกล่าวมีความว่า หะลาลคือสิง่ ทีอ่ ลั ลอฮได้อนุมตั ใิ ห้เป็นสิง่ ทีถ่ กู ต้องในคัมภีร์ ของพระองค์ และหะรอมคือสิง่ ทีพ่ ระองค์ได้ทรงห้ามไว้ในคัมภีรข์ องพระองค์ “ (บันทึกโดยอัตติรมิษยี แ์ ละ อิบนุมาญะฮฺ) 4. บริโภคแต่พอควร ไม่ควรบริโภคอย่างฟุ่มเฟือย อัลลอฮ์ได้ตรัสในอัลกุรอ่าน ความว่า ลูกหลานของอาดัมเอ๋ย ! จงเอาเครื่องประดับกาย ของพวกเจ้า ณ ทุกมัสยิด และสู่เจ้าจงกิน จงดื่มและจงอย่าฟุ่มเฟือย แท้จริงพระองค์ไม่ชอบผู้ที่ฟุ่มเฟือย” (สูเราะฮอัลอะรอฟ อายะฮที่ 31) 60
ท่านเราะสูลกล่าวความว่า “ไม่มีภาชนะใดที่มนุษย์บรรจุจนเต็ม จะเลวร้ายไปกว่าท้อง ของเขาเป็นการพอเพียงส�ำหรับเขาซึ่งอาหารไม่กี่ค�ำที่ท�ำให้ครองร่างอยู่ได้ หากจ�ำเป็นมากกว่านั้นก็ให้กิน แต่หนึ่งส่วนในสามส่วนของกระเพาะ อีกหนึ่งส่วนไว้ส�ำหรับดื่มน�้ำและเอาหนึ่งส่วนว่างไว้ส�ำหรับหายใจ” (บันทึกโดย อัตตีรมีษีย์) ในรายงานอืน่ ๆ ท่านเราะสูลได้กล่าว ซึง่ มีความว่า “อาหารทีร่ บั ประทานสองคน พอเพียง ที่จะท�ำการรับประทาน 3 คน และอาหารที่รับประทาน 3 คนพอเพียงที่จะท�ำการรับประทาน 4 คน” บันทึกโดย บุคอรียแ์ ละมุสลิม ศรัทธาชนรับประทานด้วยกระเพาะอันเดียวส่วนปฏิเสธชน รับประทานด้วย 7 กระเพาะ อาหารต้องห้ามในอิสลาม 1. สุนัขและสุกร 2. สุรา ของมึนเมา และแอลกอฮอล์ 3. ซากสัตว์ หมายถึง สัตว์ที่ตายโดยไม่ได้เชือดตามหลักการอิสลามยกเว้น ปลาและตั้ก แตน 4. เลือดที่หลั่งริน น�้ำเหลือง น�้ำหนอง ยกเว้นอวัยวะที่คล้ายเลือดแต่ไม่ใช่เลือด เช่น ตับ และ ม้าม 5. ปัสสาวะ อุจจาระ และอาเจียน ของมนุษย์และสัตว์ 6. ส่วนที่แยกออกจากสัตว์ขณะที่สัตว์นั้นยังมีชีวิตยกเว้นผมและขน 7. นมสัตว์ที่เนื้อของมันไม่อนุมัติให้รับประทาน เช่น นมแมว นมสุกร นมสุนัข ซึ่งถือ เสมือนเนื้อของสัตว์เหล่านั้น จึงจัดเป็นนะญีส
3. ภาวะโภชนาการที่มีผลต่อสุขภาพ 3.1 ภาวะทุพโภชนาการในวัยรุ่น (malnutrition) ภาวะทุพโภชนาการในวัยรุ่นมีได้หลายรูปแบบทั้งท�ำให้การเจริญเติบโตล่าช้า เจ็บป่วยบ่อย ความสามารถในการเรียนรู้ ผลการเรียน สมรรถภาพในการท�ำกิจกรรมและการเล่นกีฬาด้อยหรือถดถอย ลง ในขณะเดียวกันปัญหาด้านโภชนาการเกินก็ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเป็นล�ำดับ ปัญหาหลักที่พบจากข้อมูลของ WHO มีดังนี้ 1. Micronutrient deficiency เช่น การขาดธาตุเหล็กจนท�ำให้เกิดโรคโลหิตจาง คือ ภาวะที่ร่างกาย มีจ�ำนวนเม็ดเลือดแดงต�่ำกว่าปกติ เนื่องจากมีธาตุเหล็กไม่เพียงพอ ที่จะน�ำไปสร้างเม็ด เลือด และโรคขาดธาตุไอโอดีน โรคขาดวิตามินเอ 2. Macronutrient deficiency เช่น ภาวะของการขาดโปรตีนและพลังงาน เมื่อร่างกาย ได้รับพลังงานและโปรตีนไม่เพียงพอ ก็จะมีผลต่อการเจริญเติบโตของวัยรุ่น เช่นตัวเตี้ย ผอม น�้ำหนักต�่ำ 61
กว่าเกณฑ์และสติปัญญาการเรียนรู้ซึ่งมักพบในชนบท โดยเฉพาะในถิ่นทุรกันดาร สาเหตุส�ำคัญคือ ขาด ความรู้ และมีความยากจน 3. Malnutrition and stunting ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารน้อยไปจากปกติส่งผล ให้การเจริญเติบโตทางด้านสรีระเจริญไม่เต็มที่จนก่อให้เกิดการแคระเกร็นของร่างกายขึ้น หรือตัวเตี้ยได้ 4. Obesity and other nutrition related chronic diseases ภาวะโภชนาการเกิน ที่ก่อให้เกิดโรคอ้วนและน�ำมาซึ่งโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเกาต์ โรคมะเร็งเต้านม, มดลูกในผู้หญิงและมะเร็งต่อมลูกหมากหรือมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ในผู้ชาย นิ่วในถุงน�้ำดี ฟัน ผุ เป็นต้น รวมทั้งการก่อให้เกิดโรคทั้งทางร่างกายและทางจิตใจด้วย 5. Nutrition in relation to early pregnancy การที่ตั้งครรภ์เมื่ออยู่ในวัยรุ่นของหญิง พบภาวะขาดอาหารเนื่องจากขาดความรู้ท�ำให้รับประทานอาหารไม่เหมาะสมซึ่งจะส่งผลให้ผลิตน�้ำนมได้ น้อยและได้ทารกที่มีน�้ำหนักตัวต�่ำกว่าเกณฑ์ เป็นต้น 3.2 ภาวะน�้ำหนักเกินและโรคอ้วน การได้รับปริมาณอาหารที่มากเกินพอ การเคลื่อนไหวในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ลดลง น�ำไป สู่ความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูง ปัญหาเกี่ยวกับ ข้อต่อและสุขภาพไม่ดี จากการศึกษาพบว่าถ้ามีภาวะน�้ำหนักเกินในวัยรุ่น ก็จะพบต่อเนื่องในวัยผู้ใหญ่ได้ และเป็นปัจจัยบ่งชี้ของการเกิดโรคต่างๆ ภาวะอวนเปนปจจัยเสีย่ งทีส่ าํ คัญตอการเกิดโรคไมต ดิ ตอ เรือ้ รัง ไดแ ก โรคเบาหวาน โรคหัวใจ ขาดเลือด หลอดเลือดสมอง เป็นต้น จากผลการศึกษาติดตามเด็กอวนไประยะยาว พบว่าหนึ่งในสามของ เด็กทีอ่ ว นในวัยกอ นเรียน และครึง่ หนึง่ ของเด็กอว นในวัยเรียนจะยังคงอ้วนเมือ่ เปน ผูใ หญ โดยเฉพาะวัยร ุน ที่อวนโอกาสที่จะเปนผูใหญอวนยิ่งสูงมาก กลายเปนปญหาสุขภาพที่บั่นทอนคุณภาพชีวิตและเปนภาระ คาใชจายในการรักษาพยาบาลในระยะยาว 3.3 วัยรุ่นที่เล่นกีฬา วัยรุน่ ทีเ่ ล่นกีฬาต้องการพลังงานสูงเป็นพิเศษ ซึง่ บางกรณีอาจจะส่งผลเสียแก่การเจริญเติบโต และสภาพจิตใจจนอาจท�ำให้มพี ฤติกรรมการบริโภคทีผ่ ดิ ปกติของวัยรุน่ กลุม่ นีไ้ ด้ และปริมาณแคลเซียมและ ธาตุเหล็กที่อาจไม่เพียงพอ ดังนั้นอาหารที่เลือกรับประทานควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษว่าครบถ้วน เพียง พอและสร้างสมดุลแก่รา่ งกาย ควรเน้นเรือ่ งปริมาณคาร์โบไฮเดรตเพือ่ ให้ได้พลังงานและการดืม่ น�้ำ ทีเ่ พียง พอในช่วงเล่นกีฬา อาหารว่างที่รับประทานควรย่อย และสามารถดูดซึมได้ง่าย ควรมีการเสริม ทั้งปริมาณ แคลเซียมส�ำหรับสุขภาพกระดูกที่แข็งแรงและปริมาณธาตุเหล็กซึ่งในนักกีฬาหญิงถ้ารับไม่เพียงพออาจ กระทบต่อรอบเดือนได้
62
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
วัยรุ่นกับการดูแลน�้ำหนักตัวและการทดสอบ สมรรถภาพทางกาย มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การด�ำรงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ตัวชี้วัด 1. ควบคุมน�้ำหนักของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 2. สร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโต
วัยรุ่นกับการดูแลน�้ำหนักตัว และการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
การเสริมสร้างและปรับปรุงสมรรถภาพ ทางกาย
การควบคุมน�้ำหนักของตนเองตามแนว ทางอิสลามให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
63
1. เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโต เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตจะเป็นเกณฑ์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบการเจริญเติบโต เกี่ยวกับ ความสูง น�ำ้ หนัก อายุ เพศ ว่ามีพฒ ั นาการได้มาตรฐานสมวัยหรือไม่ การศึกษาท�ำความเข้าใจเกีย่ วกับเรือ่ ง นี้จึงมีความส�ำคัญเพราะจะท�ำให้สามารถมีการเสริมสร้างตนเองและผู้อื่น ให้มีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์ มาตรฐานที่ก�ำหนดอย่างสมวัย การเจริญเติบโต หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทางด้านขนาดของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย โดย มีเพิ่มจ�ำนวนและขนาดของเซลล์ เช่น น�้ำหนักเพิ่ม ส่วนสูงมากขึ้น ศีรษะใหญ่ขึ้น แขนและขา มือ เท้า นิ้วมือ นิ้วเท้ามีขนาดใหญ่และยาวขึ้น อวัยวะต่างภายในมีขนาดโตขึ้น กรมอนามัย กระทรวงสารธารณสุข เป็นหน่วยงานที่ก�ำหนดเกณฑ์มาตรฐาน โดยมอบให้คณะ ท�ำงานจัดท�ำมาตรฐานน�้ำหนัก ส่วนสูงและเครื่องชี้วัดภาวะโภชนาการของประเทศไทย การก�ำหนดเกณฑ์มาตรฐานไม่ได้จัดท�ำเพียงครั้งเดียวแล้วใช้ได้ตอดไป แต่จะมีการจัดท�ำเป็นระ ยะๆ เพราะอัตราการเจริญเติบโตของเด็กไทยมีแนวโน้มที่จะเจริญเติบโตเร็วขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับอดีต ทั้งนี้เพราะมีการรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์มากขึ้น โดยเฉพาะเมื่อมีการรณรงค์ให้เด็กดื่มนม ดังนั้นการก�ำหนดเกณฑ์มาตรฐานของน�้ำหนักแสะส่วนสูงจึงต้องจัดท�ำขึ้นใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับภาวะ การเจริญเติบโตที่เป็นปัจจุบันของเด็กไทย ตารางเกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียนและเด็กวัยรุ่นอายุระหว่า 7-19 ปี อายุ (ปี) 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
เพศชาย น�้ำหนัก (กก.)
ส่วนสูง (ซม.)
น�้ำหนัก (กก.)
ส่วนสูง (ซม.)
18.30-28.80 20.00-32.20 21.50-36.60 23.60-40.80 25.60-45.20 28.10-50.00 31.60-54.60 35.60-58.70 40.10-61.90 43.80-64.20 46.30-65.80 48.10-66.90 48.90-67.40
112.80-127.40 117.40-133.20 121.80-138.30 126.20-143.40 130.50-149.40 135.10-156.90 140.90-164.40 147.30-170.00 153.50-173.20 158.30-175.90 160.40-177.20 161.40-177.50 161.70-177.60
17.70-28.70 19.30-32.50 21.20-37.40 23.40-42.10 26.10-46.50 29.40-50.20 33.00-53.10 36.30-55.20 38.60-56.50 40.10-57.20 40.80-57.60 41.30-57.70 41.70-57.80
112.40-126.80 117.00-132.50 121.90-139.10 127.10-146.10 132.90-152.60 138.80-156.90 143.50-160.20 147.00-162.30 148.40-163.50 149.10-164.00 149.50-164.20 149.70-164.20 149.80-164.20
ที่มา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 64
เพศหญิง
2. การควบคุมน�้ำหนักของตนเองตามแนวทางอิสลามให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน การควบคุมน�้ำหนักเป็นวิธีการรักษาน�้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่คงที่ ไม่อ้วนหรือผอมเกิน ไปจนต้องลดหรือเพิ่มน�้ำหนัก อีกทั้งยังเป็นวิธีการรักษาสุขภาพของตนเองให้แข็งแรง เพื่อลดความเสี่ยง ต่อการเกิดโรค ดังนั้นการควบคุมน�้ำหนักให้คงที่และอยู่ ในระดับที่เหมาะสม จึงเป็นสิ่งส�ำคัญในการดูแลสุขภาพ ของตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงของวัยรุ่น 2.1 ความส�ำคัญของการควบคุมน�้ำหนัก ซึ่งการควบคุมน�้ำหนักให้อยู่ในสภาวะคงที่และ ปกติตลอดไปนั้น มีความส�ำคัญ ดังนี้ 1.1 เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น โรคอ้วน โรคไขมันในเลือด เป็นต้น 1.2 เพื่ อ ให้ ร ่ า งกายแข็ ง แรง มี ค วาม กระฉับกระเฉงว่องไว ตลอดจนสร้างความเชื่อมั่นให้กับตนเอง ในด้านบุคลิกภาพและส่งผลไปถึงจิตใจ 1.3 เพื่อรักษาน�้ำหนักให้อยู่ในระดับมาตรฐาน อันมีผลต่อการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง ทั้งในปัจจุบันและอนาคต 2.2 วิธีการดูแลตนเองเพื่อการควบคุมน�้ำหนัก วิธีการควบคุมน�้ำหนักให้ประสบผลส�ำเร็จนั้น ถือเป็นวิธีการที่ยากกว่าการเพิ่มหรือลดน�้ำหนักดัง กล่าว ดังนั้นการควบคุมน�้ำหนักที่ดีที่สุดควรปฏิบัติดังนี้ 1) ด้านโภชนาการและบริโภคนิสัย มีหลักปฏิบัติ ดังนี้ 1.1 รับประทานอาหารให้ครบ 3 มื้อ และตรงเวลาทุกมื้อ 1.2 ควรรับประทานให้พออิ่มในปริมาณใกล้เคียงกันทุกมื้อ ไม่ควรรับประทานเร็วเกินไป ควรเคี้ยวช้าๆ และควรชิมอาหารก่อนปรุงทุกครั้ง 1.3 รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการในแต่ละหมู่ ควรเพิ่ม ผักและผลไม้ที่มีกากใยในมื้ออาหาร 1.4 หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสจัด อาหารที่มีไขมันมาก และอาหารส�ำเร็จรูป ควรเลือกใช้วิธี การปรุงอาหารด้วยกรรมวิธีการนึ่ง ต้ม แทนการทอดด้วยน�้ำมันต่างๆ 1.5 ควรดื่มน�้ำเปล่าแทนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น น�้ำอัดลม ชา กาแฟ เป็นต้น 2) ด้านการออกก�ำลังกาย ปกติร่างกายของคนเรายิ่งอายุเพิ่มขึ้นก็ยิ่งต้องการพลังงานใน ปริมาณที่น้อยลง หากเราต้องการควบคุมน�้ำหนักด้วยการออกก�ำลังกายเพียงอย่างเดียว เราจะต้องออก ก�ำลังกายอย่างหนักและอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นสิ่งที่ท�ำได้ยาก ดังนั้นจึงต้องมีการออกก�ำลังกายควบคู่ไปกับ การควบคุมการรับประทานอาหารไปด้วยถึงจะได้ผลดีที่สุด ซึ่งการออกก�ำลังกายนั้นควรปฏิบัติดังนี้ 65
2.1 ออกก�ำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-5 ครั้งๆ ละอย่างน้อย 30 นาทีโดยเลือกให้ เหมาะสมกับเพศและวัยของตนเอง 2.2 หากไม่สะดวกหรือไม่มเี วลาในการออกก�ำลังกาย ควรมีการปฏิบตั กิ จิ กรรมทดแทน ซึ่งการท�ำงานบ้านก็ถือว่าเป็นการออกก�ำลังกายอย่างหนึ่ง ยิ่งได้มีการท�ำร่วมกับครอบครัวด้วยแล้ว ก็เป็น ผลพลอยได้ในการช่วยสร้างเสริมสัมพันธภาพในครอบครัวควบคู่กันไป 2.3 ก�ำหนดตารางเวลาในการออกก�ำลังกายอย่างเคร่งครัดและจริงจัง วิธีการควบคุมน�้ำหนักให้ได้ผลสามารถท�ำได้ ดังนี้ 1. ความตั้งใจของตัวเอง การควบคุมน�้ำหนักเป็นสิ่งที่ท�ำได้ไม่ยาก แต่สาเหตุที่ท�ำไม่ค่อย ประสบความส�ำเร็จ มาจากการไม่สามารถควบคุมให้อยู่ในโปรแกรมได้ตลอดระยะเวลาที่ก�ำหนด เราควร สร้างก�ำลังใจให้ตนเอง มีความตั้งใจที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย สร้างภาพพจน์ให้ชัดเจนในใจ จินตนาการถึงสิ่ง ที่เกิดขึ้นเมื่อท�ำส�ำเร็จ 2. ไม่ควรอดอาหาร เพราะการอดอาหาร นอกจากจะท�ำให้ขาดสารอาหารแล้ว ยังท�ำให้รสู้ กึ หิวมาก จนท�ำให้รับประทานอาหารในปริมาณที่มากเกินไป การอดอาหารเป็นเวลานาน จะท�ำให้ร่างกาย เผาผลาญพลังงานน้อยลง และจะกลายเป็นคนอ้วนง่าย วิธีการควบคุมอาหารที่ถูกต้อง คือ รับประทาน อาหารประเภท คาร์โบไฮเดรตและโปรตีนในสัดส่วนที่พอเหมาะ ลดอาหารไขมันสูง รับประทานผักและ ผลไม้ แทนมากๆ 3. หาเวลาออกก�ำลังกาย ควรออกก�ำลังกายทั้งแบบแอโรบิก เพื่อให้เกิดการเผาผลาญ พลังงาน และหัวใจได้สูบฉีดโลหิต ควบคู่ไปกับการออกก�ำลังกาย แบบเพิ่มความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ จะ ท�ำให้ร่างกายกระชับได้สัดส่วน อย่างน้อยวันละ 30 นาที 4. งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ น�้ำหวาน น�้ำอัดลม ให้ดื่มน�้ำเปล่า วันละประมาณ 8 แก้ว หรือ ดื่มน�้ำผลไม้ 100% ที่ไม่มีน�้ำตาล 5. อย่ารับประทานอาหารเร็วเกินไป เนื่องจากร่างกายมีกลไก การรับรู้ความรู้สึกอิ่มจาก สารอาหาร โดยเฉพาะน�้ำตาลที่เข้าสู่กระแสเลือด หากรับประทานเร็วเกินไป กว่าร่างกายจะตอบสนองว่า อิ่ม ก็ได้รับประทานอาหารมากเกินไปแล้ว เพราะฉะนั้นในแต่ละมื้ออาหาร ควรดื่มน�้ำก่อน 1 แก้ว เคี้ยว อาหารให้ช้าลง และหยุดรับประทานอาหารทันทีที่รู้สึกอิ่ม ไม่ควรเสียดายอาหารที่เหลือ 6. ควรรับประทานอาหารให้อมิ่ เรียบร้อย ก่อนทีจ่ ะท�ำกิจกรรมอย่างอืน่ ไม่ควรรับประทาน อาหารไป ดูทีวีไป เพราะจะท�ำให้เพลิน และรับประทานอาหารเกินความต้องการของร่างกาย 7. ไม่ควรรับประทานอาหารมือ้ ดึก หรือรับประทานขนมในเวลาก่อนเข้านอน เพราะอาหาร ที่รับประทานทั้งหมดจะกลายเป็นไขมันสะสมในร่างกาย 8. งดอาหารว่างระหว่างมื้อที่เป็นของขบเคี้ยว เบเกอร์รี่ หรือของหวาน ให้รับประทาน ผัก หรือ ผลไม้แทน 9. การออกก�ำลังกายทีส่ นุกสนาน จะช่วยท�ำให้เราสามารถท�ำได้อย่างสม�ำ่ เสมอ และมีความ สุขที่จะท�ำ เช่น เล่นกีฬาที่ชอบ, ท�ำกิจกรรมร่วมกับสมาชิกที่บ้าน อาจเป็นงานบ้าน หรือไปออกก�ำลังกาย 66
ที่สวนสาธารณะ เมื่อไหร่ที่เริ่มมีอาการเบื่อการออกก�ำลังกาย ให้สลับกับกิจกรรม หรือกีฬาที่เราชอบ เพื่อ เป็นการเผาผลาญพลังงานไปพร้อมๆ กัน 10. เริ่มต้นด้วยเป้าหมายที่เป็นไปได้ ไม่ควรลดน�้ำหนักรวดเร็วเกินไป ให้รางวัลกับตัวเอง เช่น เสื้อ หรือกางเกง เมื่อประสบความส�ำเร็จ แต่ไม่ควรให้รางวัลด้วยอาหารมื้อพิเศษ เกีย่ วกับการลดน�ำ้ หนักอิสลามได้วางรากฐานอย่างชัดเจนในอัลกุรอานและอัลหะดีษเกีย่ วกับ การบริโภคอาหารว่า เป้าหมายของการบริโภคตามหลักค�ำสอนของอิสลามเพือ่ ให้รา่ งกายแข็งแรง เพือ่ จะได้ ปฏิบตั ศิ าสนกิจได้อย่างสมบูรณ์ ผูท้ ฉี่ ลาดเป็นผูท้ หี่ วังในวันกิยามะฮฺและในอัลลอฮ์และไม่มที างใดทีจ่ ะน�ำ มนุษย์ไปสูป่ ลายทางได้นอกเสียการความรูแ้ ละการงานทีด่ ี ซึง่ ไม่สามารถด�ำเนินได้นอกเสียจากการมีสขุ ภาพ ดี โดยการบริโภคอาหารทีด่ แี ละมีประโยชน์ ในการนี้ อัลลอฮ์ได้ตรัสแก่บรรดาเราะสูลความว่า โอ้บรรดา เราะสูลเอ๋ย พวกเจ้าจงบริโภคจากสิ่งที่ดี และจงกระท�ำความดีเถิด (สูเราะฮฺ อัล-มุอฺมิน อายะฮที่ 51) ค�ำสอนของอิสลามส่งเสริมให้มนุษย์กนิ อย่างพอควร การปฏิบตั ติ อ่ เนือ่ ง สม�ำ่ เสมอและมีความ พอดี ในทุกๆ เรื่องไม่ว่าเรื่องการละหมาด การถือศิลอด การกิน การดื่ม การเรียน การงาน ดังที่พระองค์ ได้ตรัสไว้ว่า
ความว่า จงกินและจงดื่ม แต่จงอย่าสุรุ่ยสุร่าย (สูเราะฮฺอัล-อะอฺรอฟ อายะฮที่ 31)
การรับประทานอาหารในปริมาณที่พอดีกับร่างกาย จะเกิดประโยชน์ต่อร่างกาย แต่เมื่อใด ที่ร่างกายได้รับปริมาณมากเกินไปนั้นก็คือ ความสุรุ่ยสุร่าย การสุดโต่ง ทั้งสองด้านนั้นจะไม่ท�ำให้สุขภาพ ดีขึ้น แต่จะท�ำให้เกิดโรคได้ เราะสูลได้กล่าวไว้ ความว่า “ท่านทั้งหลายจงท�ำตามสายกลางและจงพยายามท�ำให้ใกล้เคียงสิ่งที่สมบูรณ์ที่สุด จงใช้เวลาช่วงเช้า ช่วงเย็นและช่วงหนึง่ ในยามดึกอย่างปานกลาง พวกท่านจะบรรลุเป้าหมาย” (บันทึกโดย อัลบุคอรีย์) จากหลักฐานที่ได้กล่าวมาทั้งจากอัลกุรอานและอัลหะดีษ ล้วนยืนยันเป็นหลักฐานให้เห็นว่า อิสลามสนับสนุนให้กระท�ำทุกอย่างโดยยึดถือความพอดี ความเป็นกลางเป็นหลัก โดยเฉพาะในเรื่องเกี่ยว กับการกิน เพราะจากการกินที่ไม่ถูกต้อง ไม่ถูกวิธี จะน�ำมาซึ่งโรคภัย ไข้เจ็บต่างๆ นานา เช่น โรคอ้วน ซึ่ง โรคอ้วนสามารถป้องกันได้หลายวิธี หนึง่ ในวิธนี นั้ ก็คอื การกินอาหารให้เพียงพอและพอดีกบั ความต้องการ ของร่างกาย และเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ดังหลักฐานที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น 2.3 การเพิ่มน�้ำหนักส�ำหรับผู้ที่มีน�้ำหนักต�่ำกว่าเกณฑ์ การปฏิบัติตัวส�ำหรับผู้ที่มีน�้ำหนักตัวน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ค่า BMI น้อยกว่า 19) หรือ การเพิ่มน�้ำหนักนั่นเอง ซึ่งสิ่งแรกที่ควรปฏิบัติคือ ควรหมั่นสังเกตตัวเองอย่างสม�่ำเสมอ หากพบความผิด ปกติทเี่ กิดขึน้ ไม่วา่ จะเป็นอาการเบือ่ อาหาร เหนือ่ ยง่าย ไม่คอ่ ยมีแรง หรือน�ำ้ หนักลดลงจนต�ำ่ กว่าเกณฑ์ที่ 67
ควรจะเป็น สิง่ เหล่านีจ้ ะเป็นสัญญาณบอกว่าผอมเกินไปแล้ว และก�ำลังขาดสารอาหารทีจ่ ำ� เป็นต่อร่างกาย จึงควรที่จะได้รับสารอาหารและพลังงานที่มากขึ้นเพื่อช่วยในการเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง และหาก ไม่รีบแก้ไขปัญหานี้ปล่อยให้วันเวลาผ่านไป ก็จะเป็นโรคขาดสารอาหารท�ำให้ไม่มีความต้านทานโรคต่างๆ และที่ส�ำคัญอาจเกิดโรคแทรกซ้อนได้ง่าย ขั้นตอนการเพิ่มน�้ำหนักตัว คนที่ผอมจะทานอะไรได้น้อย เพราะจะเป็นคนช่างเลือก และ เบื่ออาหาร ทานอะไรก็ไม่ถูกปาก ต้องชอบหรืออร่อยจริงๆ จึงพอทานได้บ้าง หรือบางคนก็เป็นคนทาน ง่าย ทานมากด้วยแต่ก็ยังผอมอยู่ เราจึงควรมาดูว่าอาหารที่รับประทานเข้าไปนั้น มีประโยชน์หรือให้ พลังงานมากพอไหม ซึ่งคงไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะเพิ่มปริมาณอาหารที่รับประทานให้มากขึ้นอีก 1 - 2 เท่าตัว เช่น เคยทานข้าวครั้งละ 1 จาน ต้องปรับเปลี่ยนมาทานมากขึ้นเป็น 2 - 3 จาน กระเพาะอาหารของเรา คงต้องรองรับอาหารจ�ำนวนที่มากขึ้นไม่ได้ในทันทีทันใด แล้วก็คงบังคับให้ทานไม่ได้เสียด้วย แต่อยากจะ ให้เปลี่ยนลักษณะของอาหารหรือของว่างที่ให้พลังงานมากกว่าอาหารในประเภทเดียวกัน ซึ่งเป็นหลักใน การจัดอาหารเพิ่มพลังงาน ขอแนะน�ำให้ใช้วิธีดังนี้คือ 1. เพิม่ มือ้ อาหารว่างระหว่างมือ้ อาจจะเป็นช่วงระหว่างมือ้ เช้า - เทีย่ ง และก่อนนอนคือเวลา ประมาณ 10 โมง หรือระหว่างอาหารมื้อเที่ยง - เย็นก็ได้ หรือจะทานทั้ง 3 มื้อเลยยิ่งดี 2. เลือกอาหารว่าง หรืออาหารระหว่างมือ้ ทีใ่ ห้พลังงานสูง และการเพิม่ น�้ำหนักนั้นคุณควร เพิ่มทีละน้อย โดยเริ่มจากการรับประทานอาหารว่างทุกวัน ประกอบกับการดื่มนมหรือน�้ำผลไม้อีกวันละ 1 แก้ว ตัวอย่างของว่างที่มีแคลอรีสูง (100 กรัม) จ�ำนวนแคลอรี่ ขนมชั้น 273 เค้กผลไม้ 328 กล้วยแขก 326
จ�ำนวนแคลอรี่ ทุเรียนกวน 328 ขนมโดนัท 381 เม็ดขนุน 360
จ�ำนวนแคลอรี่ ช็อกโกแลตนม 520 ขนมปังแคร๊กเกอร์ 423 ขนมโก๋ 425
ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของการอาหารไทย กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
3. เพิ่มไขมันในอาหาร โดยเลือกอาหารที่มีไขมันสูง เช่น ข้าวมันไก่ ข้าวหมกไก่ ขนมที่ใส่ กะทิ และอย่าลืมรับประทานอาหารประเภทผัก ผลไม้ ประกอบกันด้วยเพื่อให้ได้สารอาหารที่ครบหมู่ 4. การออกก�ำลังก็ส�ำคัญ ควรท�ำอย่างเป็นประจ�ำ จะท�ำให้เกิดความอยากอาหารมากขึ้น แต่คงไม่ต้องหักโหมจะท�ำให้ร่างกายยิ่งทรุดหนักขึ้น ผอมมากไปอีก แต่การออกก�ำลังกายส�ำหรับคนอ้วน แตกต่างกันคือต้องควบคุมอาหารควบคู่ไปกันด้วย อย่างไรก็ตามการที่จะเพิ่มน�้ำหนักนั้นไม่จ�ำเป็นต้องเจาะจงเลือกทานอาหารหวานๆ หรืออา หารมันๆ เพื่อให้ได้แคลอรี่ตามที่ต้องการ เพราะอะไรที่มากเกินไปก็คงไม่ดีแน่ เช่น น�้ำตาลที่มากเกินไปก็ ก่อเกิดโทษให้ร่างกายได้ รวมถึงอาหารที่มีไขมันสูงก็เช่นกัน เพราะจะเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดเนื้องอก และ เป็นตัวเหนี่ยวน�ำให้เกิดมะเร็งขั้นต่อไป ซึ่งมะเร็งที่พบได้ในผู้ที่รับประทานไขมันในปริมาณสูง เช่น มะเร็ง ล�ำไส้ มะเร็งเต้านม นอกจากนี้ยังส่งผลท�ำให้มีระดับไขมันในเลือดสูงเป็นสาเหตุของโรคความดันสูง โรค อัมพฤกษ์ โรคหัวใจได้ 68
การรับประทานให้มากพอทีร่ า่ งกายน�ำไปใช้ได้อย่างพอเหมาะ ไม่ทานอย่างใดอย่างหนึง่ มากเกินไปจนท�ำให้ เป็นส่วนเกินของร่างกาย ควบคู่กับการออกก�ำลังกายและพักผ่อนอย่างเพียงพอ ก็อยากจะแนะน�ำเพิ่มอีก นิดว่าควรจะได้รบั การตรวจสุขภาพทุกปีจะท�ำให้เราทราบว่าสุขภาพเรายังแข็งแรงสมบูรณ์อยูเ่ สมอ พร้อม ที่จะใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขโดยไม่มีโรคภัยมาเบียดเบียน
3. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ( Physical Fitness Test) มีจดุ ประสงค์เพือ่ ทราบถึงสมรรถภาพ ของผูเ้ ข้าทดสอบว่ามีสมรรถภาพอยูใ่ นระดับใด ซึง่ แบบของการทดสอบสมรรถภาพมีอยูห่ ลายแบบ แต่ละ แบบจะมีเกณฑ์ปกติ (Norms) สามารถน�ำ ไปเปรียบเทียบกับสมรรถภาพที่ผู้เข้ารับการทดสอบได้ ผล จากการทดสอบจะน�ำไปประเมินสถานภาพของร่างกายและความก้าวหน้า ถ้าผู้เข้ารับการทดสอบนั้นมี โปรแกรมการเสริมสร้างสมรถภาพทางกายทีเ่ หมาะสม และมีการทดสอบสมรรถภาพก่อนและหลังการเข้า ฝึกตามโปรแกรมการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ผู้ทดสอบจะทราบถึงการเปลี่ยนแปลงว่าสมรรถภาพ ด้านใดทีม่ กี ารพัฒนาขึน้ หรือยังบกพร่องอยู่ ซึง่ เป็นประโยชน์อย่างยิง่ ในการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ต่อไป ประโยชน์ของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1. ท�ำให้ทราบระดับความสามารถของตนเองหรือผู้ที่ถูกทดสอบว่าระดับสมรรถภาพทาง กายที่ทดสอบนั้นอยู่ในระดับดีมากน้อยเพียงเมื่อเทียบเกณฑ์มาตรฐาน 2. เป็นแนวทางในการตัดสินใจเลือกเล่นกีฬาหรือกิจกรรมการออกก�ำลังกายทีเ่ หมาะสมกับ สมรรถภาพและสถานภาพทางร่างกาย 3. เป็นแรงกระตุ้นให้ผู้มีความสนใจในการออกก�ำลังกาย พัฒนาความสามารถของร่างกาย และรักษาความสมบูรณ์ของร่างกายให้คงที่อยู่อย่างสม�่ำเสมอ 4. ผลของการทดสอบสมรรถภาพทางกาย สามารถเป็นข้อมูลส�ำหรับผูฝ้ กึ สอนหรือผูค้ วบคุม โปรแกรมประเมินสถานภาพทางกายและความก้าวหน้า หรือวิเคราะห์ผลของการทดสอบ เพือ่ จัดกิจกรรม การฝึกที่เหมาะสมต่อไป ข้อควรปฏิบัติในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1. การแต่งกายด้านความคล่องแคล่วว่องไวควรค�ำนึงถึง 1.1 เสื้อผ้าขนาดพอเหมาะกับร่างกาย 1.2 ทรงผมจัดให้เรียบร้อย 1.3 รองเท้าไม่มีส้นที่สูง (รองเท้าผ้าใบสวมถุงเท้าทุกครั้ง) 2. การแต่งกายด้านความทนทานควรค�ำนึงถึง 2.1 เสื้อแขนยาว ผ้าใยเทียม ท�ำให้การระบายความร้อนยาก (เสียเหงื่อมาก) 2.2 ผ้าสีทึบดูดความร้อนได้มากกว่าสีอ่อน 69
หลักปฏิบัติในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1. วันก่อนทดสอบ 1.1 อาหารประจ�ำวันไม่เปลี่ยนแปลงให้ผิดไปจากเดิมมากนัก 1.2 งดการออกก�ำลังกายหนัก 1.3 หลีกเลี่ยงการใช้ความคิดหนัก 1.4 งดกินยาที่ออกฤทธิ์ระยะนาน 1.5 พักผ่อนให้เพียงพอ 2. วันที่ทดสอบ 2.1 อาหารควรรับประทานอย่างน้อย 1 – 2 ชั่วโมง ก่อนการทดสอบ 2.2 งดกินยาหรือสิ่งกระตุ้น (บุหรี่ ชา กาแฟ) 2.3 เตรียมเครื่องแต่งกายให้พร้อม 3. การทดสอบ 3.1 ถ้ารู้สึกว่าไม่สบายให้หยุดหรือแจ้งเจ้าหน้าที่ทันที 3.2 อย่าหยอกล้อกันตั้งใจทดสอบอย่างเต็มที่ ข้อห้ามในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย 1. แพทย์ไม่อนุญาตให้ออกก�ำลังกายมากเกิน 2. อุณหภูมิร่างกายเกิน 37 องศาเซลเซียส 3. อัตราการเต้นของหัวใจเกินกว่า 100 ครั้งต่อนาที 4. มีอาการที่ส่อแสดงว่าหัวใจท�ำงานผิดปกติ 5. อยู่ในระยะที่มีการติดเชื้อ คณะกรรมการนานาชาติเพื่อจัดมาตรฐานการทดสอบความสมบูรณ์ทางกาย ICSPFT ได้ จ�ำแนกสมรรถภาพทางกายพื้นฐานออกเป็น 7 ประเภท คือ 1. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อที่สามารถท�ำงาน หรือเคลื่อน ที่ซ�้ำๆ กันได้อย่างรวดเร็ว 2. พลังกล้ามเนื้อ (Muscle power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อที่หดตัวได้แรง และท�ำให้วัตถุหรือร่างกายเคลื่อนที่ออกไปเป็นระยะทางมากที่สุดภายในเวลาจ�ำกัด 3. ความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ (Muscle strength) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนือ้ ที่ หดตัวเพื่อเคลื่อนน�้ำหนักหรือต้านน�้ำหนักเพียงครั้งเดียวโดยไมจ�ำกัดเวลา 4. ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscle endurance) หมายถึง ความสามารถของกล้าม เนื้อที่ท�ำงานได้นานโดยไมเสื่อมประสิทธิภาพ 5. ความแคล่วคล่องว่องไว(Agility) หมายถึง ความสามารถของร่างกายในการควบคุมการ เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนไหวได้อย่างรวดเร็วและตรงเป้าหมาย 6. ความอ่อนตัว(Flexibility) หมายถึง ความสามารถของร่างกายในการเคลือ่ นไหวให้ได้มมุ 70
ของการเคลื่อนไหวอย่างเต็มที่ของข้อต่อแต่ละข้อ 7. ความอดทนทัว่ ไป (General endurance) หมายถึง ความสามารถของระบบหายใจและ ไหลเวียนเลือดทีท่ ำ� งานได้นานต่อเนือ่ งอย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะทีร่ า่ งกายมีการเคลือ่ นไหวหรือ เคลือ่ นที แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานนานาชาติ ( ICSPFT ) แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายที่นิยมใช้กันและเป็นที่ยอมรับจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก ว่าเป็นแบบทดสอบที่เหมาะสมส�ำหรับผู้สนใจทั่วไปและสามารถทดสอบด้วยตนเองได้ คือ แบบทดสอบ สมรรถภาพทางกายมาตรฐานนานาชาติ ใช้ชื่อย่อว่า ICSPFT ( International Committee Standard of Physical Fitness Test )ใช้วดั สมรรถภาพทางกายโดยทัว่ ไป ประกอบด้วยแบบทดสอบย่อย 8 รายการ ได้แก่ 1. วิ่งเร็ว 50 เมตร ( 50 Meter Sprint ) 2. ยืนกระโดดไกล ( Standing Board Jump ) 3. แรงบีบของมือ ( Grip Strength ) 4. ลุก – นั่ง 30 วินาที ( 30 Second Sit Up ) 5. ดึงข้อ งอแขนห้อยตัว ( Pull Up ) 6. วิ่งเก็บของ ( Shuttle Run ) 7. นั่งงอตัว/งอตัวไปข้างหน้า ( Trunk Forward Flexion ) 8. วิ่งระยะไกล ( Long Distance Run ) แบบทดสอบที่ 1 วิ่งเร็ว 50 เมตร อุปกรณ์ 1. นาฬิกาจับเวลา (บอกทศนิยมตัวแรกของ วินาที) 2. ลู่วิ่ง 50 เมตร มีเส้นเริ่มและเส้นชัย 3. นกหวีดส�ำหรับปล่อยตัว หรือปืนปล่อยตัว วิธีปฏิบัติ เมื่อผู้ปล่อยตัวให้สัญญาณ “เข้าที่” ให้ผู้เข้า ทดสอบยืนให้ปลายเท้าข้างใดข้างหนึง่ ชิดเส้นเริม่ เมือ่ ได้ยนิ สัญญาณปล่อยตัวให้ผเู้ ข้าทดสอบวิง่ ให้เร็วทีส่ ดุ จนผ่านเส้นชัย จุดประสงค์ เพื่อวัดความสามารถในการวิ่งเร็ว การบันทึก บันทึกเป็นวินาทีและทศนิยมต�ำแหน่งแรกของวินาที เอาเวลาทีด่ ที สี่ ดุ จากการประลอง 2 ครั้ง
71
แบบทดสอบที่ 2 ยืนกระโดดไกล อุปกรณ์ 1. พื้นที่เรียบและไม่เลื่อน หรือใช้แผ่นยางส�ำหรับยืนกระโดดไกล 2. เทปวัดระยะ วิธีปฏิบัติ ให้ผทู้ ดสอบยืนปลายเท้าทัง้ สองข้างชิดเส้นเริม่ เหวีย่ งแขนทัง้ สองไปข้างหลังพร้อมก้มตัว เมือ่ ได้จังหวะเหวี่ยงแขนไปข้างหน้าอย่างแรงพร้อมกับกระโดดด้วยเท้าทั้งสองไปข้างหน้าให้ไกลที่สุด จุดประสงค์ เพื่อวัดความสามารถของพลังกล้ามเนื้อขา การบันทึก บันทึกระยะทางที่ท�ำได้เป็นเซนติเมตร เอาระยะที่ไกลที่สุดจากการประลอง 2 ครั้ง
แบบทดสอบที่ 3 แรงบีบของมือ อุปกรณ์ 1. เครื่องวัดแรงบีบมือ 2. ผงแมกนีเซียมคาร์บอเนต วิธีปฏิบัติ ให้ผทู้ ดสอบอาจใช้มอื ลูบผงแมกนีเซียมคาร์บอเนต เพือ่ กันลืน่ แล้วปรับเครือ่ งวัด จับเครือ่ งวัดให้เหมาะมือทีส่ ดุ โดยให้ ข้อนิ้วที่ 2 รับน�้ำหนักของเครื่องวัดยืนตรงปล่อยแขนห้อยข้างล�ำ ตัว เมือ่ พร้อมให้ยกแขนออกห่างล�ำตัวเล็กน้อยก�ำมือบีบเครือ่ งวัด จนสุดแรง ระหว่างบีบห้ามไม่ให้มอื หรือเครือ่ งวัดถูกส่วนหนึง่ ส่วน ใดของล�ำตัว ห้ามเหวี่ยงเครื่องวัดหรือโถมตัวอัดแรง ให้ทดสอบ แรงบีบมือข้างละ 2 ครั้ง จุดประสงค์ เพื่อวัดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือและแขน การบันทึก บันทึกการวัดเป็นกิโลกรัม โดยเลือกค่าที่ดีที่สุด 72
แบบทดสอบที่ 4 ลุกนั่ง 30 วินาที อุปกรณ์ 1. นาฬิกาจับเวลา 2. พื้นสนามที่เรียบหรือเบาะยิมนาสติก วิธีปฏิบัติ จัดผู้เข้าทดสอบเป็นคู่ ให้ผู้เข้าทดสอบ คนแรกนอนหงาย เข่างอตั้งเป็นมุมฉากปลายเท้าแยก ห่างกันประมาณ 30 เซนติเมตร ประสานนิ้วมือรอง ท้ายทอยไว้ ผู้เข้าทดสอบคนที่ 2 คุกเข่าที่ปลายเท้าของผู้เข้าทดสอบคนแรก โดยหันหน้าเข้าหากันมือทั้ง สองก�ำและกดข้อเท้าของผู้ทดสอบคนแรกไว้ให้ส้นเท้าติดพื้น เมื่อผู้ให้สัญญาณบอก “เริ่ม” พร้อมจับเวลา ผูเ้ ข้าทดสอบคนแรกลุกขึน้ นัง่ ก้มศีรษะลงไประหว่างเข่าทัง้ สอง แล้วกลับนอนลงในท่าเดิมจนนิว้ มือแตะพืน้ จึงกลับลุกขึ้นมาใหม่ท�ำเช่นนี้ติดต่อกันไปอย่างรวดเร็วให้ได้จ�ำนวนครั้งมากที่สุดภายในเวลา 30 วินาทีข้อ ควรระวัง นิ้วมือต้องประสานท้ายทอยตลอดเวลา งอเข่าเป็นมุมฉาก ขณะนอนลงหลังจากลุกนั่งแล้วหลัง และคอต้องกลับไปอยู่ในท่าเริ่ม และห้ามใช้ศอกดันพื้นหรือเอียงตัวไปมา จุดประสงค์ เพื่อวัดความอดทนและพลังของกล้ามเนื้อท้อง การบันทึก บันทึกจ�ำนวนครั้งที่ท�ำถูกต้องใน 30 วินาที แบบทดสอบที่ 5 ดึงข้อส�ำหรับชายอายุ 12 ปีขึ้นไป งอแขนห้อย หญิง อุปกรณ์ 1. ราวเดี่ยว ซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 2 – 4 เซนติเมตร 2. ม้านั่งส�ำหรับให้ผู้ทดสอบยืนขึ้นจับราวเดี่ยวได้สะดวก วิธีปฏิบัติ ให้ผู้เข้าทดสอบจับราวในท่าคว�่ำมือให้มือห่างกันเท่าช่วงไหล่ ปล่อยตัวจนแขนล�ำตัว และขาเหยียดตรงเป็นท่าเริ่มต้น งอแขนดึงตัวขึ้นจน คางอยูเ่ หนือราวแล้วกลับสูท่ า่ เริม่ ต้นท�ำติดต่อกันไปให้ได้จำ� นวนครัง้ มากทีส่ ดุ ห้ามแกว่งเท้าหรือเตะขาถ้าหยุดพักระหว่างครั้ง นานเกินกว่า 3 – 4 วินาที หรือไม่สามารถดึงขึ้นให้คางพ้นราวได้ 2 ครั้งติดต่อกันให้ยุติการประลอง จุดประสงค์ เพือ่ วัดความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนือ้ แขน การบันทึก บันทึกจ�ำนวนครัง้ ทีด่ งึ ขึน้ ได้อย่างถูกต้องและคางพ้นราว หมายเหตุ เมื่อเริ่มต้นในการทดสอบ ควรให้ผู้ทดสอบยืนอยู่บนม้า นั่งส�ำหรับรองให้ผู้ทดสอบยืนจับราวเดี่ยวได้สะดวกก่อน เพราะจะท�ำให้ผู้ ทดสอบจัดท่าทางได้ถูกต้องและจับราวเดี่ยวได้มั่นคง
73
แบบทดสอบที่ 6 วิ่งเก็บของ อุปกรณ์ 1. นาฬิกาจับเวลา (บอกทศนิยมตัวแรกของ วินาที) 2. ทางวิ่งระหว่างเส้นขนาน 2 เส้น ห่างกัน 10 เมตร หลังเส้นเริม่ มีทางวิง่ เลย ออกไป ชิดด้านนอกของ เส้นทั้งสองมีวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 50 เซนติเมตร 3. ท่อนไม้ 2 ท่อน ขนาด 5 x 5 x 10 เซนติเมตร วิธีปฏิบัติ วางไม้ทงั้ สองท่อนกลางวงทีอ่ ยูช่ ดิ เส้นปลายทางผูเ้ ข้าทดสอบยืนให้เท้าข้างใดข้างหนึง่ ชิดเส้น เริม่ เมือ่ ได้ยนิ สัญญาณ“เข้าที”่ เมือ่ พร้อมแล้วผูป้ ล่อยตัวสัง่ “ไป”ให้ผเู้ ข้าทดสอบวิง่ ไปหยิบท่อนไม้ในวงกลม 1 ท่อน แล้ววิง่ กลับมาวางในวงกลมหลังเส้นเริม่ กลับตัววิง่ ไปหยิบอีกท่อนหนึง่ วิง่ กลับมาในวงกลมหลังเส้น เริ่มแล้ววิ่งผ่านไปเลย ห้ามโยนท่อนไม้ ถ้าวางไม่เข้าในวงเริ่มต้นใหม่ จุดประสงค์ เพื่อวัดความคล่องแคล่วว่องไว การบันทึก บันทึกตั้งแต่ “ไป” จนถึงวางท่อนไม้ท่อนที่ 2 ให้ประลอง 2 ครั้ง เอาเวลาที่ดีที่สุด แบบทดสอบที่ 7 นั่งงอตัว/งอตัวข้างหน้า อุปกรณ์ 1. กล่องสูงจากพื้น 20 - 30 เซนติเมตร ติดไม้วัดระยะยาว 50 เซนติเมตร วิธีปฏิบัติ ให้ผทู้ ดสอบนัง่ เหยียดขาตรง เท้าทัง้ สอง ชิดกันและตัง้ ฉากกับพืน้ ฝ่าเท้าจรดแกนกลางของทีต่ งั้ ไม้วัด เหยียดแขนตรงขนานกับพื้นแล้วค่อยๆ ก้มตัวไป ข้างหน้าใช้ปลายมือแตะที่ไม้บรรทัด ห้ามโยกตัวหรืองอตัวแรงๆ จุดประสงค์ เพื่อวัดความอ่อนตัว การบันทึก บันทึกเป็นเซนติเมตร ถ้าปลายนิ้วมือเหยียดเลยปลายเท้าบันทึกค่าเป็น (+) ถ้าปลาย นิ้วมือไม่ถึงปลายเท้า บันทึกค่าเป็น ( - ) ให้ทดสอบ 2 ครั้ง เอาครั้งที่ดีกว่าเป็นผลของการทดสอบ แบบทดสอบที่ 8 วิ่งระยะไกล (วิ่ง 1,000 เมตร 800 เมตร 600 เมตร) อุปกรณ์ 1. นาฬิกาจับเวลา 2. สนามวิ่ง วัดระยะให้ถูกต้อง ผู้ทดสอบชาย อายุ 12 ปีขึ้นไป วิ่ง 1,000 เมตร ผูท้ ดสอบหญิงอายุ 12 ปีขน้ ไป วิง่ 800 เมตร 74
ผู้ทดสอบชายและหญิง ที่อายุต�่ำกว่า 12 ปี วิ่ง 600 เมตร วิธีปฏิบัติ เมื่อผู้ปล่อยตัวให้สัญญาณ “เข้าที่” ผู้เข้าทดสอบยืนให้ปลายเท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้นเริ่ม เมือ่ พร้อมแล้วผูป้ ล่อยตัวสัง่ “ไป”ให้ผเู้ ข้าทดสอบวิง่ ไปตามเส้นทางก�ำหนดพยายามใช้เวลาให้นอ้ ยทีส่ ดุ ควร รักษาความเร็วให้คงที่ ถ้าไม่สามารถทนความเหนือ่ ยได้อาจหยุดเดินแล้ววิง่ ต่อ หรือเดินไปจนครบระยะทาง ก็ได้ จุดประสงค์ เพื่อวัดความอดทน การบันทึก บันทึกเป็นนาทีและวินาที ตาราง เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 11 ปี รวมทั่วประเทศ รายการ
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ต�่ำ
ต�่ำมาก
1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)
7.13 ลงมา
7.14-8.17
8.18-10.28
2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)
185 ขึ้นไป
169-184
136-168
120-135
119 ลงมา
3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)
22.3 ขึ้นไป
19.5-22.2
13.7-19.4
10.8-13.6
10.7 ลงมา
4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)
25 ขึ้นไป
22-24
16-21
13-15
12 ลงมา
5.88-16.92
0.36-5.87
0.35 ลงมา
10.29-11.32 11.33 ขึ้นไป
5. งอแขนห้อยตัว (วินาที)
22.45 ขึ้นไป 16.93-22.44
6. วิ่งเก็บของ (วินาที)
10.20 ลงมา
7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)
9.5 ขึ้นไป
7.5-9.0
2.0-7.0
(-1.0)-1.5
(-1.5)
8. วิ่ง 600 เมตร (นาที:วินาที)
2.16 ลงมา
2.17-2.36
2.37-3.17
3.18-3.37
3.38 ขึ้นไป
10.21-11.24 11.25-13.33 13.34-14.37 14.38 ขึ้นไป
ตาราง เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนหญิงอายุ 11 ปี รวมทั่วประเทศ รายการ
ต�่ำ
ต�่ำมาก
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)
7.49 ลงมา
7.50-8.69
8.70-11.10
2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)
173 ขึ้นไป
157-172
124-156
109-123
108 ลงมา
3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)
21.9 ขึ้นไป
19.1-21.8
13.3-19.0
10.4-13.2
10.3 ลงมา
4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)
20 ขึ้นไป
17-19
11-16
8-10
7 ลงมา
5. งอแขนห้อยตัว (วินาที)
10.05 ขึ้นไป
7.09-10.04
1.16-7.08
0.01-1.15
0
6. วิ่งเก็บของ (วินาที)
9.06 ลงมา
9.07-11.23
7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)
10.5 ขึ้นไป
9.0-10.0
2.0-8.0
(-0.5)-1.5
(-1.0) ลงมา
8. วิ่ง 600 เมตร (นาที:วินาที)
2.34 ลงมา
2.35-2.57
2.58-3.45
3.46-4.09
4.10 ขึ้นไป
11.11-12.30 12.31 ขึ้นไป
11.24-15.58 15.59-17.75 17.76 ขึ้นไป
ที่มา : ส�ำนักพัฒนาการพลศึกษา สุขภาพ และนันทนาการ. กรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2540
75
ตาราง เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 12 ปี รวมทั่วประเทศ รายการ
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ต�่ำ
ต�่ำมาก
1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)
7.51 ลงมา
7.52-8.14
8.15-9.43
9.44-10.06
10.07 ขึ้นไป
2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)
198 ขึ้นไป
181-197
147-180
130-146
129 ลงมา
3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)
25.4 ขึ้นไป
22.6-25.3
16.9-22.5
14.1-16.8
14.0 ลงมา
4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)
27 ขึ้นไป
24-26
17-23
14-16
13 ลงมา
5. งอแขนห้อยตัว (วินาที)
6 ขึ้นไป
4-5
1-3
0
-
6. วิ่งเก็บของ (วินาที)
10.64 ลงมา
10.65-11.30 11.31-12.63 12.64-13.29 13.30 ขึ้นไป
7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)
11.5 ขึ้นไป
8.5-11.0
2.0-8.0
(-1.0)-1.5
(-1.5) ลงมา
8. วิ่ง 600 เมตร (นาที:วินาที)
4.01 ลงมา
4.02-4.31
4.32-5.32
5.33-6.02
6.03 ขึ้นไป
ตาราง เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนหญิง อายุ 12 ปี รวมทั่วประเทศ รายการ
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ต�่ำ
1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)
8.20 ลงมา
8.21-9.00
9.01-10.63
2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)
178 ขึ้นไป
162-177
128-161
111-127
110 ลงมา
3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)
25.1 ขึ้นไป
22.3-25.0
16.7-22.2
14.0-16.6
13.9 ลงมา
4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)
21 ขึ้นไป
18-20
12-17
10-11
9 ลงมา
5. งอแขนห้อยตัว (วินาที)
9.10 ขึ้นไป
6.52-9.09
1.35-6.51
0.01-1.34
0
6. วิ่งเก็บของ (วินาที)
11.77 ลงมา
7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)
11.5 ขึ้นไป
9.5-11.0
3.0-9.0
1.0-2.5
0.5 ลงมา
8. วิ่ง 600 เมตร (นาที:วินาที)
3.44 ลงมา
3.45-4.14
4.15-5.15
5.16-5.45
5.46 ขึ้นไป
10.64-11.43 11.44 ขึ้นไป
11.78-12.41 12.42-13.70 13.71-14.34 14.35 ขึ้นไป
ที่มา : ส�ำนักพัฒนาการพลศึกษา สุขภาพ และนันทนาการ. กรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2540 76
ต�่ำมาก
ตาราง เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 13 ปี รวมทั่วประเทศ รายการ
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ต�่ำ
ต�่ำมาก
1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)
7.77 ลงมา
7.78-8.31
8.32-9.38
9.39-9.91
9.92 ขึ้นไป
2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)
196 ขึ้นไป
185-195
163-184
152-162
151 ลงมา
3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)
30.8 ขึ้นไป
27.6-30.7
20.9-27.5
17.6-20.8
17.5 ลงมา
4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)
28 ขึ้นไป
26-27
20-25
18-19
17 ลงมา
5. งอแขนห้อยตัว (วินาที)
7
6
2-5
1
0
6. วิ่งเก็บของ (วินาที)
10.97 ลงมา
10.98-11.48 11.49-12.50 12.51-13.01 13.02 ขึ้นไป
7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)
11.6 ขึ้นไป
9.1-11.5
3.9-9.0
1.3-3.8
1.2 ลงมา
8. วิ่ง 600 เมตร (นาที:วินาที)
4.33 ลงมา
4.34-5.00
5.01-5.57
5.58-6.25
6.26 ขึ้นไป
ตาราง เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนหญิง อายุ 13 ปี รวมทั่วประเทศ รายการ
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ต�่ำ
ต�่ำมาก
1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)
8.74 ลงมา
8.75-9.39
9.40-10.69
2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)
166 ขึ้นไป
157-165
137-156
128-136
127 ลงมา
3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)
26.8 ขึ้นไป
24.3-26.7
19.4-24.2
17.0-19.3
16.9 ลงมา
4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)
22 ขึ้นไป
19-21
14-18
11-13
10 ลงมา
5. งอแขนห้อยตัว (วินาที)
10.40 ขึ้นไป
7.77-10.39
2.50-7.76
0.14-2.49
0.13 ลงมา
6. วิ่งเก็บของ (วินาที)
12.19 ลงมา
12.20-12.77 12.78-13.95 13.96-14.53 14.54 ขึ้นไป
7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)
12.3 ขึ้นไป
9.5-12.2
3.9-9.4
1.2-3.8
1.1 ลงมา
8. วิ่ง 600 เมตร (นาที:วินาที)
4.25 ลงมา
4.26-4.54
4.55-5.53
5.54-6.22
6.23 ขึ้นไป
10.70-11.34 11.35 ขึ้นไป
ที่มา : ส�ำนักพัฒนาการพลศึกษา สุขภาพ และนันทนาการ. กรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2540 77
ตาราง เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 14 ปี รวมทั่วประเทศ รายการ
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ต�่ำ
ต�่ำมาก
1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)
7.39 ลงมา
7.40-7.94
7.95-9.05
9.06-9.60
9.61 ขึ้นไป
2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)
207 ขึ้นไป
195-206
171-194
159-170
158 ลงมา
3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)
36.8 ขึ้นไป
33.2-36.7
25.9-33.1
22.3-25.8
22.2 ลงมา
4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)
28 ขึ้นไป
26-27
21-25
19-20
18 ลงมา
5. งอแขนห้อยตัว (วินาที)
8 ขึ้นไป
7
3-6
2
1 ลงมา
6. วิ่งเก็บของ (วินาที)
10.85 ลงมา
10.86-11.34 11.35-12.33 12.34-12.82 12.83 ขึ้นไป
7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)
13.1 ขึ้นไป
10.3-13.0
4.6-10.2
1.8-4.5
1.7 ลงมา
8. วิ่ง 600 เมตร (นาที:วินาที)
4.21 ลงมา
4.22-4.48
4.49-5.42
5.43-6.08
6.09 ขึ้นไป
ตาราง เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนหญิง อายุ 14 ปี รวมทั่วประเทศ รายการ
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ต�่ำ
1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)
8.72 ลงมา
8.73-9.34
9.35-10.58
2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)
168 ขึ้นไป
158-167
139-157
129-138
128 ลงมา
3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)
28.2 ขึ้นไป
25.9-28.1
21.2-25.8
18.9-21.1
18.8 ลงมา
4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)
21 ขึ้นไป
19-20
14-18
11-13
10 ลงมา
5. งอแขนห้อยตัว (วินาที)
10.04 ขึ้นไป
7.51-10.03
2.44-7.50
0.09-2.43
0.08 ลงมา
6. วิ่งเก็บของ (วินาที)
12.24 ลงมา
12.25-12.79 12.80-13.90 13.91-14.45 14.46 ขึ้นไป
7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)
13 ขึ้นไป
10.3-12.9
4.8-10.2
2.0-4.7
1.9 ลงมา
8. วิ่ง 600 เมตร (นาที:วินาที)
4.24 ลงมา
4.25-4.51
4.52-5.45
5.46-6.12
6.13 ขึ้นไป
10.59-11.19 11.20 ขึ้นไป
ที่มา : ส�ำนักพัฒนาการพลศึกษา สุขภาพ และนันทนาการ. กรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. 2540 78
ต�่ำมาก
4. การเสริมสร้างและปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย การจะเสริมสร้างสมรรถภาพร่างกายเพื่อท�ำให้เรามีสมรรถภาพที่ดีนั้นขึ้นอยู่กับโปรแกรม การฝึก ซึ่งจัดให้สอดคล้องตรงตามวัตถุประสงค์ ที่ต้องการว่าจะเสริมสร้างในเรื่องใดหรือ ส่วนใดของ ร่างกาย โปรแกรมการฝึกเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายที่ดีนั้นควรพิจารณาถึงหลักในการ เสริมสร้าง สมรรถภาพทางกายดังนี้ 1. ฝึกจากน้อยไปมาก ฝึกจากเบาไปหาหนัก และจะต้องฝึกจนกระทั่งร่างกายเกิดอาการ เหน็ดเหนื่อยปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ การฝึกจะต้องให้เพียงพอกับความต้องการ ของร่างกายของแต่ละ บุคคล อย่าฝึกจนกระทั่งเหนื่อยมากเกินไปหรือน้อยเกินไปจนไม่รู้สึกเหน็ดเหนื่อยอย่างเต็มที่จะต้องฝึกให้ พอเหมาะพอดีกับสภาพร่างกาย และความต้องการของแต่ละคน การฝึกจึงจะได้ผลดี 2. การฝึกจะต้องท�ำเป็นประจ�ำอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้รา่ งกายเกิดความเคยชินกับสภาพการ เคลื่อนไหวของกิจกรรมนั้นๆ 3. การฝึกจะต้องใช้หลักการปรับเพิ่มความหนัก (Overload Principles) เป็นระยะๆ เพื่อ ให้ร่างกายมีการพัฒนาปรับตัวดีขึ้น ความหนักที่จะปรับเพิ่มขึ้นนั้น ควรค�ำนึงด้วยว่าจะเพิ่มขึ้นสักเท่าใด และจะเพิ่มขึ้นอีกเมื่อใด รวมทั้งการฝึกวันละกี่ชั่วโมงและอาทิตย์ละกี่ครั้ง ผู้ฝึกควรมีโปรแกรมในการฝึก ในแต่ละสัปดาห์ให้ชัดเจนแน่นอน 4. การพักผ่อน ภายหลังการฝึกซ้อมในแต่ละวัน จะต้องมีเวลาพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย วันละ 6 - 8 ชั่วโมงต่อหนึ่งคืน 5. การฝึกจะต้องกระท�ำอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ในขัน้ พืน้ ฐานเบือ้ งต้นควรเริม่ ต้นด้วยการฝึกความ อดทนและเสริมสร้างความแข็งแรงทั่วๆ ไปรวมทั้งฝึกทักษะการเคลื่อนไหว เบื้องต้นในช่วงระยะ 3 เดือน แรก ต่อมาควรปรับเพิ่มปริมาณความหนักในการฝึกมากขึ้น มุ่งเน้นการฝึกทักษะความอดทน ความแข็ง แรง ตลอดจนสมรรถภาพร่างกาย ในการประกอบกิจกรรมหรือทักษะการเคลื่อนไหวให้มีประสิทธิภาพ สูงสุด ฝึกเน้นความสัมพันธ์และประสานงานของระบบกล้ามเนื้อ 6. การบ�ำรุงร่างกายหรืออาหาร ต้องรับประทานให้ครบทุกประเภทกล่าวคือในแต่ละมื้อที่ รับประทานจะต้องประกอบด้วยคาร์โบไฮเดรท โปรตีน ไขมัน ผัก ผลไม้ เกลือแร่และวิตามิน จากหลักการฝึกดังกล่าวจะเห็นได้ว่าการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายเป็นการปรับสภาวะ ของทางร่างกายให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายมี ประสิทธิภาพในการท�ำหน้าทีส่ งู และ มีการประสานงานกัน ของระบบต่างๆ ของร่างกายได้เป็นอย่างดี มนุษย์ทุกคนคนย่อมมีสมรรถภาพทางกาย ในแต่ละด้านมาก น้อยต่างกัน เราจะทราบว่าเรามีสมรรถภาพในด้านใด มากหรือน้อยได้โดยการทดสอบ สมรรถภาพทางกาย ด้วยแบบทดสอบ มาตรฐาน การฝึกเพือ่ เสริมสร้างสมรรถภาพทางกายจะต้องฝึกความอดทนและความแข็ง แรงควบคู่กันไป ส่วนการที่จะฝึกเน้นด้านใด มากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับความต้องการสมรรถภาพทาง กายด้านใดเป็นส�ำคัญของแต่ละบุคคล
79
การฝึกเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย การฝึกเพื่อให้เกิดสมรรถภาพทางกายนั้นมีระบบการฝึกหลากหลายรูปแบบด้วยกัน ในที่นี้ จะกล่าวถึงระบบการฝึกที่นิยมใช้กันอยู่ทั่วไป ซึ่งสามารถ น�ำไปใช้ได้ตั้งแต่ บุคคลที่เพิ่งจะเริ่มเสริมสร้าง สมรรถภาพทางกาย จนกระทั่งถึงบุคคลที่มีระดับสมรรถภาพทางกายสมบูรณ์แล้ว(นักกีฬา) ซึ่งการน�ำ ไปใช้แตกต่างกันตรงที่ระดับความหนักในการฝึก ความถี่ในการฝึกและความนาน ในการฝึกไม่เท่ากันนั้น ระบบการฝึกแบบต่างๆ มีดังต่อไปนี้ 1. ระบบการฝึกแบบฟาร์ทเลค (Fartlek Training) ฟาร์ทเลคเป็นภาษาสวีดิช หมายถึง การเล่นกับความเร็ว (Speed Play) มาจากประเทศ สวีเดน การฝึกแบบนี้จะมีผลต่อสมรรถภาพทางกายคือ สร้างความอดทนของระบบไหเวียนโลหิตกับการ หายใจ และสร้างความอดทนของกล้ามเนื้อ ลักษณะของการฝึกแบบฟาร์ทเลค ประกอบด้วย 1.1 ความเร็วของการวิ่งไม่คงที่ สามารถเปลี่ยนสภาพความเร็วได้ตลอดเวลา คือ อาจจะ เดิน วิ่งเหยาะๆ วิ่งเร็วปานกลาง วิ่งเร็วเต็มที่ วิ่งขึ้นเนินเขา วิ่งลงเนินเขา และวิ่งกระโดดข้ามห้วยน�้ำล�ำธาร บ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศนั้น 1.2 สถานที่วิ่ง จะต้องเป็นสภาพภูมิประเทศทุ่งป่าเขา มีห้วยน�้ำล�ำธาร มีพื้นผิวที่วิ่งและ อ่อนนุ่ม อาจจะเป็นการวิ่งข้ามทุ่ง (Cross Country) ก็ได้ 1.3 การฝึกจะต้องมีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา จะช้าบ้าง เร็วบ้างไม่เป็นไรส�ำหรับระดับ ความหนักในการฝึก (Intensity) นั้นจะมากน้อยขนาดไหน ขึ้นอยู่กับระดับสมรรถภาพทางกายของผู้รับ การฝึก และเป้าหมายในการฝึก 1.4 ระยะเวลาในการฝึก (Duration) ใช้เวลาในการวิ่งตั้งแต่ 20 นาที ถึง 1 ชั่วโมง 1.5 เป็นการฝึกที่ช้า - ผ่อนคลายความตึงเครียด เน้นความสนุกสนานเพลิดเพลินไป 2. ระบบการฝึกสลับพัก (Interval Training) การฝึกสลับพักเป็นวิธีการฝึกที่พัฒนาขึ้นโดยประเทศเยอรมัน เพื่อสร้างความอดทนและ ความเร็วในการเคลื่อนไหว จุดประสงค์ของการฝึกอยู่ที่การเพิ่มอัตราการเต้นของชีพจรเป็นหลักในขณะ ท�ำการฝึก ระดับสูงสุดของอัตราการเต้นชีพจรอยู่ระหว่าง 160 - 180 ครั้ง/นาที เป็นการฝึกเพื่อสร้าง ความเร็ว ถ้าอัตราการเต้นชีพจรสูงสุดอยู่ระหว่าง 140 - 160 ครั้ง/นาที เป็นการฝึกเพื่อสร้างความอดทน ของกล้ามเนื้อและช่วงเวลาพักส�ำหรับการฝึกแต่ละครั้งก็คือ ช่วงเวลาที่ท�ำให้อัตราการเต้นของชีพจรลด ต�่ำลงถึง 120 ครั้ง/นาที ลักษณะของการฝึกแบบสลับพัก ประกอบด้วย 2.1 เป็นระบบการฝึกซ้อมเพื่อพัฒนาความสามารถในการจับออกซิเจนของร่างกาย 2.2 ช่วงเวลาการฝึก แต่ละครั้งไม่ควรเกิน 1 นาที ความหนักในช่วงการฝึกแต่ละครั้งควร ปฏิบัติ อย่างเต็มความสามารถ คือ 50 - 90 % บางครั้งอาจมีความหนัก 100 % 2.3 จ�ำนวนครั้ง ของการฝึกซ�้ำแต่ละเที่ยว ขึ้นอยู่กับสมรรถภาพทางกายของผู้รับการฝึก 2.4 การวัดการฝึก แต่ละครั้ง วัดได้จากอัตราการเต้นของชีพจรทันทีที่สิ้นสุดการฝึกครั้ง นั้น ซึ่ง ควรเป็น 160 - 180 ครั้ง/นาที ส�ำหรับสร้างความเร็ว และ 140 - 180 ครั้ง/นาที ส�ำหรับสร้าง ความอดทน ของกล้ามเนื้อ 80
2.5 ช่วงเวลาในการพัก ระหว่างกิจกรรมการฝึกแต่ละครั้ง ประมาณ 45 - 90 วินาที รอ จนกระทั่ง อัตราการเต้นของชีพจรลดลงถึง 120 ครั้ง/นาที ส�ำหรับช่วงเวลาในการพักนั้นสามารถกระท�ำ ได้ 2 วิธีคือ 2.5.1 Active Rest เป็นการพักโดยการกระท�ำกิจกรรมเบาๆ เช่น เดิน วิ่งเหยาะๆ 2.5.2 Passive Rest เป็นการพักโดยหยุดการเคลื่อนไหวตามเวลาที่ก�ำหนด (45 90 วินาที) 2.6 หากพักในช่วงเวลาถึง 90 วินาที แล้ว แต่อัตราการเต้นของชีพจรยังคงสูงกว่า 140 ครั้ง/นาที และไม่มีทีท่าว่าจะลดลงอีก การฝึกในครั้งต่อไปหรือครั้งนั้นต้องยุติทันที 2.7 เป็นระบบการฝึกที่ดีที่สุด เพราะใช้ได้กับนักกีฬาเกือบทุกประเภท 3. ระบบการฝึกแบบวงจรหรือเป็นสถานี (Circuit Training) การฝึกแบบวรจรเป็นวิธกี ารทีไ่ ด้ถกู พัฒนามาจาก นายมอร์แกน และอดัมสัน (Morgan and Adamson) แห่งภาควิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยลีดส์ (Leeds University Physical Education Dept) ประเทศอังกฤษ เพือ่ เสริมสร้างสมรรถภาพทางกายในด้านความอดทนของกล้ามเนือ้ ระบบไหลเวียน โลหิต และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การฝึกแบบนี้เกี่ยวข้องกับการประกอบกิจกรรมการเคลื่อนไหว ลักษณะ ต่างๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการฝึก กิจกรรมเหล่านั้นถูกก�ำหนดขึ้นมาโดยผู้ฝึกแบ่งแยก การฝึก กิจกรรมต่างๆ เป็นสถานี ซึ่งแตกต่างกันไปในแต่ละสถานีฝึก ลักษณะของการฝึกแบบวงจรหรือ สถานี ประกอบด้วย 3.1 การฝึกแต่ละกิจกรรมจะต้องแบ่งออกเป็นสถานี แต่ละสถานีไม่เหมือนกัน โดยมีตงั้ แต่ 6 - 12 สถานี 3.2 การเปลี่ยนการฝึกแต่ละสถานีจะไม่มีการพักระหว่างสถานี 3.3 ใช้ระยะเวลาในการฝึกแต่ละสถานี 20 - 60 วินาที โดยยึดหลักในการฝึกคือ 3.3.1 ถ้าใช้เวลาการฝึกแต่ละสถานีน้อย เช่น ใช้เวลา 20 - 30 วินาที ต่อสถานี จะ ต้องฝึกใน ระดับความหนักของงาน (Intensity) 80% ของก�ำลังสูงสุดขึ้นไป 3.3.2 ถ้าใช้เวลาฝึกแต่ละสถานีมาก 40 - 60 วินาที ต่อสถานี จะต้องฝึกในระดับ ความหนัก ของงาน (Intensity) 60 - 75% ของก�ำลังสูงสุด 3.4 การฝึกกิจกรรมทุกสถานีควรท�ำประมาณ 2 - 3 เซ็ท (1เซ็ท คือการท�ำกิจกรรมแต่ละ สถานี ที่ก�ำหนดไว้ครบ 1 รอบ) 3.5 การพักระหว่างเซ็ท ควรจะมีเวลาพักโดยยึดถืออัตราการเต้นของชีพจรเป็นหลัก ถ้า อัตรา การเต้นของชีพจรอยู่ที่ระดับ 60% ของอัตราการเต้นสูงสุด (ประมาณ 120 ครั้ง/นาที) ให้เริ่มเซ็ท ใหม่ ต่อไปได้หรือพักระหว่างเซ็ทนานประมาณ 3 - 8 นาที 3.6 ถ้ามีจ�ำนวนสถานีมากจะใช้เวลาในการท�ำแต่ละสถานีน้อย แต่ท�ำงานในระดับความ หนัก ของงานสูง 3.7 การจัดกิจกรรมแต่ละสถานี ไม่ควรจัดกิจกรรมการฝึกที่ใช้กล้ามเนื้อซ�้ำกัน 3.8 เมื่อท�ำครบทุกสถานีในแต่ละเซ็ทแล้วอัตราการเต้นของชีพจรควรเต้นอยู่ที่ระดับ 85- 90% ของอัตราการเต้นชีพจรสูงสุด 81
3.9 การก�ำหนดกิจกรรมแต่ละสถานีสามารถกระท�ำได้ 2 ลักษณะ คือ 3.9.1 ก�ำหนดกิจกรรมแต่ละสถานีโดยไม่ใช้อุปกรณ์ประกอบ 3.9.2 การก�ำหนดกิจกรรมแต่ละสถานีโดยใช้อุปกรณ์ประกอบ 3.10 แต่ละสถานีจะต้องใช้กล้ามเนื้อไม่ซ�้ำกัน และต้องมีความหนักสลับเบา 4. ระบบการฝึกแบบต่อเนื่อง (Continuous Training) การฝึกแบบต่อเนือ่ ง มีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างความอดทนของกล้ามเนือ้ และระบบไหลเวียน โลหิต เป็นการฝึกที่กระท�ำต่อกิจกรรมนั้นๆ อย่างต่อเนื่องไม่มีการหยุดจนกว่าจะครบตามระยะทางหรือ ระยะเวลา หรือจ�ำนวนครัง้ ทีผ่ ฝู้ กึ ก�ำหนดขึน้ ซึง่ กิจกรรมทีก่ ำ� หนดนัน้ จะเป็นอะไรขึน้ อยูก่ บั วัตถุประสงค์ของ ผู้ฝึก การฝึกแบบนี้ร่างกายจะพบสภาวะอย่างหนึ่ง ซึ่งจะมีลักษณะอัตราการเต้นของ ชีพจรคงที่ (Steady State) คือ ปริมาณของออกซิเจนทีร่ า่ งกายน�ำไปใช้พอดีกบั ปริมาณงานทีก่ ระท�ำใน ขณะนัน้ ซึง่ จะอยูใ่ นช่วง อัตราการเต้นของชีพจรระหว่าง 130 - 150 ครั้ง/นาที ลักษณะเฉพาะของการฝึก แบบต่อเนื่อง ประกอบ ด้วย 4.1 ปริมาณของงานหรือความหนักของงานที่ก�ำลังกระท�ำต่อกิจกรรมนั้น จะเท่ากัน สม�่ำเสมอ ตลอดระยะเวลาของการฝึก 4.2 ปริมาณของงานหรือความหนักของงานที่ฝึก จะมีความหนักกี่เปอร์เซ็นต์ของก�ำลัง สูงสุด นั้น ขึ้นอยู่กับพื้นฐานสมรรถภาพทางกายของผู้รับการฝึกในแต่ละบุคคลซึ่งไม่เท่ากัน 4.3 ร่างกายจะพบกับสภาวะอย่างหนึง่ ซึง่ มีลกั ษณะอัตราการเต้นของชีพจรคงที่ (Steady State) 5. ระบบการฝึกแบบการยกน�้ำหนัก (Weight Training) การฝึกยกน�้ำหนักเป็นวิธีที่ดีที่สุด ในการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และสิ่งที่จะ เกิด ขึ้นตามมาก็คือ ความอดทนของกล้ามเนื้อและการลดลงของไขมันในร่างกาย ผลที่เกิดขึ้นจากการยก น�้ำ หนักนีจ้ ะเป็นพืน้ ฐานในความเร็ว และความสามารถในการเคลือ่ นไหวต่อไป ในการฝึกยกน�ำ้ หนัก สามารถ ใช้อุปกรณ์และเครื่องมือมาฝึกได้ 2 อย่างคือ 5.1 ประเภทอุปกรณ์ที่เป็นฟรีเวท (Free Weight) ได้แก่ บาร์เบล ดัมเบล 5.2 ประเภทเครือ่ งมือยกน�ำ้ หนักทีเ่ ป็นสถานี (Universal Gym-machines or Stationary Weight Training)
82
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
การปฐมพยาบาล และการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย อย่างปลอดภัย มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สาร เสพติด และความรุนแรง ตัวชี้วัด 1. แสดงวิธีการปฐมพยาบาลและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างปลอดภัย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลและการเคลื่อนย้าย ผู้ป่วยอย่างปลอดภัย
การปฐมพยาบาลที่ผสมผสาน กับหลักการอิสลาม
วิธีการปฐมพยาบาลอย่างปลอดภัย
83
การเกิดอุบัติเหตุ เช่น มีดบาด น�้ำร้อนลวก เป็นลม แขนหัก ขาหัก ฯลฯ ซึ่งอาจจะมีอาการมาก หรือน้อยแล้วแต่กรณี หากเราพบเห็นเหตุการณ์ หรือตกอยู่ในสถานการณ์นั้นๆ ก็ควรให้ความช่วยเหลือ ปฐมพยาบาลและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างถูกวิธี ทั้งนี้เพื่อบรรเทาอาการของผู้ป่วยให้ทุเลาลงและง่ายต่อ การรักษาพยาบาลเมื่อไปพบแพทย์ ดังนัน้ ทุกคนควรมีความรู้ ความเข้าใจถึงวิธกี ารปฐมพยาบาล และการเคลือ่ นย้ายผูป้ ว่ ย ให้สามารถ ปฏิบัติได้อย่างถูกต้องถูกวิธี นับเป็นการช่วยเหลือผู้ป่วยให้ปลอดภัยได้
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล 1.1 ความหมายของการปฐมพยาบาล การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือผูป้ ว่ ยหรือผูท้ ไี่ ด้รยั บาดเจ็บทันที ณ สถานทีเ่ กิด เหตุ โดยใช้อุปกรณ์เท่าที่จะหาได้ในขณะนั้น ก่อนที่ผู้บาดเจ็บจะได้รับการดูแลรักษาจากบุคลากรทางการ แพทย์ หรือส่งต่อไปยังโรงพยาบาล 1.2 วัตถุประสงค์ของการปฐมพยาบาล การปฐมพยาบาลมีวัตถุประสงค์ที่ส�ำคัญคือ 1) เพื่อช่วยชีวิตผู้ได้รับบาดเจ็บ 2) เพื่อเป็นการลดความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยให้ได้มากที่สุด 3) เพื่อท�ำให้ผู้บาดเจ็บบรรเทาความเจ็บปวดทรมานและช่วยให้กลับสู่สภาพเดิมโดยเร็ว 4) เพื่อป้องกันผู้บาดเจ็บได้รับความพิการที่จะเกิดขึ้นตามมาภายหลัง 1.3 หลักทั่วไปในการปฐมพยาบาล 1) เมือ่ พบผูป้ ว่ ยหรือผูบ้ าดเจ็บ ต้องรีบช่วยเหลือทันที ยกเว้นในกรณีทมี่ อี ปุ สรรคต่อการช่วย เหลือ เช่น มีแก็สพิษ มีวัสดุกีดขวาง เป็นต้น ให้ย้ายผู้ป่วยออกมาในที่ปลอดภัยเสียก่อนจึงด�ำเนินการช่วย เหลือ 2) ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บในกรณีที่จะมีอันตรายต่อชีวิตโดยรีบด่วนก่อน 3) อย่าให้มีคนมุง ทั้งนี้เพื่อให้มีอากาศปลอดโปร่ง มีแสงสว่างเพียงพอ และมีบริเวณกว้าง ขวางเพียงพอ อีกทั้งสะดวกในการให้การปฐมพยาบาลด้วย 4) จัดให้ผบู้ าดเจ็บอยูใ่ นท่าทีเ่ หมาะสมในการปฐมพยาบาล และไม่เพิม่ อันตรายแก่ผบู้ าดเจ็บ ด้วย ควรจัดให้อยู่ในท่านอนหงายและทางเดินหายใจโล่ง พร้อมทั้งสังเกตอาการต่างๆ ของผู้บาดเจ็บ และ วางแผนการให้การช่วยเหลืออย่างมีสติ ไม่ตนื่ เต้นตกใจ สังเกตสิง่ แวดล้อมว่ามีสงิ่ ของอันตรายอยูใ่ กล้เคียง หรือไม่ ลักษณะของผู้บาดเจ็บนั้นบ่งบอกว่าเป็นการฆ่าตัวตาย หรือ ถูกท�ำร้าย หรือ เป็นอุบัติเหตุที่แท้จริง 5) บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ อาการ ลักษณะของผู้บาดเจ็บเกี่ยวกับการ ปฐมพยาบาล 6) อย่าท�ำการรักษาด้วยตนเอง ให้เพียงการปฐมพยาบาลทีจ่ ำ� เป็นอย่างถูกต้อง แล้วน�ำผูบ้ าด เจ็บส่งโรงพยาบาลทันที 84
1.4 การเรียงล�ำดับความส�ำคัญเพื่อให้การปฐมพยาบาล ผู้ปฐมพยาบาลจะต้องล�ำดับความส�ำคัญในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บตามความรุนแรง ซึ่งอาจ แบ่งได้หลายแบบ ได้ดังนี้ แบบที่ 1 ล�ำดับแรก จะต้องให้การปฐมพยาบาลผูบ้ าดเจ็บกรณีทที่ างเดินลมหายใจอุดตัน (obstructed airway) โดยมีอาการหายใจล�ำบาก หรือ หยุดหายใจ และ มักจะมีการหยุดเต้นของหัวใจตามมา ขั้นต่อไป คือ การเสียเลือดอย่างรุนแรง ศีรษะได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง แผลทะลุที่ช่องอกและท้อง ได้รับสารพิษ หัวใจวาย และช็อคขั้นรุนแรง ล�ำดับที่สอง ให้การปฐมพยาบาลแผลไหม้ทุกชนิด กระดูกหัก และการบาดเจ็บของกระดูก สันหลัง ล�ำดับที่สาม ให้การปฐมพยาบาลการบาดเจ็บเล็กๆ น้อยๆ เช่น กระดูกนิ้วหักมีเลือดซึม อย่างไรก็ตามการเรียงความส�ำคัญก็ต้องขึ้นกับสถานการณ์ ณ ขณะนั้นด้วย แบบที่ 2
ผู้บาดเจ็บทั้งหมด แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ผู้บาดเจ็บ เดินไม่ได้
อันดับ 3 ผู้บาดเจ็บเดินได้ อันดับ 1 ผู้บาดเจ็บมีปัญหาดังนี้
1. หมดสติ 2. การหายใจ 3. ช็อค 4. เสียเลือดมากห้ามเลือดไม่ได้ 5. บาดแผลไฟไหม้รุนแรง
อันดับ 2
อันดับ 4
นอกเหนือจาก ที่กล่าว 5 ข้อ
ผู้บาดเจ็บเสียชีวิต
ภาพ ล�ำดับความส�ำคัญในการให้ความช่วยเหลือ
ที่มา : http://www.nurse.nu.ac.th/cai/firstaid015.html
85
2. วิธีการปฐมพยาบาลอย่างปลอดภัย ผู้ที่ให้การปฐมพยาบาลแก่ผู้อื่นนั้นจ�ำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการ ปฐมพยาบาลอย่างถูกต้อง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัยมากที่สุด ดังต่อไปนี้ 2.1 การห้ามเลือดจากแผล วิธกี ารปฐมพยาบาลเมือ่ มีบาดแผลเกิดขึน้ และวิธใี นการห้ามเลือดก่อนส่งต่อไปโรงพยาบาล ชนิดของบาดแผลที่พบ สามารถแบ่งออกได้เป็น 7 ชนิด ดังต่อไปนี้ 1) บาดแผลฟกช�้ำ ห้อเลือด วิธีการปฐมพยาบาล ให้ประคบด้วยความเย็นทันทีบริเวณบาดแผลฟกช�้ำ ห้อเลือดภายใน 24 ชั่วโมงแรกและให้ประคบด้วยความร้อนภายใน 24 ชั่วโมงหลัง 2) บาดแผลถลอก วิธกี ารปฐมพยาบาล เมือ่ เกิดบาดแผลถลอกสิง่ ทีจ่ ะตามมาก็คอื มีเลือดออกซิบๆ ดังนัน้ ให้รบี ท�ำการล้างแผลทันทีด้วยน�้ำสะอาดหรือน�้ำยาฆ่าเชื้อ เป็นต้น เพื่อป้องกันการติดเชื้อและอักเสบของแผล 3) บาดแผลฉีกขาด วิธีการปฐมพยาบาล ล้างบาดแผลและ รอบบาดแผลด้วยน�้ำสะอาดและสบู่ท�ำความสะอาดสิ่ง แปลกปลอมที่อยู่ในบาดแผลออก กดบาดแผล ห้าม เลือดด้วยผ้าสะอาด ประมาณ 3-5 นาที ท�ำความสะอาด บาดแผลด้วยน�้ำยาฆ่าเชื้อ และปิดแผลด้วยพลาสเตอร์ หรือผ้าปิดแผลส่วนการดูแลแผลถลอก และ บาดแผล ฉีกขาดขนาดใหญ่ควรรีบท�ำการห้ามเลือดให้หยุดไหล และรีบน�ำส่งโรงพยาบาล 4) บาดแผลถูกแทง วิธีการปฐมพยาบาล ให้ท�ำการห้ามเลือดเป็นอันดับแรก และรีบน�ำส่งโรงพยาบาลถ้ามีวัตถุ ปักคาอยู่ห้ามดึงออก ให้ใช้ผ้าสะอาด กดรอบแผลและใช้ผ้าพันไว้ ก่อนรีบน�ำตัวส่งโรงพยาบาลทันที 5) บาดแผลอวัยวะถูกตัดขาด วิธกี ารปฐมพยาบาล ให้ทำ� การห้ามเลือดทีบ่ าดแผลและรีบน�ำส่งโรงพยาบาล ส่วนอวัยวะทีถ่ กู ตัดขาดให้ใส่ถงุ พลาสติกทีส่ ะอาด ปิดปากถุงให้แน่นไม่ให้นำ�้ เข้าแล้วแช่ในถังน�ำ้ แข็ง แล้วน�ำส่งโรงพยาบาล พร้อมผู้ป่วย 6) บาดแผลถูกยิง วิธีการปฐมพยาบาล ให้ท�ำการห้ามเลือด และรีบน�ำส่งโรงพยาบาลโดยทันที เนื่องจากมีการ เสียเลือดค่อนข้างมาก 7) บาดแผลถูกความร้อน วิธีการปฐมพยาบาล ให้รีบถอดหรือตัดเสื้อผ้าบริเวณที่ถูกความร้อนออก และรีบถอดเครื่อง 86
ประดับ เปิดน�้ำเย็นให้ไหลผ่านบริเวณบาดแผล ให้ทายาส�ำหรับแผลไฟไหม้ แล้วปิดด้วยผ้าปิดแผลสะอาด ถ้าแผลกว้างและลึก หรือถูกอวัยวะส�ำคัญ ให้รีบน�ำส่งโรงพยาบาล 2.2 การห้ามเลือด การห้ามเลือด หมายถึง การลดการสูญเสียเลือดทีอ่ อกไปจากร่างกายทางบาดแผล ซึง่ มีหลาย วิธีด้วยกัน 1) การยกอวัยวะที่มีบาดแผลให้สูงกว่าระดับหัวใจ เป็นการห้ามเลือดโดยการลดแรงการไหลเวียนของเลือดให้ชา้ ลง ลดปริมาณการเสียเลือดของ บาดแผลขณะเดียวกันให้ใช้ผา้ สะอาดวางทับลงบนบาดแผล และใช้ผา้ พันรัดให้แน่นพอควรเลือดก็หยุด วิธี นี้ใช้ในกรณีที่เลือดออกไม่มากนัก 2) การกดบนบาดแผลโดยตรง ใช้ในกรณีทมี่ เี ลือดไหลรินจากบาดแผลตลอดเวลา ท�ำการห้ามเลือดโดยการใช้นวิ้ มือกดลงบน บาดแผลโดยตรง หรือใช้ผ้าสะอาดปิดปากแผลกดลงโดยตรง เมื่อเลือดไหลซึมช้าลงให้ใช้ผ้าสะอาดอีกผืน ปิดทับลงบนผ้าปิดแผลเดิม และใช้ผ้าพันรัดบาดแผลให้แน่นพอควร ถ้ามีเลือดชุ่มออกมาให้เห็นให้เปลี่ยน เฉพาะผ้าปิดแผลผืนนอก เพราะถ้าเอาผ้าชิ้นแรกออกด้วย อาจท�ำให้ปากแผลแยกจากกันง่ายขึ้น ซึ่งเป็น ผลท�ำให้เลือดออกเพิ่มขึ้นได้ 3) การใช้แรงกดบนหลอดเลือดแดงใหญ่ ในกรณีทหี่ า้ มเลือดโดยกดทีบ่ าดแผลโดยตรงและยกอวัยวะให้สงู ขึ้นแล้วไม่ได้ผล อาจใช้แรง กดบนเส้นเลือดแดงใหญ่ ในต�ำแหน่งระหว่างบดแผลกับหัวใจ การกดโดยใช้แรงนิว้ มือกดลงบนหลอดเลือด แดงกับกระดูก 4) การใช้สายรัดห้ามเลือด หรือ วิธีขันเชนาะ เป็นวิธีห้ามเลือดวิธีสุดท้ายในกรณีที่ห้ามเลือดด้วยวิธีอื่นๆ ข้างต้นแล้ว ไม่สามารถหยุดการ เสียเลือดได้ ทั้งนี้เพราะว่าการห้ามเลือดวิธีนี้ ถ้าท�ำไม่ถูกวิธี เช่น รัดแน่น หรือ นานเกิน 6-8 ชั่วโมง อวัยวะ ที่ต�่ำกว่าบริเวณที่รัดไว้อาจขาดเลือดไปเลี้ยง ท�ำให้เซลล์เนื้อเยื่อตายได้ วิธีขันเชนาะมีดังนี้ 4.1) หุ้มบริเวณที่รัดด้วยผ้า เพื่อ ป้ อ งกั น การเจ็ บ ปวดจากการรัด หรือเกิดแผลที่ ผิวหนังตามรอยรัดได้ 4.2) ใช้เชือก สายยาง ผ้าเช็ดหน้า หรือ เนคไท รัดเหนือบาดแผล ไม่ควรให้ชดิ บาดแผล เกินไป การขันชะเนาะท�ำได้ดังนี้ - รัดเหนือแผลให้แน่น 2 รอบ แล้วผูก 1 ครั้ง - ใช้ ไ ม้ ที่ แ ข็ ง แรง เช่ น ตะเกียบ ดินสอ ปากกา ฯลฯ วางลงและผูกซ�ำ้ อีกครัง้ 87
- หมุนไม้ เพื่อรัดให้แน่นจนเลือดหยุดไหล - ผูกปลายไม้อีกด้าน มัดกับแขนเพื่อให้ไม้อยู่กับที่ 4.3) ไม่รัดแน่นหรือหลวมเกินไป โดยรัดให้แน่นพอที่เลือดจะหยุดไหลออกจากแผล 4.4) เมื่อรัดเหนือบาดแผลแล้ว ให้ยกปลายแขนหรือปลายขาให้สูงกว่าระดับหัวใจ เพื่อ ช่วยลดการไหลเวียนของเลือดมาที่แผลให้น้อยลง 4.5) คลายรัดทุก 15-30 นาที โดยคลายนาน 1/2 – 1 นาที ถ้ายังมีเลือดออก อาจคลาย เพียง 1-3 วินาที 4.6) ภายหลังการห้ามเลือด รีบน�ำผู้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาลทันที เพื่อรับการรักษาที่ เหมาะสมต่อไป 2.3 การปฐมพยาบาลสารพิษที่เกิดจากการถูกสัตว์มีพิษกัดหรือต่อย แยกเป็นแต่ละชนิดดังนี้ 1) พิษจาก ผึ้ง ต่อ แตน อาการและอาการ แสดงคือ คันปวดบวมแดงในบริเวณที่ถูกต่อย หรือในผู้ที่แพ้ จะมีอาการมากขึ้น เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เป็นลม หมดสติ และ อาจตายได้ในเวลาต่อมา ปัจจัยที่ท�ำให้เกิดความรุนแรง - จ�ำนวนแมลงที่ต่อย - บริเวณที่ถูกต่อย เช่น ถูกต่อยบริเวณมือ จะมีความรุนแรงน้อยกว่าบริเวณคอซึ่งจะไปรบกวนการหายใจ - ความไวต่อพิษ คนที่มีความไวต่อพิษของแมลงสูง จะมีความรุนแรงมากกว่าคนที่มี ความไวต่อพิษของแมลงต�่ำ ซึ่งปัจจัยนี้ถือว่าเป็นความแตกต่างของบุคคล การปฐมพยาบาล 1.1) เอาเหล็กในออก โดยใช้วัสดุที่มีรูตรงกลาง เช่น ลูกกุญแจ ปลายปากกา กดวางให้รู อยู่ตรงกลางบริเวณเหล็กในและกดให้เหล็กในโผล่ขึ้นมา แล้วต่อยๆ ดึงเหล็กในออก ห้ามบีบเค้นเพราะจะ ท�ำให้ถุงน�้ำพิษที่ติดอยู่กับเหล็กในแตก ร่างกายได้รับพิษเพิ่มขึ้น 1.2) ล้างท�ำความสะอาดบริเวณที่ถูกต่อยด้วยน�้ำสบู่ 1.3) ประคบเย็น เพื่อลดอาการปวด บวม และลดการดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย 1.4) ให้ยาแก้ปวด ถ้ามีอาการปวด 1.5) ถ้ามีอาการรุนแรง ให้ รีบน�ำส่งโรงพยาบาล ในระหว่างน�ำส่งถ้ามีอาการของหัวใจ และการหายใจล้มเหลว ให้ช่วยเหลือโดยการผายปอดและนวดหัวใจ 2) พิษจาก แมงป่อง ตะขาบ ซึง่ มักอาศัยอยูใ่ น ที่รก เช่น ซอกหิน กองไม้ แมงป่องจะใช้หางที่มีเหล็กในต่อย และฉีดพิษเข้าสู่เนื้อเยื่อของศัตรู ส่วนตะขาบจะใช้เขี้ยวกัด 88
มองเห็นเป็น 2 จุด อาการและอาการแสดง จะคล้ายกับอาการที่เกิดจาก ผึ้ง ต่อ แตน แต่จะรุนแรงกว่า โดยเฉพาะแมงป่องซึ่งจะท�ำให้เกิดความเจ็บปวดรุนแรงกว่า การปฐมพยาบาล 2.1) ล้างท�ำความสะอาดบริเวณที่ถูกต่อย กัด ด้วยน�้ำสบู่ 2.2) ประคบเย็นเพื่อลดอาการปวด บวม และลดการดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย 2.3) ให้ยาแก้ปวด ถ้ามีอาการปวด 2.4) ถ้ามีอาการรุนแรง ให้ รีบน�ำส่งโรงพยาบาล ในระหว่างน�ำส่งถ้ามีอาการของหัวใจ และการหายใจล้มเหลว ให้ช่วยเหลือโดยการผายปอดและนวดหัวใจ 3) พิษจากแมงกะพรุนไฟ จะมีอาการปวดแสบ ปวดร้อน บวมแดง ถ้ารุนแรง จะมีอาการ คลื่นไส้ อาเจียน เป็นลม หมดสติ และอาจถึงตายได้ การปฐมพยาบาล 3.1) ท�ำความสะอาด โดยการเอาเยื่อเมือกออก อาจใช้ทรายถู ผักบุ้งทะเล หรือผ้าเช็ด ออก 3.2) ล้างด้วย แอลกอฮอล์ 70 % หรือน�้ำสะอาดมากๆ 3.3) แช่ในน�้ำร้อนหรือประคบด้วยความร้อนเพื่อลดอาการปวด 3.4) ให้ยาแก้ปวด ถ้ามีอาการปวด 3.5) ถ้ามีอาการรุนแรง ให้รีบน�ำส่งโรงพยาบาล ในระหว่างน�ำส่งถ้ามีอาการของหัวใจ และการหายใจล้มเหลว ให้ช่วยเหลือโดยการผายปอดและนวดหัวใจ 4) พิษจากงูพิษกัด การวินิจฉัยเมื่อถูกงูกัด สังเกตรอยเขี้ยว เป็นสิ่งส�ำคัญในการวินิจฉัยงูพิษกัด รอยเขี้ยวส่วนใหญ่ มี รอยระยะห่างกัน ประมาณ 0.5 - 3 ซม. ตามขนาดของงู ถ้ากัดไม่เต็มอาจมีเขี้ยวเดียว หรือกัดหลายครั้งจะมีหลายรอยหรือ เป็นแบบรอยขีดข่วน แต่ทำ� ให้เกิดพิษได้เหมือนกัน งูไม่มพี ษิ มีแต่รอยฟัน เพราะไม่มเี ขีย้ ว ดูชนิดของงูทกี่ ดั ถ้าน�ำส่งโรงพยาบาล ควรน�ำงูที่กัดมาด้วยจะง่ายต่อการวินิจฉัย ดังนั้นถ้าเป็นไปได้เมื่อถูกงูกัดพยายามตีงู ตัวที่กัดไว้ด้วย ถ้าตีงูหรือจับงูไม่ได้ ให้พิจารณาพื้นที่ที่ถูกกัด เช่น เป็นที่ลุ่มท้องนา อาจเป็นงูเห่า ที่รกริม ชายน�้ำ อาจเป็นงูสามเหลี่ยม ที่ดอนแห้งเป็นหญ้ารกอาจ เป็นงูแมวเซา ในสวนตามต้นไม้อาจเป็นงูเขียว หางไหม้ ในเรืออาจเป็นงูทะเล การปฐมพยาบาล 4.1) ใช้สายรัด เช่น สายยางหรือเชือกรัดเหนือแผลประมาณ 5 - 10 ซม.รัดให้ตึงขนาด ที่นิ้วก้อยพอสอดเข้าได้ด้วยความล�ำบาก และควรคลายสายรัด ทุกๆ 30 นาที นาน ครึ่ง - 1 นาที การรัดนี้ เพียงเพือ่ กันพิษงูทจี่ ะผ่านไปทางเส้นเลือดด�ำและทางท่อน�ำ้ เหลืองเท่านัน้ แต่ไม่ตอ้ งรัดเส้นเลือดแดง จึงให้ รัดแน่นพอสมควรเท่านั้น ถ้ารัดจนปลายมือหรือ ปลายเท้าชาแสดงว่าแน่นเกินไป ( ปัจจุบันมีผู้เชี่ยวชาญ หลายท่านแนะน�ำว่าไม่จ�ำเป็นต้องใช้สายรัด ให้ใช้ Elastic bandage พันตรงบริเวณที่ถูกงูกัดตั้งแต่เหนือ แผลจนถึงใต้แผล เล็กน้อยให้แน่นพอควรแล้วรีบส่งโรงพยาบาล) 89
4.2) พยายามให้ผู้ป่วย มีการเคลื่อนไหวน้อยที่สุดโดยเฉพาะบริเวณที่ถูกกัดให้อยู่นิ่งๆ เพื่อลดการท�ำงานของหัวใจจะท�ำให้พิษงูกระจายได้น้อยที่สุด 4.3) ไม่ควรให้ ผูป้ ว่ ย ดืม่ เหล้า หรือยากระตุน้ หัวใจ เพราะจะท�ำให้พษิ งูกระจายไปรวดเร็ว ไม่ควรให้มอร์ฟีน ยาระงับประสาท ยาแก้แพ้ต่างๆ เพราะจะท�ำให้สับสนกับพิษงู 4.4) อย่าเสียเวลากับการรักษาแบบชาวบ้านหรือวิธีอื่นๆ 4.5) ควรรีบส่งผู้ป่วย ไปโรงพยาบาลหรือสถานเสาวภาให้เร็วที่สุด 4.6) ระหว่างน�ำส่งโรงพยาบาล ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้น ควรช่วยเหลือโดยการนวดหัวใจ และการผายปอด 2.4 การปฐมพยาบาลเมื่อถูกไฟไหม้น�้ำร้อนลวก บาดแผลไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก โดยมากมักจะมีสาเหตุจากอุบัติเหตุ ความประมาท ขาดความ ระมัดระวัง ซึ่งกลไกการบาดเจ็บจะมีความรุนแรงมากน้อยเพียงใดขึ้นกับหลายปัจจัย เช่น ระยะเวลาที่ ผิวหนังสัมผัสกับความร้อน อวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บ ดีกรีความลึกของบาดแผล และขนาดความกว้างพื้นที่ ของบาดแผลไฟไหม้ น�้ำร้อนลวกนั้นๆ บาดแผลไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก แบ่งเป็น 3 ระดับ โดยดูจากดีกรีความ ลึกของบาดแผล - ดีกรีความลึกระดับ 1 คือ บาดแผลอยู่แค่เพียงผิวหนังชั้นหนังก�ำพร้าเท่านั้น โดยปกติจะ หายเร็วและไม่เกิดแผลเป็น - ดีกรีความลึกระดับ 2 คือ บาดเจ็บในบริเวณชัน้ หนังแท้ บาดแผลประเภทนีถ้ า้ ไม่มภี าวะติด เชื้อแทรกซ้อน มักจะหายภายใน 2-3 สัปดาห์ ขึ้นอยู่กับความลึกของบาดแผลจากอุบัติเหตุไฟไหม้ น�้ำร้อน ลวก ซึง่ มีแนวโน้มทีจ่ ะเกิดร่องรอยผิดปกติของบริเวณผิวหนัง หรืออาจมีโอกาสเกิดแผลเป็นแผลหดรัง้ ตาม ได้ หากได้รับการรักษาไม่ถูกต้อง กรณีถูกไฟไหม้ หากบาดเจ็บไม่ลึกมากก็จะพบว่าบริเวณผิวหนังจะมีตุ่มพองใส เมื่อตุ่มพอง นี้แตกออกบริเวณบาดแผลเบื้องล่างจะเป็นสีชมพู และผู้ป่วยจะรู้สึกปวดแสบปวดร้อนมาก แต่ถ้าพยาธิ สภาพค่อนข้างลึกจะพบว่าสีผิวหนังจะเปลี่ยนไปเป็นสีเหลืองหรือขาว ไม่ค่อยเจ็บ - ดีกรีความลึกระดับ 3 คือ ชั้นผิวหนังทั้งหมดถูกท�ำลายด้วยความร้อน บาดแผลเหล่านี้มัก จะไม่หายเอง มีแนวโน้มการติดเชือ้ ของบาดแผลสูง และมีโอกาสเกิดแผลหดรัง้ ตามมาสูงมาก ถ้าได้รบั การ รักษาไม่ถูกต้อง สิ่งแรกที่ควรท�ำ เมื่อโดนไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก - ล้างด้วยน�้ำสะอาดที่อุณหภูมิปกติ ซึ่งเชื่อว่าจะมีผลช่วยลดการหลั่งสารที่ท�ำให้เกิดอาการ ปวดบริเวณบาดแผลได้ - หลังจากนั้นซับด้วยผ้าแห้งสะอาด แล้วสังเกตว่าถ้าผิวหนังมีรอยถลอก มีตุ่มพองใส หรือมี สีของผิวหนังเปลี่ยนไป ควรรีบไปพบแพทย์ แต่ถา้ ไฟไหม้ น�ำ้ ร้อนลวกบริเวณใบหน้า จะต้องได้รบั การรักษาจากแพทย์โดยเร็วทีส่ ดุ เพราะ บริเวณใบหน้ามักจะเกิดอาการระคายเคืองจากยาที่ใช้ ห้ามใส่ยาใดๆ ก่อนถึงมือแพทย์ เพราะผู้ป่วยแต่ละ คนมีอาการตอบสนองต่อตัวยาไม่เหมือนกัน จะต้องขึ้นกับดุลยพินิจของแพทย์ 90
ข้อห้าม เมื่อโดนไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก ไม่ควรใส่ตัวยาหรือสารใดๆ ทาลงบนบาดแผล ถ้าไม่แน่ใจในสรรพคุณที่ถูกต้องของยาชนิด นั้น โดยเฉพาะ “ยาสีฟัน” “น�้ำปลา” เพราะสิ่งเหล่านี้จะท�ำให้เกิดอาการระคายเคืองต่อบาดแผล เพิ่ม โอกาสการเกิดบาดแผลติดเชื้อ และท�ำให้รักษาได้ยากขึ้นโดยการรักษาเริ่มดังนี้ - การใช้ยาทาในระยะเริ่มต้น - การใส่ชุดผ้ารัดในกรณีที่รอยแผลจากไฟไหม้น�้ำร้อนลวกมีแนวโน้มที่จะนูนมากขึ้น และไม่ ตอบสนองต่อการใช้ยาทา - ฉีดยาลบรอยแผลเป็น ซึ่งจะท�ำได้ในกรณีที่เกิดรอยแผลนูนและไม่ตอบสนองต่อการใส่ชุด ผ้ารัด - ผ่าตัดแก้ไข โดยแพทย์จะต้องท�ำการประเมินลักษณะและความรุนแรงของบาดแผล ทั้งนี้ ขึ้นกับชนิดและความรุนแรงของบาดแผลหดรั้งเหล่านั้น โดยทั่วไปช่วงอายุของผู้ป่วยไม่เป็นอุปสรรคในการรักษาบาดแผล และวิทยาการการรักษา ในปัจจุบันมีความก้าวหน้าไปมาก เมื่อผ่านขั้นตอนการรักษาแล้ว อย่าละเลยที่จะดูแลตนเอง ดังนี้ 1) หลีกเลี่ยงการสัมผัสฝุ่นผล หรืออะไรก็ตามที่จะท�ำให้ระคายเคือง 2) หลีกเลีย่ งการสัมผัสสัตว์ทกุ ชนิด เพราะหากโดนบริเวณแผล ก็อาจท�ำให้คนั หรือมีการติด เชื้อได้ง่าย 3) รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น เนื้อสัตว์ เพื่อเสริมการสร้างเนื้อเยื่อใหม่บริเวณ บาดแผลให้บาดแผลสมานปิดเร็วขึ้น 4) หมั่นทายา/รับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด ที่ส�ำคัญต้องรักษาความสะอาด แผลให้ดี อุบตั เิ หตุไฟไหม้ น�ำ้ ร้อนลวก เป็นอุบตั เิ หตุทเี่ กิดขึน้ ได้บอ่ ยในชีวติ ประจ�ำวัน ซึง่ ส่วนใหญ่แล้ว มักจะเกิดจากความประมาทแทบทั้งสิ้น ถ้าต้องท�ำอาหารและอาจต้องสัมผัสของร้อน ควรระมัดระวังและ ป้องกันตนเองให้ดี ในบ้านทีม่ เี ด็กเล็กควรระมัดระวังและจัดหาสถานทีๆ่ วางวัสดุทมี่ คี วามร้อนให้เหมาะสม ให้หา่ งจากมือเด็กเอือ้ มถึงได้ ส่วนบุคลากรทีต่ อ้ งท�ำงานกับเครือ่ งใช้ไฟฟ้า หรือเครือ่ งท�ำความร้อนต่างๆ ที่ มีโอกาสสัมผัสกับเปลวไฟหรือเปลวเพลิงสูง ควรมีการป้องกันตนเองให้เหมาะสมด้วย เพื่อลดโอกาสเกิด อุบัติภัยไฟไหม้ น�้ำร้อนลวกนี้ครับ 2.5 การปฐมพยาบาลผู้ที่มีเลือดก�ำเดาออก เลือดก�ำเดาออก คือ การมีเลือดไหลออกจากจมูก ซึง่ อาจเกิดจากการกระแทกทีบ่ ริเวณจมูก หรือการแคะจมูก จาก การติดเชือ้ ระบบทางเดินหายใจ หรือมีเนือ้ งอก หรือเป็นโรคเลือด บางชนิด พบในเด็กมากกว่าผูใ้ หญ่ 2 เท่า ในเด็กมักมีเลือดก�ำเดา ออกจากด้านหน้าผนังกัน้ จมูก ส่วนผูใ้ หญ่เลือดจะออกจากบริเวณ ผนังกั้นจมูกหรือผนังกั้นร่องจมูก 91
การปฐมพยาบาล 1) ให้ผู้ที่มีเลือดก�ำเดาออกนั่ง โน้มตัว หรือก้มหน้าเล็กน้อย และให้หายใจทางปาก 2) บอกไม่ให้สงั่ น�้ำมูก กลืน ไอ ถ่มน�้ำลาย หรือสูดจมูก เพราะอาจท�ำให้เลือดก�ำเดาไหลออก มาอีก 3) ใช้มือบีบจมูกให้แน่น 10 นาที แล้วคลายนิ้วออก จะท�ำให้เลือดแข็งตัว และหยุดไหล ถ้า เลือดยังไหลไม่หยุดให้บีบซ�้ำอีก 10 นาที หรืออาจ ใช้กระเป๋าน�้ำแข็งวางที่บริเวณดั้งจมูกและหน้าผาก 2-3 นาที เลือดก�ำเดาจะหยุดไหลเอง แต่ถา้ เลือดก�ำเดายังไหลอยูแ่ ละนานเกิน 20 นาที หรือสงสัยว่าดัง้ จมูกหัก เพราะแรงกระแทกรุนแรงหรือถูกกระแทกบริเวณอื่น แล้วมีเลือดออกจากจมูก ซึ่งอาจเป็นอาการของการ บาดเจ็บอวัยวะส�ำคัญบริเวณอื่น ได้ เช่น กะโหลกศีรษะ ต้องรีบน�ำส่งโรงพยาบาล 2.6 การปฐมพยาบาลผู้ที่เป็นลม อาการเป็นลมมี 2 ลักษณะกล่าวคือ เป็นลมธรรมดา ผู้ป่วยจะมีอาการวิงเวียนศีรษะ หน้ามืด หน้าซีด ปากซีด ชีพจรเบาเร็ว ตัว เย็น เป็นต้น การปฐมพยาบาล ห้ามคนมุงดูผปู้ ว่ ย พาเข้าทีร่ ม่ ทีอ่ ากาศถ่ายเท คลายเสือ้ ผ้าให้หลวม และ ให้ดมแอมโมเนียหอม จัดท่านอนผูป้ ว่ ยให้ศรี ษะต�ำ่ ยกเท้าสูงและใช้ผา้ ชุบน�ำ้ เย็นเช็ดตามหน้าผาก มือ และ เท้าแต่ถ้าผู้ป่วยมีอาการหายใจผิดปกติ ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงไปข้างใดข้างหนึ่ง ล้วงเอาสิ่งแปลกปลอมใน ปากออกให้หมด และช่วยผายปอด เป็นลมแดด ผู้ป่วยจะมีอาการปวดศีรษะ ต่อมาเวียนศีรษะ กระหายน�้ำ หน้าแดงแห้งและ ร้อน ชีพจรเต้นแรงเร็ว หายใจลึกเร็ว อุณหภูมิสูงประมาณ 40 องศาเซลเซียส หรือมากกว่า เป็นต้น การปฐมพยาบาล รีบน�ำผู้ป่วยเข้าที่ร่ม อย่าให้คนมุง และอากาศถ่ายเทสะดวก จากนั้นให้ คลายเสื้อผ้าให้หลวม เช็ดตัวด้วยน�้ำเย็น ให้ดื่มน�้ำเย็น แต่ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ให้น�ำส่งโรงพยาบาล 2.7 การปฐมพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหัก กระดูกหัก (fracture) หมายความถึงกระดูกแยกออกจากกัน ก่อให้เกิดความเจ็บปวด บวม เคลื่อนไหวไม่ได้หรือเคลื่อนไหวผิดปกติ เนื่องจากอุบัติเหตุ เช่น ถูกรถชน หกล้ม ตกจากที่สูง หรือกระดูก เป็นโรคไม่แข็งแรงอยู่แล้ว กระดูกเปราะเมื่อถูกแรงกระทบกระเทือนเพียงเล็กน้อยก็อาจหักได้ ประเภทของกระดูกหัก 1) กระดูกหักแบบสามัญ (simple fracture) หมายถึง กระดูกหักแล้วไม่ปรากฏแผลให้ เห็นบนผิวหนัง 2) กระดูกหักแผลเปิด (compound fracture) หมายถึง กระดูกทีห่ กั ทิม่ แทงผิวหนังออก มาภายนอก 3) กระดูกหักแตกย่อย (comminuted fracture) หมายถึง ชิ้นส่วนของกระดูกที่หัก ปรากฏออกมามากกว่า 2 ชิ้นขึ้นไป 92
ภาพแสดง กระดูกหักแบบสามัญ กระดูกหักแบบแผลเปิด กระดูกหักแบบแตกย่อย ที่มา : http://kanchanapisek.or.th อาการของกระดูกหัก อาการของกระดูกหัก มีดังนี้ 1) มีความเจ็บปวดบริเวณที่มีกระดูกหัก 2) มีอาการบวมรอบๆ บริเวณที่กระดูกหัก 3) รูปร่างของแขนขาหรือหัวไหล่อาจเปลี่ยนแปลงไปจากรูปร่างปกติ 4) บริเวณนั้นเคลื่อนไหวไม่ได้ หรือเคลื่อนไหวแล้วจะเจ็บปวดมาก 5) อาจได้ยินเสียงกระดูกหักเมื่อประสบอุบัติเหตุบาดเจ็บ 6) หากกดเบาๆ ลงบนกระดูกบริเวณที่หัก อาจได้ยินเสียงกรอบแกรบ การปฐมพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหัก การปฐมพยาบาลที่ดีที่สุด คือ ให้ผู้ป่วยนอนอยู่กับที่ห้ามเคลื่อนย้ายโดยไม่จ�ำเป็น เพราะ หากท�ำผิดวิธีอาจบาดเจ็บมากขึ้น ถ้าผู้ป่วยมีเลือดออกให้ห้ามเลือดไว้ก่อน หากมีอาการช็อกให้รักษาช็อก ไปก่อน ถ้าจ�ำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยให้เข้าเฝือกชั่วคราว ณ ที่ผู้ป่วยนอนอยู่ ถ้าบาดแผลเปิด ให้ห้าม เลือดและปิดแผลไว้ชั่วคราวก่อนเข้าเฝือก สิ่งที่ควรระวังมากที่สุดคือกระดูกสันหลังหักหรือกระดูกต้นคอ หัก ถ้าเคลื่อนย้ายผิดวิธี อาจท�ำให้ผู้ป่วยพิการตลอดชีวิต หรือถึงแก่ชีวิตได้ทันทีขณะเคลื่อนย้าย 93
การเข้าเฝือกชั่วคราว เป็นวิธีการบังคับให้กระดูกส่วนที่หักได้อยู่นิ่งไม่เคลื่อนไหว เพื่อลด ความเจ็บปวดและป้องกันมิให้เกิดความพิการเพิม่ ขึน้ มีหลักอยูว่ า่ หากหาสิง่ ทีใ่ กล้มอื เพือ่ เข้าเฝือกไม่ได้ ให้ มัดส่วนที่กระดูกหักไว้ ไม่ให้เคลื่อนไหว เช่นกระดูกขาข้างหนึ่งหัก ก็ให้มัดขาข้างที่หักให้ชิดแน่นกับขาข้าง ดี หากกระดูกแขนหัก หรือกระดูกไหปลาร้าหักก็มดั แขนข้างนัน้ ให้อยูแ่ น่นติดกับล�ำตัว เรียกว่า “เข้าเฝือก ธรรมชาติ สิ่งที่อยู่ใกล้มือพอให้เป็นเฝือกได้คือ แผ่นกระดานท่อนไม้ กิ่งไม้ ไม้บรรทัด หมอน ผ้าห่ม ผ้า ขาวม้า ด้ามร่ม ม้วนกระดาษหนังสือพิมพ์ ใช้ได้ดีคือแผ่นไม้ ที่เหมาะควรยาวเกินกว่าข้อต่อ (joints) ซึ่ง อยู่ส่วนบนและส่วนล่างของกระดูกที่หักและควรมีสิ่งนุ่มๆ รองรับผิวหนังของอวัยวะส่วนนั้นอยู่เสมอควร ใช้ไม้ 2 แผ่นขนาบสองข้างของส่วนที่หักแล้วมัดด้วยผ้าหรือเชือกให้แน่นพอควร หากไม่แน่ใจว่ากระดูก หักจริงหรือไม่ ให้ปฏิบัติตามวิธีกระดูกหักไว้ก่อนเพื่อความปลอดภัย ตัวอย่างการปฐมพยาบาลกระดูกแขนหัก ภาพต่อไปนี้ เป็นการแสดงการประยุกต์ใช้ ผ้าแขวนแขน เฝือกชั่วคราว ผ้าผูกคอ ในการรองรับ ส่วนที่ได้รับการบาดเจ็บไม่ให้เกิดการเคลื่อนไหว ของกระดูกแขน
วิธีที่ 1
วิธีที่ 2 ภาพแสดง การประยุกต์ใช้ผ้าสามเหลี่ยมในการรองรับส่วนที่บาดเจ็บ
94
ภาพแสดง การจับจีบและหมุนส่วนมุมของผ้า ใส่เข้าไปในบริเวณข้อศอก
วิธีที่ 1
วิธีที่ 2
ภาพแสดง การเข้าเฝือกชั่วคราวด้วยไม้กระดาน ในรายที่กระดูกข้อศอกหัก ชนิดที่ไม่มีการโก่งหรืองอ
ภาพแสดง การใช้ทรวงอกของผู้ป่วยเจ็บเป็นเฝือก ในรายที่มีกระดูกแขนท่อนบนหัก
ภาพแสดง การเข้าเฝือกชั่วคราวในรายที่กระดูกข้อศอกหักชนิดที่คดงอ โดยใช้ทรวงอกเป็นเฝือก แขวนแขนด้วยผ้าสามเหลี่ยม ในการป้องกันไม่ให้บริเวณที่บาดเจ็บมีการเคลื่อนไหว 95
ภาพแสดง การประยุกต์ใช้ไม้กระดาน เป็นเฝือกชั่วคราว ในรายที่มีกระดูกแขนท่อนล่างหัก
ภาพแสดง การเข้าเฝือกชั่วคราวกระดูกหักที่แขนท่อนล่าง หรือข้อมือ ด้วยกิ่งไม้ พยุงส่วนที่บาด เจ็บด้วยชายเสื้อของเครื่องแบบสนาม และผูกรัดไว้ด้วยผ้า
ภาพแสดง การประยุกต์ใช้ไม้กระดานเป็นเฝือกชั่วคราว ในรายที่มีกระดูกที่ข้อมือ หรือบริเวณมือ ที่มา : http://www.nmd.go.th
ภาพแสดง อุปกรณ์ประยุกต์ (Aluminum splint) ที่น�ำมาใช้เป็นเฝือกชั่วคราว ในรายที่มีกระดูก หักที่แขนท่อนล่างหรือข้อมือ 96
ตัวอย่างการปฐมพยาบาลกระดูกขาหัก ภาพต่อไปนี้ แสดงให้เห็นถึงการประยุกต์ใช้เฝือกชัว่ คราวในการป้องกันไม่ให้กระดูกของขาทีไ่ ด้รบั การบาดเจ็บมีการเคลื่อนไหว ในภาพที่แสดงไม่สามารถที่ท�ำให้มองเห็นวัสดุอ่อนนุ่ม ส�ำหรับใช้ลดแรงกด ในส่วนที่ร่างกายต้องสัมผัสกับเฝือก โดยเฉพาะตามซอก หรือปุ่มกระดูก ซึ่งวัสดุพวกนี้เป็นสิ่งจะต้องน�ำมา ใช้ร่วมกับการบาดเจ็บที่ต้องมีการเข้าเฝือกชั่วคราว ต�ำแหน่งที่บาดเจ็บ น�ำผ้ามาผูกไว้กับขาข้างที่ไม่ได้รับการบาดเจ็บด้วย
ผ้าที่ผูกต้องอยู่เหนือและต�่ำกว่าต�ำแหน่งที่บาดเจ็บ
ภาพแสดง การเข้าเฝือกชั่วคราว ในรายที่กระดูกสะโพก หรือกระดูกต้นขาหัก ที่มา : http://www.nmd.go.th
ต�ำแหน่งที่กระดูกหัก
เฝือกไม้
ผ้าผูกต้องอยู่เหนือและต�่ำกว่าต�ำแหน่งกระดูกหัก
ภาพแสดง การเข้าเฝือกชั่วคราว โดยใช้ไม้กระดาน ในรายที่กระดูกขาท่อนล่าง หรือกระดูกข้อเท้า หัก
97
ภาพแสดง วัสดุประยุกต์ (Aluminum splint) ในการน�ำมาเข้าเฝือกชั่วคราวกระดูกขาท่อนล่าง หรือกระดูกข้อเท้าหัก
ภาพแสดง การเข้าเฝือกชั่วคราวกระดูกขาท่อนล่าง หรือกระดูกข้อเท้าหัก ที่มา : http://www.nmd.go.th เฝือกชั่วคราวในรายกระดูกหักที่ขาท่อนล่าง เข่า หรือข้อเท้า ต�ำแหน่งที่กระดูกหัก
ต�ำแหน่งที่กระดูกหัก
เฝือกชั่วคราวในรายกระดูกต้นขา หรือสะโพกหัก ภาพแสดง การประยุกต์ใช้ผ้าห่มม้วนเข้าไปในท่อนไม้ (เสา) เป็นเฝือกชั่วคราว ในรายผู้ป่วยเจ็บที่มี กระดูกขาหัก
98
เข็มขัดสนาม วัสดุอ่อนนุ่ม ผ้าผูกคอ
ผ้าผูกคอ
เข็มขัด ต�ำแหน่งกระดูกหัก
ภาพแสดง การประยุกต์ใช้ขาข้างที่ไม่ได้รับบาดเจ็บของผู้บาดเจ็บเป็นเฝือกชั่วคราว ที่มา : http://www.nmd.go.th การเข้าเฝือกชั่วคราวกระดูกหักที่ขากรรไกร ไหปลาร้า และไหล่ 1. กระดูกขากรรไกรหัก เป็นการประยุกต์ใช้ผ้าผูกคอ มาใช้ป้องกันไม่ให้กระดูกขากรรไกร ทีห่ กั มีการเคลือ่ นไหว โดยการดึงผ้าพันแผลทัง้ หมดขึน้ ไปตรงๆ เพือ่ จะรองรับน�ำ้ หนักทีด่ า้ นบนศีรษะของผู้ ป่วย ไม่ใช่บริเวณส่วนหลังของคอผู้ป่วย ถ้าต�ำแหน่งถูกต้องผ้าพันแผลจะช่วยดึงขากรรไกรของผู้ป่วยเจ็บ ไปทางด้านหลัง และจะท�ำให้การหายใจของผู้บาดเจ็บถูกรบกวน (ดูตามภาพ)
ภาพแสดง การเข้าเฝือกชั่วคราวที่กระดูกขากรรไกร ที่มา : http://www.nmd.go.th ข้อพึงระวัง : ในรายที่มีกระดูกขากรรไกรด้านล่างหัก ไม่สามารถที่จะดึงขากรรไกรไปด้านหลังของผู้บาด เจ็บได้ เนื่องจากกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าจะมีการหย่อนตัว เป็นเหตุให้ลิ้นของผู้บาดเจ็บไปอุดกั้นทางเดิน หายใจได้
99
2. กระดูกไหปลาร้าหัก เป็นการเข้าเฝือกชัว่ คราว โดยใช้เข็มขัด 2 เส้น ผ้าแขวนแขนทีบ่ าด เจ็บ และผ้าผูกคอ (ดูตามภาพ)
ภาพแสดง การประยุกต์ใช้เข็มขัด ผ้าแขวนแขน และผ้าผูกคอ เป็นเฝือกชั่วคราวในรายที่กระดูก ไหปลาร้าหัก 3. กระดูกหัวไหล่หกั หรือเคลือ่ น เป็นการเข้าเฝือกชัว่ คราวในรายทีม่ กี ระดูกหัวไหล่หกั หรือ เคลื่อน โดยใช้ผ้าแขวนแขนที่บาดเจ็บ และผ้าผูกคอ (ดูตามภาพ)
ภาพแสดง การเข้าเฝือกชั่วคราวในรายที่กระดูกหัวไหล่หักหรือเคลื่อน โดยใช้ผ้าแขวนแขนร่วมกับ ผ้าผูกคอ ที่มา : http://www.nmd.go.th
3. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย 3.1 การยกและการเคลื่อนย้าย การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเป็นเรื่องที่มีความส�ำคัญมากนอกจากต้องระวังไม่ให้ผู้ป่วย ได้รับบาดเจ็บหรืออันตรายเพิ่มขึ้นแล้ว ผู้ที่ท�ำการยกหรือเคลื่อนย้ายเองก็ควรระมัดระวังไม่ให้ตนเองได้ รับบาดเจ็บจากการยกหรือการเคลื่อนย้ายไม่ถูกวิธีด้วย 100
เหตุผลส�ำคัญในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย มี 2 ประการ 1. อาการของผู้ป่วยไม่ปลอดภัยจ�ำเป็นต้องรีบน�ำส่งรพ. 2. สถานการณ์ในที่เกิดเหตุไม่ปลอดภัย เช่น ผู้ป่วยติดอยู่ในกองเพลิงหรือผู้บาดเจ็บจาก อุบัติเหตุรถชนกลางถนนมีความจ�ำเป็นต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปในที่ปลอดภัยหากมีอุบัติเหตุที่อาจท�ำให้ มีการบาดเจ็บของไขสันหลัง เช่น ผู้ป่วยตกจากที่สูง หรืออุบัติเหตุรถชน จะต้องมีการดามกระดูกสันหลัง ก่อนเสมอ ก่อนจะท�ำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจะต้องแก้ไขส่วนที่บาดเจ็บก่อน - ถ้าผู้ป่วยมีบาดแผลต้องท�ำการห้ามเลือดก่อน - ถ้าผู้ป่วยมีกระดูกหัก จะต้องดามกระดูกก่อน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยบาดเจ็บมาก ขึ้นในระหว่างการเคลื่อนย้าย หลักการที่จะต้องยึดถือเสมอเมื่อจะท�ำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย คือ 1. อย่าเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยไม่จ�ำเป็น ยกเว้นอาการไม่ปลอดภัยหรือสถานการณ์ที่เกิดเหตุ ไม่ปลอดภัย 2. ห้ามเคลื่อนย้ายผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง โดยไม่ได้ดามกระดูกก่อน 3. ห้ามเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยที่ยังไม่ได้แก้ไขส่วนที่บาดเจ็บ 4. ห้ามทิ้งผู้ป่วยที่หมดสติอยู่เพียงล�ำพัง เพราะผู้ป่วยจะแย่ลงเมื่อไรก็ได้ 5. ห้ามท�ำให้ผู้ป่วยบาดเจ็บมากขึ้น 6. ห้ามท�ำในสิง่ ทีไ่ ม่รหู้ รือไม่แน่ใจ ในกรณีทไี่ ม่แน่ใจว่าควรจะท�ำอย่างไร อย่าตัดสินใจกระท�ำ ในสิ่งที่ไม่รู้โดยเด็ดขาด กฎในการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมีหลายวิธี แต่หลักการเหมือนกันทุกวิธี คือ 1. บอกเล่าแผนการกับผูท้ มี่ าช่วยว่าจะท�ำอะไร ทีส่ ำ� คัญคือต้องบอกผูป้ ว่ ยด้วยว่าจะท�ำอะไร กับเขาบ้าง 2. ประมาณก�ำลังที่จะยกผู้ป่วย ถ้าไม่แน่ใจว่าจะยกไหวต้องหาคนช่วยให้มากพอ ห้ามลอง ยกเด็ดขาด เพราะผู้ป่วยจะได้รับอันตราย 3. ห้ามท�ำหลังงอเวลายก เพราะจะท�ำให้หมอนรองกระดูกหลังเคลื่อนท�ำให้ปวดหลัง หรือ เสียวแปลบตามเส้นประสาท ต้องให้หลังตรงเสมอ 4. เวลายกผูป้ ว่ ยต้องงอขา และหนีบแขน ก�ำมือทีจ่ บั ผูป้ ว่ ยให้แน่นให้มอื และแขนอยูแ่ นบล�ำ ตัวมากที่สุด จะท�ำให้ได้แรงมาก 5. ต้องยกผู้ป่วยโดยให้ตัวเราอยู่ในสมดุล น�้ำหนักจะได้ลงที่ศูนย์กลางล�ำตัว ท�ำให้ออกแรง ได้เต็มที่ และผู้ยกเองปลอดภัย จะไม่เกิดการบาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อและเส้นประสาท 6. ต้องท�ำด้วยความละมุนละม่อมทีส่ ดุ เราต้องการให้คนอืน่ ปฏิบตั ติ อ่ เราอย่างไร ก็ควรปฏิบตั ิ เช่นนั้นต่อผู้อื่นด้วย 101
3.2 การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บเล็กน้อยและ/หรือรู้สึกตัว
ผู้ช่วยเหลือ 1 คน 1) ท่าประคองเดิน ใช้สำ� หรับผูป้ ว่ ยรูส้ กึ ตัวดี และพอจะช่วยตัวเองได้ ไม่มี กระดูกหรือกระดูกหลังหักและผูป้ ว่ ยตัวใหญ่พอๆ กับผูช้ ว่ ยเหลืออย่าลืม ขัน้ ตอนในการเคลือ่ นย้ายต้องบอกเล่าแผนการแก่ผปู้ ว่ ยก่อนเสมอว่า เรา จะช่วยท�ำอย่างไร จะพาเดินไปทางไหนและประมาณก�ำลัง ต้องให้ผปู้ ว่ ย เดินน�ำหน้าเสมอ ผู้ช่วยต้องคอยมองเท้าของผู้ป่วยถ้าผู้ป่วยล้มระหว่าง ทางจะได้ประคองผู้ป่วยไว้ได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วยและตนเอง
2) การอุ้ม ถ้าผู้ป่วยตัวเล็กกว่าผู้ช่วยเหลือมาก และไม่มีกระดูกหักที่ใดๆ การอุ้มจะเป็นการเคลื่อน ย้ายที่สะดวก รวดเร็วและปลอดภัย แต่ถ้าผู้ป่วยตัวใหญ่และไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ อาจใช้วิธียก โดยคนหลายๆ คน
102
ผู้ช่วยเหลือ 2 คน 1) การประคองเดิน ผู้ป่วยพอช่วยตัวเองได้ ไม่มีกระดูกขาหรือกระดูกสันหลังหัก
2) กรณีที่ผู้ป่วยตัวใหญ่ อุ้มคนเดียวไม่ไหวและไม่มีกระดูกส่วนใดหัก การอุม้ คนละข้างของผูป้ ว่ ย ถ้าผูป้ ว่ ยรูส้ กึ ตัวดี ควรให้ผปู้ ว่ ยเอามือโอบบ่าของผูช้ ว่ ยเหลือ ทั้งสอง แต่การยกวิธีนี้จะท�ำได้ไม่ค่อยถนัด การเคลือ่ นย้ายโดยผูช้ ว่ ยเหลือ 2 คน คนหนึง่ อยูด่ า้ นหน้าอีกคนหนึง่ อยูด่ า้ นหลังจะท�ำได้ สะดวกมากกว่า ขัน้ แรกต้องพยุงผูป้ ว่ ยขึน้ มาอยูใ่ นท่านัง่ ผูช้ ว่ ยคนที1่ ประคองด้านหลังของผูป้ ว่ ย โดยสอด แขนมาจับแขนของผูป้ ว่ ยด้านหน้า ผูช้ ว่ ยคนที่ 2 สอดแขนเข้าใต้ขอ้ พับเข่าของผูป้ ว่ ยแล้วลุกขึน้ ยืนพร้อมกัน
103
3.3 การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บรุนแรงและ/หรือไม่รู้สึกตัว ผู้ช่วยเหลือ 1 คน 1) ท่าลาก ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน เช่นไฟไหม้ ผู้ป่วยส�ำลักควันหมดสติ หรือรถชนหมดสติอยู่กลาง ถนน จ�ำเป็นต้องท�ำการเคลือ่ นย้ายออกจากทีเ่ กิดเหตุโดยเร็ว เคลือ่ นย้ายในระยะทางสัน้ ๆ และจะต้องเป็น ที่ราบเรียบ
2) ท่าอุ้มแบก ในกรณีที่ผู้ป่วยตัวเล็ก ผู้ช่วยเหลือตัวใหญ่ ผู้ป่วยไม่มีส่วนใดหักเลื่อนย้ายไประยะทาง ไกลๆได้สะดวก
104
ผู้ช่วยเหลือ 3-4 คน ในกรณีที่ผู้ป่วยตัวใหญ่มาก จ�ำเป็นต้องใช้ผู้ช่วยเหลือมากกว่า 2 คนในการเคลื่อนย้าย การเคลือ่ นย้ายผูป้ ว่ ยโดยวิธนี ผี้ ปู้ ว่ ยจะรูส้ กึ มัน่ คงปลอดภัยมากกว่า แต่ผชู้ ว่ ยเหลือต้องยึดหลักในการเคลือ่ น ย้ายผู้ป่วยอย่างแม่นย�ำ และต้องท�ำอย่างนุ่มนวล ที่ส�ำคัญ คือ ต้องแน่ใจว่ายกผู้ป่วยไหว ถ้าไม่แน่ใจห้าม ลองยกเด็ดขาด ต้องหาคนมาช่วยอีก ถ้าใช้คนมากขึ้นจะช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยมากขึ้น การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บที่กระดูกสันหลังหัก กระดูกสันหลังหักมักมีอนั ตรายต่อเส้นประสาทไขสันหลัง ท�ำให้เกิดอัมพาตได้ ถ้าบริเวณ คอ อาจท�ำให้ผู้ป่วยตายได้ ในการช่วยเหลือผู้ป่วยจึงมีความส�ำคัญมาก ถ้าการช่วยเหลือไม่ดีอาจท�ำให้เส้นประสาทไขสันหลังถูกกดและถูกท�ำลายมากขึ้น ถ้า ต้องท�ำการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจะต้องให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนราบเสมอ เช่น ให้นอนบนบานประตู หรือไม้ กระดานแผ่นเดียว เวลายกผูป้ ว่ ยต้องยกให้ตวั ตรงเป็นท่อนไม้ เมือ่ ผูป้ ว่ ยนอนบนกระดานแล้ว มัดตัวผูป้ ว่ ย ติดกระดานให้แน่นพอดีพร้อมกับน�ำวัตถุที่แข็ง 2 ชั้น มาประกบที่ศีรษะทั้ง 2 ข้าง เพื่อยึดให้ศีรษะและคอ อยู่นิ่งไม่ให้เคลื่อนไหว ไม่ว่าจะเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยวิธีใดก็ตาม ต้องยึดถือหลักในการยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย อย่างเคร่งครัด และต้องคิดถึงความปลอดภัยทั้งของผู้ป่วยและตัวผู้ช่วยเหลือเองไว้เสมอ
4. การปฐมพยาบาลที่ผสมผสานกับหลักการอิสลาม 4.1 นะญีสและการท�ำความสะอาด นะญีส คือสิง่ สกปรก โสโครกทีบ่ ทบัญญัตขิ องศาสนาอิสลามถือว่าเป็นนะญีสด้วย นะญีสตาม หลักการอิสลามจะแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่ 4.1.1 นะญีสเบา (มุคอฟฟะฟะฮฺ) ได้แก่ ปัสสาวะของเด็กผู้ชายอายุไม่ถึง 2 ขวบ ที่ไม่ได้รับ ประทานสิ่งอื่นใดนอกจากน�้ำนมแม่เท่านั้น 4.1.2 นะญีสปานกลาง (มูตะวัศศิเฏาะฮฺ) ได้แก่ อุจจาระ ปัสสาวะ เลือด น�้ำหนอง น�้ำเหลือง อาเจียนของมนุษย์และสัตว์ เป็นต้น 4.1.3 นะญีสใหญ่ (มูฆอลละเซาะฮ์) ได้แก่ สุกร สุนัขหรือทุกสิ่งอันเกิดจากสัตว์ทั้งสองนี้ เช่น ปัสสาวะ อุจจาระ รอยเท้าที่เปียกหรือน�้ำลายของมัน ฯลฯ เมื่อร่างกายสัมผัสกับนะญีส (สิ่งสกปรก) จะมีวิธีการล้างหรือขั้นตอนการท�ำความสะอาดที่ แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับว่าได้สัมผัสกับนะญีสชนิดใด 4.2 ดุอาอ์(บทขอพร) ต่างๆ ที่ใช้ในการปฐมพยาบาล เมื่อท่านนบีมุฮัมมัดป่วยท่านเคยเอามือของท่านลูบไปมาที่อกซ้ายและกล่าวค�ำวิงวอนว่า “ด้วยพระนามของอัลลอฮ์ ขอพระองค์ให้ข้าพระองค์หายจากโรคภัย ด้วยการรักษา ของพระองค์ และขอพระองค์ได้ทรงโปรดให้ข้าพระองค์หายจากอาการเจ็บป่วยในครั้งนี้ด้วยเถิด และขอ พระองค์ได้ทรงโปรดประทานความมั่งคั่งจากความประเสริฐของพระองค์ซึ่งเหนือกว่าผู้ใดทั้งสิ้น และขอ พระองค์ทรงขจัดภยันตรายให้พ้นจากข้าพระองค์ด้วยเถิด” 105
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8
มหันตภัยจากสารเสพติด มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สาร เสพติด และความรุนแรง ตัวชี้วัด 1. อธิบายลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติดและการป้องกันการติดสารเสพติด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสารเสพติด
ลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติด
มหันตภัยจากสารเสพติด
ประเภทของสารเสพติด
106
“ยาเสพติด” พิษร้ายท�ำลายสุขภาพ ท�ำลายครอบครัว ท�ำลายสังคม และประเทศชาติ
วันที่ “26 มิ.ย.” ถูกก�ำหนดให้เป็น “วันต่อต้านยาเสพติดโลก” โดยเป็นการก�ำหนดหรือการประกาศ ตามมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ตั้งแต่ 26 มิ.ย. 2531 เป็นต้นมา ซึ่งส�ำหรับประเทศไทยก็ถือ เอาวันที่ 26 มิ.ย. เป็นวันส�ำคัญในการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสารเสพติด สมองกับการเสพติด สมองมีบทบาทส�ำคัญในการกระตุน้ ให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ เพือ่ ให้รา่ งกายได้รบั สิง่ ซึง่ จ�ำเป็น ต่อการด�ำรงชีวติ ของมนุษย์ ได้แก่ อาหาร นํา้ เพศสัมพันธ์ และการท�ำนุบำ� รุงดูแลเอาใจใส่ เป็นต้น สิง่ เหล่า นีเ้ ป็นสิง่ กระตุน้ ความพอใจของมนุษย์ สมองส่วนทีท่ ำ� หน้าทีน่ เี้ รียกว่า สมองส่วนควบคุมความพอใจ ดังนัน้ สมองส่วนทีม่ บี ทบาทเกีย่ วข้องกับการเสพติดคือ ส่วนทีค่ วบคุมความพอใจ ตัวส่งผ่านสัญญาณประสาทใน สมองส่วนนี้คือ โดปามีน เมื่อสมองส่วนที่ควบคุมความรู้สึก พอใจนี้ถูกกระตุ้นโดยสิ่งเร้าต่างๆ จะหลั่งสาร โดปามีนออกมา เมือ่ สิง่ เร้าหมดไป ระดับโดปามีนในสมองลดลง ความรูส้ กึ พอใจก็ลดลงด้วย เกิดเป็นความ ไม่สบายใจ กระวนกระวายใจ ต้องแสวงหาสิง่ เร้ามากระตุน้ อีก เพือ่ รักษาระดับโดปามีนในสมองไว้ เรียกว่า พฤติกรรมแสวงหาความพอใจ การติดยาเสพติดเป็นกระบวนการต่อเนื่องที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว เริ่มต้นจากการใช้เป็น ครั้งคราวสู่การใช้ถี่ขึ้นจนใช้ทุกวัน และวันละหลายครั้ง การใช้ยาเสพติดมีผลต่อสมอง 2 ส่วนคือ 1. สมองส่วนนอกที่เป็นส่วนคิด (Cerebral cortex) 2. สมองส่วนที่อยู่ชั้นใน (Limbic System) เป็นสมองส่วนสมองส่วนควบคุมความพอใจ เกี่ยวข้องกับอารมณ์และความอยาก สมองส่วนคิดท�ำหน้าที่ควบคุมสติปัญญา ใช้ความคิดแบบมีเหตุผล ขณะที่สมองส่วนอยาก เป็นศูนย์ควบคุมอารมณ์ ความรู้สึก ยาเสพติดจะกระตุ้นปลายประสาทในสมองให้ส่งโดปามีนซึ่งเป็นสาร เคมีชนิดหนึง่ ออกมาเป็นปริมาณมากๆ สารนีท้ ำ� ให้เกิดความรูส้ กึ สบาย สมองจึงมีการปรับตัวด้วยการลดการ 107
หลั่งสารเคมีนั้นลง เมื่อหมดฤทธิ์ยา จึงเสมือนว่าร่างกายมีอาการขาดสารโดปามีน ท�ำให้มีอาการหงุดหงิด หรือซึมเศร้า ส่งผลให้ผู้เสพยาพยายามแสวงหายามาใช้ซ�้ำ ในขณะเดียวกันเมื่อใช้ยาบ่อยๆ ครั้ง จะท�ำให้ สมองส่วนนอกซึ่งเป็นส่วนคิดถูกท�ำลาย การใช้ความคิดที่เป็นเหตุเป็นผลจะเสียไป ผู้ที่ใช้ยาบ้าจึงมักแสดง พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม มีอารมณ์ก้าวร้าว หงุดหงิด ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ จึงท�ำให้มีการใช้ยาเสพ ติดบ่อยขึน้ ผลสุดท้ายจะเกิดความสูญเสียอย่างรุนแรงในด้านต่างๆ ของชีวติ โดยทีผ่ เู้ สพไม่สามารถควบคุม ตนเองได้ด้วยสติปัญญาหรือความคิด การเสพติด คือสภาวะซึง่ สิง่ มีชวี ติ หมกมุน่ ในพฤติกรรมยาํ้ คิดยาํ้ ท�ำ เพราะ พฤติกรรมนัน้ มีผล ตอบแทนที่ส่งเสริมความพอใจ จนสูญเสียสมรรถภาพที่จะควบคุมการบริโภค สารเสพติดจึงเป็นสารเคมีที่ มีฤทธิต์ อ่ สมองส่วนควบคุมความพอใจ ท�ำให้สมองหลัง่ สารโดปามีนออกมามากเกินกว่าปกติ จนสมองเสีย สมดุลของการท�ำงานตามปกติไป จะท�ำงานตามปกติได้ต่อเมื่อมีโดปามีนในระดับสูงๆ เท่านั้น เมื่อระดับ โดปามีนลดลง ก็เกิดอาการต่างๆ ที่เรียกว่า อาการถอนพิษและจะต้องแสวงหาสารเสพติดนั้นๆ มาใช้อีก
2. ประเภทของสารเสพติด สารเสพติดให้โทษ หมายถึง ยา หรือ สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ หรือพืช ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยวิธีกิน ดม สูบ หรือ ฉีดแล้วจะท�ำให้เกิดผลต่อร่างกาย และจิตใจ ในลักษณะส�ำคัญ ดังนี้ 1. ต้องเพิ่มขนาดการเสพมากขึ้นเรื่อยๆ 2. มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกาย และจิตใจ อย่าง รุนแรง ตลอดเวลา 3. เมื่อถึงเวลาเสพแต่ไม่ได้เสพ จะท�ำให้เกิดอาการขาดยา 4. ท�ำให้สุขภาพร่างกายและจิตใจของผู้เสพทรุดโทรมลงอย่างรวดเร็ว สารเสพติด ที่แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ ปี พุทธศักราช 2522 ได้จัดประเภทของสารเสพติดไว้ 5 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 ยาเสพติดให้โทษ ชนิดร้ายแรง เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามีน
108
ประเภทที่ 2 ยาเสพติดให้ โทษทั่วไป เช่น มอร์ฟีน โคเคน โคเดอีน
ประเภทที่ 3 ยาเสพติดให้โทษ ที่มียาเสพติดให้ โทษประเภท 2 เป็น ส่วนผสมอยู่ ด้วยตามที่ได้ขึ้น ทะเบียนต�ำรับยา ไว้ตามมาตรา 43 เช่น ยาแก้ไอผสม โคเดอีน
ประเภทที่ 4 สารเคมีที่ใช้ ในการผลิตยา เสพติดให้โทษ ประเภท 1 หรือ ประเภท 2 เช่น อาเซติค แอนไฮไดรด์ อาเซติลคลอไรด์
ประเภทที่ 5 ยาเสพติดให้โทษ ที่มิได้เข้าอยู่ใน ประเภท 1 ถึงประเภท 4 เช่น กัญชา พืช กระท่อม
สารเสพติด ที่แบ่งตามลักษณะการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ ประเภท ออกฤทธิ์กระตุ้น ประสาท ผู้เสพมักจะมีร่างกายซูบผอม ผู้ที่เสพจะประสาท อ่อนเพลีย มึนงง เซื่องซึม เบื่อ ตื่นตัว ไม่ง่วงนอน หน่ายต่อการงานและการเรียน กระวนกระวาย บางครั้งอาจจะมีอาการคลุ้มคลั่ง จิตใจสับสน ได้เช่น ฝิ่น เฮโรอีน มอร์ฟีน หวาดระแวง หรือ ยานอนหลับ ยากล่อมประสาท มีอาการทาง ยาระงับประสาท เครื่องดื่ม ประสาทเช่น ใบ มึนเมาและสารระเหยต่างๆ เช่น กระท่อม ยาบ้า ทินเนอร์ กาว น�้ำมันเบนซินฯลฯ (แอมเฟตามีน) โคเคน ประเภท ออกฤทธิ์กดประสาท
ประเภท ออกฤทธิ์หลอน ประสาท ผู้ที่เสพจะเกิด ประสาทหลอน หูแว่ว เห็นภาพ แปลกๆ เช่น แอลเอสดี ดีเอ็มที เห็ดขี้ควาย
ประเภท ออกฤทธิ์ ผสมผสาน ผู้ที่เสพจะมี อาการเคลิบเคลิ้ม ประสาทหลอน เห็นภาพลวงตา หูแว่ว ความคิด สับสนและเป็น โรคจิตในที่สุด
3. ลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติด การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย - สุขภาพ ทรุดโทรมผอมซูบซีด - ริมฝีปากเขียวคล�้ำ แห้งแตก - ผิวหนังหยาบกร้าน เป็นแผลพุพอง - น�้ำมูกน�้ำตาไหล เหงื่อออกมาก - มักใส่แว่นกรองแสงสีเข้ม เพือ่ ต่อสูก้ บั แสงสว่าง เพราะม่านตาขยาย - มีร่องรอยการเสพยาโดยการฉีด นิ้วมือมีรอย คราบเหลืองสกปรก - มีรอยแผลเป็นทีท่ อ้ งแขนเป็นรอยกรีด ด้วยของ มีคม (ท�ำร้ายตนเอง) การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ ความประพฤติ และบุคลิกภาพ - ขาดการเรียน หนีโรงเรียน การเรียนด้อยลงสติปัญญาเสื่อม การงานบกพร่อง - ไม่สนใจต่อสิ่งแวดล้อม ชอบแยกตัวเอง หลบซ่อนตัว ท�ำตัวลึกลับ - เป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิด เอาแต่ใจตนเอง ขาดเหตุผล พูดจาก้าวร้าว ดื้อรั้นไม่เชื่อฟัง สามารถท�ำร้ายบิดามารดาได้ - ไม่สนใจความเป็นอยู่ของตนเอง แต่งกายไม่สุภาพเรียบร้อย สกปรก 109
- มีอาการทางจิตสีหน้าแสดงความผิดหวังกังวล ซึมเศร้า แยกตัว เก็บตัว - พกอุปกรณ์เกี่ยวกับยาเสพติด เช่น เข็มฉีดยา กระดาษตะกั่ว ไม้ขีดไฟ - ใช้จ่ายเพิ่มขึ้น เที่ยวมากขึ้น - พูดโกหก ลักขโมย - การนอนเปลี่ยนแปลง - ไม่มีอาการใดๆ เลย เมื่อขาดยาเสพติดจะมีอาการอยากยาเสพติดเกิดขึ้นเช่น - มีอาการน�้ำมูก น�้ำตาไหล หาวนอน จามคล้ายเป็นหวัด - กระสับกระส่าย กระวนกระวาย หายใจถี่ลึก จ้องหาแต่ยาเสพติด จะขวนขวายหามาเสพ ไม่ว่าด้วยวิธีการใดๆ - คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน อาจมีเลือดปนออกมาด้วย เรียกว่า ลงแดง - ขนลุก เหงื่อออก เป็นตะคริว กล้ามเนื้อกระตุก ขบฟัน ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดเสียว ในกระดูกดิ้นทุรนทุราย - มีไข้และความความดันโลหิต ชักกระตุก นอนไม่หลับ คลุ้มคลั่ง เสียสติ ส�ำหรับผู้ที่เสพจนติด - ร่างกายจะทรุดโทรม - ขอบตาคล�้ำ ดวงตาเหม่อลอย - น�้ำหนักตัวลดอย่างรวดเร็วสมองและ ประสาทเสื่อม ความคิดสับสน - หากใช้ยาเกินขนาด ฤทธิ์ของเฮโรอีน จะท�ำให้หวั ใจหยุดท�ำงานเกิด อาการ “ช็อก” ถึงความ ตายได้ทันที อิสลามได้กำ� หนดบทบัญญัตติ า่ งๆ ทัง้ ทีเ่ ป็นข้อปฏิบตั แิ ละข้อห้าม โดยมีจดุ ประสงค์เพือ่ รักษา ผลประโยชน์พื้นฐานของมนุษย์ทั้งห้าประการคือ ศาสนา ชีวิต ทรัพย์สิน สติปัญญา และศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์ การที่อิสลามมีบทบัญญัติห้ามสิ่งเสพติดก็เพื่อประโยชน์ในการดูแลสติปัญญาของมนุษย์ซึ่ง เป็นหนึ่งในห้าประการดังกล่าวไม่ให้เสียหาย เพราะสิ่งเสพติดทุกชนิดเป็นโทษต่อระบบสมองของผู้เสพ ท�ำให้ผู้เสพมึนเมาไม่ได้สติ อาจจะก่ออาชญากรรมร้ายแรง ละเมิดต่อศีลธรรมอันดีงาม และมีผลกระทบ ต่อระดับสติปัญญาของผู้เสพในระยะยาว นอกจากนี้ เมือ่ ผูเ้ สพได้รบั สารเสพติดเข้าไปในร่างกายแล้วอาจจะท�ำให้กอ่ ความผิดอย่างอืน่ ได้อกี เพราะไม่ได้สติอนั เกิดจากฤทธิข์ องยาทีเ่ สพเข้าไป ยาเสพติดนอกจากจะให้โทษต่อร่างกายผูเ้ สพแล้ว ยังก่อผลเสียต่อผู้อื่นและต่อสังคมอีกด้วย ด้วยเหตุนี้อิสลามจึงได้มีบัญญัติห้ามสิ่งเสพติด โดยได้มีบทบัญญัติห้ามการดื่มสุราใน อัลกุรอานไว้ 110
ความว่า “โอ้บรรดาผูศ้ รัทธาทัง้ หลาย แท้จริงแล้วสุรา การพนัน รูปปัน้ ต่างๆ และการเสีย่ งทาย นั้น คือสิ่งสกปรกซึ่งเป็นงานของชัยฏอน ดังนั้นพวกเจ้าจงละทิ้งมันเถิด เพื่อพวกเจ้าจะได้ประสบความ ส�ำเร็จ” (สูเราะฮฺอัลมาอิดะฮฺ อายะฮที่ 90) สิ่งเสพติดอื่นๆ ในปัจจุบันซึ่งไม่ได้มีระบุในอัลกุรอานนั้นก็เป็นสิ่งต้องห้ามเช่นกัน โดยอาศัย การเปรียบเทียบกับสุรา เพราะต่างก็ให้โทษต่อร่างกายมนุษย์และท�ำให้เกิดการเสียสติได้เท่าๆ กัน อีกทั้ง ยังมีการยืนยันจากท่านเราะสูลว่าทุกสิง่ ทุกอย่างทีส่ ามารถท�ำให้เกิดอาการมึนเมาได้นนั้ มีสถานะเหมือน กับสุรา โดยที่นบีได้กล่าว ความว่า “ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งที่ ท� ำ ให้ เ มาได้ นั้ น ก็ เ หมื อ นสุ ร า และสุ ร าทุ ก ชนิ ด นั้ น เป็ น ที่ ต ้ อ งห้ า ม” (บันทึกโดยมุสลิม) ภัยของสิง่ เสพติดนัน้ เป็นทีท่ ราบโดยทัว่ กันว่ามีผลเสียอย่างไรบ้าง ดังนัน้ จึงควรต้องตระหนัก ในการป้องกันไม่ให้สิ่งเสพติดระบาดในสังคม การระบาดของสิง่ เสพติดถือเป็นสัญญาณอันตรายทีน่ า่ กลัว เพราะสิง่ เสพติดมักจะระบาดใน หมูเ่ ยาวชนเสียส่วนใหญ่ เมือ่ เยาวชนติดสิง่ เสพติดก็แสดงว่าอนาคตอันสดใสของสังคมก�ำลังมืดลง ทุกคน ทุกฝ่ายจึงต้องเอาใจใส่มากเป็นพิเศษเพื่อไม่ให้สิ่งเสพติดระบาดในสังคมบ้านเรา นอกจากนีก้ ารระบาดของสิง่ เสพติด ไม่วา่ จะเป็นทีผ่ ดิ กฎหมายเช่นเฮโรอีน กัญชา ยาบ้า หรือ ที่ถูกกฎหมายเช่นเหล้า เบียร์ ไวน์ นั้นถือว่าเป็นสัญญาณหนึ่งของวันสิ้นโลก ซึ่งท่านเราะสูลได้กล่าวไว้มี ใจความว่า “แท้จริงในจ�ำนวนสัญญาณของวันสิ้นโลกนั้นคือ จะมีการระบาดของสุรายาเมา” (บันทึกโดย มุสลิม) จากข้อความที่ได้กล่าวมาข้างต้นพอจะสรุปได้ดังนี้ 1. อิสลามก�ำหนดบัญญัติห้ามสิ่งเสพติดเพื่อประโยชน์ของตัวมนุษย์เอง 2. สิ่งเสพติดทุกชนิดเป็นที่ต้องห้ามโดยหลักฐานที่ถูกต้องในบัญญัติอิสลาม 3. ภัยของสิ่งเสพติดนั้นเป็นโทษทั้งต่อตัวเอง ครอบครัว และสังคมโดยรวม 4. การป้องกันสิ่งเสพติดในสังคมเป็นหน้าที่ของทุกคนทุกฝ่ายที่ต้องร่วมกันดูแลเอาใจใส่ ป้องกัน และท�ำความเข้าใจ 5. การระบาดของสิ่งเสพติด ถือเป็นสัญญาณของวันสิ้นโลกประการหนึ่ง
111
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9
ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติด กับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สาร เสพติด และความรุนแรง ตัวชี้วัด 1. อธิบายความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ
ประเภทของสารเสพติดกับการเกิดโรค
ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติด กับการเกิดโรค และอุบัติเหตุ
ประเภทของสารเสพติดกับการเกิดอุบัติเหตุ
112
สารเสพติดทุกประเภทจะมีความสัมพันธ์ทำ� ให้เกิดโรคและอุบตั เิ หตุอย่างชัดเจน เมือ่ เสพเข้าไปสาร เสพติดก็จะออกฤทธิต์ อ่ ร่างกายในระบบประสาทสมอง ซึง่ เปรียบเสมือนศูนย์บญ ั ชาการของร่างกายมนุษย์ มีผลต่อสุขภาพและเป็นเหตุให้เกิดอุบตั เิ หตุรา้ ยแรงได้ นอกจากนัน้ แล้วสารเสพติดยังท�ำให้เกิดโทษทีม่ องไม่ เห็น เปรียบเสมือนฆาตกรเงียบ ที่ท�ำลายชีวิต ก่อปัญหาอาชญากรรม ก่อความเสื่อมโทรมให้แก่สังคมและ บ้านเมืองอย่างร้ายแรง นับเป็นปัญหาที่สร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเองและผู้อื่นเป็นอย่างมาก
1. ประเภทของสารเสพติดกับการเกิดโรค 1.1 บุหรี่ ปัญหาบุหรี่ไม่ใช่เป็นเพียงปัญหาเล็กๆ ของสังคมเท่านั้น แต่เป็นจุดเริ่มต้นให้เยาวชนหลงผิด ไปกับยาเสพติด สุรา การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และอื่นๆ ได้โดยง่าย มีผลส�ำรวจการสูบบุหรี่ของเด็กนักเรียน (อายุ 13 - 15 ปี) ขององค์การอนามัยโลกใน 51 ประเทศ ปีพ.ศ. 2550 พบว่า ร้อยละ 9.8 ใช้ยาสูบ ร้อยละ 47 ได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน ร้อยละ 60 ได้รับควันบุหรี่มือสองในที่สาธารณะ ร้อยละ 23.1 ของคนสูบบุหรี่เริ่มสูบก่อนอายุ 10 ขวบ สถิติเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าปัญหาบุหรี่ได้เข้ามามีผลกระทบต่อคนส่วนใหญ่ โดยเฉพาะกลุ่ม เยาวชนซึ่งเป็นวัยอยากรู้อยากลอง
บุหรี่มีสารประกอบต่างๆ อยู่ประมาณ 4,000 ชนิด มีสารก่อมะเร็งไม่ต�่ำกว่า 42 ชนิด ซึ่งสาร บางชนิดเป็นอันตรายที่ส�ำคัญ คือ นิโคติน เป็นสารที่ท�ำให้คนติดบุหรี่ ออกฤทธิ์โดยตรงต่อสมอง ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นและกด ประสาทส่วนกลาง ถ้าได้รบั สารนีใ้ นปริมาณน้อยๆ เช่น สูบบุหรี่ 1-2 มวนแรก อาจท�ำให้รสู้ กึ กระปรีก้ ระเปร่า แต่ถา้ สูบหลายมวน จะกดประสาทส่วนกลางท�ำให้ความรูส้ กึ ต่างๆ ช้าลงร้อยละ 95 ของนิโคตินจะไปจับอยู่ ทีป่ อด บางส่วนจับอยูท่ เี่ ยือ่ บุชอ่ งปากและบางส่วนถูกดูดซึมเข้าสูก่ ระแสเลือด มีผลโดยตรงต่อต่อมหมวกไต ก่อให้เกิดการหลัง่ สารอิพเิ นฟริน ท�ำให้ความดันโลหิตสูงขึน้ หัวใจเต้นเร็วกว่าปกติ และไม่เป็นจังหวะ หลอด เลือดที่แขนและขาหดตัว เพิ่มไขมันในเส้นเลือด ควันของบุหรี่ 1 มวน จะมีนิโคติน 0.8 - 1.8 มิลลิกรัม (ค่า มาตรฐานสากลก�ำหนดไว้ 1 มิลลิกรัม) และส�ำหรับการสูบบุหรี่ก้นกรองนั้นก็ไม่ได้ท�ำให้ปริมาณนิโคตินลด ลงได้ ทาร์ หรือน�้ำมันดิน ประกอบด้วยสารหลายชนิด เกาะกันเป็นสีน�้ำตาลเป็นสารก่อให้เกิด มะเร็งได้ เช่น มะเร็งปอด กล่องเสียง หลอดลม หลอดอาหาร ไต กระเพาะปัสสาวะ และอื่นๆ ซึ่งร้อยละ 113
50 ของทาร์จะไปจับที่ปอด ท�ำให้เกิดการระคายเคืองอันเป็นสาเหตุของการไอเรื้อรังมีเสมหะในคนที่สูบ บุหรี่วันละซอง ปอดจะรับทาร์เข้าไปประมาณ 30 มิลลิกรัม/มวน หรือ 110 กรัม/ปี บุหรี่ไทย มีทาร์อยู่ ระหว่าง 12-24 มิลลิกรัม/มวน คาร์บอนมอนอกไซด์ เป็นก๊าซที่ท�ำลายคุณสมบัติในการเป็นพาหนะน�ำออกซิเจนของเม็ด เลือดแดงไม่สามารถจับออกซิเจนได้เท่ากับปกติ เกิดการขาดออกซิเจน ท�ำให้มึนงง ตัดสินใจช้า เหนื่อย ง่าย ซึ่งเป็นสาเหตุส�ำคัญของโรคหัวใจ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ เป็นก๊าซพิษทีท่ ำ� ลายเยือ่ บุผวิ หลอดลมส่วนต้นท�ำให้มอี าการไอเรือ้ รัง มี เสมหะเป็นประจ�ำ โดยเฉพาะตอนเช้าจะมีมากขึ้น ไนโตรเจนไดออกไซด์ เป็นก๊าซพิษทีท่ ำ� ลายเยือ่ บุหลอดลมส่วนปลาย และถุงลมท�ำให้ผนังถุง ลมบางโป่งพอง ถุงลมเล็กๆ หลายอันแตกรวมกันเป็นถุงลมใหญ่ ท�ำให้มีถุงลมจ�ำนวนน้อยลง การยืดหยุ่น ในการหายใจเข้าออกน้อยลงท�ำให้เกิดโรคถุงลมปอดโป่งพอง แอมโมเนีย มีฤทธิ์ระคายเคืองเนื้อเยื่อ ท�ำให้แสบตา แสบจมูก หลอดลมอักเสบ ไอ และมี เสมหะมาก สารกัมมันตรังสี ควันบุหรี่มีสารโพโลเนียม 210 ที่มีรังสีแอลฟา อยู่เป็นสาเหตุการเกิดโรค มะเร็งปอด และในควันบุหรีม่ สี ารกัมมันตรังสี ท�ำให้ผทู้ ไี่ ม่สบู บุหรีห่ ายใจเอาอากาศทีม่ สี ารพิษนีเ้ ข้าไปด้วย
โรคส�ำคัญๆ ที่เกิดจากการสูบบุหรี่ โรคถุงลมปอดโป่งพอง สารพิษในควันบุหรี่ที่เป็นปัจจัยก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของถุงลมปอดโป่งพอง คือ 1. ทาร์หรือน�้ำมันดิน คือสารที่มีอยู่ในใบยาสูบ มีลักษณะเป็นของเหลวเหนียว สีน�้ำตาล เข้ม โดยประมาณร้อยละ 50 ของสารทาร์จะจับที่ปอด ท�ำให้ขนปัดเล็กๆ ภายในเยื่อบุช่องลมไม่สามารถ ท�ำงานได้ตามปกติ ท�ำให้สารเคมี สารก่อการระคายเคือง สารก่อมะเร็งท�ำลายเยื่อบุทางเดินหายใจและ 114
ถุงลม โดยในระยะหลังๆ จะท�ำให้มีการเสื่อมสภาพของบเนื้อเยื่อบุภายในทางเดินอากาศ มีการย่อยสลาย โปรตีนภายใน เป็นสาเหตุของการไอและท�ำให้เกิดถุงลมปอดโป่งพองในที่สุด 2. สารฟอร์มัลดีไฮด์ เป็นสารก่อการระคายเคืองท�ำให้เกิดการอักเสบเรื้อรังท�ำลายผนังถุง ลม ก่อให้เกิดอาการไอ และเกิดโรคถึงลมโป่งพองได้เช่นเดียวกัน 3. คาร์บอนมอนนอกไซด์ เป็นก๊าซที่เกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์สามารถเข้าสู่กระแส เลือดได้อย่างรวดเร็ว และจับกับเม็ดเลือดแดงได้ดีกว่าออกซิเจนเป็นผลให้ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียง พอ ท�ำให้ปอดต้องท�ำงานมากขึ้น 4. สารอะเชตตาดีไฮด์ ก่อให้เกิดการระคายเคืองเรื้อรัง โรคถุงลมปอดโป่งพองเป็นโรคระบบทางเดินหายใจที่ทรมานและรุนแรง มาก ควันบุหรี่และสารพิษภายในบุหรี่ท�ำให้เกิดระคายเคืองเรื้อรัง ท�ำลายเยื่อบุภายในหลอดลม เนื้อปอด ค่อยๆ เสือ่ มสมรรถภาพจากการได้รบั ควันบุหรี่ ตามปกติแล้ว พืน้ ทีใ่ นปอดจะมีถงุ ลมเล็กๆ กระจายอยูเ่ ต็ม ทัว่ ปอดเพือ่ ท�ำหน้าทีร่ บั ออกซิเจนเข้าสูร่ า่ งกาย สารไนโตรเจนไดออกไซด์ในควันบุหรี่ จะท�ำลายเนือ้ เยือ่ ใน ปอดและถุงลมให้ฉกี ขาดทีละน้อย และรวมตัวกลายเป็นถุงลมทีม่ ขี นาดใหญ่ขนึ้ เกิดโรคถึงลมโป่งพอง มีผล ท�ำให้พื้นที่ผลิตเนื้อเยื้อภายในปอดซึ่งเป็นที่รับออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายไม่เพียงพอ โรคถุงลมปอดโป่งพอง นี้ในระยะท้ายๆ ของโรคนี้จะท�ำให้ผู้ป่วยทรมานมาก เนื่องจากเหนื่อยจนท�ำอะไรไม่ได้ จากรายงานการ ศึกษาพบว่า ร้อยละ 70 ของผู้ป่วยที่มีอาการอยู่ในระยะสุดท้ายจะตายภายใน 10 ปี โดยมีอาการเหนื่อย หอบตลอดเวลาจนกว่าจะเสียชีวิต
โรคหัวใจ สารพิษในควันบุหรี่ในส่วนที่มีผลต่อการท�ำงานของหัวใจ 1. นิโคติน เมื่อดูดซึมเข้ากระแสเลือด มีผล โดยตรงต่อต่อมหมวกไตก่อให้เกิดการหลั่งสาร อิพิเนฟริน (Epinephrine) และท�ำให้เกิด - ความดันโลหิตสูง - หัวใจเต้นเร็วขึ้น - หลอดเลือดแดงหดตีบตัน - เพิ่มไขมันในเลือด
115
ผลของนิโคตินท�ำให้เกิดการท�ำลายของเยื่อบุชั้นในของหลอดเลือดแดงซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ ส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจหรือหัวใจขาดเลือด 2. คาร์บอนมอนอกไซน์ การหายใจเอาคาร์บอนมอนอกไซด์เข้าไปเป็นจ�ำนวนมาก จะท�ำลาย คุณสมบัตใิ นการเป็นพาหนะน�ำออกซิเจนของเม็ดเลือดแดง ท�ำให้รา่ งกายได้รบั ออกซิเจนน้อย เป็นผลท�ำให้ หัวใจต้องเต้นเร็วขึ้น ท�ำงานมากขึ้น เพื่อสูบฉีดโลหิตน�ำออกซิเจนไปเลี้ยงร่างกายให้เพียงพอ 3. ไฮโดรเจนไซยาไนด์ เป็นก๊าซพิษในควันบุหรี่ ท�ำให้เกิดหลอดเลือดแดงแข็ง ประกอบกับ สารพิษอื่นๆ ได้แก่ นิโคตินเป็นพิษต่อเซลล์เยื่อบุชั้นในของหลอดเลือด เมื่อกลไกนี้เกิดซ�้ำอีก ร่วมกับการ ขาดออกซิเจนจากการไดรับก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ ยิ่งจะท�ำลายเซลล์ชั้นในของหลอดเลือดได้มากขึ้น ท�ำให้ไขมันที่มีอยู่ในเลือดไปเกาะที่ผนังหลอดเลือดได้ง่าย นอกจากนี้ควันบุหรี่ยังท�ำให้เกร็ดเลือดเกาะกัน มากขึ้น เกร็ดเลือดอายุสั้นลง เลือดแข็งตัวเร็วขึ้น เลือดข้นขึ้น ทั้งหมดนี้ท�ำให้เลือดจับกันเป็นก้อนได้ง่าย เป็นสาเหตุทำ� ให้เส้นเลือดแดงทีม่ ไี ขมันเกาะอยูช่ นั้ ในของหลอดเลือด หรือหลอดเลือดแดงทีต่ บี อยูแ่ ล้ว เกิด การอุดตันได้ในทันทีทันใด ท�ำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดกล้ามเนื้อหัวใจตาย อาจเสียชีวิตทันทีทันใดได้ การสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุของโรคหัวใจที่ป้องกันได้ที่ส�ำคัญที่สุดเมื่อเทียบกับสาเหตุของโรค หัวใจ อื่นๆ เช่น ไขมันในเลือดสูง เมื่อเทียบกับสาเหตุของโรคหัวใจอื่นๆ เช่น ไขมันในเลือดสูง ความดัน โลหิตสูง เบาหวาน ซึ่งล้วนเกิดจากกรรมพันธุ์ โรคหัวใจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย โดยส่วนใหญ่เป็นโรคเส้นเลือดหัวใจตีบ ซึง่ การสูบบุหรีเ่ ป็นสาเหตุสำ� คัญ สารพิษในควันบุหรีท่ ี่ ท�ำให้เกิดโรคหัวใจ ได้แก่ นิโคติน และก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ โดยการสูบบุหรีท่ ำ� ให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ของหลอดเลือดทัว่ ร่างกาย รูหลอดเลือดต่างๆ ตีบลง ท�ำให้เลือดผ่านได้นอ้ ยจนเกิดการตีบตันของเส้นเลือด เป็นอุปสรรคต่อการน�ำเลือดไปเลีย้ งอวัยวะต่างๆ จึงท�ำให้เกิดโรคเส้นเลือดหัวใจตีบหรือโรคหัวใจขาดเลือด ได้ เมื่อเลือดตีบจนมีผลท�ำให้เลือดไม่สามารถไปเลี้ยงหัวใจได้จะท�ำให้เกิดอาการจุกเสียด เจ็บหน้าอกและ ถึงขั้นท�ำให้หัวใจวายได้ในที่สุด โรคมะเร็งปอด โรคมะเร็งปอด การเกิดโรคมะเร็งปอดระยะแรกจะไม่มีอาการ เมื่อมีอาการแสดงว่าโรคเป็น มากแล้ว อาการที่พบคือ ไอเรื้อรัง ไอเสมหะมีเลือดปน น�้ำหนักลด อ่อนเพลีย มีไข้เล็กน้อย เจ็บหน้าอก ซึ่งเป็นอาการร่วมของโรคต่างๆ ได้หลายชนิด จึงมักท�ำให้ผู้ป่วยมาหาแพทย์ช้า และท�ำให้การวินิจฉัยโรค ล่าช้า สารประกอบในควันบุหรี่ มีสารก่อมะเร็งไม่ต�่ำกว่า 42 ชนิด สารพิษที่ส�ำคัญในบุหรี่ที่ก่อให้ เกิดมะเร็งได้แก่ 1. ทาร์ หรือ น�้ำมันดิบ เป็นส่วนประกอบส�ำคัญของใบยาสูบ มีลักษณะเหนียว สีน�้ำตาลเข้ม เป็นสารก่อมะเร็ง โดยสารที่เรียกว่า Benzopyrene สารนี้ก่อให้เกิดการระคายเคืองเรื้อรัง ท�ำให้มีอาการ ไอ ถุงลมปอดโป่งพอง 2. สารกัมมันตรังสีในควันบุหรี่มีสารพูโลเนียม –210 ที่มีรังสีแอลฟา ท�ำให้เกิดการระคาย เคืองเรื้อรังเป็นสาเหตุของโรคมะเร็ง 3. ยาฆ่าแมลง สารตกค้างในใบยาสูบจากการพ่นสารพิษเพื่อฆ่าแมลง 116
ควันบุหรี่มือสอง ในห้องที่มีผู้สูบบุหรี่ จะพบว่ามีควันบุหรี่เกิดขึ้นจาก 2 แหล่งด้วยกัน คือ 1. ควันบุหรีท่ ผี่ สู้ บู บุหรีส่ ดู เข้าไปแล้ว พ่นออกมา ซึ่งประกอบด้วยสารพิษต่างๆ เช่นเดียว กับทีผ่ สู้ บู บุหรีไ่ ด้รบั แต่จะมีความเข้มข้นของสารพิษ ลดลงเนือ่ งจาปอดของผูส้ บู บุหรีไ่ ด้ดดู ซึมสารพิษบาง ส่วนไว้แล้ว ได้แก่ นิโคตรริน คาร์บอนมอนอกไซด์ ทาร์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ แอมโมเนีย เบนโซไพรีน แคดเมียม ฟอร์มอร์ลดีไฮด์ เป็นต้น 2. ควันบุหรี่จากปลายมวนบุหรี่ที่จุด ทิง้ ไว้ระหว่างสูบซึง่ จะมีความเข้มข้นของสารพิษมาก ขึ้น โดยพบว่า - นิโคติน มีมากขึ้นเป็น 2 เท่า - แอมโมเนีย มีมากขึ้นเป็น 73 เท่า - คาร์บอนมอนอกไซด์ มีมากขึ้นเป็น 5 เท่า - เบนโซไพรีน มีมากขึ้นเป็น 3 เท่า - ทาร์ มีมากขึ้นเป็น 2 เท่า - แคดเมียม มากขึ้น บัญญัติอิสลามว่าด้วย “บุหรี่” นิโคตินที่มีอยู่ในควันบุหรี่เป็นสารที่ท� ำให้เสพแล้วติด จากผลการวิจัยของวิทยาลัยราช อาณาจักรด้านการแพทย์ ประเทศซาอุดีฯ พบว่า ถ้าประชากร 100 คนชอบดื่มเหล้า จะพบว่าประมาณ 10-15 เปอร์เซ็นต์ กลายเป็นผู้ที่ติดเหล้าอย่างงอมแงมจนไม่อาจเลิกได้ แต่ถ้าประชากร 100 คนชอบสูบ บุหรี่ จะพบว่า 80-85 เปอร์เซ็นต์กลายเป็นผู้ที่ติดบุหรี่อย่างงอมแงม ดังนัน้ จึงเป็นทีป่ ระจักษ์ชดั ว่า การสูบบุหรีห่ รือยาสูบท�ำให้ตดิ และเลิกไม่ได้ ทัง้ ยังเป็นอันตราย ต่อสุขภาพ ดังที่บรรดาแพทย์ทั่วโลกในปัจจุบันต่างเห็นพ้องและมีมติเป็นเอกฉันท์ เช่นเดียวกับองค์การ อนามัยโลกที่ออกประกาศถึงอันตรายของบุหรี่อย่างชัดเจน ทั้งยังมีการระบุที่ซองบุหรี่ว่า “การสูบบุหรี่ เป็นอันตรายต่อชีวิต” ถึงกระนัน้ ก็ยงั มีมสุ ลิมบางคนทีเ่ กิดความสงสัยในบัญญัตขิ องอิสลามเกีย่ วกับบุหรีแ่ ละการสูบ บุหรี่ จนเกิดการโต้เถียงกันอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ต่อไปนี้คือส่วนหนึ่งของหลักฐานและทัศนะของบรรดาอุละมาอฺผู้ทรงคุณวุฒิที่ยืนยันถึง อันตรายของบุหรี่และระบุว่าบุหรี่เป็นสิ่งที่ต้องห้ามหรือหะรอมในอิสลาม
117
หลักฐานต่างๆ ที่ห้ามสูบบุหรี่ 1. อัลลอฮ์ทรงห้ามมิให้ฆา่ ตัวเองทัง้ ทางตรงและทางอ้อมและห้ามน�ำพาตัวเองสูค่ วามหายนะ ซึง่ มีใจว่า “และจงอย่าฆ่าตัวของพวกเจ้าเอง แท้จริงอัลลอฮ์เป็นผูท้ รงเมตตาต่อพวกเจ้าเสมอ” (สูเราะฮอัน นิสาอฺ อายะฮที่ 29) และความว่า “และพวกเจ้าจงอย่ายื่นมือของพวกเจ้าสู่ความหายนะ” (สูเราะฮอัลบะเกาะ เราะฮฺ อายะฮที่ 195) 2. การสูบบุหรี่เป็นการสุรุ่ยสุร่ายที่อัลลอฮ์ทรงห้าม ตามสถิติพบว่าบริษัทผลิตบบุหรี่ใน อเมริกาได้ผลิตบุหรี่เป็นจ�ำนวนเงินถึงสามหมื่นล้านดอลลาร์ต่อปี ในขณะที่อัลลอฮ์ตรัสไว้ ความว่า “และพวกเจ้าจงอย่าสุรุ่ยสุร่าย” (สูเราะฮอัลอิสรออฺ อายะฮที่ 26)
3. สร้างความเดือดร้อนแก่คนรอบข้างและครอบครัว อัลลอฮ์ตรัสไว้
ความว่า “และบรรดาผู้ที่สร้างความเดือดร้อนแก่มวลชนผู้ศรัทธาทั้งชายและหญิงด้วยสิ่ง ที่พวกเขาไม่ได้กระท�ำ แน่นอนเขาเหล่านั้นต้องแบกความเท็จและบาปอันชัดแจ้ง” (สูเราะฮอัลอัหซาบ อายะฮที่ 58) 4. บุหรีเ่ ป็นสิง่ ทีน่ า่ รังเกียจ จะเห็นได้จากคราบนิโคตินทีต่ ดิ ตามไรฟันและส่งกลิน่ เหม็นคลุง้ อัลลอฮ์ตรัสไว้ ความว่า “และพระองค์ทรงห้ามพวกเขาจากสิ่งที่เลวทรามและน่ารังเกียจทั้งหลาย” (สูเราะ ฮอัลอะอฺรอฟ อายะฮที่ 15) 5. บุหรี่ไม่ใช่สิ่งที่ท�ำให้อิ่มและไม่ใช่ยารักษาโรค เพราะฉะนั้นการสูบบุหรี่จึงเป็นการเปล่า ประโยชน์ และการเปล่าประโยชน์นั้นเป็นที่ต้องห้าม (หะรอม) 6. บุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ในปี 1962 วิทยาลัยการแพทย์แห่งประเทศอังกฤษออก แถลงการณ์วา่ “การสูบบุหรีม่ ผี ลต่อความบกพร่องทางสุขภาพ” ในปี 1970 แพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญแห่งประเทศ อเมริกาออกแถลงการณ์เตือนว่า “บุหรีเ่ ป็นอันตรายต่อสุขภาพ” ในปี 1978 ผูเ้ ชีย่ วชาญแห่งองค์การอนามัย โลกได้ออกแถลงการณ์ว่า “การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหลักที่ไปท�ำลายสุขภาพและท�ำให้เสียชีวิตก่อนวัย” สุรา การดื่มสุรา ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่ติดสุราหรือไม่ก็ตาม ย่อมส่งผล กระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ รวมถึงส่งผลกระทบไปยังครอบครัว และ ประเทศชาติโดยรวมด้วย บ่อยครั้งที่ผู้ที่เริ่มต้นดื่มสุรามักคิดว่า ตนเอง สามารถควบคุมการดื่มของตนเองได้ แต่ในที่สุดก็กลายเป็นคนติดสุรา แบบถอนตัวไม่ขึ้น แอลกอฮอล์เป็นองค์ประกอบอยู่ในสุรา จะถูกดูดซึม ในกระเพาะอาหาร และกระจายเข้าสู่กระแสเลือดภายใน 5 นาที แล้วก็ ถูกส่งต่อไปยังอวัยวะต่างๆ แต่ละแห่งที่ไปถึงก็จะถูกกระทบ 118
สุราท�ำให้เกิดพิษต่ออวัยวะในร่างกายที่ส�ำคัญ คือ 1. กระเพาะอาหารและล�ำไส้ สุรา เมื่อผ่านลงสู่กระเพาะจะมีผลกับผนังชั้นนอกสุด ที่เป็นชั้นที่จะปกป้องกระเพาะอาหาร จะท�ำให้ เกิดแผลในกระเพาะอาหารและล�ำไส้เล็ก ถ้าเกิด อาการอั ก เสบอย่างเฉียบพลันของเยื่อบุชั้นใน สุดของผนังหรือกระเพาะอาหารหรืออาจทะลุ ล�ำไส้เล็กได้ นอกจากนั้นสุรายังเป็นอุปสรรคกับ การดูดซึมอาหารบางชนิด เช่น วิตามิน B1, กรด โฟลิก, ไขมัน วิตามินบี6, วิตามินบี 1 2 และกรด อะมิโนต่างๆ 2. กระแสเลือด ร้อยละ 95 ของสุราทีเ่ ข้าสูใ่ นร่างกาย จะถูกดูดซึมเข้าสูก่ ระแสเลือด โดยผ่าน เยือ่ บุในกระเพาะอาหาร และล�ำไส้ เมือ่ ถึงกระแสเลือดจะเข้าไปในเซลล์และเนือ้ เยือ่ ต่างๆ ในร่างกายอย่าง รวดเร็ว แอลกอฮอล์ทำ� ให้เซลล์ของเลือดเกาะเป็นก้อนเหนียว การไหลเวียนจึงช้าลง และปริมาณออกซิเจน ลดต�่ำลงด้วย สุราท�ำให้โลหิตจาง โดยจะไปลดการสร้างเม็ดเลือดแดง ท�ำให้เม็ดเลือดขาวท�ำลายแบคทีเรีย ช้าลง และท�ำให้การแข็งตัวของเกล็ดเลือดช้าลงด้วย 3. ตับอ่อน แอลกอฮอล์จะท�ำให้เซลล์ของตับอ่อนระคายเคือง และบวมขึ้น สุราท�ำให้การ ไหลของน�้ำย่อยไม่สามารถที่จะเข้าไปในล�ำไส้เล็กได้ ท�ำให้น�้ำย่อยๆตัวตับอ่อนเอง ท�ำให้เลือดไหลอย่าง เฉียบพลันและการอักเสบของตับอ่อน พบว่า 1 ใน 5 จะเสียชีวิตไปในครั้งแรก เมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับตับ อ่อนการสร้างอินซูลินขาดหายไป และท�ำให้เป็นเบาหวานในที่สุด 4. ตับ แอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อเซลล์ของตับ ท�ำให้เกิดการบวม ท�ำให้น�้ำดีซึมผ่านไปทั่วตับ เป็นเหตุให้ตัวเหลือง รวมทั้งส่วนขอบตาและผิวหนังเป็นสีเหลืองด้วย ทุกครั้งที่ดื่มสุรานั้น เซลล์ของตับจะ ถูกท�ำลายเป็นผลให้ตับแข็ง การเสี่ยงต่อการเป็นโรคตับมีถึง 8 เท่า เมื่อเทียบกับคนที่ไม่ดื่มสุรา 5. หัวใจ แอลกอฮอล์ท�ำให้กล้ามเนื้อของหัวใจบวม ท�ำให้เกิดเป็นพิษกับหัวใจมีการสะสม ของไขมันมากขึ้น และท�ำให้การเผาผลาญช้าลงไปด้วย 6. กระเพาะปัสสาวะและไต แอลกอฮอล์ท�ำให้ เยื่อบุของกระเพาะปัสสาวะบวม ท�ำให้ไม่สามารถยืดได้ตาม ปกติ การระคายเคืองของไตท�ำให้ร่างกายสูญเสียน�้ำมากขึ้น 7. ต่ อ มเพศ ต่ อ มอั ณ ฑะจะบวม ท� ำ ให้ สมรรถภาพทางเพศลดลง 8. สมอง เป็นอวัยวะทีไ่ วต่อฤทธิข์ องแอลกอฮอล์ ซึ่งเห็นได้ชัดเจน ก่อให้เกิดพิษแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง 119
ผลจากการดื่มสุราที่ท�ำให้เกิดโรคต่างๆ ที่พบบ่อยมีดังนี้ โรคตับอักเสบจากแอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ทำ� ให้เกิดการอักเสบของเซลล์ตบั ท�ำให้เกิดการเสือ่ มและการตายของเซลล์ การ ซ่อมแซมส่วนทีส่ กึ หรอของเซลล์ตา่ งๆ เหล่านี้ มีผลท�ำให้โครงสร้างของเซลล์ตบั ผิดรูปร่าง ซึง่ เป็นสาเหตุอย่าง หนึ่งที่น�ำไปสู่โรคตับแข็ง อาการของผู้ที่เป็นโรคตับอักเสบนี้จะแตกต่างกันไป ตั้งแต่ไม่มีอาการ มีอาการใน ระดับน้อย จนถึงอาการรุนแรงจนกระทั่งเสียชีวิตได้ โดยทั่วไปแล้วอาการมักประกอบด้วยปวดเมื่อยตาม ตัว เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน น�้ำหนักลด อึดอัดในท้อง และตัวเหลือง ตาเหลือง อาจมีไข้สูงร่วมด้วย ถ้า เป็นรุนแรงจะพบภาวะท้องบวมน�้ำ เลือดออก แขนขาบวม และมีอาการสับสนเนื่องจากสมองร่วมด้วย ถึง แม้ว่าเมื่อหยุดดื่มสุราไปแล้ว จะท�ำให้อาการตัวเหลือง ตาเหลือง ท้องบวมน�้ำ หรือภาวะสับสนดีขึ้นก็ตาม แต่หากยังดื่มสุราต่อไปอีก ก็จะน�ำไปสู่การอักเสบของตับต่อไปได้เรื่อยๆ ในบางรายกว่าจะฟื้นตัว จากการ อักเสบต้องใช้เวลานานมากประมาณ 6 เดือน หรือมากกว่า โรคตับแข็ง ถ้ายังดื่มสุราอย่างต่อเนื่อง เซลล์ตับจะมีการถูกท�ำลายมากขึ้น ในที่สุด ตับจะฝ่อ เกิดภาวะ ที่เรียกว่า ตับแข็ง ส่วนใหญ่แล้วใช้เวลานานประมาณ 10 ปี ผู้ที่ เป็นโรคนี้จะมีอาการเบื่ออาหารผ่ายผอม ลักษณะแบบคนขาดอาหาร อ่อนเพลีย เลือดออกง่าย เกิดรอยช�้ำตามตัวได้ง่าย เมื่อเกิดภาวะตับแข็ง จะ ท�ำให้การไหลเวียนของโลหิตในตับเป็นไปด้วยความล�ำบาก ท�ำให้ความดันในหลอดเลือดสูงขึน้ เกิดเส้นเลือด โป่งพอง อาจเป็นในบริเวณหลอดอาหาร ซึ่งเสี่ยงต่อการอาเจียนออกมาเป็นเลือด นอกจากนี้ ยังท�ำให้เกิด ภาวะน�้ำในช่องท้องมากขึ้น ท้องจะบวมน�้ำ โดยปกติแล้วตับจะท�ำหน้าที่ก�ำจัดของเสียในร่างกาย เมื่อเกิด ภาวะตับแข็งจะท�ำให้ตบั ท�ำหน้าทีน่ ไี้ ด้ไม่ดี ผลทีต่ ามมาก็คอื ภาวะตับวาย และการท�ำงานของสมองสับสน ได้ ถึงแม้วา่ โรคตับแข็งจะเป็นโรค ทีม่ กี ารด�ำเนินโรคอย่างต่อเนือ่ งก็ตาม แต่หากได้รบั การรักษาทีเ่ หมาะสม ร่วมไปกับการหยุดดื่มสุราโดยเด็ดขาด อาจท�ำให้การด�ำเนินของโรคหยุดลงได้ ส่งผลให้สภาพการท�ำงาน ของร่างกายที่ดีขึ้น โรคพิษสุราเรื้อรัง Alcoholism โรคพิษสุราเรื้อรัง เป็นโรคชนิดหนึ่ง แต่จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ จนกระทั่งเกิดอาการ ทางประสาทและทางร่างกาย แอลกอฮอล์จะมีผลต่อทุกเซลล์ของร่างกายโดยเฉพาะระบบประสาทเมื่อได้ รับแอลกอฮอล์เป็นประจ�ำ สมองจะปรับตัวต้องการแอลกอฮอล์เพื่อการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน การท�ำงาน ความคิด อารมณ์ และการกระท�ำทั้งหมดจะขึ้นกับแอลกอฮอล์ ผู้ที่เป็นโรคพิษสุราเรื้อรังจะเกิดอาการ ลงแดงเมื่อหยุดสุรา ทรรศนะอิสลามกับสิ่งเสพติด ไม่มีตัวบทจากอัลกุรอานและอัลหะดีษที่ชี้ขาดโดยตรงถึงเรื่องการสูบบุหรี่หรือการเสพสิ่ง เสพติด ว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งต้องห้ามหรือเป็นสิ่งอนุญาต แต่หลังจากที่ท�ำการค้นคว้าพบว่าสิ่งที่อยู่ในบุหรี่ คือนิโคตินซึง่ เป็นสารเสพติดทีก่ อ่ ให้เกิดการมึนเมา ดังนัน้ สิง่ ทีท่ ำ� ให้เกิดการมึนเมา ถึงแม้วา่ จะน้อยก็ถอื ว่า เป็นสิง่ ต้องห้ามตามบทบัญญัตอิ สิ ลาม เพราะได้มรี ายงานจากหะดีษทีบ่ นั ทึกโดยอะหมัดและอบูดาวูดความ ว่า 120
รายงานจากอุมมุสะลามะฮฺ ซึ่งนางได้กล่าวว่า “ท่านเราะสูลุลอฮฺ ได้ห้ามจากทุกๆ สิ่งที่ ท�ำให้มึนเมาและขาดสติ” ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการสูบบุหรี่มีดังต่อไปนี้ 1. การสูบหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของตนเองและผู้ที่อยู่รอบข้าง และยังเป็นอันตรายต่อ ครอบครัว สังคม และเศรษฐกิจ บัญญัติอิสลามได้กล่าวไว้ว่า ทุกๆ สิ่งที่เป็นอันตรายต่อตนเอง ผู้อื่น และทรัพย์สิน เป็นสิ่งต้องห้าม เพราะการสั่งห้ามนั้น เป็นการป้องกันจากอันตราย 2. ท่านอิบนุอับบาสได้รายงานว่าท่านเราะสูล ได้กล่าว ความว่า : “ไม่มีการสร้างความเดือดร้อนให้กับตนเองและไม่มีการสร้างความเดือดร้อนให้ กับผู้อื่น” อัลลอฮ์ ตรัสไว้ในสูเราะฮฺบะเกาะเราะฮฺอายะฮที่ 195 ความว่า: “และจงอย่าโยนตัวของ พวกเจ้าสู่ความพินาศ” 3. การสูบบุหรี่เป็นการท�ำลายทรัพย์สิน เนื่องจากท�ำลายทรัพย์เป็นสิ่งต้องห้ามตาม บทบัญญัติอิสลาม เพราะท่านอิมามบุคอรีย์ได้รายงาน ความว่า แท้จริงท่านนบีมุฮัมมัด ได้กล่าวว่า “แท้จริงอัลลอฮ์ทรงห้ามพวกท่านจากการ ท�ำลายทรัพย์สิน” การซื้อบุหรี่ไม่เพียงเป็นการท�ำลายทรัพย์สิน แต่ยังเป็นการท�ำลายตนเองและผู้อื่นด้วย และ ในวันกิยามะฮฺเขาจะถูกถามถึงเรื่องดังกล่าว เพราะได้มีรายงานมาจากท่านอีมามตีรมีษีย์ว่า ท่านเราะสู ลุลอฮฺ ได้กล่าวว่า “ในวันกิยามะฮฺสองเท้าของบ่าวยังคงก้าวต่อไป จนกระทั้งเขาได้ถูกถามถึงสี่เรื่อง 1. จากอายุของเขา อะไรที่ท�ำลายอายุของเขา 2. จากความรู้ของเขา อะไรที่เขาได้ปฏิบัติด้วยความรู้นั้น 3. จากทรัพย์สนิ ของเขา จากทีไ่ หนทีเ่ ขาได้แสวงหาทรัพย์สนิ นัน้ มา และอะไรทีท่ ำ� ให้ทรัพย์นนั้ หมดไป 4. จาก ร่างกายของเขา อะไรที่ได้มาทดสอบร่างกายของเขา” 4. กลิ่นของบุหรี่ได้สร้างความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น จ�ำเป็นที่เราจะต้องปลีกตัวออกห่างและไม่ ให้เข้าไปปะปนกับผู้สูบบุหรี่ เพราะการสูดกลิ่นบุหรี่นั้นเป็นการท�ำลายสุขภาพร่างกาย ท่านอีมามบุคอรีย์ และท่านอีมามมุสลิมได้รายงานามาว่าท่านเราะสูลได้กล่าวไว้ ความว่า “ผู้ใดกินหัวหอมหรือกระเทียม จงปลีกตัวออกห่างจากเรา และจงปลีกตัวออกห่าง จากมัสยิดของเรา และจงเข้าไปนั่งในบ้านของเขา” กลิน่ ของบุหรีเ่ ป็นอันตรายไม่นอ้ ยไปกว่ากลิน่ ของหัวหอมและกระเทียมเลย และได้มรี ายงาน จากวจนะของท่านเราะสูล ความว่า “แท้จริงมลาอีกะฮฺจะได้รับความเดือดร้อนจากสิ่งที่มนุษย์ได้รับความเดือดร้อน” 6. เมื่อผู้เสพบุหรี่สงสัยว่าการสูบบุหรี่เป็นเรื่องที่อิสลามห้ามหรือไม่ ก็จงท�ำความเข้าใจกับ วจนะของท่านเราะสูลนี้ ความว่า “ท่านจงละทิ้งสิ่งที่ท�ำให้ท่านสงสัย (โดยมุ่งปฏิบัติ) ไปยังสิ่งที่ไม่ท�ำให้ท่านสงสัย” ท่านเราะสูลได้สั่งให้เรามุสลิมออกห่างจากสิ่งที่คลุมเครือ โดยให้ละทิ้งสิ่งดังกล่าวและให้เลือกปฏิบัติใน สิ่งที่ไม่ท�ำให้เราเกิดความสงสัย 121
7. กระทรวงสาธารณะสุขโลกได้ลงมติวา่ นิโคตินทีอ่ ยูใ่ นยาเส้นเป็นสารทีท่ ำ� ให้เกิดการมึนเมา และทุกๆ สิ่งที่ท�ำให้เกิดการมึนเมาเป็นสิ่งต้องห้ามในอิสลาม ถึงแม้ว่าสิ่งนั้นจะเล็กน้อยไม่ท�ำให้เกิดการ มึนเมาก็ตาม แต่เมื่อเสพเข้าไปมากๆ จะท�ำให้เกิดการมึนเมา จากเจ็ดสาเหตุนี้ การสูบบุหรี่หรือสิ่งเสพติดอื่นๆ ถือเป็นสิ่งต้องห้าม เพราะในแต่ละสาเหตุ จากสาเหตุทั้งเจ็ดนี้ถูกอ้างอิงไปยังอัลกุรอานและอัลหะดีษซึ่งเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่จะต้องปฏิบัติตาม. ยาบ้า ยาบ้าหรือแอมเฟตามีน เป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทประเภท - กระตุ้นประสาทส่วนกลางท�ำให้ตื่นตัวตลอดเวลา นอนไม่หลับ - ความดันโลหิตสูงขึ้น หัวใจเต้นเร็วและแรงขึ้น กดศูนย์ควบคุม - การอยากอาหาร ท�ำให้เบื่ออาหาร ทานน้อยลง เป็นยาลดน�้ำหนักได - กระตุ้นศูนย์หายใจ ท�ำให้หายใจเร็วและแรงขึ้นและกระตุ้นระบบ - สมองส่วนหน้า ท�ำให้เกิดอาการความคิดความอ่านแจ่มใสชัว่ ขณะ บางครัง้ จะมีอาการสัน่ - ผลทางด้านจิตใจจะเห็นได้ชัดเมื่อเสพเป็นจ�ำนวนมาก จะเกิดอาการทางจิตเฉียบพลัน หรือเป็นบ้าขึ้นได้ชั่วระยะหนึ่ง อาการจะคล้ายผู้ป่วยโรคจิตหวาดระแวงเกิดอาการหลงผิด คิดว่ามีคนมา ท�ำร้ายตน เอะอะคว้าอาวุธมาป้องกันตัวเอง หรือพยายามจะหนีซุกซ่อนตัวเอง พูดไม่รู้เรื่อง มักเห็นภาพ หลอนต่างๆ นานา ซึ่งน�ำไปสู่อันตรายต่อตัวเองหรือผู้อื่น เช่น ตกใจกลัวปีนตึกหรือเสา ถูกรถชน หรือหลง ผิดว่ามีคนมาท�ำร้ายจึงท�ำร้ายผู้อื่นก่อน บางรายที่ใช้ยามากๆ อาจจะมีอาการไข้ขึ้นความดันโลหิตสูงมาก ใจสัน่ หายใจไม่ออก กล้ามเนือ้ กระตุก ชัก หมดสติถงึ ตายได้เมือ่ เสพเป็นเวลานาน ท�ำให้สมองได้รบั การกระ ตุน้ เสมอ โดยไม่ได้รบั การพักผ่อนร่างกายฝืนให้ทำ� งานหนักตลอดเวลามีผลท�ำให้สขุ ภาพร่างกายทรุดโทรม ลงเกิดโรคง่าย เช่น โรคติดเชื้อต่างๆโรคตับอักเสบโรคปอด ไตเสื่อม ส่งผลต่อจิตใจ เกิดอารมณ์แปรปรวน ภาวะทางจิตเสื่อมโทรมก่อให้เกิดโรคจิตเรื้อรัง หรือบ้าได้ตลอดไป ยาอี ยาเลิฟ ยาไอซ์ เป็นยาเสพติดกลุ่มเดียวกัน แพร่ระบาดในกลุ่มวัยรุ่นที่ชอบเที่ยวกลางคืน ออกฤทธิ์ใน 2 ลักษณะ คือ ออกฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทในระยะสั้นๆ หลังจากนั้นจะออกฤทธิ์หลอนประสาทอย่าง รุนแรง ฤทธิ์ของยาจะท�ำให้ผู้เสพรู้สึกร้อน เหงื่อออกมาก หัวใจ เต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง การได้ยินเสียง และการมองเห็นแสง สีต่างๆ ผิดไปจากความเป็นจริง เคลิบเคลิ้ม ไม่สามารถควบคุม อารมณ์ของตนเองได้ อันเป็นสาเหตุที่จะน�ำไปสู่พฤติกรรม เสื่อมเสียต่างๆ และจากการค้นคว้าวิจัยของแพทย์และนัก วิทยาศาสตร์หลายท่าน พบว่า ยาชนิดนี้มีอันตรายร้ายแรง แม้ จะเสพเพียง 1-2 ครั้ง ก็สามารถท�ำลายระบบภูมิคุ้มกันของ ร่างกาย ส่งผลให้ผู้เสพมีโอกาสติดเชื้อโรคต่างๆ ได้ง่าย และยัง 122
ท�ำลายเซลส์สมองส่วนทีท่ ำ� หน้าทีส่ ง่ สารซีโรโทนิน ซึง่ เป็นสารส�ำคัญในการควบคุมอารมณ์ให้มคี วามสุข ซึง่ ผลจากการท�ำลายดังกล่าว จะท�ำให้ผู้เสพเข้าสู่สภาวะของอารมณ์ที่เศร้าหมองหดหู่อย่างมาก และมีแนว โน้มการฆ่าตัวตายสูงกว่าคนปกติ สารระเหย มีลักษณะเป็นไอ ระเหยได้ในอากาศ พบในกาว แลคเกอร์ ทินเนอร์ น�้ำมันเบนซิน ยา ล้างเล็บ เมื่อสูดดมเข้าไปจะท�ำให้เกิดอันตรายต่อ ร่างกาย ท�ำให้มอี าการเคลิบเคลิม้ ศีรษะเบาหวิว ตืน่ เต้น พูดจาอ้อแอ้ พูดไม่ชัด น�้ำลายไหลออกมามาก เนื่องจากสารที่สูดดมเข้าไป ท�ำให้เกิดการระคาย เคืองต่อเยื่อบุภายในจมูกและปาก การสูดดมลึกๆ หรือซ�้ำๆ กัน แม้ในช่วงเวลาสั้นๆ ท�ำให้ไม่สามารถ ควบคุมตัวเองได้ ท�ำให้ขาดสติหรือเป็นลมชัก กล้าม เนือ้ ท�ำงานไม่ประสานกัน ระบบประสาทอัตโนมัติ (Reflexes) ถูกกด มีเลือดออกทางจมูก หายใจไม่สะดวก ผลที่เกิดขึ้นกับระบบต่างๆ ในร่างกาย คือ 1. ระบบทางเดินหายใจ มีอาการระคายเคืองหลอดลม เยื่อบุจมูกมีเลือดออก หลอดลม อักเสบ ปอดอักเสบ 2. ระบบทางเดินอาหาร มีเลือดออกในกระเพาะอาหาร เนื้อตับถูกท�ำลาย 3. ระบบทางเดินปัสสาวะ ไตอักเสบจนถึงพิการ ปัสสาวะเป็นเลือดเป็นหนอง หรือมีลกั ษณะ คล้ายไข่ขาว 4. ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นผิดปกติ 5. ระบบสร้างเลือด ไขกระดูกซึ่งมีหน้าที่สร้างเม็ดเลือด หยุดท�ำงาน เกิดเม็ดเลือด แดงต�่ำ เกล็ดเลือดต�่ำท�ำให้ซีด เลือดออกได้ง่าย ตลอดจนท�ำให้เลือดแข็งตัวช้าในขณะที่เกิดบาดแผล เป็นมะเร็ง ในเม็ดเลือดขาว 6. ระบบประสาท ปลายประสาทอักเสบ มีอาการชาตามปลายมือ ปลายเท้า เกิดอาการ อักเสบของกล้ามเนื้อ ท�ำให้ลูกตาแกว่ง ลิ้นแข็ง พูดล�ำบาก สมองถูกท�ำลายจนเซลล์สมองฝ่อ เป็นโรคสมองเสื่อมก่อนวัย อันควร กัญชา กัญชาเป็นยาเสพติดให้โทษ ที่ออกฤทธิ์หลาย อย่างต่อระบบประสาทส่วนกลาง คือ ทั้งกระตุ้นประสาท กด และหลอนประสาท สารออกฤทธิท์ อี่ ยูใ่ นกัญชามีหลายชนิด แต่ สารที่ส�ำคัญที่สุดที่มีฤทธิ์ต่อสมองและท�ำให้ร่างกาย อารมณ์ และจิตใจเปลีย่ นแปลง ท�ำให้ตนื่ เต้น ช่างพูด และหัวเราะตลอด 123
เวลา ต่อมาจะกดประสาท ท�ำให้ผู้เสพมีอาการคล้ายเมาเหล้าอย่างอ่อนๆ เซื่องซึม และง่วงนอน หากเสพ เข้าไปในปริมาณมากๆ จะหลอนประสาทท�ำให้เห็นภาพลวงตา หูแว่ว ความคิดสับสน ควบคุมตนเองไม่ ได้ อารมณ์อ่อนไหวเปลี่ยนแปลง ความคิดเลื่อนลอยสับสน ควบคุมตัวเองไม่ได้ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ความ จ�ำเสื่อม กล้ามเนื้อลีบ หัวใจเต้นเร็ว หูแว่ว ท�ำลายสมรรถภาพทางกาย ผู้เสพกัญชาในปริมาณมากๆ เป็น ระยะเวลานานๆ จะท�ำให้ร่างกายเสื่อมโทรม จนไม่สามารถประกอบกิจการงานใดๆ ได้ โดยเฉพาะงานที่ ต้องใช้แรงงาน ความคิด และการตัดสินใจ รวมทั้งหมดแรงจูงใจของชีวิต จะไม่คิดท�ำอะไรเลย ซึ่งมีผลกระ ทบต่อการด�ำเนินชีวิต และการท�ำงานเป็นอย่างมาก การเสพติดกัญชามีผลร้ายต่อระบบต่างๆ ในร่างกาย คือ 1. ท�ำลายระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย การเสพติดกัญชามีผลร้าย คล้ายกับการติดเชื้อเอดส์ (HIV) 2. กัญชาจะท�ำให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายท�ำงานเสื่อมลง หรือบกพร่อง ร่างกายจะ อ่อนแอและติดเชื้อโรคต่างๆ ได้ง่าย 3. ท�ำลายสมอง การเสพกัญชาแม้เพียงในระยะสั้น ท�ำให้ผู้เสพบางรายสูญเสียความทรง จ�ำ เพราะฤทธิ์ของกัญชาจะท�ำให้สมองและความจ�ำเสื่อม เกิดความสับสน วิตกกังวล และหากผู้เสพเป็น ผู้มีอาการของโรคจิตเภท หรือป่วยเป็นโรคซึมเศร้า จะมีความเสี่ยงที่จะเกิดอาการรุนแรงมากกว่าคนปกติ ทั่วไป 4. ท�ำให้เกิดมะเร็งปอด เนื่องจากผู้เสพจะอัดควันกัญชาเข้าไปในปอดลึก นานหลายวินาที การสูบบุหรี่ยัดไส้กัญชาเพียง 4 มวน ซึ่งเท่ากับการสูบบุหรี่ 1 ซอง หรือ 20 มวนนั้น สามารถท�ำลายการ ท�ำงานของระบบทางเดินหายใจ ท�ำให้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้มากกว่าคนสูบบุหรี่ธรรมดาถึง 5 เท่า และในกัญชายังมีสารเคมีที่เป็นอันตรายสามารถท�ำให้เกิดโรคมะเร็งได้ 5. ท�ำร้ายทารกในครรภ์ กัญชาจะท�ำลายโครโมโซม ฉะนัน้ หญิงทีเ่ สพกัญชาในระยะตัง้ ครรภ์ ทารกที่เกิดมาจะพิการ มีความผิดปกติทางร่างกาย เช่น ความผิดปกติของเซลส์ประสาทในสมอง ความผิด ปกติของฮอร์โมนเพศและพันธุกรรม 6. ท�ำลายความรูส้ กึ ทางเพศ กัญชาจะท�ำให้ระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในชายลดลง ท�ำให้ ปริมาณอสุจิน้อยลง ทั้งยังพบว่า ผู้เสพติดกัญชามักกลายเป็นคนขาดสมรรถภาพทางเพศ 7. ท�ำลายสุขภาพจิต ฤทธิ์ของกัญชาจะท�ำให้ผู้เสพมีอาการเลื่อนลอย ฝันเฟื่อง ความคิด สับสน และมีอาการประสาทหลอน จนควบคุมตนเองไม่ได้ ซึ่งถ้าเสพเป็นระยะเวลานาน จะท�ำให้มีอาการ จิตเสื่อม ใบกระท่อม จัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ใบกระท่อมมีปัญหาการแพร่ระบาดในกลุ่มวัยรุ่นและนักเรียนมาก ใบกระท่อม ได้ถูกน� ำมาเป็น สารตั้งต้นส�ำคัญของยาเสพติดชนิด “สี่คูณร้อย” ซึ่งถือเป็นสารเสพติดพื้นฐานก่อนที่เยาวชนจะก้าวไปสู่ การเสพกัญชา เฮโรอีน และยาบ้า และยังพบส่วนผสมอื่นๆ อีกหลายชนิดใน สี่คูณร้อย เช่น เครื่องดื่มชู 124
ก�ำลัง กาแฟกระป๋อง วัตถุออกฤทธิต์ อ่ จิตประสาท โดยเฉพาะ Alprazolam ยาฆ่าหญ้า น�ำ้ ยาซักผ้าขาวไฮเตอร์ ผงสีขาวในไส้ หลอดฟลูออเรสเซนส์ เป็นต้น ทัง้ หมดนีท้ ำ� ให้ “สีค่ ณ ู ร้อย” ออก ฤทธิแ์ บบผสมผสาน ทัง้ ท�ำให้เกิดอาการมึนเมา ลืมตัว หงุดหงิด ง่าย คึก บ้าบิ่น บางรายง่วงซึม ลอยๆ ไม่ค่อยรู้ตัว นอกจาก นั้นยังท�ำให้เกิดอาการ ปากแห้ง ปัสสาวะบ่อย เบื่ออาหาร ท้องผูก อุจจาระแข็งเป็นก้อนเล็กๆ นอนไม่หลับ ถ้าเสพใบ กระท่อมในปริมาณมากๆ จะทําให้มึนงง และคลื่นไส้อาเจียน เมื่อใช้เป็นระยะเวลานาน จะมีอาการเบื่ออาหาร น�้ำหนักตัวลด นอนไม่หลับ ผิวหนังโดย เฉพาะบริเวณโหนกแก้มมีสีคล�้ำขึ้นคล้ายหน้าผู้ป่วยโรคตับ บางรายจะมีอาการโรคจิตหวาดระแวง เห็น ภาพหลอน คิดว่าคนจะมาท�ำร้ายตน และพูดไม่ค่อยรู้เรื่อง เฮโรอีน เฮโรอีนเป็นยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง ประเภทที่ 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 โทษสูงสุดตามกฎหมายรุนแรงถึงประหารชีวิต ผู้ เสพจะมีอาการเซื่องซึม มึนงง ดวงตาเหม่อลอย หายใจ ช้ากว่าปกติ อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ฟุ้งซ่าน และวิตก กังวล ความคิดสับสน โทษต่อผู้เสพร่างกายทรุดโทรม น�้ำหนักตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ผอมซีด สมองเสื่อม ความจ�ำ เสื่อม หากเสพเกินขนาดจะท�ำให้หัวใจหยุดท�ำงาน ช็อกและเสียชีวิตได้
2. ประเภทของสารเสพติดกับการเกิดอุบัติเหตุ การใช้สารเสพติดนอกจากจะมีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคแล้ว ยังมีความสัมพันธ์กับการเกิด อุบัติเหตุ ซึ่งอาจท�ำให้เกิดการบาดเจ็บ ความพิการ ทุพพลภาพ และอาจเสียชีวิตได้ นับเป็นปัญหาที่สร้าง ความเดือดร้อนทั้งต่อตนเองและบุคคลรอบข้างเป็น อย่างมาก ซึง่ จะขอยกตัวอย่างสารเสพติดทีเ่ สพเข้าไป แล้วก่อให้เกิดอุบัติเหตุอย่างเห็นได้ชัด ดังนี้ 1. สุรา ผลทางลบอย่างรุนแรงที่ตาม มาจากการดื่มแอลกอฮอล์ ได้แก่ การได้รับบาดเจ็บ สาหัสจากอุบัติเหตุ ความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ใน เลือดในระดับสูง จะท�ำให้หย่อนความสามารถใน การควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเอง ท�ำให้การคิด 125
การตัดสินใจไม่ดี และง่วงซึม ซึ่งท�ำให้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดอุบัติเหตุ หรือเกิดปัญหาร้ายแรงอื่นๆ ที่ มักเกิดขึ้นอย่างกะทันหันและส่งผลกระทบ ที่ร้ายแรงเกินคาด 2. ยาบ้า การเสพยาบ้ามีโอกาสก่อให้เกิดอุบัติเหตุ ซึ่งส่วนใหญ่มักอยู่ในกลุ่มบุคคลที่มี พฤติกรรมเสพยาบ่อยครั้ง ได้แก่ ผู้ขับรถบรรทุก พนักงานขับรถโดยสารประจ�ำทาง หรือผู้ขับรถกระบะ บรรทุกสินค้าบางราย เป็นต้น ยาบ้ามีฤทธิ์ต่อจิตประสาท โดยจะไปกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางที่ท�ำ หน้าทีค่ วบคุมการท�ำงานของอวัยวะต่างๆ เกีย่ วกับการเคลือ่ นไหว การทรงตัว และการถ่ายทอดความรูส้ กึ มีผลท�ำให้ผู้ที่เสพยาบ้าไม่ง่วงนอน ไม่เหนื่อยหรืออ่อนเพลีย สดชื่น กระปรี้กระเปร่า แต่เมื่อหมดฤทธิ์ยา ร่างกายจะอ่อนเพลียมาก มีอาการซึมเศร้า ง่วงนอนและหลับในง่าย จึงเป็นเหตุให้น�ำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุ ขึ้นได้ 3. กัญชา การขับรถขณะเมากัญชาก่อให้เกิดอันตรายได้มาก เพราะฤทธิข์ องกัญชาจะท�ำให้ เสียสมาธิ ท�ำให้การตัดสินใจผิดพลาด การตอบสนองช้าลง การรับรู้ทางสายตาบิดเบือน ความสามารถใน การมองเห็นสิ่งเคลื่อนที่ด้อยลง จึงเป็นอันครายอย่างยิ่งต่อผู้ขับรถยนต์ หรือแม้แต่เดินบนท้องถนนก็ตาม
126
หน่วยการเรียนรู้ที่
10
การป้องกันภัยจากสารเสพติด มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สาร เสพติด และความรุนแรง ตัวชี้วัด 1. แสดงวิธีการชักชวนผู้อื่นให้ ลด ละ เลิก สารเสพติด โดยใช้ทักษะต่างๆ
สาเหตุของการติดยาเสพติด
ทักษะในการชักชวนผู้อื่น ให้ลด ละ เลิก สารเสพติด
การป้องกันภัยจากสารเสพติด
การป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด
127
1. สาเหตุของการติดยาเสพติด สาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้ติดยาเสพติด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มวัยรุ่น คือ 1. การถูกชักชวน การถูกชักชวนนี้อาจจะ เกิดจากเพื่อนสนิทที่ก�ำลังติดยาอยู่และ อยากจะให้เพื่อน ลองบ้าง ปัญหานีม้ กั จะเกิดกับเด็กทีม่ ปี ญ ั หาทางครอบครัว ขาดความอบอุ่น ครอบครัวที่ไม่มีเวลาในการดูแลเด็ก เด็ก ใจแตก เอาเพือ่ นเป็นทีพ่ งึ่ นอกจากนีผ้ ทู้ อี่ ยูใ่ นแหล่งทีม่ กี าร ซื้อขายยาเสพติด ก็อาจจะได้รับการชักจูงว่ายาเสพติดดี ต่างๆ นานา เช่น อาจจะบอกว่า เมือ่ เสพแล้วจะท�ำให้ปลอด โปร่ง เหมาะแก่การเรียน การท�ำงาน ท�ำให้มีก�ำลังวังชา ท�ำให้มีจิตใจแจ่มใส ท�ำให้มีสุขภาพดี ท�ำให้มีสติปัญญาดี สามารถรักษาโรคได้บางชนิด เป็นต้น ผู้ที่เชื่อค�ำ ชักชวนโฆษณาดังกล่าวจึงไปซือ้ ตามค�ำชักชวนของเพือ่ นฝูง ซึง่ โดยมากเป็นพวกทีต่ ดิ สารเสพติดนัน้ อยูแ่ ล้ว ด้วยความเกรงใจเพือ่ น หรือ เชือ่ เพือ่ น หรือต้องการแสดงว่าตัวเป็นพวกเดียวกับเพือ่ น จึงใช้สารเสพติดนัน้ การชักจูงดังกล่าวอาจจะเกิดขึ้นในขณะที่ผู้ถูกชักจูง ก�ำลังมึนเมาสุรา จึงท�ำให้เกิดการติดยาได้ 2. จากการอยากทดลอง อยากรู้อยากเห็น อยากจะรู้รสชาติ อยากสัมผัส โดยคิดว่าคงจะ ไม่ตดิ ง่ายๆ แต่เมือ่ ทดลอง เสพเข้าไปแล้วมักจะติด เพราะยาเสพติดในปัจจุบนั เช่น เฮโรอีน จะติดง่ายมาก แม้เสพเพียงครัง้ หรือสอง ครัง้ ก็จะติดแล้ว การสูบบุหรีท่ วี่ ยั รุน่ มักคิดว่าเป็นเรือ่ งทีท่ ำ� ให้เท่ห์ แต่ในความเป็น จริงแล้วบุหรี่เป็นสารเสพติดที่เป็นภัยต่อร่างกายเป็นอย่างมาก และเป็นตัวส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดการไปใช้ยา เสพติดชนิดอื่นๆ ได้ 3. จากการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ถูกหลอกลวง ยาเสพติดมีรูปแบบต่างๆ มากมาย ผู้ถูกหลอก ลวงไม่ทราบว่า สิง่ ที่ ตนได้กนิ เข้าไปนัน้ เป็นยาเสพติดให้โทษร้ายแรง คิดว่าเป็นยาธรรมดาไม่มพี ษิ ร้ายแรง อะไรตามทีผ่ หู้ ลอกลวงแนะน�ำผลสุดท้าย กลายเป็นผูต้ ดิ ยาเสพติดไปปัจจุบนั นีม้ ผี ขู้ ายสินค้าประเภทอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มบางรายใช้สิ่งเสพติดผสมลงในสินค้าที่ขาย เพื่อให้ผู้ซื้อสินค้านั้นไปรับประทานเกิดการ ติด อยากมาซื้อไปรับประทานอีก ซึ่งในกรณีนี้ ผู้ซื้ออาหารนั้นมารับประทานจะไม่รู้สึกว่าตนเองเกิดการ ติดสิ่งเสพติดขึ้นแล้ว รู้แต่เพียงว่าอยากรับประทานอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มที่ซื้อจากร้านนั้นๆ กว่าจะ ทราบก็ต่อเมื่อตนเองรู้สึกผิดสังเกตต่อความต้องการ จะซื้ออาหารจากร้านนั้นมารับประทาน หรือต่อเมื่อ มีอาการเสพติดรุนแรง และมีสุขภาพเสื่อมลง 4. เหตุทางกาย ความเจ็บป่วยทางกาย 4.1 ผู้ที่มีอาการเจ็บป่วยทางกายเกิดขึ้นเพราะสาเหตุต่างๆ เช่น ต้องถูกผ่าตัดหรือเป็น โรคปวดศีรษะ ได้รับบาดเจ็บรุนแรง เป็นแผลเรื้อรัง มีความเจ็บปวดอยู่ เป็นหืด ได้รับ ความทรมานทาง กายมาก ผู้ป่วยต้องการบรรเทา พยายามช่วยตัวเองมานานแต่ก็ไม่หาย จึงหันเข้าหายาเสพติด จนติดยา ในที่สุด 4.2 ผูท้ มี่ จี ติ ใจไม่เป็นปกติ เช่น มีความวิตก กังวล เครียด มีความผิดหวังในชีวติ มีความ 128
เศร้าสลดเสียใจ เป็นต้น ท�ำให้สภาวะจิตใจไม่เป็นปกติ จนเกิดการป่วยทางจิตขึ้น จึงพยายามหายาหรือสาร เสพติดที่มีฤทธิ์สามารถคลายความเครียดจากทางจิต ได้ชั่วขณะหนึ่งมารับประทาน แต่ไม่ได้รักษาที่ต้นเหตุ เมื่อยาหมดฤทธิ์ จิตใจก็จะกลับเครียดอีก และผู้ป่วย ก็จะเสพสิ่งเสพติด ถ้าท�ำเช่นนี้ ไปเรื่อยๆ ก็จะท�ำให้ผู้ นั้นติดยาเสพติดในที่สุด 4.3 การไปซือ้ ยามารับประทานเอง โดยไม่ทราบสรรพคุณยาทีแ่ ท้จริง ขนาดยาทีค่ วรรับประทาน การรับประทานยาเกินจ�ำนวนกว่าทีแ่ พทย์ได้ สั่งไว้ การรับประทานยาบางชนิดมากเกินขนาด หรือรับประทานติดต่อกันนานๆ บางครั้งอาจมีอาการถึง ตายได้ หรือบางครั้งท�ำให้เกิดการเสพติดยานั้นได้ 5. จากความคึกคะนอง บางคนมีความคึกคะนอง ชอบพูดอวดเก่งเป็นนิสัย โดยเฉพาะวัย รุน่ มักจะมีนสิ ยั ดังกล่าว คนพวกนีอ้ าจแสดงความเก่งกล้าของตน ในกลุม่ เพือ่ นโดยการแสดงการใช้สารเสพ ติดชนิดต่างๆ เพราะเห็นแก่ความสนุกสนาน ตื่นเต้น และให้เพื่อนฝูงยอมรับว่าตนเก่ง โดยมิได้ค�ำนึงถึงผล เสียหาย หรือ อันตรายที่จะเกิดขึ้นในภายหลังแต่อย่างไร ในที่สุดตนเองก็กลายเป็นคนติดสารเสพติดนั้น 6. จากสาเหตุอื่นๆ 6.1 สถานที่อยู่อาศัยแออัด เป็นแหล่งสลัม หรือเป็นแหล่งที่มีการเสพและค้ายาเสพติด การอยู่ใกล้แหล่งขายหรือใกล้แหล่งผลิต หรือ เป็นผู้ขายหรือผู้ผลิตเอง จึงท�ำให้มีโอกาสติดสารเสพติดให้ โทษนั้นมากกว่าคนทั่วไป 6.2 เมือ่ มีเพือ่ นสนิทหรือพีน่ อ้ งทีต่ ดิ สารเสพติดอยู่ ผูน้ นั้ ย่อมได้เห็นวิธกี ารเสพของผูท้ อี่ ยู่ ใกล้ชิด รวมทั้งใจเห็นพฤติกรรมต่างๆ ของเขาด้วย และยังอาจได้รับค�ำแนะน�ำหรือชักชวนจากผู้เสพด้วย จึงมีโอกาสติดได้ 6.3 บางคนอยู่ในสภาพที่มีปัญหา เช่น ว่างงาน ยากจน ค่าใช้จ่ายเพิ่มโดยมีรายได้ลดลง หรือคงที่ มีหนี้สินมาก ฯลฯ เมื่อแก้ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ไม่ได้ก็หันไปใช้สารเสพติด ช่วยผ่อนคลายความ รู้สึก ในความทุกข์ยากต่างๆเหล่านี้ แม้จะรู้ว่าเป็นชั่วครู่ชั่วยามก็ตาม เช่น กลุ้มใจที่เป็นหนี้คนอื่นก็ไปกิน เหล้า หรือ สูบกัญชาให้เมาเพื่อที่จะได้ลืมเรื่องหนี้สิน บางคนต้องการรายได้เพิ่มขึ้น โดยพยายามท�ำงาน ให้หนัก และมากขึ้นทั้งๆ ที่ร่างกายอ่อนเพลียมากจึงรับประทานยากระตุ้นประสาทเพื่อให้สามารถท�ำงาน ต่อไปได้ เป็นต้น ถ้าท�ำอยู่เป็นประจ�ำท�ำให้ติดสารเสพติดนั้นได้ 6.4 การเลียนแบบ การทีไ่ ปเห็นผูท้ ตี่ นสนิทสนมรักใคร่หรือเพือ่ นใช้สงิ่ เสพติด จึงเห็นว่า เป็นสิ่งน่าลอง เป็นสิ่งโก้เก๋ เป็นสิ่งแสดงความเป็นพวกเดียวกัน จึงไปทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้นจนติด 6.5 บางคนมีความผิดหวังในชีวิตตนเอง ผิดหวังในชีวิตครอบครัว หรือผิดหวังในชีวิต สังคม เพื่อเป็นการประชดตนเองหรือคนอื่น จึงไปใช้สิ่งเสพติดจนติด ทั้งๆ ที่ทราบว่าเป็นสิ่งไม่ดีก็ตาม
129
2. การป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด การป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด ควรมีการด�ำเนินงานซึง่ ต้องได้รบั ความร่วมมือจากกันอย่าง จริงจังจากทุกฝ่าย เพือ่ สร้างสังคมทีส่ งบสุขและปลอดภัย จ�ำเป็นต้องอาศัยบทบาทส�ำคัญจากทุกฝ่ายในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหา ดังนี้ 2.1 บทบาทของตนเอง การป้ อ งกั น และแก้ ไขตนเอง ของ เยาวชนให้ปลอดภัยจากปัญหายาเสพติด สามารถ กระท�ำได้โดย 1. ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับโทษและ พิษภัยของยาเสพติด และระมัดระวังในการใช้ยา 2. มีความภาคภูมใิ จและนับถือตนเอง ไม่ทำ� ร้ายตนเองด้วยการพึง่ พาหรือเกีย่ วข้องอบายมุข และสิ่งเสพติดใดๆ ซึ่งจะน�ำความเสื่อมไปสู่ชีวิตของตนเอง 3. รู้จักเลือกคบเพื่อนที่ดี ส่งเสริมให้คิดและกระท�ำสิ่งดีมีประโยชน์ กล้าพูดปฏิเสธเพื่อนที่ ชักจูงไปในทางที่ไม่ดี เช่น การพูดปฏิเสธเพื่อนที่ชวนให้ลองเสพยาเสพติด 4. รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง ด้วยการตั้งใจศึกษาเล่าเรียน เชื่อฟังค�ำสั่งสอนของพ่อแม่ และประพฤติแต่ในสิ่งที่ดีงาม จะช่วยให้เยาวชนประสบกับความส�ำเร็จในชีวิต 5. ใช้เวลาว่าง และความอยากรู้ อยากลองไปในทางทีเ่ ป็นประโยชน์พงึ ระลึกเสมอว่าตนเอง นั้น มีคุณค่าทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม 6. น�ำหลักศาสนามาเป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิต เข้าใจวิธีการด�ำเนินชีวิตและยอมรับ ความเป็นจริงที่ตนเองเป็นอยู่ จะช่วยให้มีจิตใจที่ร่าเริงแจ่มใส เกิดความมั่นคงทางด้านจิตใจ มากขึ้น 7. รู้จักแก้ไขปัญหาชีวิตของตนเองด้วยเหตุและผล เมื่อมีปัญหา รู้จักปรึกษาผู้ใหญ่ พ่อ แม่ หรือผู้ที่ไว้วางใจ หรือหน่วยงานต่างๆ ที่รับให้ค�ำปรึกษา 8. ในฐานะที่เยาวชนเป็นสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัว จึงควรมีส่วนช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง ป้องกันปัญหายาเสพติดแก่ครอบครัวของตนเอง เช่น 8.1 ช่วย พ่อ แม่ สอดส่องดูแลน้องๆ หรือสมาชิกคนอื่นๆ ภายในครอบครัวมิให้กระท�ำ สิง่ ทีผ่ ดิ เช่น การคบเพือ่ นทีไ่ ม่ดี การมัว่ สุมในอบายมุขและสิง่ เสพติด เยาวชนควรท�ำตัวเป็น แบบอย่างทีด่ ี แก่สมาชิกคนอื่นๆ ภายในครอบครัวด้วย เช่น การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ความมีระเบียบวินัย ความ ขยันหมั่นเพียร 8.2 ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว มีความรักใคร่กลม เกลียวและมีความเข้าใจกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันเมื่อมีปัญหา 8.3 เมือ่ มีโอกาสควรบอกกล่าวหรือตักเตือนสมาชิกคนอืน่ ๆ ภายในครอบครัว โดยเฉพาะ น้องๆ ให้รู้เกี่ยวกับโทษพิษภัยของ ยาเสพติดวิธีการใช้ยาอย่างปลอดภัย 130
8.4 ช่วยท�ำให้ พ่อ แม่ เกิดความสบายใจและภาคภูมิใจด้วยการประพฤติดี ตั้งใจศึกษา เล่าเรียน แบ่งเบาภาระหน้าที่การงานของพ่อแม่ภายในบ้าน 2.2 บทบาทของครอบครัว ครอบครัวเป็นสถาบันที่ส�ำคัญ การ สร้างครอบครัวอบอุน่ จะช่วยให้สมาชิกใน ครอบครัว อยู่อย่างเป็นสุข พ่อแม่หรือผู้ปกครองเป็นบุคคล ส�ำคัญที่ท�ำให้ครอบครัวมีลักษณะดังกล่าว ความ สัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูก เป็นสิ่งส�ำคัญในการที่จะ ท�ำให้ครอบครัวมีความสุข บทบาทของครอบครัว ได้แก่ 1. ทุกคนในครอบครัว ควรจะรู้และปฏิบัติตนตามบทบาท และหน้าที่ของตน 2. พ่อแม่ผู้ปกครองควรสร้างความรัก ความเข้าใจ และความสัมพันธ์อันดีต่อกัน สร้าง 3. บรรยากาศในบ้านอย่างอบอุน่ มีความสุข และมัน่ คง ปลอดภัย ซึง่ เป็นสิง่ ส�ำคัญอย่างมาก 4. พ่อแม่ผปู้ กครองควรสอดส่องดูแลเด็ก และบุคคลในครอบครัวอย่าให้เกีย่ วข้องกับยาเสพติด 5. ให้ความรู้ อบรมสั่งสอนในทางที่ถูกต้อง และเหมาะสมกับวัย เกี่ยวกับปัญหาสังคมที่เกิด ขึ้น เช่น ปัญหาทางเพศ ปัญหายาเสพติด ปัญหาเด็กวัยรุ่น การคบเพื่อน เป็นต้น 6. ให้เวลากับลูกให้มาก เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูก รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาที่ดีด้วย 7. คอยส่งเสริมให้เขารู้จักการใช้เวลาในทางที่เป็นประโยชน์ เช่น การท�ำงานบ้าน เล่นกีฬา ฯลฯ เพื่อป้องกันมิให้เด็กหันเหไปสนใจในยาเสพติด 8. เมื่อมีความขัดแย้งเกิดขึ้น ทุกคนในครอบครัวควรยอมรับสภาพของปัญหา และร่วมมือ กันแก้ไขปัญหาอย่างใจเย็น 9. เลือกคบค้าสมาคมกับเพื่อนบ้านที่ดี เพื่อลูกจะได้สิ่งแวดล้อมที่ดี เท่าที่จะเป็นไปได้ 10. ถ้าพบว่าสมาชิกในครอบครัวติดสารเสพติด ต้องรีบพาไปรับการบ�ำบัดรักษา พร้อมทั้ง ให้ความรัก ความเข้าใจ ความอบอุ่นและก�ำลังใจอย่างดีที่สุด 2.3 บทบาทของโรงเรียน โรงเรียนเป็นสถาบันส�ำคัญรองลงมาจากครอบครัว จึงมีบทบาทส�ำคัญที่จะท�ำให้เยาวชน ปลอดภัยจากสารเสพติด โดยโรงเรียนควรแสดงบทบาท ดังนี้ 1. ให้ความรู้ในเรื่องสารเสพติดแก่นักเรียนทุกคนอย่างสม�่ำเสมอ 2. ครูอาจารย์ให้ความเอาใจใส่ดูแลนักเรียน และเป็นที่ปรึกษาที่ดีให้แก่นักเรียน เข้าใจและ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียน 3. โรงเรียนควรจัดกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะการส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมให้อยูใ่ นการ ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันของนักเรียน และมีแหล่งนันทนาการให้แก่นักเรียนอย่างเพียงพอ 131
4. เมือ่ ทราบว่ามีนกั เรียนติดสารเสพติด โรงเรียนต้องรีบแจ้งให้พอ่ แม่หรือผูป้ กครองนักเรียน ทราบ แล้วร่วมมือกันแก้ปัญหาให้กับนักเรียนต่อไป 2.4 บทบาทของรัฐบาล รัฐบาลมีบทบาทส�ำคัญในการแก้ไข ปัญหาสารเสพติดให้กบั ประชาชนทุกคน โดยด�ำเนิน การผนึกพลังของทุกภาคส่วน มาร่วมกันสร้าง “รั้ว” ป้องกันในทุกระดับให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ภายใต้ชื่อ ว่า “5 รั้วป้องกัน” “รั้ว” ในที่นี้หมายถึง การสร้าง ภูมิคุ้มกัน สร้างกิจกรรม สร้างกระบวนการท�ำงาน ทั้งภาครัฐและประชาชนได้ด�ำเนินการร่วมกันอย่าง มีประสิทธิภาพ อันได้แก่ รั้วชายแดน รั้วชุมชน รั้วสังคม รั้วโรงเรียน และรั้วครอบครัว 1. รัว้ ชายแดน : ยาเสพติดส่วนใหญ่มแี หล่งผลิตมาจากตามแนวชายแดนประเทศ เพือ่ นบ้าน และลักลอบน�ำเข้าประเทศไทย ภารกิจนีม้ กี องบัญชาการกองทัพไทยเป็นเจ้าภาพหลัก ให้กองก�ำลังป้องกัน ชายแดนเป็นผูร้ บั ผิดชอบในระดับพืน้ ที่ ท�ำหน้าทีจ่ ดั ก�ำลังปฏิบตั กิ ารลาดตระเวน สกัดกัน้ การน�ำเข้ายาเสพ ติดตามแนวชายแดน จัดตั้งอาสาสมัครประชาชนในหมู่บ้านชายแดนเพื่อเป็นก�ำลังเฝ้าระวัง รวมถึงปฏิบัติ การสกัดกั้นยาเสพติดในเชิงรุกด้วยการด�ำเนินมาตรการทางการข่าว การร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านทั้ง ด้านการข่าว การปราบปรามสกัดกั้น และการลาดตระเวนร่วมกัน 2. รัว้ ชุมชน : จากความอ่อนแอของชุมชน ความไม่มภี มู คิ มุ้ กันของชุมชนท�ำให้ปญ ั หายาเสพ ติดเข้ามาแพร่ระบาดได้ง่าย รัฐบาลจึงประกาศชัดเจนที่จะสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไข ปัญหาสังคมด้านต่างๆ เสริมบทบาทของก�ำนัน ผูใ้ หญ่ บ้าน ผู้น�ำชุมชนในการเฝ้าระวังรวมทั้งการส�ำรวจ ตรวจสอบพฤติการณ์ทงั้ ค้าและเสพด้วยกระบวนการ ประชาคม เพื่อคัดกรองปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน และชุมชนขั้นต้นรวมถึงมาตรการทางด้านกฎหมาย เพือ่ ลดทอนโครงสร้างทางการค้าในพืน้ ที่ รวมถึงการ จับกุมและส่งผู้เสพเข้าสู่กระบวนการบ�ำบัด หมู่บ้าน และชุมชนทีเ่ ข้มแข็งย่อมช่วยในการแก้ปญ ั หายาเสพ ติดท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. รั้วสังคม : ปัจจัยลบในสังคม ทั้งสถานบันเทิงที่ผิดกฎหมาย หอพักที่ไม่ได้จด ทะเบียน โต๊ะสนุก๊ โต๊ะพนันบอล ตูม้ า้ ร้านเกมส์ อินเทอร์เน็ต แหล่งมัว่ สุมต่างๆ ล้วนเป็นปัจจัยเสีย่ งทีท่ ำ� ให้เยาวชนมี พฤติกรรมเสีย่ งเข้าไปเกีย่ วข้องกับยาเสพติด ภารกิจนีจ้ งึ เกิดขึน้ เพือ่ จัดระเบียบสังคมแบบบูรณาการ ด�ำเนิน การขยายพืน้ ทีแ่ ละกิจกรรมเชิงบวกแก่เยาวชนให้มากขึน้ อาทิ ลานกีฬา ลานดนตรี ลานกิจกรรมสร้างสรรค์ ของเยาวชน รวมถึงการสร้างแกนน�ำกลุม่ ต่างๆ ในจังหวัด ให้เป็นพลังขับเคลือ่ นการจัดระเบียบสังคม อาทิ 132
แกนน�ำครูอาสา แกนน�ำผู้ปกครอง แกนน�ำเยาวชน แกนน�ำชุมชน ฯลฯ ดึงเยาวชนออกมาให้ไกลจากยา เสพติด นอกจากนั้นแล้วควรมีการเผยแพร่สิ่งดีงามในดานวัฒนธรรม ประเพณี และศีลธรรมอันดีงามให้ กับประชาชน จนทุกคนสามารถตระหนักถึงสิง่ ดีงามดังกล่าวในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่างๆ ในชีวติ ประจ�ำวัน 4. รั้วโรงเรียน : ทางสถานศึกษาต้องมีการส�ำรวจพฤติกรรมนักเรียนที่เข้าข่ายเสพติด ก่อน จะเข้าสู่ระบบการบ�ำบัดรักษาโดยสมัครใจ โดยการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติในเรื่อง การเสพติดที่เข้าถึงเยาวชนกลุ่มเสี่ยง นอกเหนือจากการเฝ้าระวัง โดยอาศัยกลุ่มเพื่อนในการปรึกษาและ บ�ำบัด 5. รัว้ ครอบครัว : ถือเป็นยุทธศาสตร์สำ� คัญทีจ่ ะป้องกันยาเสพติด เพราะเมือ่ ใด ครอบครัว เข้มแข็งก็จะส่งผลต่อพื้นฐานของความเข้มแข็งของประเทศด้วย โดย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ เป็นหน่วยงานหลักที่จะเข้ามาส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน จัดอบรม ให้ความรู้ในการป้องกันยาเสพติด เพื่อท�ำให้ความเข้มแข็งของครอบครัวในชุมชน ท�ำให้ความเข้มแข็งของ ครอบครัวกลับคืนมา โดยจะมุ่งเน้นไปที่ครอบครัวที่มีบุคคล เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ทั้งที่ถูก จับกุมหรือที่บ�ำบัดรักษา เป็นเป้าหมายแรก
3. ทักษะในการชักชวนผู้อื่นให้ลด ละ เลิก สารเสพติด ทักษะชีวิตเป็นคุณลักษณะ หรือความสามารถ เชิงสังคมจิตวิทยา เปนทักษะที่ชวยใหบุคคลสามารถ เผชิญกับสถานการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการชักชวนให้ผู้อื่นลด ละ เลิก สารเสพติด เชน ทักษะในการคิดวิเคราะหอยา งมีเหตุผลทักษะการตัดสินใจ ทักษะดานความคิดริเริ่ม สรางสรรค ทักษะในการประมาณตน และการควบคุม สถานการณทักษะในการสื่อสารตอรอง ปฏิเสธ และ โนมน้าวจิตใจ ทักษะในการปรบตัว 3.1 ทักษะความคิดวิเคราะห์ เป็นความสามารถทีจ่ ะวิเคราะห์ขอ้ มูลข่าวสารและประเมินปัจจัยต่างๆ ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อเจตคติ และพฤติกรรม เช่น ค่านิยม แรงกดดันจากกลุ่มเพื่อน อิทธิพลจากสื่อต่างๆ ที่มีผลต่อการด�ำเนินชีวิต โดย เฉพาะในเรือ่ งการวิเคราะห์พษิ ภัยของยาเสพติด ผลจากการใช้ยาเสพติดจะเกิดอะไรกับตนเอง ครอบครัว และสังคม 3.2 ทักษะการตัดสินใจ เป็นความสามารถในการตัดสินใจเกีย่ วกับเรือ่ งราวต่างๆ ในชีวติ ได้อย่างมีระบบ เช่น ถ้าบุคคล 133
สามารถตัดสินใจเกีย่ วกับการกระท�ำของตนเองทีเ่ กีย่ วกับพฤติกรรมด้านสุขภาพ หรือความปลอดภัยในชีวติ โดยประเมินทางเลือกและผลที่ได้จากการตัดสินใจเลือกทางที่ถูกต้องเหมาะสม ก็จะมีผลต่อการมีสุขภาพ ที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ 3.3 ทักษะการแก้ไขปัญหา เป็นความสามารถในการจัดการกับปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ได้อย่างมีระบบ ไม่เกิดความเครียด ทางกายและจิตใจ จนอาจลุกลามเป็นปัญหาใหญ่โตเกินแก้ไข กระบวนการแก้ปัญหา ประกอบด้วย 5 ขั้น ตอนดังนี้ 1. เข้าใจในปัญหา ความเข้าใจในปัญหาที่อาจจะมาจากหลายรูปแบบ รวมถึงความกังวล ความโกรธ และซึมเศร้า เราจะต้องแยกแยะประเด็นของปัญหาให้ได้ เนื่องจากปัญหาบางอย่างเกิดขึ้น แล้วสามารถแก้ไขได้ แต่บางปัญหาเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้และท�ำให้ต้องหมกมุ่นกับปัญหานั้น เช่น การที่คน เราเป็นโรคเอดส์ แล้วคิดแต่เรือ่ งการเป็นโรคเอดส์ ซึง่ โรคเอดส์นนั้ ยังรักษาไม่ได้ เป็นสิง่ ทีแ่ ก้ไขไม่ได้ ปัญหา จึงไม่ได้อยู่ที่การเป็นโรคเอดส์ หากแต่อยู่ที่จะปรับ ตัวเองให้อยู่กับการเป็นโรคเอดส์ได้อย่างไรมากกว่า การแยกแยะประเด็นปัญหาให้ได้ และยอมรับได้ว่า ปัญหาที่แท้จริงอยู่ที่ไหน 2. ก�ำหนดปัญหาและเป้าหมาย คือ การก�ำหนดปัญหาและเป้าหมายให้ชัดเจน โดยที่ เป้าหมายนั้นสามารถก�ำหนดได้ 3 แนวทาง คือ มุ่ง แก้ปัญหาที่สภาพของปัญหา มุ่งแก้ที่อารมณ์หรือ ความคิดต่อสภาพการณ์ของปัญหานั้น หรือมุ่งแก้ที่ ทั้งสภาพการณ์ของปัญหาและอารมณ์หรือความคิด ต่อสภาพการณ์ของปัญหานั้น 3. คิดหาทางเลือก ด้วยการคิดหาวิธีการแก้ปัญหาหลายๆ วิธีให้มากที่สุดเท่าที่จะคิดได้ โดยที่ไม่ต้องค�ำนึงว่าวิธีการแก้ปัญหาเหล่านั้นจะแก้ปัญหาได้หรือไม่ได้ จดบันทึกวิธีการแก้ปัญหาที่คิดได้ ลงในกระดาษ 4. เลือกทางที่ดีที่สุด โดยเลือกจากวิธีการแก้ปัญหาที่คิดได้ในขั้นตอนที่ 3 ซึ่งวิธีการเลือก วิธกี ารแก้ปญ ั หาทีด่ ที สี่ ดุ นัน้ สามารถท�ำได้โดยพิจารณาผลทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากวิธกี ารแก้ปญ ั หาในแต่ละวิธี โดยให้พิจารณาทั้งในด้านบวกและด้านลบ 5. ด�ำเนินการและประเมินผล ถ้าการด�ำเนินการแก้ปัญหาประสบความส�ำเร็จ กระบวน การบ�ำบัดแบบแก้ปัญหาถือได้ว่าเสร็จสิ้น แต้ถ้าประเมินผลแล้วพบว่าปัญหายังไม่ได้รับการแก้ไข ก็อาจ ต้องย้อนกลับไปพิจารณาในขั้นตอนที่ 4 อีกครั้ง แล้วเลือกวิธีการแก้ปัญหาล�ำดับถัดไป หรือบางทีอาจจะ ต้องย้อนกลับไปพิจารณาในขั้นตอนที่ 3 หรือ 2 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแต่ละกรณี 134
เทคนิคการแก้ปัญหา เข้าใจปัญหา มาตั้งเป้าหมาย ให้หลายทางเลือก หนทางเหมาะสม
หากยัง แก้ไขไม่ได้
เริ่มด�ำเนินการและประเมินผล 3.4 ทักษะการจัดการกับอารมณ์และทักษะในการจัดการกับความเครียด เป็นความสามารถในการประเมินอารมณ์ รู้เท่าทันอารมณ์ว่ามีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของ ตน เลือกใช้วิธีการจัดการกับอารมณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม และเป็นความสามารถที่จะรู้สาเหตุของ ความเครียด เรารู้วิธีควบคุมระดับของความเครียด รู้วิธีผ่อนคลายและวิธีหลีกเลี่ยงสาเหตุพร้อมทั้งเบี่ยง เบนพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ อารมณ์และความเครียดเป็นความรู้สึกอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นจากผลกระทบต่างๆภายนอก อารมณ์มีทั้งทางบวกและทางลบ การแสดงอารมณ์บางอย่างโดยปราศจากการควบคุม อาจก่อให้เกิดผล เสียได้ การจัดการหรือการควบคุมอารมณ์และความเครียดเป็นทักษะที่เรียนรู้และฝึกฝนได้ โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน คือ 1. ส�ำรวจอารมณ์ หรืออาการที่แสดงออกที่เกิดขึ้นในขณะนั้น เช่น มือสั่น ใจสั่น ตัวสั่นก�ำ มือ เป็นต้น 2. คาดการณ์ผลดีผลเสียของการแสดงอารมณ์นั้นออกมา 3. ควบคุมอารมณ์ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น - หายใจเข้าออกยาวๆ - นับเลข 1 – 10 ช้าๆ ( หรือนับต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าจะรู้สึกว่าอารมณ์สงบลง ) - ขอเวลานอก โดยการหนีออกจากสถานการณ์นั้นๆ ชั่วคราว - ก�ำหนดลมหายใจ โดยให้สติอยู่ที่การหายใจเข้าออก 4. ส�ำรวจความรู้สึกของตนเองอีกครั้งและชื่นชมกับการที่ตนเองสามารถควบคุมอารมณ์ได้ 135
3.5 ทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เป็นความสามารถในการใช้ค�ำพูด และภาษาท่าทางเพื่อสื่อสารความรู้สึกนึกคิดของตนเอง และความสามารถในการรับรู้ความรู้สึกนึกคิดของอีกฝ่าย ไม่ว่าจะในการแสดงความต้องการความชื่นชม การปฏิเสธ การสร้างสัมพันธภาพ การสื่อสารเป็นการติดต่อเพื่อให้เกิดความ เข้าใจอันดีต่อกัน ชีวิตจะมีความสุขเมื่อได้รับการยอมรับ จากเพือ่ น ครอบครัว และบุคคลในสังคม ทักษะการสือ่ สาร ทีแ่ สดงถึงสัมพันธภาพทีด่ รี ะหว่างบุคคลทีส่ ำ� คัญ คือ ทักษะ การพูด เป็นทักษะการสื่อสารที่จ�ำเป็นดังสุภาษิตไทยที่ว่า “ปากเป็นเอก เลขเป็นโท” การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ต้องมีความชัดเจน เหมาะสม ถูกต้องทั้งวิธีการและเวลา สามารถบอกความต้องการหรือไม่ต้องการได้ ท�ำให้เกิด ความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันทั้งสองฝ่าย เป็นการสื่อสารที่ มีทั้งผู้ส่งและผู้รับ ตรวจสอบได้ การพูดต้องสอดคล้องทั้ง ท่าทาง น�้ำเสียง สีหน้าเพื่อให้สามารถถ่ายทอดไปถึงผู้ฟังตามความรู้สึกนึกคิด ความต้องการ และเข้าใจ โดยทักษะการสื่อสารที่ดีในการชักชวนให้ผู้อื่นลด ละ เลิก สารเสพติดมีดังนี้ 1. การแสดงความคิดเห็น เป็นการแสดงให้ผอู้ นื่ รูว้ า่ เราคิดเห็นอย่างไรต่อปัญหาสารเสพติด ซึง่ อาจท�ำให้ผอู้ นื่ คล้อยตาม และไม่กล้ามาชักชวนเราให้เสพ โดยต้องมีเหตุมผี ล และเสนอความคิดเห็นด้วย น�้ำเสียงหนักแน่น จริงจัง แต่นุ่มนวล ไม่เป็นการเสนอความคิดเห็นด้วยถ้อยค�ำรุนแรง 2. การแสดงความชื่นชม เป็นการแสดงออกให้เห็นว่าเราชื่นชมคนที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับสารเสพ ติด และชื่นชมที่คนเหล่านั้นมีอนาคตที่ดี เช่น เป็นนักกีฬา เป็นนักเรียนที่เรียนเก่ง เป็นนักกิจกรรม เป็นต้น 3. การร้องขอ เมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่อาจจะหลีกเลี่ยงต่อการถูกชักชวนให้เสพสาร เสพติดได้ เราควรมีวิธีขอร้องโดยใช้ค�ำพูดที่นุ่มนวล มีเหตุมีผล เพื่อให้เราสามารถรอดพ้นจากสถานการณ์ นั้นๆ โดยที่อีกฝ่ายไม่โกรธเคือง 4. การเจรจาต่อรอง เราควรใช้ถ้อยค�ำที่มีเหตุมีผล ภาษาสุภาพ ไม่เป็นการขู่บังคับ หรือขู่ ว่าจะบอกคนอื่น เพราะอาจท�ำให้เกิดอันตรายต่อตัวเองได้ 5. การตักเตือน เมื่อเห็นเพื่อนหรือพี่น้องมีแนวโน้มว่าจะเสพสารติด ไม่ว่าจะเป็นบุหรี่ สุรา หรือสารเสพติดใดก็แล้วแต่ เราควรตักเตือนด้วยค�ำพูดที่มีเหตุผล ชี้ให้เห็นถึงผลเสียที่มีต่อร่างกาย ต่อการ เรียน ต่อครอบครัว รวมถึงแสดงความรัก ความห่วงใยที่มีให้เห็น เพื่อโน้มน้าวให้เกิดความรู้สึกส�ำนึก และ ไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติด เป็นต้น 6. ทักษะการปฏิเสธ การปฏิเสธเป็นสิทธิอันชอบธรรมของบุคคลที่ควรฝึกให้เกิดทักษะ ซึ่ง จะช่วยในการป้องกันหรือหลีกเลีย่ งทีจ่ ะน�ำไปสูค่ วามเสียหายได้ การปฏิเสธทีถ่ กู ต้องจะช่วยปกป้องตนเอง จากสถานการณ์ทตี่ อ้ งการหลีกเลีย่ ง และยังช่วยปรับเปลีย่ นความคิดรวมทัง้ พฤติกรรมของตนเองและบุคคล รอบข้างอีกด้วย เยาวชนสามารถปฏิเสธเพือ่ นได้ เมือ่ เพือ่ นชวนไปท�ำในสิง่ ทีไ่ ม่อยากท�ำหรือชวนไปท�ำในสิง่ 136
ที่ไม่ดี เยาวชนส่วนใหญ่ไม่กล้าปฏิเสธเพราะกลัวว่าเพื่อนจะโกรธ แต่ถ้าปฏิเสธได้ถูกต้องตามขั้นตอนก็จะ ท�ำให้ไม่เสียเพื่อน การปฏิเสธที่ดีจะต้องปฏิเสธอย่างจริงจัง ทั้งท่าทางและน�้ำเสียง เพื่อแสดงความตั้งใจที่จะ ปฏิเสธอย่างชัดเจน ขั้นตอนการปฏิเสธ 3 ขั้นตอน มีดังนี้ 1. บอกความรู้สึกเป็นข้ออ้าง ประกอบเหตุผล เพราะการบอกความรู้สึกจะโต้แย้งน้อยกว่า การบอกเหตุผลเพียงอย่างเดียว 2. การขอปฏิเสธ เป็นการบอกปฏิเสธอย่างชัดเจนด้วยค�ำพูด 3. การถามความเห็นชอบ เพือ่ รักษาน�ำ้ ใจของผูช้ วน และควรขอบคุณเมือ่ ผูช้ วนยอมรับการ ปฏิเสธ ตัวอย่างประโยคขั้นตอนการปฏิเสธ 1. บอกความรู้สึก นึกคิดเหตุผล “ ฉันไม่สบายใจที่ไปเที่ยวในขณะที่แม่ไม่ค่อยสบาย” 2. ตนขอปฏิเสธ “ ขอไม่ไปดีกว่า” 3. เห็นชอบ ขอบคุณ “ เธอคงไม่ว่าอะไรนะ..ขอบคุณเธอ มากที่เข้าใจเรา”
7. การขอความช่วยเหลือ เมื่อตกอยู่ในสถานการณ์อันตราย เราควรตั้งสติ และคิดหา ทางออกที่ดี เพื่อความปลอดภัยของตัวเรา 3.6 ทักษะการให้ก�ำลังใจ เป็นความสามารถในการให้ก�ำลังใจ อาจจะเป็นการให้ก�ำลังใจทั้งตนเองและผู้อื่น ซึ่งทักษะ ในการให้ก�ำลังใจที่ดีในการชักชวนผู้อื่นให้ลด ละ เลิก สารเสพติดนั้น ควรประกอบด้วย 1. ความตระหนักในตนเอง เป็นความสามารถในการเข้าใจ ถึงจุดดีจุดด้อยของตนเองและความแตกต่างของแต่ละบุคคล สามารถอยู่ อย่างเป็นปกติสุขภายใต้แรงกดดันต่างๆ ในชีวิต 2. ความเห็นใจผู้อื่น เป็นความสามารถในการเข้าใจถึง ความรู้สึก และมีความเห็นใจในบุคคลอื่น อันจะช่วยท�ำให้เกิดความเข้าใจ ยอมรับถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ 3. ความภาคภูมิใจในตนเอง เป็นความรู้สึกว่าตนเองมี คุณค่าในลักษณะของการนับถือตนเอง เชือ่ ในคุณประโยชน์ของตนเองทีม่ ี 137
ต่อตนเอง ครอบครัว สังคม ประเทศชาติ ทั้งการแสดงถึงการมีน�้ำใจ รู้จักให้รู้จักรับ รวมถึงการค้นพบและ ภูมิใจในความสามารถด้านต่างๆ ของตน เช่น ความสามารทางด้านสังคม ดนตรี กีฬา เป็นต้น ซึ่งเมื่อเกิด การเห็นคุณค่าในตนเอง ก็ยอ่ มมีอทิ ธิพลต่อการด�ำเนินชีวติ ช่วยให้เกิดความรักตนเอง ไม่ทำ� ร้ายตนเองด้วย การเสพสารเสพติด เป็นแบบอย่างที่ดีทางด้านสุขภาพ มีสุขภาพจิตดี มองผู้อื่นในด้านบวก ยอมรับตนเอง และภูมิใจในตนเอง 4. ความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นความรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ซึ่งเราควรมี ส่วนรับผิดชอบในความพัฒนาหรือเสื่อมโทรมลงของสังคม เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง ถือเป็น แรงจูงใจที่จะท�ำให้เราปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบต่อผู้อื่นและสังคมต่อไป
เสริมสาระ อิทธิพลของเพื่อน แม้เพื่อนจะเป็นบุคคลที่ส�ำคัญของเรา แต่ถ้าเพื่อนมีอิทธิพลต่อเราในทางที่ไม่ดี พาไปเสียผู้ เสียคน ในฐานะที่เราเป็นเพื่อนก็ต้องให้สติด้วยการตักเตือน และปฏิเสธไม่ท�ำตามและชักจูง ให้เขาได้ใช้ ชีวติ ทีถ่ กู ต้องและดีงาม แต่ถา้ หากเป็นเรือ่ งทีย่ งุ่ ยากเหลือบ่ากว่าแรงก็คงต้องโบกมือลาเลิกคบเสียดีกว่า ถ้า เป็นเรือ่ งยาเสพติด ไม่จำ� เป็นต้องพิสจู น์ดว้ ยตนเอง เพราะกาลเวลาผ่านมาหลายยุคหลายสมัย ยาเสพติดก็ ยังเป็นสิง่ ทีม่ โี ทษพิษภัยต่อร่างกาย และมีผลกระทบท�ำลายครอบครัว ชุมชน และความมัน่ คงของประเทศ ชาติ หากลูกหลานจะลงทุนพิสูจน์ยาเสพติดด้วยการ ทดลองใช้ด้วยตนเองก็เป็นการลงทุนที่สูงมาก ไม่คุ้ม กับการลงทุนเพราะยาเสพติดมีฤทธิ์ทางเภสัช ท�ำให้เสพติดได้และเลิกได้ยาก บางทีอาจสูญเสียเวลาและ อนาคตกับเรื่องนี้ไปตลอดชีวิต เพราะฉะนั้นอย่าได้คิดทดลองเลยจะดีกว่า เยาวชนจะต้องรู้เท่าทันผู้ค้ายาเสพติด เยาวชนส่วนใหญ่อยูใ่ นวัยเรียน มีเงินอยูใ่ นกระเป๋าเสมอสาํ หรับค่าขนม และค่าใช้จา่ ยส่วนตัว ที่จ�ำเป็น ซึ่งพ่อแม่และผู้ปกครองให้มา จึงท�ำให้ผู้ลักลอบค้ายาเสพติด มีความมั่นใจว่าการค้ายาเสพติดให้ กับเยาวชนนัน้ จะท�ำให้มลี กู ค้าอยูส่ ม�ำ่ เสมอ และใช้กลยุทธ์ในการขาย แบบขายตรงในกลุม่ เพือ่ นสนิท และ ด้วยความเป็นเพื่อนสนิท จึงไม่กล้าเปิดเผย ความผิดของเพื่อน และไม่กล้าปฏิเสธเพื่อน จึงท�ำให้การแพร่ ระบาดของยาเสพติดเป็นไปอย่าง กว้างขวางและรวดเร็ว จึงจ�ำเป็นที่เยาวชนจะต้องรู้เท่าทันกลลวงของผู้ ค้ายาเสพติดที่จ้องจะดูดเงินค่าขนมในกระเป๋าของเยาวชนตลอดมา ติดกีฬาก็มีความสุขได้ การเล่นกีฬาไม่ใช่เป็นแต่เพียงกิจกรรมทางเลือกที่เบี่ยงเบนความสนใจของเยาวชนให้ ห่าง ไกลยาเสพติดเท่านั้น แต่ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์เชื่อว่า มีการออกก�ำลังกาย หรือการเล่นกีฬานั้นจะ ท�ำให้ต่อมไร้ท่อใต้สมอง หลั่งสารเคมีชนิดหนึ่งชื่อ “เอนโดฟีน” ออกมา ซึ่งสารชนิดนี้จะท�ำให้รู้สึกสดชื่น และเป็นสุขผู้ที่ออกก�ำลังกายอยู่เสมอจึงมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์สมกับที่กล่าวว่า “กีฬา กีฬา เป็นยา วิเศษ” ดังนั้น จึงควรที่จะช่วยกันส่งเสริมให้เยาวชนได้ออกก�ำลังกายและเล่นกีฬา เพื่อให้มีสาร “เอนโด ฟีน” อยู่ในร่างกายเกิดความสุขได้โดยไม่ต้องพึ่งพายาเสพติด 138
บรรณานุกรม หนังสือ ภาษาไทย กนกธร ปิยธำ�รงรัตน์. 2546. เนื้อเยื่อวิทยา. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. กนกธร ปิยธำ�รงรัตน์. 2537. ระบบอวัยวะของร่างกาย. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้น เฮ้าส์. ชญาดา แสนศิริวงษ์ และ จุฬาภรณ์ รุ่งพิสุทธิพงษ์. 2550. “โภชนาการในวัยรุ่น”. วารสารคลินิก. 271(กรกฎาคม) 6. ซีนอร์ท โคท พาร์คินสัน. ม.ป.ป. รักษาสุขภาพอย่างถูกวิธี. กรุงเทพฯ : เรจีนา. ฝ่ายวิชาการบริษัท สกายบุ๊กส์ จำ�กัด. 2544. ยาเสพติดและยาบ้า. กรุงเทพฯ : สกายบุ๊กส์. พรสุข หุ่นนิรันดร์และคณะ. ม.ป.ป. สุขศึกษาม.1. กรุงเทพฯ : ไทยร่มเกล้า. พริ้มเพรา ผลเจริญสุข. 2542. กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. พิชิต ภูติจันทร์. 2545. กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์. มูลนิธิเพื่อยุติการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก. 2550. คู่มือการฝึกอบรมเด็กและเยาวชน วัยใส ร่วมใจ ป้องกันภัยทางเพศ:ควรทำ�อย่างไรถึงจะป้องกันการถูกล่วงละเมิดทางเพศได้ ? วิธีการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร : สำ�นักพิมพ์ศาลาแดง. เรณู สอนเครือ. 2552. แนวคิดพื้นฐานและหลักการปฐมพยาบาล เล่ม 1. นนทบุรี่ : ยุทธรินทร์. วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำ�นักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, สำ�นัก. 2551. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ พละศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ศึกษาธิการ,กระทรวง. 2551. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : มปท. สมาคมนักเรียนเก่าอาหรับ. 2541. พระมหาคัมภีร์อัลกุรอานพร้อมคำ�แปลภาษาไทย. ซาอุดีอาราเบีย: ศูนย์กษัตริย์ฟาฮัดเพื่อการพิมพ์อัลกุรอาน, มาดีนะห์ : ซาอุดีอารเบีย สำ�นักพัฒนาการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด. 2545. ตอบปัญหายาเสพติด. กรุงเทพมหานคร. สุทธิพันธ์ ตรรกไพจิตร. 2544. ยาเสพติด หายนะของคนรุ่นใหม่. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ประสานมิตร.
ภาษาอาหรับ อะบูดาวูด, 1998. สุนันอะบีดาวูด มะอา เอานิลมะอฺบูด, พิมพ์ครั้ง1, เบรุต : สำ�นักพิมพ์ ดารุลกุตุบ อิลมียะฮฺ. อิบนุ มาญะฮฺ, 1997. สุนัน อิบนุ มาญะฮฺ. พิมพ์ครั้งที่ 2, เบรุต : สำ�นักพิมพ์ ดารุล มะอฺริฟะฮฺ. อัตติรมิษีย์, 1998. ญามิอฺ อัตติรมิซีย์. พิมพ์ครั้ง1, เบรุต : สำ�นักพิมพ์ ดารุลอิหฺยาอฺ อัตตุรอษ อัลอะรอบีย์. อัลนะสาอีย์, 1997. สุนันอัลนะสาอีย์. พิมพ์ครั้งที่ 4, เบรุต : สำ�นักพิมพ์ ดารุลมะอฺริฟะฮฺ. อัลบุคอรีย์, 1986. เศาะฮีฮฺ อัลบุคอรีย์ มะอา ฟัตฮ อัล บารีย,์ พิมพ์ครั้ง1, ไคโร : สำ�นักพิมพ์ ดารุลร็อยยาน ลิตตุร็อษ. มุสลิม, 1997. เศาะฮีฮฺมุสลิม, พิมพ์ครั้งที่ 4, เบรุต : สำ�นักพิมพ์ ดารุลมะอฺริฟะฮฺ. อินเตอร์เน็ต กรมแพทย์ทหารเรือ. มปป. การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับสารพิษและสัตว์มีพิษกัด. (ออนไลน์). สืบค้น จาก :http://www.nmd.go.th/ncorps/link/Beach%20guard/image/Poisions%20 htm. [10 มิถุนายน 2554]. กรมแพทย์ทหารเรือ. มปป. การปฐมพยาบาลกระดูกหักและข้อเคลื่อน. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.nmd.go.th/ncorps/link/Beach%20guard/image/Fracture_Dislo cation.htm. [10 มิถุนายน 2554]. ไทยกู๊ดวิวดอทคอม. 2008. การดูแลรักษาต่อมไร้ท่อ. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.thai goodview.com/node/11943 [3 กันยายน 2553]. นิธินันท์ หิรัญชัย. 2546. การเพิ่มน�้ำหนักของคนผอม. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.healthnet.in.th/text/forum2/fat/fat.html. [10 กันยายน 2553]. พรพรหม เมืองแมน. 2553. การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เมื่อเกิดอุบัติเหตุ ไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก. (ออนไลน์).สืบค้นจาก : http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/epl/ articledetail. asp?id=832. [10 มกราคม 2554]. พิพัฒน์ ชูวรเวช.มปป. กระดูกหัก. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://guru.sanook.com/search knowledge_search.php?qID=1. [10 มกราคม 2554].
พีรวิชญ์ ศรีอ่อน. มปป. เกณฑ์มาตรฐานและพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://perawich.tripod.com/pe3.htm. [3 ตุลาคม 2553]. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. มปป. หลักการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย. (ออนไลน์). สืบค้น จาก : http://www.comed51.ob.tc/page5.html. [19 สิงหาคม 2553]. มศว โลกทัศน์. 2547. การปฐมพยาบาล. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.swu.ac.th/ journal/swuvision/v1n3/article07.htm. [13 มกราคม 2554]. รพีพร โรจน์แสงเรือง และพงศ์ศิษฏ์ สิงหทัศน์. มปป. วิธีปฐมพยาบาลเมื่อมีบาดแผลและการห้าม เลือด.(ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.thaihealth. or.th/ healthcontent/ healthtips/22158 [12 มีนาคม 2554]. รู้เฟื่องเรื่องสุขภาพ. มปป. การปฐมพยาบาลเมื่อเป็นลม. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://rnpong.tripod.com/fainting.htm . [12 มีนาคม 2545]. โรงพยาบาลสูงเม่น. มปป. การเคลื่อนย้ายอย่างถูกวิธี. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://smcup.com/data/ er/knowlage/move.htm. [11 มีนาคม 2554]. ศูนย์ข้อมูลสุขภาพกรุงเทพ. 2010.โภชนาการกับสุขภาพ. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www. healthcorners.com/new_read_article.php?category=generalhealth&id=3239. [10 กันยายน 2553]. สถาบันการพลศึกษา. มปป. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www. ipecp.ac.th/cgi-binn/vni/Program/unit5/index.html. [19 สิงหาคม 2553]. mootie . 2551. พัฒนาการและการปรับตัวในวัยรุ่น. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.thaihealth.or.th/node/5756. [3 กันยายน 2553]. kidgrowth.net. 2010. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www. kidgrowth.net/images/intro_1204603258/aw%20book%20child.pdf. [7 กันยายน 2553]. Siamhealth.net. มปป. ดัชนีมวลกาย. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.siamhealth.net / public_html/Disease/endocrine/DM/bmi.htm. [3 กันยายน 2553].