TODAY EXPRESS PRESENTS
20 JAN 2020
627 626 625
CONTENTS 626
P04
DATABASE ตลอดปี 2562 ที่ผ่านมา โลกสูญเสีย พื้นที่ให้กับเปลวเพลิงไปเท่าไหร่กัน
TODAY EXPRESS PRESENTS
20 JAN 2020
627 626 625
P06
COVER STORY ไฟป่า: ความเจ็บปวดของโลก บทเรียน แห่งชีวิต และจุดจบของทุกสรรพสิ่ง ในเปลวเพลิง
P20
HE SAID ่ นมหาวิทยาลัยสูค ขับเคลือ ่ วามเป็นเลิศ กับ ผศ. ดร. อาคีรา ราชเวียง
C
M
P22
Y
CM
FEATURE ชมสตรีทอาร์ตเท่ๆ บนเกาะสมุย ผลงาน ่ ช จากเหล่าศิลปินทีม ี อ ื่ เสียงระดับประเทศ
MY
CY
CMY
K
P28
SPACE & TIME สัมผัสบรรยากาศที่ผสมผสานระหว่าง ร้านล้างฟิลม ์ และร้านกาแฟ ที่ Analox Film Cafe ่ ว้างใหญ่ของประเทศออสเตรเลีย เหตุการณ์ไฟป่าลุกไหม้กน ิ อาณาเขตทีก ่ ง กลายเป็นความสูญเสียทีย ิ่ ใหญ่ในประวัตศ ิ าสตร์ของโลกไปแล้ว ทัง ้ การสูญเสีย ่ ค ทรัพยากรทีม ี า่ มากมาย และการสูญพันธุข ์ องสัตว์หลายชนิด ดังนัน ้ ภาพของ ่ า� ลังโหมลุกไหม้ทเ่ี ป็นหน้าปกของ a day BULLETIN นี้ จึงมีความหมาย ไฟป่าทีก ่ น กับเราอย่างมาก ทัง ื ป่า ้ อิมแพ็กของภาพหรือในแง่ของความหมายของการทีผ ก�าลังถูกเปลวไฟกลืนกิน มนุษย์เองก็ต้องต่อสู้กับเปลวไฟที่ลุกไหม้เผาต้นไม้ ซึ่ ง การที่ มี ค นอยู่ ใ นภาพนั้น ก็ มี นั ย ยะอี ก อย่ า งเหมื อ นกั น ว่ า เหตุ ก ารณ์ ไ ฟป่า ้ ทัว ่ า่ นมาจนถึงวันนี้ จุดเริม ทีเ่ กิดขึน ื ่ โลกในช่วงทีผ ้ หมดอาจจะมาจากฝีมอ ่ ต้นทัง ของมนุษย์ด้วยกันเองหรือเปล่า ที่ท�าให้เกิดอัคคีภัยร้ายแรงระดับนึ้ข้ึนมา
P30
EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อชีวิตและ สังคมผ่านสายตาของ โตมร ศุขปรีชา
TEAM ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการอ�านวยการ นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ทีป ้ ิมพ์โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร โตมร ศุขปรีชา บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัตก ิ ล ุ ชยพล ทองสวัสดิ์ กฤตนัย จงไกรจักร สุธามาศ ทวินน ั ท์ นักเขียน/ผูป ้ ระสานงาน ตนุภท ั ร โลหะพงศธร หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกต ิ ติบต ุ ร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน ่ ออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภูท ่ รึกษาฝ่ายโฆษณา พิสจ ู น์อก ั ษร/ผูด ้ แ ู ลสือ ่ อง บรรณาธิการดิจต ิ อลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วด ิ โี อ วงศกร ยีด ิ สกุล กวินนาฏ หัวเขา ทีป ่ วง รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ศรวณีย์ ศิรจ ิ รรยากุล ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุง ่ รัตนสิทธิกล ุ 08-4491-9241 ผูช ้ ว ่ ยผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจฬ ุ างกูล 08-1639-1929, พงศ์ธด ิ า อังศุวฒ ั นากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว นักศึกษาฝึกงาน ธนโชติ ทองรัก ปิ่ นเพชร ภูจ่าพล คุลิกา แก้วนาหลวง ฟ้าใส ผลผลาหาร ผูผ ้ ลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www. adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com 02 2
ตารางกิโลเมตร
32,000
ปี 2562 นับว่าเป็น ‘ปีแห่งการลุกไหม้’ จากสถานการณ์ วิ ก ฤตไฟป่ า ที่ เกิ ด ขึ้ น หลายประเทศทั่ ว โลก ไม่ว่าจะเป็ นป่าแอมะซอน ป่าลุ่ม แ ม่ น�้ า ค อ ง โ ก แ ล ะ ล่ า สุ ด ใ น ประเทศออสเตรเลีย โดยแต่ละ เหตุ ก ารณ์ นั้ น ต่ า งก็ เ ป็ นไฟป่ า ระดับรุนแรงที่ล้วนส่งผลกระทบ ใ น ว ง ก ว้ า ง ต่ อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ สิง ่ มีชีวิตของมวลมนุษยชาติ
ตารางกิโลเมตร
16,996
ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ
มาดูกันว่าในปี 2562 เหตุการณ์ไฟป่าแต่ละครัง ้ เราสูญเสียพื้นทีใ่ ห้กับเปลวเพลิงไปเท่าไหร่
ตารางกิโลเมตร
อัตราการเกิดไฟป่าแต่ละทวีป ในเดือนสิงหาคม 2562 49% ทวีปเอเชีย
28% ทวีปอเมริกาใต้
2%
ทวีปยุโรป
2%
กลุ่มประเทศและหมู่เกาะ ในมหาสมุทรแปซิฟก ิ รวมถึง ทวีปออสเตรเลีย
8,093
ทวีปอเมริกาเหนือ
ตารางกิโลเมตร
3%
8,577
16% ทวีปแอฟริกา
ตารางกิโลเมตร
1 3 ประเทศที่ตัวเลข การแจ้งเตือนไฟไหม้ สูงที่สุดในโลก (ต่อปี)
2,275,907 คองโก
2 1,959,427 รัสเซีย
3 1,889,075 ออสเตรเลีย
ประเทศ ออสเตรเลีย ในรัฐนิวเซาท์เวลส์ และรัฐควีนส์แลนด์ เกิดพื้นที่เสียหาย ขนาดใหญ่ ประมาณสองเท่า ของประเทศ เบลเยียม และเกิด ไฟป่าลุกไหม้ กว่า 100 จุด ในรัฐวิกตอเรีย
เขตไซบีเรีย ประเทศรัสเซีย นักวิทยาศาสตร์ และผู้เชี่ยวชาญ ต่างยกให้เป็น ไฟป่าที่รุนแรงที่สุด ในรอบ 16 ปี
ประเทศ โบลิเวีย ตั้งแต่เดือน มกราคม-กันยายน 2562 โบลิเวีย ตรวจพบไฟป่าใน แอมะซอนกว่า 20,644 จุด เพิ่มขึ้นกว่า 75% เมื่อเทียบกับ ช่วงเวลาเดียวกัน ในปี 2561
ประเทศ อินโดนีเซีย ตั้งแต่เดือน มิถุนายน-ตุลาคม 2562 กว่า 8 จังหวัดของ อินโดนีเซียเกิด ไฟป่าขึ้นต่อเนื่อง
ป่าแอมะซอน ป่าแอมะซอนมี ผืนป่าอยู่ใน 9 ประเทศทาง ตอนเหนือของทวีป อเมริกาใต้ โดย พื้นที่ส่วนใหญ่กว่า 60% อยู่ใน ประเทศบราซิล ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 29 สิงหาคม 2562 ที่บราซิลเกิดไฟป่า กว่า 84,957 จุด
20
ที่มา : ข้อมูล 8 มกราคม 2562 - 7 มกราคม 2563 จาก www.fires.globalforestwatch.org
59,084
เรือ ่ ง : สุธามาส ทวินันท์
DATABASE
HOW MANY AREAS WERE BURNED?
REPORT
LIFE
LIFESTYLE
PEOPLE
CULTURE
THOUGHT
C OV E R S T O RY
เมื่ อ ไฟป่า ก� า ลั ง จะกลื น กิ น โลก
World is Burning ไฟป่าแห่งคริสต์ทศวรรษ 2010 ความเจ็บปวดของโลก บทเรียนแห่งชีวิต และจุดจบของทุกสรรพสิ่งในเปลวเพลิง
06
ส ภ า พ ภู มิ อ า ก า ศ ข อ ง โ ล ก ใ น วั น นี้ ก� า ลั ง ่ เปลียนไปอย่างเห็นได้ชด ั โดยเฉพาะวิกฤตของ Climate Change ที่รับรู้กันมาเป็นสิบปี แต่เรามักคิดแค่ว่า เป็ นเรื่องไกลตัว ไม่ส่งผลกระทบถึงตัวเราเท่าไหร่ ้ ลจากการกระท�าของมนุษย์กแ แต่ตอนนีผ ็ สดงให้เห็น
เข้ากับอุณหภูมิท่ีเกิดจากคลื่นความร้อน ซึ่งเป็นผล มาจากปรากฏการณ์ ‘Positive IOD’ ซึ่งเกี่ยวกับ ่ นแปลงอุณหภูมผ ความผิดปกติของการเปลีย ิ ว ิ น�้าใน มหาสมุทรอินเดีย ก็ทา� ให้ออสเตรเลียมีสภาพอากาศ ที่แห้งแล้ง เมื่อเกิดไฟป่าก็จะลุกลามอย่างรวดเร็ว
แล้วว่า ภาวะโลกร้อนนั้นรุนแรงขึ้นทุกปี และเกิด การเปลี่ยนแปลงของสภาวะภูมิอากาศแบบสุดขั้ว พื้นที่ท่ีมีฤดูหนาวในหลายๆ ประเทศ เช่น ลอนดอน
และครอบคลุ ม พื้ น ที่ เ ป็ น วงกว้ า งมากขึ้ น ยิ่ ง เป็ น การซ�้าเติมให้สถานการณ์ไฟป่าเลวร้ายขึ้นเรื่อยๆ
เริ่มต้นขึ้นตูมเดียวแล้วรุนแรง แต่มันได้เริ่มมานาน แล้วโดยที่เราเป็นผู้กระท�า ท้ายสุดโลกก็เอาคืนสิ่งที่
การเกิ ด ไฟป่า ตามธรรมชาติ มี ป ระโยชน์ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและสิ่ง มี ชี วิ ต มากมาย อย่ า งบริ เ วณ ทุ่งหญ้าสะวันนาที่มีอาณาบริเวณขนาดกว้างใหญ่ ไพศาล ซึ่ ง ตั้ ง อยู่ ท างตอนเหนื อ ของประเทศ
มนุษย์ได้กอ ่ ด้วยการเผาผลาญท�าร้ายท�าลายทุกสิง ่ ทุกอย่าง จากค�าเตือนเล็กๆ ในอดีต ค่อยๆ ก่อตัว
นิ ว ยอร์ ก สวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ก� า ลั ง เผชิ ญ หน้ า กั บ มวลอากาศร้อนที่อุณหภูมิอากาศสูงขึ้นจนเป็ นเหตุ ให้มีผู้เสียชีวิต ประเทศในบริเวณอาร์กติกก�าลังมี ฤดูร้อนที่ร้อนระอุ ซึ่งเป็ นสาเหตุของไฟป่าอย่างที่ ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน จากข้ อ มู ล ขององค์ ก ารอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาโลก ไฟป่าเหล่านีไ้ ด้ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา เป็นจ�านวนมาก ตามสมมติฐานของนักวิทยาศาสตร์ โดยปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีเพิ่ มมากขึ้น จะท�าให้โลกร้อนขึ้นกว่าเดิม เห็นได้ชัดจากอุณหภูมิ ของประเทศออสเตรเลียเองที่มีแนวโน้มเพิ่ มสูงขึ้น ส่งผลให้เกิดไฟป่าที่ถ่ีและรุนแรงมากขึ้น เมื่อรวม issue 626
20 JAN 2020
ออสเตรเลีย ตามปกติแล้วจะเกิดไฟไหม้ราว 90% ในเขตป่าโปร่งหรือป่าละเมาะประจ�าทุกปี และไฟจะดับ ได้เองเมื่อเข้าสู่ฤดูฝน เกิดเป็นน�้าหลากและน�้าขังใน บริเวณดังกล่าว ส่งผลให้พช ื พรรณต่างๆ เจริญเติบโต สัตว์น้อยใหญ่ได้มีแหล่งอาหารและน�้าดื่ม แต่ส่ิงที่เจ็บปวดก็คือ การเกิดไฟป่าในทุกวันนี้
ในหน่วยงาน 100 องค์กร จะมีเพียง 71% เท่านั้น ที่จะหันมารับผิดชอบเรื่องนี้ และมีจ�านวนน้อยลงไป อีกส�าหรับองค์กรที่ก�าลังมองว่าสิ่งที่พวกเขาท�าอยู่ คือปัญหาที่ต้องรีบจัดการ การเกิดไฟป่าในออสเตรเลียครั้งนี้ไม่ใช่เพิ่ ง
เป็ น มหั น ตภั ย รุ น แรง ส่ ง ผลกระทบราวการล้ ม ระเนระนาดของโดมิโนขนาดใหญ่ สัตว์หลายสายพันธุ์ ถู ก ร ะ บุ แ ล้ ว ว่ า สู ญ พั น ธุ์ พื้ น ที่ ค ว า ม เ สี ย ห า ย กิ น อาณาเขตระดั บ ทวี ป และเราเองก็ ไ ม่ รู้ ว่ า สิ่ ง ที่
้ ะสามารถเรียกคืน สูญเสียไปจากเหตุการณ์ในครัง ้ นีจ กลับมาได้ไหม
กลับมีสาเหตุมาจากระบบเศรษฐกิจจากทุกประเทศ ่ ยูใ่ นระบบทุนนิยม ทีเ่ ร่งรัดพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ทีอ ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การปล่ อ ยมลพิ ษ จากทั่ ว โลก โดย 07
17,900,000
เหตุการณ์น้ี (7 มกราคม 2563)
27
ป ร ะ ม า ณ ก า ร ตั ว เ ล ข ผู้ เ สี ย ชี วิ ต จ า ก
ขนาดพื้นที่ท่ไี ด้รับความเสียหายจากไฟป่า 17,900,000 เอเคอร์ หรือคิดเป็นประมาณ 45,287,000 ไร่ (8 มกราคม 2563)
2,500
ประมาณการความเสี ย หายของ อาคารบ้านเรือนคิดเป็นหลัง
IndOneSIa FOreSt FIreS Sumatra and Borneo — June - October 2015 ปรากฏการณ์เอลนีโญท�าให้อากาศแห้งแล้งมาก
500,000,000
ประมาณการของจ� า นวนสั ต ว์ ป า่
ที่ต้องสูญชีวิต
เกินไป ไฟที่จุดถางพื้นที่ปา่ เพื่อปลูกปาล์มซึ่งเป็น พืชเศรษฐกิจส�าคัญของอินโดนีเซีย จึงไหม้ลก ุ ลาม เป็ น ไฟป่า บนเกาะสุ ม าตราและเกาะบอร์ เ นี ย ว เกิดหมอกควันพิษปกคลุมทัว ่ พื้นที่ รวมถึงประเทศ ใกล้เคียง เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ และภาคใต้ของ ประเทศไทย ลิงอุรง ั อุตง ั จ�านวนมากป่วยด้วยโรค ทางเดินหายใจ องค์การนาซาระบุว่า เป็ นไฟป่า ที่รุนแรงที่สุด ในรอบ 15 ปี เพราะปล่อยก๊า ซ เรือนกระจกประมาณ 600 ล้านตัน เทียบเท่า ที่มา : www.nasa.gov, www.theguardian.com
กับประเทศเยอรมนีปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งปี
08
auS t r alIan BuS hFIreS
มีไฟป่าราว 150 แห่งในนิวเซาท์เวลส์ และควีนส์แลนด์ เนื่องจากมีสภาพอากาศร้อน แห้งแล้งและมีลมแรงในประเทศ ในขณะเดียวกัน ก็มีการประกาศระดับความรุนแรงของไฟป่า ในระดั บ รุ น แรงเป็ น ครั้ ง แรกนั บ ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ประกาศในปี 2009
13 november 2019
ระบุวา่ มีทด ี่ น ิ ถูกเผาเกือบ 1.1 ล้านเฮกตาร์ ้ื ที่ 69 แห่ง ตัง ้ แต่เดือนกันยายน 2019 โดยมีพน ในนิวเซาท์เวลส์ และ 70 แห่งในรัฐควีนส์แลนด์ ยังคงถูกเผาไหม้
21 november 2019
ดาวเทียม Copernicus Sentinel-2 ไ ด้ ร ว บ ร ว ม ภ า พ ค วั น จ า ก ไ ฟ ป่ า บ น ภู เ ข า กอสเปอร์ (Gospers) ที่ ล อยไปยั ง ซิ ดนี ย์
december 2019
พื้ น ที่ ใ น รั ฐ นิ ว เ ซ า ท์ เ ว ล ส์ ป ร ะ ม า ณ
27,000 ตารางกิโลเมตร ถูกเผาไหม้ บางส่วน ของซิดนีย์และทั่วออสเตรเลียเผชิญกับระดับ คุณภาพอากาศทีเ่ ป็นอันตรายมาหลายสัปดาห์ ผู้คนอย่างน้อย 50 คน ต้องเข้ารับการรักษา โรคแทรกซ้อนที่เกิดจากหมอกควัน นั ก นิ เ วศวิ ท ยาจากมหาวิ ท ยาลั ย ซิ ด นี ย์ ประเมินว่า สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม นก และ ้ ยคลานจ�านวน 480 ล้านตัวต้องสูญ สัตว์เลือ ไปจากเหตุการณ์ไฟป่าตั้งแต่เดือนกันยายน issue 626
20 JAN 2020
รัฐบาลประกาศว่า อาสาสมัครดับเพลิงแต่ละคนที่ลงพื้นที่ ช่ ว ยเหลื อ มากกว่ า 10 วั น จะได้ รั บ เงิ น ตอบแทนประมาณ 4,200 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือประมาณ 125,000 บาท
1 January 2020
การเผาไหม้ กิ น พื้ น ที่ ป ระมาณ 8.9 ล้ า นเอเคอร์ ในรั ฐ
นิวเซาท์เวลส์ และควันไฟจากออสเตรเลียได้พัดปกคลุมทัว ่ ทัง ้ เกาะ ทางใต้ของนิวซีแลนด์ จนท�าให้ท้องฟ้ากลายเป็นสีส้มเหลือง
4 January 2020
ภาพถ่ายจากดาวเทียมแสดงให้เห็นว่ามีการแพร่กระจาย ของควันไฟป่าในรัฐวิกตอเรีย และรัฐนิวเซาท์เวลส์ ซึ่งส่งผล ต่อคุณภาพอากาศเป็นบริเวณกว้าง เครื อ จั ก รภพประกาศว่ า จะให้ เ ช่ า เครื่อ งบิ น ปล่ อ ยน�้ า สี่ ล� า โดยเป็นเครื่องบิน DC-10s ขนาดใหญ่สองล�า และขนาดกลาง สองล�า หลังจากการประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ รัฐบาลได้ประกาศให้กองก�าลังพลส�ารองออกปฏิบัติการมากถึง 3,000 นาย ซึ่งเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ เพื่อระดมก�าลัง เข้าช่วยเจ้าหน้าที่ดับเพลิง และอาสาสมัคร
5 January 2020
นายกรั ฐ มนตรี ป ระกาศจั ด ตั้ ง National Bushfire
Recovery Agency โดยได้รบ ั เงินทุนขัน ้ ต้น 2 พันล้านดอลลาร์ อ อ ส เ ต ร เ ลี ย ภ า ย ใ ต้ ก า ร ค ว บ คุ ม ข อ ง แ อ น ด รู ว์ โ ค ล วิ น อดีตผู้บัญชาการต�ารวจสหพันธรัฐออสเตรเลีย
8 January 2020
รายงานข้อมูลตัวเลขพื้ นที่ท่ีเสียหายจากไฟป่าทั่วประเทศ
ล่าสุด คือ 10.7 ล้านเฮกตาร์ หรือประมาณ 107,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมากกว่าพื้นที่ของโปรตุเกสและเกาหลีใต้รวมกัน 09
3,000
และส่งผลต่อคุณภาพอากาศที่แย่ลงในเมือง
29 december 2019
6
12 november 2019
รัฐบาลประกาศว่า อาสาสมัครดับเพลิงที่ลงพื้นที่ช่วยเหลือ จะได้รับมาตรการบรรเทาในการลางานได้อย่างน้อย 20 วัน โดยยังได้รับการจ่ายเงินตามปกติ
8,000
ตอนใต้ มากกว่า 100 จุด
24 december 2019
จ�านวนทหารที่ทางการระดมก� าลั งเข้ าช่วยเจ้ าหน้า ที่
ไฟป่า ส่ ง ผลกระทบต่ อ ภู มิ ภ าคต่ า งๆ ของรั ฐ นิ ว เซาท์ เ วลส์ , ในฝั่ งตะวั น ตกของ ซิดนีย์, เทือกเขาบลู, อิลลาวาร์รา และชายฝั่ ง
ถึง 1.5 เท่าของรัฐคอนเนตทิคัต
จ� า นวนรั ฐ ในออสเตรเลี ย ที่ ไ ด้ รั บ ความเสี ย หายจากผลกระทบของ
September 2019
หน่วยดับเพลิงในเขตชนบทของรัฐนิวเซาท์เวลส์รายงานว่า มีเพลิงไหม้ 96 ครั้ง และพื้ นที่ท่ีถูกเผาจนถึงปัจจุบันมีขนาด
ดับเพลิง และอาสาสมัครที่ช่วยดับไฟป่า
นาซาเปิ ดเผยว่า ไฟป่าที่นิวเซาท์เวลส์ และควีนส์แลนด์ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์แล้ว 250 ล้านตัน
16 december 2019
เหตุการณ์ไฟป่า ซึ่งเป็นขนาดพื้นที่กว้างกว่าประเทศเบลเยียม
august 2019
จ�านวนของโคอาลาที่ตายจากเหตุการณ์ไฟป่าซึ่งนับเป็น 1 ใน 3 ของจ�านวนโคอาลาทั้งหมดในรัฐนิวเซาท์เวลส์
tImelIne
8,900,000
ขนาดพื้ น ที่ ท่ี ไ ด้ รั บ ความเสี ย หายจากไฟป่า มากที่ สุ ด คื อ ที่ รั ฐ
นิวเซาท์เวลส์ หรือคิดเป็นประมาณ 22,517,000 ไร่
23
รัฐบาลกลางออสเตรเลียจัดสรรงบประมาณกว่า 23 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย
เพื่อจุนเจือครอบครัวและธุรกิจที่เป็นเหยื่อของเหตุการณ์ไฟป่าครั้งนี้
FOrt mcmurray WIldFIre Wood Buffalo, alberta, and northern Saskatchewan, canada — may 2016 - august 2017 ่ ง ้ เป็นสาเหตุ ความแห้งแล้งและอุณหภูมโิ ลกทีส ู ขึน
70
มีรายงานว่า ไฟป่าบางจุดมีความสูงพุ ่งถึง 70 เมตร
มากกว่าโรงละครโอเปราเฮาส์ท่ม ี ีความสูง 65 เมตร
ที่ ท� า ให้ ไ ฟป่า ในประเทศแคนาดาลุ ก ลามอย่ า ง ่ี าศัยอยูใ่ นเมืองฟอร์ต แม็กเมอร์เรย์ รวดเร็ว ผูท ้ อ รวมจ�านวนไม่ต่�ากว่า 100,000 คน ต้องเร่ง อพยพออกจากเมือง เพราะไฟป่าได้เผาท�าลาย บ้านเรือน ปั๊ มน�้ามัน และโรงแรม เป็นการอพยพ ประชาชนครัง ุ ในรัฐแอลเบอร์ตา รวมทัง ้ ใหญ่สด ้ บริ ษั ท พลั ง งานหลายแห่ ง ในรั ฐ แอลเบอร์ ต า ซึ่ ง เป็ น เขตพื้ น ที่ ท่ี มี แ อ่ ง ทรายน�้ า มั น ได้ ปิ ด ท่ อ ส่งน�้ามันเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโศกนาฏกรรมจาก การระเบิดของเชื้อเพลิง แม้ว่าจะไม่มีรายงาน ที่มา : https://globalnews.ca, www.nasa.gov
ผู้เสียชีวิตจากไฟป่าโดยตรง แต่ความโกลาหล ระหว่างการอพยพท�าให้เกิดอุบต ั เิ หตุทางรถยนต์ จนมีผู้เสียชีวิต 2 คน 10
่ งพื้นทีช ่ ว อาสาสมัครดับเพลิงแต่ละคนทีล ่ ยเหลือมากกว่า 10 วัน จะได้รบ ั เงินตอบแทนประมาณ 4,200 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือประมาณ
วิกตอเรีย หรือที่เรียกกันว่า ‘Black Saturday’
จ� า นวนผู้ เ สี ย ชี วิ ต จากเหตุ ก ารณ์ ไ ฟป่า ครั้ ง เลวร้ า ยที่ สุ ด ที่ รั ฐ
4,200
125,000 บาท ส่วนมาตรการบรรเทาอื่นๆ ได้แก่ การจ่ายค่าชดเชย และการลาพักพิเศษส�าหรับอาสาสมัครดับเพลิง
camp FIre ‘แคมป์ ไฟร์เออร์’ (Camp Fire) คือชื่อเรียก ไ ฟ ป่ า ค รั้ ง รุ น แ ร ง ที่ สุ ด ใ น รั ฐ แ ค ลิ ฟ อ ร์ เ นี ย สหรั ฐ อเมริ ก า ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ใ หญ่ ก ว่ า นคร ซานฟรานซิ ส โกถึ ง 5 เท่ า ไฟเริ่ ม ต้ น เผาไหม้ ในพื้ น ที่ ป า่ ใกล้ เ คี ย งเมื อ งพาราไดส์ บริ เ วณ ทางตอนเหนือของรัฐแคลิฟอร์เนีย ก่อนจะลุกลาม เข้ า มาในเขตเมื อ ง จนทางการต้ อ งสั่ ง อพยพ ประชาชนอย่างเร่งด่วน เปลวเพลิงเผาท�าลาย ที่อยู่อาศัยไปไม่ต่�ากว่า 14,000 หลังคาเรือน รวมถึงอาคารอีก 2,400 หลัง มีจา� นวนผูเ้ สียชีวต ิ ่ ร่าชีวต ่ ด รวม 86 คน นับเป็นไฟป่าทีค ิ ผูค ้ นมากทีส ุ
ที่มา : www.washingtonpost.com, www.pbs.org
ในประวัติศาสตร์ของมลรัฐ
issue 626
20 JAN 2020
11
173
california, uSa — 8-25 november 2018
41.9
ระดับอุณหภูมิใ นเดือ นธันวาคมของออสเตรเลีย
ปี 2019 ซึ่งพุ ่งสูงสุดเป็นประวัติการณ์
50,000,000
ประมาณการว่าเศรษฐกิจของซิดนีย์จะสูญเสียมากถึง 50 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย (34,585,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ) ในแต่ละวันที่เมืองถูกปกคลุม
ไปด้วยหมอกควันพิษที่ถูกพัดมาจากไฟป่า
amazOn raInFOreSt FIre Brazil, Bolivia, peru, and paraguay — January - October 2019 ความหละหลวมของการบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายเพื่ อ คุม ้ ครองทรัพยากรธรรมชาติ ท�าให้เกิดการลักลอบ บุกรุกป่าแอมะซอนเพื่อท�าการเกษตร เป็ นชนวน ที่ น� า ไปสู่ ก ารสู ญ เสี ย พื้ น ที่ ป า่ ดิ บ ชื้ น ที่ มี ข นาด ใหญ่ ที่ สุ ด ในโลกซึ่ ง คอยท� า หน้ า ที่ ดู ด ซั บ ก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ได้มากถึงปีละ 2,000 ล้านตัน ภาพถ่ายดาวเทียมของสถาบันวิจัยด้านอวกาศ แห่ ง ชาติ บ ราซิ ล (INPE) ยั ง ตรวจพบไฟป่า มากกว่า 73,000 จุด เหตุการณ์ไฟป่าครั้งนี้ ที่มา : www.express.co.uk, www.bbc.com
จึ ง ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ค รั้ ง ใ ห ญ่ ต่ อ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ในป่าแอมะซอน พืชและสัตว์ราว 3 ล้านสายพันธุ์ ตกอยู่ในความเสี่ยงที่จะสูญพันธุ์ได้ทุกวินาที 12
นิวเซาท์เวลส์และรัฐวิกตอเรีย ทางภาคตะวันออก เฉียงใต้ของประเทศกลายเป็ นทะเลเพลิงไปแล้ว ่ ักอาศัยเสียหายมากกว่า ไม่ต่า� กว่า 30 ล้านไร่ ทีพ 1,300 หลัง มีผู้เสียชีวิตแล้วอย่างน้อย 24 ราย มหาวิ ท ยาลั ย ซิ ด นี ย์ ค าดการณ์ ว่ า สั ต ว์ ป า่ ราว 480 ล้านตัว ถูกไฟป่าคลอกตาย สูญเสียประชากร โคอาลาไป 30% แม้วา่ จะได้รบ ั ความช่วยเหลือจาก นานาประเทศ แต่ ส ถานการณ์ ก็ ยั ง เลวร้ า ยลง ่ งเกินกว่าจะควบคุมเพลิงได้ เป็นไฟป่า อย่างต่อเนือ ที่รุนแรงที่สุดในรอบหลายทศวรรษ
issue 626
20 JAN 2020
ที่มา : https://phys.org, www.insider.com
13
5,500,000
วิ ก ฤตและน่ า เป็ น ห่ ว ง โดยเฉพาะพื้ น ที่ ข องรั ฐ
400,000,000
ตอนนี้ ส ถานการณ์ ไ ฟป่า ในออสเตรเลี ย ยั ง คง
ควันที่เกิดจากไฟป่าปลิวปกคลุมเป็นวงกว้างกว่า 5.5 ล้านตารางกิโลเมตร ซึ่งกว้างกว่าครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปที่มีขนาดเพียง
10 ล้านตารางกิโลเมตร
South-east australia — June 2019 - Ongoing
แคมเปญออนไลน์ช่วยเหลือทีมนักดับเพลิงในรัฐนิวเซาท์เวลส์สามารถ
ระดมทุนได้มากกว่า 400 ล้านบาท ในระยะเวลาเพียง 4 ชั่วโมง
auStralIan BuShFIreS
the WOrld IS lIterally On FIre เปลวไฟป่าในน�้ามือนักการเมือง
11
สภาพอากาศในเมื อ งซิ ด นี ย์ เ ดื อ นธั น วาคม 2019
ทะลุขีดที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพมนุษย์ถึง 11 เท่าตัว
ความร้อนระอุตง ั้ แต่ 7 โมงเช้าในฤดูหนาว กับฝุน ่ PM 2.5 ที่ปกคลุมหนาแน่นเต็มพื้นที่ กทม. เป็นสัญญาณใกล้ตัวที่ก�าลังบอกกับ เราว่า ‘โลกไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป’ วิกฤต ไฟป่าที่ปะทุข้ึนทั่วทุกมุมโลกตลอดปี 2019 ต่ อ เนื่ อ งมาถึ ง ปี 2020 แม้ จ ะมี ส าเหตุ การเกิดไฟป่าแตกต่างกันออกไปแต่ละพื้ นที่ ่ เป็นผลเชือ ่ มโยง แต่กป ็ ฏิเสธไม่ได้วา่ ส่วนหนึง มาจากการเปลี่ ย นสภาพภู มิ อ ากาศโลก อันเกิดจาก ‘ภาวะโลกร้อน’ ในปัจ จุ บั น โลกร้ อ นขึ้ น แล้ ว ราว 1.1 องศาเซลเซียส และรายงานการปล่อยมลพิษ ล่าสุดจากองค์การสหประชาชาติ (UN) ยังระบุ ว่า ก่อนจะถึงศตวรรษที่ 22 อุณหภูมิโลก อาจเพิ่มสูงขึ้น 3.9 องศาเซลเซียส
6.7
ไฟป่าสามารถลุกลามได้อย่างรวดเร็วถึงประมาณ 6.7 ไมล์
ต่อชั่วโมง หรือประมาณ 10.7 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
แน่นอน หากอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้นด้วย อัตรานี้ ย่อมส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสิ่ ง มี ชี วิ ต ในระบบนิ เ วศ โดยเฉพาะ ปรากฏการณ์สภาพอากาศสุดขัว ั ิ ้ และภัยพิบต ทางธรรมชาติที่จะทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ ง คณะกรรมการระหว่ า งประเทศว่ า ด้ ว ย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) มองว่ า มี ค วามเป็ น ไปได้ อ ย่ า งมากที่ โ ลกจะ เปลี่ยนไปอย่างกู่ไม่กลับหากเราไม่สามารถ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้อย่างน้อย ครึ่งหนึ่งภายใน ค.ศ. 2030 แต่ขณะที่โลก ก� า ลั ง เดิ น เข้ า สู่ ยุ ค ดิ ส โทเปี ย ด้ ว ยความเร็ ว ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จนน่ า เป็ น ห่ ว ง ผู้ น� า บางประเทศ กลับไม่ได้ตระหนักถึงปัญหานี้ และเลือกที่จะ รั ก ษาผลประโยชน์ ท างเศรษฐกิ จ ไว้ แ ทน การเยียวยาภาวะโลกร้อน
20
่ า่ ไปแล้วถึง 20% นับตัง ด้านตะวันตกเฉียงใต้ของออสเตรเลียเสียพื้นทีป ้ แต่ปี 1970
เป็นต้นมา ซึ่งเป็นสาเหตุของภัยแล้ง และท�าให้เกิดไฟป่าลามทุ่งทั่วประเทศ
่ี า่ นมา โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดี ในปีทผ สหรัฐอเมริกา เริม ่ กระบวนการถอนตัวออกจาก ข้อตกลงปารีสว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมอ ิ ากาศอย่างเป็นทางการ ท�าให้สหรัฐฯ เป็ นเพียงประเทศเดียวในโลกที่ไม่ได้เข้าร่วม ข้อตกลงนี้ ทรัมป์มองว่าข้อก�าหนดในการรักษา ระดั บ อุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย โลกให้ สู ง ขึ้ น ไม่ เ กิ น 2 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับอุณหภูมิโลก ในยุคก่อนปฏิวต ั อ ิ ต ุ สาหกรรม พร้อมพยายาม ่ ะไม่ให้อณ ทีจ ุ หภูมส ิ ง ู เกิน 1.5 องศาเซลเซียส ตามข้ อ ตกลงปารี ส เป็ นสิ่ ง ที่ ย ากเกิ น ไป เขาไม่ ต้ อ งการเอาเศรษฐกิ จ ของสหรั ฐ ฯ มาเสี่ ย งกั บ การแก้ ไ ขปัญ หาภาวะโลกร้ อ น ที่อาจส่งผลกระทบด้วย และในการประชุม ่ น G20 ครัง ุ่ ้ ที่ 14 ทีเ่ มืองโอซากา ประเทศญีป ทรั ม ป์ต อกย�้ า อุ ด มการณ์ น้ี ด้ ว ยการชั ก จู ง ซาอุดอ ี าระเบีย บราซิล ออสเตรเลีย และตุรกี
ม า ร่ ว ม กั น คั ด ค้ า น ข้ อ บั ง คั บ จ า ก ข้อตกลงปารีส นอกจากนี้ กรณีไฟป่าในแอมะซอน ที่บราซิลอันมีสาเหตุมาจากการบุกรุก พื้นที่ปา่ เพื่อท�ากิน ก็เป็นผลพวงมาจาก รั ฐ บาลของประธานาธิ บ ดี ฌาอี ร์ โบลโซนารู สนั บ สนุ น ให้ ภ าคเอกชน สามารถใช้ทรัพยากรในเขตป่าแอมะซอน ได้ อ ย่ า งเสรี ทั้ ง ยั ง ปล่ อ ยปละละเลย การถางป่าอย่างผิดกฎหมาย พร้อมตัด งบประมาณด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติ ลงไปกว่ า 23 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ เ พื่ อ น� า ง บ ป ร ะ ม า ณ นี้ ไ ป ใ ช้ พั ฒ น า การคมนาคมและเขื่อนผลิตไฟฟ้าในเขต ป่าแอมะซอนแทน ่ อสเตรเลียเอง เหตุการณ์ไฟป่าทีอ ก็ ถู ก โยงเข้ า กั บ นโยบายของรั ฐ บาล ่ งจากนายกรัฐมนตรี สกอต เช่นกัน เนือ มอริสัน มุ่งผลักดันให้ออสเตรเลียเป็น แชมป์ก ารผลิ ต และส่ ง ออกถ่ า นหิ น ใน ตลาดโลก สวนทางข้อตกลงปารีสที่ ออสเตรเลียตั้งเป้าจะลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกลงให้ได้ร้อยละ 26-28% ภายในปี 2030 โดยนักสิ่งแวดล้อม มองว่าจ�านวนนัน ้ ไม่มากพอส�าหรับประเทศ พัฒนาแล้วเช่นออสเตรเลีย และเมื่อสื่อ ถามมอริ สั น ว่ า จะมี ก ารปรั บ นโยบาย เพื่อต่อสู้กับโลกร้อนที่ควรจะเข้มข้นขึ้น ่ ะด�าเนินการตาม หรือไม่ เขายังยืนยันทีจ นโยบายเดิมทุกประการ พร้อมกล่าวว่า
เหตุ ก ารณ์ ไ ฟป่า ไม่ ค วรจะน� า มาโยงกั บ นโยบายผลิตและส่งออกถ่านหิน เนื่องจาก มี ส ถิ ติ ยื น ยั น ชั ด เจนว่ า สั ด ส่ ว นการปล่ อ ย ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ข องประเทศใน ปัจจุบันอยู่ท่ี 1.3% เท่านัน ้ อย่ า งไรก็ ต าม การที่ โ ลกร้ อ นขึ้ น ไม่ ส ามารถกล่ า วโทษได้ ว่ า เป็ น ผลมาจาก ประเทศใดประเทศหนึ่ง เพราะทุกประเทศ ต่ า งล้ ว นมี ส่ ว นร่ ว มในการสร้ า งปัญ หานี้ แต่ทางออกที่พอจะท�าให้โลกที่ร้อนกลับมา เ ย็ น ขึ้ น ไ ด้ อี ก ค รั้ ง ห รื อ พ อ จ ะ บ ร ร เ ท า สถานการณ์ได้ นานาชาติต้องร่วมมือกัน ่ ด ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้มากทีส ุ ตามข้ อ ตกลงปารี ส เพราะขณะนี้ แ ม้ จ ะ ยึ ด ป ฏิ บั ติ ต า ม ข้ อ ต ก ล ง ดั ง ก ล่ า ว แต่ อ งค์ ก ารอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาโลก (WMO) มองว่ า สภาพภู มิ อ ากาศโลกในปั จ จุ บั น เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง เ ร็ ว ก ว่ า ที่ ค า ด ก า ร ณ์ ไ ว้ แผนการที่วางไว้อาจใช้ไม่ได้ผล
วิธีการอพยพ ่ งจากในขณะนีไ้ ฟป่าออสเตรเลียได้รบ ่ ักอาศัยไม่สามารถต้านทาน และยังไม่สามารถ ทางด้านประชาชนต้องอพยพออกจากพื้นทีใ่ นทันที เนือ ั การพิจารณาให้อยูใ่ นระดับวิกฤต ทีพ เป็นพื้นที่ก�าบังให้แก่ประชาชนได้อีกต่อไป ส�าหรับผู้ท่ีอพยพออกจากพื้นที่ อันดับแรก ให้ท�าตามค�าแนะน�าของเจ้าหน้าที่ในการอพยพอย่างเคร่งครัด แต่หากอยู่เพียงล�าพัง 14
FIght tO FIre
วิธีการดับไฟป่า
WhOle WIde WOrld In tearS ผลกระทบจากไฟป่า
ควบคุ ม ไฟป่า ด้ ว ยการเผาหญ้ า ส่ ว นเล็ ก ๆ
และลุ ก ลามไปจนถึ ง ด้ า นเศรษฐกิ จ ของ
เป็ นจุดๆ เพื่ อจ�ากัดการลุกลามของไฟป่า ในช่วงเดือนที่ปา่ แห้งแล้ง แต่ทว่าหลังจาก ที่ ช า ว ยุ โ ร ป ไ ด้ อ พ ย พ เ ข้ า ม า อ า ศั ย ใ น ออสเตรเลีย ชาวอะบอริจน ิ ก็นอ ้ ยลง วิธก ี าร
ออสเตรเลี ย ที่ ซ บเซาลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ งมา ตั้ ง แต่ ต้ น ปี 2019 เนื่ อ งจากประชาชน ในประเทศได้ ส� า รองเงิ น เพื่ อ ใช้ จ่ า ยไปกั บ การกักตุนเครื่องอุปโภคบริโภค เพื่อเตรียม
ดูแลผืนป่าด้วยไฟของพวกเขาก็ได้เลือนหาย
พร้อมอพยพในกรณีที่หากไฟลามมาในเขต
ไปด้วยเช่นกัน เมื่อออสเตรเลียเผชิญหน้า
เมือง รวมทั้งจ่ายเงินไปกับด้านการสุขภาพ
กับไฟป่าครั้งใหญ่ท่ีสุด และถึงแม้ว่ารัฐบาล
ก ว่ า 2 5 ล้ า น ด อ ล ล า ร์ อ อ ส เ ต ร เ ลี ย
จะมีมาตรการระดมนักดับเพลิงหลายพันนาย
รวมมู ล ค่ า ที่ จ ะสู ญ เสี ย ไปราว 50 ล้ า น
ร่วมกับอาสาสมัครดับเพลิงอีกจ�านวนไม่นอ ้ ย ้ เข้าควบคุมสถานการณ์ด้วยการใช้น�าดับไฟ
ดอลลาร์ออสเตรเลียต่อวัน ทางด้ า นชาวออสเตรเลี ย ก็ มี ก าร-
พร้ อ มสร้ า งแนวกั น ไฟโดยการก� า จั ด วั ส ดุ
เคลื่ อ นไหวหลั ง จากได้ รั บ ผลกระทบอย่ า ง
เชื้อเพลิงต่างๆ ที่อาจจะส่งผลให้ไฟลุกลาม รวมไปถึ ง การใช้ เ ฮลิ ค อปเตอร์ บ รรทุ ก น�้ า
หนั ก โดยออกมาโจมตี ม าตรการป้อ งกั น
เข้ า ควบคุ ม ไฟป่า หรื อ แม้ ก ระทั่ ง พั ฒ นา
การเผาไหม้ เ พื่ อ ลดอั น ตราย (Hazard Reduction) ที่ รั ฐ บาลออสเตรเลี ย ได้
โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ เ ข้ า มาช่ ว ยในการ-
ประกาศใช้หลังจากเหตุการณ์ไฟป่าครัง ้ ใหญ่
วางแผนในการชิ ง เผาไฟก่ อ น แต่ ก็ ยั ง
ในปี 2009 โดยมีคา� สัง ่ ให้กระจายการปลูก
ไ ม่ ส า ม า ร ถ ค ว บ คุ ม ส ถ า น ก า ร ณ์ ไ ฟ ป่ า ห รื อ ล ด ป ริ ม า ณ ข อ ง เ ป ล ว เ พ ลิ ง ล ง ไ ด้ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นพฤติ ก รรมไฟป่า วิ เ คราะห์ สถานการณ์ ณ ขณะนี้ไว้ว่า วิธีดับไฟป่า ที่ดีท่ีสุดในตอนนี้คือสายฝนตกชุกและหนัก รวมไปถึ ง การสลายตั ว ของกระแสลม ในออสเตรเลียตามธรรมชาติ
ต้ น ไ ม้ เ พื่ อ ล ด พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว ข น า ด ใ ห ญ่ ในประเทศ จนเป็ นหนึ่งในปัจจัยที่ท�าให้เกิด ไฟป่าครั้งใหญ่น้ใี นที่สุด ท้ า ยสุ ด แล้ ว ควั น ไฟและเปลวเพลิ ง ที่ ลุ ก ล า ม พื้ น ที่ ป่า ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ โ ล ก สีน้�าเงินที่เวลานี้ได้เปลี่ยนเป็ นสีแดงอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะควันจากเปลวไฟได้
306,000,000
ออสเตรเลีย หรือชาวอะบอริจิน จะมีวิธีการ
ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาสูช ่ น ้ั บรรยากาศจากเหตุการณ์ไฟไหม้
ไฟป่าในครั้งนี้ไม่ได้เผาผลาญเฉพาะ พืชพรรณและสัตว์ป ่าเท่านัน ั ท�าลายล้าง ้ แต่ยง
เทียบเท่ากับครึ่งหนึ่งของการปล่อยคาร์บอนตลอดทั้งปี 2018 ของออสเตรเลีย
ใ น อ ดี ต ช น พื้ น เ มื อ ง ดั้ ง เ ดิ ม ข อ ง
เดินทางไปไกลกว่า 1,200 ไมล์ กระจายไป
พืชพรรณและสัตว์ครัง ้ ใหญ่ของโลกอีกด้วย
issue 626
20 JAN 2020
15
80
่ งจากมีความเป็นไปได้วา่ เส้นทางดังกล่าวยังไม่ได้รบ โดยไม่มเี จ้าหน้าที่ ให้ตง ั ผลกระทบจากไฟป่า โดยระหว่างการหลบหนี ้ั สติและพยายามหลบหนีออกมาในเส้นทางทีเ่ ข้าไป เนือ หากมีผ้าและน�้าเปล่าติดตัว ให้เอาผ้ามาชุบน�้าหมาดและปิ ดจมูก เพื่อป้องกันการส�าลักควัน
400
ที่สามารถเกิดขึ้นได้อีกในอนาคต รวมทั้ง มี แ นวโน้ ม ที่ เ กิ ด เหตุ ก ารณ์ สู ญ พั น ธุ์ ข อง
กว่า 80 จุดของไฟป่าในออสเตรเลียมีขนาด
เติ บ โตอยู่ ใ ต้ ดิ น แทน เพื่ อ รั บ มื อ กั บ ไฟป่า
เกิดฝุน ่ ละออง PM 2.5 โดยวัดค่าระดับสูงสุดได้ถง ึ 400 ไมโครกรัม
การสร้างเปลือกที่หนา หรือมีล�าต้นเจริญ
ใหญ่กว่าไฟป่าในรัฐแคลิฟอร์เนียปี 2019
20-30% และที่ ส� า คั ญ อาจเกิ ด การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ เช่น ต้นไม้จะมี
ต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งอยู่ในระดับที่เป็นอันตรายอย่างมาก
ยังส่วนต่างๆ ทางตอนใต้ของทวีป และอาจ เป็ นสาเหตุท�าให้ธารน�้าแข็งละลายได้สูงถึง
IntervIeW ดร. สรณรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์
vOIceS FrOm auStralIa
“ผมกังวลใจกับเหตุการณ์ไฟป่ามาก แม้ว่าผมจะไม่ได้มีญาติท่ีอาศัยอยู่ในพื้ นที่ประสบภัยก็ตาม แต่ลูกชายของผมอยู่ท่ีกิปส์แลนด์ (Gippsland) ซึ่งอยู่ใกล้กับพื้ นที่ประสบภัย ตอนนี้เขาปลอดภัยดี ทุกชีวิตในพื้นที่ตรงนั้นต้อง
ได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน ผมติดตามข่าวสารอย่างใกล้ชิดจากสื่อทุกช่องทาง และบริจาคเงินจ�านวนหนึ่งให้องค์กรการกุศลเพื่อน�าไปช่วยเหลือทั้งคนและสัตว์ท่ป ี ระสบภัยพิบัติ แม้ว่าผมจะอยู่ในเมืองใหญ่ แต่ก็ได้รับผลกระทบ จากหมอกควันของไฟป่าที่ลมพัดมา ผมเชื่อว่าคนเมืองเตรียมพร้อมรับมือเหตุการณ์น้ี หลายคนส�ารองอาหาร น�้า ยา หรือสิง ่ จ�าเป็นต่อการด�ารงชีพ และพร้อมอพยพทันทีหากไฟป่าลุกลามมาถึงเขตเมือง เพราะประมาณ 10 ปี ก่อน เคยเกิดไฟป่าใกล้กับเขตเมือง มีคนเสียชีวิตจ�านวนมาก ไฟป่าคือบทเรียนที่เตือนพวกเราอย่างชัดเจนแล้วว่าโลกก�าลังจะเปลี่ยนไปในจุดที่ไม่อาจหวนคืนได้อีก”
George Sloan
อดีตนายธนาคารที่ใช้ชีวิตหลังเกษียณ ด้วยการเป็นอาจารย์พิเศษด้านธุรกิจและการบริหาร
ห ม ด เ ว ล า ถ ก เ ถี ย ง เ ลิ ก ตั้ ง ค ว า ม ห วั ง บนโลกที่อาจกู่ไม่กลับ a day BULLETIN สนทนากับ ดอกเตอร์ สรณรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์ ประธานกรรมการมู ล นิ ธิ โ ลกสี เ ขี ย ว ถึ ง ประเด็ น ปัญ หาเกี่ ย วกั บ ไฟป่า ใน ออสเตรเลีย ด้วยทราบว่าวิทยานิพนธ์ ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า เ อ ก ข อ ง เ ธ อ คื อ การศึ ก ษาเรื่ อ งไฟของป่า ในพื้ นที่ อุทยานแห่งชาติห้วยขาแข้ง การสนทนาเริ่มต้นขึ้นด้วยเรื่อง ของไฟป่า ที่ ก� า ลั ง ลุ ก ลามครอบคลุ ม ้ ทีร่ าว 6 หมืน ่ ตารางกิโลเมตร นับเป็น พืน สั ด ส่ ว นอั น น้ อ ยนิ ด จากโลกที่ มี พ้ื น ที่ ทัง ้ หมดราว 510 ล้านตารางกิโลเมตร ่ มประสาน แต่ถา้ เราตระหนักถึงความเชือ โยงใยของสรรพสิง ่ ในโลก เราจะมอง เห็นว่าโลกทั้งใบก�าลังตกอยู่ในวิกฤต และเข้าใจว่าเพราะอะไรการบริโภคอัน ่ ก ล้นเกินหรือความสะดวกสบายทีม ั ง่าย ข อ ง เ ร า ถึ ง ยิ่ ง โ ห ม ไ ฟ ใ น ผื น ป่ า ้ ออสเตรเลียให้ปะทุรน ุ แรงมากขึน “เรารู้ แ ล้ ว ว่ า เราหยุ ด โลกร้ อ น ไม่ ไ ด้ เพราะมั น ได้ ขั บ เคลื่อ นตั ว เอง ไปถึ ง ขั้ น ที่ เ ราไม่ ส ามารถจะหยุ ด ยั้ ง ได้แล้ว สิ่งที่ท�าได้ดีที่สุดคือพยายาม หากระบวนการในการบรรเทาลงมา หรือหยุดยัง ั ไม่หายนะไปมากกว่า ้ ให้มน ้ ่ นี จนถึงขัน ่ ต่อไปอาศัยในโลกนี้ ้ ทีคนรุน ไม่ได้แล้ว เราคิดว่าจุดนี้ยังพอหยุดได้ ดังนั้น ก็ต้องเต็มที่”
ไฟป่าออสเตรเลียเป็นเหตุการณ์ทางธรรมชาติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น ประจ� า ทุ ก ปี แต่ ปี น้ี ดู จ ะรุ น แรง ่ ด เลวร้าย และผิดปกติมากทีส ุ มันเป็นเพราะอะไร ถ้าจะให้พูดเรือ ่ งนี้คงต้องย้อนกลับไปถึง เรื่อ งพื้ น ฐานอย่ า ง ‘สามเหลี่ ย มไฟ’ หรือ 3 องค์ประกอบทีท ่ า� ให้เกิดไฟป่า ได้แก่ ออกซิเจน เชือ ้ เพลิง และความร้อน เพราะป่าในออสเตรเลีย เป็นพืน ้ ทีท ่ ม ี่ เี ชือ ้ เพลิงอย่างเช่นหญ้า ใบไม้แห้ง และยู คาลิ ปตั ส ซึ่งเป็นต้ นไม้ที่มีน�ามัน ท�าให้ ติดไฟได้งา่ ย ดังนัน ้ งึ เป็นระบบนิเวศ ้ ผืนป่าแห่งนีจ ที่ มี ไฟเข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการก� า กั บ และ ขับเคลื่ อน มีต้นไม้หลายต่ อหลายชนิ ดที่ต้อง พึ่งพาไฟ เช่น แบงก์ เซีย (Banksia) ซึ่งเป็น พืชพันธุท ์ อ ้ งถิ่นของออสเตรเลีย มีลักษณะเป็น ฝักๆ โดยเมล็ดของมันที่ฝังอยู่ในฝักต้องใช้ไฟ ในการท�าให้เปิดออกเพือ ่ ทีจ ่ ะขยายพันธุต ์ อ ่ ไป ถามว่ า ปกติ แ ล้ ว ไฟในป่ า มาจากไหน หนึ่ ง—มาจากการจุดโดยมนุ ษย์ เช่น ชนเผ่า อะบอริจินทีจ ่ ะรูจ ้ ักการใช้ไฟเป็นอย่างดีอยูแ ่ ล้ว ในช่วงต้นฤดูรอ ้ นเขามักจะเผาป่าเป็นหย่อมๆ เพือ ่ สร้างความหลากหลายทางชีวภาพ แต่โดยปกติ เขาจะไม่เผากันในช่วงทีม ่ อ ี ากาศร้อนจัด สอง— เกิดจากสภาพอากาศในธรรมชาติ ซึ่งพื้นที่ป่า ในออสเตรเลี ย เป็ น พื้ น ที่ ที่ มี ฟ้ า ผ่ า แห้ ง (Dry Lightning) หรือฟ้าผ่าทีเ่ กิดขึน ้ ในขณะทีไ่ ม่มฝ ี น ตก อันเป็นสาเหตุสา� คัญทีท ่ า� ให้เกิดไฟป่าเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ถึงตอนนีเ้ ราเองยังก็ไม่รว ู ้ า่ สาเหตุของไฟป่าเกิดจากมนุษย์หรือเกิดขึน ้ โดย ธรรมชาติกน ั แน่ มากน้อยแค่ไหน แต่ประเด็นส�าคัญ ทีท ่ า � ให้ไฟป่าออสเตรเลียกลายเป็นปัญหาใหญ่ ระดั บ โลกก็ คื อ ไฟป่ า ยั ง คงลุ ก ลามไม่ ห ยุ ด แถมยังโหมต่ อไปเรือ ่ ยๆ โดยไม่รูว ้ ่าจะจบลง เมือ ่ ไหร่ ซึง่ สถานการณ์เช่นนีเ้ ป็นสิง่ ทีห ่ น่วยงาน ทีด ่ แ ู ลเรือ ่ งไฟป่าได้ทก ั ท้วงล่วงหน้าไว้นานแล้ว พวกเขาเคยคาดการณ์ไว้วา่ อาจจะเกิดไฟป่าทีม ่ ี ลั ก ษณะรุ น แรงและลุ ก ลามไปไกลอย่ า งเช่ น
ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในตอนนี้ เ ลย เพราะสภาพอากาศ แห้งแล้งจัดและยังมีแนวโน้มว่าจะอากาศจะยิง่ ร้อ นขึ้ น เรื่อ ยๆ ดั ง นั้ น ถ้ า เรากลั บ มาที่ เรื่อ ง สามเหลี่ ยมไฟที่พูดไปในตอนแรก เท่ากั บว่า ณ ขณะนี้ พ้ื น ที่ บ ริเวณผื น ป่ า ออสเตรเลี ย มี อุณหภูมเิ ฉลี่ยทีส ่ ง ู ขึน ้ กว่าทุกๆ ปี ดังนั้น เพียงมี ออกซิเจนกับเชือ ้ เพลิงทีเ่ หมาะเจาะ ระดับความร้อน ทีเ่ พิม ้ ก็ยงิ่ ท�าให้ไฟป่าลุกลามและรุนแรง ่ มากขึน ทีส ่ ด ุ เท่าทีป ่ ระวัตศ ิ าสตร์เคยบันทึกมา และอย่าลืม ว่าสิง ้ ตอนนี้อาจจะยังไม่ใช่จด ุ พีกทีส ่ ด ุ ่ ทีเ่ กิดขึน ก็ได้ เพราะฤดูรอ ้ นยังไม่จบลง แปลว่าอาจจะมีวน ั ทีอ ่ ณ ุ หภูมย ิ ง่ิ สูงจนส่งผลให้ไฟยิง่ ปะทุกว่าทีเ่ ป็นอยู่ มนุษย์จะสามารถหยุดไฟป่าครัง ้ นีไ้ ด้ไหม พอถึงจุดทีม ่ น ั ลุกลามไปไกลอย่างตอนนี้ มนุษย์เราอาจจะท�าได้แค่พยายามรักษาชีวิต และทรัพย์สินให้ได้มากที่สุดเพื่อรอให้อากาศ เย็นลงหรือรอให้เกิดฝนตามธรรมชาติเท่านั้น เพราะความรุนแรงของมันอยู่ในระดับเกินกว่า ทีม ่ นุษย์จะรับไหว อย่างไรก็ตาม เราจะเห็นความเป็นห่วงต่อชีวต ิ ของบรรดาสัตว์ในป่า ทีช ่ ว ่ งแรก เก็บสถิตไิ ด้วา่ มีสต ั ว์ทไี่ ด้รบ ั ผลกระทบจนเสียชีวต ิ ราว 500 ล้านตัว แต่ ณ วันทีเ่ รานัง่ คุยกันอยูน ่ ี้ สถิติก็พุ่งสูงไปจนถึงระดับพันล้านแล้ว นี่เป็น สัญญาณที่ท�าให้เราเห็นได้อย่างชัดเจนว่าโลก ก�าลังเข้าใกล้อต ั ราการเกิดการสูญพันธุค ์ รัง้ ใหญ่ (Mass Extinction) มากขึน ้ ทุกที จึงทวีความรุนแรง คือเกิดมากขึน ้ และเร็วขึน ้ และเราไม่อาจปฏิเสธ ได้เลยว่าเหตุการณ์นี้ไม่ได้เกี่ยวพันกับปัญหา โลกร้อน นั ก วิ ท ยาศาสตร์พ ยายามเตื อ นกั น มา หลายสิบปีแล้วว่าโลกจะเกิดความเสียหายเช่นนี้ ขึน ้ แต่มนุษย์เราอาจยังไม่ได้จน ิ ตนาการไปถึงจึง ไม่ใส่ใจ ในทีส ่ ด ุ หายนะก็ได้เกิดขึน ้ อย่างไรก็ตาม สิง่ ทีแ ่ ย่ยงิ่ กว่าคือ กระทัง่ ป่านนีย ้ งั มีคนพยายาม ปฏิเสธว่าไฟป่าในออสเตรเลียไม่มส ี ว ่ นเกีย ่ วข้อง 16
กับเรือ ่ งวิกฤตทางสิ่งแวดล้อม บอกว่ามันเป็น เพียงอุบต ั เิ หตุทแ ี่ ปลกพิสดาร (Freak Accident) หรือบางคนแค่รส ู้ ก ึ ว่า ‘ปีนเี้ ราซวยจังเลย’ เท่านัน ้ เอง
vOIceS FrOm auStralIa
17
“เราและครอบครัวอาศัยอยู่ที่เมืองซิดนีย์ก็จริง แต่หากเราออกนอกบ้านจะแสบตา จมูก และน�้ามูกไหลโดยไม่รู้ตัว คนที่ต้องออกไปท�างานจะต้องซื้อหน้ากากมาใส่ ส่วนเราก�าลังท้องแก่อยู่ ก็จะหลีกเลี่ยงการออกจากบ้านให้มากสุด
20 JAN 2020
การพยายามผลักดันเรื่องสิ่งแวดล้อมมาเป็น ระยะเวลาหลายสิ บ ปี โดยที่ ไ ม่ ค่ อ ยได้ รั บ ้ ม ่ ด ความร่วมมือจากคนรุน ่ เบบีบ ู เมอร์ จนในทีส ุ
่ งปรับอากาศและเครือ ่ งฟอกอากาศอยูแ ่ มพัดแรงหอบเอาควันและฝุน ปิดประตูหน้าต่างทุกบาน เปิดเครือ ่ ต่ในบ้าน เพราะบางวัน แค่เราเปิดประตูบา้ นก็ได้กลิน ่ จากไฟป่าเข้ามาในเมือง ทัว ่ ท้องฟ้าจะกลายเป็น ่ ควันไฟชัดเจน อีกอย่าง วันทีล
issue 626
แต่เราเหลือเวลาอีกแค่สบ ิ ปีเท่านัน ้ เราไม่มีเวลาแล้ว เพราะฉะนั้น จึงไม่น่า แปลกใจเลยที่คนรุ น ่ ใหม่หลายๆ คนจะจิตตก โกรธเกรีย ้ ว หรือเป็นเป็นซึมเศร้า ด้วยความรูส ้ ก ึ ว่าตัวเองไร้อา � นาจ ท�าอะไรไม่ได้ แถมยังจะต้อง เป็นคนคอยอยูร่ บ ั กรรมทีค ่ นรุน ่ ก่อนได้กอ ่ ไว้
ส่วนวันนี้ (7 มกราคม 2563) ฝนเริ่มตกลงมาแล้ว แต่ไม่รู้ว่าจะไปตกที่เกิดไฟป่าหรือเปล่า เราก็ได้แต่ภาวนาให้ไฟป่าดับลงไวๆ”
แล้วเราพอจะช่วยเหลืออะไรได้บา้ งไหม นอกจาก การส่งแรงใจและช่วยเหลือผ่านการบริจาค ที่สุดแล้วสิ่งที่เราพอจะท�าได้ในรู ปแบบ อื่นๆ ก็คือบรรเทาปัญหาการท�าลายธรรมชาติ อย่ า งที่บ อกว่าความเสี ย หายที่ เกิ ดกั บผื น ป่ า ออสเตรเลียมันมากกว่าแค่เรือ ่ งโลกร้อน เพราะ มันลุกลามจนน�าไปสูก ่ ารสูญพันธุค ์ รัง้ ใหญ่ (Mass Extinction) หรือการทีธ ่ รรมชาติถก ู ท�าลายไป ทัง้ หมด เราจึงต้องตืน ่ ตัว พยายามท�าความเข้าใจ สถานการณ์ทเ่ี กิดขึน ้ จริงจังกับการแก้ไขปัญหา สิง่ แวดล้อมและระบบนิเวศ ด้วยความเข้าใจว่า สรรพสิง่ ในโลกนีเ้ ชือ ่ มโยงและสลับซับซ้อน รวมถึง พึงสังวรณ์ไว้ดว ้ ยว่าการแก้ปญ ั หาไม่ใช่บอกว่า แค่เลิกใช้ถงุ พลาสติกแล้วจบ เพราะการเลิกใช้ พลาสติกไม่ได้จบแค่ในตัวเอง แต่เราต้องจัดการ ในระดับโครงสร้าง ทัง้ ระบบการใช้วส ั ดุ รวมถึง การจัดการกับระบบขยะของเราด้วย อย่าเอาแต่
แปลว่าเราอาจต้องยอมเสียสละความสะดวกสบายทีเ่ คยมี มันคือการปรับตัว มันจะไม่ใช่ความสะดวกสบายแบบมักง่าย แต่สุดท้ายเราเองไม่อยาก จะโยนปัญหาไปทีร่ ะดับปัจเจก แต่อยากจะชวน ให้มองไปทีร่ ะบบมากกว่า เราพูดถึงปัจเจกกัน มายาวนานมากแล้วและมันมีปัจเจกเยอะแยะ ที่พยายามท�าอยู่ แต่ พอท�าแล้ วก็ ต้องเจอกั บ ปัญหาอย่างทีค ่ ณ ุ บอกมาว่าระบบมันไม่เอือ ้ ทีนี้ มันถึงเวลาแล้วหรือยังที่จะเปลี่ยนแปลงในเชิง ระบบ อย่ามัวแต่พด ู ถึงเรือ ่ งการสร้างจิตส�านึก ให้เด็ก เพราะการพูดแบบนี้มน ั อาจจะเวิรก ์ เมือ ่ สามสิบปีกอ ่ น แต่ ณ วันนีม ้ น ั เป็นปัญหาในระดับ โครงสร้าง ดังนัน ่ นแปลงแก้ไข ้ ระบบต้องเปลีย และต้องเซตอัพใหม่
สีส้ม จากปกติก่อนที่จะเกิดไฟป่า ท้องฟ้าที่น่ีสีฟา้ สวยมาก แต่หลายเดือนมานี้ ท้องฟ้าที่ออสเตรเลียกลายเป็นสีหม่นๆ ชวนหดหู่อย่างบอกไม่ถูก แต่เท่าที่เราได้ยินข่าวจากคนที่อยู่ในเมืองลิธโกว์ (Lithgow) มีบางจุดที่ไฟเพิ่งดับ
เห็นอยู่ในตอนนี้ ทั้งเปลวไฟที่ก�าลังเผาทุกสิ่ง ทุกอย่างให้วอดวาย สัตว์ปา่ ทีก ่ า� ลังวิง่ หนีและต้อง ตกเป็นเหยือ ่ ของไฟ บ้านทีไ่ ฟไหม้เป็นพันๆ หลัง ฯลฯ คือหายนะทีเ่ กิดขึน ้ บนบกเท่านัน ้ ซึง่ พอฝนมา ไฟดับ สิง่ ทีเ่ กิดขึน ้ ต่อไปคือ ฝนจะชะเถ้าถ่านทีอ ่ ยู่ บนบกลงแม่นา � และถึงแม้จะบอกว่าไฟป่าท�าให้ เกิดปุย ๋ ได้ แต่ถา ้ เกิดในน�ามีปย ุ๋ ในปริมาณทีม ่ าก เกินไปก็ย่อมเป็นโทษมากกว่าใช่ไหมล่ะ นี่คือ ความเสี ย หายที่ จ ะส่ ง ผลกั น ไปแบบโดมิ โน แม้แต่ตว ั เราเองตอนนีย ้ งั ไม่อยากจะจินตนาการ ถึงความเสียหายในล�าดับต่อๆ ไปเลย
่ อสเตรเลียไม่ใช่เรือ ่ ง ดังนัน ้ อย่าอ้างว่าไฟป่าทีอ ้ ที่ ของฉัน เพราะฉันอยูเ่ มืองไทย ฉันจะอยูใ่ นพืน อันสุขสบายของฉันและจะบริโภคล้นเกินต่อไป ถ้าเราเชือ ่ มโยงตัวเองเข้ากับโลก ปัญหา การเปลีย ่ นแปลงของสิง่ แวดล้อมและภูมอ ิ ากาศ ก็ยอ ่ มเกีย ่ วข้องกับเราทุกคน และเราล้วนมีสว ่ น ในการสร้างปัญหานีด ้ ว้ ยกันทัง้ หมด จากการบริโภค อันล้นเกินของเรา เพราะสังคมประกอบด้วย หน่วยย่อยต่างๆ มากมาย ซึง่ พอเอามารวมกัน แล้วผลกระทบมันใหญ่หลวง นี่คือความยาก ของการแก้ปญ ั หาสิง่ แวดล้อม แต่ก็ยงั อยากจะย�าว่าเราสร้างส�านึกของ ปัจเจกมาเยอะมากแล้ ว จึ งอยากจะเน้ นไปที่ ‘อภิ ปั จ เจก’ อย่ า งพวกคนที่ อ ยู่ ในระดั บ ท็ อ ป 1 เปอร์เซ็ น ต์ ข องโครงสร้า งเศรษฐกิ จ หรือ อภิมหาเศรษฐีทง้ั หลาย เขาได้สม ั ปทานพืน ้ ทีไ่ ป มากมายเพือ ่ ท�าธุรกิจ ในขณะเดียวกันเขาก็อาจจะ ท�าธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ทโี่ ฆษณาให้เห็นว่าเป็น พืน ้ ทีท ่ ไี่ ด้อยูก ่ บ ั ธรรมชาติ เพราะฉะนัน ้ เขารูว้ า่ ธรรมชาติมน ั ส�าคัญต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต และความคิดสร้างสรรค์ แน่นอนว่าตัวเขาเอง ก็ อยากอยู่กับธรรมชาติ แต่ การท�าแบบนี้ มัน หมายความว่าจะมีแค่คนมีสตางค์อยูก ่ ลุม ่ เดียว หรือเพียง 1 เปอร์เซ็นต์บนยอดพีระมิดเท่านั้น ทีจ ่ ะได้อภิสท ิ ธิใ์ นการอยูใ่ นพืน ้ ทีท ่ ม ี่ ธ ี รรมชาติ เช่ น เดี ย วกั บ ขณะที่ อ อสเตรเลี ย ก� า ลั ง เกิ ดไฟป่า แต่ นายกฯ ออสเตรเลี ยที่อุดหนุ น อุ ตสาหกรรมถ่ านหินกลั บเดิ นทางไปพักร้อน ทีฮ ่ าวายได้โดยไม่เดือดร้อนอะไรเลย แต่คนที่ ได้รบ ั ผลกระทบคือพวกคนในระดับอย่างเราๆ หรือเป็นพวกคนยากจนทีไ่ ม่ได้มท ี น ุ รอนจะหนีไป ต่างประเทศได้แบบพวกคนมีอ�านาจเหล่านั้น จากเหตุการณ์นจ ี้ ะเห็นได้วา่ เราในฐานะพลเมือง จึงต้องเรียกร้อง เพราะมันเป็นประเทศของเรา และเขาก็ไม่มส ี ท ิ ธิไ์ ล่เราออกไปทีไ่ หนด้วย
‘หมิว’ - สรัญญา งามสอาด
“ ค ว า ม เ สี ย ห า ย ที่ เ กิ ด กั บ ผื น ป่ า ออสเตรเลี ย มั น มากกว่ า แค่ เ รื่ อ ง โลกร้อน เพราะมันลุกลามจนน�าไปสู่ ก า ร สู ญ พั น ธุ์ ค รั้ ง ใ ห ญ่ ( M ass Extinction) หรือการที่ธรรมชาติ ่ ตัว ถูกท�าลายไปทัง ้ หมด เราจึงต้องตืน พยายามท�าความเข้าใจสถานการณ์ ้ จริงจังกับการแก้ไขปัญหา ทีเ่ กิดขึน สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ด้วยความเข้าใจว่าสรรพสิ่งในโลกนี้ ่ มโยงและสลับซับซ้อน” เชือ
่ าศัยอยูค แต่อย่างเราทีอ ่ อนโดฯ ต่อให้แยกขยะ ่ ะล้างถังขยะ แต่ เลิกใช้ถง ุ พลาสติก และพร้อมทีจ ่ ารองรับและน�าไปจัดการต่ออยูด ก็ไม่มร ี ะบบทีม ่ ี แล้วการแยกขยะของเราจะก่อเกิดผลได้อย่างไร คื อ จะคิ ด แค่ ว่ า พอท� า แล้ ว เกิ ด ปั ญ หา จึงไม่ทา� ต่อ จะยอมแพ้งา่ ยๆ แค่นเี้ หรอ เราเองก็ ไม่ รู ้ห รอกว่ า ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของคุ ณ เป็ น อย่ า งไร แต่มน ั อาจจะต้องการการจัดการในรูปแบบของ การรวมตัวเพือ ่ พูดคุยกัน หรืออะไรก็ตาม แต่มน ั ไม่ได้มีอะไรที่ส�าเร็จรูปหรือง่ายดายขนาดนั้น หรอก การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบจะเกิดขึ้นได้ จะต้ องมีคนเริม ่ ต้ นพูดคุยเพื่อชี้ให้เห็นว่าสิ่งที่ เป็นอยูม ่ น ั สร้างปัญหาจริงๆ แล้วแน่นอนว่ารัฐ จะต้องอ�านวยความสะดวก รวมทั้งเกื้อหนุ น ให้เกิดมาตรการต่างๆ ทีเ่ ป็นการแก้ปญ ั หาอย่าง จริงๆ จังๆ ด้วย เราเองไม่อยากมานัง่ คุยเรือ ่ งขยะเพราะว่า เบือ ่ และขีเ้ กียจจะพูดแล้ว เราคุยมาตัง้ แต่ 20-30 ปี แล้ว ตอนนี้อยากปล่อยให้คนอื่นเขาคุยกันไป แต่จะบอกไว้วา่ ถ้ายังติดอยูท ่ ป ี่ ญ ั หาเล็กๆ น้อยๆ แค่วา่ ‘เฮ้ย ไม่มถ ี งุ พลาสติกแล้วฉันก็ไม่มท ี ใี่ ส่ของ สิ’ แปลว่าคุณกระจอกมากเลยนะ เพราะมันจะมี ปั ญ ห า ใน เรื่ อ ง ข อ ง ผ ล ผ ลิ ต ห รื อ ใน ร ะ ดั บ เศรษฐกิจอีกตั้งมากมาย สุดท้ายก็คงไปไม่ถึง การเปลีย ่ นแปลงในระดับเหล่านัน ้ สักที
เราก็มาถึงจุดทีไ่ ม่หวนกลับ คุณรูส ้ ก ึ โกรธไหม โกรธ… โกรธความโลภ โกรธความเห็นแก่ตวั แต่เราต้องรูจ ้ ักหยิบมันวางลง เพราะเราไม่ใช่ คนทีข ่ บ ั เคลือ ่ นด้วยความโกรธ เราชอบขับเคลือ ่ น ด้วยความสนุก ไม่ได้ชอบเล่นประเด็นร้อน เราจึง เลือกท�าเรือ ่ งการศึกษาเรียนรู ้ แต่ยอมรับว่าเวลา พูดถึงประเด็นเหล่านีท ้ ไี รก็มก ั จะไปเจอกับเรือ ่ งราว ทีค ่ อยกระตุ้นให้โกรธเสมอ แต่พอเราตั้งสติได้ จะรูว้ า่ มันไม่มป ี ระโยชน์ เราจึงต้องวางอารมณ์ เหล่านีไ้ ว้แล้วคิดถึงอนาคตให้มาก เพราะรูแ ้ ล้ว ว่าเรามีเวลาเหลือน้อย แต่ถา ้ มัวแต่มองว่าฉันมี เวลาน้อย ฉันไม่มแ ี รง ฉันไม่มพ ี ลัง หรือฉันไม่มี อ�านาจ เราก็จะหมดหวัง แต่ ‘ความหวัง’ ก็เป็น สิง่ ทีค ่ วรจะพูดถึงเมือ ่ ยีส ่ บ ิ ปีกอ ่ นเช่นกัน เพราะ ตอนนี้ เราไม่ มี เวลาให้ คิ ด ถึ ง เรื่อ งความหวั ง อีกแล้ว เราต้องรูข ้ ้อมูล มองภาพใหญ่ให้ออก และลงมือท�าปัจจุบน ั ให้มากทีส ่ ด ุ เรารูแ ้ ล้วว่าเราหยุดโลกร้อนไม่ได้ เพราะ มันได้ขบ ั เคลือ ่ นตัวเองไปถึงขัน ้ ทีเ่ ราไม่สามารถ จะหยุดยัง้ ได้แล้ว สิง่ ทีท ่ า � ได้ดท ี ส ี่ ด ุ คือพยายาม หากระบวนการในการบรรเทาลงมา หรือหยุดยัง้ ให้ มั น ไม่ ห ายนะไปมากกว่ า นี้ จนถึ ง ขั้น ที่ ค น รุน ่ ต่อไปอาศัยในโลกนีไ้ ม่ได้แล้ว เราคิดว่าจุดนี้ ยังพอหยุดได้ ดังนัน ้ งเต็มที่ ้ ก็ตอ
คุณแม่ท่ก ี �าลังตั้งครรภ์แฝดใกล้คลอด เจ้าของ Top Speed Thai ร้านอาหารไทยในซิดนีย์
่ ะเกิดขึน ้ หลังจาก อะไรคือความเสียหายใหญ่ๆ ทีจ ้ บ ไฟป่าครัง ั ลง ้ นีด เราเองก็ยงั ด่วนสรุปในตอนนี้ไม่ได้หรอก ว่าสัตว์จะหายไปมากแค่ไหน หรือจะมีสต ั ว์ชนิดอะไร ทีส ่ ญ ู พันธุบ ์ า้ ง ถ้าอยากได้ขอ ้ มูลทีแ ่ น่ชด ั คงต้อง รอการประเมินในตอนท้าย แต่ไม่ว่าอย่างไร สังคมพืชและสังคมสัตว์ในป่าจะเปลีย ่ นแปลงไป อย่างแน่นอน และลักษณะของการเกิดไฟป่า ในครัง้ ต่อๆ ไปจะเปลีย ่ นไปด้วย อย่างเช่นต่อไปนี้ จะเหลือเฉพาะพืชทีท ่ นไฟมากๆ เท่านั้นทีจ ่ ะอยู่ รอด และไฟป่าในอนาคตจะทวีความรุนแรงยิง่ ขึน ้ เพราะว่าป่าทึบที่ถูกเผาไปอย่างมหาศาลจะ กลายเป็นป่าเปิด แปลว่าจะมีหญ้าทีเ่ ป็นเชือ ้ เพลิง มากขึ้ น ดั ง นั้ น ป่ า จึ ง ติ ด ไฟและลุ ก ลามได้ ง่ายดายขึน ้ ด้วย อี ก อย่ า งก็ คื อ อย่ า ลื ม ว่ า หายนะที่ เรา
บอกว่ า ‘เลิ ก แจกถุ ง พลาสติ ก แล้ ว ฉั น จะท� า อย่างไรดี ต่อไปนี้จะไม่มถ ี งุ ไว้ใส่ขยะแล้ว’ เฮ้ย เรื่ อ งมี ห รื อ ไม่ มี ถุ ง ขยะไม่ ใ ช่ เรื่ อ งใหญ่ เ ลย ที่จริงแล้ วถุงขยะไม่ใช่ของจ� าเป็นเลยด้ วยซ�า ถ้าเรารูจ ้ ก ั การจัดการทัง้ ระบบจริงๆ ยกตัวอย่างเช่นในบ้านของเรา ซึง่ เราเอง ก็ โชคดี ที่ บ้ า นมี ส วน จึ ง แยกขยะได้ ง่ า ย เช่ น พวกเศษอาหารหรือขยะเปียก เราก็จะแยกไว้ทง้ิ ลงถังขยะอินทรียเ์ ท่านัน ้ ง ้ เวลาใช้เสร็จแล้วก็ลา ถังได้ ไม่เห็นจะต้องใช้พลาสติกมารองรับเลย
A MUST WORKSHOP หัว ใจ ครู โรงเรียนมัธยมวัดดุสิตาราม ในโครงการห้องเรียนพิเศษ ร่วมกับ Inskru คอมมูนต ิ ข ี้ องคนรักการสอน และครู ที่ ร ่ว มสร้า งสรรค์ ง านจาก โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม โรงเรียน ปัญญาวรคุณ และโรงเรียนสุวรรณพลับพลา จัดกิจกรรมเพือ ่ พัฒนาครู ผ่านการท�างาน และสร้างวัฒนธรรม การเรียนรูผ ้ า ่ นประสบการณ์รว่ มกัน ของบุคลากรในวงการการศึกษาไทย พร้อมทัง้ พูดคุยกับประเด็นการศึกษา ที่น่าสนใจกั บวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ด้านการศึกษาอย่าง ผศ. ดร. อรรถพล อนันตวรสกุล ในวันที่ 26 มกราคม 2563 เวลา 08.00-16.00 น. ณ โรงเรียน มัธยมวัดดุสต ิ าราม ว่าทีค ่ รูหรือคุณครู คนไหนทีส ่ นใจ สามารถสมัครเข้าร่วม และสอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ โทร. 08-5809-6589
CONCERT
RESTA URANT
LOVE IS HEAR
PIPPA RESTAURANT ร้านอาหารที่ตั้งอยู่บนดาดฟ้าของโรงแรม Mytt Beach Hotel พัทยา เมื่อกดลิฟต์ข้น ึ มาที่ชั้น 19 คุณก็จะพบ กับร้านอาหารขนาดใหญ่ที่แบ่งเป็นโซนต่างๆ ครอบคลุมทั้งพื้นที่ โดยแนะน�าว่าให้มาถึงสักประมาณไม่เกินห้าโมงเย็น แล้วไปนั่งเอนจอยจิบเครื่องดื่มเย็นๆ บริเวณ Sunset Bar ซึ่งสามารถนั่งชมพระอาทิตย์ตกดินริมทะเลได้อย่างชิลๆ พร้อมกับฟังเพลงจากดีเจที่เปิดคลอเป็นการเรียกน�้าย่อย กินลมชมวิวกันจนหน�าใจแล้วก็ถึงเวลาเมนคอร์ส ในโซน The Dining จะเป็นห้องอาหารติดแอร์ท่ีออกแบบ สไตล์สวนหลังบ้าน หรือจะเลือกนัง่ โซนด้านนอกกับโซฟาแบบสบายๆ ก็จะได้บรรยากาศทีเ่ ป็นกันเองอีกแบบ และถัดไป อีกหน่อยจะเป็นชั้นลอยซึ่งใช้เป็นลานกิจกรรมเล็กๆ ในบางครัง้ หรือเป็นสถานที่จัดแสดงดนตรีเล็กๆ ตามแต่โอกาส ซึ่งโซนนี้จะมีความเป็นส่วนตัวค่อนข้างสูง ถ้ามากันหลายคนก็แนะน�าว่านี่คือพื้นที่ที่เหมาะกับการปาร์ตี้ของคุณ อาหารของทีน ่ ี่ได้รบ ั การเอาใจใส่อย่างดีโดยเชฟโอ๊ค จากรายการ มาสเตอร์เชฟ ไทยแลนด์ ดังนั้น จึงมัน ่ ่ ใจได้วา อาหารแต่ละจานจะมีรสชาติทย ี่ อดเยีย ่ มและจัดวางมาเสิรฟ ์ อย่างสวยงาม ทัง้ ของคาวและของหวานทีเ่ ต็มไปด้วยรสชาติ ของท้องทะเลอย่างกลมกล่อม
PIPPA Restaurant
ตัง ่ นชัน ้ อยูบ ้ 19 ของโรงแรม Mytt Beach Hotel พัทยาเหนือ ซอย 3 เปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 16.00-24.00 น. จองโต๊ะหรือสอบถามรายละเอียดที่โทร. 038-259-589, www.pipparestaurant.com
คอนเสิ ร ์ต ที่ ค นหู ดี จ ะได้ ฟั ง ดนตรีไปพร้อมกับคนหูหนวก โดย เป็นครัง้ แรกทีผ ่ พ ู้ ก ิ ารจะได้ยน ิ ดนตรี ผ่ า นภาพ กลิ่ น รสและสั ม ผั ส ส่ ว น คนปกติกจ ็ ะได้ฟงั ดนตรีแบบครบรส อย่างที่ไม่เคยได้ล้ิมลองจากที่ไหน มาก่อน จาก BNK48, เป๊ก ผลิตโชค, นภ พรช�านิ, Tattoo Colour, ว่าน ธนกฤต, Friday, Poy Portrait, ไอซ์ พาริส และ แพรวา ณิชาภัทร จัดขึ้น ในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 18.00 น. ณ หอประชุมสายสุร ี จุตก ิ ล ุ คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น รายได้ ท้ั ง หมดมอบให้ มู ล นิ ธิ อ นุ เ ค ร า ะ ห์ ค น หู ห น ว ก ในพระบรมราชินูปถั มภ์ สมทบทุน การผ่าตัดประสาทหูเทียมให้น้องๆ ในภาคอีสาน รายละเอียดเพิ่มเติม www.facebook.com/LoveIs HearConcert
20 18
BOOK
ความฝันของคนไร้สาระ นวนิยายขนาดสั้นเล่มนี้แปลมาจาก The Dream of a Ridiculous Man ของ ฟิโอดอร์ ดอสโตเยฟสกี เป็นเรือ ่ งราวของชายคนหนึง่ ทีร่ า� ลึก ถึงชีวต ิ อันไร้สาระ ตัวตนทีไ่ ม่สมบูรณ์ และความไร้แก่นสารของสรรพสิ่งซึ่งน�าเขาไปสู่การหลับ แล้วฝันว่าตัวเองได้ฆา่ ตัวตาย เนือ ้ หาภายในหนังสือ เล่ ม นี้ จึ ง ไม่ ใช่ เพี ย งริเริ่ม ตั้ ง ค� า ถามเกี่ ย วกั บ ความสมบูรณ์แบบของมนุษย์ แต่ยังให้ค�าตอบ ที่มุ่งสู่สังคมอุดมคติ และปรับเปลี่ยนความเชื่อ ทีว ่ า ่ มนุษย์ชาติไม่ได้เป็นคนชัว ่ ร้ายโดยจิตส�านึก (ส�านักพิมพ์ทับหนังสือ / ราคา 320 บาท)
PRODUCT
SOGANICS MULTIPURPOSE CLEANER หลังจาก ‘ทิง้ ’ ของทีไ่ ม่จ�าเป็นต่อชีวต ิ และ บ้านของเราเรียบร้อยแล้ วก็ ได้ เวลาท�าความสะอาดกันครัง้ ใหญ่ ด้วยน�ายาท�าความสะอาด อเนกประสงค์ทป ี่ ลอดภัยไร้สารเคมี จากแบรนด์ Soganics ซึ่งท�ามาจากพืชโดยมีส่วนผสมของ มันฝรัง่ ข้าวโพด และน�ามันมะพร้าว จึงไม่มส ี ารเคมี ที่ เ ป็ น อั น ตราย และดี กั บ โลกด้ ว ยส่ ว นผสม Readily Biodegradable ทีส ่ ามารถย่อยสลาย ได้ภายใน 28 วัน แถมยังดีตอ ่ ใจ เพราะไม่มก ี ารใช้ส่วนผสมที่มาจากสัตว์หรือผ่านการทดลอง กั บ สั ต ว์ แค่ ฉี ด แล้ ว เช็ ด ออก ไม่ ต้ อ งล้ า งน� า ซ� า ให้เปลือง สนใจดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www. facebook.com/soganics
ISSUE 626
20 JAN 2020
COSMETIC
COLLECTION
CULTE CREAM BLUSH
SAVAGE X FENTY
ส� า หรั บ คนที่ ห ลงใหลเมกอั พ ที่ มี ดี ไซน์ สะดุดตาหรือเพิ่มความสนุ กให้ ผู้ใช้ ขอแนะน� า ให้รูจ ้ ักกับครีมบลัชของ Culte แบรนด์เครือ ่ งส� า อางไทยน้ อ งใหม่ ที่ ส ามารถใช้ ไ ด้ ทุ ก เพศ เพราะออกแบบเนือ ้ มูสให้ออ ่ นนุม ่ พิเศษเหมาะกับ ทุ ก สภาพผิ ว พร้ อ มคุ ณ สมบั ติ เ ด่ น ที่ ติ ด ทน ยาวนานตลอดวัน แค่ยงั คงให้ความชุม ่ ชืน ่ กับผิว อย่างอ่อนโยน นอกจากนี้ยังกันน�าได้ด้วย และ มีส่วนผสมของสารกันแดดออร์แกนิก คอยช่วย ปกป้ อ งสุ ข ภาพผิ ว จากรั ง สี UVA และ UVB ครีมบลัชของ Culte มีให้เลือก 4 เฉดสีด้วยกัน ในราคาหลอดละ 750 บาท สามารถสัง่ ซือ ้ โดยตรง ได้ทาง Culte.today
ขอมองข้ามเรือ ่ งเพลงใหม่ไปก่อน เพราะ ริฮั น นาขอต้ อ นรับ เทศกาลวาเลนไทน์ ปี นี้ ด้ ว ย ชุ ด ชั้ น ในคอลเลกชั น ใหม่ ที่ อ อกแบบร่ ว มกั บ ดีไซเนอร์ชื่อดังอย่าง Adam Selman โดยได้รบ ั แรงบันดาลใจมาจากความเซ็กซีใ่ นยุค 80s และ โทนสีสอ ื่ รักชวนเย้ายวน ซึง่ คอลเลกชันนีม ้ ช ี ด ุ ชัน ้ ใน ให้สาวๆ เลื อกถึ ง 19 แบบ ใส่ได้ ท้ังสาวไซซ์เล็ ก ไปจนถึงสาวพลัสไซซ์ เธอยังบอกด้วยว่า ชุดทีอ ่ ดัม ออกแบบคื อ ผลงานที่ แบรนด์ ข องเธอตามหา เพราะมีทง้ั ความเริงร่าและความเซ็กซี่ รับรองว่า ใครก็ต้องชอบแน่นอน เข้าไปชมคอลเลกชันใหม่ ของ Savage X Fenty ได้ที่ www.savagex.com
EXHIBITION
MOVIE
SOMETHING NOUVEAU: KLIMT, MUCHA, BEARDSLEY
ไทบ้าน X BNK48 จากใจผู้สาวคนนี้
เตรียมพบกับนิทรรศการมัลติมเี ดีย ทีจ ่ ด ั ขึน ้ เพือ ่ เฉลิมฉลองยุคทองแห่งศิลปะ งานออกแบบ และสถาปัตยกรรมแบบอาร์ตนูโว ของสามศิลปิน มือทองอย่าง ออเบรย์ เบียร์ดสลีย์ ชาวอังกฤษ ศิลปินชาวเช็กนาม อัลโฟนส์ มูคา และ กุสตาฟ คลิมต์ พร้อมผลงานมาสเตอร์พซ ี ทีส ่ วยงามกว่า 500 ภาพ น� าเสนอผ่านการฉายโปรเจกเตอร์ บนจอขนาดใหญ่ที่จัดวางไว้ตามมุมต่างๆ ของ ห้องมัลติมีเดียขนาดใหญ่ นิทรรศการนี้จัดขึ้น ตั้งแต่วน ั นีถ ้ งึ 16 เมษายน 2563 ณ RCB Galleria ชัน 2 ศู น ย์ ก ารค้าริเวอร์ ซิตี้ แบงค็อก ้
โปรเจ็กต์รว่ มกันระหว่าง ไทบ้านเดอะซีรส ี ์ ภาพยนตร์ไทยอีสานสุดฮาที่จับมือกับ BNK48 ว ง ไ อ ด อ ล ชื่ อ ดั ง โ ด ย เนื้ อ เรื่ อ ง พู ด ถึ ง ว ง BNK48 ที่ต้องท�าเพลงหมอล�ากับ ก้อง ห้วยไร่ สมาชิ ก ตั ว แทนของวงได้ แก่ ไข่ มุ ก , โมบายล์ , น� า หนึ่ ง , น� า ใส, เนย, ปู เป้ , ตาหวาน และแก้ ว จึ ง ต้ อ งเดิ น ทางไปเรีย นรู ้วั ฒ นธรรมไทบ้ า น โดยมี จ่าลอด ออนเดอะร็อก มาช่วยเป็นพี่เลี้ยง เพื่ อ สื่ อ สารเพลงหมอล� า ในแบบฉบั บ BNK48 ให้ดท ี ส ี่ ด ุ แฟนคลับต้องปักหมุดรอ ฉายพร้อมกัน ทัว ประเทศในวั นที่ 23 มกราคมนี้ ่
19 21
เรือ ่ ง : ชยพล ทองสวัสดิ์
HE SAID
EDUCATE, ENCOURAGE, EXCELLENCE ใ น เ มื่ อ พั น ธ กิ จ ห ลั ก ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า อ ย่ า ง มหาวิทยาลัยคือการสร้างเสริมความรู้ ทักษะชีวิต และ ผลิตบัณฑิตทีม ่ ีคุณภาพออกสู่สังคมการท�างาน ดังนัน ้ การพยายามพั ฒนาหลั ก สู ต รการเรี ย นการสอน ให้ทันโลก เปิ ดรับสิง ่ ร้างสรรค์ และให้โอกาส ่ ใหม่ๆ ทีส นักศึกษาได้ทดลองมีประสบการณ์ชว ี ต ิ ในรัว ้ มหาวิทยาลัย จึงเป็ นสิ่งส�าคัญที่มหาวิทยาลัยต้องตระหนักอยู่เสมอ พร้อมก้าวให้ทันความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของโลก ทุกวันนี้ เช่ น เดี ย วกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล รัตนโกสินทร์ ที่มีอายุครบ 15 ปี เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2563 ที่ผ่ านมา ซึ่งตลอดมาได้ ผลิ ต บั ณ ฑิต นักปฏิบัติ ที่ มี อ งค์ ค วามรู้ ด้ า นเทคโนโลยี การสร้ า งสรรค์ และ การจั ด การสู่ สั ง คมการประกอบการอยู่ ต ลอดเวลา รวมถึงมุ่งพั ฒนา เพิ่ มเติม หลักสูตรการเรียนการสอน ให้สอดรับกับโลกและยุคสมัย เพื่อพัฒนาศักยภาพของ มหาวิ ท ยาลั ย สู่ ส ากล ดั่ ง ที่ ผศ. ดร. อาคี ร า ราชเวี ย ง รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ได้ ก ล่ า วว่ า “เราจะเดิ น หน้ า ขั บ เคลื่ อ นมหาวิ ท ยาลั ย สู่ ความเป็นเลิศ”
มหาวิทยาลัยทีเ่ กิดจากการรวมกัน ของความแตกต่างสูค ่ วามเข้มแข็ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) รัตนโกสินทร์เกิดจากการรวมตัว กั น ข อ ง ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ที่ เก่ า แก่ ประกอบด้วย 4 พืน ้ ที่ ได้แก่ มหาวิทยาลัย เท ค โน โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล รั ต น โก สิ น ท ร์ พื้นที่ศาลายา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสินทร์ พื้นที่บพิตรพิมุข จั ก ร ว ร ร ดิ วิ ท ย า ลั ย เพ า ะ ช่ า ง แ ล ะ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เท ค โน โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล รั ต นโกสิ น ทร์ วิ ท ยาเขตวั ง ไกลกั ง วล ซึง่ แต่ละพืน ้ ทีม ่ จ ี ด ุ แข็งจุดเด่นทีแ ่ ตกต่างกัน เมื่อรวมกันจึงเสริมให้เป็นมหาวิทยาลัย ที่มีศักยภาพที่เข้มแข็ง
ผลิตบัณฑิตนักปฏิบต ั แ ิ บบมืออาชีพ
มหาวิทยาลัยและสภามหาวิทยาลัย ได้ก�าหนดยุทธศาสตร์ โดยเน้ นการท�า หลักสูตรร่วมกับภาคอุตสาหกรรมผลิต บัณฑิตนักปฏิบต ั แ ิ บบมืออาชีพ โดยบัณฑิต และสถานประกอบการ รวมถึงคณาจารย์ ทีส ่ า� เร็จการศึกษาจาก มทร.รัตนโกสินทร์ นอกจากจะน� า วิ ช าจากมหาวิ ท ยาลั ย เข้าไปมีบทบาทในภาคอุตสาหกรรม และ น�าความรูท ้ ไี่ ด้เรียนมาใช้ในการปฏิบต ั งิ าน ได้ แ ล้ ว จะต้ อ งเป็ น ผู้ มี ค วามคิ ด ริเริ่ม สามารถออกแบบแก้ ไขปัญหาท�าการ-
วิจัยนวัตกรรมใหม่ๆ และเพิม ่ พูนในงาน ได้ รวมถึงจะต้องสามารถด�ารงตนอยูใ่ น สังคมด้วยศักยภาพ และเป็นหน้าเป็นตา ให้กับภาคอุตสาหกรรมได้เช่นกัน
เพิ่ มพู นทั ก ษะในการท� า งานให้ ก้าวทันโลก
มหาวิ ท ยาลั ย ได้ เน้ น การพั ฒ นา หลั ก สู ต รภาษาอั งกฤษ โดยเฉพาะ การมุ่ ง เน้ น งานวิ จั ย และให้ นั ก ศึ ก ษา สามารถสื่ อ สารอั ง กฤษได้ ม ากยิ่ ง ขึ้ น มหาวิทยาลัยจะให้ความส�าคัญในระดับ นานาชาติ โ ดยมี ก ารปรับ หลั ก สู ต รใน ทุกคณะ ให้ความส�าคั ญในการพัฒนา ทักษะการฟัง อ่าน พูด เพิม ้ มีการเพิม ่ ขึน ่ ชั่ ว โมงให้ นั ก ศึ ก ษาเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม เสริมหลักสูตรจากเดิม 120 ชั่วโมง เป็น 300 ชัว่ โมง เพือ ่ มุง่ ให้นก ั ศึกษาเป็นบัณฑิต พึ ง ประสงค์ ที่ มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ มี ทั ก ษะในการสื่ อ สาร มี วุ ฒิ ภ าวะทาง สั ง คม และมี ทั ก ษะด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ทั น โลก เพื่ อ ให้ เ มื่ อ ส� า เร็จ การศึ ก ษาแล้ ว พวกเขาจะกลายเป็ น นักปฏิบต ั ท ิ ส ี่ ามารถน�าความรูจากการศึ ้ กษา ไปปรับใช้ในการท�างานได้ รวมถึงให้นก ั ศึกษา ได้ มี ก ารฝึ ก งานในสถานประกอบการ ที่มีการปฏิบัติควบคู่กันไปตลอด และมี จิตสาธารณะในการช่วยเหลือสังคม
เปิ ด แผนการเรี ย นการสอนใหม่ ๆ เ พื่ อ ขั บ เ ค ลื่ อ น ม ห า วิ ท ย า ลั ย สู่ ความเป็นเลิศ
นอกจากการผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ เป็ น นักปฏิบัติที่เก่งงาน มหาวิทยาลัยยังได้ พยายามเปิ ด แผนการสอนใหม่ ๆ โดย วิทยาลัยผูป ้ ระกอบการสร้างสรรค์นานาชาติ ได้ เ ตรีย มความพร้อ ม โดยการหารือ เพื่อท� าความร่ว มมือพัฒนาในการเปิ ด หลั ก สู ต รแฟชั่ น และสิ่ ง ทอ รวมถึ ง เปิ ด หลักสูตรทีศ ่ ก ึ ษาจาก มทร. รัตนโกสินทร์ และจากมหาวิทยาลัยทีป ่ ระเทศฝรัง่ เศส จนได้ปริญญาสองใบ คือ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม นอกจากนั้น หลักสูตรการโรงแรมและการท่ อ งเที่ ย วก็ มี โรงแรม ให้ฝก ึ ปฏิบต ั งิ านจริงทัง้ ราชมงคลชมคลืน ่ ทีห ่ ว ั หิน และรัตนโกสินทร์เพลส ทีศ ่ าลายา ทัง ้ หมดนี้คือเป้าหมายของมหาวิทยาลัย ในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ และเปิด โอกาสให้ บั ณ ฑิ ต เหล่ า นี้ ไ ด้ ป้ อ นเข้ า สู่ ภาคอุตสาหกรรมในสังคมต่อไป
20
BULLETIN BOARD
อัพเดตแวดวง ข่าวสังคม ที่น่าสนใจ ในรอบสัปดาห์
TALK OF THE TOWN
The World’s Most Experimental Omakase by The World’s Most Experimental Bartender ร้านอาหารไคจิน โดย ‘ตัม ้ ’ - ณฐกร แจ้งเร็ว ในฐานะร้านโอมากาเสะที่มีเสน่ห์เฉพาะตัวจาก การใช้ปลาที่จับเองเป็นวัตถุดิบหลัก ร่วมมือกับ ‘Glenfiddich’ The World’s Most Awarded Whisky จากประเทศสกอตแลนด์ เปิดประสบการณ์ ท้องทะเลลึก คิดค้น และทดลองเมนู ผ่านความคิด สร้างสรรค์ ที่ผสมผสานระหว่าง Single Malt Whisky กับวัตถุดบ ิ จากทะเลให้นา ่ สนใจยิง่ ขึน ้ เมือ ่ ปีทผ ี่ า่ นมา ตัวแทนประเทศไทย ‘ต้น’ พงศ์ภค ั สุทธิพงศ์ และ ‘ตัม ่ ู ้ ’ - ณฐกร แจ้งเร็ว คูห บาร์เทนเดอร์และต�าแหน่งดีกรีผเู้ ชีย ่ วชาญในด้าน อาหารทะเล ได้คว้าแชมป์โลกจากการแข่งขัน WMEB รอบ Global Final ทีป ่ ระเทศสกอตแลนด์ ด้ ว ยการผสมผสาน Single Malt Whisky กับอาหารทะเล ในคอนเซ็ปต์ ‘The Deep Sea Experimental’ ในโอกาสที่ ตั ว แทนประเทศไทยได้ ค ว้ า แชมป์โลกมาอีกหนึง่ รายการ ทางร้าน Sorrento สาทร ได้ น� า Tasting Menu ที่ เป็ น ‘ค็ อ กเทล แชมป์โลก’ ทัง้ 4 ตัว ให้ทก ุ ท่านได้สม ั ผัสและลิม ้ ลอง กัน ภายในเดือนมกราคมนี้เท่านั้น
ทีเอ็มบี เวลท์ แบงก์ก้ง ิ พาลูกค้าร่วมชม Star Wars -The Rise of Skywalker แบบเอ็กซ์คลูซีฟ
การแข่งขัน ‘BBG Princess Cup 2020’
Apple Iconsiam ต้อนรับ ปีใหม่ด้วย Today at Apple ตลอดเดือนมกราคม
Slot Machine ชวนทุกคนงดใช้ถุงพลาสติก แบบครั้งเดียวทิ้ง
ทีเอ็มบี เวลท์ แบงก์ก้ิง น�าโดย ยืนยง ทรงศิรเิ ดช (ที่ 4 จากซ้าย) หัวหน้าเจ้าหน้าที-่ บริหารลูกค้าธนบดีธนกิจ ทีเอ็มบี จัดกิจกรรม มอบประสบการณ์เหนือระดับ ‘TMB Wealth Banking Exclusive Movie’ ให้แก่ลูกค้า ธนบดีธนกิจ เพื่อร่วมชมภาพยนตร์ ‘Star Wars - The Rise of Skywalker’ ในรอบ ปฐมทั ศ น์ ณ โรงภาพยนตร์ เ อ็ มบาสซี ดิโพลแมท สกรีน ชัน ้ 6 ศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี เมื่อเร็วๆ นี้
สโมสรกี ฬ าบี บี จี จั ด งานแถลงข่ า ว การแข่ ง ขั น กี ฬ าเทเบิ ล เทนนิ ส และกี ฬ า แบดมิ น ตั น ‘BBG Princess Cup 2020’ ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้ า ฟ้ า พั ช รกิ ติ ย าภา นเรนทิ ร าเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณส ี ริ พ ิ ช ั ร มหาวัชรราชธิดา ประจ�าปี 2563 โดยมี คุณเอกภพ เดชเกรียงไกรสร ประธานสโมสรกีฬาบีบจ ี ี เป็นประธาน ในพิ ธี แถลงข่ า ว ร่ว มด้ ว ยแขกผู้ มี เกี ย รติ อย่างคับคัง่ โดย BBG Princess Cup 2020 จะจัดขึน ้ ระหว่างวันที่ 31 มกราคม-6 กุมภาพันธ์ 2563 ณ สามย่านมิตรทาวน์
Apple เชิญคุณมาสนุกกับ Today at Apple เซสชันพิเศษรับปีใหม่ตลอดเดื อ น มกราคมนี้ ไม่วา่ เป็นการถ่ายวิดโี อส�าหรับเด็ก ในวันเด็ก, การแสดงสดจากศิลปิน AJ Mitchell และเติมความคิดสร้างสรรค์ให้เต็มอิม ่ หัวใจ ในซีร ีส์ ‘อาหารตา’ ทีจ ่ ะอบอวลไปด้วยความสนุก ให้ทุกคนได้ลิ้มลอง ผ่านเซสชันพร้อมเสิรฟ ์ จากช่างภาพ ศิลปิน และฟูด ้ สไตลิสต์ ผูจ ้ ะมา จุดไฟการปรุงงานศิลปะจากวัฒนธรรมอาหาร อันหลากหลาย ตัง ั นี้ถง ึ 26 มกราคมนี้ ้ แต่วน ที่ Apple Iconsiam รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.apple.com/th/today/iconsiam
Slot Machine ขอเป็นหนึ่งในขบวน ตอบรับ นโยบายเลิ ก ใช้ ถุ ง พลาสติ ก ของ รัฐบาลและหน่วยงานเอกชนที่ประกาศงด ให้บริการถุงพลาสติก ด้วยการผุดแคมเปญ ‘ECOmachine’ เชิ ญ ชวนทุ ก คนการลด การใช้พลาสติกแบบครัง้ เดียวทิ้ง (single use plastic) ด้วยการให้ทุกคนหันมาพก ถุงผ้า และกระบอกน�า พร้อมทัง้ มีผลิตภัณฑ์ ถุ ง ผ้ า , กระบอกน� า และเสื้ อ ยื ด เพื่ อ ร่ว ม รณรงค์ ง ดใช้ พ ลาสติ ก อี ก ด้ ว ย ติ ด ตาม ความเคลื่อนไหวของ Slot Machine และ กิจกรรมดีๆ จากแคมเปญ ECOmachine ได้ที่ www.slotmachine.band
ISSUE 626
20 JAN 2020
21
เรือ ่ งและภาพ : ทรรศน หำญเรืองเกียรติ
FEATURE
22
SAMUI : THE ISLAND OF HAPPINESS ่ ค ‘สมุย’ เป็นค�ำทีม ี วำมเป็นมำไม่แน่ชด ั บ้ ำ งก็ ว่ ำ เพี้ ย นมำจำกภำษำจี น ไหหล� ำ ที่เรียกกันว่ำ เช่ำบ่วย เพรำะสมัยก่อน เกำะสมุยคือจุดจอดพั กของเรือส�ำเภำ ที่ เ ดิ น ทำงมำท� ำ กำรติ ด ต่ อ ค้ ำ ขำยใน ประเทศไทย เกำะสมุ ย จึ ง เป็ น ด่ ำ นแรก ่ ่อค้ำจีนมำถึง แต่บำงข้อมูล (เช่ำบ่วย) ทีพ ก็ เ ล่ ำ ว่ ำ มำจำกค� ำ ว่ ำ ‘สมอย’ ซึ่ ง เป็ น ภำษำทมิ ฬ มี ค วำมหมำยว่ ำ ‘คลื่ น ลม’ ซึ่งเรำรู้สึกว่ำข้อสันนิษฐำนนี้เข้ำเค้ำกว่ำ ่ ยูท เพรำะสมุยเป็นเกำะทีอ ่ ำงฝั่ งทะเลอ่ำวไทย ่ ลมแรงพัดตลอดทัง มีคลืน ้ ปี ถือเป็น 1 ใน ่ ข ่ี ด 3 เกำะทีม ี นำดใหญ่ทส ุ ของประเทศไทย เกำะสมุ ย ในวั น นี้ เ ป็ น หมุ ด หมำย ส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ ำ งชำติ ่ ระเทศไทย เพรำะทีน ่ เ่ี ป็น ทีเ่ ดินทำงเข้ำมำทีป ทั้งแหล่งปะกำรัง มีชำยหำดทรำยสีขำว และน�ำ้ ทะเลใสเหมำะแก่กำรพักผ่อนหย่อนใจ กระจำยอยูโ่ ดยรอบ มีอเี วนต์อย่ำงฟู ลมูน ่ งหนักๆ ไว้ชว ปำร์ตใ้ี ห้เรำได้ทง ั่ ครำว ้ิ เรือ และสนุกกันอย่ำงเต็มที่ ด้ ว ยควำมพิ เ ศษของเกำะแห่ ง นี้ ทำงบริษท ั เซ็นทรัลพัฒนำ จ�ำกัด (มหำชน) หรือ CPN ผู้บริหำรศูนย์กำรค้ำเซ็นทรัล ่ ว เฟสติวล ั สมุย ได้รว ่ มมือกับกำรท่องเทีย แห่งประเทศไทย (ททท.) ส�ำนักงำนเกำะสมุย และองค์ ก รระดั บ ประเทศ ทั้ ง ภำครั ฐ ่ ช ่ื เสียง 6 คน และเอกชน เชิญศิลปินทีม ี อ มำร่วมสร้ำงงำนสตรีทอำร์ตเท่ๆ ให้เรำ ได้ตำมไปชมกัน ซึ่งจะมีใคร และผลงำน ของพวกเขำจะเป็ นรูปอะไรบ้ำง เรำไป ตำมเก็บมำให้คุณได้ชมกันตรงนี้แล้ว
ISSUE 626
20 JAN 2020
23
SAMUI
KANJANAPISEK CONVENTION CENTER
01
BARON UEDA
@Central Festival Samui
เจ้าของคาแรกเตอร์ดังจากการ์ตูน Magic Wars
บริเวณศูนย์กำรค้ำเซ็นทรัล เฟสติวัล สมุย นั้นมีงำนสตรีทอำร์ตอยู่ 2 ชิ้น โดย ชิน ่ ริเวณ ้ อยูบ ้ แรกเป็นของ Baron Ueda ตัง ริมก�ำแพงโซนร้ำนอำหำรของศูนย์กำรค้ำ โดยเขำเป็ นนักวำดภำพประกอบชำวญี่ปุน ่ ที่มี ช่ือ เสี ยงจำกกำรออกแบบดวงตำของ ่ ภำพ คำแรกเตอร์กำร์ตน ู ‘Magic Wars’ ซึง ที่ ว ำดลงไปบนก� ำ แพงของศู น ย์ ก ำรค้ ำ เซ็นทรัล เฟสติวล ั สมุย เขำบอกว่ำได้ไอเดีย มำจำกเรื่องรำวของเพื่ อนๆ ที่เคยเดินทำง มำเที่ ย วที่ เ กำะสมุ ย เขำจึ ง เลื อ กถ่ ำ ยทอด ออกมำเป็นรูปเด็กผูห ้ ญิงที่กำ� ลังมีควำมสุข กับกำรดื่มน�้ำมะพร้ำว และใช้องค์ประกอบ ของรูปที่ส่ือถึงควำมน่ำรักอ่อนหวำนของ คนไทยและคนสมุย
02
SHINICHIRO KITAI
NATHON CITY
ผูใ้ ห้กา� เนิดคาแรกเตอร์ TO-FU OYAKO
่ ศิลปินชำวญีป ่ นที ่ ำกรูปกำร์ตน อีกหนึง ุ่ ฝ ู ไว้บนก�ำแพงของอำคำรจอดรถศูนย์กำรค้ำ เซ็นทรัล เฟสติวล ั สมุย โดยใช้ตว ั คำแรกเตอร์ ‘โท-ฟุ ’ หรือเต้ำหู้ ที่รจ ู้ ก ั กันในชื่อของ เดวิล ่ เขำบอกว่ำ อยำกเล่ำเรือ ่ งให้เข้ำใจ โรบอต ซึง ่ นเดินทำงมำเทีย ่ ว ง่ำยๆ จึงให้เต้ำหูแ้ ละผองเพือ ที่เกำะสมุยกันอย่ำงมีร่ำเริงมีควำมสุข และ เป็ น กำรสื่ อ ว่ ำ เขำเองก็ มี ค วำมรู้ สึ ก ที่ ดี ต่ อ คนไทยและเกำะสมุยแห่งนี้ด้วย
@Central Festival Samui 24
4 5
CAT CAFE
AIRPORT 3 1
2
CENTRAL FESTIVAL SAMUI
SAMUI
7
COSI SAMUI CHAWENG BEACH HOTEL
PELE
6
STREET
ART
GUAN-YU SHRINE
03
ศิลปินและสมาชิกวงโมเดิรน ์ ด็อก
THANACHAI UJJIN
บริ เ วณล็ อ บบี้ ข องโรงแรม COSI Samui Chaweng Beach ซึ่ ง อยู่ ติ ด กั บ ศู น ย์ ก ำรค้ ำ เซ็ น ทรั ล เฟสติวล ั สมุย มีรป ู วำดลิงแสมโดย ธนชัย อุชชิน หรือ ‘ป๊อด โมเดิรน ์ ด็อก’ ่ ตัง อยู ่ โดยเขำบอกว่ ำ ที เ ลื อ กวำดเป็ น ้ รูปลิงนั้น เพรำะลิงเป็นตัวแทนของ ควำมสนุ ก และคนสมุ ย เองก็ มี ควำมผู ก พั นกั บ ลิ ง แสมมำนำน ้ งและฝึกสอนพวกมัน พวกเขำจะเลีย เพื่ อช่ ว ยในกำรเก็ บ ลู ก มะพร้ ำ ว เป็นกำรท�ำงำนร่วมกันอย่ำงสนุกสนำน ระหว่ำงคนกับลิง และกำรอยูร่ ว ่ มกัน กับธรรมชำติอย่ำงมีควำมสุข
@COSI Samui Chaweng Beach
ISSUE 626
20 JAN 2020
25
04
REARNGSAK BOONYAVANISHKUL
SA
ศิลปินไทยที่มีชื่อเสียงระดับโลก
ถือเป็นครัง ้ แรกส�ำหรับกำรท�ำงำนสตรีทอำร์ต ของศิลปิ นที่มีช่ือเสียงระดับโลกอย่ำง เริงศักดิ์ บุณยวำณิชย์กุล โดยเขำได้ถ่ำยทอดควำมวิจิตร ่ อกถึง บรรจงผ่ำนภำพของ ‘ม้ำคูท ่ อ ่ งเกำะสมุย’ ทีบ กำรใช้ชว ี ต ิ อย่ำงมีควำมสุขบนเกำะสมุย เพรำะม้ำ เป็นสัญลักษณ์ของควำมมีอส ิ ระ กำรก้ำวไปข้ำงหน้ำ ่ ก ่ ว และควำมรักควำมผูกพัน เหมือนกับทีน ั ท่องเทีย จะได้รับควำมมีไมตรีจิตของคนสมุย และได้รับ ควำมสุขจำกกำรได้สม ั ผัสกับวิถช ี ว ี ต ิ ของคนบนเกำะ แห่งนี้
STR
AR
@Kanjanapisek Convention Center
05
ALEX FACE
้ ’ ทีใ่ ครๆ ก็รก ศิลปินผูใ้ ห้กา� เนิด ‘เด็กสามตาหน้าบึง ั
่ ในแลนด์มำร์กส�ำคัญทีเ่ ก่ำแก่แห่งหนึง ่ หนึง ่ มีอำยุกว่ำ 145 ปี นัน ของเกำะสมุยซึง ่ คือศำลเจ้ำพ่อ กวนอู เกำะสมุ ย สถำนที่ แ ห่ ง ควำมศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ่ ถ้ำคุณแวะมำเทีย ่ วเกำะสมุย เรำก็อยำกให้แวะมำ ซึง ่ ควำมเป็นสิรม สักกำระเพือ ิ งคลแก่ตว ั เอง พร้อมกับ ทักทำยน้องมำร์ดี ผลงำนของ ‘Alex Face’ หรือ พัชรพล แตงรื่น ที่อยู่ด้ำนข้ำงของศำลเจ้ำ โดย เขำถ่ำยทอดผลงำนได้เข้ำกับสถำนที่ด้วยกำรให้ น้องมำร์ดี เด็กหญิงสำมตำซึ่งว่ำยน�้ำมำขึ้นฝั่ ง ทีเ่ กำะสมุย และยกมือไหว้สง ิ่ ศักดิส ิ ธิ์ ณ ศำลเจ้ำพ่อ ์ ท ้ ว กวนอู แห่งนีด ้ ยควำมเคำรพ และยังเป็นกำรขอพร ให้ทุกคนได้พบกับควำมสุขด้วย
Guan-Yu Shrine
06
ศิลปินชาวอาร์เจนตินา ผู้ออกแบบคาแรกเตอร์ ให้ Cartoon Network
ปำทริซิโอ โอลิเวอร์ (Patricio Oliver) ศิลปิ นชำวอำร์เจนตินำ ที่มีช่อ ื ย่อว่ำ PO! ถ้ำเรำ บอกว่ำผลงำนที่โด่งดังของเขำคือกำรออกแบบ คำแรกเตอร์ตว ั กำร์ตน ู ต่ำงๆ ให้กบ ั ทำง Cartoon Network คุณคงร้องอ๋อขึ้นมำทันที
PATRICIO OLIVER
@Nathon Community
่ เขำได้เดินทำงมำร่วมเป็นส่วนหนึง ในกำรวำดภำพสตรีทอำร์ตในครั้งนี้ โดยผลงำนของเขำจะแฝงตัวอยูต ่ รง ถ น น ส ำ ย ก ล ำ ง ชุ ม ช น ห น้ ำ ท อ น (ถ้ ำ หำไม่ เ จอถำมคนแถวนั้ น ได้ ) โดยเขำได้ถ่ำยทอดตัวกำร์ตูนต่ำงๆ จำกสิง ้ น ้ ภูเขำ ต้นไม้ และผูค ่ รอบตัว ทัง โดยทุ ก คำแรกเตอร์ จ ะมี ใ บหน้ ำ ที่ มี ควำมสุข เพรำะเขำเชื่อว่ำคนไทยกับ คนอำร์ เ จนติ น ำมี นิ สั ย ที่ เ หมื อ นกั น อย่ำงหนึ่ง คือชอบควำมสนุกเฮฮำ ชอบสังสรรค์ ชอบร้องเพลง และชอบ เต้นร�ำเหมือนกัน ซึ่งเกำะสมุยก็คือ ่ เริงนีน ้ น ดินแดนแห่งควำมรืน ั่ เอง 26
AMUI
REET
RT THE HIDDEN STREET ART นอกจำกงำนสตรี ท อำร์ ต ที่ เ รำแนะน� ำ ทั้ ง 6 จุ ด แล้ ว ใน เกำะสมุยยังมีผลงำนของศิลปิ น ท่ ำ นอื่ น ๆ แฝงตั ว อยู่ ต ำมชุ ม ชน ให้คุณได้ตำมหำเพิ่มอีกด้วย เช่น เส้ น ทำงระหว่ ำ งที่ เ รำเดิ น ทำง ออกจำกศู น ย์ ก ำรค้ ำ เซ็ น ทรั ล เฟสติวัล สมุย ไปยังศำลเจ้ำพ่อ ่ ก่อนถึงบริเวณ กวนอู เกำะสมุย ซึง ชุมชนรำวๆ 5 นำที คุณจะพบกับ ภำพวำดของเปเล่ซ่อนตัวอยู่ริม ข้ำงทำงตรงก�ำแพงบ้ำนหลังเล็กๆ ทำงขวำมือ และเรำก็ยง ั ได้ยน ิ มำว่ำ ยังมีงำนสตรีทอำร์ตอีกหลำยชิ้น ที่รอกำรค้นพบอยู่บนเกำะแห่งนี้ ด้วย
1080 CAFÉ ระหว่ำ งเดิน ทำงกลับ เรำ อยำกให้คุณเผื่อเวลำไว้นิดหน่อย เพรำะบริเวณไม่ไกลจำกสนำมบินสมุย นัน ุ ได้แวะ ้ มีคำเฟ ่แมวน่ำรักๆ ให้คณ ่ มน้องๆ กัน ซึง ่ 1080 Cafe ไปเยีย ตั้ ง อยู่ ห น้ ำ ทำงเข้ ำ วั ด พระใหญ่ เกำะฟำน นีเ่ อง จะแวะไหว้พระก่อน แล้วค่อยออกมำจิบกำแฟคลอแมว ้ อ ก็ได้ (บอกเลยว่ำน้องๆ ขีอ ้ นมำก) ้ ง ่ นำมบิน เพรำะจำกตรงนีน ั่ รถไปทีส ใช้ เ วลำไม่ ถึ ง 10 นำที เ ท่ ำ นั้ น ร้ำนเปิ ด 11.30 น. หำกใครกลัว ไปไม่ ถู ก โทร.ไปถำมทำงได้ ที่ 09-5417-7236
SPECIAL THANKS ขอบคุ ณ หน่ ว ยงำนต่ ำ งๆ ่ ว ทีร ่ มกันสร้ำงสีสน ั ให้กบ ั เกำะสมุย อันได้แก่ กำ รท่องเที่ ยวแห่ง ประเทศไทย (ททท.) ส�ำนักงำน เกำะสมุย, จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี, อ� ำ เภอเกำะสมุ ย , เทศบำลนคร เกำะสมุย, บริษท ั หำดทิพย์ จ�ำกัด (มหำชน), กลุม ่ โรงแรมและรีสอร์ต ในเครือเซ็นทำรำ, บริษัท กำรบิน กรุงเทพ จ�ำกัด (มหำชน), บมจ. บิก ๊ คำเมร่ำ คอร์ปอเรชั่น และบริษัท โจตัน ไทย จ�ำกัด ISSUE 626
20 JAN 2020
27
หมี’ - พณิช ฉ�า่ วิเศษ และ ‘โอม’ - ปัณฑพล ประสารราชกิจ
เรือ ่ ง : ชยพล ทองสวัสดิ์
SPACE & TIME
“เวลาคิดอะไรควรคิด ให้รอบด้าน มอง ความสัมพันธ์ หลายอย่างให้ออก ถ้าคุณเห็นความ่ มโยงของสิง เชือ ่ เหล่านี้ และเข้าใจปัจจัย ทั้งหมด คุณจะได้ ค�าตอบเองว่าคุณควร ท�าสิ่งนั้นหรือไม่”
ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์
สัมผัสบรรยากาศแห่งการผสมผสานระหว่างร้านล้างฟิล์ม และร้านกาแฟ ในที่เดียวกัน รวมถึงกลยุทธ์การสร้างแบรนด์ที่โดดเด่น
Analox Film Cafe
ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร (BTS ช่องนนทรี ทางออก 3) เปิดบริการทุกวัน เวลา 07.00-20.00 น. ติดตามความเคลื่อนไหวที่ www.facebook.com/Analoxfilmcafe
่ ร้างความสะดวกสบายให้มนุษย์มากขึน ้ หากแต่ในมุมหนึง ่ ก็ยง ่ งราวของ ถึงแม้โลกจะหมุนไปอย่างรวดเร็วพร้อมๆ กับเทคโนโลยีทีส ั มีเรือ ่ ง ่ ระแสการกลับมาใช้กล้องฟิลม ่ ค ผูค ้ นทีย ั คงหลงใหลในความคลาสสิกของโลกแอนะล็อก โดยเฉพาะกับภาพถ่าย ทีก ์ ได้กลายเป็นไอเทมทีผ ู้ นมากมาย ้ มามากมายเพื่อตอบโจทย์คนเหล่านี้ หลงรัก สะสม และบางคนยังศึกษาอย่างจริงจัง จนท�าให้เกิดธุรกิจร้านล้างฟิลม ์ ขึน
ท่ามกลางร้านล้างฟิล์มที่มีตัวเลือกอยู่ไม่น้อย Analox Film Cafe คาเฟ่ เ ล็ ก ๆ ริม ถนนใหญ่ ย่ า นช่ อ งนนทรี คื อ ร้า นที่ เกิ ด จากไอเดี ย ของ การผสมผสานโลกของ ‘กาแฟ’ และโลกของ ‘กล้องฟิล์ม’ เข้าด้วยกัน ทัง้ ให้บริการล้าง สแกน และจ�าหน่ายฟิลม ์ หลากหลายรูปแบบ ในบรรยากาศ แบบคาเฟ่สไตล์ลอฟต์บวกอินดัสเทรียล พร้อมเมนูเครือ ่ งดืม ่ ต่างๆ ทีน ่ า� เสนอ ในคอนเซ็ปต์ของกล้องฟิล์ม เรามาเยือน Analox Film Cafe ในช่วงหัวค�าของวันหนึ่ง เพือ ่ พูดคุย กับ ‘หมี’ - พณิช ฉ่�าวิเศษ และ ‘โอม’ - ปัณฑพล ประสารราชกิจ หรือ โอม นักร้องน�าวง Cocktail โดยทัง้ คูเ่ ป็นทัง้ เพือ ่ นและหุน ้ ส่วนของร้านล้างฟิลม ์ แห่งนี้ ซึง่ การสนทนาในครัง้ นีไ้ ด้ให้บทเรียนทีเ่ ป็นหัวใจส�าคัญของการท�าธุรกิจ ให้อยูร่ อดในยุคทีค ่ แ ู่ ข่งมีมากมาย กล่าวคือ แค่แพสชันส่วนตัวยังไม่เพียงพอ แต่ต้องรูจ ้ ักคู่แข่งและมองหาจุดเด่นที่ท�าให้เราไม่ซ�าทางใคร
ผสมผสานธุรกิจเข้าด้วยกัน ปัณฑพล : เรามองว่าถ้าเปิดร้านล้างฟิล์มอย่างเดียว แล้วหวังจะ ท�าให้รา้ นมีเอกลักษณ์มันล�าบาก และอีกเหตุผลหนึ่งก็คือถ้าหากมีคาเฟ่ คนที่มาล้างฟิล์มเขาสามารถใช้เวลารอ 10 นาที 20 นาที 30 นาที หรือ 1 ชัว ่ โมง ในการนั่งแฮงเอาต์ได้ ตรรกะจริงๆ มันคือการน�าธุรกิจสองอย่าง คือคาเฟ่และร้านล้างฟิล์มมารวมกัน มันคือวิธท ี ฉ่ ี่ ลาดทีส ่ ด ุ ทีจ ่ ะท�าให้เรา ถูกมองเห็น กลายเป็นว่าร้านนี้ประสบความส�าเร็จ และเป็นที่รูจ ้ ักขึ้นมา จากการผสมผสานทั้งสองสิ่งนี้ พณิช : ก่อนที่จะเปิดร้าน เราไปรีเสิรช ์ ร้านล้างฟิล์มมาหลายร้าน แต่ละร้านมีสไตล์ต่างกัน เราไปร้านเพือ ่ นก็มส ี ไตล์อีกอย่างหนึ่ง ร้านรุน ่ พี่ ก็มส ี ไตล์อย่างหนึง ่ แต่เหตุผลทีเ่ ราเลือกท�าร้านกาแฟบวกกับร้านล้างฟิลม ์ เป็นเพราะว่าเราอยากให้ฟิล์มเข้าถึงง่าย ถ้าคุณเป็นร้านล้างฟิล์มจริงจัง 28
ก็จะเป็นแบบหนึง่ แต่พอมีรา้ นกาแฟ ลูกค้า มากินกาแฟแล้วเห็นกล้องฟิล์มน่าสนใจ เขาก็เดินมาซือ ้ กล้องของเราได้ เราอยาก ให้มันเป็นอย่างนั้นมากกว่า การรู้ในสิ่งที่ท�าส�าคัญที่สุด พณิช : ตอนแรกเราแบ่งสัดส่วนของ ทั้งสองธุรกิจอยู่ที่ 40 : 60 คือล้างฟิล์ม 40 เปอร์เซ็นต์ และคาเฟ่ 60 เปอร์เซ็นต์ เพราะมองว่าการล้างฟิลม ์ มีโอกาสเกิดขึน ้ ได้ ยากและน้ อยกว่าการกิ นกาแฟ เช่น สมมติวา ่ เรามีโปรโมชันเครือ ่ งดื่ม พอคน เดินผ่านหน้าร้านแล้วเห็น เขาก็มากิน แต่ ปรากฏว่าในช่วงหกเดือนหลังกลายเป็น สลับกัน และทุกวันนีก ้ ลายเป็น 30 : 70 แล้ว คื อ คาเฟ่ 30 เปอร์เซ็ น ต์ ส่ ว นล้ า งฟิ ล์ ม 70 เปอร์เซ็นต์ เพราะว่าคอนเทนต์ที่คน พู ด ถึ ง เรื่ อ งฟิ ล์ ม เยอะกว่ า ในขณะที่ ร้านกาแฟแถวนี้มีเยอะอยู่แล้ว อย่างไร ก็ตาม เราจะคงคุณภาพเรือ ่ งกาแฟของเรา ไม่ให้ดอ ้ ย กาแฟเราก็ยงั อร่อยเหมือนเดิม ไม่ ใช่ ว่ า ยอดขายกาแฟเราตกนะ แค่ ยอดฟิล์มมันเพิ่มเท่านั้นเอง (หัวเราะ) ปัณฑพล : เราจะไตร่ตรองทุกอย่าง ทีท ่ า� ว่าสมเหตุสมผลหรือยัง มีความต้องการ ในตลาดมากน้อยแค่ไหน คนของเรามีความรู ้ ในสิง่ ทีท ่ า� มากพอหรือเปล่า บางทีการตัง้ เป้า ทีเ่ งินเป็นหลักมันไม่ได้อะไรเลยนะ ถ้าคุณ ถามว่าไม่หาเงินแล้วท�าธุรกิจท�าไม เราจะ อธิบายว่า เงินมันได้อยู่แล้ว ถ้าคุณคิด ทุกอย่างรอบคอบมากพอ แต่สิ่งส�าคัญ คื อ คุ ณ มี ค วามรู ้เรื่อ งนั้ น เพี ย งพอไหม คุณรูไ้ หมว่าสิง่ ทีค ่ ณ ุ ท�าเกีย ่ วโยงอะไรบ้าง รูไ้ หมว่าคุณมีจด ุ เด่นแตกต่างอะไร เราว่า ธุรกิจที่อ่านอะไรเหล่านี้ได้จะอยู่รอด ่ มโยงของสรรพสิง มองให้เห็นความเชือ ่ ปั ณ ฑพล : บนโลกนี้ ไ ม่ มี อ ะไรที่ stand alone อย่างแท้จริง ต่อให้คุณท�า ธุรกิจเดีย ่ วคุณก็เกีย ่ วพันกับเรือ ่ งบางเรือ ่ ง เหมือนกัน ยกตัวอย่างเช่น ธุรกิจร้านอาหาร ซึง่ เกี่ยวพันไม่รูต ้ ั้งกี่อย่าง ผักมาจากไหน ก็มาจากเกษตรกร ปลามาจากชาวประมง หรือ มาจากซั พ พลายเออร์ ถ้ า คุ ณ ท� า ISSUE 626
20 JAN 2020
ร้า นอาหารญี่ ปุ่ น คุ ณ ต้ อ งรู ้ว่ า ขณะนี้ ป ล า อ ะ ไร ข า ด แค ล น ส ภ า พ อ า ก าศ เป็นอย่างไร กระแสน�าเป็นอย่างไร ฤดูไหน ปลาชุ ก คุณต้ องข้องเกี่ ยวกั บอย่างอื่ น เวลาคิดอะไรจึงควรคิดให้รอบด้าน มอง ความสัมพันธ์หลายอย่างให้ออก ถ้าคุณ เห็ นความเชื่อมโยงของสิ่งเหล่ านี้ และ เข้าใจปัจจัยทัง้ หมด คุณจะได้คา � ตอบเอง ว่าคุณควรท�าสิ่งนั้นหรือไม่ควร พณิช : บางคนชอบพูดว่าต้องรูจ ้ ริง ในธุรกิจของตัวเอง เรามองว่า ใช่ เราต้องรู ้ แต่ถามว่าเรารูเ้ รือ ่ งกาแฟเท่าบาริสตาไหม เรารูเ้ รือ ่ งฟิลม ์ เท่าคนทีล ่ า้ งฟิลม ์ ทุกวันไหม เราไม่รู ้ แต่เรารูว้ า่ ธุรกิจจะไปต่อได้อย่างไร เรารูว้ ่าอะไรควรจัดวางไว้ตรงไหน ปัณฑพล : ปัญหาคือ คุณรูจ้ ริงเรือ ่ ง กาแฟ แล้วเกีย ่ วอะไรกับการเปิดร้านกาแฟ อาจจะเกี่ยวนิ ดหนึ่ งว่าขายกาแฟต้องรู ้ เรือ ่ งกาแฟสิ แต่ ว่าเวลาเปิดเป็นบริษัท ขายกาแฟขึ้นมามันคือเรือ ่ งการจัดการ แล้วคุณรูจ ้ ริงเรือ ่ งการจัดการร้านอาหาร หรือยัง ไม่เช่นนั้ นก็ ไม่ต่างอะไรกั บคุณ เอานายแพทย์ ผู้ เชี่ ย วชาญด้ า นผ่ า ตั ด ไปบริหารโรงพยาบาล โรงพยาบาลก็เจ๊ง เป็นธรรมดา เพราะการบริหารเกีย ่ วอะไร กับการผ่าตัดล่ะ จริงไหม ความสุขที่แตกต่าง พณิช : ความสุขของเราไม่เหมือนกัน ส�าหรับเรา ความสุขไม่ใช่การท�าร้านกาแฟ แต่เป็นการท�าธุรกิจ คือทัง้ กาแฟ และฟิลม ์ มีพาร์ตที่เราชอบแหละ แต่ก็ไม่ใช่ว่าเรา จะอยูท ่ ง้ั ชีวต ิ เพือ ่ มาล้างฟิลม ์ หรืออยูท ่ ง้ั ชีวต ิ เพือ ่ ท�าร้านกาแฟ แต่ถา ้ ทุกอย่างในธุรกิจ สามารถจัดการให้ด�าเนินไปได้ดี นั่นคือ ความสุขของเรา ปัณฑพล : เราชอบการมาร้านแล้ว ได้เปิดดูรายงานประจ�าวัน ได้โทร.ถาม ตัวเลขตลอดว่าขายได้เท่าไหร่ หรือตอนที่ เราเห็นกราฟว่าอะไรมันลดลงหรือเพิม ้ ่ ขึน เรามองว่าไม่มอ ี ะไรบนโลกนี้ไม่มเี หตุผล ทุ ก อย่ า งที่ เ กิ ด ขึ้ น เราจะคิ ด หาวิ ธี แ ก้ ถ้ า สมมติ ฐ านเราถู ก เราแก้ ปั ญ หาได้ เราจะเอนจอยกับโมเมนต์นั้นมากๆ 29
เรือ ่ ง: โตมร ศุขปรีชา ภาพ: อุษา นพประเสริฐ
EDITOR’S NOTE
ตง ั้ แต่เริม ่ ปี2020เป็ นต้นมาดูเหมือนจะยังไม่มีข่าวดีเลย
ไทเลอร์ โคเวน นักเขียนและนักวิเคราะห์คนหนึ่งของบลูมเบิรก ์ เสนอความคิดไว้น่าสนใจมากว่า
ถ้าเราดูสภาวะในโลกแทบทุกเรือ ่ ง เราจะพบว่า ไม่ว่าจะเป็นเทรนด์อะไรก็ตามแต่ ดูเหมือนทุกเทรนด์ จะอยู่ในช่วง ‘อ่อนแรง’ แทบทั้งนั้น
เขาเรียกมันว่าสภาวะ Trend Exhaustion หรือ ‘เทรนด์หมดแรง’
จริงๆ ศัพท์นี้ไม่ใช่ศัพท์ใหม่ มีการใช้กันมากในหมู่นักวิเคราะห์หุ้นสายเทคนิค ประเภทที่ดูกราฟหุ้น
ขึ้นๆ ลงๆ โดยช่วงที่กราฟหุ้นร่วงลงแบบอ่อนแรงนั่นเอง ที่เรียกกันว่า Trend Exhaustion
แต่ ไทเลอร์ โคเวน น�าค�านี้มาพิจารณาดูปรากฏการณ์ต่างๆ หลายๆ อย่างในโลก เช่น ภาวะว่างงาน
ในสหรัฐฯ เขารู ส ้ ึกว่าอัตราการว่างงานดี ขึ้นเรือ ่ ยๆ (คื อคนว่างงานน้ อยลง) แต่ แนวโน้ มนี้ น่าจะมาถึ ง
THE HARD YEAR OF 2020
จุดสุดยอดของมันแล้ว และน่าจะก�าลังอ่อนแรงลง
ที่ อี ก ฝั่ งโลกอย่ า งจี น เขาพบว่ า อั ต ราการเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของจี น ที่ เ คยร้อ นแรงหวื อ หวา
ตอนนี้ เริม ่ แผ่ วและอ่ อ นแรงลงมาเหมื อ นกั น เศรษฐกิ จ จี น ไม่ ไ ด้ เ ติ บ โตพุ่ ง พรวดเหมื อ นเดิ ม อี กต่ อ ไป แต่ก�าลังชะลอตัวลง แม้แต่อินเดีย ก็พบว่าอัตราการเติบโตไม่เป็นไปตามที่คาด คืออยู่ที่ราว 4% แทนที่ จะเป็น 6 หรือ 8% อย่างที่คาดกันไว้ก่อนหน้า
ในแอฟริกาก็เช่นเดียวกัน ที่เคยคาดการณ์กันว่าแอฟริกาจะเป็น The Next Big Thing หรือเป็น
กลุ่ ม ประเทศที่ ม าแรง ก็ ดู เหมื อ นตั ว เลขเศรษฐกิ จ จะดี แ ค่ ในไม่ กี่ ป ระเทศ (เช่ น กานาและเอธิโอเปี ย ) แต่นอกนัน ้ แล้วอยูใ่ นระดับน่าผิดหวัง แสดงให้เห็นว่า ‘เทรนด์’ การเติบโตในแอฟริกา จีน อินเดีย รวมถึงอเมริกา น่าจะไปในทิศทางเดียวกัน - คืออ่อนแรง
แม้แต่เรือ ่ งอื่นๆ เช่น ขบวนการฝ่ายขวาที่ท�าท่าเหมือนมาแรงในยุโรปและหลายๆ ประเทศในช่วง
ที่ผ่านมา หรือขบวนการ #metoo ที่เรียกร้องความเสมอภาคทางเพศ ไทเลอร์ โคเวน ก็บอกเช่นกันว่า มันอ่ อนแรงลงอย่างเห็นได้ ชัด ไม่นับรวมเทรนด์อื่นๆ อี กหลายเรือ ่ ง ที่เหมือนมาถึ งจุดสุดท้าย ที่ท�าให้ เขาบอกว่า 2020 จะเป็นปีที่ ‘ยาก’ แก่การท�านายทางเศรษฐกิจอย่างมาก แต่กระนั้นก็มีข้อยกเว้นอยู่เทรนด์หนึ่ง
เทรนด์นั้นก็คือเทรนด์เรือ ่ งสิ่งแวดล้อม
ไฟป่าทีล ่ ก ุ ไหม้ในบราซิล คุกรุน ่ อยูใ่ ต้ผน ื ป่าแอมะซอนเมือ ่ ปีทแ ี่ ล้ว ไล่มาจนถึงความรุนแรงของไฟป่า
ในแคลิฟอร์เนียทีเ่ กิดซ�าแล้วซ�าเล่า ไม่นบ ั ไฟป่าในอินโดนีเซีย ในจีน และล่าสุดทีร่ น ุ แรงมากจนยากจะดับได้
ในเร็ววัน ก็คือไฟป่าของออสเตรเลีย - เหล่านี้คือ ‘สัญญาณ’ แสดงอาการผิดปกติให้เห็นชัดเจนยิ่งขึ้น
ว่าเราอาจเริม ่ ก้าวเข้าสู่ภาวะ The Point of No Return หรือจุดที่อาจไม่สามารถหวนกลับได้อีกแล้ว ก็เป็นได้
A nthropocene หรือธรณีกาลยุคใหม่ที่เกิดขึ้นเพราะฝีมือมนุษย์ คือยุคที่มนุษย์ได้พาโลกก้าวสู่
ภาวะที่มีสภาพอากาศและอัตราส่วนของคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างสุดขั้ว - ใช่, ทั้งหมดนี้เกิดเพราะฝีมือของเราเอง
และนั่นแหละ - คือ ‘เทรนด์’ เดียว ที่นักวิเคราะห์หลายคน รวมถึง ไทเลอร์ โคเวน ด้วย - บอกว่า
มันจะเป็นเทรนด์ที่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน
เราก�าลังก้าวสู่จุดที่ไม่อาจหวนคืนได้อีก
และ 2020 อาจเป็นหมุดหมายแห่งการเปลี่ยนแปลงนั้น
หมุดหมายที่ท�าให้ปีนี้และปีต่อๆ ไป กลายเป็น The Hard Year ที่จะ Hard มากขึ้นเรือ ่ ยๆ 30