a day BULLETIN 566

Page 1

GOOD COMPANY BETTER SOCIETY

TODAY EXPRESS PRESENTS

26 NOV 2018

567 566 565


02 ISSUE 566 26 NOV 2018

“ท�ำความรู้จักกลุ่มธุรกิจ TCP” กลุ่มธุรกิจ TCP คือ ผู้ผลิตเครื่องดื่มชั้นน�ำของไทยและของโลก อาทิ กระทิงแดง (เรดบูล) เรดดี้ สปอนเซอร์ แมนซั่ม และเพียวริคุ รวมทั้งแบรนด์ขนมขบเคี้ยวซันสแนค www.tcp.com

D O C TO R I N G C H I A N G MAI ’ S B I G O L D T R EES WITH TCP S PIRI T

นอกจากจะเป็ น เมื อ งแห่ ง วั ฒ นธรรม ประวัตศ ิ าสตร์ และวิถช ี วี ต ิ ของชาวล้านนาแล้ว เชียงใหม่ยังจัดว่าเป็นเมืองสีเขียว ที่สามารถ รั ก ษาต้ น ไม้ ใ หญ่ อ ายุ ก ว่ า ร้ อ ยปี ใ ห้ เ ติ บ โต สอดคล้องไปกับการอยูอ ่ าศัยได้อย่างน่าชืน ่ ชม ท�ำให้บริเวณตัวเมืองมีความเขียวชอุ่ม ร่มรื่น ไปเยื อ นที ไ รก็ สู ด อากาศบริ สุ ท ธิ์ ไ ด้ เ ต็ ม ปอด จนบางทีเราก็นึกแปลกใจว่า เมืองภาคเหนือ สุดชิลแห่งนีม ้ วี ธิ ก ี ารดูแลและจัดการการอยูอ่ าศัย ร่วมกับต้นไม้ใหญ่ได้อย่างไร TCP Spirit โครงการเพือ ่ อาสาแนวใหม่ จากนโยบายด้านความยั่งยืนของกลุ่มธุรกิจ TCP จึงชวนอาสาสมัครกว่า 100 ชีวต ิ ไปหา ค�ำตอบด้วยกันในกิจกรรม ‘TCP Spirit ครัง้ ที่ 2 : หมอต้นไม้ เชียงใหม่’ โดยพาอาสาสมัคร คนรุ่นใหม่นั่งรถไฟไปเรียนรู้การดูแลรักษา ต้นไม้ใหญ่ท่ีอยู่คู่บ้านคู่เมืองเชียงใหม่มานับ 100 ปี ทั้งยังสร้างโอกาสให้กับอาสาสมัคร ในภาคเหนือได้มป ี ระสบการณ์ตรงกับการท�ำงาน ร่วมกับหมอต้นไม้แห่งเมืองเชียงใหม่ขณะท�ำงาน จริง พร้อมกับนักแสดงหนุ่มมากฝีมือ และ TCP Spirit Ambassador ผูม ้ ใี จรักธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า ง อเล็ ก ซ์ เรนเดลล์ เป็นเวลา 2 วัน 1 คืน

T H E P OW ER OF GR EEN SPIRIT ‘TCP Spirit ครั้งที่ 2 : หมอต้นไม้ เชียงใหม่’ เป็นกิจกรรมที่ต่อยอดมาจาก กิจกรรมหมอต้นไม้ ครั้งที่ 1 ซึ่งจัดขึ้น ที่ส วนลุม พินี กรุง เทพฯ ซึ่ง มีผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม เป็นอาสาสมัครคนรุ่นใหม่ทงั้ หมด 160 คน จากจ�ำนวนผู้ส่งใบสมัครกว่า 1,700 คน จากจุดเริม่ ต้นครัง้ นัน้ TCP Spirit จึงต่อยอด ขยายการเรียนรู้สู่กิจกรรมครั้งที่ 2 ผ่าน การปฏิบตั งิ านจริงกับต้นยางนาอายุกว่า 100 ปี บนถนนเชียงใหม่-ล�ำพูน และต้นไม้ เก่ า แก่ อื่ น ๆ อี ก มากมายในเชี ย งใหม่ พร้อมกับสร้างประสบการณ์ให้กับกลุ่มคน

รุ่นใหม่ให้มคี วามรู้ความเข้าใจในการดูแล รักษาต้นไม้ใหญ่ ผ่านการลงมือปฏิบตั แิ บบ ตัวต่อตัวกับกิจกรรมฐานต่างๆ จากพื้นที่ สู่ชุมชน และจากชุมชนสูเ่ มือง และศึกษา วิธกี ารดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ให้มสี ขุ ภาพทีด่ ี กับ ‘หมอต้นไม้’ ผู้เชี่ยวชาญในท้องที่ อย่าง อาจารย์บรรจง สมบูรณ์ชยั อาจารย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้

H APPY TRE E TI M E ตลอดระยะเวลา 2 วัน 1 คืน เหล่า อาสาสมัคร TCP Spirit ได้เรียนรูก้ ระบวนการ ดูแลต้นไม้ใหญ่เก่าแก่ผา่ นกิจกรรมมากมาย เช่น กิจกรรม ‘เขียวชมเมือง’ ทีพ่ าทุกคนนัง่ รถรางสุดชิลไปตามรอยประวัตศิ าสตร์ตน้ ไม้ 5 ต้นส�ำคัญในเมืองเชียงใหม่ พร้อมกับ ‘เครือข่ายเชียงใหม่ เขียว สวย หอม’ โดยเริม่ ทริปทีต่ น้ จามจุรอี ายุ 150 ปี ทีส่ โมสรยิมคานา สูต่ น้ ตะเคียนทองอายุ 100 ปี ทีส่ ำ� นักบริหาร พืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ที่ 16 มุง่ หน้าต่อไปยังต้นมะขาม อายุ 200 ปี ทีโ่ รงแรมแทมมาริน วิลเลจ และ ต้นจามจุรีอายุ 200 ปี ที่ส�ำนักฝรั่งเศสแห่ง ปลายบุรพทิศ ปิดท้ายด้วยต้นยางนาเก่าแก่

กว่า 220 ปี ที่วัดเจดีย์หลวง ซึ่งเป็นไม้เมือง ของจังหวัดเชียงใหม่ หลังจากเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ของเมือง ผ่านต้นไม้เก่าแก่แล้ว อาสาสมัครก็ออกเดิน ทางไปส�ำรวจต้นยางนา ที่ปลูกไว้บนถนน เชียงใหม่-ล�ำพูนกว่า 995 ต้น ตั้งแต่สมัย รัชกาลที่ 5 กับ อาจารย์บรรจง สมบูรณ์ชัย หมอต้นไม้เมืองเชียงใหม่ และพ่ออุ้ย แม่อุ้ย รวมทัง้ พีน่ อ้ งชาวเชียงใหม่ ทีม่ าช่วยกันตรวจ สุขภาพต้นยางนา เติมอากาศให้รากต้นไม้ พร้อมกับปลูกต้นใหม่ 49 ต้น เพื่อทดแทน ต้นเก่าที่ตายไป และรักษาความร่มรื่นของ ถนนสายนี้ต่อไปในอนาคต


03 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

ปิดท้ายความประทับใจในวันถัดมา ด้วยกิจกรรมนัง่ รถชมระบบนิเวศทีส่ มบูรณ์ ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ สูดอากาศบริสทุ ธิ์ จากต้นไม้ใหญ่อย่างเต็มปอด และไปชม อ่างเก็บน�้ำห้วยโจ้ ซึ่งเป็นอ่างเก็บน�้ำที่ ในหลวง รัชกาลที่ 9 มีพระราชด�ำริให้สร้าง เพือ่ อนุรกั ษ์และพัฒนาต้นน�ำ้ พร้อมกลับมา เรียนรูท้ กั ษะรุกขกรในกิจกรรม ‘ไต่ ตัด แต่ง’ ต้นไม้ใหญ่ ที่อาสาสมัครทุกคนได้เรียนรู้ ตั้ง แต่ วิธีก ารใช้เงื่อนเชือก จนถึง วิธีปีน ต้นไม้ และการตัดแต่งกิ่งไม้อย่างถูกต้อง ตามหลักรุกขกรรม

CREATING S USTAINABLE CHA NGE กิจกรรม ‘TCP Spirit ครั้งที่ 2 : หมอ ต้นไม้ เชียงใหม่’ ไม่เพียงแต่เปิดโอกาสให้ อาสาสมัครได้เข้าร่วมกระบวนการเรียนรู้ ศาสตร์รกุ ขกรรมอย่างเข้มข้นเท่านัน้ แต่ยงั เป็นการสร้างทัศนคติรักสิ่งแวดล้อมผ่าน การเข้าไปสัมผัสสถานการณ์จริง รวมทั้งได้ พบมิตรภาพใหม่ๆ จากเพือ่ นทีม่ หี วั ใจสีเขียว และส่งต่อพลังกลับไปยังสังคมในวงกว้าง สอดคล้องกับความพยายามของกลุม่ ธุรกิจ TCP ผูผ้ ลิตเครือ่ งดืม่ ชัน้ น�ำของไทยและของ โลก อาทิ กระทิ ง แดง (เรดบู ล ) เรดดี้ สปอนเซอร์ แมนซั่ม และเพียวริคุ รวมทัง้

แบรนด์ขนมขบเคี้ยวซันสแนค ที่มุ่งมั่น ขับเคลือ่ นสังคมไทย พัฒนาชุมชน และรักษา สิง่ แวดล้อม ผ่านกิจกรรมอาสาสมัคร TCP Spirit โครงการอาสาสมัครแนวใหม่ที่มุ่ง รวมพลังคนรุ่นใหม่ขับเคลื่อนชุมชนและ สังคมสู่ความยั่งยืน โดยต่อยอดและขยาย ความร่วมมือมาจาก ‘กระทิงแดง สปิริต’ โดยมุ่งให้การสนับสนุนจิตอาสาที่เป็นคน รุน่ ใหม่ ภาคีเครือข่าย และกลุม่ องค์กรต่างๆ ผ่านกิจกรรมทีแ่ ปลกใหม่ในหลากหลายมิติ รวมถึงกิจกรรมทีส่ งั คมต้องการแต่ขาดพลัง ผลักดัน


04

CONTENTS

ISSUE 566 26 NOV 2018

DATABASE ความเหลือ่ มล�ำ้ ของสังคมเมือง และชนบท และภารกิจช่วยเหลือ พีน ่ อ ้ งในพืน ้ ทีห ่ า่ งไกลของ บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จ�ำกัด

THE CONVERSATION 6 บทสนทนากับกลุม ่ คนทีเ่ ชือ่ ในการท�ำความดีบนท้องถนน

CONNECTING THE DOTS การขับเคลื่อนองค์กร พร้อมพัฒนาสังคมรอบข้าง ในมุมมองของ ฮิโระโนะริ คิรวิ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษท ั โตเกียวมารีนประกันภัย (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)

ISSUE 566

จิรวัชร สายวุฒน ิ นท์

LIFE 7 ผลงานภาพถ่ายสะท้อน

GOOD COMPANY BETTER SOCIETY

น�ำ้ ใจชาวกรุง จากโครงการ ประกวดภาพถ่าย ‘กรุงเทพ เมืองแห่งน�ำ้ ใจ’

THE STORY OF STUFF อุปกรณ์สด ุ รักสุดหวงของ คนบ้ากล้อง ‘ซัน’- อาทิตย์ เลิศรักษ์มงคล เจ้าของร้าน Husband and Wife Shop

TODAY EXPRESS PRESENTS

26 NOV 2018

567 566 565

SPACE & TIME เผยความลับของแขก ตัวประหลาดผู้มาสิงสู่

ภาพบนปกของเราครัง ้ นีเ้ ป็นผลงานภาพถ่ายของ ‘ค๊อปส์’ - จิรวัชร สายวุฒน ิ นท์ หนุม ่ นักศึกษาชัน ้ ปีที่ 1 ภาควิชาคณะดิจท ิ ล ั มีเดียและศิลปะ ภาพยนตร์ สาขาภาพยนตร์ มหาวิ ท ยาลั ย กรุ ง เทพ ที่ ห ลงใหล การถ่ายภาพมาอย่างยาวนาน เขาเลือกบันทึกเหตุการณ์ต รงหน้ า ที่ พี่ วิ น มอเตอร์ ไ ซค์ ม าช่ ว ยพยุ ง เพื่ อ นที่ เ จ็ บ ขาข้ า มถนน ก่ อ นจะส่ ง เข้ า โครงการประกวดภาพถ่าย กรุงเทพ เมืองแห่งน�้ำใจ จนได้รับรางวัล ชนะเลิศอันดับหนึ่ง โดยใช้ชื่อภาพว่า ‘น�้ำใจของคนกรุง’ เพื่อบอกให้ ทุกคนรับรูถ ้ ง ึ ค�ำว่าน�ำ้ ใจและการช่วยเหลือคนอืน ่

ร่างกาย ในพิพิธภัณฑ์ ปรสิตวิทยาเมกุโระ

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อ ชีวิตและสังคมผ่านสายตา วุฒชิ ย ั กฤษณะประกรกิจ

ทีป ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการทีป ่ รึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ้ ม ิ พ์ผโู้ ฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒช ิ ย ั กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นักเขียน/ผู้ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร บรรณาธิการภาพ คเชนทร์ วงศ์แหลมทอง หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกต ิ ติบต ุ ร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ิ สกุล ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�ำดวน พิสจู น์อก ั ษร/ผูด ้ แ ู ลสือ ่ ออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภูท ่ อง บรรณาธิการดิจต ิ อลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�ำอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วด ิ โี อ วงศกร ยีด ่ วง กวินนาฏ หัวเขา ทีป ่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจิ รรยากุล ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุง ่ รัตนสิทธิกล ุ 08-4491-9241 ผูช ้ ว่ ยผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจฬ ุ างกูล 08-1639-1929, พงศ์ธด ิ า อังศุวฒ ั นากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� ำ กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com


ad TheMall adB566 Rev1.pdf 1 13/11/2561 16:21:02

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


06 เรื่อง

พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai

DATA BA S E

ภาพ

สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรมอาวุโส IG : Ponyo_thesea

ISSUE 566 26 NOV 2018

S p r e a d T h e Wa r m t h

ภาคเหนือ

แม้ทก ุ วันนีส ้ ง ั คมเมืองจะพัฒนารุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว แต่กป ็ ฏิเสธไม่ได้วา่ หลายพืน ้ ทีใ่ นชนบทของประเทศไทย ยังต้องประสบกับปัญหาความขาดแคลนและทุรกันดาร โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาวที่มักท�ำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ หากไม่มอ ี ป ุ กรณ์บรรเทาความหนาวทีเ่ พียงพอ ข้อมูลต่อไปนีแ้ สดงให้เห็นถึงปัญหาของผูค ้ นในชนบททีย ่ งั ขาดโอกาส ต่างๆ จึงเกิดเป็นภารกิจของไทยเบฟ ที่ยื่นมือไปช่วยพวกเขาอย่างจริงจังในทุกๆ ปี

โครงการไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว ปีที่ 19 ลงพื้นที่แจกผ้าห่ม ในภาคเหนือและอีสาน รวม 15 จังหวัด

ภาคอีสาน

ภาคเหนือ 1. จังหวัดเพชรบูรณ์ 15,000 ผืน 2. จังหวัดพิษณุโลก 15,000 ผืน

6 บึงกาฬ

3. จังหวัดสุโขทัย 13,000 ผืน

7

6 พะเยา

4. จังหวัดอุตรดิตถ์ 13,000 ผืน

หนองคาย

7 น่าน

5 สกลนคร

5 แพร่

5. จังหวัดแพร่ 12,000 ผืน 6. จังหวัดพะเยา 12,000 ผืน

4 อุตรดิตถ์

7. จังหวัดน่าน 15,000 ผืน

นครพนม

8 หนองบัวล�ำภู

4

3 สุโขทัย

ภาคอีสาน

2 พิษณุโลก

1. จังหวัดนครราชสีมา 15,000 ผืน

1 เพชรบูรณ์

3 ร้อยเอ็ด

1 นครราชสีมา

2. จังหวัดมหาสารคาม 15,000 ผืน 3. จังหวัดร้อยเอ็ด 13,000 ผืน

2 มหาสารคาม

4. จังหวัดนครพนม 12,000 ผืน 5. จังหวัดสกลนคร 15,000 ผืน 6. จังหวัดบึงกาฬ 10,000 ผืน 7. จังหวัดหนองคาย 13,000 ผืน 8. จังหวัดหนองบัวล�ำภู 12,000 ผืน

โครงการไทยเบฟ... รวมใจต้านภัยหนาว ปีที่ 19 ปัญหาด้านภัยหนาวในปัจจุบัน

6

คน

จังหวัด

ฤ ดู ห น า ว ใ น ปี นี้ ค า ด ว่ า ความหนาวเย็นใกล้เคียงกับ ปีที่ผ่านมา โดยมี 7 จังหวัด ที่มีโอกาสเกิดอากาศหนาว ถึงหนาวจัด (ต�ำ่ กว่า 8 องศา เซลเซี ย ส) ได้ แ ก่ จั ง หวั ด เชียงราย ตาก พะเยา น่าน เลย สกลนคร และนครพนม

ข้อมูลพื้นที่จุดแจกผ้าห่มปีที่ 19 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จ�ำกัด (มหาชน)

55

จังหวัด

กรมป้ อ งกั น และบรรเทา ส า ธ า ร ณ ภั ย ป ร ะ ก า ศ ว่ า ภาคเหนื อ ภาคอี ส าน และ ภาคกลาง รวม 55 จังหวัด มี โ อกาสเกิ ด อากาศหนาว ถึ ง หนาวจั ด ซึ่ ง มี ห มู่ บ้ า น จ� ำ นวนมากที่ ต้ อ งเตรี ย ม เฝ้ า ระวั ง และจั ด การดู แ ล ช่วยเหลือ

11

จั ด สรรหน่ ว ยแพทย์ เคลือ ่ นที่ ตรวจสุขภาพ ชาวบ้าน 11 จังหวัด ในภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ

200,000

จ� ำ นวนแพทย์ ใ นเมื อ งและ ในชนบทมีความแตกต่างกัน มาก โดยโรงพยาบาลในสังกัด กระทรวงสาธารณสุขมีแพทย์ จ�ำนวน 6,664 คน โรงพยาบาล เอกชนมี 5,048 คน แต่แพทย์ ในส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ มีเพียง 6 คนเท่านั้น

7

มอบผ้าห่มจ�ำนวน 2 0 0 , 0 0 0 ผื น ใ ห้ พี่ น้ อ ง ผู้ ป ร ะ ส บ ภั ย หนาว 15 จังหวัด รวมระยะทาง 4,089 กิโลเมตร

20

เครือข่ายพันธมิตร ร่วมเติมเต็มความสุข



08 ISSUE 566 26 NOV 2018

AGENDA

01

02

WWW.PHYS.ORG

HTTPS://MOTHERBOARD.VICE.COM

ANIMAL

ENVIRONMENT

คู่ หู วาฬในเซี่ ยงไฮ้ เตรี ยมปลด เกษียณไปอยูบ ่ า้ นใหม่ในไอซ์แลนด์

‘หุ่ น ยนต์ ใ ต้ น�้ ำ ’ เตรี ย มปลู ก ลูกปะการังที่ Great Barrier Reef

Little White กับ Little Grey สองวาฬดาวเด่นวัย 12 ปี ในอควาเรียม Changfeng Ocean World ที่เซี่ยงไฮ้ เตรียมปลดเกษียณจากการท�ำงานและย้ายไปอยูบ่ า้ นใหม่ ทีเ่ ขตอนุรกั ษ์พนั ธุส์ ตั ว์นำ�้ Klettsvik Bay ประเทศไอซ์แลนด์ ในปี ห น้ า เนื่ อ งจากจ�ำ นวนผู ้ ม าเยี่ ย มชมโชว์ ว าฬ ลดน้อยลงอย่างต่อเนือ่ ง และเป็นหนึง่ ในความพยายาม ทีจ่ ะพาสัตว์นำ�้ ทีถ่ กู กักขังกลับไปสูท่ อี่ ยูต่ ามธรรมชาติ แต่ ยัง ได้ รับ การดู แ ลจากผู ้ เ ชี่ย วชาญอย่ า งใกล้ ชิด ท�ำให้สร้างความหวังใหม่ให้กบั สัตว์นำ�้ ขนาดใหญ่กว่า 3,000 ตัวที่ยังถูกกักขังทั่วโลก “เราหวังว่าเขตอนุรักษ์ พันธุส์ ตั ว์นำ�้ แห่งนีจ้ ะช่วยกระตุน้ ให้เกิดการปลดปล่อย วาฬและโลมากลับสูธ่ รรมชาติมากขึน้ ซึง่ วันหนึง่ เราจะ สามารถยุตกิ ารแสดงวาฬและโลมาเพือ่ ความบันเทิงได้ เสียที” Andy Bool ประธานมูลนิธิ Sea Life Trust กล่าว

เนือ่ งจาก Great Barrier Reef แนวปะการังยักษ์ของ ออสเตรเลียก�ำลังเจอกับปัญหาคุกคามหลายอย่าง ตัง้ แต่ การเปลีย่ นแปลงทางสภาพภูมอิ ากาศโลก การประมง เกินขนาด และสารเคมีจากการเกษตรทีไ่ หลลงสูท่ ะเล ท�ำให้เกิดปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวอย่างรุนแรง ทีมนักวิทยาศาสตร์ น�ำโดย ศาสตราจารย์เเมทธิว ดันบาบิน แห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งควีนส์แลนด์ จึงคิดค้น LarvalBot หุน่ ยนต์ใต้นำ�้ กึง่ อัตโนมัติ ทีส่ ามารถ น�ำตัวอ่อนของปะการังทีท่ มี งานเลีย้ งเอาไว้ไปปลูกตาม แนวปะการัง Vlasoff Reef ซึง่ ห่างจากฝัง่ ของเมืองแคร์สไป หนึง่ ชัว่ โมงด้วยการเดินทางทางเรือ โดยศาสตราจารย์ แมทธิวกล่าวว่า “โครงการนี้ยังใหม่อยู่และทีมงาน ต้องท�ำงานแข่งกับเวลา เพื่อให้แน่ใจว่าสามารถน�ำ ลูกปะการังลงไปปลูกได้อย่างรวดเร็วเท่าทีจ่ ะท�ำได้”

03

04

QUOTE

“Life is never completely without its challenges.”

สแตน ลี นักเขียนการ์ตน ู นักแสดง โปรดิวเซอร์ ผูใ้ ห้กำ� เนิดเหล่าซูเปอร์ฮโี ร่ของจักรวาลมาร์เวล

05

WWW.DEZEEN.COM

WWW.DEZEEN.COM

ARCHITECTURE

TECHNOLOGY

ENTERTAINMENT

ทีม Zaha Hadid Architects ก� ำ ลั ง ออกแบบ Smart City ใกล้กรุงมอสโก

อุปกรณ์ชว่ ยปิดหูปด ิ ตา เสริมสร้าง สมาธิในออฟฟิศทีแ ่ สนวุน ่ วาย

24K Magic ของจริง! บรูโน มาร์ส บริจาคเงินซือ้ อาหาร 24,000 กล่อง ให้ครอบครัวทีข ่ าดแคลนในฮาวาย

Zaha Hadid Architects บริษทั ของสถาปนิกชือ่ ดังผูล้ ว่ งลับ และ Pride Architects สตูดโิ อสัญชาติรสั เซีย เผยว่าก�ำลัง ออกแบบโปรเจ็กต์ยักษ์ Rublyovo-Arkhangelskoye สมาร์ ต ซิ ตี แ ห่ ง ใหม่ ข องโลกทางทิ ศ ตะวั น ตกของ กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย โดยภายในพืน้ ที่ 4.6 ตารางกิโลเมตร จะประกอบไปด้วยโซนที่อยู่อาศัยที่รองรับ ผูค้ นราวได้ 66,500 คน ย่านธุรกิจ และศูนย์กลางทาง วัฒนธรรม ภายใต้คอนเซ็ปต์ People-Centric หรือการสร้าง ชุมชนทีเ่ น้นผูอ้ ยูอ่ าศัยเป็นศูนย์กลาง ทัง้ ยังเชือ่ มโยงกัน ผ่านเทคโนโลยีสุดล�้ำและกิจกรรมต่างๆ รอบเมือง ที่นอกจากจะท�ำให้คนในเมืองเกิดความสุขและสร้าง สังคมทีแ่ ข็งแรงแล้ว ยังเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมด้วย

เพราะมี ค นจ� ำ นวนไม่ น ้ อ ย (รวมถึ ง เราเองด้ ว ย!) ทีไ่ ม่สามารถโฟกัสกับการท�ำงานระหว่างอยูใ่ นออฟฟิศ ที่วุ่นวายได้ โดยเฉพาะเหล่าฟรีแลนซ์ที่มักท�ำงาน นอกบ้าน ในคาเฟ่ และโคเวิรก์ กิง้ สเปซทีม่ เี สียงรบกวน แทบตลอดเวลา บริษทั พานาโซนิคจึงพัฒนา Wear Space หรืออุปกรณ์ช่วยปิดหูปิดตา ที่ได้แรงบันดาลมาจาก ที่ครอบตาม้าแข่ง ซึ่งจะท�ำให้ม้ามีสมาธิกับสิ่งที่อยู่ ตรงหน้าได้โดยไม่ไขว้เขว โดยอุปกรณ์นี้จะครอบหู ทั้งสองข้าง เชื่อมต่อกับบลูทูธเพื่อเปิดเพลงและเปิด เสียง White Noise ได้ รวมทั้งมีฟีเจอร์ตัดเสียงรบกวน รอบข้างถึง 3 ระดับ พร้อมกับสามารถปรับระยะ การมองเห็นด้านข้างให้ลดลงได้ถงึ 60% ต่อไปนีจ้ ะท�ำงาน ที่ไหนก็รับรองว่าเงียบสงบและมีสมาธิแน่นอน

WWW.LEICESTERMERCURY.CO.UK

เป็นการจบทัวร์คอนเสิร์ต 24K Magic World Tour ที่น่าประทับใจเป็นอย่างมาก เพราะศิลปินเพลงพ็อพ สุดฮอตแห่งยุค บรูโน มาร์ส ได้เลือก Aloha Stadium ซึง่ อยูใ่ นโฮโนลูลู ฮาวาย บ้านเกิดของเขา เป็นเวทีสดุ ท้าย จากการแสดงรอบโลกทั้งหมด 200 แห่ง โดยนอกจาก จะมอบความสุขให้กับผู้ชมผ่านคอนเสิร์ตที่ขายบัตร หมดเกลี้ยงทั้ง 3 รอบ (เอาชนะสถิติที่ U2 และ ไมเคิล แจ็กสัน ท�ำไว้ที่ 2 รอบ) แล้ว เขายังมอบอาหารชุดทัง้ หมด 24,000 กล่อง ให้กบั ครอบครัวชาวโฮโนลูลทู ขี่ าดแคลน ในวัน Thanksgiving ที่ผ่านมา ผ่านการบริจาคเงิน ให้กับ Salvation Army องค์กรการกุศลของคริสเตียน ที่ให้ความช่วยเหลือแก่เด็กๆ ในครอบครัวยากไร้


ad CPN adB566 Rev1.pdf 1 19/11/2561 16:42:06

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


ad Huawei adB565 Rev1.pdf 1 6/11/2561 14:02:13

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


CREATED MY PERFEC T MATE ในแต่ ล ะวั น ที่ อ อกจากบ้ า นเราต้ อ งพกอะไรต่ อ มิ อ ะไรไปด้ ว ยมากมาย เพื่ อ ใช้ ใ นการท� ำ งาน ทั้ ง แล็ ป ท็ อ ปที่ แ ม้ จ ะเบาบางแค่ ไ หนแต่ ก็ ยั ง ไม่ ค ล่ อ งตั ว อยู่ดี หรือบางครั้งต้องมีกล้องถ่ายรูปอีกตัวเอาไว้กันเหนียว ไหนจะสมุดจดงาน รวมไปถึ ง พาวเวอร์ แ บงก์ แ ละสายชาร์ จ ต่ า งๆ ที่ บ างครั้ ง ก็ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ เ องหรอก แต่ต้องพกไว้ให้อุ่นใจเผื่อคนใกล้ตัวเกิดมีความจ�ำเป็นต้องชาร์จแบตเตอรี่แบบ เร่งด่วน พอสิง่ เล็กๆ น้อยๆ พวกนีร ้ วมกันอยูใ่ นกระเป๋าก็กลายเป็นความหนักหน่วง ทีเ่ ราต้องแบกไว้ เราลองมาเคลียร์ความจุกจิกนีอ ้ อกไปด้วย Huawei Mate 20 Series กันสักหน่อย แล้วจะพบว่าคุณจะเดินตัวปลิวได้ทันที

SMART MEETING PRO

SUCCESSFUL PHOTO

ENERGY SHARING

การพรีเซนเทชันงานมักสร้าง ความยุ่งยากให้เราเสมอ เพราะ ต้ อ งเตรี ย มอุ ป กรณ์ พ ่ ว งต่ อ มากมาย แม้วา่ เดีย๋ วนีจ้ ะสามารถ เชือ่ มคอมพิวเตอร์เข้ากับสมาร์ตทีวี ได้ด้วยสายเพียงเส้นเดียวก็ตาม แต่เราเหนือชั้นกว่านั้น เพราะแค่ หยิบ HUAWEI Mate 20 Pro ออกมา จากกระเป๋ า แล้ ว เชื่ อ มต่ อ ไปยั ง สมาร์ ต ที วี ผ ่ า น Wireless คุ ณ ก็ สามารถฉายภาพพรีเซนเทชันทีอ่ ยูใ่ นโทรศัพท์ออกไปได้อย่างโปรๆ

ใครก็รวู้ า่ กล้องของ HUAWEI ที่ พัฒนาร่วมกับ Leica นัน้ ยอดเยีย่ ม อยู ่ แ ล้ ว แต่ ส� ำ หรั บ HUAWEI Mate 20 Pro นัน้ ประสิทธิภาพของ กล้องถ่ายรูปได้อัพเกรดจนเรา ต้องทึง่ เพราะคราวนีเ้ ขาใส่เลนส์ มาให้ 3 ตัว นั่นคือเลนส์ Wide Leica 40 MP ทีเ่ ก็บภาพสีได้คมชัด และให้สีที่สวยสด เลนส์ Telephoto Leica 8 MP ช่วยให้เราซูมวัตถุได้ดขี นึ้ โดยคุณภาพไม่ถูกลดทอน และช่วยให้การถ่ายภาพหน้าชัด หลังเบลอดีขนึ้ ส่วนเลนส์ Ultra-Wide Leica 20 MP คือสิง่ ทีช่ นะใจ เราในครัง้ นี้ เพราะสามารถเก็บภาพได้กว้างกว่าใคร

แบตเตอรีข่ นาด 4200 mAh ทีใ่ ส่เข้ามาใน HUAWEI Mate 20 Pro เรายังรูส้ กึ เฉยๆ แต่ เมื่อรู้ว่าแบตเตอรี่ที่ ความจุ สู ง ขนาดนี้ สามารถแบ่งปันใครเพื่อนๆ ได้ดว้ ยฟังก์ชนั Wireless Reverse Charge ใน HUAWEI Mate 20 Pro ไปยังสมาร์ตโฟนเครื่องอื่นที่รองรับ Wireless Charge ได้ทันที เราก็รกั HUAWEI Mate 20 Pro ขึน้ มาทันที

และด้วยชิปเซต Kirin 980 ขนาด 7nm ทีป่ ระมวลผลได้ อย่างยอดเยีย่ ม ท�ำให้วดิ โี อทีค่ ณ ุ ก�ำลังเปิดแสดงนัน้ ลืน่ ไหล ไม่สะดุด แม้วา่ คุณก�ำลังใช้โทรศัพท์สง่ ข้อความหรือโทร.ออกไปพร้อมๆ กัน ซึ่งระบบจะแยกความเป็นส่วนตัวนี้ให้ ไม่ถูกแสดงขึ้นไปบนจอ โทรทัศน์ขณะก�ำลังพรีเซนต์ และ HUAWEI Mate 20 Pro ยังสามารถ แปลงร่างตัวเองเป็นคอมพิวเตอร์ PC ได้ในฟังก์ชนั PC Mode และ ยังสามารถดาวน์โหลดข้อมูลผ่านระบบ Wi-Fi ได้เร็วถึง 1733 Mbps ประหยัดเวลาเพิม่ ได้อกี เยอะเลย

โดยเฉพาะการเดินถ่ายรูปสตรีทโฟโต้แล้ว การได้มมุ มองที่ กว้างขึน้ นัน้ ท�ำให้การถ่ายภาพของเราสนุกขึน้ มาก จนเก็บกล้องที่ มีไว้ในตูแ้ บบลืมยาวไปเลย (ลืมบอกไปว่ากล้องของ HUAWEI Mate 20 Pro สามารถถ่ายภาพมาโครได้ในระยะใกล้ที่ 2.5 ซม. ใครทีท่ ำ� งาน ด้านเครือ่ งประดับหรือโปรดักต์เล็กๆ ทีต่ อ้ งใช้การถ่ายรูปแบบใกล้ๆ นี่ยิ้มออกเลย เพราะมีโทรศัพท์เครื่องเดียวจบงานได้เลย) และ HUAWEI Mate 20 Pro ยังมีโหมดถ่ายรูปต่างๆ ให้เลือกใช้อกี มากมาย แถม AI ยังฉลาดมากๆ จนใครเห็นก็อจิ ฉากับภาพทีไ่ ด้ จากโทรศัพท์เครือ่ งนี้

และเติ ม พลั ง กลั บ มาให้ ตั ว เองได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ด้ ว ย เทคโนโลยี HUAWEI SuperCharge (ทีไ่ ด้มาตรฐาน TÜV Safe FastCharge System) นัน่ หมายความว่าแค่เสียบสายชาร์จไว้ 30 นาที โทรศัพท์จะเก็บแบตเตอรีไ่ ด้ทรี่ ะดับ 70% หรือแค่ชว่ งเวลาทีค่ ณ ุ อ่าน a day BULLETIN ฉบับนีจ้ บ โทรศัพท์กพ็ ร้อมใช้งานหนักๆ ต่อแล้ว

ที่เล่ามาทั้งหมดเป็นแค่ฟังก์ชันส่วนหนึ่งของ HUAWEI Mate 20 Series เท่านั้น แต่เชื่อว่าแค่สามฟังก์ชันที่เรายกมาบอกคุณนั้นจะท�ำให้ความรุงรังที่เคยมีอยู่นั้นหายไป

ได้เกินครึ่ง และถ้ารู้ว่า HUAWEI Mate 20 Series ยังมีอะไรเจ๋งๆ อยู่อีกเพียบ อย่าง GPS ที่แม่นย�ำ ถ่ายวิดีโอในแบบมืออาชีพ ระบบความเป็นส่วนตัวด้วย 3D Face หรือทนทาน

ต่อการละอองน�้ำและฝุ่นระดับ IP68 ใน HUAWEI Mate 20 Pro เมื่อรู้แบบนี้แล้ว เชื่อเลยว่าแค่พก HUAWEI Mate 20 Series เครื่องเดียว ก็แทบจะครอบคลุมการท�ำงาน ทุกอย่างในชีวิตแล้ว ถ้าไม่เชื่อเข้าไปดูประสิทธิภาพที่ยังมีอีกมากมายได้ที่ https://consumer.huawei.com/th


12

T H E C O N V E R SAT I O N

เรื่อง

ทรรศน หาญเรืองเกียรติ บรรณาธิการบทความ IG : Matt_Doraemon

ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล กองบรรณาธิการ sarunya.magazine@gmail.com

พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai

ISSUE 566 26 NOV 2018

GOOD COMPA BETTER SOCIET


13 ภาพ

ภาสกร ธวัชธาตรี ADAYBULLETIN.COM ช่างภาพ passakorn.sunt@gmail.com FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

ธนดิษ ศรียานงค์ ช่างภาพ thanadis@gmail.com

a day BULLETIN x Tokio Marine Insurance

ANY R TY

ใ น สั ง ค ม เ มื อ ง ใ ห ญ่ อั น ทั น สมั ย การคมนาคมเดิ น ทาง ไปกลับทีท ่ ำ� งาน กลายเป็นกิจวัตร ที่ กิ น เ ว ล า ม า ก ที่ สุ ด ใ น ชี วิ ต ประจ�ำวันของเรา ถ้าได้นงั่ ลงในรถยนต์สว่ นตัว ที่ให้มุมมองแบบปัจเจก แต่ละคน มีโลกของตัวเองอยูใ่ นรถแต่ละคัน ห่อหุ้มด้วยโครงเหล็กและครอบ กระจก เราจึ ง มั ก จะมองไม่ เ ห็ น เพือ ่ นร่วมทาง เห็นแต่คแู่ ข่ง ทีต ่ อ ้ ง เบียดแซง ห้อตะบึง เพราะรูส ้ ก ึ ว่า เลนอืน ่ มักจะไปได้เร็วกว่าเลนของ เราเสมอ จนเมื่ อ ปาดแซงไปได้ ส� ำ เร็ จ ก็ ก ลั บ พบว่ า เลนที่ เ รา เปลี่ ย นออกมานั้ น ไปได้ เ ร็ ว กว่ า อีกแล้ว บวกกั บ ความรู้ สึ ก เร่ ง รี บ บีบคั้นจากเทคโนโลยีการสื่อสาร ที่มาหดส�ำนึกเรื่องเวลาของเรา ให้รีบท�ำทุกอย่างเสร็จได้รวดเร็ว เพียงชัว่ ลัดนิว้ มือ เมือ ่ เมืองใหญ่โต ล้ อ มรอบตั ว ดู สั บ สนวุ่ น วาย ในขณะทีเ่ วลาภายในใจนัน ้ หดเล็ก ลงเรือ ่ ยๆ จึงไม่ตอ ้ งแปลกใจทีเ่ รา มักจะใจร้อนมากขึน ้ ความโอบอ้อม อารี และความรู้สึกเห็นอกเห็นใจ ต่อผู้อื่นลดลง บนหน้าสือ ่ และโซเชียลมีเดีย เราจึ ง มั ก พบเจอกั บ ข่ า วร้ า ย อุบต ั เิ หตุ ความรุนแรง และการปะทะ กันของปุถุชน ราวกับว่าสังคม

โดยรวมก�ำลังเสื่อมโทรมลงและ ผู้คนต่างก็ก�ำลังใจร้ายขึ้น ทั้งที่ จริ ง แล้ ว เมื่ อ เราย้ อ นกลั บ มา ส�ำรวจจิตใจตัวเองดีๆ กลับพบว่า ตามปกติ แ ล้ ว เราทุ ก คนมี จิ ต ใจ ดีงามเหมือนเดิม แต่เมื่อต้องมา เผชิญหน้ากันบนถนน เรากลับกลาย เป็นคนอีกคนหนึ่งได้โดยไม่รู้ตัว ยั ง ไม่ ส ายเกิ น ไปที่ เ ราจะ ฉุดดึงสังคมที่ดีให้กลับฟื้นขึ้นมา มิ ต รภาพบนท้ อ งถนน รอยยิ้ ม ให้กับเพื่อนร่วมทาง คือสิ่งเล็กๆ ที่เราลงมือท�ำได้ทันที เป็นสิ่งดีๆ ที่เรามอบให้กับคนอื่นโดยไม่หวัง อะไรตอบแทน สังคมเมืองใหญ่ จ ะ ดี ขึ้ น เ มื่ อ เ ร า ทุ ก ค น เ ป็ น เพื่อนร่วมทางกัน a day BULLETIN ร่วมกับ บริษัท โตเกียวมารีนประกันภัย (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) จัดท�ำนิตยสารฉบับพิเศษ เพือ ่ เป็น แ ร ง บั น ด า ล ใ จ ใ น ก า ร ส ร้ า ง สังคมที่ดี ตามเส้นทาง ‘To Be a Good Company’ ที่ ก ลุ่ ม บริษท ั โตเกียวมารีนทัว่ โลกยึดมัน ่ ในการด�ำเนินธุรกิจร่วมกันตลอดมา อั น หมายถึ ง การเป็ น บริ ษั ท ที่ ดี ซึง่ ไม่ได้สะท้อนแค่ในมุมการบริหาร ที่ เ ปี่ ย มด้ ว ยศั ก ยภาพเท่ า นั้ น แต่ ยั ง ห ม า ย ร ว ม ถึ ง ก า ร ใ ห้ ความช่ ว ยเหลื อ พนั ก งาน เมื่ อ พวกเขาต้องการค�ำแนะน�ำ การให้

ความดู แ ลลู ก ค้ า ในเวลาที่ เ ขา ต้องการ และสุดท้ายคือการตอบแทน กลับคืนสู่สังคม เพื่อสร้างสรรค์ สิ่งที่ดี และเป็นก�ำลังใจให้ผู้คนที่ ท� ำ ดี ไ ด้ มี ก� ำ ลั ง ใจในการสร้ า ง สังคมที่ดีต่อไป เราจึงรวบรวมเรือ ่ งราวดีๆ บนท้องถนนกรุงเทพฯ บอกเล่า ชี วิ ต ของคนเล็ ก ๆ ที่ ล งมื อ ท� ำ ความดีเล็กๆ เพื่อสร้างความสุข ยิ่ ง ใหญ่ ส่ ง ต่ อ ไปให้ กั บ คนอื่ น โดยไม่ ห วั ง ผลตอบแทน แท็ ก ซี่ และคุณหมอจิตอาสาช่วยเหลือ ผูป ้ ว่ ยติดเตียง, กลุม ่ ต�ำรวจผูร ้ เิ ริม ่ โครงการอาสาสมัครสายตรวจ จั ก รยาน, ร็ อ กเกอร์ ผู้ ท� ำ งาน อาสาสมั ค รมู ล นิ ธิ ร่ ว มกตั ญ ญู มานานสิบปี, กลุ่มนักออกแบบ ก ร า ฟิ ก ที่ ช่ ว ย ป รั บ ป รุ ง ภ า พ สัญลักษณ์ที่ป้ายรถเมล์ให้อ่าน เข้าใจง่าย, คนหนุ่มสาวที่กระโจน จากรถลงไปช่ ว ยเหลื อ ลู ก แมว หลงทางบนถนน และคุ ณ แม่ นั ก ขายมื อ ทองที่ ใ ช้ เ วลาว่ า ง เสาร์อาทิตย์ไปสอนธรรมะให้กับ เด็กยากไร้ในต่างจังหวัด เหล่านี้คือตัวอย่างความดี เล็กๆ ที่ทก ุ คนสามารถท�ำตามได้ ช่ ว ยสร้ า งแรงบั น ดาลใจให้ กั บ ผู้คนในเมืองใหญ่แห่งนี้


14 ISSUE 566 26 NOV 2018


15 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

PAY IT 01 FORWARD SUWANNACHAT & JAMNIAN PHROMCHAT “ชีวต ิ ผมทุกวันนีม ้ เี พือ่ คนอืน ่ ไม่ใช่เพียงเพื่อตัวเอง” ‘เดี่ยว’ สุว รรณฉัตร พรหมชาติ แท็ ก ซี่ จิ ต อาสา ขั บ รถรั บ -ส่ ง ผู้ ป่ ว ย ติ ด เตี ย งไปโรงพยาบาลมากว่ า 23 ปี บอกกับเราอย่างชัดถ้อยชัดค�ำ ด้วยความหลังครั้งวัยเยาว์ ที่ยากล�ำบาก แต่การได้รับความช่วยเหลือเพียงครั้งเดียวจากชาย แปลกหน้า ก็ทำ� ให้ชว ี ต ิ เขาพลิกผัน และเริ่ ม ส่ ง ต่ อ ความดี ตั้ ง แต่ นั้ น เป็นต้นมา ปัจจุบัน เขาไม่เพียงแค่ ขั บ รถรั บ -ส่ ง ผู้ ป่ ว ยติ ด เตี ย งโดย ไม่คด ิ ค่าใช้จา่ ยเท่านัน ้ แต่ยงั ร่วมมือ กับ แพทย์หญิงจ�ำเนียร พรหมชาติ ผู้เป็นภรรยา ในการจัดการเรื่อง สิทธิผพ ู้ ก ิ าร สิทธิผส ู้ ง ู วัย และเป็น สะพานบุญเชือ ่ มระหว่างผูต ้ อ ้ งการ บริ จ าคอุ ป กรณ์ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป่ ว ย ไ ป ยั ง มื อ ผู้ ป่ ว ย โ ด ย ต ร ง โ ด ย มองข้ามเรื่องรายได้ ต้นทุน ก�ำไร และความร�่ ำ รวย เพราะส� ำ หรั บ พวกเขา ชีวต ิ ทีไ่ ด้ทำ� เพือ ่ คนอืน ่ นัน ้ เป็นชีวิตที่สมบูรณ์แบบ

PATIENCE IS A VIRTUE กิจวัตรประจ�ำวันของสุวรรณฉัตร คือตื่นมาขับรถรับคนป่วยติดเตียงตั้งแต่ เวลาตี ส องครึ่ ง พาไปส่ ง โรงพยาบาล ประมาณตีสาม แล้ววนไปรับคนป่วย รายอืน่ ๆ ต่อไปจนกระทัง่ รุง่ สาง เพราะถ้า เริม่ งานแต่ละวันช้ากว่านัน้ จะเจอรถติด “แต่ละวันจะมีคนป่วยประมาณ ห้ า หกคน ผมอยากส่ ง ให้ เ ขาได้ ต รวจ ทันทุกคน ต้องบังคับตัวเองให้ตื่นเช้า ตัง้ นาฬิกาปลุกสองสามอันเลย เพราะถ้า วั น ไหนเราท� ำ ไม่ ไ ด้ ก็ จ ะรู ้ สึ ก ผิ ด มาก พอแต่ละคนรับการรักษาเสร็จ ก็จะอุ้ม พากลับบ้านทีละคน ผมอุม้ ทัง้ ไปและกลับ บางคนต้องอุ้มผ่านรางรถไฟเข้าหมู่บ้าน ไป บางคนอยู่ในตึกที่ไม่มีลิฟต์ ต้องอุ้ม ขึน้ ชัน้ 4 ญาติเขาก็ทำ� เองไม่ไหว” ผูป้ ว่ ยทีม่ าขอความช่วยเหลือจาก เขาจะไม่ใช่กรณีฉุกเฉิน เพราะหากเป็น เรือ่ งฉุกเฉิน ญาติจะสามารถเรียกกูภ้ ยั ได้ โดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ย แต่สว่ นใหญ่เป็นผูป้ ว่ ย ที่ ห มอนั ด ตรวจประจ� ำ ทุ ก 3-6 เดื อ น ปัญหาหลักของผูป้ ว่ ยติดเตียงในบ้านเรา คือพวกเขาเพียงแค่ตอ้ งการเดินทางไปตรวจ ตามนัด แต่ญาติไม่สามารถด�ำเนินการได้ เอง เนือ่ งจากไม่มเี งินทองจ้างรถพยาบาล หรือไม่สามารถอุม้ ผูป้ ว่ ยได้ เขาจึงตัดสินใจ ท�ำ งานอาสาด้านนี้ หากญาติคนไหน ต้องการบริจาคเงินช่วยเหลือเล็กๆ น้อยๆ ก็ทำ� ได้ตามจิตศรัทธา ทุ ก วั น นี้ แ ม้ จ ะยั ง ขั บ รถแท็ ก ซี่ สีเ ขียวเหลืองอยู ่ แต่งานหลักของเขา ก็ไม่ใช่ ‘คนขับรถแท็กซี่’ อีกต่อไปแล้ว เพราะเขาสละเวลาทั้งหมดมาช่วยเหลือ ผูป้ ว่ ยอย่างจริงจังตลอดทัง้ วัน สุวรรณฉัตรเล่าย้อนไปถึงแรงจูงใจ แรกทีท่ ำ� ให้ลกุ ขึน้ มาท�ำงานจิตอาสา “ตอนเด็กๆ ผมล�ำบาก ไม่มีเงิน ไปโรงเรียน เลยไปบวชเณร ต่อมาก็ไปเป็น แรงงานตั้งแต่อายุ 14-15 แต่ส่วนใหญ่ ก็โดนโกงค่าแรง ไม่ได้เงินเดือน จนวันหนึง่ อยากขึน้ มาท�ำงานทีก่ รุงเทพฯ แต่ดนั ถูก

หลอกให้ ไ ปลงเรื อ ท� ำ งานแถวชุ ม พร ปรากฏว่าวันแรกถูกเรือหนีบขา ถูกผูใ้ หญ่ บนเรือเมายาทุบตีอย่างไม่มเี หตุผล ท�ำให้ หัวเข่าด้านบนฉีกจนเลือดอาบ แต่เนือ่ งจาก อยูบ่ นเรือเลยไม่ได้กนิ ยา แล้วน�ำ้ เค็มโดน แผลจนเน่าเหม็น “หลังจากนั้น 7 วันผมได้เข้าฝั่ง และได้ขนึ้ รถสองแถวฟรีไปสถานีรถไฟชุมพร ผมนอนตรงนั้นทั้งวัน ไม่มีใครสนใจเลย คิดว่าเป็นเด็กเร่รอ่ น นอนหลับไม่รตู้ วั ไข้ขนึ้ ด้วย รูส้ กึ ตัวอีกทีคอื มีคนมาเขย่าตัวแล้ว พู ด ว่ า เป็ น อะไร ท� ำ ไมมานอนหั ว เข่ า เน่ า เหม็ น อย่ า งนี้ เราก็ เ ล่ า ให้ เ ขาฟั ง เขาซือ้ ข้าวซือ้ น�ำ้ ซือ้ ตัว๋ รถไฟให้ ให้เงินอีก ผมกินไปร้องไห้ไป นาทีนั้นเขาเหมือน เทวดามาโปรด ความรูส้ กึ มันบอกว่าเขา ไม่หมางเมินต่อสังคม ตัง้ แต่นนั้ เป็นต้นมา ผมบอกตัวเองว่าถ้าเรามีโอกาสท�ำดีกับ สังคมได้ผมจะไม่ลงั เล ถ้าช่วยใครได้กจ็ ะ ช่วย เลยเป็นทีม่ าว่า ในวันนัน้ เขาท�ำให้ เราเป็นเราในวันนีไ้ ด้” ค�ำบอกเล่าเรื่องราวการต่อสู้ใน ชีวติ ของเขาสร้างความสะเทือนใจให้ผคู้ น ไม่น่าเชื่อว่าคนที่มีวัยเด็กที่โหดร้าย จะ กลายเป็นคนทีท่ ำ� ความดีเพือ่ สังคมอย่าง ไม่หวังผลตอบแทนในวันนี้ LEARNING TO LIVE FOR OTHERS ในระหว่างทีเ่ ราก�ำลังนัง่ คุยกันอย่าง ออกรสออกชาติ คุณหมอจ�ำเนียร ภรรยา ก็สะกิดบอกว่า มีกลุม่ พ่อค้าแม่คา้ ทีข่ ายของ อยู ่ ด ้ า นล่ า งศู น ย์ ก ารค้ า ดิ โ อลด์ ส ยาม จ�ำเขาได้ และต้องการบริจาคเงินช่วยเหลือ ผู้ป่วยติดเตียง พวกเราจึงขอติดตามไป สวั ส ดี ทั ก ทายและร่ ว มท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น ‘สะพานบุญ’ “คนส่วนใหญ่ทจี่ ำ� พีเ่ ดีย่ วได้เพราะ ติดตามเฟซบุก๊ เขาอยูแ่ ล้ว พีเ่ ดีย่ วจะชอบ โพสต์เรือ่ งราวการช่วยเหลือผูป้ ว่ ย พร้อม กับวิดีโอคลิปต่างๆ พอเจอกันข้างนอก ก็ทักทายกัน” คุณหมอจ�ำเนียรเล่าด้วย รอยยิม้ เมือ่ ได้เงินบริจาคมา สุวรรณฉัตร จะน�ำไปซือ้ อุปกรณ์ชว่ ยเหลือผูป้ ว่ ยในด้าน ต่างๆ มาเพิ่มเติม พร้อมกับน�ำใบเสร็จ มายืนยันความโปร่งใส โดยเขาเรียกหน้าที่ นีว้ า่ เป็น ‘สะพานบุญ’ เพราะเมือ่ เขาโพสต์ ว่ามีบา้ นทีพ่ อ่ แม่ปว่ ยติดเตียงแต่ไม่มรี ถเข็น ก็มีผู้ใจบุญบริจาครถเข็นผ่านเขา หรือ เมื่อมีผู้ป่วยที่มีฐานะจากไป ก็บริจาค เครือ่ งช่วยหายใจ รถเข็น เตียงลม หรือ ของใช้ตา่ งๆ ผ่านเขาเช่นกัน หลังจากนัน้ เขาก็น�ำไปคัดกรองส่งต่อให้กับผู้ป่วยที่ ขาดแคลน “ลูกผู้ป่วยยากจนบางคนที่ได้รับ ของบริจาค เขาน�ำ้ ตาไหลเลย เพราะเรา ไปช่วยเขาวันเดียว เขาได้ข้าวของครบ ทุกอย่าง” คุณหมอเล่า “ผมคิดว่าการท�ำดี บางครั้งเรา ไม่ต้องตอบแทนให้กบั คนทีช่ ่วยเราหรอก แต่เราเอาความดีนั้นมาท�ำต่อกับคนอื่น แล้วเวลาใครมาท�ำร้ายเรา เราต้องจ�ำ ให้ ขึ้ น ใจเลย ไม่ ใ ช่ จ� ำ ไปท� ำ เขาคื น นะ แต่จ�ำว่าอย่าไปท�ำแบบนี้กับใครเขาอีก” สุวรรณฉัตรบอกกับเรา ทุกวันนี้ การส่งต่อความดีได้เพิม่ ก�ำลังมากขึน้ เป็น 2 เท่า จากการเข้ามา มีส่วนร่วมของคุณหมอจ�ำเนียร ภรรยา ทีเ่ กษียณอายุราชการก่อนก�ำหนดเพือ่ มา ช่วยเหลือเขาอย่างเต็มที่

“หมอติดตามเขามาจากเฟซบุ๊ก แล้วก็ร่วมบุญเป็นค่าโทรศัพท์ให้เขามา ตลอดทุกเดือน เดือนละ 500-1,000 บาท จนวั น หนึ่ ง ได้ เ ข้ า มาช่ ว ยรั บ รองเรื่ อ ง คนพิ ก าร แล้ ว ก็ เ ริ่ ม ท� ำ ความรู ้ จั ก กั น ” คุณหมอเล่าให้ฟงั อย่างเป็นกันเอง จากนั้ น คุ ณ หมอก็ เ ลยตั ด สิ น ใจ เออร์ ลี รี ไ ทร์ อ อกมา ด้ ว ยเหตุ ผ ลสาม ประการ ประการแรก เธอท�ำงานมานาน 25 ปีแล้ว ถ้าลาออกมา อย่างน้อยๆ ก็ได้ บ�ำนาญประมาณ 20,000 บาท ซึ่งเป็น หลักประกันในชีวติ และได้สทิ ธิรกั ษาฟรี ประการทีส่ อง เธอต้องการท�ำงานจิตอาสา ซึง่ เธออยากท�ำมานานแล้ว และประการ สุดท้ายคือได้ดแู ล เดีย่ ว สุวรรณฉัตร “ไม่อย่างนัน้ เขาจะกินนอนไม่เป็น เวลาเลย กินข้าวเช้าตอนเย็น ต้องรีบไป ส่งคน รีบขึน้ ทางด่วน พอเรามาช่วยก็ได้ แบ่งเบาภาระเขาไปบ้าง” คุณหมอกล่าว สุวรรณฉัตรเล่าเสริมว่า เขาเคยมี ครอบครัว แต่ล้มเหลว เพราะความคิด ไม่ตรงกัน พอเวลาผ่านไป วันหนึง่ ได้มา เจอกับคุณหมอ แล้วพบว่าพวกเขาคิด เหมือนกัน อะไรทีเ่ กิดประโยชน์ตอ่ สังคม ทัง้ สองต้องการเข้าไปช่วยเหลือเหมือนกัน จึ ง ท� ำ ให้ ชี วิ ต คู ่ ค รั้ ง ใหม่ นี้ ร าบรื่ น และมี ความสุข เมือ่ ได้คณ ุ หมอมาช่วย งานจิตอาสา ของเดี่ยวก็เปรียบเหมือน ‘เสือติดปีก’ เพราะเมื่ อ ก่ อ น เมื่ อ อุ ้ ม คนป่ ว ยไปส่ ง โรงพยาบาล เขาต้ อ งร้ อ งขอเพื่ อ ให้ คุณหมอเซ็นเรื่องทุพพลภาพ ทุกวันนี้ คุณหมอจ�ำเนียรสามารถเซ็นให้ได้เลย และเธอยังมาช่วยเรื่องสิทธิผู้พิการ สิทธิ ผูส้ งู วัย ประกันสังคม และการให้ความรู้ เรื่องสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่ผู้ป่วยควร ได้รบั อีกด้วย “ตอนแรกบางคนมองผมบ้าๆ บอๆ เป็นแค่คนขับแท็กซี่ แต่วันนี้ผมพิสูจน์ ให้เขาเห็นแล้วว่า เราสองคนมาท�ำงาน ด้วยกัน ผมมีเงินเท่านี้ก็ไม่ได้ท�ำให้เรา อยูล่ ำ� บากเลย เมือ่ ได้เงินมา ผมอยากเอา ไปให้คนทีเ่ ขาต้องการมากกว่า เราอยาก ให้ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่มีค่าต่อสังคม ถ้ารอให้รวยหรือมีเงินเยอะก่อนแล้วค่อย ท�ำประโยชน์ ชาตินคี้ งไม่ได้ทำ� แต่ถา้ เรา ยกระดับจิตวิญญาณของเราให้สูงกว่า เงินทอง เราจะสามารถช่วยเหลือโดย มองข้ามเรื่องนี้ไปได้” สุวรรณฉัตรและ คุณหมอจ�ำเนียรร่วมกันกล่าวสรุปปิดท้าย


16 ISSUE 566 26 NOV 2018

02

MAKE A CHANGE MAYDAY

ภาพชินตาของชาวกรุงเทพฯ คือรถติดแบบมโหฬารทัง้ ตอนเช้าออกจากบ้านและตอนเย็นหลังเลิกงาน ปัจจัยทีก ่ ำ� หนดระดับคุณภาพชีวต ิ ของชาวกรุงส่วนใหญ่นน ั้ ขึน ้ อยูก ่ บ ั กิจวัตรในการเดินทางในแต่ละวัน ว่ามีปริมาณและคุณภาพพอเพียงและดีพอขนาดไหน สิง่ ทีน ่ บ ั ว่าอยูใ่ กล้ชด ิ กับผูค ้ นบนท้องถนนและริมขอบฟุตปาธมากทีส ่ ด ุ ก็คอ ื ป้ายรถเมล์ ซึง่ บางส่วนก็ดร ู กรุงรังไม่เป็นระเบียบ ป้ายประกาศและสัญลักษณ์บอกทิศทางต่างๆ ดูเข้าใจยาก ไม่เป็นมิตรกับผูใ้ ช้รถประจ�ำทางเท่าทีค ่ วร นีค ่ งเป็นสิง่ ทีค ่ น ุ้ ชินส�ำหรับเราทุกคน และเป็นปัญหาแค่เศษเสีย ้ วหนึง่ ของชีวต ิ คนเมืองทีเ่ รามองข้ามไป แต่ปญ ั หาเล็กๆ แบบนีก ้ ลับสะดุดตากลุม ่ คนหนุม ่ สาวรุน ่ ใหม่ในนาม MAYDAY ทีม ่ องว่ามันคือเรือ ่ งใหญ่และสลักส�ำคัญ ถ้าเราได้พลิกผันปรับปรุงให้ดี จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวต ิ และประสิทธิภาพในการเดินทางได้อย่างมากเลยทีเดียว

SMALL CHANGE “พวกเราเชื่ อ ว่ า หากระบบ ขนส่งมวลชนดี ก็จะส่งผลต่อคุณภาพ ชีวิตของผู้คนให้ดีตามขึ้นไปด้วย และ หากสังเกตดีๆ จะเห็นได้ว่าพื้นที่รอบๆ เกาะรั ต นโกสิ น ทร์ ยั ง ไม่ มี ร ถไฟฟ้ า หรือรถไฟใต้ดนิ และไม่รวู้ า่ จะมาเมือ่ ไหร่ นัน่ ท�ำให้เรามองไปทีร่ ะบบขนส่งมวลชน เท่าที่มีอยู่ตอนนี้คือรถเมล์ ที่เราคิดว่า จะต้องหาแนวทางและวิธีที่ท�ำให้ผู้คน ใช้งานได้สะดวกขึ้น” MAYDAY ประกอบไปด้ ว ย หนุม่ สาวไฟแรงอย่าง ‘แวน’ - วริทธิธ์ ร สุขสบาย กราฟิกดีไซเนอร์ทพี่ ว่ งต�ำแหน่ง กูรูด้านสายรถเมล์ในกรุงเทพฯ ‘อุ้ม’ วิภาวี กิตติเธียร นักวิชาการสาวทีม่ าเป็น ผูจ้ ดั การโครงการ และ ‘วิช’ - กรวิชญ์ ขวั ญ อารี ย ์ กราฟิ ก ดี ไ ซเนอร์ ป ระจ� ำ MAYDAY พวกเขาลุกขึ้นมาท�ำอะไร สักอย่าง เพือ่ ช่วยให้ระบบขนส่งสาธารณะ โดยเฉพาะรถเมล์ดขี นึ้ ซึง่ จะส่งผลอย่าง ใหญ่ ห ลวงต่ อ คุณ ภาพชีวิต ของผู ้ ค น ได้ทนั ที

ในขณะทีค่ นหนุม่ สาวอีกหลายคน ทีม่ คี วามสามารถและทักษะหลากหลาย อาจจะเกิดความสงสัยว่าความถนัด เฉพาะด้านของตัวเองจะสามารถน�ำไป ใช้ประโยชน์ตอ่ สังคมส่วนรวมได้อย่างไร นอกเหนือจากใช้ในการท�ำงานประจ�ำ กลุ่ม MAYDAY คือตัวอย่างที่ชัดเจน ถึ ง ค� ำ ตอบส� ำ หรั บ เรื่ อ งนี้ งานด้ า น ออกแบบกราฟิกไม่ได้ใช้แค่ออกแบบ โฆษณาหรือศิลปะ แต่ก็ใช้ประโยชน์ ต่อสังคมและผู้คนในชีวิตประจ�ำวันได้ โดยเฉพาะส�ำหรับเรือ่ งขนส่งสาธารณะ วิ ภ า วี อ ธิ บ า ย เ พิ่ ม เ ติ ม ว ่ า “MAYDAY ได้นำ� การสือ่ สารผ่านเนือ้ หา และงานกราฟิกมาใช้กับป้ายรถเมล์ อย่างในประเทศอืน่ ๆ ป้ายรถเมล์จะใช้งาน ได้จริงคือ บอกสายรถเมล์ เส้นทาง จุดเชือ่ มต่อ รวมทัง้ ตารางเวลา แต่บา้ นเรา ยั ง ไม่ มี เราจึ ง ตั้ ง ใจท� ำ ป้ า ยรถเมล์ ที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก ข้ อ มู ล การเดิ น ทาง ผ่ า นการมี ส ่ ว นร่ ว มและมุ ม มองของ ผูใ้ ช้รถเมล์เป็นกิจวัตร เพือ่ ให้ตอบโจทย์ การใช้ ป ้ า ยรถเมล์ ไ ด้ ต รงตามความ-

ต้ อ งการจริ ง ๆ และนี่ คื อ พลั ง ของ ภาคประชาชนทีม่ าช่วยกันพัฒนาระบบ ขนส่งสาธารณะ” BIG MOVE ตัวอย่างความส�ำเร็จทีเ่ ห็นได้คอื ป้ายรถเมล์ทเี่ รียบง่าย ดูเท่ และมีขอ้ มูล ครบถ้วนก็เกิดขึน้ ป้ายแรกอยูท่ บี่ ริเวณ หน้าส�ำนักงานกองสลากเก่า ส่วนป้าย ที่ ส องอยู ่ บ ริ เ วณศาลารอรถบริ เ วณ อนุสาวรียช์ ยั สมรภูมิ แต่กลุม่ MAYDAY ไม่ ไ ด้ ห ยุ ด ฝั น แค่ เ พี ย งป้ า ยรถเมล์ พวกเขามองไปไกลถึงการแก้ปัญหา จราจรติดขัดในกรุงเทพฯ “จริงๆ แล้วระบบขนส่งมวลชน เป็ น ตั ว ช่ ว ยหนึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ ก ารเดิ น ทาง สะดวกและรวดเร็ ว ขึ้ น ในทุ ก วั น นี้ ขนส่งมวลชนยังไม่ดีพอ ผู้คนบางส่วน จึงเลือกใช้รถส่วนตัว แต่ถา้ ขนส่งมวลชน ดี มีมาตรฐาน และคุ้มค่าต่อทุกคน คนบางกลุม่ ก็อาจจะเลือกไม่ใช้รถส่วนตัว ก็ได้ จนท้ายสุดก็จะเหลือแค่บางกลุ่ม เท่านั้นที่จ�ำเป็นต้องใช้รถส่วนตัวจริงๆ

ส่งผลให้บนถนนมีรถน้อยลง ถนนก็โล่ง ขึน้ คุณภาพชีวติ ก็ดขี นึ้ และมองอีกมุม คือ คนที่มีรายได้น้อยหรือคนที่จ�ำเป็น ต้องใช้รถเมล์เพื่อเดินทาง ก็สามารถ มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ หรือใกล้เคียงกันได้ โดยไม่ตอ้ งแบ่งแยกจากราคาค่าโดยสาร ของระบบขนส่งมวลชนทีแ่ ตกต่างกัน” ความมุง่ หวังทางด้านการพัฒนา ระบบขนส่งมวลชนของ MAYDAY ค่อยๆ กว้างขึน้ ทุกวันนีพ้ วกเขายังคงเดินหน้า พัฒนาอย่างไม่หยุดยัง้ ในขณะทีห่ ลาย หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเริ่มให้ การสนับสนุน ส่วนภาคประชาชนเอง เริ่มมีส่วนร่วมมากขึ้น ท�ำให้มีก�ำลังใจ ที่ จ ะระดมไอเดี ย เพื่ อ พั ฒ นาระบบ ขนส่งมวลชนในรูปแบบของพวกเขาต่อ “หนึ่ ง ปี ที่ ผ ่ า นมาพวกเราเห็ น แล้วว่า ทุกคนและทุกหน่วยงานพร้อม ทีจ่ ะพัฒนา แต่กข็ นึ้ อยูก่ บั ว่าใครจะเป็น คนเริ่ม เมื่อเริ่มไปแล้วจะไปต่อได้ไกล แค่ไหน วันนี้ MAYDAY สามารถช่วย จากข้างล่างขึน้ ไปข้างบนได้ จากผูใ้ ช้งาน จริง คงถึงเวลาแล้วทีห่ น่วยงานข้างบน

จะลงมาช่วยและก้าวเดินไปพร้อมๆ กัน เพือ่ ทีจ่ ะแก้ไขปัญหานีไ้ ด้อย่างยัง่ ยืน “ส่วนสิ่งที่พวกเราได้ท�ำไปแล้ว นั้น อย่างน้อย MAYDAY ก็ช่วยให้ ภาพลักษณ์ของระบบขนส่งสาธารณะ ดีขนึ้ เพราะป้ายรถเมล์สวยขึน้ ดูเจ๋งขึน้ ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่จะท�ำให้เรา เดินหน้าต่อไป โดยยังเน้นการมีสว่ นร่วม ของภาคประชาชนทีต่ อ้ งเข้มข้นขึน้ เพือ่ พั ฒ นาระบบขนส่ ง มวลชนให้ ดี ขึ้ น กว่าเดิม”

สามารถติดตามความเคลือ ่ นไหวของเหล่า MAYDAY พร้อมอัพเดตข้อมูลการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะในรูปแบบของงานกราฟิกเท่ๆ ได้ทาง www.facebook.com/maydaySATARANA


17 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

03

THE WAY BACK HOME OHM POTATO

อุบต ั เิ หตุจราจรทางบกนับความสูญเสียทัว่ ประเทศไทยในปี 2560 จากส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ระบุวา่ มีผเู้ สียชีวต ิ ทัง้ หมด 8,727 ราย รวมเป็นมูลค่าความเสียหาย 52,018,356 ล้านบาท นับเป็นตัวเลขสถิตท ิ น ี่ า่ ใจหาย เหตุการณ์รา้ ยแรงเช่นนีไ้ ม่อาจคาดเดาหรือควบคุม แต่เมือ ่ เกิดขึน ้ แล้วสุดท้ายก็สร้างความเศร้าโศกเสียใจให้กบ ั ญาติมต ิ รทุกคน พวกเราพอจะท�ำอะไรทีจ่ ะช่วยเหลือเยียวยาจิตใจให้กบ ั ผูส ้ ญ ู เสียได้บา้ ง นีค ่ อ ื ค�ำถามทีเ่ กิดขึน ้ ในใจของ ปิยวัฒน์ อนุกล ู หรือ ‘โอม โปเตโต้’ ท�ำให้เขาอยากลงมือท�ำอะไรสักอย่าง และในทีส ่ ด ุ ก็ได้เข้าร่วมกับเป็นอาสาสมัครมูลนิธร ิ ว่ มกตัญญู โดยให้เหตุผลว่า “อยากพาผูเ้ สียชีวต ิ กลับไปให้ถงึ บ้าน” สิบปีทผ ี่ า่ นมาเขาก็ทำ� หน้าทีน ่ อ ี้ ย่างมุง่ มัน ่ มาโดยตลอด

ROCK & LOVE “ทุ ก วั น นี้ ผ มก็ ยั ง ร็ อ กอยู ่ น ะ” ปิยวัฒน์ตอบเราอย่างอารมณ์ดี เมือ่ เรา ขอมานัง่ คุยเรือ่ งทีเ่ ขาใช้ชวี ติ อีกด้านใน การเป็นเจ้าหน้าที่อาสาสมัครมูลนิธิ ร่วมกตัญญู เพราะสงสัยว่าท�ำไมร็อกสตาร์ ถึงแบ่งเวลามาท�ำงานอาสาสมัครแบบนี้ “เอาจริงๆ นะ แต่ละคนมีเวลา 24 ชั่ ว โมงเท่ า กั น ถ้ า ผมไม่ ม าเป็ น อาสาสมัคร ผมก็คงปาร์ตี้หนักหน่วง อยูก่ บั เพือ่ นๆ และงานนีผ้ มเองอยากท�ำ มาตั้งแต่เด็ก ผมเข้าวัดมาตั้งแต่เด็กๆ เพราะคุณตาพาไป ดังนัน้ ผมจึงมองว่า เกิด แก่ เจ็บ ตาย นัน้ เป็นเรือ่ งธรรมชาติ” ปิยวัฒน์บอกว่า การท�ำงานอาสา ทีไ่ ด้พบเห็นความตายเป็นประจ�ำ ท�ำให้ เขาเรียนรูท้ จี่ ะใช้ชวี ติ อย่างระมัดระวัง “คนเราถึงเวลาก็ตอ้ งตาย ดังนัน้ เราควรใส่ใจในการกระท�ำเมือ่ ยังมีชวี ติ ผมได้เรียนรูช้ วี ติ จากการเก็บศพ เพราะ เราเลือกไม่ได้วา่ จะเก็บศพไหน บางคน เสีย ชีวิตจากการจมน�้ำหลายวันแล้ว เราก็ตอ้ งไปช่วยเอาเขาขึน้ มา” ชีวิต บนท้ อ งถนนมีเ หตุก ารณ์

เกิดขึน้ มากมายในแต่ละวัน แน่นอนว่า เขาเองก็เคยพบกับเรื่องราวสะเทือนใจ ระหว่ า งปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ที่ ไ ม่ ส ามารถ หลีกเลีย่ งได้ “วันหนึ่งผมไปซ้อมดนตรีและ ก� ำ ลั ง ขั บ รถกลั บ บ้ า นทางสะพาน พระรามเจ็ด เจอรถพ่วงล้มทับมอเตอร์ไซค์ ผมเองก็มีชุดเตรียมไว้ในรถอยู่ ก็เลย วนรถกลับไปช่วย พอไปถึงก็พบว่าผูช้ าย ขีม่ อเตอร์ไซค์มากับแฟน แล้วมอเตอร์ไซค์ ถูกรถพ่วงดูดเข้าไปใต้ทอ้ งรถ แฟนทีซ่ อ้ นอยู่ ถูกดูดเข้าไปใต้ลอ้ รถ ส่วนคนขับกระเด็น ออกมาข้างนอก เขานัง่ กอดแฟนไว้จน กระทัง่ ญาติพาลูกของเขามาถึงทีเ่ กิดเหตุ ผมเห็นแล้วร้องไห้เลย ใครจะไปคิดว่าเรา ก็ ใ ช้ ชี วิ ต ตามปกติ เ หมื อ นเคยทุ ก วั น เลิกงานขีม่ อเตอร์ไซค์กลับบ้าน แวะซือ้ ข้าว ให้ลกู แล้วต้องมาเสียชีวติ ตรงนี้ ทีเ่ ขาบอก ว่าชีวติ ก็เท่านี้ อยากท�ำอะไรก็จงรีบท�ำ” ปิยวัฒน์บอกว่า อุบัติเหตุบน ท้องถนนเกิดจากความประมาท บางครัง้ เขาพาลู ก ชายไปดู ก ารท� ำ งานด้ ว ย เพราะอยากให้ตระหนักถึงเรื่องการใส่ หมวกกันน็อกขีม่ อเตอร์ไซค์ และเมาไม่ขบั “ถึ ง คุ ณ จะบอกว่ า ขี่ ใ นซอย

ไม่เร็วหรอก แค่ 50 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง แต่ถ้าดวงซวยไปเจอรถที่เปิดไฟเลี้ยว แล้วเรามองไม่เห็น แล้วไปชนหรือโดนรถ เกีย่ วแค่นดิ เดียว ความเร็ว 50 นัน้ ก็ทำ� ให้ เราหัวกระแทกตายได้ เรียกว่าตายแบบ โง่ๆ เลย ขีไ่ ม่เร็วแต่ตาย ผมอยากให้ลกู เข้ าใจความตายมากขึ้น ให้เขาเห็น และระวังตัวว่าท�ำไมเราถึงต้องเตือนเขา” ปิยวัฒน์บอกว่า เขาใช้ชวี ติ อย่าง ไม่ประมาท เพราะเราไม่ได้อยูค่ นเดียว บนโลกนี้ ยั ง มี ค นรอบข้ า งที่ อ าจจะ ได้รบั ผลกระทบจากอุบตั เิ หตุทไี่ ม่คาดฝัน ในวันใดวันหนึง่ ก็ได้ “ถ้าผมเป็นอะไรไป เชื่อว่าคน ข้างหลังคงไม่ลำ� บาก ประกันสุขภาพนีผ่ ม ก็ทำ� ไว้ แล้วจริงๆ ผมคิดว่าประกันต่างๆ นัน้ เราควรท�ำกันไว้ ถึงแม้เราจะไม่อยาก ให้ตวั เองต้องใช้สทิ ธิน์ นั้ ก็ตาม” MEANING OF LIFE ปิ ย วั ฒ น์ ไ ด้ รั บ แรงบั น ดาลใจ ในการช่วยเหลือคนอืน่ จากคุณพ่อทีเ่ พิง่ จากไปไม่นาน “แม้แต่ความตายของพ่อผมเอง ก็สอนอะไรเราได้เยอะ ท่านเสียก็จริง

แต่ทา่ นยังยิม้ อยู่ แสดงว่าท่านไปสบาย พ่อผมเป็นคนทีช่ อบช่วยคนอืน่ เขาเคย บอกว่า ถ้าให้อยูบ่ ้านเฉยๆ เขาจะเบือ่ เหมือนตัวเองไม่มคี ณ ุ ค่า เขาชอบออกไป ช่วยงานทีว่ ดั ตอนทีผ่ มบอกพ่อว่าจะไป ท� ำ งานเป็ น อาสาสมั ค รช่ ว ยเก็ บ ศพ พ่อก็บอกว่าดีแล้ว ไปช่วยคนอืน่ บ้าง” เราถามเขาว่า การช่วยเหลือ คนอืน่ นัน้ แท้ทจี่ ริงแล้วก็คอื ความหมาย ของชีวิตของเราทุกคนใช่ไหม เขานิ่ง เงียบไปสักพัก แล้วก็อธิบายกลับมา “ผมว่ า จริ ง ๆ คุ ณ ค่ า ของคน ต้องค้นหากันเอาเอง คนแต่ละคนมีคณ ุ ค่า คนละอย่างกัน คนแต่ละคนเปรียบเทียบ กันไม่ได้ เพราะแต่ละคนก็มจี ดุ เด่นคนละ อย่าง ถ้ามองหามุมดีๆ ของเขาให้เจอ นัน่ แหละคือคุณค่าของคนคนนัน้ ” อย่างทีเ่ ราทุกคนรูก้ นั ดีวา่ ตอนนี้ บนท้องถนนกรุงเทพฯ มีแ ต่ เ รื่อ งน่า ทอดถอนหายใจ การจราจรที่ติดขัด คนขับรถทีใ่ จร้อนวูว่ าม อุบตั เิ หตุทเี่ กิด จากการไม่เคารพกฎจราจร จนเราสงสัย ว่าน�้ำใจจากคนบนถนนนั้นยังมีเหลือ ให้กนั อยูบ่ า้ งไหม “ยังมีอยูน่ ะ” เขายืนยันหนักแน่น

และเรียกความหวังเรากลับมา “อย่างตอน เกิดเหตุรถพลิกคว�่ำ ก็มีคนมาจอดรถ ช่วยเหลือคนทีอ่ ยูข่ า้ งในรถ ช่วยพาคนขับ หรือผูโ้ ดยสารออกมา คนอืน่ ๆ ก็โทร.หา เจ้าหน้าที่ หน่วยกูภ้ ยั ต�ำรวจ โรงพยาบาล ให้ นีค่ อื หนึง่ ในเรือ่ งดีทเี่ กิดขึน้ บนถนน” คนกรุงเทพฯ ควรสร้างจิตส�ำนึก ให้ มี น�้ ำ ใจและช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล กั น หลักการไม่ยากจากค�ำแนะน�ำของโอม “ถ้าเราอยากได้อะไรก็ให้มอบ สิ่งนั้นกับคนอื่น และเราไม่ชอบอะไรก็ อย่าท�ำแบบนัน้ กับใคร เราไม่ชอบให้ใคร มาตวาดใส่ เราก็อย่าไปพูดเสียงดังใส่เขา เวลาขับรถเราไม่อยากให้เขามาปาดหน้า รถเรา เราก็อย่าไปปาดเขา ผมว่าแค่มอง ที่ตัวเองก่อนว่าไม่ชอบก็อย่าท�ำ ง่ายๆ แค่นเี้ อง” หลังจากกล่าวค�ำอ�ำลากันเล็กน้อย เขาก็ขอตัวกลับไปท�ำงานต่อ ซึง่ เราถามว่า แล้วคืนนี้เขาจะออกไปท�ำหน้าที่อาสาสมัครด้วยไหม ซึง่ เขาก็ยมิ้ ตอบกลับมา พร้อมกับเปิดประตูรถแล้วหยิบชุดฟอร์ม ของตัวเองให้ดเู หมือนจะบอกกับเราว่า “ผมพร้อมเสมอ”


18 ISSUE 566 26 NOV 2018


19 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

VOLUNTEERS BIKE PATROL นั ก ท่ อ งเที่ ย วจี น กลุ่ ม หนึ่ ง ยื่นกล้องมาให้เราพร้อมกับชี้ไปที่ กลุม ่ คนวัยเก๋า 10 กว่าคนทีก ่ ำ� ลัง ยืนเข้าแถวหน้ากระดานอยูบ ่ ริเวณ สีแ่ ยกบางล�ำพู “Can we take a photo with you guys?” พวกเขาไม่ ใ ช่ ด าราชื่ อ ดั ง ที่ ไ หน แต่ เ ป็ น ‘กลุ่ ม สายตรวจ จั ก รยานอาสา’ แห่ ง ส� ำ นั ก งาน ต� ำ รวจนครบาลชนะสงคราม ก�ำลังออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจตรา ความเรี ย บร้ อ ยในเครื่ อ งแบบ เต็มยศ แฝงด้วยรอยยิม ้ เป็นกันเอง และมีหัวใจที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพลัง ของการเป็นอาสาสมัคร จนกลายเป็น ขวั ญ ใจของทั้ ง คนในพื้ น ที่ แ ละ ชาวต่างชาติอย่างไม่ตอ ้ งสงสัย สายตรวจจั ก รยานอาสา เ ป็ น โ ค ร ง ก า ร จ า ก ส� ำ นั ก ง า น ต� ำ รวจนครบาลชนะสงคราม ที่ เ ริ่ ม ต้ น มาตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2556 โดยมีแกนหลักคือ ‘ผูก ้ องพี’ หรือ ร้ อ ยต� ำ รวจเอกพี ร วั ส บุ ญ พรม รองสารวั ต รปราบปราม สน. ชนะสงคราม เป็นผูร ้ เิ ริม ่ โครงการ และดูแลสมาชิกอาสาสมัครอีกกว่า 45 ชีวต ิ

“ ถ้ า เ ร า เ ป ลี่ ย น สั ง ค ม ไ ด้ นิ ด ๆ หน่อยๆ มันก็ดน ี ะ ไม่ได้ถงึ ขัน ้ คาดหวัง อะไรยิง่ ใหญ่หรอก แค่อยากช่วยเหลือ อยากให้ ช าวต่ า งชาติ ม าบ้ า นเรา แล้ ว รู้ สึ ก ดี ได้ ค วามทรงจ� ำ ดี ๆ กลับไปก็พอ” ‘ป๋าตี’๋ - ปรีชา แซ่ตงั้ สมาชิกกลุม ่ สามป๋า วัย 66 ปี

04

DO THE RIDE THING “เราสังเกตเห็นว่ามีกลุม่ คนออกมา ปัน่ จักรยานในพืน้ ทีข่ อง สน. ชนะสงคราม กันค่อนข้างเยอะ เลยคิดว่าจะท�ำอย่างไร ดีให้นักปั่นเหล่านี้ได้ออกก�ำลังกายไป พร้อมกับได้ประโยชน์ด้านอื่นๆ อย่าง การช่วยเหลือสังคมด้วย จึงเกิดเป็นไอเดีย โครงการนีข้ นึ้ มาว่า ถ้าอย่างนัน้ เราชวนให้ คนกลุ่มนี้มาเป็นอาสาของต�ำรวจดีไหม ท�ำหน้าที่สอดส่องดูแลความเรียบร้อย และความปลอดภัยในพืน้ ที่ แล้วเขาก็ทำ� กิจกรรมทีม่ คี ณ ุ ค่าต่อสังคมด้วย” หลังจากนัน้ ผูก้ องพีรวัสและทีมงาน ก็เปิดรับสมัครทีมงานอาสาปั่นจักรยาน ผ่านแฟนเพจ เมือ่ ได้สมาชิกเข้ามาจ�ำนวน หนึ่ ง จึ ง เปิ ด อบรมเกี่ ย วกั บ กฎหมาย บนท้องถนนเบื้องต้น การปั่นจักรยาน ให้ ป ลอดภั ย พร้ อ มเพิ่ ม เทคนิ ค ของ งานต�ำรวจเข้าไปให้อาสาได้เข้าใจเนือ้ งาน และท�ำหน้าทีไ่ ด้อย่างสมบูรณ์ทสี่ ดุ “ช่วงแรกๆ มันยากอยูแ่ ล้ว เพราะ ต่ า งคนต่ า งมาจากหลายสาขาอาชี พ ทุกคนมีไอเดีย มีอโี ก้ของตัวเอง กว่าเรา จะหลอมให้ทุกคนอยู่ในกฎกติกาที่เราใช้ ก็ใช้เวลาค่อนข้างมากเหมือนกัน จากทีม่ ี สมาชิก 80 คน แต่พอเวลาผ่านไปประมาณ 6 ปี ก็เหลือสมาชิกทีท่ ำ� งานกับเราจริงๆ จังๆ ประมาณ 45 คน” ผูก้ องพีรวัสกล่าว ปัจจุบนั สมาชิกของกลุม่ อาสาสมัคร จั ก รยาน สน. ชนะสงคราม มี ทั้ ง คนเกษียณอายุ คุณลุง คุณตา วัย 6070 ปี รวมถึงเจ้าของกิจการ ทนายความ พนักงานบริษัท แพทย์ ที่แบ่งเวลาหลัง เลิ ก งานมาท� ำ งานอาสาโดยไม่ ห วั ง ผลตอบแทน พวกเขาจะออกตรวจกันทุกๆ วันศุกร์และวันเสาร์ เริม่ ปฏิบตั งิ านตัง้ แต่ เวลา 1 ทุม่ จนถึง 4-5 ทุม่ โดยออกตรวจใน 3 เส้นทาง ได้แก่ พืน้ ทีร่ อบพระบรมมหาราชวัง พื้นที่แหล่งท่องเที่ยว เช่น ถนน ข้าวสาร และพืน้ ทีข่ องวัดวาอารามต่างๆ เพราะเคยมีเหตุการณ์ของหายในวัด เช่น การงัดตูบ้ ริจาค ขโมยพระมีคา่ นอกจากนี้ กลุ่มจิตอาสายังไปช่วยงานปั่นจักรยาน ต่างๆ เช่น Bike For Mom, Bike For Dad และ อีเวนต์ปน่ั จักรยานของภาคเอกชนอีกด้วย แม้ว่าในบริเวณดังกล่าวจะเป็น พื้ น ที่ ที่ ไ ด้ รั บ การดู แ ลโดยต� ำ รวจ สน. ชนะสงคราม อยู่แล้ว แต่การมีจติ อาสา เข้ า มาช่ ว ยก็ ท� ำ ให้ ก ารด� ำ เนิ น งาน มีประสิทธิภาพมากขึน้ “ตอนนีก้ ำ� ลังพล ของต�ำรวจเรามีน้อย แต่ภารกิจเราเยอะ มาก เราจึงอยากได้ความช่วยเหลือจาก ภาคประชาชน โดยเฉพาะสายตรวจ จั ก รยาน เพราะตั้ ง แต่ มี โ ครงการนี้ จากตอนแรกที่มีเหตุวิ่งราวทรัพย์ในพื้นที่

ตอนนี้ ก็ ล ดน้ อ ยลงจนถึ ง ขั้ น ไม่ มี เ ลย” ผู้กองพีรวัสเล่าให้เราฟังได้ด้วยความภูมใิ จ OLD BUT GOLD เช่นเดียวกับสมาชิกกลุม่ ‘สามป๋า’ ซึง่ ประกอบด้วย ‘ป๋าคิด’ - สมคิด ศรีสาคร ‘ป๋านิจ’ - วินิจ ศิริสุวรรณสิทธิ์ และ ‘ป๋าตี๋’ - ปรีชา แซ่ตั้ง ที่ได้ใช้ช่วงเวลา หลังเกษียณออกมาท�ำความดีเพื่อสังคม ไปพร้อมๆ กับการปั่นจักรยาน ซึ่งเป็น งานอดิเรกทีท่ ำ� เป็นประจ�ำ และยังได้เจอ มิตรภาพดีๆ ในกลุ่มเพื่อนที่ชอบอะไร คล้ายๆ กันด้วย “คนในทีมเรียกพวกเราว่า ‘สามป๋า’ เพราะอาวุโสทีส่ ดุ (หัวเราะ) แล้วเราก็เข้า มาท�ำตรงนี้เป็นรุ่นแรก ถึงวันนี้ก็ปฏิบัติ หน้าทีม่ าได้ 5 ปีแล้ว ด้วยความทีน่ อ้ งๆ เขายังมีงานประจ�ำกันอยู่ แต่เราเกษียณ ว่างงาน ถ้ามีเหตุฉกุ เฉินอะไรเราไปช่วยได้ ก่อนเลย” ป๋าคิดพูดอย่างอารมณ์ดี “หน้าที่หลักของเราคือการสร้าง ภาพลักษณ์ ป้องปราม สร้างความปลอดภัย ในพืน้ ที่ เราไม่ได้มหี น้าทีจ่ บั ใคร แต่ทำ� ให้ โจรที่ จ ะมาวิ่ ง ราวรู ้ สึ ก ว่ า พื้ น ที่ นี้ ไ ด้ รั บ การป้องกัน โดยเฉพาะโซนท่องเที่ยว อย่ า งถนนข้ า วสาร พอนั ก ท่ อ งเที่ ย ว เห็นเราเขาก็ชื่นใจ มาขอถ่ายรูปกับเรา ประจ�ำเลย (หัวเราะ)” ป๋าตีเ๋ สริม เนือ่ งจากปัน่ จักรยานบนถนนใหญ่ มานาน เราจึงเอ่ยถามป๋านิจถึงสถานการณ์ ความตึ ง เครี ย ดบนท้ อ งถนนกรุ ง เทพฯ ในปัจจุบนั “เดีย๋ วนีค้ นเราใช้รถใช้ถนนกัน ใจร้อนมาก ต่างคนต่างอยากถึงก่อน ใคร เห็ น ในข่ า วว่ า บางที โ กรธก็ ถึ ง ขั้ น ชักปืนมายิงกันเลย เพราะยับยัง้ ชัง่ ใจกัน ไม่ได้ แล้วจ�ำนวนรถยนต์และมอเตอร์ไซค์ ก็ เ ยอะด้ ว ย ท� ำ ให้ จิ ต ใจคนรุ ่ ม ร้ อ น

จะกลั บ บ้ า นที ก็ ร ถติ ด อยู ่ บ นถนนเป็ น ชั่ ว โมง พอแก้ ก ฎหมายก็ ไ ปว่ า ต� ำ รวจ เพราะฉะนัน้ ถ้าเรารูจ้ กั แชร์ถนนกันหน่อย ก็น่าจะดี ถ้าไม่รีบมากก็ปล่อยให้คันอื่น ไปก่อนบ้างก็ได้” ด้าน ‘ลุงไมค์’ - ไมตรี ประเสริฐจัง เจ้าของธุรกิจ วัย 61 ปี ก็เป็นอีกหนึง่ สมาชิก ทีเ่ ข้ามาร่วมงานสายตรวจจักรยานอาสานี้ เป็นเวลา 2 ปี เขายอมรับว่าการช่วยงาน ต� ำ รวจเป็ น ประสบการณ์ ที่ แ ปลกใหม่ ในชี วิ ต เนื่ อ งจากท� ำ ธุ ร กิ จ มาตลอด โดยไม่เคยรู้เบื้องลึกเบื้องหลังของงาน ต�ำรวจเลย “ผมไม่เคยว่าชีวิตนี้จะได้มี โอกาสถือไฟฉายไปส่องถังขยะ ส่องใต้โต๊ะ เพือ่ ตรวจหาวัตถุตอ้ งสงสัยร่วมกับต�ำรวจ มั น เป็ น กิ จ กรรมที่ เ ปิ ด โลกให้ ผ มมาก อีกอย่างคือ ผมได้ใช้เวลาที่ผมเหลืออยู่ เหลือเฟือในการท�ำประโยชน์ให้กบั คนอืน่ เช่ น ใช้ ค วามสามารถภาษาอั ง กฤษ ช่วยเหลือนักท่องเที่ยวในถนนข้าวสาร หรือช่วยถ่ายภาพทีมงานขณะปฏิบตั งิ าน มันเป็นสิง่ เล็กๆ น้อยๆ ท�ำให้รสู้ กึ ว่าตัวเอง มีคณ ุ ค่ามาก” “ผมเชือ่ ว่าทีมงานของเรามีความสุข กับการท�ำงาน เพราะเราไม่มผี ลประโยชน์ เป็นตัวตัง้ เราท�ำงานเพือ่ เนือ้ งานอย่างเดียว หากใครอยากมาเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ จากการเป็นจิตอาสา เราก็ไม่รับเข้ามา สอง คือทุกคนไม่มีอภิสิทธิ์อะไรเลย ถ้า ทีมงานผมถูกจับแล้วมาบอกผม ผมให้ ปรับหนักกว่าเดิมอีก (ยิ้ม) เรามาเพื่อ ช่วยเหลือประชาชน การได้รอยยิม้ ของคน ที่เราช่วยเหลือก็พอแล้ว ไม่ได้ต้องการ อะไรมากไปกว่านี้ หากทุกคนช่วยเหลือ กันด้วยใจจริงๆ สังคมเราก็จะเกิดการเกือ้ กูล มีนำ�้ ใจทีด่ ตี อ่ กัน” ผูก้ องพีรวัสกล่าวปิดท้าย ก่อนจะขอบคุณอาสาสมัครทุกคนที่มา ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นวันนี้


20 ISSUE 566 26 NOV 2018

05

MAN OF THE MEOW SUPAJIT PANKAMOLSILP & KAMONWAN PREENATHA

ความเร่งรีบและเหนือ ่ ยล้ากับสภาพการจราจรทีต ่ ด ิ ขัด บนถนนทีค ่ ลาคล�ำ่ ไปด้วยรถยนต์ ถ้าเกิดเหตุการณ์รา้ ยแรงใดๆ จะมีใครสักคนไหมทีย ่ อมหยุดรถเพือ ่ ลงไป ช่วยเหลือผูอ ้ น ื่ ? ยิง่ ถ้าเป็นเพียงสิง่ มีชวี ต ิ ตัวเล็กๆ อย่างน้องเหมียวทีถ ่ ก ู ทิง้ แล้ววิง่ ไปวิง่ มาบนถนนอย่างสับสน หวาดเสียวจะโดนรถชน ในสถานการณ์ไม่คาดฝัน ท�ำให้เกิดฮีโร่ดว้ ยความบังเอิญ อย่าง ‘เปิล ้ ’ - กมลวรรณ ปรีนะถา และ ‘เว่อร์’ - ศุภจิต พันกมลศิลป์ หนุม ่ สาวทีก ่ ระโจนจากรถลงไปช่วยเหลือแมวบนถนน โดยทีก ่ อ ่ นหน้านัน ้ พวกเขาเป็นทาสแมว และช่วยเหลือแมวจรจัดมานานหลายปี

BIG WORLD, LITTLE CATS “แมวตัวแรกทีเ่ ราช่วยไว้ชอื่ ว่า ‘ต้นไม้’ เป็น ตัวทีเ่ จอตัง้ แต่สมัยเรียน” กมลวรรณเล่าเท้าความ ถึงวันแรกทีเ่ ธอเริม่ ต้นช่วยเหลือแมวจรจัด นอกจากจะพามันไปรักษาพยาบาลแล้ว พวกเขายังพาเจ้าเหมียวกลับบ้านและเลี้ยงดูต่อ อย่างดี ด้วยความเชือ่ ว่า สิง่ มีชวี ติ ทุกชนิดก็มชี วี ติ จิตใจและสมควรได้รบั ความรักไม่ตา่ งจากมนุษย์ “แมวตัวแรกไม่ได้เจอบนถนนนะ แม่ของมัน มาคลอดไว้ทหี่ น้าประตูบา้ น เห็นแล้วสงสาร เราก็เลย เก็บมาเลีย้ ง พอเลีย้ งไปสักพักเริม่ อยากหาเพือ่ นให้ ต้นไม้ จึงไปรับเลีย้ งแมวจรจัดมาอีกตัว ชือ่ ‘ละอองฟอง’ จากนัน้ แมวก็งอกมาเรือ่ ยๆ จนตอนนี้ 20 กว่าตัว แล้ว (หัวเราะ)” แมวส่วนใหญ่ที่เลี้ยงไว้เคยเป็นแมวจรจัด ที่เพ่นพ่านอยู่ข้างถนน พวกเขาน�ำมารักษาตัวให้ หายดี ฉีดวัคซีนทีจ่ ำ� เป็น และเลีย้ งอยูใ่ นบ้านแบบ ระบบปิด เนือ่ งจากเป็นวิธกี ารเลีย้ งทีเ่ หมาะทีส่ ดุ ใน เมืองใหญ่ และรักษาชีวติ แมวให้อยูไ่ ด้ยาวนานทีส่ ดุ “เราไม่อยากปล่อยให้มันไปสร้างความเดื อ ดร้ อ นให้ เ พื่ อ นบ้ า น และกั ง วลว่ า จะได้ รั บ

อันตรายจากสุนัขและรถยนต์ที่วิ่งผ่านไปมาด้วย” ศุภจิตบอก ACCIDENTAL HEROES แมวที่พวกเขาวิ่งลงไปช่วยบนถนนมีชื่อว่า ‘มิวสิค’ โดยทัง้ คูเ่ ล่าเหตุการณ์วนั นัน้ ให้เราฟัง “ระหว่างขับรถกลับจากทีท่ ำ� งาน พีเ่ ว่อร์ก็ เห็นแมวอยูก่ ลางแยกห้วยขวาง เป็นช่วงทีร่ ถก�ำลัง ติดๆ แล้วรถคันหน้าก็กำ� ลังถอยหลังมาจนเกือบจะ เหยียบมันอยู่แล้ว เราตกใจมาก แมวเองก็ตกใจ มันเลยวิ่งไปอยู่ใต้ท้องรถอีกคันหนึ่ง จังหวะนั้น เราไม่สนใจแล้ว รีบเปิดประตูรถลงไปช่วยเลย โดยเราไปเคาะกระจกรถคั น นั้ น แล้ ว บอกว่ า พีอ่ ย่าออกรถนะ แมวอยูใ่ ต้ทอ้ งรถ พีเ่ ขาก็นา่ รักมาก ให้คนขับรถลงมาเปิดประตู เราก็มุดไปใต้ท้องรถ แล้วจิกหนังคอเขามาเลย” “ตอนแรกเราก็สงสัยว่าเป็นของใครแถวนัน้ หรือเปล่า เพราะสภาพสมบูรณ์มาก ตัวใหญ่ ดูซนๆ แต่แถวนัน้ ไม่มบี า้ นคนเลย จึงคิดว่ามันน่าจะหลุด มาจากรถคันไหนสักคัน แต่เราก็ไม่มเี วลาจะถามหา เจ้าของแมวในสภาพถนนแบบนัน้ ก็เลยพาเจ้ามิวสิค

กลับบ้านแล้วเลีย้ งดูมนั มาเรือ่ ยๆ” ศุภจิตเล่าให้เราฟัง นอกจากมิวสิคแล้ว ทั้งคู่ยังเคยเจอแมว ถูกทิง้ อยูบ่ นถนนอีกหลายตัว ไม่วา่ จะเป็น ‘มิกกี’้ กับ ‘มินนี’่ ลูกแมวเกิดใหม่ตวั จิว๋ ทีถ่ กู จับใส่ถงุ แล้ว ทิง้ ไว้ทปี่ า้ ยรถเมล์แถวสาทร ‘โกโตะ’ ลูกแมวสีขาว ที่เพิ่งได้มาเป็นตัวล่าสุด และบางครั้งก็เจอแมว บนถนนในสภาพที่โดนรถเหยียบและไม่สามารถ ช่วยเหลือได้ทนั พวกเขาจึงไปเก็บร่างไร้วญ ิ ญาณ กลับมาเพื่อน�ำไปฝัง เพราะไม่อยากเห็นพวกมัน ต้องโดนรถเหยียบซ�ำ้ ๆ ไปแบบนัน้ ทัง้ วัน “เราเคยคิดว่าถนนบ้านเราก็โหดร้ายนะ ไม่รวู้ า่ ในแต่ละวันจะต้องมีสตั ว์ตายบนถนนแบบนี้ กีต่ วั แต่สดุ ท้ายเราเชือ่ ว่าทุกคนย่อมต้องมีมายด์เซต ของความสงสาร ความสงสารนีก้ ท็ ำ� ให้เกิดผลพลอยได้ คือการที่พวกเราแต่ละคน ช่วยเหลือกันคนละไม้ คนละมือในส่วนทีภ่ าครัฐช่วยได้ไม่ทวั่ ถึง” ทุกวันนีพ้ วกเขาตัง้ ใจท�ำงานเพือ่ หาเงินเลีย้ ง แมว เพราะการเลีย้ งแมวกว่า 20 ชีวติ ต้องใช้คา่ ใช้จา่ ย สูง แต่นนั่ ก็ไม่ให้ทำ� ให้ชวี ติ พวกเขาล�ำบากเกินไป “ตัง้ แต่เลีย้ งแมวเยอะๆ ความคิดเราก็เปลีย่ น ไปด้วยนะ กลิน่ อึทนได้ ความวุน่ วายทนได้ พอเลิกงาน

ก็อยากกลับไปหาแมว สามารถอยูค่ นเดียวเงียบๆ กับสัตว์เลีย้ งได้โดยไม่ตอ้ งออกไปเทีย่ ว ไม่ได้คดิ ว่า ใช้ชวี ติ ไม่คมุ้ เพราะเรามีความสุขกับพวกเขามาก” กมลวรรณและศุภจิตกล่าว


21 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

06

LIVE SIMPLY, GIVE MORE LUKNOK CHUMCHUEN

บางคนทีม ่ งี านประจ�ำ ยุง่ วุน ่ วายอยูก ่ บ ั ภารกิจมากมายในแต่ละวัน แต่กป ็ ลีกเวลาส่วนตัวไปท�ำงานอาสาด้านต่างๆ ถือเป็นไลฟ์สไตล์และเวิรก ์ สไตล์ทน ี่ า่ สนใจ และท�ำให้ชวี ต ิ มีคณ ุ ค่า ต่อผูอ ้ น ื่ อย่างเช่น ลูกนก ชุม ่ ชืน ่ นายหน้าประกันวินาศภัย เล่าให้เราฟังถึงวิถชี วี ต ิ และการท�ำงาน ว่าในแต่ละวันเธอต้องติดต่อกับคนมากมาย สูญเสียพลังกายพลังใจไปมากมาย เธอเคยอยากจะใช้เวลาว่างในการพักผ่อนหาความสุขส่วนตัว จนกระทัง่ ได้คน ้ พบวิถท ี างแบบใหม่ เธอบอกว่าการได้ไปท�ำหน้าทีเ่ ป็นคุณครูอาสาทีว่ ด ั ท่าเสด็จ จังหวัดกาญจนบุรี นัน ้ ถือเป็นการได้รบ ั โอกาสทีจ่ ะช่วยเหลือสังคม พร้อมกันนัน ้ ก็เป็นการเติมเต็มพลังใจให้ตวั เองด้วยเช่นกัน

THE BEST FRIENDS IN YOUR LIFE เป็นเวลานานกว่าสิบปีแล้วทีห่ ญิงสาวคนนี้ เข้าร่วมโครงการปลูกฝังศีลธรรมและคุณธรรมแก่ เยาวชน โดยท�ำหน้าทีเ่ ป็นคุณครูสอนวิชาเรียงความ แก้กระทูธ้ รรมชัน้ ตรี โดยได้รบั โอกาสและความเมตตา จากพระครูเกษมกาญจนสิทธิ์ (ศักดิด์ า เขมจาโร) พระอาจารย์ แม่ชี พ่อครู และทีมงานจิตอาสาทุกคน ทีท่ ำ� ให้เธอพบกับคุณค่าและความสุขอีกด้านในชีวติ อาชี พ ของเธอในฐานะนายหน้ า ประกั น คืองานขายและงานบริการที่ต้องติดต่อ ชักจูง ประสานงาน เข้าไปช่วยเหลือผูค้ นมากมายในแต่ละวัน “เราเป็นนักการขาย จึงต้องตืน่ ตัวตลอดเวลา เมื่อลูกค้าเกิดอุบัติเหตุ เราคือคนแรกที่เขานึกถึง และโทร.มาหาเราเพื่อขอค�ำปรึกษาอย่างรีบด่วน ในสถานการณ์แบบนี้ ถ้าเราคุยกับเขาด้วยน�ำ้ เสียง เฉือ่ ยชา ไม่มพี ลัง เขาก็จะรูส้ กึ ว่าเราไม่เอาใจใส่เลย คนท�ำงานนีจ้ งึ ต้องตืน่ ตัวเสมอ พร้อมทีจ่ ะเอาใจใส่ ทันที ต้องรีบถามว่า พีอ่ ยูต่ รงไหน ขอให้รอหนูกอ่ น จะรีบติดต่อให้ทมี งานเข้าไปจัดการให้ เพราะตอนที่ ลูกค้ามาท�ำประกันกับเราในครัง้ แรก เขาไม่รหู้ รอกว่า

ตัวตนของเราเป็นอย่างไร แต่เมื่อถึงวันเกิดเหตุ หรือต้องการความช่วยเหลือแล้ว นัน่ คือเวลาทีเ่ รา จะแสดงให้เห็นว่าเรารักงานนี้แค่ไหน และเราจะ ท�ำงานนีใ้ ห้ดที สี่ ดุ ” ลูกนกบอกว่า การท�ำประกันภัยเป็นสิง่ จ�ำเป็น ข้อเสนอจากบริษัทต่างๆ ก็มีมาตรฐานคล้ายกัน เราจึงถามเธอไปว่า แล้วอะไรคือสิ่งที่ท�ำให้เธอ ประทับใจและผูกพันกับบริษทั โตเกียวมารีนประกันภัย (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) มาอย่างยาวนาน “สมัยที่เริ่มเป็นนายหน้าประกันภัยปีแรกๆ เราเคยท�ำงานกับบริษทั ทีไ่ ม่ได้มาตรฐาน ท�ำให้รสู้ กึ ว่าตัวเองสูญเสียความยอมรับนับถือไป ตัง้ แต่วนั นัน้ เราบอกกับตัวเองเลย ว่าจะทุม่ เทท�ำงานกับบริษทั ทีไ่ ด้มาตรฐานเท่านัน้ ” เธอเล่าด้วยน�ำ้ เสียงจริงจัง ลูกนกยังบอกอีกว่า บริษัท โตเกียวมารีน ประกันภัย (ประเทศไทย) ไม่เคยท�ำให้ลกู ค้าของเธอ ผิดหวัง เธอจึงเลือกแนะน�ำทีน่ ใี่ ห้กบั ลูกค้าและเพือ่ น ทุกคน เปรียบเหมือนกับเมือ่ รูว้ า่ สิง่ ใดทีต่ อบโจทย์ ความต้องการของตัวเองที่สุด เราก็จะเลือกสิ่งนั้น ให้ตวั เองเสมอ

GIVE PEACE A CHANCE ในปัจจุบัน เธอใช้เวลาในวันหยุดเสาร์อาทิตย์ไปท�ำงานเป็นครูอาสาสอนหนังสือให้กับ เด็กๆ ทีว่ ดั นัน่ คือสิง่ ทีต่ อบโจทย์ดา้ นคุณค่าของชีวติ ให้ตวั เอง ความเปลีย่ นแปลงทีส่ ำ� คัญในชีวติ ของเธอ เกิดจากความสุขและพลังบวกทีไ่ ด้มาจากการท�ำงาน อาสาสมัคร เธอรู้สึกว่าชีวิตมีคุณค่า เพราะเด็กๆ เฝ้ า รอว่ า เมื่ อ ไหร่ ค รู ลู ก นกจะมาสอนพวกเขา นั่นท�ำให้เธอได้ละทิ้งตัวตนเดิมๆ ออกไป และ กลายเป็นคนใหม่ทใี่ ครๆ ก็หลงรัก “เมื่อก่อนเป็นคนที่จริงจังกับการท�ำงาน มากเกินไป วันๆ มีแต่ค�ำถามว่าท�ำไมและท�ำไม จนตอนนี้ เ ราเปลี่ ย นแปลงตั ว เองไปเยอะมาก ไม่ออกค�ำสั่งกับเพื่อนร่วมงาน มีความอ่อนน้อม ถ่อมตน อยู่ตรงไหนก็ไม่ลืมเพื่อนร่วมงานที่เคย ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับเรา ทุกๆ สิ้นปีเราจะพูดกับ ทีมงานว่า ปีหน้าจะปรับปรุงตัวเองให้มีเหตุผล และสติมากกว่านี้ ซึง่ เราก็ทำ� แบบนีม้ าตลอดทุกปี” ระหว่างทีน่ งั่ คุยกัน เด็กหญิงฟ้าใส ลูกสาว ของเธอ ก็ เ ดิ น เข้ า มาเล่ น กั บ คุ ณ แม่ เ ป็ น ระยะ ความน่ารักน่าเอ็นดูทำ� ให้เราคิดว่าคงได้รบั การอบรม

บ่มนิสยั จากคุณแม่มาอย่างดี “เวลาไปสอน เราก็ พ าลู ก สาวไปด้ ว ย น้องฟ้าใสได้รบั การสอนจากพระอาจารย์และแม่ชี มาเยอะเหมือนกัน บางครั้งตัวน้องเองก็เป็นคน คอยเตือนสติเวลาทีเ่ ราอารมณ์รอ้ น ตอนทีน่ อ้ งเขา สอบวิชาภาษาอังกฤษได้ศูนย์ น้องก็ถามว่าแม่ เสียใจไหม เราก็บอกว่าไม่เสียใจ น้องเขาบอก กลับมาว่ากลัวแม่เสียใจ เรารู้สึกว่าเขาเป็นเด็ก ทีอ่ อ่ นโยนขึน้ จากการได้ไปเข้าร่วมโครงการปลูกฝัง ศีลธรรม คุณธรรมแก่เยาวชนด้วยกัน” จริงอยูท่ วี่ า่ อนาคตนัน้ เป็นสิง่ ทีค่ วบคุมไม่ได้ แต่ เ ราสามารถจั ด การชี วิ ต ในปั จ จุ บั น ให้ อ ยู ่ ใ น ความไม่ประมาท และนั่นจะท�ำให้เรื่องร้ายแรง ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ บนท้องถนนนัน้ มีจำ� นวนลดลง “ตืน่ นอนขึน้ มาก็ยมิ้ ให้ตวั เอง วันนีเ้ ราก็จะ มีความสุข ขับรถออกไปท�ำงาน เจอรถที่รีบร้อน พยายามจะเบียดจะแซง เราก็หลบให้เขาไปก่อน ชีวติ เป็นเรือ่ งง่ายๆ แค่นเี้ อง”


22

CONNECTING THE DOTS

เรื่อง

พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai

ภาพ

EMP

OW

ER O UR PEO P

LE

DEL

IVE

R O N CO MM

ITM

ENT

S

LO OK BEYOND PROFIT

ธนดิษ ศรียานงค์ ช่างภาพ thanadis@gmail.com

ISSUE 566 26 NOV 2018


23 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

TOKIO MARINE INSURANCE (THAILAND) A GOOD COMPANY : AN ENDLESS JOURNEY ​เพราะเป้าหมายของธุรกิจทีด ่ อ ี าจไม่ใช่แค่การค�ำนึงถึงเรือ ่ งรายได้หรือผลก�ำไรเพียงอย่างเดียวเท่านัน ้ แต่เป็นการขับเคลือ ่ น องค์กรที่เติบโตไปพร้อมๆ กับการพัฒนาสังคมและผู้คนรอบข้าง นั่นคือสิ่งที่ ฮิโระโนะริ คิริว ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษท ั โตเกียวมารีนประกันภัย (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ยึดมัน ่ เสมอมา เป็นเวลากว่า 30 ปีทช ี่ ายคนนีท ้ ม ุ่ เทท�ำงานให้กบ ั โตเกียวมารีนฯ บริษท ั ประกันวินาศภัยทีม ่ ช ี อ ื่ เสียงยาวนานและเก่าแก่ทส ี่ ด ุ ในญีป ่ น ุ่ ดังนัน ้ เมือ ่ เขามารับต�ำแหน่งหัวเรือใหญ่ในไทย คุณคิริว หรือคิริวซัง (ที่พนักงานโตเกียวมารีนฯ เรียกชื่อเขา) ไม่ลืมที่จะน�ำวิสัยทัศน์ ‘To Be a Good Company’ มาปรับใช้ใน การบริหารงานทุกมิตขิ ององค์กร คุณคิรว ิ มีความเชือ ่ ว่า “การจะเป็นบริษท ั ทีด ่ ไี ด้นน ั้ คนทีเ่ ป็นหัวหน้าต้องเป็นแบบอย่างทีด ่ ก ี อ ่ น”

TO BE A GOOD COMPANY

ALIVE OR JUST BREATHING

PAY BACK TO SOCIETY

GOOD COMPANY BETTER SOCIETY

ก​ ลุ่มบริษัทโตเกียวมารีน 38 ประเทศ ทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทย ยึดถือ วิ สั ย ทั ศ น์ ก ารเป็ น ‘To Be a Good Company’ ในการบริ ห ารงาน โดย แนวคิดนี้ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ หนึง่ Look Beyond Proffiit คือ มองไกล กว่าผลก�ำไร สอง Empower Our People คือให้ความส�ำคัญกับบุคลากร และ สุดท้ายคือ Deliver on Commitments คือปฏิบตั ติ ามค�ำมัน่ สัญญากับลูกค้า และคู ่ ค ้ า ของเรา เส้ น ทาง ‘To be a Good Company’ ไม่มีค�ำว่าสิ้นสุด การทีธ่ รุ กิจของกลุม่ บริษทั โตเกียวมารีน มีความมั่นคง แข็งแกร่ง และได้รับ ความไว้วางใจจากลูกค้าทัว่ โลก นัน่ เป็น เพราะว่าเราค�ำนึงและยึดถือหลักการ และการด�ำเนินงานบนพื้นฐานของ ความถูกต้องอยูเ่ สมอ นอกจากจะท�ำ สิ่ ง ที่ ถู ก ต้ อ งแล้ ว ยั ง ต้ อ งท� ำ สิ่ ง ที่ ดี ให้กับสังคมและผู้คนในประเทศด้วย

แน่นอนว่าก�ำไรเป็นเรือ่ งส�ำคัญส�ำหรับ ธุรกิจ แต่อาจไม่ใช่จดุ หมายปลายทาง ในการสร้างความส�ำเร็จขององค์กร ส�ำหรับผม ก�ำไรของบริษทั เปรียบเสมือน อากาศ ถ้ามนุษย์ขาดอากาศก็ไม่อาจ มีชวี ติ อยูไ่ ด้ จุดมุง่ หมายของชีวติ มนุษย์ ไม่ใช่การเกิดมาหายใจเท่านั้น แต่เรา ยั ง พยายามที่ จ ะท� ำ ให้ ชี วิ ต ของเรา มีคณ ุ ค่าและมีความหมาย เช่นเดียวกับ โตเกียวมารีนประกันภัย เราไม่ได้มอง แค่ผลก�ำไร แต่เรายังมุง่ ตอบแทนกลับสู่ สังคมผ่านกิจกรรมต่างๆ นอกเหนือจาก การส่งมอบสินค้าและการบริการทีด่ แี ล้ว ผลก�ำไรทีเ่ ราได้จากการประกอบธุรกิจ ก็ควรจะน�ำมาต่อยอดสู่การพัฒนา สังคมให้ดียิ่งขึ้นไปด้วย

ส� ำ หรั บ โตเกี ย วมารี น ฯ เราด� ำ เนิ น กิจกรรม CSR มากมาย เช่น สนับสนุน มูลนิธิเมาไม่ขับตั้งแต่ปี 2549 รณรงค์ การขั บ ขี่ อ ย่ า งปลอดภั ย ผ่ า นการสนับสนุนเสื้อยืดและป้ายรณรงค์ลด อุบตั เิ หตุชว่ งเทศกาลสงกรานต์และปีใหม่ และทุกปีเราจะมอบทุนการศึกษาแก่ เหยือ่ และทายาทของเหยือ่ เมาแล้วขับ เพื่อช่วยเหลือและเป็นขวัญก�ำลังใจ, โครงการมอบหมวกกันน็อกส�ำหรับ นักเรียน, กิจกรรม ‘รักโตเกียวมารีน ประกันภัย รักษ์นำ �้ รักษ์ปา่ รักต้นน�ำ้ ล�ำธาร’ ซึ่งร่วมกับสมาคมภูมินิเวศ พั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น คณะผู ้ บ ริ ห าร พนักงาน จิตอาสา คู่ค้า และตัวแทน ด้วยการสร้างฝายต้นน�ำ้ ล�ำธาร สร้างพลัง ชุมชนให้เกิดการขับเคลื่อนกิจกรรม การอนุรกั ษ์จดั การทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืนในเชียงใหม่ และทีส่ ำ� คัญ เรายังมอบทุนการศึกษาให้ แก่นกั เรียนของสภาสังคมสงเคราะห์ทวั่ ประเทศ ซึง่ มีผลการเรียนดีแต่ขาดแคลน ทุนทรัพย์ เพราะผมเชือ่ ว่าการศึกษาคือ กุญแจส�ำคัญในการพัฒนาประเทศ

โ​ตเกียวมารีนฯ ของเราก่อตัง้ มานานถึง 139 ปี นับว่าเป็นบริษทั ประกันวินาศภัย ทีเ่ ก่าแก่ทสี่ ดุ ในญีป่ น่ ุ ผมคิดว่าส่วนส�ำคัญ ทีโ่ ตเกียวมารีนฯ ยืนหยัดมาได้นบั ร้อยปี ได้รับความมั่นใจและไว้ใจจากลูกค้า ทั่วโลก เพราะเราไม่ได้ท�ำธุรกิจเพื่อ ผลก�ำไรเท่านัน้ แต่สามารถเข้าไปเป็น ส่วนหนึ่งของสังคมได้จริงๆ ผมเชื่อว่า การเป็นบริษัทที่ดีจะช่วยสร้างสังคม ที่ น ่ า อยู ่ ไ ด้ แต่ ถึ ง อย่ า งนั้ น มั น จะ ไม่สามารถเกิ ด ขึ้ น ได้ เ ลยถ้ า ขาด ความร่วมมือจากหลายๆ ฝ่าย ไม่ว่า จะเป็นบุคลากร คู่ค้า ลูกค้า หรือผู้มี ส่วนได้เสีย เราทุกคนสามารถร่วมสร้าง สังคมที่ดีขึ้นได้

LEADERSHIP

CULTURAL DIVERSITY

WORKING IN THAILAND

INSURANCE BUSINESS PEOPLE BUSINESS

แม้ว่าใครจะวางให้ ผู ้ บ ริ ห ารอยู ่ บ น จุดสูงสุดของพีระมิด แต่ส�ำหรับผม ผมไม่ชอบและไม่เห็นด้วยสักเท่าไหร่ ผมคิดว่าผูน้ ำ� ทีด่ คี วรจะอยูส่ ว่ นล่างทีส่ ดุ เพือ่ เป็นรากฐานทีแ่ ข็งแรง คอยสนับสนุน พนักงานทุกๆ ระดับ และสร้างแรงบันดาลใจให้กบั พวกเขา พวกเขาต้อง มีความสุขและพึงพอใจกับงานของเขา ก่อน เขาถึงจะไปสร้างความพึงพอใจ ให้ลกู ค้าได้ นอกจากนีผ้ มไม่ได้มองว่า ผู้นำ� ต้องท�ำได้ทุกอย่าง ต้องเป็นคนที่ ออกค�ำสัง่ ให้คนอืน่ ท�ำตาม มันส�ำคัญ มากที่ผมต้องเรียนรู้จากทีมงานและ ลูกน้อง เพื่อเรียนรู้ว่าสิ่งไหนที่ตัวเอง ท�ำไม่ได้หรือยังไม่เข้าใจ เราจะได้ แก้ ไ ขและปรั บ ปรุ ง เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ให้การท�ำงานราบรื่นยิ่งขึ้น

ผมเริม่ ต้นการท�ำงานกับโตเกียวมารีนฯ ที่ญี่ปุ่น จากนั้นก็ย้ายไปบราซิล และ ล่าสุดก็ใ นประเทศไทย สิ่ง ที่ผ มได้ เรียนรูจ้ ากการท�ำงานหลายๆ ประเทศ คื อ เราต้ อ งยอมรั บ ความแตกต่ า ง ของผู้คนเสมอ เพราะแต่ละประเทศ มีวฒ ั นธรรม ภาษา และสไตล์การท�ำงาน ที่แตกต่างกัน ตอนอยู่บราซิลผมต้อง เรียนพูดโปรตุเกสและต้องปรับตัวอย่าง มาก ผมเรียนรู้ว่า การเข้าไปท�ำธุรกิจ ไม่ใช่แค่เพียงคิดแต่เรือ่ งธุรกิจ เราต้อง เข้าใจความรูส้ กึ นึกคิดของคนประเทศ นั้น เข้าใจวัฒนธรรมของเขา ธุรกิจ ของเราต้องเติบโตอย่างยั่งยืนควบคู่ กับผู้คนและสังคม

​ผมคิดว่าคนไทยสุภาพมาก ยิม้ ตลอด

เมือ่ พูดถึงธุรกิจประกันภัย ส�ำหรับผม คือ ธุรกิจทีบ่ ริหารด้วยคน เนือ่ งจากเรา ไม่ ไ ด้ มี สิ น ค้ า ที่ จั บ ต้ อ งได้ เ หมื อ น ผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ ส�ำหรับโตเกียวมารีน ประกั น ภั ย เราขายความไว้ ใ จและ ความเชื่อมั่น ด้วยผลิตภัณฑ์ประกัน วิ น าศภั ย ด้ า นต่ า งๆ ไม่ ว ่ า จะเป็ น ประกันภัยรถยนต์, ประกันภัยทาง ทะเลและขนส่ ง , ประกั น อั ค คี ภั ย หรือประกันภัยเบ็ดเตล็ดก็ตาม ดังนัน้ ผมจึ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ บุ ค ลากร ของเรามากๆ เพราะเขาจะเป็นตัวแทน ขององค์กรในการช่วยเหลือและดูแล ลูกค้าในทุกเวลาที่เขาต้องการ หาก ทุกคนเริม่ ต้นจากการมอบสิง่ ทีด่ ใี ห้กบั ลูกค้า มอบสิง่ ทีด่ ใี ห้สงั คม นัน่ คือเส้นทาง ของ good company ที่แท้จริง

เวลา และมี ค วามเห็ น อกเห็ น ใจสู ง โดยเฉพาะกับคนญีป่ นุ่ ผมสัมผัสได้เลย ว่าคนไทยชอบคนญี่ปุ่น แล้วไปเที่ยว ญีป่ นุ่ กันบ่อยมาก จนอดสงสัยไม่ได้วา่ ไปท�ำอะไรกันนัก (หัวเราะ) ทุกวันนี้ ผมเรียนภาษาไทยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง แต่ผมยอมรับเลยว่าภาษาไทยยากมาก (ลากเสี ย ง) ถึ ง อย่ า งนั้ น ผมก็ ไ ม่ คิ ด จะหยุ ด เรี ย น นอกจากนี้ ผ มก็ เ รี ย น มวยไทยและจะเริม่ เรียนเซปักตะกร้อ ด้วย เพื่อจะได้เข้ากับวัฒนธรรมไทย ได้ดีขึ้น


24

TH E H I D D EN ด้วยความเชื่อว่าศิลปะไม่จ�ำเป็นต้องปรากฏอยู่บนผืนผ้าใบ กระดาษ หรือม้วนฟิล์ม เท่ า นั้ น แต่ ยั ง ซุ ก ซ่ อ นและแฝงความงามในทุ ก รายละเอี ย ดของการอยู่ อ าศั ย ด้ ว ย บริษัท เอพี (ไทยแลนด์) จ�ำกัด (มหาชน) ผู้นำ� ด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ จึงร่วมกับ Bangkok Art Biennale 2018 น�ำเสนอศิลปะที่กลมกลืนไปกับที่อยู่อาศัยในรูปแบบ Functional Art หรือศิลปะที่ไม่ใช่แค่การน�ำภาพมาแขวนตกแต่งเพื่อความงามเท่านั้น แต่ผสมผสานเข้ากับสิง่ ของทีใ่ ช้งานได้จริง ไม่วา่ จะเป็นวอลล์เปเปอร์ เฟอร์นเิ จอร์ และสิง่ ทอ ต่างๆ ผ่านการท�ำงานกับศิลปินอังกฤษ Lucas Price และคู่หูนักออกแบบ O Teerawat / Tarida ที่มาสะท้อนตัวตนและจิตวิญญาณในคอนเซ็ปต์ The Duality ภายในนิทรรศการแบ่งเป็น 2 ห้องตัวอย่าง ดังนี้

1

D O ME STI C VAN DA L ISM B Y LUCA S PRICE

ศิลปินสตรีทชาวอังกฤษ

LUCAS PRICE

หากเดินเข้ามาในห้อง จะสัมผัสได้ถงึ การแสดงออกทางอารมณ์ทเี่ ด่นชัด ในสไตล์ของสตรีทอาร์ตในสีขาวด�ำ แต่แฝงไปด้วยความประณีตในส่วนของงาน ffi ifi ne arts โดยมีชนิ้ งานหลักคือภาพเพนต์แบบ Hyper-Realistic ทีม่ ถี งั ดับเพลิงสีเงินวาว เป็นองค์ประกอบหลักของเรื่องราว รวมถึงพรมผืนใหญ่สีเทาด�ำลายกราฟฟิตี หลอดไฟนีออนทีส่ ะท้อนตัวอย่างของบทกวี และภาพถ่ายโพลารอยด์ของดอกไม้ อันแสนบอบบาง แสดงให้เห็นถึงแนวคิดของการคงอยู่คู่กันระหว่างความแข็ง และความอ่อนนุม่ ความงดงามและการท�ำลายล้าง และสภาวะภายนอกและภายใน “ผมคิดว่าการใช้ชวี ติ กับศิลปะรอบกายช่วยให้เราทุกคนรูส้ กึ ดีขนึ้ สิง่ ทีส่ �ำคัญกว่า การคิดว่าจะเอารูปอะไรแขวนบนผนังดี คือการพยายามน�ำศิลปะมาผสมผสาน กับการอยูอ่ าศัยได้จริง ผมจึงอยากเชิญชวนทุกคนมาดูแกลเลอรีนี้ เพราะนอกจาก จะได้เห็นงานที่ศิลปินตั้งใจท�ำแล้ว คุณอาจจะได้ไอเดียในการผสมผสานศิลปะ เข้ากับชีวติ กลับไปด้วย” Lucas Price กล่าว

ISSUE 566 26 NOV 2018


25 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

คุณสรรพสิทธิ์ ฟุ้งเฟื่องเชวง HEAD OF CORPORATE STRATEGY AND AP DESIGN LAB และ CURATOR ของนิทรรศการ THE DUALITY

T HE D UA LIT Y EX HIB ITION The Duality คือนิทรรศการทีส่ ะท้อนขัว้ ตรงข้าม หากแต่กลมกลืนกันของสองสิง่ ผ่านการตีความ ชีวิตความเป็นอยู่ในกรุงเทพฯ ที่มีสีสันเฉพาะตัวจากสายตาของ 1 ศิลปินสตรีทชาวอังกฤษ และ 2 นักออกแบบชือ่ ดัง โดย คุณสรรพสิทธิ์ ฟุง้ เฟือ่ งเชวง Head of Corporate Strategy and AP Design Lab และ Curator ของนิทรรศการ The Duality ได้กล่าวว่า “เอพีมองเห็นความต้องการของคนเมืองทีใ่ ช้ศลิ ปะ ในการ express ตัวตน และเชือ่ ว่าทุกคนต้องการพืน้ ทีใ่ นการแสดงอัตลักษณ์ของตัวเอง” นิทรรศการนี้ จึงเกิดขึน้ เพือ่ เปิดมุมมองใหม่ให้กบั ศิลปะและวงการอสังหาริมทรัพย์

ผู้สนใจสามารถชมนิทรรศการ The Duality ได้ที่ ‘ไลฟ์ อโศก ไฮป์ (LIFE Asoke Hype)’ คอนโดมิเนียมใหม่ใจกลางย่านธุรกิจแห่ง อนาคต อโศก-พระราม 9 ตั้งแต่วันนี้ถึง 15 ธันวาคมนี้

2

PETA LS R O O M BY O TE E R AWAT / TA R IDA

โอ ธีรวัฒน์ และธาริดา คือคู่หูนักออกแบบที่ต่างคนก็ต่างมีเอกลักษณ์ในงานของตัวเอง โดย ธีรวัฒน์มกั จะน�ำเสนอการวาดภาพทีล่ ะเอียดลออ แฝงรายละเอียดมากมาย ส่วนธาริดาจะเน้นการใช้ เวกเตอร์ทเี่ รียบง่ายและแข็งแรง ทัง้ คูจ่ งึ ผสมผสานความแตกต่างจนออกมาเป็นห้อง Petals Room ซึง่ เป็นตัวแทนของผูห้ ญิงทีม่ คี วามเฉียบคม มัน่ ใจ และเป็นตัวของตัวเอง โดยใช้รปู ร่างของกลีบดอกไม้ที่ ถ่ายทอดออกมาในลักษณะฟรีฟอร์มปะปนกับความสมมาตรและรูปร่างเรขาคณิต ซึ่งจะปรากฏอยู่ ในของใช้ต่างๆ มากมาย เช่น วอลล์เปเปอร์ ปลอกหมอน พรมเช็ดเท้า ลายปักบนสลิปเปอร์และ ลายปักบนผ้าขนหนู โดยธีรวัฒน์ได้เล่าความในใจจากการท�ำโปรเจ็กต์นใี้ ห้เราฟังว่า “เป็นการท�ำงานที่ เราได้รับอิสระเยอะมาก ด้วยบุคลิกของงานพวกเรากับลูคัสที่แตกต่างกันสิ้นเชิง จึงออกมาเป็น ห้องตัวอย่างทีเ่ ป็นมากกว่าห้องตัวอย่างทัว่ ไป” นักวาดภาพประกอบ

O TEERAWAT

นอกจากนีย้ งั มีการจัดแสดงผลงานศิลปะทีศ่ ลิ ปินรังสรรค์ขนึ้ เผือ่ ถ่ายทอด คอนเซ็ปต์ The Duality การด�ำรงอยู่ของทวิภาวะที่ธีรวัฒน์และธาริดา เลือกใช้ ฟอร์มกราฟิกแบบประยุกต์สะท้อนถึงความเป็นไทยและอัตลักษณ์ของกรุงเทพฯ แบบวัฒนธรรมดัง้ เดิมและสัญลักษณ์สมัยใหม่ซงึ่ ด�ำรงอยูด่ ว้ ยกัน ในขณะที่ Lucas Price เลือกจับคูค่ วามต่างของงาน Hyper-Realistic หรือภาพวาดเสมือนจริงจนต้องหยุดพิจารณา รายละเอียดกับชิ้นงานภาพถ่ายโพลารอยด์ที่แสดงถึงการด�ำรงอยู่ในชั่วขณะหนึ่ง ซึ่งเป็นความจริง สะท้อนความงามต่างรูปแบบจากชิ้นงานที่ดิบและรวดเร็วกับ ชิน้ งานที่ผ่านขั้นตอนประดิดประดอยเพื่อให้สะท้อนความจริงออกมาได้มากที่สุด คุณสรรพสิทธิ์ ฟุง้ เฟือ่ งเชวง ซึง่ รับบทบาท curator ให้กบั นิทรรศการนี้ ยังกล่าวเชิญชวน ผูส้ นใจศิลปะและอสังหาริมทรัพย์วา่ “นีถ่ อื เป็นครัง้ แรกทีศ่ ลิ ปินจะได้ถา่ ยทอดงานศิลปะ ลงในพืน้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยซึง่ ก็เป็นโจทย์ทที่ า้ ทายส�ำหรับตัวศิลปิน และสามารถดึงมุมมองใหม่ๆ ออกมาได้อกี เช่นกัน จึงอยากให้ทกุ ท่านทีส่ นใจได้มาลองชมนิทรรศการนีก้ นั ครับ”


26 ISSUE 566 26 NOV 2018

A MUST PRODUC T

"

อ ใ ห้

ฉั น

โ ช

ดี "

E X HI B I T I O N

ชวนคนที่ ช อบงานภาพถ่ า ย ไปชมงาน Little Green Man นิทรรศการ เดีย่ วของ ‘หมิง’ - กันต์รพี โชคไพบูลย์ หนึ่งในช่างภาพกลุ่ม Street Photo Thailand เขาน�ำเสนอวิธกี ารสือ่ สารกับ บุคคลแปลกหน้าตามท้องถนนด้วย การถ่ายภาพสตรีท เพือ่ สะท้อนให้เห็น ถึงวิธีการมองโลกและผู้คนที่ค่อนข้าง แตกต่างอย่างมีเอกลักษณ์ สามารถ ชมฝีไม้ลายมือของเขาได้ตั้งแต่วันนี้ ถึง 6 ธันวาคม 2561 ที่ Glimpse Space ชั้ น 1 อาคารเอเชี ย (BTS ราชเทวี ทางออก 3) เปิดเข้าชมวันอังคาร-ศุกร์ เวลา 11.00-20.00 น. และวันเสาร์-อาทิตย์ 10.00-20.00 น. รายละเอียดเพิ่มเติม www.facebook.com/GlimpseSpace

LITTLE GREEN MAN

O.D. S . X S U N T U R

ห า ก คุ ณ เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น ผู้ ค น อี ก มากมายที่ ยั ง คิ ด ไม่ อ อกว่ า จะซื้ อ ของขวัญวันเกิด ของขวัญจับฉลาก ของขวั ญ แต่ ง งานเพื่ อ น หรื อ ของขวั ญ ส� ำ หรั บ เทศกาลต่ า งๆ จะเลื อ กอะไรดี ลองดู สิ น ค้ า จาก แบรนด์ มิ นิ ม อลและเต็ ม ไปด้ ว ย ศิลปะอย่าง Suntur Store โดยนักวาด ภาพประกอบสุดคูล ‘ซันเต๋ อ’ ยศนันท์ วุฒก ิ รสมบัตก ิ ล ุ ร่วมกับ เพื่อนอีก 2 คน ในคอลเล็กชันใหม่ ‘ขอให้ ฉั น โชคดี ’ (Give Me a Chance) ซึ่ ง เป็ น การท� ำ งาน ร่วมกับ O.D.S. Siam Discovery ที่เรียกเสียงฮือฮาได้ไม่น้อย

ABOUT SUNTUR STORE 1,690 บาท) กระเป๋าสตางค์ทม่ี ีให้เลือก สองแบบ (ราคา 1,190-1,490 บาท) และ ของน่ารักๆ อีกมากมาย เราคิดว่าการที่ได้เห็นค�ำอวยพร ดีๆ อยู่ข้างๆ ตัวจากสิ่งของที่ใช้ในชีวิต ประจ� ำ วั น พลั ง บวกนี้ จ ะดึ ง ดู ด สิ่ ง ดี ๆ เหล่านั้นเข้ามาในชีวิตได้จริงๆ ลองแวะ ไปชมและเลือกหยิบความโชคดีนี้ได้ที่ ODS ชัน้ 3 สยามดิสคัฟเวอรี ตัง้ แต่วนั นี้ ถึง 1 กุมภาพันธ์ 2562 สอบถามรายละเอียด เพิม่ เติมได้ที่ www.facebook.com/sunturstore หรือจะช้อปปิ้งออนไลน์ได้ทาง www.sunturstore.com

สโตร์ออนไลน์จ�ำหน่ายโปรดักต์ ที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เน้นดีไซน์ เรียบง่าย สะอาด และดูดี สามารถใช้ได้ในหลากหลาย โอกาส ที่ มีฐ านไอเดียอยู่ที่ นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา น�ำโดย ‘ซันเต๋อ’ - ยศนันท์ วุฒิกรสมบัติกล ุ นักวาด ภาพประกอบ และเพื่อนสาย ดีไซน์อีกสองคน คือ ‘ปุ๊กปิ๊ก’ - ณัฐ พร ดวงฉวี และ ‘รัน’ - รัญชน์ ลิขิตกิจบวร พวกเขา ปล่อยโปรดักต์มาแล้วหลายชิ้น ไม่ว่าจะเป็นหมวกแก๊ป กระเป๋า ลาย I’M OK แก้วน�้ำ เคสโทรศั พ ท์ จาน และของอื่นๆ อีกเพียบ

EVE N T

PINKOI MARKET IN BANGKOK อีกแค่เดือนเดียวก็จะปีใหม่แล้ว คุณเตรียมสิง่ ดีๆ ให้ตวั เองและคนทีร่ กั ไว้แล้วหรือยัง หากยังคิดอะไร ไม่ออกหรือไม่รจู้ ะไปค้นหาอะไรใหม่ๆ ได้จากทีไ่ หน เราอยากให้แวะไป Pinkoi Market in Bangkok ครัง้ แรก กับการรวมงานดีไซน์ทวั่ เอเชียริมแม่นำ�้ เจ้าพระยา อีเวนต์นา่ รักๆ ทีร่ วบรวมสินค้าจากดีไซเนอร์ไทย ไต้หวัน จีน ฮ่องกง ญีป่ น่ ุ และประเทศอืน่ ๆ อีกมากมาย พร้อมสัมผัสประสบการณ์งานเวิรก์ ช็อปทีต่ งั้ ใจมาถ่ายทอด เทคนิคให้แบบจัดเต็มจาก 6 แบรนด์ งานจะจัดขึน้ ในวันที่ 1-2 ธันวาคม 2561 ตัง้ แต่เวลา 13.00-20.00 น. ทีล่ ง้ 1919 คลองสาน สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ www.facebook.com/PinkoiThai

B O OK

ส� ำ หรั บ คนที่ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถทางด้านการอ่านภาษาญี่ปุ่น ต้องไม่พลาดหนังสือเรื่อง เดินเล่นกับ แมวในโตเกียว โดย Atsuko Isshi ซึง่ เธอ ได้เล่าเรือ่ งราวระหว่างแมว เจ้าของร้าน และร้านค้าต่างๆ ที่ได้พบเจอตลอด การเดินทางท่องเที่ยวในกรุงโตเกียว ผ่านการวาดภาพด้วยลายเส้นที่แสน เรียบง่าย เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ของเธอ พร้อมมีภาพถ่ายเล็กๆ น้อยๆ มาช่วยเติมเต็มให้หนังสือเล่มนี้น่ารัก และน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ราคาเล่มละ 1,512 เยน สัง่ ซือ้ ทางออนไลน์ที่ www. amazon.co.jp

เดินเล่นกับแมวในโตเกียว (東京猫びより散歩)

‘ขอให้ฉนั โชคดี’ ได้รบั แรงบันดาลใจ มาจากเกมเสี่ยงโชคและความเชื่อของ คนไทยเชือ้ สายจีน จากแต่เดิมเรามักจะ อวยพรให้คนอื่นโชคดี แต่คอลเล็กชันนี้ จะเป็นการขอค�ำอวยพรให้ตัวเองโชคดี บ้าง ซึ่งหากเป็นผู้รับก็ถือว่าให้พลังกับ ตัวเองตลอดไปได้เช่นกัน และไม่เพียง แค่ชอื่ ทีเ่ ป็นมงคลเท่านัน้ เขายังใส่กมิ มิก น่ารักๆ ลงไปในความเชือ่ นัน้ จนกลายเป็น ไอเทมที่เรียบง่าย สะอาด และมินิมอล ตามสไตล์ของซันเต๋อสโตร์ในรูปแบบ ที่หลากหลาย ตั้ ง แต่ เ สื้ อ ยื ด และผ้ า พั น คอที่ พิมพ์ดว้ ยโควตเท่ๆ เน้นค�ำอวยพร เข็มกลัด ลายการละเล่นน�้ำเต้าปูปลา (ราคา 150 บาท) แก้วดูดทรัพย์ Double Wall Cup ที่มาพร้อมหลอด มีสีขาว แดง น�้ำเงิน (ราคา 450 บาท) กระเป๋า Minibag ขอให้ ฉั น โชคดี มี สี ข าว แดง น�้ ำ เงิ น (ราคา


Strip ad Krungsri adB564.pdf 1 5/11/2561 20:30:47

27 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

CO L L EC TIO N

UNIQLO AND ALEXANDER WANG เมือ่ นึกถึงความอบอุ่นของเสือ้ ผ้า เชือ่ ว่าหลายคนจะนึกถึงแบรนด์ ยูนโิ คล่ โดย เฉพาะคอลเล็กชันฮีทเทค และฮีทเทค เอ็กซ์ตร้า วอร์ม ทีช่ ว่ ยรักษาอุณหภูมใิ นร่างกาย โดยช่วงฤดูหนาวนีย้ นู โิ คล่ได้ออกคอลเล็กชันล่าสุดทีท่ ำ� งานร่วมกับดีไซน์สาว อเล็กซานเดอร์ แวง ด้วยการส่งอินเนอร์แวร์ดไี ซน์ใหม่ทมี่ ที งั้ ของผูช้ ายและผูห้ ญิง ไม่วา่ จะเป็นเสือ้ กล้าม ส�ำหรับใส่ด้านใน ออกแบบโดยการผ้าทอลายเฉียงรูปตัว V ที่พร้อมมอบความนุ่ม สบาย บราและกางเกงชั้นในขาสั้นตกแต่งโลโก้พเิ ศษให้สาวๆ ได้ใส่กางเกงเอวต�ำ่ อย่างไม่เคอะเขิน รวมทั้งกางเกงขาสั้นและบ็อกเซอร์ของผู้ชาย แต่ทั้งหมดยังคง ความอบอุ่นได้เหมือนเดิม สามารถช้อปปิ้งได้แล้ววันนีท้ ย่ี ูนโิ คล่ทกุ สาขา และทาง ออนไลน์สโตร์ www.uniqlo.com/th

TRAVEL

INDIGO TRIP เพื่อให้การเดินทางในช่วงฤดูหนาวมีคุณค่ามากกว่าแค่ภาพถ่าย เราขอเสนอ ‘ทริปทอฝัน’ ให้คุณสัมผัสวิถีชีวิตชาวบ้านเชิงดอย ชุมชนที่ถือได้ว่าเป็นแหล่งผลิต ผ้าย้อมครามคุณภาพดีที่สุดของจังหวัดสกลนคร ภายใต้การน�ำของแม่ครูปราลี ปราชญ์ชาวบ้านทีอ่ นุรกั ษ์การย้อมผ้าสีธรรมชาติแบบโบราณ เรียนรูก้ ระบวนการทอผ้า อยู่กินแบบชาวบ้าน ชมตลาดผ้าครามที่ใหญ่ และไหว้พระเพื่อความเป็นสิริมงคล ในวันที่ 14-17 ธันวาคม 2561 พาไปทอฝันโดยสตูดิโอย้อมคราม Simply Organics สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่โทร. 09-6545-7566 หรือ www.facebook.com/ simplyorganicsnilahouse

C

M

Y

CM

B EAU T Y

MY

CY

CMY

APPLIQUE & EMBROIDERY ART

K

เพือ่ ให้เราเดินทางไปร่วมชมคอนเสิรต์ เจ้าหญิงได้อย่างจัดเต็ม เครือ่ งหน้าของเรา ก็ตอ้ งเป๊ะและเป๊ะไปจนถึงแพ็กเกจจิง้ ของเหล่าเครือ่ งส�ำอาง แบรนด์ Besame Cosmetics ได้รว่ มมือกับ Disney ปล่อยคอลเล็กชันใหม่ทมี่ ชี อื่ ว่า 1953 Collection ในธีม Peter Pan & Mermaid Lagoon มาในรูปแบบลวดลายเปลือกหอยและนางเงือก รวมถึงปีเตอร์แพน ออกโปรดักต์มาด้วยกัน 5 อย่าง คือ อายแชโดว์พาเลตต์, ลิปสติก 3 เฉดสี, แป้งชิมเมอร์ ไข่มุก, บรอนเซอร์ และน�ำ้ หอม ให้สาวๆ ได้ร้องว้าวกันแล้ววันนี้ วางจ�ำหน่ายเฉพาะ ทางออนไลน์ท่ี BesameCosmetics.com เท่านั้น

เดินเล่นกับแมวในโตเกียว (東京猫びより散歩)

CONCERT

WORKSHOP

THE PRINCESS

FESTIVE BREAD

หนึง่ ในความใฝ่ฝนั ในวัยเยาว์ของผูห้ ญิงแทบทุกคนคือการได้ แต่งตัวเป็นเจ้าหญิง ความฝันนัน้ จะเกิดขึน้ อีกครัง้ เมือ่ ซือ้ บัตรไปชม คอนเสิรต์ เจ้าหญิง กับศิลปินเสียงทรงพลังอย่าง แก้ม วิชญาณี เจ้าของเสียงพากย์เจ้าหญิงเอลซา, อาร์ม กรกันต์, กิง่ เหมือนแพร และ คชา นนทนันท์ ผ่านการบรรเลงดนตรีจากออร์เคสตราเยาวชน สยามซินโฟนิเอตต้า กับ 2 วาทยกร สมเถา สุจริตกุล และ ทฤษฎี ณ พัทลุง งานนีม้ รี างวัลส�ำหรับเครือ่ งแต่งกายเจ้าหญิง-เจ้าชาย ยอดเยีย่ ม ซึง่ จัดขึน้ ในวันที่ 16-17 ธันวาคม 2561 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วฒ ั นธรรมแห่งประเทศไทย ซือ้ บัตรได้ที่ Line: @operasiam

เทศกาลคริสต์มาสใกล้จะมาถึง ส�ำหรับสายขนมปังอย่างเรา เลยเสาะหาคลาสเรียนขนมปังทีน่ ยิ มกินกันมากในช่วงเทศกาลนี้ อาทิ การท�ำ ‘Panettone’ ขนมปังทีไ่ ด้ชอื่ ว่า King of Bread, ‘Veneziana’ ขนมปังสีทองเลือ่ งชือ่ ส�ำหรับเทศกาลคริสต์มาสจากแคว้น Venetian ของอิตาลี, ‘Kanellaä ngd’ ขนมปังเนยชินนามอนเนือ้ นุม่ และ ‘Kugelhopf’ ขนมปังคริสต์มาสยอดนิยมจากเยอรมนีตอนใต้และออสเตรีย ราคาคอร์สละ 5,500 บาท ในวันที่ 12 ธันวาคม 2561 ที่ Grain Baker's Bread Lab บ้านกลางเมือง ปิน่ เกล้า-จรัญฯ จ.นนทบุรี สอบถาม รายละเอียดเพิม่ เติมได้ทาง www.facebook.com/grainbakershop2


28

THEY SAID

เรื่อง

ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล กองบรรณาธิการ sarunya.magazine@gmail.com

ISSUE 566 26 NOV 2018

TMB HACKATHON 2018 “เราเชื่อเสมอว่าค�ำถามส�ำคัญกว่าค�ำตอบ การตั้งค�ำถามที่ไม่ถูกต้อง จะท�ำให้เราแก้ปัญหาให้ลูกค้าผิด เท่ากับว่าการแก้ไขปัญหา ในครั้งนั้นไม่มีประโยชน์” - กาญจนา โรจวทัญญู หัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหาร สื่อสารและภาพลักษณ์องค์กร ทีเอ็มบี

แนวคิดการจัดกิจกรรมแฮกกาธอน (Hackathon) ในประเทศไทย เริ่มจากวงการดิจิตอลมาสักพักแล้ว โดยเฉพาะในกลุ่มสตาร์ทอัพ รุ่นใหม่ ถือเป็นกิจกรรมระดมสมองเพื่อช่วยกันแก้ปัญหาในเวลา ทีจ่ ำ� กัด ซึง ่ ภายใต้ความกดดันและการแข่งกับเวลานีจ้ ะท�ำให้เกิดไอเดีย ใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาได้อย่างน่าทึ่ง ท�ำให้หลายๆ องค์กรเริ่มน�ำ แนวคิดนี้มาจัดกิจกรรมกับบุคคลภายนอกเพื่อมองหาไอเดียใหม่ๆ และน�ำมาประยุกต์ใช้กับการท�ำงาน ด้วยความสดใหม่นี้เองจึงท�ำให้ กาญจนา โรจวทัญญู หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร สือ ่ สารและภาพลักษณ์ องค์กร ทีเอ็มบี น�ำแนวคิดแฮกกาธอนมาใช้ในการขับเคลื่อนไอเดีย กับคนภายใน ด้วยการจัด TMB HACKATHON 2018 ทีม ่ ค ี วามท้าทาย และเกิดผลลัพธ์ที่ดีเกินคาดได้ในเวลาเพียง 48 ชั่วโมง TMB HACKATHON 2018… แฮกกาธอนของที่อื่นจะมีโจทย์ ตั้งต้นเพื่อให้ทุกคนมาร่วมแก้ปัญหา แต่แฮกกาธอนของทีเอ็มบี แต่ละทีมต้อง เริม่ ต้นด้วยการตัง้ โจทย์ (Problem Statement) ของตนเอง ดังนัน้ แต่ละทีมจะต้อง ท�ำความเข้าใจปัญหาของลูกค้าในมุมมองที่แตกต่างกัน แฮกกาธอนของทีเอ็มบี จึงมี 9 โจทย์ โดยเราเชื่อว่าการตั้งโจทย์หรือการตั้งค�ำถามนั้นส�ำคัญกว่าค�ำตอบ เพราะหากเราตั้งค�ำถามไม่ถูกต้อง จะท�ำให้เราแก้ปัญหาไม่ถูกจุด เท่ากับว่า การแก้ไขปัญหาในครั้งนี้ยังไม่เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ More Collaboration… แต่การตัง้ ค�ำถามเพือ่ หาค�ำตอบจะเกิดขึน ้ เพียงล�ำพังไม่ได้ เราจึงส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างพนักงานภายใน องค์กร เราจะให้หัวหน้าทีมไปหาลูกทีมกันมาเอง ทุกคนที่มาสมัครแฮกกาธอน เป็นทั้งผู้ที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติม และคนที่อยากเรียนรู้เพื่อน�ำไปใช้จริงในสายงาน ของตัวเอง 9 Value Chain... ทีมทีเ่ ข้าร่วมแฮกกาธอนทัง้ 9 ทีม ประกอบไปด้วย พนักงานจากหลากหลายหน่วยงาน อาทิ ทีมดูแลผลิตภัณฑ์ มาร์เก็ตติ้ง พนักงานสาขา พนักงานไอที ทีมงานโอเปอเรชัน รวมไปถึงพนักงานระดับผูบ้ ริหาร ทุกคนต้องถอดหัวโขนของตัวเองออกเพื่อช่วยกันตั้งโจทย์และช่วยแก้ปัญหา ให้กับลูกค้าให้ดีที่สุด ภายในเวลาจ�ำกัด Management Involvement… ความสนุกและความท้าทาย ของทั้ง 9 ทีมอยู่ที่การพิตชิง (Pitching) ให้คณะกรรมการฟังว่าแต่ละทีมตั้งโจทย์ ได้ถูกต้องหรือไม่ โดยมีผู้บริหารสูงสุดของแต่ละสายงาน รวมถึงซีอีโอทั้งหมด 10 ท่าน เป็นคณะกรรมการ แล้วพิตชิงกันว่ากรรมการท่านใดจะเป็นสปอนเซอร์ ให้กับทีมไหน ถ้าทีมใดไม่ถูกเลือก ก็ต้องกลับไปตั้งโจทย์กันใหม่ แต่ที่น่าสนใจ คือ ทีมทีต่ อ้ งกลับไปตัง้ โจทย์กนั ใหม่นนั้ เมือ่ กลับมาพิตชิงรอบสองกลับท�ำได้ดมี าก จนท้ายสุดกลายมาเป็นหนึ่งในทีมที่ชนะ More Spirit… เราจัดกิจกรรมครัง้ นี้ ถึงแม้วา่ จะมุง่ เน้นให้เกิดแนวทาง การท�ำงานใหม่ๆ ส�ำหรับคนท�ำงาน แต่ผลลัพธ์ทไี่ ด้มากไปกว่านัน้ ก็คอื เราได้เห็น ความร่วมมือกันท�ำงานระหว่างแผนก เพราะในชีวิตการท�ำงานปกติอาจจะมี การพบปะพูดคุยกันอย่างผิวเผิน แต่วันหนึ่งต้องมากินอยู่หลับนอน และต้อง ช่วยกันแก้ปัญหา ท�ำให้เกิดความใกล้ชิดสนิทสนมกันมากขึ้น Good Idea, Good Quality… ทั้ง 9 ทีมมีไอเดียที่ดี หลายทีม มองปัญหาในมุมใหม่ๆ ได้อย่างน่าประหลาดใจ ท�ำให้เจอแนวทางการแก้ไขปัญหา ด้วยวิธคี ดิ ทีส่ ร้างสรรค์ การทีท่ ำ� ออกมาได้ดนี นั้ ก็เพราะทุกคนกล้าลองผิดลองถูก ตัง้ ใจท�ำให้ดที สี่ ดุ โดยไม่ได้ตงั้ ธงว่าจะต้องดีถงึ ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ทงั้ 9 ทีมก็ทำ� ได้ดี เกินคาด และยังน�ำชุดการตั้งค�ำถามและแก้ปัญหานี้ไปปรับใช้ในงานของตัวเอง TMB HACKATHON EP. 2… เรารู้สึกภูมิใจที่หลังจากจบ แฮกกาธอนครั้งแรก พนักงานจากหลายๆ ทีมสนุกกับการน�ำวิธีคิดนี้ไปใช้ ซึง่ ช่วยในการท�ำงานของพวกเขาได้จริง เพราะนอกจากจะเป็นการเริม่ ต้นทีด่ แี ล้ว เรายังคงเห็นความต่อเนือ่ งของพวกเขาในวันต่อๆ ไปหลังจากจบการแข่งขันด้วย ในขณะที่บางทีมถึงกับอยากให้เราจัด TMB HACKATHON ภาค 2 ซึ่งเป็นสิ่งที่ น่าสนใจมากๆ


29 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

BE YOUR BEST

It was My First Time… เมือ่ ประมาณ 2-3 ปีทผี่ า่ นมา เราได้ยนิ ค�ำว่า แฮกกาธอนมาโดยตลอด และเห็นว่ามีการจัดงานแฮกกาธอนขึ้นในหน่วยงาน ภาครั ฐ เอกชน และสตาร์ ท อั พ ต่ า งๆ พร้ อ มโจทย์ ที่ แ ตกต่ า งหลากหลาย โดยน�ำกระบวนการคิดทีน่ อกกรอบและรีบจัดการเพือ่ ให้เกิดผลลัพธ์ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่ ง เรามองว่ า เป็ น สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจและน่ า เรี ย นรู ้ เ ป็ น อย่ า งมาก เมื่ อ ที เ อ็ ม บี จั ด เราจึงเข้าร่วมทันที First Question… เมื่อตัดสินใจเข้าร่วมแล้ว เพื่อนๆ ก็เกิดความลังเล ว่าจะได้ประโยชน์อะไรจากการเข้าร่วมในครั้งนี้ หรือสิ่งนี้คือหนึ่งในการท�ำงาน ทีจ่ ำ� เป็นต้องเข้าร่วมหรือเปล่า แต่เราก็บอกเพือ่ นๆ ว่า อย่างน้อยการเข้าร่วมแข่งขันนี้ คือการได้เห็นกระบวนการท�ำงานรูปแบบใหม่ๆ และเมือ่ จบงาน ทุกคนเห็นตรงกัน ว่าประโยชน์ที่ได้มากเกินกว่าที่คาดคิดไว้ Pre-Hackathon… ในช่วงแรกของ TMB HACKATHON จะเป็น การเวิรก์ ช็อปขัน้ ตอนการตัง้ โจทย์ (Problem Statement) หนึง่ วันเต็ม สิง่ ทีไ่ ด้จากวันแรกๆ คือการเรียนรู้สิ่งใหม่ อาทิ กระบวนการคิด Design Thinking แนวทางการหาข้อมูล จากการสอบถามความต้องการทีแ่ ท้จริงของลูกค้า (Customer Insights) รวมทัง้ วิธีการพิตชิงซึ่งเป็นสิ่งที่น่าสนใจเป็นอย่างมาก Learning by Doing… หลังจากเรียนรูร้ ป ู แบบทุกอย่างแล้ว ก็ได้เวลา ลงมือตัง้ โจทย์และระดมสมองจากทุกคนในทีมว่า ภายใต้ปัญหาของลูกค้า เราจะ สามารถแก้ปัญหาอะไรได้บ้าง สิ่งที่เราได้ไม่ใช่แค่วิธีการแก้ปัญหา แต่เรายัง ได้เรียนรู้กระบวนการท�ำงานร่วมกันเพือ่ เข้าใจปัญหาทีแ่ ท้จริงของลูกค้า นีค่ อื สิง่ ที่ ช่วยท�ำให้เราได้เรียนรู้อย่างแท้จริง New Mindset… ตั้งแต่เวิร์กช็อปวันแรก สู่วันพิตชิงครั้งแรก ไปจนถึง การน�ำเสนอผลงานรอบสุดท้าย (Final Presentation) ภายใน 48 ชั่วโมง กิจกรรม ทัง้ หมดเกิดขึน้ ภายในเวลาไม่กวี่ นั แต่เป็นช่วงเวลาทีท่ ำ� ให้เราสามารถจัดการแก้ปญ ั หา ได้อย่างเป็นขั้นเป็นตอนมากขึ้น ช่วยให้เราปรับความคิดตัวเองใหม่ อย่างเรื่อง การแก้ปัญหาต่างๆ ของลูกค้า จากเดิมที่เราคิดว่าเป็นเรื่องของ Front Offiffiice เช่น พนักงานสาขาหรือมาร์เก็ตติ้ง ไม่ใช่งานส่วนของ Back Offiffiice อย่างเรา แต่การเข้าร่วมแฮกกาธอน ท�ำให้ความคิดของเราเปลี่ยนไป ถึงแม้เราจะไม่ได้เป็น ผู้ที่ต้องดูแลลูกค้าโดยตรง แต่เราก็มีส่วนในการสร้างการเปลี่ยนแปลงได้โดยที่เรา แก้ปัญหาเพื่อเอื้อกับคนที่อยู่ Front Offiffiice ให้เขาน�ำไปแก้ปัญหาให้ลูกค้าต่อได้ ท�ำให้เห็นว่าทุกอย่างสามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยเริ่มต้นที่ตัวเราเอง Open Communication… TMB HACKATHON ท�ำให้เรารู้ว่า กระบวนการท�ำงานเป็นทีมของเราเองจะสามารถแก้ปญ ั หาได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องได้รับความร่วมมือจากหลายๆ ฝ่าย เพราะความคิดที่หลากหลายของ แต่ละคนนัน้ ต่างก็มจี ดุ แข็งจุดอ่อนทีไ่ ม่เหมือนกัน ทีมเราอาจจะแก้ปัญหาได้เพียง หนึง่ จุดเล็กๆ แต่หากเราตัง้ ค�ำถามได้ถกู ต้อง ก็จะน�ำไปสูก่ ารหาค�ำตอบทีต่ อบโจทย์ ลูกค้า บวกกับการยอมรับแนวคิดของคนท�ำงานจากหลายๆ ฝ่าย แล้วน�ำมาผนวก รวมกัน สิ่งนี้ต่างหากที่จะสามารถแก้ปัญหาของลูกค้าได้อย่างครบถ้วน New Way of Working… หลังจากจบงานแฮกกาธอน บวกกับ ประสบการณ์การท�ำงานทีเ่ ราได้รว่ มกับทีเอ็มบีตลอด 5 ปี เราเห็นการเปลีย่ นแปลง ของทีเอ็มบีหลายด้าน แต่สิ่งที่เห็นชัดๆ ก็คือรูปแบบการท� ำงานที่เปลี่ยนไป จากเดิมที่มีลำ� ดับชั้นมากมาย แต่ในปัจจุบันขั้นตอนการท�ำงาน การประสานงาน ระหว่างฝ่ายต่างๆ ลื่นไหลมากขึ้น เนื่องจากขั้นตอนการท�ำงาน รวมทั้งขั้นตอน ทีไ่ ม่จำ� เป็นลดลงไปอย่างเห็นได้ชดั ส่งผลให้คนรุ่นใหม่กล้าคิด กล้าเข้าหา รวมทัง้ กล้าท�ำอะไรหลายๆ อย่างได้มากขึ้น และพวกเราสามารถเข้าถึงผู้บริหารระดับสูง เพื่อเสนอแนวคิดใหม่ๆ ได้ง่ายขึ้น

“ทีเอ็มบีแฮกกาธอนช่วยเปลี่ยนกระบวนการคิดหลายอย่าง โดยเฉพาะการท�ำงาน และท�ำให้เรารู้ว่าทุกอย่างสามารถเปลี่ยนแปลงได้ โดยเริ่มต้นที่ตัวเราเอง” - ปัณวรรธน์ อินนุรักษ์ Senior Data Scientist – Data Analytics COE TMB

ภายใต้ ค วามกดดั น ในสมรภู มิ แ ฮกกาธอนตลอด 2 วั น เต็ ม กลับเต็มไปด้วยเสียงหัวเราะที่อยู่คู่กับความเข้มข้นในการระดมสมอง เพือ ่ ตัง้ โจทย์และหาหนทางแก้ปญ ั หาให้ได้ในเวลาจ�ำกัด ทุกทีมตัง้ หน้าตัง้ ตา น�ำเสนอไอเดียด้วยมุมมองที่หลากหลายจนวินาทีสุดท้าย หนึ่งในผู้ร่วม กิจกรรมที่ได้รับ ความประทั บ ใจจากกิ จ กรรมดั ง กล่ า ว คื อ ‘ไมค์ ’ ปัณวรรธน์ อินนุรก ั ษ์ Senior Data Scientist - Data Analytics COE TMB ผู้ที่พร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ และน�ำสิ่งที่ได้จากทีเอ็มบีแฮกกาธอน ไปปรับใช้กับการท�ำงานต่อไป


30 ISSUE 566 26 NOV 2018

BULLETIN BOARD อัพเดตแวดวง ข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจ ในรอบสัปดาห์

TA L K O F T H E T O W N

Café Amazon : Coffee Story ​คาเฟ่ อเมซอน เปิดตัวแก้วลายใหม่พร้อม QR code ให้คุณสแกนเข้าไปดูว่ากาแฟแต่ละแก้วที่อยู่ ในมือนั้นช่วยดูแลสังคม ชีวิต และสิ่งแวดล้อมให้กับ เกษตรกรชาวเขาบ้านปางขอน ต.ห้วยชมภู อ.เมือง จ.เชียงราย ได้อย่างไร ทัง้ ด้านช่องทางในการจ�ำหน่าย เมล็ดกาแฟกะลา ส่งเสริมสนับสนุนเกษตรกรให้ปลูก และผลิตกาแฟภายใต้ระบบอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยัง่ ยืน ซึง่ สิง่ ทีไ่ ด้กลับมาคือ กาแฟหอมๆ รสชาติ เข้มข้นจากวัตถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ โดยพวกเขาอยากส่งภาพ ความสุขนี้ให้แทนค�ำขอบคุณ เพราะกาแฟทุกแก้ว ที่คุณก�ำลังดื่มนั้นมีส่วนช่วยให้พวกเขามีชีวิตที่ดีขึ้น มีความสุขมากขึ้น รับชมมิวสิกวิดีโอเพลง 'ขอบคุณ' ได้แล้ว เพียงสแกน QR code บนแก้วกาแฟของ คาเฟ่ อเมซอน ได้ท่รี ้านสาขาใกล้บ้านคุณ

Every Child Deserves a Happy Smile

ชีววิถี เกษตรอินทรียบ ์ นวิถี พอเพียง

บริษัท เป๊ปซี่-โคล่า (ไทย) เทรดดิ้ง จ�ำกัด ในเครือเป๊ปซี่โค ขอเชิญชวนทุกท่าน มีสว่ นร่วมในการสร้างรอยยิม้ ใหม่ให้กบั น้องๆ ทีม่ ภี าวะปากแหว่งเพดานโหว่โดยก�ำเนิด ด้วย สินค้าที่ระลึกคอลเล็กชันพิเศษ ที่ออกแบบ ลายโดย ‘เบล’ - เศรษฐพร ก่ อวาณิชกุล (Painterbell) ศิลปินนักวาดภาพประกอบรุน่ ใหม่ ประกอบไปด้วยเสื้อยืด ถุงผ้า และกระเป๋า ใบเล็ก ให้คณ ุ ได้เลือกซือ้ เป็นของขวัญในช่วง เทศกาลปีใหม่ที่สุขใจทั้งผู้ให้และถูกใจผู้รับ ทั้งนี้ รายได้ท้ังหมดจากการจ�ำหน่ายสินค้า (โดยไม่หักค่าใช้จ่าย) จะมอบให้กับ ‘มูลนิธิ สร้างรอยยิม้ ประเทศไทย’ (Operation Smile Thailand) เพือ่ ใช้ในการผ่าตัดช่วยเหลือเด็กทีม่ ี ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ในถิ่นทุรกันดาร ชมตัวอย่างสินค้าได้ที่ www.operationsmile. or.th/pepsicoxpainterbell

​การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จั ด งานเสวนาในหั ว ข้ อ ‘ชี ว วิ ถี เกษตรอินทรียบ์ นวิถพี อเพียง’ โดยมี พัฒน์พงษ์ มงคลกาญจนกุ ล เจ้ า ของฟาร์ ม พี ร ะพล อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ซึ่งเป็นเกษตรกร ต้นแบบ 1 ใน 5 คนของโลก จากองค์การอาหาร และการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) และ อาจารย์เกศศิรนิ ทร์ แสงมณี อาจารย์ประจ�ำ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้เชีย่ วชาญด้านการผลิตพืชในระบบเกษตร อินทรีย์ ร่วมถ่ายทอดความรูแ้ ละประสบการณ์ ในการท�ำไร่นาส่วนผสมตามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียงโดยไม่ใช้สารเคมี จนปัจจุบนั สามารถ พึ่งพาตนเองได้อย่างยัง่ ยืน

มี เ ดี ย คอม (ประเทศไทย) ผนึกก�ำลังเจดับบลิวที ผลักดัน แคมเปญ UN Women ส่งเสริมสิทธิและเสรีภาพสตรี

ม​ ี เ ดี ย คอม (ประเทศไทย) เอเจนซี ผู้บริหารและซื้อขายสื่อระดับโลกในเครือ กรุป๊ เอ็ม พร้อมด้วยเจดับบลิวที และพันธมิตรสือ่ ร่วมผลักดันแคมเปญ ‘16 Days of Activism Against Gender Based Violence’ การส่งเสริม คุ ณ ค่ า และความตระหนั ก รู ้ ใ นศั ก ยภาพ ของผู ้ ห ญิ ง ตามแนวคิ ด ในการสนั บ สนุ น ความเท่าเทียมกันทางเพศของ UN Women (องค์กรระดับนานาชาติที่มุ่งส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศ) พร้อมขยายขีดความสามารถของผู ้ ห ญิ ง อย่ า งเต็ ม ศั ก ยภาพ เพือ่ ให้ผหู้ ญิงและเด็กหญิงนัน้ ได้รบั การปฏิบตั ิ อย่างเท่าเทียมกัน และได้รบั ความยุตธิ รรมจาก สังคมอย่างแท้จริง โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ เป็นเครื่องมือที่ช่วยเสริมสร้างความเป็นอยู่ ที่ดีขึ้นของผู้หญิงในสังคม

แพ็กเกจเน็ตไม่อน ั้ ไม่มห ี มด ไม่ลดสปีด เร็วสุด 6 Mbps จาก my by CAT บ​ ริ ษั ท กสท โทรคมนาคม จ� ำ กั ด (มหาชน) หรือ CAT ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ แบรนด์ my by CAT ครอบคลุมพื้นที่ใช้งาน ทั่ว ประเทศ พร้ อ มตอบสนองเหล่ า สาวก ทั้ ง หลายในยุ ค ดิ จิ ต อล ด้ ว ยการเปิ ด ตั ว แพ็กเกจเสริม ‘my เน็ตเพลิน’ เน็ตไม่อั้น ไ ม่ มี ห มด ไม่ ล ดสปี ด ความเร็ ว สู ง สุ ด 6 Mbps ส�ำหรับใช้เล่นเน็ตแบบชิลๆ ไว้ดยู ทู บู เล่นเกมออนไลน์ ดูหนัง ดูซรี สี ส์ ดุ ฮิต ดูละคร ผ่านแอพฯ ต่างๆ ไม่วา่ จะเป็น Line TV, Netffllifl x หรือจะใช้แชร์ฮอตสปอตกับอุปกรณ์อ่ืนๆ ก็สามารถท�ำได้แบบไม่มสี ะดุด ทุกที่ ทุกเวลา ดูแพ็กเกจสุดคุ้มได้ที่ www.mybycat.com


ad Gatsby adB566.pdf 1 10-Nov-18 7:31:46 AM


32 ISSUE 566 26 NOV 2018

BULLETIN BOARD อัพเดตแวดวง ข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจ ในรอบสัปดาห์

TA L K O F T H E T O W N

Volcom X Alex Face New Collection ​ บริษัท เอ็นวาย.แอลเอ กรุ๊ป จ�ำกัด ผู้น�ำเข้า แบรนด์สนิ ค้าชัน้ น�ำจากประเทศสหรัฐอเมริกา จัดงาน เปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่โดยจัดกิจกรรม Volcom X Alex Face New Collection @ Zpell Rangsit ในรูปแบบของ การ Collaboration กับศิลปินชือ่ ดังของเมืองไทย พัชรพล แตงรืน่ หรือทีพ่ วกเรารู้จกั กันดีในนาม Alex Face โดย สินค้าทีเ่ ป็นคอลเล็กชันสุดพิเศษจะมี 4 ลาย ประกอบ ไปด้วย T-Shirt, S-Shirt, Cap ภายในงานนอกจากจะ เปิดขายคอลเล็กชันนีเ้ ป็นครัง้ แรกแล้ว ยังมีแฟชัน่ โชว์ และคอนเสิรต์ จาก the Rapper ภายใต้คอนเซ็ปต์ True t o This ที่สร้างความประทับใจให้กับผู้มาร่วมงาน อย่างมาก

‘เนสกาแฟ’ รับรางวัลแบรนด์ ที่ แ ข็ ง แกร่ ง และทรงพลั ง ที่สุดในไทย ปี 2018

เรด บูล มิวสิค ทรี สไตล์ ค้นหา ตัวแทนไทยสู้ทัพต่างแดน โชว์สแครชแผ่นบนเวทีโลก

BOLBBALGAN4 1st Fan Meeting in Bangkok 2018

ผ ม แมว และการเดินทาง ของเรา

ผลิตภัณฑ์เนสกาแฟ น�ำโดย แวลดดิสลาฟ อั ง ดรี ฟ ผู ้ อ� ำ นวยการบริ ห ารธุ ร กิ จ ผลิตภัณฑ์กาแฟและครีมเทียม, นางสาว ศรี ป ระภา จิ ง ประเสริ ฐ สุ ข ผู ้ จั ด การฝ่ า ย การตลาดอาวุโส กลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม พร้อมดื่ม และ นางสาวนาริฐา วิบูลยเสข ผูจ้ ดั การธุรกิจกาแฟปรุงส�ำเร็จ บริษทั เนสท์เล่ (ไทย) จ�ำกัด พร้อมทีมงาน รับมอบรางวัล แบรนด์ ที่ แ ข็ ง แกร่ ง และทรงพลั ง ที่ สุ ด ในประเทศไทย ประจ�ำปี 2018 (The Most Powerful Brands of Thailand 2018) จาก ศ. ดร. สกนธ์ วรัญญูวัฒนา ผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจ�ำกระทรวงพาณิชย์ ที่ห้องประชุม 212 อาคารมหิตลาธิเบศร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

​มหกรรมดวลบีตทางดนตรีครัง้ ยิง่ ใหญ่ ของเหล่าดีเจจากทัว่ ทุกมุมโลก กับการแข่งขัน เพือ่ เฟ้นหาสุดยอดดีเจเพียงหนึง่ เดียวทีจ่ ะได้ ไปโชว์ความสามารถบนเวทีชงิ แชมป์โลกในงาน เรด บูล มิวสิค ทรี สไตล์ (Red Bull Music 3Style) ที่ประเทศไต้หวัน ในเดือนมกราคม 2019 ซึ่ง เป็ นการแข่ ง ขันที่จัดขึ้นมากกว่ า 22 ประเทศทั่วโลก เพื่อเฟ้นหาดีเจที่จะมา เขย่าความมันด้วยแนวเพลงในสไตล์ที่เป็น เอกลักษณ์ พร้อมการผสมผสานบีตดนตรี เข้ากับสกิลการสแครชทีส่ ร้างความแตกต่าง แหวกแนว และยั ง เป็ น การแลกเปลี่ ย น วัฒนธรรมทางดนตรีด้วย ติดตามความเคลือ่ นไหวได้ทางยูโรเปีย้ น เรดบูล (ประเทศไทย) www.redbull3style.com, www.facebook.com/ redbull3style

ผ​ ่ า นพ้ น ไปแล้ ว กั บ งานแฟนมี ต ติ้ ง ครั้งแรกของสองสาวแก้มแดง ‘อัน จียอง’ และ ‘ยู จี ยุ น ’ วงดู โ อ้ อิ น ดี้ เ กาหลี ชื่ อ ดั ง BOLBBAGAN4 หรื อ BOL4 ที่ บิ น ตรงจาก กรุงโซล มาพบปะแฟนๆ ชาวไทยเป็นครัง้ แรก ในงาน ‘BOLBBALGAN4 1st Fan Meeting in Bangkok 2018’ จัดโดย Teenage Dream Corporation ณ DND Club เอกมัย โดยได้รับ เสียงตอบรับจากแฟนๆ ของพวกเธออย่าง ล้นหลาม ท�ำเอาสองสาวยิ้มไม่หุบที่ได้รับ ความรัก จากแฟนๆ ชาวไทยมากขนาดนี้ ติดตามความเคลื่อนไหวคอนเสิร์ตดีๆ จาก ผูจ้ ดั ไฟแรง Teenage Dream Corporation ได้ที่ www.facebook.com/TeenageDreamCorp

​Maxx Publishing ในเครือโมโน กรุ๊ป น�ำเสนอเรื่องราวการผจญภัยของสองชีวิต ระหว่ า งคนกั บ แมวภายใต้ ชื่ อ ‘ผม แมว และการเดินทางของเรา (The Travelling Cat Chronicles)’ ผลงานการเขี ย นของ ฮิ โ ระ อาริ ค าวะ และแปลไทยโดย ปิ ย ะวรรณ ทรัพย์สำ� รวม โดยเนือ้ เรือ่ งจะเป็นการบอกเล่า เรือ่ งราวของ ‘ซาโตรุ’ ชายหนุม่ จิตใจดีทใี่ ส่ใจ คนรอบข้าง ที่ได้รับแมวจรจัดมาเลี้ยง และ ตั้งชื่อว่า ‘นานะ’ ซึ่งเรื่องราวการผจญภัย ของทั้งคู่แปรเปลี่ยนเป็นมิตรภาพอันลึกซึ้ง ขณะเดียวกันก็สะท้อนความเปล่าเปลีย่ วของ ชีวิตคนออกมาด้วย หนังสือ ‘ผม แมว และ การเดินทางของเรา’ ราคา 379 บาท


WE’RE FUN WE’RE NEW

MG3

หากคุณต้องการเพิ่มความเร้าใจ ให้กับชีวิต เติมรอยยิ้ม และเสียง หั ว เราะให้ กั บ หั ว ใจ ในทุ ก สิ่ ง ที่ ท�ำได้ วิธท ี ชี่ ว่ ยให้เราขับเคลือ ่ นชีวต ิ ได้อย่างสนุกสนานอย่างทีต ่ อ ้ งการ คื อ ก า ร เ ริ่ ม ต้ น อ อ ก เ ดิ น ท า ง เพราะสิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ระหว่ า งทาง ่ ค ี วามหมาย จะเต็มไปด้วยเรือ่ งราวทีม โ ด ย เ ฉ พ า ะ ถ้ า ไ ป ด้ ว ย กั น กั บ All New MG3 ใหม่ ซึ่งพร้อมแล้ว ที่ จ ะเชื่ อ มต่ อ ความสนุ ก ให้ คุ ณ ในทุกๆ จังหวะของการเดินทาง

Add Fun to Your Life All New MG3 ช่วยเติมความสะดวกให้คณ ุ ด้วย i – SMART ด้วยระบบค�ำสั่งด้วยเสียงภาษาไทย ผ่านหน้าจอสัมผัสขนาด 8 นิ้ว และผ่านแอพพลิเคชันบนมือถือ ซึ่งจะคอยบอกข้อมูล ส�ำคัญๆ ได้ตลอดเวลา ไม่วา่ จะเป็นน�ำ้ มันใกล้จะหมด แบตเตอรี่ เริม่ อ่อน เครือ่ งยนต์รอ้ นหรือมีปญ ั หา หรือระบบเบรก แถมยัง มีระบบเตือนภัยหากเกิดการโจรกรรม และระหว่างขับรถ หากหิวขึ้นมา สามารถใช้ฟังก์ชัน Wongnai ค้นหาร้านอาหาร และเมนูเด็ด จู่ๆ อยากจะไปเที่ยว และต้องการค้นหาโรงแรม ก็มีฟังก์ชัน Agoda หรือชิลไปกับฟังก์ชัน Online Music ในรูปแบบ Live Streaming บนระบบคลาวด์ได้กว่า 1 ล้านเพลง

Add New Design to Your Car เมือ่ ฟังก์ชนั ครบเครือ่ ง ดีไซน์กต็ อ้ งครบครันทัง้ ภายนอก และภายใน แถมรถยนต์โฉมใหม่ All New MG3 ยังคล่องตัว และปลอดภัยด้วย Brit Dynamic ทีไ่ ม่ใช่ระบบ แต่เป็นแนวคิด ในการผลิตรถยนต์ของ MG ทีผ่ สานทัง้ สมรรถนะ การควบคุม และเทคโนโลยีเข้าด้วยกัน ส่วนรูปลักษณ์ภายนอกเพิม่ ลุกส์สดุ เท่ด้วยกระจังหน้า โมเดิร์น 3 มิติ ไฟหน้าแบบโปรเจกเตอร์ที่ช่วยเพิ่มทัศนวิสัย พร้อมไฟ Daytime Running Lights ส่องสว่าง สอดรับไปกับ ไฟท้ายแนวตั้งสุดเท่แบบ LED Light Guide พร้อมไฟเบรก ดวงที่สาม และไฟตัดหมอก โฉบเฉี่ยวด้วยสเกิร์ตข้างสีทูโทน ติดสปอยเลอร์หลัง เปลี่ยนล้อให้มีขนาด 16 นิ้ว เพื่อให้ดู สปอร์ต แอบซ่อนความสนุกด้วยซันรูฟปรับไฟฟ้า เติมความสดใส ให้เตะตาผู้คนด้วยแฮทช์แบ็ค 5 สี ได้แก่ สีเหลืองหลังคาด�ำ สีแดงหลังคาด�ำ สีฟ้าหลังคาขาว สีขาว และสีด�ำ เมือ่ เข้ามานัง่ ข้างใน เราจะพบกับการออกแบบแนวอาร์ทสิ ต์ ด้วยแผงคอนโซลลายโมเดิร์นกราฟิก เบาะคนขับที่ปรับได้ถึง 6 ทิศทาง และเบาะหลังพับแยกส่วนเพือ่ เก็บของได้ในอัตราส่วน ถึง 60:40 ตอบรับทุกการใช้งานเพื่อให้ การเดินทางไปกับ All New MG3 โฉมใหม่ของคุณ สะดวก ปลอดภัย และสนุก กว่าที่เคย

ALL NEW MG3

เข้าชม และทดลองขับรถยนต์ All New MG3 โฉมใหม่ได้ทโี่ ชว์รม ู MG ทัว่ ประเทศ หรือสอบถามรายละเอียดเพิม ่ ได้ที่ MG Call Centre โทร. 1267 หรือทาง www.mgcars.com


34 ISSUE 566 26 NOV 2018

CALENDAR

26

M 27

T 28

W 29

SWEET

#JAMNIGHT LIVE! WITH ASH

MATEO

นิทรรศการ ‘สวีท’ โดย Mamablues เล่าเรือ่ งราว การเดินทาง ความคิดและ คว ามสนใจของศิลปิน อย่างตรงไปตรงมา ผ่าน ผลงานทีเ่ กิดจากการไม่ได้ ตัง้ ใจควบคุมการท�ำงาน แล ะท� ำ ขึ้ น โดยหลาย เทคนิคทีเ่ อือ้ กับสถานที่ ต่างๆ ทัง้ สีนำ�้ มัน สีสกรีน เรซิน สีอะคริลกิ วันนีถ้ งึ 29 พฤศจิกายน 2561 ณ Ink & Lion Cafeé ซ.เอกมัย 2

พบกับ Ash วงดนตรี ทริโอพ็อพพังก์ / อัลเทอร์เนทีฟร็อกชาวไอริช ผูป้ ลุก เส น่ห์กีตาร์เสียงแตก และจังหวะเร้าอารมณ์ ที่ เ คลื อ บไปด้ ว ยพลั ง วัยรุน่ ยุค 90s ใน ‘#JAMNIGHT Live! with Ash’ วั นนี้ เวลา 20.30 น. ณ Live Arena พระรามเก้า จ�ำ หน่ายบัตรที่ Ticketmelon.com

ภาพยนตร์เรือ่ ง ‘Mateo’ มาเตโอ เด็กหนุม่ ทีเ่ ลีย้ งชีพ ด้ว ยการเป็นนักเลงรีดไถ โดย มี ลุ ง ของเขาเป็ น หัวหน้าแก๊ง วันหนึง่ ลุงได้ สั่ งให้เขาแทรกซึมเข้าไป ในกลุม่ โรงละครแห่งหนึง่ เพื่ อ เปิ ด โปงความลั บ ทาง การเมืองในนัน้ ซึง่ ต่อ มามาเตโอพบว่าเขา หลง ใหลกับการใช้ชวี ติ ในจุ ด นั้ น ไปเสี ย แล้ ว วัน นี้ เวลา 19.00 น. ณ ส มาคมฝรั่ ง เศส กรุงเทพ (เข้าชมฟรี)

TH 30

EUROPEAN UNION FILM FESTIVAL 2018

รับชมภาพยนตร์สญ ั ชาติ ยุโรปถึง 19 เรือ่ งกันอย่าง จุใจ 19 คืน พิเศษยิง่ ไป กว่านัน้ เป็นการฉายหนัง กลา งแปลงที่ จั ด ขึ้ น ที่ ท�ำเนียบทูต สถาบันทาง วัฒน ธรรมยุโรป และ สถานทีท่ างประวัตศิ าสตร์ ทั้ง หมด 10 แห่ง ใน ‘เทศ กาลภาพยนตร์ สหภาพยุโรป’ วันนีถ้ งึ 17 ธันวาคม 2561 เข้าชมได้ เฉพา ะคนทีล่ งทะเบียน ล่วง หน้า รายละเอียด เพิม่ เติมที่ www.facebook. com/EUinThailand

F 01

SA 02

S

NEW ZEALAND FILM FESTIVAL #2

ST YLISH WEEKEND MARKET

SHIFTS

‘เทศ กาลภาพยนตร์ นิ ว ซี แ ลนด์ ครั้ ง ที่ 2’ รับชมภาพยนตร์สามเรือ่ ง สามรส My Year with Helen, Boy และ Porkpie (มีคำ� บรรยายภาษาไทย) วั น นี้ ถึ ง 2 ธั น วาคม 2561 ณ โรงภาพยนตร์ SF World Cinema เซ็นทรัลเวิลด์ ติดตาม รอบฉายและจองตัว๋ เข้าชม ได้ที่ http://buytickets. at/nzsocietythai (เข้าชม ฟรี)

ตลาด ‘Stylish Weekend Market’ กลับมาสร้าง ความฮือฮาอีกครัง้ พบกับ สินค้าแฟชัน่ ทุกประเภท เน้นความ stylish ในเรือ่ ง ของมิกซ์แอนด์แมตช์ ไอเทมใส่ศิลปะลงบน เสื้อผ้า กระเป๋า หมวก ต่ า งหู รองเท้ า ที่ จ ะ เติมแต่งให้การแต่งตัว ของคุ ณ สนุ ก ขึ้ น ดึ ง ความเป็นตัวคุณออกมา สื่ อ ส า ร ผ ่ า น แ ฟ ชั่ น ในแบบฉบับที่คุณชอบ วันนีถ้ งึ 2 ธันวาคม 2561 ณ YELO House

นิ ท ร รศการ ‘Shifts’ โดย Varsha Nair น�ำเสนอ ผลงานศิลปะในรูปแบบ ต่ า ง ๆ ทั้ ง สื่ อ ผสม ศิลปะการจัด งานวาดเส้น ภาพถ่าย ที่ต่างพูดถึง พื้น ที่เสมือนจริง พื้นที่ ระหว่างกลางทีเ่ ป็นเส้น แบ่ง แต่ในขณะเดียวกัน ก็เป็นจุดเชือ่ มต่อ ร่องรอย ของก ารเปลี่ยนแปลง ความ ไม่แน่นอน วันนี้ ถึง 13 มกราคม 2562 ณ Br idge Art Space ปาก ซ.เจริญกรุง 51 (เว้นวันอังคาร)

WHERE TO FIND

Where the conversations begin. adaybulletin.com

หมอชิต

Meet

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

Up

สยามสแควร์

Every อโศก

Monday!

ศาลาแดง

BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น. หมอชิต

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

สยาม

อโศก

ศาลาแดง

Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ำกว่า 100 จุดทั่วประเทศ


ad Krungsri adB567.pdf 1 8/11/2561 16:58:41

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


LIFE

เรื่อง

ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล กองบรรณาธิการ sarunya.magazine@gmail.com

BANGKOK CITY OF KINDNESS

กรุงเทพฯ เป็นมหานคร ที่คลาคล�่ำไปด้วยผู้คนจาก ทั่วสารทิศ ผู้ ค นมากมาย มารวมตั ว กั น เพื่ อ อาศั ย หารายได้ ใช้ชวี ต ิ บนรถไฟฟ้า ยามเช้า แออัดหนาแน่นใน ขบวนรถไฟใต้ดินตอนเย็น หรือคนที่ยืนรอรถโดยสาร ส า ธ า ร ณ ะ พ ร้ อ ม กั บ หยดเหงื่ อ ที่ ชุ่ ม ไปทั้ ง หลั ง เ สี ย ง เ ค รื่ อ ง ย น ต์ ที่ ดั ง จนแสบหู จ ากสภาพการจราจรที่ ติ ด ขั ด บางวั น ก็ เกิ ด อุ บั ติ เ หตุ อ ยู่ ด้ า นหน้ า ท�ำให้การจราจรหยุดชะงัก ผู้ พิ ก ารทางสายตาที่ เ ดิ น สะเปะสะปะอยู่ บ นฟุ ต ปาธ คนเดินเท้าที่ต้องหลบทาง ใ ห้ ม อ เ ต อ ร์ ไ ซ ค์ ป า ด ขึ้ น ฟุตปาธ ทุกอย่างล้วนชินตา แต่ไม่เคยชินใจ จะเป็นไปได้ไหมถ้าภาพ ในชีวต ิ ประจ�ำวันนีจ้ ะเปลีย ่ นไป ค� ำ ถามนี้ อ าจจะดู โ ลกสวย ไปหน่อย แต่เราเชือ ่ ว่า หนึง่ ใน วิ ธี ก ารที่ ดี ที่ สุ ด ที่ จ ะท� ำ ให้ เป็นจริงได้คอ ื ความมีนำ�้ ใจ และหลี ก เลี่ ย งค่ า นิ ย มที่ เห็นแก่ตวั น่าจะเป็นทางออก ทีง่ า่ ยทีส ่ ด ุ แต่กลับดูเหมือน ท�ำยากทีส ่ ด ุ จะจริงหรือไม่นน ั้ ลองไปรูจ้ ก ั น�ำ้ ใจผ่านสายตา ของเด็กรุน ่ ใหม่ทไี่ ด้ถา่ ยทอด ออกมาเป็นภาพถ่ายทีไ่ ด้รบ ั รางวัลทัง้ 7 คน ในโครงการ ประกวดภาพถ่าย 'กรุงเทพ เมืองแห่งน�ำ้ ใจ' เมือ่ ปีทผ ี่ า่ นมา และจากมุมมองของพวกเขา อาจจะท� ำ ให้ คุ ณ มองย้ อ น กลับมาทีต ่ วั เองอีกครัง้

พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai

ISSUE 566 26 NOV 2018


37 ADAYBULLETIN.COM

2

1

1

รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1

3

ชือ ่ ภาพถ่าย : พ่อมองอยูบ ่ นฟ้า เจ้าของผลงาน : ‘มอส’ - กฤตวัฒน์ อรรถสิษฐ์ นักเรียนชัน ้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย

DO-GOODERS

“ย้อนกลับไปเมื่อปีที่แล้ว เป็นช่วงที่คนไทย ไว้อาลัยให้กบ ั ในหลวง รัชกาลที่ 9 ทุกคนต่างรูด ้ วี า่ หากต้องการก�ำลังใจบางอย่าง เมือ ่ มองไปทีพ ่ ระบรมฉายาลั ก ษณ์ ข องพระองค์ ห รื อ มองขึ้ น ไปบนฟ้ า ก็จะท�ำให้เรามีแรงบันดาลใจสักอย่างกลับคืนมาได้ และเมื่อหลายๆ คนคิดอย่างนั้น ก็จะท�ำแต่สิ่งดีๆ โดยเฉพาะการมีนำ�้ ใจให้กบ ั ผูอ ้ น ื่ และเพือ ่ เป็นการสือ ่ ความหมายนั้น ผมจึงก�ำหนดรูปแบบของภาพขึ้น ด้วยการให้เพือ ่ นอีกสองคนช่วยยกรุน ่ น้องทีข ่ าเจ็บ และต้องนัง ่ วีลแชร์ทบ ี่ ง ั เอิญเจอพอดีคอ ่ ยๆ เดินขึน ้ บั น ได เพราะแถวนั้ น ไม่ มี ลิ ฟ ต์ ส� ำ หรั บ รถเข็ น เมื่อถ่ายทอดเป็นภาพออกไป อาจท�ำให้คนที่เห็น ได้นก ึ ย้อนถึงน�ำ้ ใจทีอ ่ ยูใ่ นตัวเองก็ได้”

ในสายตาของเด็กรุ่นใหม่ น�้ำใจที่พวกเขาได้เห็นกลายเป็นภาพ สะท้อนความเป็นจริงของสังคมกรุงเทพฯ ด้านหนึ่งอาจจะมีปัญหา มากมาย แต่อก ี ด้านหนึง ่ กลับเต็มไปด้วยความสวยงามทีเ่ กิดจากน�ำ้ ใจ ของผู้คน ซึ่งพวกเขาพบเจอได้ในวันที่แสนธรรมดา และพบเห็นได้ ในทุกๆ พืน ้ ทีท ่ ว่ั กรุงเทพฯ

2

รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2

ชือ ่ ภาพถ่าย : น�ำ้ ใจในสังคมไทย เจ้าของผลงาน : ‘มิกซ์’ - ธนดล บุญกุลเศรษฐ์ นักศึกษาชัน ้ ปีที่ 1 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชานิเทศศิลป์ สาขาการถ่ายภาพ “ระหว่ า งที่ ผ มก� ำ ลั ง เดิ น อยู่ ที่ อ นุ ส าวรี ย์ ชัยสมรภูมิ ผมสังเกตเห็นคุณยายคนหนึง่ นัง่ ขายของ อยู่ ริ ม ฟุ ต ปาธ และมี ผู้ ห ญิ ง คนหนึ่ ง เดิ น มาเห็ น แล้วก็อด ุ หนุนยาย ในขณะทีห ่ ลายๆ คนเดินผ่านไป โดยไม่ ไ ด้ ส นใจเลย ผมคิ ด ว่ า นี่ คื อ การช่ ว ยเหลื อ อย่างหนึง่ ทีท ่ ำ� ได้ทน ั ที โดยไม่ตอ ้ งรอให้เกิดเหตุการณ์ ใหญ่ๆ แล้วค่อยออกไปช่วย หรือการแสดงน�้ำใจ ที่ ไ ม่ ห วั ง อะไรกลั บ มา ในมุ ม ของคนเกิ ด ที่ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี โตที่ โ คราช มาเรี ย นที่ ก รุ ง เทพฯ คนกรุงเทพฯ มีนำ�้ ใจอยูไ่ ม่นอ ้ ยเลย"

3

รางวัลชมเชย

ชือ ่ ภาพถ่าย : น�ำ้ ใจคนกรุงนีเ้ พือ ่ น้อง เจ้าของผลงาน : ‘ปริน ๊ ส์’- สรธร ธีรสวัสดิ์ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 โรงเรี ย น เซนต์คาเบรียล “ผมประทับใจน้องที่เล่นดนตรีอยู่บริเวณ หน้าสยามสแควร์ทก ุ วันมาก เพราะเขามีความพยายาม ในการเล่นเพลงต่างๆ ทั้งไทยและสากลได้อย่าง ไพเราะ เพื่อให้คนมาบริจาคเงินเป็นทุนการศึกษา และในระหว่ า งนั้ น ก็ ไ ด้ เ ห็ น น�้ำใจของคนกรุ ง เทพฯ ทีเ่ ดินผ่านไปผ่านมา หยุดฟัง พร้อมกับใส่เงินบริจาค ให้ กั บ น้ อ งพอดี ผมคิ ด ว่ า มั น เป็ น เรื่ อ งที่ ดี ที่ ผู้ ค น ส่วนใหญ่ในกรุงเทพฯ ยังนึกถึงใจเขาใจเราอยูเ่ สมอ เพราะบางคนที่ เ ขาขาดแคลนและต้ อ งการการช่ ว ยเหลื อ จริ ง ๆ ยั ง มี อ ยู่ ม าก ถ้ า เรามี น�้ ำ ใจให้ กั น เขาก็จะให้นำ�้ ใจเรากลับมา”


38 ISSUE 566 26 NOV 2018

1 2

1

รางวัลชมเชย

2

รางวัลชมเชย

ชือ ่ ภาพถ่าย : ขอทางหน่อย เจ้าของผลงาน : ‘กิม’ - ธนวินท์ คงมหาพฤกษ์ นักศึกษาชัน ้ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค

ชือ ่ ภาพถ่าย : สิง ่ เล็กๆ ทีเ่ รียกว่าน�ำ้ ใจ เจ้าของผลงาน : ‘โฟร์’ - ธนวัฒน์ ศิลา นักศึกษาชัน ้ ปีที่ 1 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

“ภาพนี้ได้มาด้วยความบังเอิญ แต่เต็มไปด้วยความประทับใจ ที่ท�ำให้ผมรู้สึกว่าคนกรุงเทพฯ มีนำ�้ ใจ ช่วยเหลือซึง ่ กันและกัน เกือ ้ กูลกันเสมอโดยไม่แบ่งแยก เหมือนทีพ ่ ๆ ี่ ทหารช่วยเข็นรถให้ผส ู้ ง ู อายุ ข้ามถนน และมีต�ำรวจจราจรช่วยโบกให้รถหยุด ผมตั้งใจส่งภาพนี้เข้าประกวดเพื่อบอกให้ทุกคนรู้ว่า น�ำ้ ใจเป็นสิง่ ส�ำคัญ โดยเฉพาะคนขับรถ เวลาทีเ่ ขานัง่ อยูห ่ ลังพวงมาลัย จากคนจิตใจดี บางครัง้ ก็กลายเป็น คนทีไ่ ม่มน ี ำ�้ ใจ ใจคอคับแคบได้ และนัน ่ คือจุดเริม ่ ต้นของอุบต ั เิ หตุตา่ งๆ แต่หากคนขับมีนำ�้ ใจ ก็จะช่วยลด อุบต ั เิ หตุลงได้ ถนนก็มค ี วามปลอดภัย ใครๆ ก็สามารถข้ามทางม้าลายได้อย่างสบายใจ ผมคิดว่าน�ำ้ ใจ จะเกิดขึ้นได้ ต้องปลูกฝังกันมาตั้งแต่เด็กๆ คุณพ่อคุณแม่ของผมจะสอนเสมอว่า คนเราต้องคิดดี ท�ำดี แล้วจะได้ดเี อง”

“ยอมรับเลยว่าที่มาของภาพนี้คือความไม่ตั้งใจ เราเห็นแค่ว่ามีกลุ่มนักเรียนมายืนตั้งกล่อง รับบริจาค และมีคนรุ่นใกล้เคียงกันร่วมสมทบทุน ผมคิดว่ามันน่ารักดี พอรู้ว่ามีโครงการประกวด ผมจึงส่งรูปไปโดยไม่ได้คด ิ ถึงรางวัล แถมยังท�ำให้ผมย้อนนึกไปถึงเหตุการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน ้ ในกรุงเทพฯ อย่างตอนน�ำ้ ท่วมใหญ่ปี 2554 ซึง ่ ท�ำให้เห็นถึงพลังน�ำ้ ใจทีย ่ ง ิ่ ใหญ่ ผูค ้ นต่างออกมาช่วยเหลือกันและกัน สุดท้ายก็ชว่ ยให้ผา่ นเรือ ่ งราวร้ายๆ ไปได้ดว้ ยดีและเร็วขึน ้ ผมคิดว่าการหยิบยืน ่ น�ำ้ ใจเล็กๆ น้อยๆ ให้ผอ ู้ น ื่ เสมอ อย่างน้อยตัวผมเองก็มค ี วามสุขทีไ่ ด้ทำ� ”


Strip ad SeeFah adB563.pdf 1 26/10/2561 17:21:46

39 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

รางวัลชมเชย

ชือ ่ ภาพถ่าย : น�ำ้ ใจคุณป้า เจ้าของผลงาน : ‘กล้า’ - จิรายุ คูหากาจน์ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 โรงเรี ย น อัสสัมชัญ

“ทันทีทเี่ ห็นโจทย์ในโครงการประกวด ผมก็ นึกถึงสถานีรถไฟหัวล�ำโพง ที่ที่มีคนพลุกพล่าน มากหน้าหลายตา หลากหลายอาชีพ ทั้งคนไทย นักท่องเที่ยวและชาวต่างชาติ สถานที่แห่งนี้น่าจะ มีเรือ ่ งราวทีแ่ สดงได้ถงึ ค�ำว่า 'กรุงเทพ เมืองแห่งน�ำ้ ใจ' จากทีผ ่ มได้ไปดูทก ุ วันๆ ทีแ่ ห่งนีก ้ ท ็ ำ� ให้ผมได้พบว่า ที่นี่เต็มไปด้วยน�้ำใจและการช่วยเหลือเล็กๆ น้อยๆ ตลอดเวลา เช่น การบอกทางนักท่องเทีย ่ ว ช่วยคนอืน ่ ยกของซึง ่ เป็นภาพทีผ ่ มเลือกส่งเข้าประกวด เพือ ่ สือ ่ ความหมายว่ า แม้ บ นรถไฟราง น�้ ำ ใจก็ ยั ง ไปถึ ง ไม่มท ี ไี่ หนทีไ่ ด้รบ ั การยกเว้น”

C

T H E C OV E R S T O RY ภาพหน้าปก a day BULLETIN ฉบับนี้ เป็นผลงาน ิ นท์ ทีถ ่ า่ ยทอด ภาพถ่ายของ 'ค๊อปส์' - จิรวัชร สายวุฒน เรื่องราวของความมีน�้ำใจบนท้องถนน ซึ่งเกิดขึ้นใน ช่วงเวลาสัน ้ ๆ แต่เต็มไปด้วยความงดงาม พร้อมกับ เล่าเรือ ่ งราวในวันนัน ้ ให้ฟง ั “ผมมีเพือ ่ นทีข่ าเจ็บก�ำลังจะเดินข้ามถนน แล้วมี พีค ่ นขีม ่ อเตอร์ไซค์วน ิ แถวนัน ้ รีบเข้ามาช่วยพยุงเพือ ่ น เพื่อพาข้ามถนน พอเห็นเหตุการณ์ก็รีบคว้ากล้อง ขึน ้ มาถ่ายภาพไว้" จากความรู้สึกส่วนตัว สู่ภาพที่ส่งเข้าประกวด ด้วยความตัง ้ ใจเพือ ่ สือ ่ ให้เรารูว้ า่ สิง ่ เล็กๆ น้อยๆ ทีใ่ คร สักคนได้ทำ� ให้คนอืน ่ นัน ้ เราก็สามารถท�ำได้เช่นเดียวกัน เพราะสิง ่ นีค ้ อ ื น�ำ้ ใจ คือประกายความดีทซ ี่ ก ุ ซ่อนอยูใ่ น ตัวของทุกคน “ผมเชื่อว่า ความดีเล็กๆ หรือการแสดงน�้ำใจ ในทุกๆ ครัง ้ คนอืน ่ อาจมองไม่เห็น แต่ตว ั เราเองเห็น และรูด ้ ท ี ส ี่ ด ุ หากทุกคนยังเลือกท�ำความดี แสดงน�ำ้ ใจ กันเรือ ่ ยๆ ภาพแห่งการมีนำ�้ ใจก็จะชัดเจนขึน ้ ใหญ่ขน ึ้ คนท�ำดีจะได้รบ ั การเชิดชู คนมีนำ�้ ใจจะได้รบ ั น�ำ้ ใจตอบ ผู้คนมีทัศนคติที่ดีต่อกันมากขึ้น สุดท้ายกรุงเทพฯ และเมืองไทยของเราก็จะน่าอยูม ่ ากขึน ้ "

การหยิ บ ยื่ น หรื อ มี น�้ ำ ใจให้ กั บ คนที่ เ ราไม่ รู้ จั ก บางทีกจ็ ะรูส ้ ก ึ เขินจนไม่กล้าทีจ่ ะแสดงออกไป แต่จริ วัชร ก็บอกว่าเรือ ่ งนีไ้ ม่ได้ยากส�ำหรับเขาเลย “ส�ำหรับผมแล้ว การแสดงน�้ำใจกับท�ำความดี เป็นเรือ ่ งเดียวกัน แต่จะท�ำด้วยรูปแบบไหนนัน ้ ก็ขน ึ้ อยูก ่ บ ั ตัวบุคคล ตามความชอบหรือความถนัด อย่างผมชอบ การถ่ายภาพ จึงใช้ความชอบนีแ้ สดงน�ำ้ ใจด้วยการไป ถ่ายรูปและพรินต์ให้เด็กที่ไม่ค่อยมีโอกาสได้ถ่ายภาพ ตัวเองตามทีต ่ า่ งๆ ฟรี เช่น เด็กๆ ในสลัมคลองเตย รวมไปถึงเด็กๆ บนดอยบนจังหวัดแม่ฮอ่ งสอนทีผ ่ มได้รว่ ม เดินทางไปกับหน่วยแพทย์อาสาฯ ผ่านโปรเจ็กต์ทช ี่ อ ื่ ว่า ASEAN SMILE จัดตัง ้ โดยรุน ่ พีแ่ ละเพือ ่ นๆ ส่วนผมเอง ก็เป็นหนึง ่ คนทีไ่ ด้เข้าไปช่วยในโปรเจ็กต์นี้ ซึง ่ พวกผม ตั้งใจว่าอยากให้รูปถ่ายได้เป็นความทรงจ�ำของเด็กๆ ขอแค่เขายิม ้ ให้กล้อง และรับรอยยิม ้ ทีม ่ ค ี วามหมายของ ตั ว เองกลั บ ไป ส่ ว นรอยยิ้ ม ของเขาก็ท�ำให้ผมชื่นใจ และมีความสุขกลับมาได้เช่นกัน”

ชือ ่ ภาพถ่าย : น�ำ้ ใจของคนกรุง เจ้าของผลงาน : จิรวัชร สายวุฒน ิ นท์

BANGKOK CITY OF KINDNESS PHOTO CONTEST 2017 โครงการประกวดภาพถ่าย ‘กรุงเทพ เมืองแห่งน�ำ้ ใจ’ เป็นโครงการทีจ่ ด ั ขึน ้ เมือ ่ ปีทผ ี่ า่ นมา โดยมูลนิธริ ฐั บุรษ ุ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ร่วมกับกรุงเทพมหานคร และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เพื่อสนองพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เรือ ่ งรูร้ ก ั สามัคคี เสริมสร้างค่านิยมเรือ ่ งความมีนำ�้ ใจให้แก่เด็กรุน ่ ใหม่ ผ่านการมีสว่ นร่วมด้วยการถ่ายภาพในเขตพืน ้ ทีก ่ รุงเทพฯ จนกระทัง่ ได้ผช ู้ นะทัง้ 10 คน นอกจากนีภ ้ าพทีผ ่ า่ นการคัดเลือกทัง้ 50 ภาพ ได้จด ั แสดงไว้ในหอศิลป์กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 29 สิงหาคม10 กันยายน 2560 เพือ ่ ให้ทก ุ คนได้มาซึมซับค�ำว่าน�ำ้ ใจทีเ่ กิดขึน ้ ในกรุงเทพฯ ก่อนจะมอบคืนให้กบ ั เจ้าของภาพต่อไป

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


40 เรื่อง

THE STORY OF STUFF

ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล กองบรรณาธิการ sarunya.magazine@gmail.com

ภาพ

ภาสกร ธวัชธาตรี ช่างภาพ passakorn.sunt@gmail.com

มีเพียงไม่กว ี่ ธ ิ ท ี จี่ ะบันทึกความทรงจ�ำและเรือ ่ งราวต่างๆ ในอดีตได้ดี หนึง ่ ในนัน ้ คือการถ่ายภาพ แม้ปจั จุบน ั จะมีเทคโนโลยีมากมาย ท�ำให้การถ่ายรูปเป็นเรือ ่ งทีง่ า่ ยดาย แค่เพียงกดปุม ่ หน้าจอหรือกดชัตเตอร์ตามค่าทีก ่ ำ� หนด แต่สำ� หรับ ‘ซัน’- อาทิตย์ เลิศรักษ์มงคล เจ้าของร้าน Husband and Wife Shop กล้องไม่ได้มีหน้าที่แค่นั้น และยิ่งเป็นกล้องฟิล์มด้วยแล้ว เขาถือว่าเป็นอุปกรณ์สำ� คัญ ที่บ่งบอกความรู้สึก สามารถบันทึกเรื่องราวรอบตัว และเก็บความทรงจ�ำของครอบครัวได้ดีที่สุด

08

02

03

06 04

01

05

07

อาทิตย์ เลิศรักษ์มงคล

M E MO RY O F LIF E

ISSUE 566 26 NOV 2018

01 Olympus PEN-F “เป็นกล้องฟิลม ์ ตัวแรกทีท่ ำ� ให้เราหลงรักกลไกในกล้องฮาล์ฟเฟรม ซึง่ ตัวนีผ้ ลิตปี 1963 ความพิเศษคือระบบคล้าย DSLR แต่ยอ่ ส่วน แสดงว่าคนออกแบบจะต้องสร้างกลไกใหม่ทงั้ หมด นั่นท�ำให้เรารู้สึกว่ายิ่งใช้ถ่ายภาพยิ่งเจ๋ง” 02 Leica M6 TTL “กล้องนี้ผลิตปี 1984 และเป็นกล้องที่เราใช้ทุกทริป ใช้ถ่ายภรรยาและลูกสาวทุกวัน เหตุผลที่ใช้บ่อยเพราะชอบความรู้สึกระหว่างการถ่าย หรือทีเ่ ราเรียกเอาเองว่า ความไลก้า (หัวเราะ) ทีล่ งตัวและผมคิดว่าตัวเองถนัดกับฟังก์ชนั ของกล้องรุน่ นีท้ สี่ ดุ แล้ว” 03 Fujifilm Klasse W “ปกติเราไม่ชอบใช้กล้องอิเล็กทรอนิกส์ฟลิ ม์ เพราะคิดว่ามันพังง่าย เลยหันมาใช้กล้องคอมแพคฟิลม์ อย่างกล้องฟิลม์ ทีม่ คี ณ ุ ภาพรุน่ นีเ้ ป็นรุน่ สุดท้ายทีผ่ ลิตในประเทศญีป่ นุ่ เมือ่ ปี 2007 และฟังก์ชนั ก็ใช้งา่ ย” 04 Rolleicord Vb “เป็นกล้องมีเดียมฟอร์แมตทีภ่ รรยาซือ้ ให้ ในวันครบรอบแต่งงาน 2 ปี คิดว่าผลิตราวๆ ปี 1960 ที่ใช้ฟิล์มขนาดใหญ่ ตัวกล้องค่อนข้างหนัก แต่คุ้มค่าที่จะพกไปถ่าย โดยเฉพาะรูปครอบครัวตอนไปเที่ยว เพราะให้ภาพสวยมาก” 05 Olympus XA4

“ได้มาตอนทีไ่ ปญีป่ นุ่ เมือ่ ช่วงต้นปีโดยไม่ได้ตงั้ ใจซือ้ แต่เพราะเป็นรุน่ ทีผ่ ลิตแค่เพียงปีเดียว คือปี 1984 ท�ำให้หายาก พอเจอเลยซือ้ ไว้ และเมือ่ ลองถ่ายภาพก็พบว่าใช้งา่ ย ได้ภาพสวย ท�ำให้ตอนนีพ้ กตัวนีแ้ ทนไลก้า เพราะกลัวพัง” 06 Polaroid OneStep+ “โพลารอยด์รนุ่ ใหม่ลา่ สุดทีม่ ฟี งั ก์ชนั ปรับค่ากล้องด้วยการเชือ่ มต่อกับมือถือ ท�ำให้ไม่พลาดการถ่ายภาพ และไม่ตอ้ งกลัวทีจ่ ะกดถ่ายภาพ เพราะฟิลม์ ใหญ่ราคาแพง ใบละเกือบร้อยบาท แต่ตวั กล้องสามารถเก็บรูปไว้ในมือถือได้” 07 Japan Camera Hunter “แบรนด์ของกล่องใส่ฟลิ ม์ จากประเทศญีป่ นุ่ เจ้าของเป็นชาวอังกฤษชือ่ ว่า เบลลามี ฮันต์ อาศัยอยูท่ โี่ ตเกียว เขาเป็นคนหนึ่งที่บ้ากล้องฟิล์ม ถึงขั้นผลิตฟิล์มกล้องและเคสใส่ฟิล์มเป็นของตัวเอง จนเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก” 08 โฟโต้บุ๊ก “หนังสือรวมภาพถ่าย 30 ปีของ Harry Gruyaert ช่างภาพระดับโลกที่มีเอกลักษณ์ คือการใช้สี โดยส่วนใหญ่เป็นภาพที่ถ่ายไว้ในยุค 70s-80s ซึ่งสวยมาก ยิ่งมีโอกาสได้เห็นผลงาน ได้พูดคุยกับเขาตอนไปลอนดอน ท�ำให้เรารู้เลยว่า สไตล์การถ่ายภาพของเราได้แรงบันดาลใจมาจากเขา”



42 เรื่องและภาพ

S PA C E & T I M E

PARADISE OF PARASITE เผยความลับของแขกตัวประหลาดผูม ้ าสิงสูร ่ า่ งกาย ในพิพธ ิ ภัณฑ์ปรสิตวิทยาเมกุโระ

ตนุภัทร โลหะพงศธร นักเขียน IG : sincerely.tn

ISSUE 566 26 NOV 2018

Meguro Parasitological Museum Meguro-ku, Tokyo, Japan Hours : Wed-Sun, 10 AM-5 PM

แม้ความหวาดกลัวและน่าขยะแขยงจะเป็นความรูส ้ ก ึ แรกๆ ทีเ่ กิดขึน ้ เมือ ่ นึกถึงปรสิต แต่เพราะความอยากรูอ ้ ยากเห็นก็พาให้เราออกเดินทางไปถึง กรุงโตเกียว ซึง่ เป็นทีต ่ งั้ ของ Meguro Parasitological Museum หรือพิพธ ิ ภัณฑ์ปรสิตวิทยาเมกุโระ เพือ ่ ส�ำรวจความสัมพันธ์ลบ ั ๆ ทีเ่ กิดขึน ้ แบบ ไม่เต็มใจนักระหว่างร่างกายของโฮสต์ (host) ผูต ้ กเป็นเหยือ ่ อย่างเงียบเชียบและเสียประโยชน์อยูฝ ่ า่ ยเดียวให้กบ ั ปรสิต (parasite) เพราะทีน ่ ค ี่ อ ื พิพธิ ภัณฑ์เฉพาะทางปรสิตวิทยาแห่งแรกของโลกทีเ่ ปิดเผยความลับในร่างกาย และเผยแพร่ความร้ายกาจของแขกตัวประหลาดทีไ่ ม่มใี ครอยากต้อนรับ ด้วยระยะทางเพียง 1 กิโลเมตรจากสถานีเมกุโระ (Meguro Station) ใช้เวลาเดินเท้าร่วม 15 นาทีเท่านั้นก็ถึงจุดหมาย อาคาร MPM หรือ Meguro Parasitological Museum มีขนาด 6 ชั้น แบ่งออกเป็นสองส่วนหลักๆ คือ พื้นที่จัดแสดงนิทรรศการที่เปิดให้คนทั่วไปเข้าชม และพื้นที่เก็บตัวอย่างปรสิต เอกสารวิชาการด้านปรสิตวิทยา รวมถึงเป็นที่ตั้งของห้องปฏิบัติการพิเศษ ปัจจุบันพิพิธภัณฑ์ปรสิตวิทยาเมกุโระเก็บสะสมปรสิตไว้มากถึง 60,000 ตัวอย่าง ทั้งยังมีเอกสารงานวิจัยกว่า 50,000 ชิ้น และหนังสือร่วม 6,000 เล่ม ครอบคลุมเนื้อหาด้านปรสิตวิทยา และโรคที่เกิดจากปรสิต ส่วนนิทรรศการที่เปิดให้เข้าชมนั้น ทางพิพิธภัณฑ์ได้คัดเลือกตัวอย่างปรสิตชิ้นส�ำคัญมาจัดแสดงจ�ำนวนเพียง 300 ตัวอย่าง แต่รับรองว่าเป็นจ�ำนวนที่มากพอส�ำหรับสร้าง ประสบการณ์ชวนขนหัวลุกได้ ในชั้นแรกเป็นการบอกเล่าให้เห็นภาพรวมจากความหลากหลายของปรสิต และความข้องเกี่ยวระหว่างปรสิตกับโลก เมื่อเดินขึ้นบันไดมาชั้นบนจะพบส่วนจัดแสดงที่แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกเป็นห้องขนาดเล็กที่แยกออกมาเพื่อบอกเล่าประวัติความเป็นมาของปรสิตวิทยาในประเทศญี่ปุ่น ส่วนที่สองคือส่วนนิทรรศการหลักหัวข้อปรสิตในมนุษย์ (Human Parasites) และปรสิต น�ำโรคจากสัตว์สู่มนุษย์ (Zoonotic Parasites) ถัดมาเป็นส่วนที่สามคือร้านขายของที่ระลึก ที่มีทั้งโปสต์การ์ด ปากกา ไม้บรรทัด หนังสือและสิ่งพิมพ์เกี่ยวกับปรสิต รวมถึงไกด์บุ๊กภาษาอังกฤษ ที่มีหน้าปกชวนอ้วก จนท�ำให้เผลอคิดว่าจะมีคนซื้อไหม (แต่เราก็ซื้อมา) ยิ่งไปกว่านั้นของบางชิ้นดูเข้าข่ายของที่ระทึกมากกว่า โดยเฉพาะพวงกุญแจอะคริลิกใสภายในมีตัวอย่างปรสิตจริงๆ ถือเป็นของแปลกที่ถ้าหากอยากได้ต้องมาที่นี่เท่านั้น แม้ว่าพิพิธภัณฑ์ปรสิตวิทยาเมกุโระจะเปิดให้เข้าชมแค่สองชั้น ด้วยวิธีการน�ำเสนอเนื้อหาอย่างเรียบง่ายและไม่ได้มีเทคนิคการจัดแสดงที่หวือหวาหรืออลังการ แต่เชื่อเถอะว่าความธรรมดา แบบนี้แหละที่สามารถสร้างความตื่นเต้นและสะกดเราให้ค่อยๆ ใช้เวลาเดินดูแต่ละส่วนจนครบถ้วน รู้ตัวอีกทีเวลาก็ผ่านไปเป็นชั่วโมงแล้ว


ad BTS adB566.pdf 1 16/11/2561 18:22:11

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


44

A THOUSAND WORDS

LOOK UP

เรื่อง

ทรรศน หาญเรืองเกียรติ บรรณาธิการบทความ IG : Matt_Doraemon

ISSUE 566 26 NOV 2018

PLOYPAILIN THANGPRABHAPORN DIGITAL PHOTOGRAPHY,2018

​“เราเริ่มต้นเดินทางในวันเทศกาลไหว้พระจันทร์ในประเทศจีน ผ่านมา 39 วัน เรามาถึงฝรั่งเศส เมื่อเงยหน้าขึ้นมองท้องฟ้าก็เห็นว่าพระจันทร์กำ� ลังจะเต็มดวงอีกครั้ง”

ABOUT PLOYPAILIN THANGPRABHAPORN

‘พลอย’ - พลอยไพลิน ตั้งประภาพร นักแสดงสาวผู้หลงใหลในดวงดาวและพระจันทร์ และเธอเพิ่งสวมบทบาทใหม่หลังจากเรียนจบ มาหมาดๆ ด้วยการเป็นนักเดินทางแบบฟูลไทม์ โดยเธอลองออกไปย�่ำโลกด้วยการนั่งรถไฟสายทรานไซบีเรียไล่ตามฝันตัวเองหลังเรียนจบ และน�ำเรื่องราวที่พบเจอมาถ่ายทอดผ่านมุมมองของภาพถ่ายในเพจที่ชื่อว่า ‘พลอยเรียนจบแล้วท�ำไรต่อ?’


Strip ad A&W adB566.pdf 1 14-Nov-18 5:05:18 PM

45 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

สีตลา ชาญวิเศษ นักเขียน คนท�ำงานด้านวางแผนคอนเทนต์ นักบรรยายด้าน การตลาดสร้างสรรค์และการเล่าเรื่อง seetala.ch@gmail.com

เรื่อง

B R E AT H E I N

ถ้าใครชอบดูรายการของ โอปราห์ วินฟรีย์ น่าจะเคยเห็นแขกรับเชิญคนหนึ่งที่มาออกรายการบ่อยๆ คือ ดอกเตอร์ฟิล เพราะเขาเป็นนักจิตวิทยา เป็นที่ปรึกษาชีวิต และยังเป็นเพื่อนสนิทของเธอ

ใ​ นหนั ง สื อ Life Strategies ของ ดอกเตอร์ฟิล มีตอนหนึ่งเล่าถึงช่วงเวลา ทีโ่ อปราห์ตกอยูใ่ นสถานการณ์ตอ้ งขึน้ ศาล เป็นครัง้ แรก จากกรณีมบี ริษทั ยืน่ ฟ้องร้อง เรื่องที่เธอน�ำเสนอข้อมูลเรื่องเชื้อวัวบ้า โดยหาว่าเธอหมิน่ ประมาทและให้ขอ้ มูลเท็จ กับประชาชน ​แต่ในช่วงเวลานัน้ โอปราห์ยงั คงไป ท�ำงานตามปกติและปลุกพลังตัวเองขึน้ มา เพือ่ เป็น ‘โอปราห์’ ขวัญใจคนดูทวั่ ประเทศ เช่นทีเ่ คยเป็น ทว่า ด้านหลังเวที ดอกเตอร์ฟลิ ได้ เ ห็ น โอปราห์ อี ก มุ ม หนึ่ ง ซึ่ ง มี ส ภาพ ราวกับคนละคนบนเวที คือเธอทั้งเครียด กลัว สับสน นอนไม่หลับ และทีส่ �ำคัญคือ โอปราห์ ยั ง ไม่ อ ยากยอมรั บ ความจริ ง เรื่องที่เธอถูกฟ้อง ​การไม่ยอมรับความจริงท�ำให้โอปราห์ ไม่ยอมคิดหาวิธแี ก้ปญ ั หาสักที และมัวแต่ คิดวนเวียนว่าตัวเองไม่นา่ เข้ามายุง่ เรือ่ งนีเ้ ลย อันทีจ่ ริง การปฏิเสธความจริงแบบที่ โอปราห์ทำ� เป็นสิง่ ทีม่ นุษย์แทบทุกคนเป็น กัน เวลาเราเจอความทุกข์หรือเหตุการณ์ รุนแรงอะไรสักอย่าง เพราะเราไม่ชอบ ความจริงเรื่องนั้น หรือเพราะความจริง มันโหดร้ายเกินกว่าจะยอมรับ หลายต่อ หลายครัง้ คนเราเลยหนีความจริงด้วยการไม่คิดถึงมัน ไม่พูดถึงมัน ท�ำเหมือนไม่มี อะไรเกิดขึ้น หรือจินตนาการว่ามันเป็น อีกแบบไปเลย ​แต่ว่า ‘การไม่ยอมรับความจริง’ นี่แหละคืออุปสรรคส�ำคัญที่ท�ำให้ปัญหา ไม่ได้รับการแก้ไข เพราะการไม่ยอมรับ ความจริ ง ท� ำ ให้ เ รามองไม่ เ ห็ น ตั ว เอง มองไม่ เ ห็ น สถานการณ์ ต ามที่ มั น เป็ น ซึ่งถ้าพอไม่เห็นความจริงแล้ว ก็ไม่มีทาง ที่เ ราจะแก้ ป ั ญ หาได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและ เหมาะสม ​ย กตั ว อย่ า ง เวลาใครอกหั ก หรื อ ภาพ : getty images

เพิ่ ง เลิ ก กั บ แฟน สิ่ ง แรกที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น คื อ คนถูกบอกเลิกจะไม่ยอมเชือ่ ว่าเลิกกันแล้ว และมักจะคิดเข้าข้างตัวเองว่า ทุกอย่าง จะกลับมาเหมือนใหม่ ผลคือ พอคิดแบบนี้ การตั ด สิ น ใจที่ ต ามมาก็ จ ะผิ ด เพี้ ย นไป เช่น แทนทีจ่ ะกลับมาคิดเดินหน้าด้วยตัวเอง ต่อ ก็กลายเป็นการตามตือ๊ หรือเรียกร้องขอ ความรักกับคนที่ไม่ได้รกั เราแล้ว ถ​ ้ า สั ง เกตให้ ดี จุ ด ที่ ค นอกหั ก เริ่มฟื้นคืนตัวขึ้นมาได้ก็คือช่วงที่พวกเขา ยอมรับความจริงนัน่ เอง ว่าความสัมพันธ์ จบไปแล้ว แล้วเปลี่ยนมาถามตัวเองใหม่

ไปต่อไม่ได้! ถ้าไม่ยอมรับความจริง

ว่า เมือ่ มันจบไปแล้ว ฉันควรจะอะไรต่อดี? เ​ช่ น กั น กั บ ตั ว โอปราห์ หลั ง จาก ทุกข์ใจ ไม่ยอมรับความจริง แต่แล้ววันหนึง่ เธอก็ตัดสินใจอะไรบางอย่างกับตัวเอง ซึง่ ดอกเตอร์ฟลิ เรียกสิง่ นีว้ า่ ก้าวแรกทีส่ ำ� คัญ ของการแก้ปญ ั หา นัน่ คือโอปราห์ออกมาพูด กับทุกคนว่า “ฉันจะเดินหน้า ฉันจะไม่หนี และก็ไม่กลัวอะไรทัง้ นัน้ แล้ว” ซึง่ ไม่นา่ เชือ่ ว่า พอเธอตัดสินใจหันหน้าเข้าหาความจริง ท่าทีและพลังของเธอก็กลับมา และมันท�ำให้ เธอขึ้นพูดต่อหน้าศาลด้วยความมั่นใจ และฉลาดหลักแหลม ผลสุดท้ายคือโอปราห์ ชนะคดีน้ี เหตุ ผ ลที่ เ ราเล่ า เรื่ อ งโอปราห์

ตอนนีข้ นึ้ มา นัน่ เพราะเราคิดว่าการยอมรับ ความจริงเป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญมาก แต่คนมัก มองข้ามกัน เพราะชอบคิดว่าก็แค่ยอมรับ ความจริง มันจะไปยากอะไร แต่ถ้าคุณ สังเกตชีวติ คนให้ดๆี คุณจะเห็นว่าเหตุผล ที่ ใ ครหลายคนไม่ ไ ปไหนสั ก ที หรื อ ยั ง วนเวียนกับปัญหาเดิมๆ สาเหตุหลักๆ เลย คือ มาจากการทีพ่ วกเขาไม่รจู้ กั ความจริง ที่ ตั ว เองเป็ น หรื อ ถ้ า รู ้ จั ก แต่ ก็ ไ ม่ ก ล้ า จะยอมรับความจริง ​เช่น รุ่นน้องเราคนหนึ่งเป็นคนที่มี ศั ก ยภาพมาก คื อ หั ว ดี เรี ย นดี ฉะฉาน ไหวพริบปฏิภาณดี แต่ติดอย่างเดียวคือ อี โ ก้ ไม่ ย อมรั บ จุ ด บกพร่ อ งของตั ว เอง ปัญหาทีต่ ามมาคือ น้องเลยกลายเป็นคน แบบน�ำ้ เต็มแก้ว พอจะเติมอะไรเข้าไปก็เติม ไม่ได้ สุดท้ายชีวติ ก็ไปไหนได้ไม่ไกล เพราะ ติ ด แค่ ข ้ อ เดี ย วคื อ ไม่ ย อมรั บ ความจริ ง เลยไม่เกิดการปรับปรุงและการพัฒนา ​ฉะนัน้ ในการแก้ปญ ั หาอะไรก็ตาม ไม่วา่ จะเรือ่ งความรัก การเงิน ชีวติ สิง่ ส�ำคัญ ทีค่ นเราไม่ควรหันหลังให้เลยก็คอื ความจริง เพราะทั น ที ที่ หั น หลั ง ให้ แ ล้ ว นอกจาก จะไม่เกิดการเดินหน้าต่อ เราก็จะไม่มที าง วางแผนการแก้ปัญหาได้ต่ออย่างถูกต้อง และเหมาะสมได้อกี ด้วย ​การจะยอมรั บ ความจริ ง ได้ นั้ น คือต้องเชือ่ มัน่ ในตัวเองก่อนว่า ไม่วา่ อะไร จะเกิ ด ขึ้ น เราจะผ่ า นมั น ไปได้ แ น่ น อน ก็คล้ายกับโอปราห์นี่แหละ คือทันทีที่เธอ ไม่กลัว ความมัน่ ใจเป็นสิง่ เดียวทีท่ ำ� ให้เธอ ชนะ


46

EDITOR,S NOTE

เรื่อง

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

ISSUE 566 26 NOV 2018

YOU ARE THE COMPANY YOU KEEP

ก่อนเข้านอน การเปิดยูทูบหรือคลิปวิดีโอในเฟซบุ๊ก สไลด์หน้าจอไล่ดู see also หรือพวก more like this ไปเรื่อยๆ บางทีก็อาจจะท�ำให้ได้เห็นตัวตนที่แท้จริงของเราเอง ผมมักจะเริ่มต้นจากการเปิดยูทูบ แล้วคลิกดูเทรเลอร์ หนังแอ็กชันเรือ่ งใหม่ชนโรง ต่อมามันจะน�ำพาให้ลอยล่องเรือ่ ยเปือ่ ย ไปในกระแสของคลิปรวมฉากแอ็กชันเด็ดๆ ของหนังเรื่องอื่นๆ หลังจากนั้นผมก็จะเริ่มกวาดตามองหาอะไรที่น่าสนใจกว่า น่าดูกว่า ด้วยการเลือกคลิกภาพธัมป์เนลของคลิปเหล่านั้น ไปเรือ่ ยๆ จากคลิปหนังแอ็กชันก็จะค่อยๆ กลายมาเป็นคลิปข่าว สงครามหรือการก่อการร้ายจากที่ไหนสักแห่งบนโลก เช่นเดียวกัน ถ้าเริม่ ต้นค�ำ่ คืนนัน้ ด้วยการสไลด์ฟดี เฟซบุก๊ ไปเรื่อยๆ ผมมักจะสะดุดหยุดลงที่คลิปข่าวอุบัติเหตุอันโด่งดัง ประจ�ำวันนัน้ พอได้เริม่ คลิกเข้าสูเ่ มนูวดิ โี อแล้ว มันก็จะพาเข้าสู่ โฟลว์ของคลิปวิดโี อแนวเรียลิตที วี อี กี ร้อยพัน อุบตั เิ หตุนา่ หวาดเสียว จากกล้องหน้ารถ ร่างกายถูกบดขยีจ้ นพิกลพิการไม่สมประกอบ ภาพเนือ้ หนังถูกช�ำแหละผ่าตัด และมักจะปิดท้ายด้วยคลิปบีบสิว หรืออะไรที่คล้ายกันนั้น เวลาล่ ว งเลยไปเป็ น ชั่ ว โมง โลกภายนอกเงี ย บสงั ด ไร้ความเคลื่อนไหว โลกภายในของเราค่อยๆ แง้มประตูออกมา

ทีละน้อย โดยไม่ทันรู้ตัว ผมก�ำลังนอนดูคลิปที่มีความเป็น ตัวเองมากขึ้นเรื่อยๆ แท้จริงแล้วเราเป็นคนอย่างไร บางทีก็ ไม่สามารถรูต้ วั เองได้ จนกระทัง่ มีสงิ่ รอบๆ ข้างตัวเราช่วยสะท้อน ภาพกลับมา เราได้มองเห็นตัวเอง และมันชัดเจนมากจนน่ากลัว ในโลกของสือ่ มวลชนแบบเก่า เราเคยถูกถล่มถมทับด้วย ภาพความรุนแรงมากมาย จนท�ำให้เชือ่ ว่าโลกนีน้ า่ กลัวและเต็ม ไปด้ ว ยภยัน ตรายนานา พวกหนัง แอ็ก ชัน ภาคต่ อ ทั้ง หลาย ถ้าสังเกตให้ดีๆ มันจะมีฉากวินาศสันตะโรยิ่งใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ มีจ�ำนวนคนตายมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเพิ่มระดับความสนุกสนาน ตื่นเต้นให้กับแฟนที่ติดตาม รายการทีวีก็จะมีลักษณะเป็น เรียลิตีมากขึ้น เผยให้เห็นความรุนแรงในระดับที่สูงขึ้นไป ในขณะที่ โ ลกของสื่ อ แบบใหม่ แ ละเครื อ ข่ า ยสั ง คม ตัว พวกเราเองนี่แ หละคือ เนื้อ หาเหล่ า นั้น เพราะเราทุก คน ล้วนร่วมกันเป็นส่วนหนึง่ ในการสร้างเนือ้ หาขึน้ มา ด้วยการเลือก เพือ่ นทีจ่ ะแอด และเลือกเนือ้ หาทีจ่ ะคลิก ในทีส่ ดุ ด้วยอัลกอริทมึ ที่ซับซ้อนเกินหยั่ง ทั้งหมดของข่าวสารที่เราได้เสพในแต่ละวัน คือตัวเราเองที่เลือกเอง ไม่มีใครที่ไหนเลือกให้เหมือนเมื่อก่อน แล้วทุกค�ำ่ คืนเราก็มกั จะหลับตาเข้านอนไปพร้อมกับคลิปสงคราม อุบัติเหตุ และการบีบสิว

จนกระทัง่ เมือ่ ทุกสิง่ ทุกอย่างด�ำเนินมาถึงจุดนี้ ผูค้ นมากมาย เข้าไปเขียนคอมเมนต์ด่าทอไว้ในคลิปเหล่านั้น ว่าโลกทุกวันนี้ เลวร้ายลง เด็กสมัยนี้ต�่ำทรามลง แล้วก็แช่งชักหักกระดูก หรือ ใช้ค�ำหยาบคายเกินจินตนาการ บางทีผมก็สงสัย สิ่งที่เลวร้าย ลงอาจจะไม่ใช่โลกภายนอก แต่กลับกลายเป็นโลกภายใน ของเราเอง ยิ่งกดดู see also หรือ more like this ออกไปไกลมาก แค่ ไ หน ท� ำ ไมมั น ราวกั บ ยิ่ ง ย้ อ นกลั บ มาเห็ น ตั ว เองใกล้ ๆ ยิ่งแอดเฟรนด์กับเพื่อนที่ชอบแสดงออกถึงความรุนแรงมาก แค่ไหน มันก็ราวกับเราเป็นคนประเภทเดียวกับเพื่อนเหล่านั้น เพราะการเลือกของเราก�ำหนดโลกที่เราอยู่ แล้วโลก ที่เราอยู่ก็จะย้อนมาก�ำหนดทางเลือกต่อๆ ไปให้กับเรา You Are the Company You Keep เราก็เป็นเหมือนกับ เครือข่ายของเรา ฟีดของเรา เพื่อนที่เราคบ คลิปที่เราคลิก ท่ามกลางภาพความวินาศสันตะโรบนฝ่ามือ สะท้อน ให้เห็นตัวตนที่แท้จริงของเรา ว่าเราจะยังคงยึดถือคุณธรรม ส่วนตัวไว้ได้อีกนานแค่ไหน สุดท้ายมันก็ขึ้นอยู่กับการเลือก ครั้ ง ต่ อ ไปของเรา ว่ า เราจะเลื อ กห้ อ มล้ อ มชี วิ ต เราไว้ ด ้ ว ย ความรุนแรงแบบนี้ต่อไปหรือเปล่า


04 ISSUE 566 26 NOV 2018


ad Tokio Marine adB567.pdf 1 8/11/2561 16:29:09

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.