a day BULLETIN 575

Page 1

575 576 574 575 573 574

TODAY EXPRESS TODAY EXPRESS PRESENTS PRESENTS

21 JAN JAN 28 2019 2019

TH

OF

E U NI VE RS AL

HA

E

S

E

AG

IN

N GU

PP

LA

S

PUTT THE GUTS


02

CONTENTS

ISSUE 575 28 JAN 2019

DATABASE ตัวเลขเชิงสถิติที่แสดงถึง ภาพรวมของวิกฤตวัยกลางคน

THE CONVERSA TION เส้นทางความส�าเร็จของ

28 JAN 2019

ISSUE 575

576 575 574

TODAY EXPRESS PRESENTS

‘โปรโม’ - โมรียา และ ‘โปรเม’ - เอรียา จุฑานุกาล สองพีน ่ อ้ งนักกอล์ฟมืออาชีพ ที่ทั่วโลกจับตามอง

LIFE 4 บทสัมภาษณ์คนดัง ผู้เผชิญและก้าวข้ามวิกฤต วัยกลางคนด้วยหัวใจ ที่แข็งแกร่ง

SPACE & TIME เปิดฟิลม ์ ม้วนใหม่ของ Prince Theatre โรงหนัง

ตามภาพจ�าของเรา นักกอล์ฟส่วนใหญ่มักเป็น เด็กทีเ่ กิดในครอบครัวฐานะดี พ่อแม่พาไปเล่นกอล์ฟ เป็นงานอดิเรกตัง ้ แต่เด็ก แต่ ‘โปรโม’ และ ‘โปรเม’ เป็น เด็กสาวธรรมดา ทีเ่ ติบโตมาในครอบครัวชนชัน ้ กลาง หากแต่ พ วกเธอมี ค วามมุ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจและมี ค วามฝั น ทีจ่ ะก้าวขึน ้ ไปเป็นอันดับหนึง่ ของโลก เราจึงเลือกภาพถ่าย โคลสอัพของพวกเธอมาเป็นปก เพือ ่ สือ ่ ให้เห็นแววตา แห่งความตัง้ ใจ แต่ในขณะเดียวกัน การเป็นทีห ่ นึง่ ก็เต็ม ไปด้วยความกดดันมากมาย ซึง่ พวกเธอต้องรับมือด้วย การปรับวิธีคิดหลายอย่าง ภาพโคลสอัพที่เราเลือก จึงแฝงรอยยิม ้ อย่างเป็นธรรมชาติ เพือ ่ สือ ่ ถึงความสุข และทัศนคติทด ี่ ท ี น ี่ า� พาพวกเธอไปสูค ่ วามส�าเร็จ

โมรียา และ เอรียา จุฑานุกาล

PUTT THE GUTS

แห่งความทรงจ�าย่านบางรัก

A THOUSAND WORDS ภายถ่ายสะท้อนการเปลี่ยน ภาพของเวลา โดย วิทิต จันทามฤต

BREATHE IN เอาไงต่อ? เมือ่ โอกาสหรือ ประตูทรี่ อคอยถูกปิดลง

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อชีวิตและสังคม ผ่านสายตา วุฒชิ ย ั กฤษณะประกรกิจ

ทีป ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการทีป ่ รึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ้ ม ิ พ์ผโู้ ฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒชิ ย ั กฤษณะประกรกิจ รองบรรณาธิการบริหาร ฆนาธร ขาวสนิท บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นั ก เขี ย น/ผู้ ป ระสานงาน ตนุ ภั ท ร โลหะพงศธร บรรณาธิ ก ารภาพ คเชนทร์ วงศ์ แ หลมทอง หั ว หน้ า ช่ า งภาพ กฤตธกร สุ ท ธิ กิ ต ติ บุ ต ร ช่ า งภาพ ภาสกร ธวั ช ธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ิ สกุล ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิม ้ แย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิรล ิ ก ั ษณ์ ตะเภาหิรญ ั ศิลปกรรม ฐิตชิ ญา อนันต์ศร ิ ภ ิ ณ ั ฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิ ท ยาเวทย์ ศั ก ดิ์ สิท ธิ์ ไม้ ล�า ดวน พิ สู จ น์ อักษร/ผู้ ดูแ ลสื่ อออนไลน์ ธมนวรรณ กั ว หา ฝ่ า ยผลิ ต วิ ท ยา ภู่ ท อง บรรณาธิ ก ารดิ จิ ต อลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง กวินนาฏ หัวเขา ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้ จั ดการฝ่ ายโฆษณา ภรั ณภพ สุ ข อิ นทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรี จุ ฬ างกู ล 08-1639-1929, พงศ์ ธิ ด า อั ง ศุ วัฒ นากุ ล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com



04

DATA BA S E

พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai

ภาพ

อุษา นพประเสริฐ ศิลปกรรม IG : aadayy

ISSUE 575 28 JAN 2019

39-57

1/3

หนึ่งในสำมของผู้ที่ประสบ วิกฤตวัยกลำงคนเผยว่ำ ปัญหำส่วนใหญ่เชื่อมโยง กับควำมรู้สึกว่ำตัวเอง ก�ำลังแก่ลง

แบบส�ำรวจควำมพึงพอใจในชีวิต ของตนเอง โดย Blanchflower และ Oswald พบว่ำ ผู้คนจำก 149 ประเทศมีควำมสุขในชีวิตน้อยที่สุด เมื่ออยู่ในช่วงอำยุ 39-57 ปี

92 & 71

45-50

มหำวิทยำลัยซูริกท�ำกำรส�ำรวจผู้ใหญ่วัยกลำงคน 372 คน พบว่ำ ร้อยละ 92 ยืนยันว่ำวิกฤตวัยกลำงคน เป็นเรื่องจริง และร้อยละ 71 เผยว่ำเคยมีประสบกำรณ์ หรือรู้จักคนใกล้ชิดที่มีประสบกำรณ์ดังกล่ำว

พ่อแม่ชำวอเมริกันหลำยคนใช้ชีวิตคู่ร่วมกันเพื่อควำมสุขของลูก แต่เมื่อพวกเขำอำยุประมำณ 45-50 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่ลูกย้ำยออกจำก บ้ำนไปอยู่เอง หลำยควำมสัมพันธ์จึงต้องจบด้วยกำรหย่ำร้ำง และเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ท�ำให้เกิดวิกฤตวัยกลำงคน

MIDLIFE CRISIS ระยะเวลา ทีต ่ อ ่ สูก ้ บ ั วิกฤต

3-10

ปี

วิกฤตวัยกลางคน หรือ Midlife Crisis เป็นปรากฏการณ์ทางจิตวิทยาที่พบได้ในคนอายุ 35-50 ปี โดยนักวิชาการส่วนหนึง่ ก็ใช้คา� ว่า ‘ช่วงเปลีย ่ นผ่านของวัยกลางคน’ หรือ Midlife Transition เนือ ่ งจากบางคนอาจจะไม่ได้มอ ี าการในระดับทีเ่ รียกว่าวิกฤต แต่อาจจะแค่เกิดจาก สภาพจิตใจและร่างกายที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจเป็นผลมาจากปัญหาสุขภาพ ฮอร์โมนเปลี่ยน การตกงาน การสูญเสียคนใกล้ชิด การหย่าร้าง และการโหยหาความส�าเร็จในชีวิต เนื่องจาก ตระหนักได้วา่ ก�าลังเหลือเวลาอีกไม่มากแล้ว

อายุเฉลีย ่ ทีป ่ ระสบ กับวิกฤตวัยกลางคน

43

ปี

ปัญหาทีพ ่ บบ่อย กลัวกำรเสือ ่ มของร่ำงกำย, กลัวควำมฝั น จะล้ ม เหลว, กลัวกำรหมดควำมน่ำดึงดูด ทำงกำย, กลัวควำมเจ็บป่วย, กลัวควำมตำย

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

ระยะเวลา ทีต ่ อ ่ สูก ้ บ ั วิกฤต

2-5

ปี

อายุเฉลีย ่ ทีป ่ ระสบ กับวิกฤตวัยกลางคน

VS

44

ปี

ปัญหาทีพ ่ บบ่อย ลูกต้องย้ำยออกจำกบ้ำน, หมดประจ�ำเดือน, ประสบ กับควำมเปลี่ยนแปลง ทั้งร่ำงกำยและจิตใจ, ตัง้ ค�ำถำมว่ำชีวต ิ ดีพอหรือยัง

www.theatlantic.com, www.bravotv.com, www.alignedsigns.com

เรื่อง



06

SPECIAL INTERVIEW

เรื่อง

ทรรศน หาญเรืองเกียรติ บรรณาธิการบทความ TWITTER : @ Matt_Doraemon

ภาพ

ธนดิษ ศรียานงค์ ช่างภาพ thanadis@gmail.com

ISSUE 575 28 JAN 2019


07 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

The Renewal of Education เมือ่ เวลาเปลีย ่ น ความคิดความอ่าน ของผู้คนก็เปลี่ยนแปลงตาม อะไรที่เคย คิ ด ว่ า เ ป็ น เ รื่ อ ง ใ ห ม่ ทั น ส มั ย ก็ อ า จ กลายเป็ น สิ่ ง ที่ ล้ า สมั ย ไม่ เ ข้ า พวก ตกยุคไปได้อย่างง่ายๆ โดยเฉพาะเรื่อง ของเทคโนโลยี เพียงเวลาไม่นานที่เรา เคยตื่ น เต้ น กั บ การมาของเพจเจอร์ ที่ ช่ ว ยให้ ก ารติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั น ง่ า ยขึ้ น ก็กลายเป็นสิ่งที่เด็กรุ่นนี้ไม่รู้จัก หรือ สมาร์ ต โฟนที่ อ ยู่ ใ นมื อ คุ ณ ตอนนี้ ก็ ใ ช้ เวลาเพี ย งไม่ กี่ ปี พั ฒ นาคุ ณ สมบั ติ ของมันให้ดีขึ้นจนกลายเป็นเครื่องมือ ที่ ใ ช้ ท� า งานได้ แ ทบจะครอบคลุ ม ทุ ก ความต้องการของชีวิตไปแล้ว วิ ช าความรู้ ก็ ไ ม่ ต่ า งกั น ต้ อ งมี การปรับเปลีย ่ นหลักสูตรเพือ ่ ให้กา้ วทัน โลกของการศึกษาทีเ่ ปลีย ่ นไป โดยเฉพาะ วันที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทกับผู้คน

ในสังคมอย่างเต็มตัว ระบบการเรียน การสอนก็ ถู ก รื้ อ โครงสร้ า งกั น ใหม่ จนบางที เ ราเองก็ เ กื อ บจะตามไม่ ทั น แม้ในเชิงข้อมูลนัน ้ จะเกิดการเปลีย ่ นแปลง แต่แก่นแท้ของการให้การศึกษานั้นยัง ต้องมัน ่ คง แข็งแกร่งอยูเ่ สมอ เพือ ่ สร้าง ให้ บั ณ ฑิ ต ที่ เ รี ย นจบกลายเป็ น คนที่ มี คุณภาพและใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข นัน ่ จึงเป็นทีม ่ าของแนวคิดในการขับเคลือ่ น การเรียนการสอนของ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ศิ ว ะ ว สุ น ธ ร า ภิ วั ฒ ก์ อ ธิ ก า ร บ ดี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล รัตนโกสินทร์ ที่ต้องการผลิตบัณฑิต ด้ า นศิ ล ปวิ ท ยาที่ มี คุ ณ ภาพ สามารถ ก้ า วสู่ สั ง คมของการท� า งานได้ อ ย่ า ง สง่าผ่าเผย


08 ISSUE 575 28 JAN 2019

ผมอยากส่งเด็กออกไปต่างประเทศเรื่อยๆ ถึงเงินเราจะไม่มีก็ค่อยๆ ทยอยส่งไป สิ่งนี้จ�าเป็นต้องท�า ผมไม่ได้ตั้งธงว่าเด็ก จะต้องอ่านออกเขียนเก่ง เอาแค่พูดสื่อสารกันได้แบบงูๆ ปลาๆ ก็ยังดี

Time to Refresh เทคโนโลยีที่ทันสมัยท�าให้ตอนนี้ทุกอย่าง เปิดกว้างไปหมด แม้แต่ในเรื่องการศึกษา ที่ ต่ อ ไปจะพบว่ า เด็ ก อาจไม่ จ� า เป็ น ต้ อ ง เ ข้ า ไ ป เ รี ย น ที่ ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ล้ ว ก็ ไ ด้ เรื่ อ งนี้ ส่ ง ผลกระทบกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์แค่ไหน

การเปลีย่ นแปลงทางด้านเทคโนโลยีหรือ การเปลี่ยนแปลงของโลกในตอนนี้ ด� า เนิน ไป อย่างรวดเร็ว เมื่อสิบกว่าปีก่อนที่เราได้ยนิ ค�าว่า ‘โลกไร้พรมแดน’ ก็คือแบบนี้นี่แหละ ซึ่งความเปลี่ยนแปลงนี้ส่งผลกระทบกับระบบการเรียน การสอนอยูแ่ ล้ว ดังนัน้ ในฐานะทีเ่ ราเป็นสถาบัน การศึกษา จึงต้องมีการวางแผนเพือ่ ทีจ่ ะรูใ้ ห้เท่าทัน เทคโนโลยี และจะท�าอย่างไรให้เด็กสามารถตามทัน เทคโนโลยีตอนนี้ และใช้เทคโนโลยีเหล่านั้น ให้เป็น จึงเป็นเหตุผลว่าท�าไมทางมหาวิทยาลัย ต้องจัดหาเครือ่ งไม้เครือ่ งมือทางด้านเทคโนโลยี สมัยใหม่เพื่อมาใช้ในการเรียนการสอนหรือใช้ ในการบริหารมหาวิทยาลัย เครื่องมือที่ใช้ในการเรียนการสอนมีราคา สูง และตกรุ่นเร็ว มันคุ้มค่าจริงๆ ใช่ไหม ในการลงทุนกับเรื่องนี้

เรื่ อ งนี้ เ ป็ น สิ่ ง ส� า คั ญ เราต้ อ งจั ด หา เครื่องไม้เครื่องมือมาใช้ในการเรียนการสอน ให้ตรงกับความต้องการของตลาด เราเข้าไป ส� า รวจว่ า หน่ ว ยงานในภาคอุ ต สาหกรรมใช้ เครื่องมือแบบไหน แล้วเราก็จัดซื้อเครื่องมือ ให้เหมือนกับที่พวกเขาใช้ ถ้าเราไม่ซื้อเหมือนที่ เขาท�างานกันจริงๆ ในภาคอุตสาหกรรม สุดท้าย เด็กทีจ่ บไปก็ตอ้ งไปเรียนรูก้ นั ใหม่ เพราะเครือ่ งมือ ที่ เ ขาเล่ า เรี ย นมาไม่ เ หมื อ นกั บ ตอนท� า งาน ท�าให้บริษัทต้องมีการเทรนเพิ่มเติม แต่ถ้าจบ ไปแล้วแทบจะท�างานได้เลย ไม่ตอ้ งฝึกอะไรมาก ก็จะเป็นผลดีกับองค์กรต่างๆ ไปด้วย

ที่ ถ ามเรื่ อ งความคุ้ ม ค่ า ก็ เ พราะเห็ น ว่ า การศึกษาก�าลังเปลี่ยนไป เด็กไม่จ�าเป็น ต้องเข้ามาเรียนในสถาบันการศึกษากันแล้ว พวกเขาใช้วิธีเรียนทางอินเทอร์เน็ตแทน ทีนี้พอจ�านวนนักศึกษาลดลง แน่นอนว่า ก็ ต้ อ งกระทบถึ ง เรื่ อ งของงบประมาณ ที่ต้องจัดการของทางมหาวิทยาลัยด้วย

ทางมหาวิทยาลัยเองก็ต้องมีแผนว่าจะ ท�าอย่างไรในการรับนักศึกษาให้เป็นไปตามจ�านวน ที่ต้องการ ดังนั้น จึงต้องมีทั้งกลยุทธ์และวิธีการ ต่างๆ ซึง่ เราก็เตรียมความพร้อมเอาไว้ ส่วนเรือ่ ง การเรียนการสอนก็ต้องเพิ่มสาขาที่เกี่ยวข้อง กับเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามา แต่ต้องยอมรับว่า เมื่ อ มี เ ทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ เ กิ ด ขึ้ น นักศึกษา อาจไม่จ�าเป็นต้องเข้ามาเรียนในห้องเรียนก็ได้ เขาก็เ รีย นด้วยตัวเองทางอิน เทอร์เน็ต แค่มี คอมพิ ว เตอร์ ก็ ส ามารถเรี ย นได้ นี่ คื อ การเปลี่ ย นแปลงทางธุ ร กิ จ ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การศึกษา เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงแล้ว หลักสูตร วิ ช าการต่ า งๆ ที่ ใ ช้ เ รี ย นก็ ต ้ อ งมี ก ารพั ฒ นา ตามไปด้ ว ย ไม่ อ ย่ า งนั้ น เด็ ก ที่ เ ข้ า มาเรี ย น ก็ จ ะไม่ ทั น ต่ อ องค์ ค วามรู ้ ข องเทคโนโลยี สมัยใหม่ จนท�าให้เด็กทีจ่ บมาก็อาจจะมีปัญหา เรื่องของการท�างาน หรือแม้แต่การด�ารงชีวิต ก็อาจมีปัญหาได้ เราจะเลื อ กองค์ ค วามรู้ ส มั ย ใหม่ อ ย่ า งไร ในขณะที่ ทุ ก วั น นี้ ข้ อ มู ล หรื อ ดาต้ า ต่ า งๆ มีเยอะแยะไปหมด แถมบางเรื่องยังมาเร็ว ไปเร็วเสียด้วยซ�้า

ผมมอง information flffllood เป็นเรื่องของ สภาพแวดล้อม ถ้ามันเข้ามากระตุ้นคุณแล้ว คุณไปบ้าจี้ตาม คุณก็จะงงเอง ถ้าอยู่เฉยๆ ค่อยๆ คิด ค่อยๆ มอง อย่างมีสติ เดี๋ยวสภาพแวดล้อมก็จะนิง่ ขึน้ เอง ถ้าคุณตืน่ เต้นไปกับสิง่ ที่

เข้ามากระตุ้นก็จะกลายเป็นสงครามประสาท เทคโนโลยี มี ทั้ ง บวกทั้ ง ลบ คุ ณ ต้ อ งรู ้ ใ ห้ ทั น สมมติวา่ ผมเป็นผูผ้ ลิตเทคโนโลยี ผมก็จะปล่อย ข่าวใหม่ๆ ออกไป เพราะผมต้องการท�าการตลาด ผู ้ ซื้อ คิด ไม่ เ ป็ น ก็ห ลงตื่น เต้ น ไปตามของใหม่ ที่ อ อกมา เช่ น สมาร์ ต โฟนที่ ทุ ก วั น เปิ ด ตั ว รุน่ ใหม่ๆ ออกมามากมาย ซึง่ ถ้าเราสังเกตจะพบว่า บางครั้งสมาร์ตโฟนรุ่นก่อนหน้านี้กลับดีกว่า รุน่ ทีอ่ อกใหม่ดว้ ยซ�า้ แต่ถา้ ถามจริงๆ สมาร์ตโฟน หนึง่ เครือ่ งมี 30 ฟังก์ชนั คุณใช้กงี่ านจริงกีฟ่ งั ก์ชนั ผมเป็นผู้ผลิต ผมก็พูดในสิ่งที่ดี ท�าโปรโมชัน ท�าการตลาด ถ้าคุณไม่ศึกษาให้ดีก็จะหลงไป ตามกระแสเรื่อยๆ เด็ ก ๆ มั ก จะตื่ น เต้ น ตื่ น ตากั บ อะไรใหม่ ๆ อยู่แล้ว การสอนเขาให้รู้จักคิดไตร่ตรอง ในเรือ ่ งของเทคโนโลยีใหม่ๆ ทีเ่ ย้ายวนนัน ้ ต้องใช้วิธีไหน

ผมใช้การจัดอีเวนต์โดยมอบหมายให้ ทางส�านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ติดต่อบริษัทต่างๆ มาออกบูธให้เด็กได้ศึกษา เรี ย นรู ้ เพราะยั ง ไงคุ ณ ก็ วิ่ ง ตามเทคโนโลยี ไม่ทันหรอก มันเป็นเหมือนแฟชั่น เราให้เด็กๆ รูว้ า่ ของบางอย่างเขาขายเป็นแพตเทิรน์ เพิม่ นัน่ นีม่ านิดหน่อยแล้วก็เปลีย่ นชือ่ รุน่ แล้วคนก็คดิ ว่า ของใหม่ ไปซือ้ มาใช้ ทัง้ ๆ ทีข่ องเก่าก็ยงั มีอะไรดี อีกเยอะ บางทีเราก็ตอ้ ง back to basic จะท�าอะไร ก็ต้องมีสติ


09 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

The New Generation มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เริ่มปรับปรุงหลักสูตรไปตามการเปลี่ยนแปลง ของโลกแล้ว ทีนี้การเปลี่ยนแปลงของนักศึกษา ยุคใหม่นน ั้ ทางคุณต้องปรับตัวอย่างไรบ้าง

นักศึกษายุคใหม่ในทุกวันนีท้ เี่ ขาเรียกว่า Gen Z คนรุน่ นีม้ คี วามเป็นตัวของตัวเอง เราจะไปบังคับหรือไป ท�าให้เขาไม่มอี สิ ระไม่ได้ เราก็ตอ้ งเข้าใจในตัวนักศึกษา ด้วย เรือ่ งนีผ้ มพยายามคุยกับอาจารย์ทงั้ หลายว่า เด็กทีอ่ ยู่ ในมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลรั ต นโกสิ น ทร์ เป็นเด็ก Gen Z ดังนัน้ คุณลักษณะของเด็กเจนฯ นีก้ ต็ า่ ง จากคน Gen X หรือ Gen Y อาจารย์ผสู้ อนต้องท�าความเข้าใจในตัวพวกเขา เด็ก Gen Z สิง่ ทีเ่ ขาต้องการมากทีส่ ดุ คือความอิสระ อยากจะไปทางไหนก็ไปทางนัน้ ไม่คอ่ ย ฟังคนอืน่ สักเท่าไหร่ แต่เขามีความสามารถในเรือ่ งของ เทคโนโลยี เพราะส่วนใหญ่พวกเขาจะตามเรื่องเหล่านี้ อยูแ่ ล้ว ถ้าตัวอาจารย์เองไม่พฒ ั นา บางทีเด็กอาจจะมี ความรูม้ ากกว่าอาจารย์ดว้ ยซ�า้ เพราะเขาหาความรูจ้ าก อินเทอร์เน็ตได้ อยากรู้เรื่องอะไรเขาก็คีย์ข้อมูลค้นหา ในอินเทอร์เน็ตเลย อาจารย์เองก็ต้องพัฒนาความรู้ ด้วย และต้องเข้าใจเด็ก Gen Z ด้วย จึงจะท�าให้การเรียน การสอนเกิดประสิทธิภาพตามทีเ่ รามุง่ หมายไว้ คุณออกแบบหลักสูตรเพือ่ รองรับความคิดความอ่าน ของคนรุน ่ ใหม่อย่างไร

หลักสูตรในทุกวันนีต้ อ้ งมี 4 มิติ มิตทิ ี่ 1 ด้านภาษา มิตทิ ี่ 2 คือเทคโนโลยี มิตทิ ี่ 3 คือวิชาชีพ และมิตทิ ี่ 4 คือการศึกษาทั่วไปที่เกี่ยวกับวิชาการด�ารงชีวิต เราจัด หลักสูตรให้เด็กเลือกเรียนตามที่เขาต้องการ ถ้าเราไป บั ง คั บ ว่ า จะต้ อ งเรี ย นวิ ช านี้ เ ท่ า นั้ น เท่ า นี้ แ ล้ ว จะเกิ ด ประโยชน์ เช่น หลักสูตรบังคับว่าตลอดเวลา 4 ปี ต้องเรียนภาษาอังกฤษให้ได้ 6 หน่วยกิต แล้วไปเรียน อย่างอืน่ เป็นร้อยหน่วยกิตแล้วเด็กจะได้อะไร เราต้องรูว้ า่ เด็กต้องการเน้นอะไร แล้วก็ไปปรับให้มปี ริมาณมากขึน้ ตามสิ่งที่เขาสนใจ สมมติว่าเด็กเรียนสื่อสารมวลชน จบไปเขาก็จ ะไปเป็น คนท�าคอนเทนต์ พอเราดีไ ซน์ หลักสูตรเสร็จก็เอาคนทีท่ า� งานเกีย่ วกับด้านสือ่ สารมวลชน มาวิพากษ์หลักสูตรว่าสิง่ ทีพ่ วกเราตัง้ ไว้เป็นไปตามสเปก ของคุณไหม คุณก็แนะน�ามา แล้วเราก็ไปปรับ เด็กทีเ่ รียนจบ ก็เข้าไปในช่องทางทีต่ ลาดก�าลังต้องการแรงงานได้ทนั ที นีค่ อื ความเปลีย่ นแปลงของโลกการศึกษา ในฐานะของความเป็นครู สิง่ ทีค ่ ณ ุ ให้ความส�าคัญ ทีส ่ ด ุ คือเรือ ่ งอะไร

ผมจะตัง้ ไว้เลยว่าเด็กทีจ่ บจากเราไปต้องมีงานท�า เราไม่อยากให้เด็กทีจ่ บไปแล้วตกงานหรือว่างงาน เพราะ จะเป็นการสร้างปัญหาให้กบั สังคม เมือ่ เด็กไม่มงี านท�า ก็ จ ะเข้ า ไปยุ ่ ง เกี่ ย วกั บ ยาเสพติ ด ไปท� า ในสิ่ ง ที่ ไ ม่ ดี กลายเป็นปัญหาสังคม และเมื่อมีคนว่างงานมากขึ้น ก็กลายเป็นปัญหาเศรษฐกิจของประเทศชาติ ผมจึงบอก อาจารย์ทกุ คนว่า สิง่ ทีเ่ ราต้องตระหนักทีส่ ดุ คือเด็กจบมา แล้วต้องมีงานท�า ดังนั้น เราจึงเน้นการสอนในเชิง ปฏิบตั เิ ป็นหลัก โลกของการศึกษาที่เปลี่ยนไป คนที่เปลี่ยนรุ่น วิธค ี ด ิ ก็เปลี่ยนไป แต่อะไรคือสิ่งที่จ�าเป็นและยัง ต้องมีอยูใ่ นหลักสูตรการศึกษาของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

สิ่งที่ส�าคัญกว่าคือ เราต้องการให้เด็กเป็นคนดี เพราะทุกวันนี้ก็เห็นกันอยู่ว่าบ้านเมืองวุ่นวายก็เพราะมี ค่านิยมผิดๆ เยอะ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

รัตนโกสินทร์กพ็ ยายามเปิดแผนกการศึกษาใหม่ๆ อย่าง เช่น โครงการพระราชด�าริเศรษฐกิจพอเพียง หรือน�าวิชา เก่าๆ เช่น วิชาหน้าที่พลเมืองหรือวิชาศีลธรรมมาสอน โดยให้ ค ณะศิ ล ปศาสตร์ เ ป็ น ฝ่ า ยดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบ ซึง่ หลักสูตรต่างๆ ก็ตอ้ งมีการเปลีย่ นแปลงเพือ่ ให้ทนั กับ การเปลีย่ นแปลงของโลก วิชาทีว่ า่ มาเราว่าก็เป็นสิง่ จ�าเป็น บางทีการเปลีย ่ นแปลงของยุคสมัยก็สง่ ผลให้วช ิ าบางอย่างถูกมอง ว่าเป็นเรือ ่ งโบราณคร�า่ ครึ และถูกตัดออกไปจาก ระบบการศึกษา

อย่างค�าว่าหน้าทีพ่ ลเมืองคืออะไร ก็คอื การเป็น คนดี เป็นคนทีม่ คี ณ ุ ธรรม มีวนิ ยั มีระเบียบ มีความสามัคคี มีความซือ่ สัตย์ มีความอดทนอดกลัน้ อ่อนน้อมถ่อมตน นีค่ อื คุณธรรม เมือ่ ทุกคนท�าตัวเองดี สภาพสังคมก็จะดี เหมือนการท�างาน ถ้าทุกคนท�าหน้าทีข่ องตัวเองดี ภาพรวม ก็จะดี แต่สงิ่ เหล่านีเ้ ราลืมไปหมดแล้วเพราะไม่มใี นการเรียน การสอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ พยายามน� าทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงมาสอนให้เด็ก ได้ซมึ ซับเรือ่ งนี้ เพือ่ ทีจ่ ะไม่หลงไปกับค่านิยมผิดๆ เช่น ค่านิยมทางด้านวัตถุ ท�าไมคนเงินเดือน 9,000 เขาอยูไ่ ด้ แล้วท�าไมคนเงินเดือน 20,000 อยูไ่ ม่ได้ เพราะว่าค่านิยม ทางด้านวัตถุเข้ามาครอบง�า พอสิง่ เหล่านีเ้ ข้ามาก็ทา� ให้สงั คม มีปญ ั หา เราก็จะมองคนอืน่ แค่ภายนอก เกิดการแข่งขัน ในสิ่งที่ไม่ควรจะไปแข่งขัน เช่น แข่งขันกันไปหาของ แบรนด์เนมมาใช้ แข่งขันกันเรื่องความจนความรวย จนไม่รู้ว่าอะไรดีไม่ดี ขอให้ได้เงินมาอย่างเดียวก็พอ ซึง่ คิดแบบนีก้ ผ็ ดิ แล้ว

นึกถึงเมื่อก่อนที่เราจะถูกครูสอนว่า การเรียน ไม่ใช่เรียนเพื่อให้รู้แค่สิ่งที่อยู่ในหนังสือ แต่ให้ เรียนรูช ้ ว ี ต ิ ไปด้วย

ไม่ว่าจะนักศึกษาสาขาไหนก็ตามจ�าเป็นต้อง เรียนเรื่องการจัดการ การจัดการไม่ได้หมายถึงเรื่อง การท�างานเท่านัน้ แต่หมายถึงการด�ารงชีวติ ตัวเขาเอง ก็ตอ้ งมีการจัดการ มีการวางแผน การจัดการตลาด ไม่ใช่ ว่าเรียนวิศวะแล้วไม่ตอ้ งเรียนวิชานี้ หรือเรียนสถาปัตย์ ก็ไม่ต้องรู้เรื่องนี้ ถึงเราจะมุ่งหวังให้เด็กนักเรียนท�างาน ภาคปฏิบตั ิ แต่การท�างานก็คอื ต้องรูท้ กุ เรือ่ ง ถึงจะไปเป็น ลูกจ้างเขาก่อนหรือไปเป็นช่างเทคนิคในภาคอุตสาหกรรม 5 ปี 10 ปี แต่ต่อมาเขาก็อาจจะมีกิจการของตัวเอง ถ้ า พวกเขามี ค วามรู ้ เ รื่ อ งการจั ด การ มี ค วามรู ้ เ รื่ อ ง การตลาด มีความรู้เรื่องการบัญชี สิ่งเหล่านี้จะท�าให้ พวกเขาสามารถไปมีกจิ การของตัวเองได้ พอคิ ด แต่ จ ะหารายได้ สุ ด ท้ า ยชี วิ ต ก็ จ ะวุ่ น วาย และกลายเป็ น ความเครี ย ดอย่ า งที่ ห ลายคน ในทุกวันนีเ้ ป็นกัน

ปั ญ หามั น จะไม่ เ กิ ด ได้ ยั ง ไง ลองดู สิ ทุ ก วั น นี้ ทุกคนร้องเรียกร้องแต่สทิ ธิเสรีภาพ แต่ความเป็นหน้าที่ ของพลเมืองทีด่ ไี ม่มี เพราะเราลืมหลักของหน้าทีพ่ ลเมือง ทีด่ ี อีกวิชาทีม่ คี วามส�าคัญมากทีผ่ มจะน�ากลับเข้ามาคือ วิชาประวัตศิ าสตร์ การเรียนวิชาประวัตศิ าสตร์ท�าให้เกิด ความรักชาติมากยิง่ ขึน้ เพราะประวัตศิ าสตร์จะท�าให้รวู้ า่ เรามีความเป็นมาอย่างไร ประเทศเวียดนามรบกันมากี่ สิบปีกว่าจะขึน้ มาเป็นประเทศ คนในประเทศเขาจึงรูจ้ กั ความยากล�าบาก รูจ้ กั ความเจ็บปวด เขาจึงมีความรัก ชาติ แต่บา้ นเราไม่ได้ให้เด็กเรียนแบบนี้


10 ISSUE 575 28 JAN 2019

Out of the Class into the Woods การมี เ งิ น มากน้ อ ยไม่ ใ ช่ ส าระส� า คั ญ ส� า คั ญ ที่ ว่ า เดือนๆ หนึ่งคุณเหลือเงินเก็บเท่าไหร่ สมมติว่าผม ท�างานจนได้เงินเดือนมากมาย แต่สด ุ ท้ายไม่มเี หลือเก็บ แต่อก ี คนเงินเดือนอาจจะน้อยกว่า แต่เขามีเงินเหลือเก็บ อาจจะสักสองพันบาท แค่นี้ก็บอกได้แล้วว่าชีวิตเขา ดีกว่าผมเสียอีก

การศึ ก ษาในยุ ค ต่ อ ไป คื อ การมุ่ ง ไปที่ การฝึ ก ฝนทั ก ษะของตั ว เองให้ ช�่ า ชอง โดยให้เรื่องของทฤษฎีนั้นเป็นเรื่องรอง ใช่หรือไม่

ส� า หรั บ ผม การศึ ก ษาในยุ ค ต่ อ ไป คือการผลิตทรัพยากรมนุษย์ให้ออกไปเพื่อ สังคม การที่เราจะรับใช้สังคมได้ก็ต้องเป็น คนดี ออกไปแล้วช่วยเพิ่มมูลค่าทางสังคม แต่ถ้าผลิตออกไปแล้วมีแต่เด็กตกงานหรือ เป็นคนไม่ดี ก็กลายเป็นท�าลายสังคม ผมจึง ให้ความส�าคัญกับเรื่องนี้อย่างมาก คุ ณ ผลั ก ดั น ให้ เ ด็ ก รู้ จั ก โลก รู้ จั ก ชี วิ ต จริงๆ ทีไ่ ม่ได้มอ ี ยูแ ่ ค่ในรัว ้ มหาวิทยาลัย ด้วยวิธไี หน

มีอยู่ครั้งหนึ่ง ทางประเทศมาเลเซีย ท�าหนังสือเชิญให้นักศึกษาของเราไปเข้าร่วม การประชุมนานาชาติ ซึ่งเขาขอเด็กเราไป ร่วมงานด้วยหนึ่งคน แต่ผมส่งไปเลยสิบกว่า คน เป็นเด็กของแต่ละคณะในมหาวิทยาลัย ผมต้องการให้พวกเขาไปเจอโลกจริง ซึง่ รูอ้ ยูแ่ ล้ว ว่าพวกเขาต้องมีปญ ั หาเรือ่ งของภาษาแน่นอน แต่เราก็ให้อาจารย์ทเี่ ก่งด้านภาษาช่วยประกบ ก็อยู่ด้วยกันประมาณ 2 อาทิตย์ พอเด็ก กลับมา ผมก็ถามอาจารย์ที่ไปด้วยว่าเป็น อย่างไรบ้าง เขาก็บอกว่าเด็กไม่รู้เรื่องเลย บางคนก็เมือ่ ยมือเพราะใช้แต่ภาษามือ (หัวเราะ) ผมบอกแล้วว่ายังไงก็หนีภาษาอังกฤษไปไม่ได้ แต่รู้ไหมว่าหลังจากที่เด็กๆ กลับมา ทัศนคติ ของพวกเขาเปลีย่ นไป เขารูแ้ ล้วว่าเขาหนีไม่ได้ เขาก็ต้องศึกษา ผมว่าการลงทุนครั้งนี้คุ้ม ยิ่งกว่าคุ้ม เพราะสามารถเปลี่ยนทัศนคติ ของเด็กได้ และพวกเขาก็เริ่มหันมาสนใจ เรี ย นภาษากั น มากขึ้ น ผมอยากส่ ง เด็ ก ออกไปต่างประเทศเรื่อยๆ ถึงเงินเราจะไม่มี ก็ ค ่ อ ยๆ ทยอยส่ ง ไป สิ่ ง นี้ จ� า เป็ น ต้ อ งท� า ผมไม่ได้ตงั้ ธงว่าเด็กจะต้องอ่านออกเขียนเก่ง เอาแค่พูดสื่อสารกันได้แบบงูๆ ปลาๆ ก็ยังดี การแข่งขันในตลาดแรงงาน คุณเตรียม ความพร้อมให้กบ ั นักศึกษาของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลรั ต นโกสิ น ทร์ ไว้แค่ไหน

ต้ อ งยอมรั บ ว่ า การแข่ ง ขั น ของ มหาวิทยาลัยต่างๆ ด้วยกันเองรุนแรง ดังนั้น เด็กทีเ่ รียนจบไปก็ตอ้ งมีการแข่งขัน การทีค่ ณ ุ จะแข่งขันกับคนอื่นได้ คุณก็ต้องได้ทั้งภาษา ได้ทั้งเรื่องเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยต้องคิดว่า จะท�าอย่างไรให้เราสามารถช่วยเหลือตัวเอง ได้บนพื้นฐานที่มีอยู่ ผมมีแนวคิดว่าอยากจะ เปิดการสอนเรือ่ งวิทยาศาสตร์เสริมความงาม เปิดหลักสูตรอาชีพช่างตัดผม ลองคิดดูว่าถ้า

เราตัดผมคนละ 100 บาทต่อ 20 นาที ตัดแบบ รองทรงแบบผูใ้ หญ่ธรรมดา วันหนึง่ ตัด 30 คน ในหนึ่งเดือนคุณมีรายได้เกือบแสนเลยนะ นี่คือเป็นอาชีพซึ่งคนอายุ 70 แล้วก็ยังท�าได้ ถ้าสายตาคุณยังดี มือคุณยังไม่สั่น คุณก็ยัง หากิ น ต่ อ ไปได้ แล้ ว ถ้ า การเรี ย นในสาขา วิทยาศาสตร์เสริมความงามนี้ เราให้เรียน พืน้ ฐานเหมือนกันหมด เรียนรูก้ ารเสริมความงาม เรียนนวดแผนโบราณ พอมีพนื้ ฐานแล้วก็แยก ออกไป จะเรียนตัดผม จะเรียนเสริมสวย หรือเรียนนวดแผนโบราณก็ไปเรียนจริงจัง แต่พนื้ ฐานทุกคนเป็นหมด ช่างตัดผมก็นวดได้ ช่างเสริมสวยก็ตัดเล็บเล็มผมเป็น ชีวต ิ ของการท�างานมีแต่เรือ ่ งน่าปวดหัว ไม่เหมือนกับตอนเรียนในมหาวิทยาลัย อ ย่ า ง ม า ก ก็ เ ค รี ย ด ช่ ว ง ส อ บ วั ด ผ ล ปลายเทอม คุ ณ บอกกั บ นั ก ศึ ก ษา ให้รบ ั มือกับเรือ ่ งพวกนีอ ้ ย่างไร

เราต้ อ งคิ ด เป็ น ท� า เป็ น อยู ่ เ ป็ น บางคนคิ ด เป็ น ท� า ไม่ เ ป็ น ก็ ไ ม่ มี ป ระโยชน์ บางคนคิ ด เป็ น ท� า เป็ น แต่ อ ยู ่ ไ ม่ เ ป็ น ก็ ไ ม่ มี ประโยชน์ ทางศาสนาเขายังบอกว่าเราอย่าไป ยึดติด ชีวิตก็คือการเกิด แก่ เจ็บ และตาย แล้วคุณจะไปยึดติดกับอะไร เรามีเงิน 2-3 ล้าน แต่เจ็บป่วยจะตายอยู่แล้ว จะมีอารมณ์ใช้เงิน ไหม ดีไม่ดอี ยากจะรีบตายไปด้วยซ�า้ เงินไม่ใช่ สิ่งส�าคัญอันดับหนึ่ง แต่ชีวิตคนเราขาดเงิน ไม่ได้ แค่ขอให้คณ ุ มีสภาพคล่องก็พอ ไม่ใช่วา่ เป็ น นั ก ศึ ก ษาที่ เ รี ย นจบใหม่ ๆ มาท� า งาน รับเงินเดือน 18,000 บาท ก็ไปถอยรถใหม่ ออกมา ถามตรงๆ แล้วคุณจะอยู่ได้อย่างไร ก็ ต ้ อ งดิ้ น รนท� า นู ่ น ท� า นี่ เมื่ อ ภาระเพิ่ ม ขึ้ น ก็จะส่งผลกระทบหมด ต้องไปท�างานขายตรง ไปท�างานที่หลอกลวงคนอื่นเพื่อให้ได้เงินมา หลักการทีว่ า่ ให้มองคนทีด ่ อ ้ ยกว่าเราแล้ว จะท�าให้มีความสุข ยังเอามาใช้กับชีวิต ในยุคนีไ้ ด้ไหม

เราชอบท�าตัวโอเวอร์ไปตามค่านิยม หลักการของคนจีนโบราณคือ กว่าทีเ่ ราจะสบาย เราก็ต้องยอมล�าบากก่อน เด็กเดี๋ยวนี้ไม่ยอม ล�าบาก คนไทยชอบสบายก่อนแล้วล�าบาก ทีหลัง เวลาท�างานควรดูคนทีเ่ ขาเก่งๆ แล้วคิดว่า จะเก่งกว่าเขาได้อย่างไร ลองดูคนทีเ่ ขาล�าบาก กว่าเราว่าท�าไมพวกเขาถึงยังอยู่ได้ การมีเงิน มากน้อยไม่ใช่สาระส�าคัญ ส�าคัญทีว่ า่ เดือนๆ หนึ่งคุณเหลือเงินเก็บเท่าไหร่ สมมติว่าผม ท�างานจนได้เงินเดือนมากมาย แต่สุดท้าย ไม่มีเหลือเก็บ แต่อีกคนเงินเดือนอาจจะน้อย กว่า แต่เขามีเงินเหลือเก็บ อาจจะสักสองพันบาท แค่นี้ก็บอกได้แล้วว่าชีวิตเขาดีกว่าผมเสียอีก


11 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

Revive the Cultural Heritage ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งง่ า ยเลยถ้ า ใครสั ก คนจะท� า การชุ บ ชี วิ ต สถานที่ เ ก่ า สั ก ที่ ให้กลับมาใช้งานและมีความสวยงามได้อก ี ครัง ้ เพราะการซ่อมแซมหรือรีโนเวต อาคารเก่านัน ้ ต้องอาศัยทัง ้ เงินและเวลาในการจัดการ โดยเฉพาะการดัดแปลง อาคารเก่าให้กลายเป็นสถานที่ตากอากาศที่น่าพักน่าอยู่ จนหลายคนที่เคย มาพักล้วนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่าอยากกลับมาอีก ซึง ่ ความส�าเร็จนีก ้ ม ็ าจาก ฝีมอ ื ของ ผูช ้ ว่ ยศาสตราจารย์ นภาพร นาคทิม รองอธิการบดี ทีร ่ บ ั หน้าทีเ่ ป็น ผูก ้ า� กับและดูแลการรีโนเวตศูนย์ฝก ึ ปฏิบต ั ก ิ ารการโรงแรมและการท่องเทีย ่ ว ราชมงคลชมคลืน ่ และส่วนของงานประชาสัมพันธ์กเ็ ป็นหน้าทีข่ อง ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. อาคีรา ราชเวียง รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ซึง่ เข้ามาช่วยเป็นหัวเรีย ่ วหัวแรงในการท�าให้สถานทีแ่ ห่งนีก ้ ลับมามีชวี ต ิ อีกครัง้

“เราเริ่มเข้ามารีโนเวตที่นี่ช่วงเดือน ตุลาคม ปี 2558 โดยเริ่มจากการปรับปรุง ห้องพักจ�านวน 30 ห้อง ตัวอาคาร สระว่ายน�า้ และห้องอาหาร” ผศ. นภาพรเล่าถึงการตัง้ ต้นเปลีย่ นอาคารเก่าให้เป็นโรงแรมทีอ่ บอุน่ และทันสมัย ศูนย์ฝึกปฏิบัติการการโรงแรมและ การท่องเทีย่ วราชมงคลชมคลืน่ มีบรรยากาศ ที่เงียบสงบติดชายทะเล และหน้าทางเข้า ก็อยูใ่ กล้กบั Cicada Market หัวหิน ในระยะ ทีส่ ามารถเดินไปกลับแบบชิลๆ ได้ โดยเฉพาะ ส่วนของห้องโถงใหญ่ทยี่ งั คงความคลาสสิก แบบอาคารไทยสมัยก่อนไว้ เป็นส่วนทีเ่ รา ชืน่ ชอบเป็นพิเศษ เพราะการทีจ่ ะหาที่พักที่มี ความรู้สึกแบบนี้ในปัจจุบันนั้นยากเต็มที่ “เราก็ ค ่ อ ยๆ ปรับ ปรุ ง ไปโดยเน้ น ความเป็นไทย และสือ่ ถึงบรรยากาศของหัวหิน โดยออกแบบให้สอดคล้องกับสถานีรถไฟ หัวหิน และให้ความรู้สึกอบอุ่นเหมือนนั่งอยู่ ในบ้าน” ผศ. นภาพรกล่าวขณะทีพ่ าเราเดิน ชมบริเวณโดยรอบ ทีท่ า� ให้เข้าใจแล้วว่าท�าไม

หลายคนถึงติดใจทีน่ เี่ หลือเกิน และยังเล่าถึง แผนในการปรับปรุงต่อไปว่า “ตอนปี 2558 เราเปิดห้องให้พกั ได้เพียงสามสิบห้อง พอเริม่ มีรายได้ก็ค่อยๆ เพิ่มการซ่อมบ�ารุง วันนี้ เรามี ห ้ อ งพร้ อ มรั บ รองแขกได้ 100 ห้ อ ง จากทัง้ หมด 180 ห้อง ถ้าเราปรับปรุงได้ครบ ทั้งหมด ที่นี่ก็จะมีห้องพักในหลายระดับ ราคาเพื่ อ ครอบคลุ ม ความต้ อ งการของ นักท่องเที่ยวทุกคน” “ศูนย์ฝึกปฏิบัติการการโรงแรมและ การท่องเที่ยวราชมงคลชมคลื่นเป็นสนาม ฝึกงานจริงของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์” ผศ. ดร. อาคีรา ช่วยเสริม “เราให้บริการในรูปแบบ โรงแรมอย่างเต็มที่ แต่อกี ด้าน ที่นี่คือสถานที่ ฝึกงานของนักศึกษาหลายสาขา ทั้งฝ่าย การโรงแรม วิศวะ อุตสาหกรรมไฟฟ้า หรือ ศิ ล ปกรรม ก็ ส ามารถเข้ า มาฝึ ก งานที่ นี่ ซึ่งเด็กจะได้ประสบการณ์จริงๆ กลับไป”

Rajamangala Chom Kluen Hua Hin อาคารปฏิบต ั ก ิ ารการโรงแรมและการท่องเทีย ่ ว บ้ า นราชมงคลชมคลื่ น มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสินทร์ ตั้งอยู่ที่ 35/9 ซอยหัวถนน 23 ใกล้ Cicada Market ถนนเพชรเกษม ต�าบล หนองแก อ�าเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี น ั ธ์ 77110 โทร. 032 655 260 https://chomkluen.rmutr.ac.th


12 ISSUE 575 28 JAN 2019

A MUST B O OK

ดอก รัก

MOVI E CAPTAIN MARVEL

เรือ ่ งสัน ้ ของมวลดอกไม้จากนักเขียนนามปากกา ตินกานต์ ทีเ่ คยมีผลงานตีพม ิ พ์ในนิตยสาร THE BOY นิตยสารวัยรุ่นชื่อ ดังในยุค 90s โดยครั้ ง นี้ เ ธอน� า เรื่ อ งราวของผู้ ที่ เ คยรั ก เคยร้ า ย เคยใคร่ เคยงมงาย เคยแค้น เคยฆ่า เคยบูชา เคยรัก มาเล่าเรือ ่ งผ่านตัวละครหลักทีม ่ ช ี อ ื่ ล้อไปกับดอกไม้ชนิดต่างๆ ซึง ่ มีทง ั้ ดอกไม้ ที่หอมละมุนไปจนถึงดอกไม้ที่ลึกลับไม่แพ้กับความสัมพันธ์ของมนุษย์

แววมยุรา คือเรื่องสั้นตอนแรกของหนังสือเล่มนี้ เล่าถึง 'แวว' หญิงสาวที่เดินทางมาพักผ่อน ณ บ้านแพ ที่ลอยอยู่เหนือริมแม่น�้าสะแกกรังในจังหวัดอุทัยธานี เพือ่ ขอพักใจจากความสัมพันธ์ทเี่ พิง่ พังทลาย และในคืนนัน้ เธอก็มีโอกาสได้พบกับคนที่เคยเป็นรักครั้งเก่าอีกครั้ง

พร้อมกับค�าตอบที่ค้างคาใจ เธอมานาน เฟือ่ งฟ้า เรือ่ งของเด็กสาว ทีเ่ กิดในวันทีด่ อกเฟือ่ งฟ้าบาน สะพรั่ง และเหตุการณ์ในช่วง ฤดูร้อนครั้งนั้นก็ท�าให้เธอได้ เรียนรูถ้ งึ ความรูส้ กึ ของการแอบ รัก การได้สารภาพ และเก็บ ความสุขครั้งนี้ไว้ เพื่อรอวันที่ ความรั ก จะกลั บ มาเบ่ ง บาน อีกครั้ง บั ว กล่ า วถึ ง ความสัมพันธ์ที่ไม่ลงตัวของชีวิตคู่ การเลือกผูช้ ายทีท่ า� ให้ชวี ติ ของ เธอไม่มีความสุข และส่งผลให้ เธอเหมือนถูกจองจ�าไว้ในกรงขัง ของค�าว่าชีวติ คูต่ ลอดไป พร้อม ประเด็นหนักๆ ชวนให้คิดตาม ว่ า ในเมื่ อ เป็ น อย่ า งนี้ แ ล้ ว การร่วมรักอย่างเป็นสุขนั้นคือ อะไร และบัวจะท�าอย่างไรให้ ตัวเองหลุดพ้นไปจากความทรมานนี้ ทีเ่ ริม่ ก่อตัวขึน้ มาจาก ความสัมพันธ์ของพ่อกับแม่ที่ หล่อหลอมให้เธอตัดสินใจเลือก คนที่ไม่ใช่มาครองคู่

นีค่ อื ส่วนหนึง่ ของเรือ่ งสัน้ 10 ตอนที่อยู่ในหนังสือเล่มนี้ ที่ถ่ายทอดความรักในแง่มุม ต่างๆ ผ่านดอกไม้แต่ละดอก ออกมาได้ อ ย่ า งน่ า สนใจ โดยเฉพาะเมือ่ จบไปแต่ละเรือ่ ง เราก็ อ ยากรู ้ ทั น ที ว ่ า ดอกไม้ ดอกต่อไปของเธอนัน้ จะพูดถึง อะไร ซึ่งมีทั้งความหอมหวาน ของดอกไม้ฤดูรอ้ น ความลึกลับ ทีน่ า่ กลัวของชีวติ สิง่ ทีซ่ อ่ นเร้น ที่ค่อยๆ ท�าลายหัวใจของเรา ลงไปอย่างช้าๆ เหมือนรากของ ต้นไม้ที่สามารถท�าให้กระถาง แตกออกเป็นเสี่ยง แม้กระทั่ง การเกิดเป็นดอกไม้ที่เกิดอยู่ บนดิน แดนที่เ ดีย วดาย โดย เรือ่ งราวทีเ่ ล่านัน้ มีทงั้ บรรยากาศ ของคนเมื อ งในยุ ค ปั จ จุ บั น การถวิลหาอดีต ความสัมพันธ์ ทีต่ อ้ งหลบซ่อน และความรูส้ กึ อิ่มเอมเมื่อได้รู้จักกับความรัก ซึ่งเราเชื่อว่าเรื่องราวเหล่านี้ จะต้องมีคนเคยเจอเข้ากับตัว เหมือนกัน

เรื่ อ งราวของฮี โ ร่ ห ญิ ง จาก นอกโลกอย่าง Captain Marvel กุญแจ ส�าคัญในศึกใหญ่ของเหล่าซูเปอร์ฮีโร่ ที่จะเกิดขึ้นใน Avengers: Endgame และเป็นหนังซูเปอร์ฮีโร่หญิงเรื่องแรก ของค่ า ย Marvel น� า แสดงโดย บรี ลาร์สนั ทีเ่ คยฝากการแสดงทีน่ า่ จดจ�า อย่าง Room, Kong: Skull Island และ The Spectacular Now ติดตามจิ๊กซอว์ ชิ้นสุดท้ายก่อนจะไปลุ้นกับบทสรุป ของหนังรวมทีมซูเปอร์ฮีโร่ที่ยิ่งใหญ่ ของปีนี้

CON CERT JAI THEP FESTIVAL

ดอก รัก โดย ตินกานต์ ส�านักพิมพ์ a book ราคา 225 บาท

สั่งซื้อพร้อมส่วนลดพิเศษ และรับที่คั่นหนังสือจาก ผลงานวาดภาพประกอบ โดย KANITP. ได้ที่ http://godaypoets.com

FE S T IVA L

ART GROUND 04 กลับมาเป็นครัง้ ที่ 4 กับ Art Ground Festival จัดขึน้ ที่ The Jam Factory ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ส�าหรับคนทีไ่ ม่เคยไปมาก่อน บอกสัน้ ๆ ว่างานนีส้ ร้าง ขึน้ มาส�าหรับคนรักงานศิลปะ ทีค่ ณ ุ จะได้พบปะกับศิลปินทีค่ ณ ุ ชืน่ ชอบพร้อมเคล้า ไปกับซุ้มเครื่องดื่มและอาหาร แลกเปลี่ยนมุมมองด้านงานศิลปะ ไปจนถึง ได้ชนิ้ งานศิลปะทีค่ ณ ุ ประทับใจทีม่ ไี ม่กชี่ นิ้ ในโลกกลับบ้าน หรือจะเป็นตัวเลือก ทีด่ สี า� หรับคนหาทีเ่ ดินชิลซือ้ ของแต่งบ้านน่ารักมีสไตล์กต็ อ้ งไม่พลาดกับงานนี้

หนีฝุ่นพิษไปรับลมเย็นๆ กันที่ ใจเทพเฟสติวลั เทศกาลรืน่ เริงทีย่ าวนาน ถึง 3 วัน ของคนรักดนตรีแ ละศิลปะ ซึง่ จัดขึน้ ท่ามกลางบรรยากาศสุนทรีย์ ของล้ า นนาร็ อ กการ์ เ ดน เชี ย งใหม่ โดยในปีนไี้ ด้มวี งดนตรีชนั้ น�าทัง้ จากไทย และต่างประเทศเข้ามาสร้างความสุข มากมาย เช่น Yellow Fang, Ninze & Okaxy, Too Many T’s และ The Whitest Crow นอกจากดนตรีดๆี แล้ว คนทีม่ างาน ยังสามารถเข้าร่วมเวิร์กช็อปศิลปะ มากมายหลากหลายแขนง ร่วมสร้างสรรค์ งานไปกับอาร์ตโปรเจ็กต์ตา่ งๆ หรือจะ แค่มาซึมซับบรรยากาศรื่นรมย์ก็ยังได้ แล้วเจอกันในวันที่ 1-3 กุมภาพันธ์นี้


13 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

ACCE SS O R IES

ONITSUKA TIGER OK BASKETBALL MT ส�าหรับใครทีห่ ลงรักรองเท้าพีเ่ สือในเรือ่ งของรูปทรงดีไซน์ และความสบาย เท้า ลองมาสวมใส่คอลเล็กชัน OK Basketball MT ที่น�าศาสตร์ด้านความสวยงาม และทนทานของรูปทรงรองเท้ากีฬาบาสเกตบอลมาปรับเปลี่ยนให้ลงตัวเป็น รองเท้าส�าหรับแฟชั่นนิสต้าที่สามารถใส่ใช้งานได้ในทุกโอกาส มีรูปแบบรองเท้า ให้เลือกในรูปแบบหุ้มข้อ mid-cut และแบบทรง low-cut สุดคลาสสิก ติดตาม รายละเอียดเพิ่มเติมของสินค้าได้ที่ www.facebook.com/OnitsukaTigerTH

SERI E S

THE GOOD PLACE คนเราตายแล้วไปไหน? ไปหาค�าตอบกันในซีรีส์ที่เล่าเรื่องราวของ เอเลนอร์ เชลสตรอป ที่เธอตายแล้วได้ไปอยู่ในที่ที่เรียกกันว่าที่ชอบๆ หรือทีท่ กุ คนเรียกว่าสวรรค์ แต่เหตุการณ์เกิดพลิกผันกลายเป็นว่าเธอเป็น คนที่ไม่คู่ควรที่จะอยู่ในที่ชอบนี้ และเมื่อเธอท�าสิ่งใดที่ส่งผลร้ายกับ คนในเมือง สภาพเมืองก็จะยิ่งแย่ลง The Good Place สะท้อนความคิด และระบบสังคมที่ในบางครั้งคนที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นคนไม่ดี เขาคนนั้น อาจจะถูกกดดันและตัดสินจากระบบสังคมอันไม่เป็นธรรมทีม่ นุษย์อปุ โลกน์ ขึ้นมาเท่านั้นเอง รับชมได้ทาง Netffllflix

EXHIBITION

CONNEXT KLONGTOEY นิทรรศการศิลปะทีเ่ ล่าเรือ่ งราวของชุมชนคลองเตย ผ่ า นเสี ย งของกลุ ่ ม เด็ ก ผู ้ อ ยู ่ อ าศั ย ในชุ ม ชนดั ง กล่ า ว ทีท่ หี่ ลายคนมองว่าเป็นพืน้ ทีท่ เี่ สือ่ มโทรม แต่นทิ รรศการนี้ จะเปลี่ยนความคิดของคุณตลอดไป ซึ่งในงานเด็กๆ จะ ถ่ายทอดเรื่องราวของชุมชนคลองเตยผ่านวิชาออกแบบ แฟชัน่ , แต่งเนือ้ ร้องท�านองแร็ป, ภาพถ่าย และการออกแบบ รอยสัก ใครทีส่ นใจสามารถไปชมนิทรรศการได้ภายในงาน Bangkok Design Week ที่ชั้น 2 ศูนย์การค้า O.P. Place ถ.เจริญกรุง ตั้งแต่วันนี้ถึง 3 กุมภาพันธ์ 2562

CA FE

SARNIES BANGKOK คาเฟ่เปิดใหม่ทนี่ า่ ไปลองทีส่ ดุ ในช่วงนี้ ซึง่ มาจากโรงคัว่ และร้านกาแฟ ชือ่ ดังจากสิงคโปร์ทพี่ ฒ ั นาจนมีชอื่ ในเรือ่ งของกาแฟคุณภาพดี เมือ่ มาเปิดสาขา ทีไ่ ทย ตัวร้านจึงได้ถกู ปรับเปลีย่ นให้ดนู า่ สนใจมากขึน้ บนโลเคชันทีม่ คี าแรกเตอร์ ไทยวินเทจชัดๆ อย่างย่านเจริญกรุง นอกจากคุณจะได้ลิ้มจิบรสชาติของ กาแฟคุณภาพดีแล้ว ยังสามารถเลือกอิม่ ท้องกับเมนูขนมและอาหารทีถ่ กู คิด ขึน้ มาให้มสี ว่ นผสมจากบ้านเราเข้าไปด้วย เรียกว่าเป็นคาเฟ่หวั นอกทีม่ าเปิด ในไทยได้อย่างลงตัว

S I N GLE

LOST IN THE FIRE GESAFFELSTEIN FEAT. THE WEEKND ซิ ง เกิ้ ล คั ม แบ็ ก ของดี เ จอิ เ ล็ ก โทรเฮาส์ เชื้ อ สายฝรั่ ง เศส Gesaffelstein กั บ นั ก ร้ อ ง อาร์แอนด์บีร่วมสมัยชื่อดังอย่าง The Weeknd ที่ร่วมกันสร้างผลงานมาแรงในปีที่แล้วอย่าง My Dear Melancholy ที่ถ่ายทอดความเจ็บปวด จากการเลิกราของหนุ่ม The Weeknd กับสาว เซเลนา โกเมซ ออกมาได้อย่างลึกและหม่นหมอง ซึง่ เพลงนีก้ ย็ งั คงคาแรกเตอร์ของศิลปินทัง้ คูไ่ ว้ได้ อย่างลงตัว


14

T H E C O N V E R SAT I O N

เรื่อง

พรรษิษฐ์ วิชญคุปต์ นักเขียนอิสระ FB : tocktum.tidpan

ภาพ

กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร หัวหน้าช่างภาพ kritdhakorn@gmail.com

ISSUE 575 28 JAN 2019

PUTT THE GUTS ‘โปรเม’- เอรียา จุฑานุกาล

‘โปรโม’ - โมรียา จุฑานุกาล

มั น เป็ น ความรู้ สึ ก ยากเกิ น บรรยาย ไม่มีน�้าตา เป็นความว่าง โหวง คล้ายก�าลังฝัน ‘โปรโม’ - โมรียา จุฑานุกาล รูส ้ ก ึ แบบนัน ้ ในวันทีเ่ ธอ ปลดล็อกคว้าแชมป์แอลพีจเี อ ทัวร์ มาครองได้สา� เร็จนับตัง้ แต่เทิรน ์ โปร เมื่อปี 2012 กับรายการ ‘ฮูเกลเจที บี ซี แอลเอ โอเพน’ เมื่ อ ช่ ว ง เดือนเมษายนปี 2018 ที่ผ่านมา แ ต่ ค น ที่ ร้ อ ง ไ ห้ ก ลั บ เ ป็ น นักกอล์ฟผู้น้องอย่าง ‘โปรเม’ เอรียา จุฑานุกาล ที่ในปีเดียวกัน ก็ ท� า ผลงานได้ ย อดเยี่ ย มที่ สุ ด ใ น ก า ร เ ล่ น อ า ชี พ ค ว้ า แ ช ม ป์ 3 รายการ จาก 2 แอลพีจีเอ ทัวร์, และ 1 เมเจอร์ ประกอบด้วย ‘คิงส์ มิลล์ แชมเปี้ยนชิพ’, ‘ยูเอส วีเมนส์ โอเพน’ และ ‘เลดี้ ส์ สกอตติ ช โอเพน’ ท� า เงิ น รางวั ล รวมจาก การเล่น 28 รายการตลอดทั้งปี มากที่สุดในการเล่นกอล์ฟอาชีพ ต่ อ หนึ่ ง ฤดู ก าล และเมื่ อ นั บ รวม โบนั ส 1 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ จากแชมป์ ‘เรซ ทู ซีเอ็มอี โกลบ’ และ 1 แสนดอลลาร์สหรัฐฯ จาก รางวัลนักกอล์ฟทีจ่ บ 10 อันดับแรก มากที่สุด ส่งผลให้เอรียามีรายได้ จากเงิ น รางวั ล ปี นี้ 3,843,949 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 126 ล้ า นบาท) และกวาดทุ ก รางวั ล

เกียรติยศของแอลพีจีเอมากที่สุด ชนิ ด ไม่ เ คยมี นั ก กอล์ ฟ คนไหน ในโลกท�าได้มาก่อน แน่นอนว่าน�า้ ตานัน ้ เป็นน�า้ ตา แห่งความยินดีตอ ่ ความส�าเร็จของ พีส ่ าวทีใ่ นทีส ่ ด ุ ก็ทา� ตามสิง ่ ทีห ่ วังไว้ ได้สา� เร็จนับตัง ้ แต่เทิรน ์ โปรเมือ ่ กว่า 6 ฤดูกาลทีผ ่ า่ นมา เป็นความภาคภูมใิ จ ของครอบครัวที่พี่น้องจุฑานุกาล กลายเป็นคูน ่ ก ั กอล์ฟประวัตศ ิ าสตร์ โลกก้านเหล็กคูท ่ ส ี่ อง ซึง ่ คว้าแชมป์ แอลพี จี เ อต่ อ จาก Annika และ Charlotta Sörenstam สองพี่ น้ อ งโปรกอล์ ฟ ชาวสวี เ ดน มันเป็นการก้าวพ้นไปจากความกดดั น อี ก หนึ่ ง ระดั บ ของการถู ก คาดหวั ง มาตั้ ง แต่ เ ป็ น เยาวชนว่ า พวกเธอจะกลายเป็ น นั ก กอล์ ฟ เบอร์ต้นของโลก แ ต่ ใ น ร ะ ดั บ ที่ ลึ ก ก ว่ า นั้ น ทั้งความว่างโหวงของโปรโม และ น�้ า ตาของโปรเม มั น ก็ ถู ก ขั บ ดั น มาจากการพิจารณาย้อนกลับไปสู่ ทุกกระบวนการแห่งความพยายาม ที่ผ่านมา “ค� า ตอบที่ ไ ด้ คื อ ช่ ว งเวลาที่ เราทุม ่ ไปกับทุกกระบวนการ เชือ ่ ว่า สิ่ ง ที่ ล งมื อ ท� า นั้ น ถู ก ต้ อ ง ท� า ไป เรื่ อ ยๆ จนในที่ สุ ด ก็ เ ป็ น ไปตามที่ ต้องการพิสูจน์ว่าเราท�าได้จริงๆ”

นั่นคือค�าพูดของโปรโม ใช่ ค�าว่า ‘มืออาชีพ’ นั้นไม่ใช่ แค่เรื่องการต่อสู้ในสนาม แต่มัน เป็นทุกกระบวนการในการใช้ชีวิต ทั้ ง ก า ร อ อ ก เ ดิ น ท า ง ไ ก ล ปี ล ะ มากกว่า 8 เดือน ต้องห่างบ้านเกิด ใช้ชีวิตไม่เป็นหลักแหล่ง และต้อง ดี ล กั บ ‘ความกลั ว ’ สารพั ด ที่ ประเดประดังเข้ามา แน่ น อนว่ า ความส� า เร็ จ นั้ น หอมหวาน และปีทผ ี่ า่ นมาก็ถอ ื เป็น ฉากหน้าทีส ่ วยงาม แต่ใครจะรูบ ้ า้ งว่า กว่าจะเดินทางมาถึงจุดนี้ ทั้งสอง ผ่านอะไรมาและต้องแบกรับความกดดั น มากมายขนาดไหน แต่ ใ ช่ เรื่องนั้นก็ยังไม่น่าสนใจเท่ากับว่า พวกเธอรั บ มื อ และกล้ า ที่ จ ะพั ต ต์ ทั้ ง ความคาดหวั ง ของคนอื่ น และ ตัวเองออกไปอย่างไร


15 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

S


16 ISSUE 575 28 JAN 2019


17 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

BEHIND

ปี 2018 ทีผ ่ า่ นมา เป็นฤดูกาลทีเ่ หมือนจะ หอมหวานเหลื อ เกิ น ส� า หรั บ พวกคุ ณ มองย้อนกลับไปรู้สึกกับมันอย่างไร

เอรียา : ก่อนเริม่ ฤดูกาลไม่ได้ตงั้ เป้าว่า จะดีขนาดนี้ เพราะออกไปเล่นด้วยความคิด ง่ายๆ คือ ขอเป็นนักกอล์ฟที่พัฒนาตัวเอง ตลอดเวลา คิ ด แค่ นี้ พอจบปี ก็ แ ปลกใจ เหมื อ นกั น ที่ ไ ด้ ร างวั ล เยอะ ถื อ เป็ น ปี ที่ ยอดเยี่ยม เป็นของขวัญชั้นยอดของชีวิต โมรียา : เป็นอีกฤดูกาลที่ดี แม้ว่า ปี 2017 ก่อนหน้านีจ้ ะเป็นปีทดี่ มี าก แต่ 2018 โมบรรลุผลสิ่งที่ตั้งใจและรอมานานถึงห้าปี นั่นคือแชมป์แรกในแอลพีจีเอ ส� า หรั บ โปรโมที่ ต้ อ งใช้ ร ะยะเวลาถึ ง 6 ฤดูกาลกว่าจะคว้าแชมป์แรกในอาชีพ มาได้ ความสุขจากค�าว่าแชมป์เป็นอย่างไร

โมรี ย า : โมเชื่ อ ว่ า ทุ ก คนเวลามี เป้าหมายทีช่ ดั เจน แล้วลงมือพยายามเพือ่ ไป ให้ถงึ จุดนัน้ มักจะมีภาพทีค่ ดิ ไว้ลว่ งหน้าเวลา ส�าเร็จ เวลารับแชมป์ถือถ้วยต้องท�ายังไง ต้องมีความรู้สึกแบบไหน ตอนแรกโมคิดไว้ ต้องมีความสุขมากแน่ๆ ต้องภูมิใจจนร้องไห้ น�้าตาไหล แต่ไม่เลย คนที่ร้องกลายเป็นเม ช่วงนั้นสมาธิอยู่ที่ว่าจะท�าอย่างไรให้การเล่น ออกมาดีที่สุดมากกว่า ซึ่งแปลกมาก เพราะ เวลาได้แชมป์จริงๆ มันไม่ใช่โมเมนต์ทมี่ คี วามสุขทีส่ ดุ ตามทีเ่ คยคิดไว้ มันออกมาในรูปแบบ อ้าว ได้แล้วเหรอ ได้แล้วยังไงต่อ เหมือนมัน ยังไม่จบ ยังค้างคาใจ จนกลับมาไตร่ตรอง ดูว่าสิ่งที่มีความหมายและท�าให้เราภูมิใจกับ ความส�าเร็จนี้จริงๆ คืออะไร ค�าตอบที่ได้คือ ช่วงเวลาทีเ่ ราทุ่มไปกับทุกกระบวนการ ใส่ใจ ไปกับทุกรายละเอียดทีค่ วบคุมได้ เชือ่ ว่าสิง่ ที่ ลงมือท�านั้นถูกต้อง ท�าไปเรื่อยๆ จนในที่สุด ก็เป็นไปตามทีต่ อ้ งการพิสจู น์วา่ เราท�าได้จริงๆ พวกคุณใช้เวลาในฐานะนักกอล์ฟอาชีพ ระดั บ แอลพี จี เ อทั ว ร์ เ ข้ า ฤดู ก าลที่ 5 และ 6 ตามล�าดับ รับมือกับอาชีพนี้ได้ ดีขึ้นไหมกับสิ่งต้องแลกกับค�าว่าโปร

THE SPECTACULAR SCENERY

เอรียา : เรื่องดีคือมองปัญหาเป็น เรือ่ งง่าย ไม่ได้บอกว่าปัญหาทีเ่ กิดมันแก้งา่ ยขึน้ นะ แต่ช่วงแรกทุกอย่างยากไปหมด ล�าบาก มาก เดินทางปีละ 8 เดือน ห่างเมืองไทย ไม่มีเวลาได้กลับ ที่อยู่ก็ไม่เป็นหลักแหล่ง จะอยู ่ ยั ง ไง จะท� า ยั ง ไง มี แ ต่ ค วามกลั ว เต็มไปหมด แต่เมือ่ เวลาผ่านไป มันเริม่ ง่ายขึน้ แค่เซตชีวิตให้พร้อม เริ่มรู้ว่าต้องท�ายังไง ช่วงเดินทางเตรียมตัวขนาดไหน ท�าใจให้สนุก กับสิ่งที่จะเจอ ทุกอย่างก็ดีขึ้น เหมื อ นกั น กั บ เกมกอล์ ฟ ทุ ก อย่ า ง เริ่มต้นที่ความคิด จะทุกข์ จะสุข หรือสนุก หรือไม่กข็ นึ้ อยู่กบั ความคิด จากทีอ่ อกไปเล่น แล้วไม่สนุก กังวลไปหมดว่าตีแล้วใครจะคิดกับ เราแบบไหน จะไปท�าใครผิดหวังหรือเปล่า มันท�าให้เราเครียดมาก จนสุดท้ายมาเข้าใจว่า การเล่นกอล์ฟทีม่ คี วามสุขทีส่ ดุ คือเล่นภายใต้ ความคาดหวังของตัวเราเอง เมือ่ ท�าได้คนอืน่ จะมีความสุขไปกับเราเอง โมรียา : เห็นด้วยกับเมนะ แต่มันคง ไม่ใช่เรื่องทุกข์ เพราะหากทุกข์เราคงไปท�า อย่ า งอื่ น เรื่ อ งที่ รั บ มื อ ได้ ม ากขึ้ น คงเป็ น ความคาดหวั ง จากคนอื่ น ที่ เ ปลี่ ย นเป็ น ความกดดันโดยไม่รู้ตัว เอรียา : ความกดดันเป็นอุปสรรค ส�าคัญ เหมือนกับปัจจัยภายนอกที่ต้องเจอ ในชีวิตของมืออาชีพ คือเวลาเรามองคนที่ เขาประสบความส�าเร็จ อยู่จุดสุดยอด เป็น มือหนึง่ ของโลกนานๆ มันคูลนะ โคตรเก่งเลย เพราะเรารู้ว่า ส�าหรับกอล์ฟ จะเก่งในสนาม อย่างเดียวไม่พอ คุณต้องรับมือเรื่องอื่นๆ ด้วย ล�าพังแค่ทกั ษะฝีมอื อย่างเดียว ไม่มที าง ประสบความส�าเร็จได้ ต้องจัดการกับระบบ ความคิ ด และรั บ มื อ ความกดดั น ไหนจะ คนรอบข้างทีห่ วังให้เราเป็นโน่นเป็นนี่ ท�านัน่ สิ ท�านีส่ ติ ลอดเวลา ซึง่ ส�าหรับนักกอล์ฟบางคน มันยากมากที่ต้องรับมือเรื่องแบบนี้ ตื่นมา อย่างน้อยต้องเจอกับสือ่ แล้ววันละสองชัว่ โมง ไม่วา่ จะวันแข่งหรือวันซ้อม ค�าถามก็เรือ่ งเดิมๆ นึกออกไหม คือนักข่าวไม่ซา�้ หน้านะ แต่มาจาก คนละเมือง สลับมาก็ถามเรื่องเดิมๆ อยากรู้ เป้าหมายต่อไปคืออะไร ทัวร์นาเมนต์นพี้ ร้อม แค่ไหน ฯลฯ บางทีอยากตอบไปว่า ก็แค่เล่น กอล์ฟไง นึกออกไหม เจอบ่อยเข้ามันก็มี อารมณ์นี้ (หัวเราะ) ตอนเริ่มอาชีพของเม มันโคตรยากเลย เพราะแค่อยากออกไปตีกอล์ฟ ให้มคี วามสุข แต่พอต้องอยูท่ า่ มกลางสายตา คนอื่นตลอดเวลามันกดดัน แล้วก็ยิ่งตีแย่ นานๆ ทีก็ไม่เป็นไรหรอก แต่ถ้า 2-3 รายการ ติดกันก็นอยด์ กังวลว่าคนทีม่ าเชียร์เราจะคิด ยังไง สปอนเซอร์ที่เข้ามาสนับสนุนจะรู้สึก แบบไหน จะผิดหวังในตัวเราไหม แต่พอเวลา ผ่านไป เราเริม่ คิดได้วา่ เราสามารถมีความสุข กับช่วงเวลาแบบนี้ได้ แล้วโมเมนต์แบบนี้ มันคงอยูก่ บั เราไม่นาน เราจะเป็นมือหนึง่ เป็นที่ สนใจตลอดไปซะทีไ่ หน สิง่ หนึง่ ทีเ่ รียนรูต้ ลอด 4-5 ปี ที่ ผ ่ า นมานั่ น ก็ คื อ ไม่ มี ใ ครขึ้ น ตลอด ไม่ มี วั น ลง ไม่ มี ใ ครหรอกที่ ต กตลอดแล้ ว ไม่มโี อกาสโงหัวขึน้ มา เพราะนีไ่ ม่ใช่แค่กอล์ฟ มันคือชีวิต เราแค่ต้องท�าหน้าที่ต่อไป และมี ความสุขกับทุกๆ อย่างที่เกิดขึ้นเท่านั้นเอง ดังนั้น มีความสุขให้ได้กับทุกช่วงเวลาก็พอ นั่น คื อ การปรับ ตั ว ตั้ง แต่ ค วามคิด ไปจนถึง

การใช้ชีวิต สิ่งนี้มันคือพาร์ตหนึ่งของอาชีพ ของเรา โปรกอล์ฟทีก ่ า� ลังขึน ้ กับก�าลังตก แบบไหน รับมือกับความคาดหวังของทั้งตัวเอง และคนอื่นยากกว่ากัน

เอรียา : โห ค�าถามยากอีกแล้ว โมรี ย า : โมว่ า มั น ไม่ เ หมื อ นกั น คนละแบบ เอรียา : ความคาดหวังจากตัวเรา รับมือง่ายกว่าอยู่แล้ว เพราะเราไม่ได้หวัง ให้ผลลัพธ์มันออกมาดี แต่เราหวังท�าหน้าที่ ทุ ก ขั้ น ตอนให้ พ ร้ อ มที่ สุ ด ท� า งานหนั ก ไม่ ย อมแพ้ ต ่ อ อะไรก็ ต าม สู ้ กั บ ทุ ก อย่ า ง ทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ พยายามท�าทุกสิง่ ทีเ่ ข้ามาให้ เราสามารถมองย้อนกลับไปได้อย่างภูมิใจ ส่วนเรือ่ งการรับมือ ไม่วา่ จะขาขึน้ หรือ ขาลง ช่วงทีเ่ ราอันดับตกลงไปล่างๆ ตอนทีย่ งั ไม่เคยมีแรงกิ้ง สบายมากนะ ชิลๆ ที่ผ่านมา ตัวหนูไม่ได้เก่งนะ แต่มชี ว่ งชีวติ ทีข่ นึ้ เร็ว ได้แชมป์ ขึน้ มือหนึง่ ช่วงนัน้ ปรับตัวไม่ทนั ช่วงชีวติ ทีเ่ ป็น มื อ หนึ่ ง ของโลกครั้ ง แรกไม่ มี ค วามสุ ข เลย ดั ง นั้ น ตอนขึ้ น ก็ ป รั บ ตั ว ยากเหมื อ นกั น เอาเป็นว่า ปี 2017 เป็นช่วงที่ไม่มีความสุข ที่สุด ทั้งที่ขึ้นเป็นมือหนึ่งของโลกครั้งแรก พูดตรงๆ งงมาก แบบชีวิตมาอยู่ตรงนี้เพื่อ อะไร ท�าไมถึงเกิดภาวะแบบนั้น

เอรียา : คือต้องย้อนแบบนี้ก่อนขึ้น มือหนึง่ หนูจอ่ อยูม่ อื สองนานเป็นปีเลย ใครๆ ก็พูดว่าเดี๋ยวก็ได้แล้วมือหนึ่ง แทบทุกคนพูด แบบนี้ พอบ่อยเข้ามันก็ฝังหัว ถึงขั้นเวลาใคร ถามเป้าหมายต่อไปคืออะไร เมตอบเลยว่า ‘มือหนึง่ โลกค่ะ’ แต่ไม่ใช่เพราะอยากจะพูดนะ ที่พูดไปเพราะเขาอยากได้ยิน จนมาวันหนึ่ง ก็ได้ต�าแหน่งนั้นจริงๆ ซึ่งตลอดสองอาทิตย์ ไม่มคี วามสุขเลย ไม่ชอบตรงนัน้ เลย (เน้นเสียง) กลับกัน พอตกลงมาแล้วรูดยาวกลับรู้สึก สบายใจกว่า คือเป็นนักกอล์ฟธรรมดามีความสุข กว่า ไม่มีใครมาคอยจ้องว่ามือหนึ่งท�าอะไร ท�าไมตีไม่ดี แต่พอตกนานๆ ก็บอกกับตัวเอง เหมือนกันว่า ชีวิตจะไม่มีค่าถ้าตีไม่ดี ชีวิต จะมีค่าจากการได้ในสิ่งที่เราภูมิใจในตัวเอง โมรียา : โมต่างไปนะ เจอคนละแบบ เมเจอคนพูดใส่ว่า เดี๋ยวก็ได้มือหนึ่งของโลก ส่วนโมจะเป็น ‘เดี๋ยวก็ได้แชมป์แอลพีจีเอ อดทนหน่อยนะครับ’ แล้วผลงานของตัวเราเอง ก็เข้าใกล้มาก แต่ไม่ได้สักที ก็หนีค�าถามนั้น ไม่พน้ กลายเป็นว่าใครก็ถามว่าเป้าหมายคือ แชมปแอลพีจเี อใช่ไหม เราก็เลยตอบแบบนัน้ ทั้งที่ไม่ได้รู้สึก ไม่ได้เชื่อว่าจะท�าได้ เพียงแต่ ตอบไปเพราะเขาบอกว่ า เดี๋ ย วก็ ไ ด้ แ ชมป์ เหมือนเขาเลือกให้เราแล้ว เขาอยากได้ยิน แบบนี้ หนักเข้าโค้ชก็มาถามว่า อะไรคือสิ่งที่ ท�าให้เราภูมิใจในตัวเอง สิ่งที่ตอบออกไป ตอนนั้นคือ การพิสูจน์ว่าเราเป็นแชมป์ได้ หลังจากนัน้ ก็ทมุ่ เท ท�าทุกอย่าง ลงรายละเอียด ทุกขั้นตอน เพื่อจะเป็นแชมป์ให้ได้ ต้องการ จะเป็นแชมป์เพื่อตัวเอง เพราะตัวเองอยาก พิสูจน์ว่าท�าได้จริงๆ ไม่ใช่ท�าเพราะคนอื่น บอก

FOCUS THE WAY MORE

THAN THE GOAL กอล์ ฟ เป็ น กี ฬ าที่ เ ครี ย ดมากเพราะสู้ กั บ ตัวเองเป็นหลัก โปรระดับโลกอย่างพวกคุณ มีเคล็ดลับการจัดการปัญหานี้ไหม

เอรียา : เราทัง้ คูม่ โี ค้ชทีเ่ ข้ามาดูแล ทัง้ เรือ่ ง performance วิธีคิด ถ้าเปรียบเทียบกับคนทั่วไป คงคล้ายไลฟ์โค้ชแต่เน้นเรื่องกอล์ฟ ประเด็นหลัก ที่เขาสอนคือชุดความเชื่อที่ว่า คนเราถ้าลงมือท�า ขณะทีม่ คี วามสุข จะท�าออกมาได้ดกี ว่าตอนเครียด หรือตื่นเต้น ยกตัวอย่าง การพูดหน้าชั้นเรียน ถ้าตื่นเต้นก็จะพูดไม่ได้ แต่ในโลกความจริง ใช่ว่า นั่งเฉยๆ แล้วเราจะเจอความสุข มันมีสิ่งเร้าให้เรา เบีย่ งเบนความสนใจเยอะมาก ดังนัน้ เราต้องสร้าง ความรู้สึกนี้ขึ้นมาให้ได้ ซึ่งช่วงแรกที่พยายามท�า มันยากมาก เช่น การยิ้มที่ไม่ใช่แค่ปาก แต่คือยิ้ม ที่ต้องมาจากข้างใน นั่นคือสร้างความรู้สึกยินดี จากข้างในก่อนส่งออกมาผ่านใบหน้า ยิ่งต้องท�า ระหว่างเกมกอล์ฟมันไม่ง่ายหรอก เวลาจะพัตต์ ดูไลน์เสร็จ เมมีเวลาแค่ 3 วินาทีที่จะยิ้มอย่างมี ความรู้สึกสุขจากข้างใน มีความสุขกับการเล่น ช็อตนัน้ และตีมนั ออกไป นัน่ คือทีม่ าของค�าพูดทีว่ า่ ‘I love this shot.’ เป็นรูทนี ทีเ่ มจะยิม้ และคิดถึงค�านี้ ก่อนจะตีออกไป สรุปสัน้ ๆ คือการสร้างความรูส้ กึ ดีๆ ก่อนออกไปเล่นแต่ละช็อต เราท�าเต็มที่ในสิ่งที่เรา ควบคุมได้แล้วนะ ดังนัน้ ไม่วา่ จะออกมาแบบไหน ก็จะรักมัน ปัจจุบันวิธีการนี้ก็ยังอยู่ และเราให้ ความส� า คั ญ มากขึ้ น กว่ า เดิ ม ด้ ว ยซ�้ า ตลอดปี ทีผ่ า่ นมาต้องเรียนรูก้ บั เรือ่ งนีม้ ากขึน้ ท�าความเข้าใจ ให้ถ่องแท้มากขึ้น เพราะเมื่อคุณมาอยู่ในจุดที่มี คนสนใจเยอะ โดยเฉพาะสนใจแค่ผลลัพธ์ โดยไม่สน ว่าตัวเรารูส้ กึ อย่างไร เรายิง่ ต้องโฟกัสทีต่ วั เองมากขึน้ อยูก่ บั ความรับผิดชอบทีต่ งั้ ไว้มากขึน้ แต่ตอ้ งคิดถึง ผลลัพธ์ให้นอ้ ยลง เพราะหากคิดโน่นคิดนี่ เส้นทาง ที่วางไว้มันจะวุ่นไปหมด

ตรรกะนี้ ดู มั น ย้ อ นแย้ ง กั บ สั ง คมปั จ จุ บั น ที่หลายคนจับจ้องแค่ผลลัพธ์ ตัดสินกันที่ ผลส� า เร็ จ แต่ คุ ณ ก� า ลั ง บอกให้ ป ล่ อ ยวาง แล้วลงมือท�า?

เอรียา : ไม่เชิงปล่อยวาง ยกตัวอย่าง เวลา มีใครถามถึงเป้าหมาย เราจะไม่ตอบว่า แชมป์หรือ ท็อป 10 เพราะนักกอล์ฟทุกก็คนหวังจะชนะอยูแ่ ล้ว แต่อะไรจะท�าให้ได้แชมป์ นั่นคือสิ่งที่ต้องใส่ใจ เหมือนตั้งเป้าจะไปที่ไหนสักแห่ง ถ้าเอาแต่จ้องว่า จะไป แต่ไม่หาทางไป ยังไงก็ไม่ถงึ กลับกัน พอมอง เส้นทาง เราจะเห็นว่าทางมีให้เลือกตัง้ เยอะ ก็เลือก ที่ มั น มี ค วามสุ ข และสามารถพาเราไปถึ ง สิ เรือ่ งประสบความส�าเร็จ เมไม่เคยคิดเลยว่าประสบ ความส�าเร็จมากกว่าโม เพราะคนเรามีเป้าหมาย ในชีวติ ต่างกัน อย่ามาวัดว่าใครส�าเร็จมากกว่าใคร มันวัดกันไม่ได้ เมแค่อยากเป็นนักกอล์ฟที่ดีที่สุด เท่าที่จะเป็นได้ ซึ่งตอนนี้ยังไม่ใช่ โมรียา : ส่วนตัวชอบและรักในความกดดัน ทีต่ วั เองสร้างขึน้ เพือ่ ท�ามันให้ได้ในทุกครัง้ ทีอ่ อกไป เล่น จนบางครั้งกลายเป็นเครียดและกังวลตลอด เวลา แต่จะบอกตัวว่าอย่าเครียด มันก็ไม่หาย


18 ISSUE 575 28 JAN 2019

เราสองคนโตมากั บ ครอบครั ว ที่ ไ ม่ มี เ งิ น ผ่านการดูถก ู มาตัง้ แต่ เด็ก ใครๆ ก็มองว่ากอล์ฟ เป็นกีฬาของคนมีเงิน ค น ที่ ม า เ ล่ น ทั่ ว ไ ป กิ น ข้ า วในคลั บ เฮาส์ แต่ เ ราสี่ ค นพ่ อ แม่ ลู ก กินโรงอาหารกับแคดดี้ แต่ เ ราก็ ไ ม่ ไ ด้ ใ ส่ ใ จนะ มองว่ามันเป็นความสุข ที่ เ ร า ส า ม า ร ถ ท� า พร้อมกันสี่คนได้

โค้ชทีเ่ ข้ามาเปลีย ่ นวิธค ี ด ิ ของพี่น้องจุฑานุกาล Pia Nilsson และ Lynn Marriott คื อ ที ม งานโค้ ช จิ ต วิ ท ยาจาก Vision 54 บริษัทที่ไม่ได้ดูแลนักกอล์ฟ เ พี ย ง เ รื่ อ ง แ ท็ ก ติ ก ห รื อ วงสวิง แต่โดดเด่นในเรื่อง จิตวิทยาการสร้างแนวคิด ที่ ย อดเยี่ ย ม ด้ ว ยเชื่ อ ว่ า ศั ก ยภาพของมนุ ษ ย์ ไ ม่ มี ขี ด จ� า กั ด ทุ ก สิ่ ง เป็ น ไปได้ เสมอ ซึ่งท�าให้พวกเธอเล่น อย่างมีความสุขจนประสบ ความส� า เร็ จ สองพี่ น้ อ ง เริ่มต้นร่วมงานกับสองโค้ช เมื่อต้นปี 2017 ด้วยการพู ด คุ ย เ พื่ อ ห า ท า ง อ อ ก ของปัญหาเรือ ่ งสภาพจิตใจ


19 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

SELFTALK AND HAPPY LIST รู้ ม าว่ า ตอนนี้ โ ปรโมสร้ า งความคิ ด บวกด้ ว ยการท� า บั น ทึ ก ของความสุ ข (Happy List) เล่าให้เราฟังทีวา่ มันคือ อะไร แล้วสร้างพลังบวกได้จริงไหม

หรอก สิ่งที่ท�าได้คือคิดว่าตอนนี้ท�าอะไร ไม่ ใ ช่ ห าทางหนี อ อกไปจากปั ญ หา โมจะคิดหาวิธีที่สามารถท�ามันต่อไปได้ หมายความว่า ถ้าเป้าหมายคืออยากได้ แชมป์ สมมติตอนนี้อยู่ในหลุม 16 เหลือ สามหลุมจบเกม โมเครียดมาก แต่จะท�า ยังไงให้จบหลุมที่ 18 ให้ได้ นั่นคือต้อง อยู่กับตัวเอง โฟกัสกับสิ่งที่เราท�า เพื่อให้ อีก 10 วินาทีต่อมาจะได้ผลที่ดีที่สุด เอรียา : การบริหารความเครียด มันไม่ง่ายหรอก เราแก้ไขเรื่องเมื่อวาน หรือวันพรุง่ นีไ้ ม่ได้ ส่วนตัว คิดแค่วา่ ตอนนี้ เมอายุ 23 ถ้าเมอายุ 40 แล้วมองกลับมา ปัญหาทีเ่ จอในวันนีม้ นั ต้องโคตรเล็ก และ กลายเป็นแค่เรือ่ งเล่าต่อเท่านัน้ แล้วมอง อย่างคน 40 ว่า ไอ้คน 23 ปีทจี่ ะเจอปัญหา แบบที่ ฉั น เจอจะแก้ ผ ่ า นมั น ไปยั ง ไง พยายามมองทุกอย่างให้เล็กไว้ และพร้อม เผชิญมัน เพราะปัญหามันไม่เคยหมดไป นอกจากเราจะตาย วันนีส้ งิ่ ทีเ่ จอ เราคิดว่า มันใหญ่แล้ว วันหน้าจะยิ่งกว่านี้ รู้แบบนี้ ก็สู้กับมัน ตั้งรับกับมัน โมรี ย า : เดี๋ ย วจะงงที่ บ อกว่ า ไม่ ส นใจผลลั พ ธ์ ไม่ ไ ด้ แ ปลว่ า ไม่ มี เป้าหมาย โมเองมีเป้าหมายตลอดเวลา แต่ ห มายถึ ง ว่ า เราต้ อ งเรี ย นรู ้ เ พื่ อ ไปสู ่ สิ่งที่เราต้องการ ไม่ใช่สนใจว่าอยากได้ อะไร แค่เชื่อว่าถ้าท�าได้ในแบบของเรา มันจะพาไปถึงจุดมุ่งหมายได้เอง ชี วิ ต ที่ ไ ม่ ต้ อ งคาดคั้ น กั บ ผลลั พ ธ์ มันเบาสบายอย่างไร บางต�าราเขาว่า ต้ อ งหาความท้ า ทายมากระตุ้ น เร้ า ให้ไปถึงเป้าหมายไม่ใช่เหรอ

เอรียา : ผลลัพธ์มนั คือเป้าหมาย นั่นแหละ มีกันทุกคนอยู่แล้ว เพียงแต่ การลงมื อ ท� า โดยไม่ พุ ่ ง ไปที่ เ ป้ า หมาย อย่างเดียวมันสบาย เพราะไม่ต้องกังวล กับเรือ่ งเหนือการคอนโทรล ใส่ใจกับสิง่ ที่ ควบคุมได้เท่านั้น เช่น เมควบคุมได้ว่า จะนัง่ แบบไหน นอนตรงไหน พูดอะไร หรือ มีความสุขกับชีวติ ยังไง เลยไม่รสู้ กึ กดดัน กั บ ชี วิ ต หากต้ อ งคิ ด ว่ า นั่ ง แบบนี้ จ ะมี คนชอบไหม แบบนั้นมันอยู่นอกเหนือ การควบคุม เขามองมาที่เราคิดอะไรอยู่ เราก็ไม่รู้

เอรียา : เรื่องนี้มาจากความต่างของ โมกับเม เมเองด้วยความเป็นคนอะไรก็ได้ ทุกอย่างดีหมด ปล่อยได้ ตีไม่ดกี แ็ ก้ไป แต่ถา้ วั น ไหนตี ดี จ ะรู ้ สึ ก ตี ดี เ ยอะมาก ขณะที่ โ ม จะสวนทางกั น บางครั้ ง ท� า ออกมาดี ม าก แต่ยงั รูส้ กึ ว่าไม่ดพี อ โค้ชเลยให้บนั ทึกว่าวันนี้ ท�าอะไรที่เป็นเรื่องดีๆ มีความสุขแล้วบ้าง โมรียา : ด้วยความทีเ่ ราเป็น perfectionist อะไรที่เคยคิดว่าดี คิดว่าเป็นเป้าหมาย พอท�าได้จริงก็ยังรู้สึกไม่ดีพอ นี่คือเหตุผล จนโค้ชแนะน�าให้เขียนเลยว่าวันนี้ฉันท�าอะไร ออกมาดีบ้าง วันละ 10 ข้อ เชื่อไหมช่วงแรก ค�าตอบเป็นกระดาษเปล่าไม่เห็นมันจะมีดอี ะไร มันดีแล้วเหรอ ไม่หรอก ยังดีไม่พอเลย เต็มที่ ก็ 2 ข้อ ซึ่งจ�าไม่ได้ด้วยว่าเขียนอะไรลงไป เอรี ย า : ของหนู เ ขี ย นมาเต็ ม หน้ากระดาษเลย อะไรไม่ดีก็มองว่าดี โมรียา : เราต่างกัน เมแค่โอเคก็นบั ว่า ดีได้ แต่ของโมแค่โอเคมันไม่พอ วิธีการคิด แตกต่างกัน ซึง่ เป็นหนึง่ เรือ่ งส�าคัญทีโ่ มเรียนรู้ เพราะสุดท้ายแล้วเราท�าได้แค่เป็นตัวเราให้ดี ทีส่ ดุ ไม่ทา� ร้ายใครก็พอ เราไม่สามารถบังคับ ให้ใครชอบหรือไม่ชอบหรือคิดกับเราแบบไหนได้ เรานี่แหละที่รู้จักตัวเองดีที่สุด โฟกัสที่ตัวเอง ดีกว่า ออกไปท�าให้ดสี ดุ ก็พอแล้ว ก่อนหน้านี้ เคยแคร์มาก แคร์แทบทุกคนทีเ่ ข้ามาจนเหนือ่ ย ตอนนีก้ เ็ ลือกแคร์เฉพาะคนใกล้ตวั หรือครอบครัว ก็พอ คิดได้แบบนีช้ วี ติ โมก็งา่ ยขึน้ เยอะ เอรียา : จุดเปลีย่ นส�าคัญทีท่ า� ให้ชวี ติ เบาลง เมเชื่อว่ามาจากช่วงขึ้นมือหนึ่งโลก ครัง้ แรกแล้วก็ตกลงไป ตอนนัน้ ใช้ชวี ติ ยากมาก คิดอะไรก็ไม่รู้ ตีหลุดไปช็อตหนึ่งก็กลัวว่า คนทีม่ องเข้ามาจะคิดว่าเราไม่ดอี ย่างโน้นอย่างนี้ มือหนึ่งของโลกท�าไมกระจอกแบบนี้ แต่เมื่อ มองย้อนกลับไป จริงๆ แล้วอาจจะไม่มีใคร คิดอะไรเลยก็ได้ ก็แค่คนที่ตีพลาดธรรมดาๆ ก็เท่านั้น ไม่มีใครสนใจ Self-talk ส�าคัญอย่างไรส�าหรับนักกีฬา

โมรี ย า : self-talk เป็ น สิ่ ง ส� า คั ญ ไม่ใช่เฉพาะนักกีฬา แต่ส�าคัญส�าหรับทุกคน แต่ ก อล์ ฟ เป็ น กี ฬ าที่ ร ายละเอี ย ดเยอะ สามารถพลาดได้ ทุ ก ช็ อ ตหากสมาธิ ไ ม่ ดี การคิดคุยกับตัวเองจึงมีบทบาทมากกว่าปกติ เอรียา : ตัวอย่างที่ชัดเจนคือช่วงแย่ ของชีวิต เมตกรอบ 10 รายการติด เซ็งมาก พูดย�้าซ�้าไปซ�้าว่าตัวเองห่วย คิดดูสิ แค่จับ ไม้กอล์ฟก็รอ้ งไห้ได้แล้ว แล้วผลทีอ่ อกมาก็แย่ กว่ า ที่ คิ ด เพราะทุ ก ครั้ ง ที่ บ ่ น คนที่ รั บ ผล ไปด้วยคือโมที่อยู่กับเมตลอด โมเริม่ ตีแย่เหมือนทีเ่ มตี พูดเรือ่ งแย่ๆ อย่างทีเ่ มพูด โมเดินตามรอยเมในทางทีไ่ ม่ดี ตลอด จนทัง้ คุณแม่และโค้ชเห็นท่าไม่ดตี อ้ งเข้า

มาแก้ไข เรือ่ งนีเ้ ป็นประสบการณ์ตรงเลย เมือ่ เรา คิดไม่ดพี ดู ไม่ดี มันมีพลังงานแย่ทไี่ ม่ใช่แค่สง่ ผลต่อ ตัวเรา แต่ยงั ไปถึงคนรอบข้างด้วย ทางแก้คอื เรือ่ ง ไม่ดไี ม่ตอ้ งพูด พูดแค่สงิ่ ดีๆ ถ้าเรือ่ งไม่ดมี นั แวบมา ก็อย่าพูดออกไป ตอนนีถ้ า้ ใครมาได้ยนิ เราคุยกัน หลังตีกอล์ฟมาทัง้ วัน อาจจะรูส้ กึ ท�าไมพีน่ อ้ งคูน่ มี้ นั ขีอ้ วดแบบนี้ ฉันท�าอะไรดีบา้ ง หลุมนีเ้ บอร์ดเี้ ทพมาก โมรียา : โมสวนเลย เบอร์ดหี้ ลุมนัน้ ของฉัน เจ๋งกว่า แต่ไม่ได้แปลว่าเกลียดกัน ทับถมหรือ แสดงออกซึง่ ความมัน่ ใจเกินไป เราแค่อยากรักษา พลังงานดีๆ เอาไว้ตลอดเวลา เอรียา : ลองดูนะ ‘อย่าคิดถึงช้างสีชมพู!’ (หันบอกทุกคนในสตูฯ) แล้วเป็นไง ทุกคนทีไ่ ด้ยนิ ก็จะต้องคิดแล้วว่าช้างอะไรสีชมพู ช้างสีชมพู เข้าไปอยูใ่ นหัวทุกคนแล้ว ลองเปลีย่ นพฤติกรรมดู เริม่ ต้นจากความคิด หรือค�าพูดทีท่ า� ให้รสู้ กึ ซาบซึง้ ในชีวติ มันจะย่อมได้ผลทีด่ กี ว่ามานัง่ คิดว่าท�าไม ไอ้โน่นไม่ดี ซึ่งเราเคยเป็นพอ ท�าได้แล้วเบาลง เยอะ ช็อตที่ไม่ดีหากคิดดียังเป็นแรงบันดาลใจ ให้การตีครั้งต่อไปออกมาดีได้เลย โมรียา : แม้แต่เรื่องที่ไม่ดี บางทีมันก็ ดีพอทีจ่ ะมีความสุขได้ เมือ่ ก่อนไม่เคยเข้าใจค�านี้ เลย ของไม่ดจี ะให้มองว่าดีพอเป็นไปได้ แค่เฉยๆ ก็ไม่ดีแล้ว แต่ตอนนี้คือท�าในสิ่งที่ควบคุมได้ ผลออกมายังไม่ดีมากแต่ดีพอก็โอเคแล้ว ขอแค่ ให้รู้ไว้ว่าคราวต่อไปต้องท�ายังไงถึงจะดีขึ้น เอรียา : และอย่าไปคิดว่ามันยาก ก็แค่ มองหาสิ่งดีๆ ในชีวิต และเรื่องนี้อยากให้ได้ผล มากขึน้ ต้องท�าเป็นทีม ยกตัวอย่างตอนเล่นกอล์ฟ ช่วงเด็กน้อย เมโตมากับคุณพ่อที่ไม่ว่าเราจะตี ออกมายังไง ต่อให้ชนะก็ไม่เคยดีพอ ซึ่งมันก็ดี ในแบบหนึ่ง คือท�าให้เราพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ แต่จะ มีค�าพูดของคุณพ่อที่จ�าแม่นเลยคือ ‘เมเป็นคน ตีไกลนะ แต่ลกู สัน้ ไม่ด’ี แล้วเราจ�าฝังหัวมาตลอด จนมาเทิรน์ โปรก็ยงั เชือ่ แบบนัน้ ไม่เคยคิดว่าพัฒนา แล้ว จนได้แชมป์ แล้วมาทบทวนอีกที และพบว่าที่ ประสบความส�า เร็ จ ได้ ก็ เ พราะลู ก สั้ น ดี สิ่ ง ที่ ต้ อ งการบอกก็ คื อ ค� า พู ด หรื อ ความเชื่ อ จาก รอบข้างส�าคัญมาก ช่วงที่โมเกือบจะได้แชมป์ มีแต่คนพูดว่าได้แค่นี้แหละ ไม่มีใครเชื่อ แต่เม กับแม่ไม่เคยคิดแบบนั้น เราเชื่อว่าโมท�าได้ รู้ว่า พี่สาวเราท�าได้ แค่ไม่รู้ว่าเมื่อไหร่ แต่เชื่อหมดใจ นี่คือเหตุผลที่คุณตอบค�าถามว่าปี 2018 ทีส ่ ว ่ นตัวประสบความส�าเร็จมากเหลือเกิน แต่ โ มเมนต์ ที่ ดี ที่ สุ ด คื อ ช่ ว งเวลาที่ พี่ ส าว ได้แชมป์ครัง้ แรกใช่ไหม

เอรียา : แน่นอน มันย้อนไปครัง้ แรกทีเ่ ม ได้แชมป์แอลพีจเี อ ตอนนัน้ ภาพทีอ่ ยากเห็นไม่ใช่ ตั ว เองได้ แ ชมป์ อี ก หรื อ ประสบความส� า เร็ จ มากขึ้น สิ่งที่อยากเห็นคือโมได้แชมป์ เพราะ เป้าหมายของครอบครัวคือได้เห็นเราทัง้ คูไ่ ด้แชมป์ ยิ่งวันที่รอคอยมาถึงดีใจมาก โมผ่านเรือ่ งหนักๆ มาเยอะ คิดย้อนไปหาก เราเองต้องรอแชมป์อยู่ 5 ปี ไหนจะความกดดันทีถ่ กู เอาไปเปรียบเทียบว่าท�าไมน้องสาวดีกว่า เจอมา ตั้งแต่แต่เด็ก ค�านี้โกรธมาก เป้าหมายชีวิตเรา ไม่เหมือนกัน จังหวะชีวติ คนเราไม่เหมือนกัน โอเค ตอนนี้เราขึ้น ปีหน้าอาจจะเป็นพี่เราก็ได้ที่กด 10 แชมป์ จังหวะมันต่าง แล้วคิดดูสิ ถ้าเราต้อง เจอเรื่องหนักขนาดนี้ อาจจะถอดใจแล้วก็ได้ แต่พคี่ นนีไ้ ม่เคยมีทา่ ทีแบบนัน้ เขาทุม่ เทและเชือ่ ในสิง่ ทีท่ า� ขณะทีค่ นภายนอกไม่สนใจ แล้วคิดดูสิ มันเป็นความเชือ่ ทีแ่ ข็งแรงขนาดไหน เรือ่ งนีเ้ ป็น พลังให้ชวี ติ เมมาก ย้อนกลับไปวัยเด็กพวกคุณเติบโตมาแบบไหน

เอรียา : เราสองคนโตมากับครอบครัวที่ ไม่มเี งิน ผ่านการดูถกู มาตัง้ แต่เด็ก ใครๆ ก็มองว่า

กอล์ฟเป็นกีฬาของคนมีเงิน คนทีม่ าเล่นทัว่ ไปกินข้าว ในคลับเฮาส์ แต่เราสีค่ นพ่อแม่ลกู กินโรงอาหารกับ แคดดี้ แต่เราก็ไม่ได้ใส่ใจนะ มองว่ามันเป็นความสุข ทีเ่ ราสามารถท�าพร้อมกันสีค่ นได้ แต่คนภายนอก จะมองว่าเราจน คนละระดับกับเขา ยิ่งเด็กๆ รุ่นเดียวกันที่เล่นกอล์ฟส่วนมากเรียนอินเตอร์ พ่อแม่รวย ครัง้ หนึง่ เคยจะไปแข่ง แต่เงินในบัญชี คุณพ่อไม่พอซือ้ ตัว๋ เครือ่ งบินส�าหรับสีค่ น สิง่ ทีร่ คู้ อื พ่อสูเ้ ต็มที่ ไม่หยุดจนวินาทีสดุ ท้ายเพือ่ หาเงินไปซือ้ ตัว๋ ให้เราสีค่ นได้บนิ ไปแข่งทีอ่ เมริกา พ่อต้องไปยืม เงินญาติ ต้องตอบค�าถามทีค่ นอืน่ ไม่เข้าใจ บ้า หรือเปล่า ท�าไปท�าไมเรือ่ งแบบนี้ ไม่สง่ ลูกไปเรียน หนังสือเหมือนคนอืน่ เขาล่ะ มีอะไรการันตีหรือไงว่า ลูกจะประสบความส�าเร็จ ซึง่ ก็ใช่ ค�าถามนีไ้ ม่มใี คร รูห้ รอก แต่สงิ่ ทีพ่ อ่ บอกเสมอคือหากครอบครัวหรือ ลูกยังไม่ประสบความส�าเร็จ เราจะไม่มวี นั ล้มเลิก ณ ตอนนีค ้ วามสุขของคุณทัง้ คูอ ่ ยูท ่ ไี่ หน

เอรียา : การที่ครอบครัวได้อยู่ร่วมกัน ใช้ชีวิต ผ่านปัญหา ประสบความส�าเร็จ ได้มา ถึงฝันพร้อมกัน ไม่ได้บอกว่ามีทุกอย่างแล้ว แต่มพี อแล้ว มีชวี ติ ทีด่ มี าก มีพที่ เี่ ข้าใจเมทุกอย่าง มีเพือ่ นทีเ่ ป็นเหมือนอีกครึง่ หนึง่ ในชีวติ มีคณ ุ แม่ ที่สนับสนุนทุกอย่ าง ทุกวันนี้เราอยู่ คอนโดฯ ห้ อ งนอนเดี ย วกั น สามคน คุ ณ แม่ น อนโซฟา เมนอนพื้น โมนอนเตียง แต่โคตรมีความสุขเลย เราไม่ได้มีครบแต่มีพอจนสามารถแบ่งให้คนอื่น เขามีความสุขแบบทีเ่ รามีได้ อีกสิง่ ทีม่ คี วามสุขมาก คือตอนนี้ เมไม่ยดึ ติดกับอดีต ไม่กงั วลว่าอนาคต จะเป็นยังไง เรามีความสุขในปัจจุบันแล้ว โมรียา : ช่วงปลายปีทผี่ า่ นมามีคา� ถามว่า คริสต์มาสนีอ้ ยากขออะไรจากซานต้า ตอบไม่ได้ เลย ไม่รู้จะขออะไร เพราะเรามีพอแล้ว ถามว่า ความสุขที่สุดอยู่ตรงไหนก็อยู่ตอนนี้แหละ ‘มี พ อแล้ ว ’ พู ด แบบนี้ ค งไม่ ไ ด้ ห มายถึ ง จะเลิกเล่นกอล์ฟใช่ไหม

โมรียา : ยังหรอก เพราะมีเป้าหมาย อย่างอื่นอีก เหมือนที่บอก แรงกิ้งไม่ส�าคัญแล้ว แต่ยังมีอีกหลายอย่างในชีวิตกอล์ฟที่อยากได้ แต่ ยั ง ไปไม่ ถึ ง ยกตั ว อย่ า งปี นี้ ตั้ ง เป้ า เป็ น นักกอล์ฟที่มีทัศนคติดีตลอดเวลา รวมถึงกอล์ฟ ยังพาเราไปยังจุดหมายอื่นในชีวิตได้อีกด้วย นีค ่ อ ื ทีม ่ าของมูลนิธโิ มรียา-เอรียา? (มูลนิธิ ของสองพี่ น้ อ งนั ก กอล์ ฟ ที่ มี จุ ด ประสงค์ เพือ ่ การส่งเสริมการศึกษาและการกีฬา)

เอรียา : เป็นอีกหนึ่งเป้าหมายในชีวิต เมเชื่ อ ว่ า คนเราเกิ ด มามี ห น้ า ที่ ไ ม่ เ หมื อ นกั น มูลนิธเิ ป็นอีกหนึง่ สิง่ ทีอ่ ยากท�านอกจากกอล์ฟ ลึกๆ แล้วเมไม่ได้ตงั้ เป้าจะเป็นนักกอล์ฟทีย่ งิ่ ใหญ่อะไร แต่ ชี วิ ต ที่ มี ค ่ า คื อ ชี วิ ต ที่ ไ ด้ ช ่ ว ยคนอื่ น ตอนนี้ เป้าหมายแรกทีว่ างไว้ตอนเริม่ เล่นกอล์ฟคือดูแล ครอบครัว ก็ทา� ได้แล้ว เลยอยากจะช่วยคนอืน่ อีก เพราะเขาควรจะได้มีโอกาสในชีวิตดีกว่านี้ ก่ อ นหน้ า นี้ เ มเคยคิ ด ว่ า มื อ หนึ่ ง โลก มันไม่มีค่าส�าหรับเม แต่ตอนนี้รู้แล้วว่ามันมีค่า ค�าพูดของเราจะมีความหมายมากขึ้นและเป็น แรงบันดาลใจได้ หากเราเป็นมือหนึ่งของโลก คิดแบบนี้เราก็มีความสุข และลงมือท�ามันได้ต่อ ส่วนตัวเชือ่ ว่าการได้ฟงั ใครสักคนทีช่ วี ติ เคยตกลง ไปต�่าสุด ไม่ได้ท�าในสิ่งที่รักไปเป็นปี คนที่ผ่าน ความล�าบาก ต้องขายบ้านเพือ่ ออกไปตามความฝัน เมเชื่อว่าเรื่องของคนแบบนี้สามารถเป็นแรงบันดาลใจและสอนให้รไู้ ด้วา่ ไม่วา่ เราจะตกลงไป ต�า่ แค่ไหน หากเราพร้อมทีจ่ ะลุกขึน้ สูจ้ นสุดก�าลัง เราก็จะได้มนั มา ชีวติ เมเองไม่ได้เรียบง่ายสวยหรู มันเป็นชีวติ ทีข่ นึ้ สุดลงสุด ถึงเชือ่ ว่าสามารถบอก เด็กๆ ได้ว่า อย่ากลัวที่จะล้มแต่จงกลัวมากกว่า หากล้มแล้วไม่กล้าลุก


20 issue 575 28 JAN 2019

CALENDAR

28

M 29

T 30

W 31

TH 01

F 02

SA 03

S

MeMories of local life

THe DiViNe orDer

eTerNal Praise

MaNussaNuNg

galleries NigHT 2019

sex MaYa MaxiM

la cage aux folles

นิ ท รรศการ ‘บั น ทึ ก ... พื้ น ถิ่ น ’ โดย รวี พ ล ประดิ ษ ฐ จากความผูกพันในวิถีชีวิตพื้นถิ่น ทางภาคใต้ ที่ท�าให้เห็น ความร่วมมือร่วมใจของ ผู้คนในชุมชนที่มีความเชื่อความศรัทธาจากรุ่น สู ่ รุ ่ น ของงานประเพณี ชักพระ ท�าให้เกิดเป็น งานวิจิตรศิลป์แบบช่าง ชาวบ้านในการประดับ ตกแต่ ง งานศิ ล ปกรรม พื้ น ถิ่ น ภาคใต้ วั น นี้ ถึง 31 มกราคม 2562 ณ บายยูห่ ยวน แกลเลอรี, ล้ง 1919

ภาพยนตร์ เ รื่ อ ง ‘The Divine Order’ โนราอาศัย อยู่กับสามีและลูกชาย ในหมู ่ บ ้ า นเล็ ก ๆ อั น แสนสงบ แม้ จ ะเกิ ด ความเปลี่ยนแปลงเชิง โครงสร้างทางสังคมใน ยุโรป แต่ในหมู่บ้านนี้ กลั บ ไม่ ค ่ อ ยมี อ ะไร เปลี่ยนแปลงไปมากนัก จนกระทัง่ วันหนึง่ เธอเริม่ ลุกขึน้ เรียกร้องให้ผหู้ ญิงได้ มี สิ ท ธิ์ ใ นการเลื อ กตั้ ง และจุดประกายผู้หญิง ในหมูบ่ า้ นให้รว่ มมือกัน ชมฟรี วันนี้ เวลา 19.30 น. ณ สถาบันเกอเธ่

นิ ท รรศการ ‘สรรเสริญ นิรนั ดร’ โดย ศรีชาญ อริยชัยประเสริฐ สร้างสรรค์ ภาพจิ ต รกรรมแบบ เหนือ จริง แปรเปลี่ย น รู ป ลั ก ษณ์ เ พื่ อ แสดง สามัญลักษณะแห่งสัจจะ โดยท�าให้โครงร่างของ มนุษย์ในภาพพร่าเลือน เพื่อลดทอนเอกลักษณ์ เฉพาะของแต่ละบุคคล ออกไป เหลื อ ไว้ เ พี ย ง เ รื อ น ร ่ า ง ที่ ป ร า ก ฏ สัญลักษณ์จา� เพาะ วันนี้ วันสุดท้าย ณ พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ถ.เจ้าฟ้า

นิทรรศการ ‘มนุสสานัง’ โดย 31 ศิ ล ปิ น ทั้ ง ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ และ ศิลปินรุ่นใหม่ สะท้อน มุ ม มองความคิ ด ฝั น ปรั ช ญา ความเชื่ อ วัฒนธรรม และเรือ่ งราว แห่งมวลมนุษย์ทผี่ สาน แนบแน่นในวัฒนธรรม ไทย วันนีถ้ งึ 10 มีนาคม 2562 ณ พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะ ไทยร่วมสมัย (MOCA Bangkok) ถ.วิภาวดีรงั สิต (เว้นวันจันทร์)

ค้นพบพื้นที่ศิลปะของ กรุงเทพฯ ในตอนกลางคืน กับแกลเลอรีมากกว่ า 50 แห่ ง และกิ จ กรรม พิ เ ศษที่ จั ด แสดงเป็ น พิเศษส�าหรับสองค�า่ คืน สุดแสนพิเศษ ใน ‘Galleries Night 2019’ วันนี้ และ 2 กุมภาพันธ์ 2562 ติ ด ตามแกลเลอ รี ที่ เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมได้ ที่ www.facebook .com/ galleriesnight

นิทรรศการ ‘เพศ-มายาคติ’ โดย อัยฤทธิ์ ธิลา มายาคติ แ ห่ ง เ พศวิ ถี ความหมายที่ถูกซ่อน ภายใน ระบบทางสังคม และสถานะเพศหญิงที่ ถูกกดทับโดยเ พศชาย โดยศิลปินได้ หยิบยก ทฤษฎีการตีความหมาย เชิงสัญวิทยา เพื่ออ้าง ถึงมิติเรื่อ งเพศที่ก�าลัง เกิดขึ้น ว่า แท้จริงแล้ว เกิดจากสิ่งใด วันนี้ถงึ 9 กุ ม ภาพั น ธ์ 2562 ณ MIDNICE Ga llery โชคชัย 4 ซอย 18 (เว้น วันอาทิตย์และจันทร์)

ละครเพลงบ รอดเวย์ ‘La Cage Aux Folles’ จอร์จ เจ้าของคาบาเรต์ ต้องอ�าพรางความเป็น เกย์และคู่ชีวิตนางโชว์ ของเขา คืออัลแบง เพือ่ ให้ ลูกชายของเขาซึง่ อัลแบง เลี้ยงดูมาด้วยความรัก ได้แต่งงานกับลูกสาว ของหัวหน้าพรรคอนุรกั ษ์ ครอบครัว ประเพณีและ สังคมผูต้ ่อต้านเกย์ วันนี้ ถึง 10 กุมภาพันธ์ 2562 ณ โรงละครเอ็มเธียเตอร์ จ�าหน่ายบัตรที่ Ticketmelon.com (เฉพาะวัน ศุกร์ถึงวันอาทิตย์)

WHERE TO FIND

Where the conversations begin. adaybulletin.com

หมอชิต

Meet

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

Up

สยามสแควร์

Every อโศก

Monday!

ศาลาแดง

BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น. หมอชิต อโศก

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ศาลาแดง

สยาม

Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ากว่า 100 จุดทั่วประเทศ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน



22

BULLETIN BOARD

ISSUE 575 28 JAN 2019

TA L K O F T H E T O W N ‘ไทยเบฟ... รวมใจต้านภั ย หนาว ปี ที่ 19’ ก่อนที่ลมหนาวจะมาเยือนประเทศไทย ในทุกๆ ปีของเดือนพฤศจิกายน บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จ�ากัด (มหาชน) จะน�า รถบรรทุกผ้าห่มผืนเขียวของโครงการ ‘ไทยเบฟ... รวมใจต้านภัยหนาว’ ออก เดินทางไปยัง 15 จังหวัดในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อน�า ผ้าห่มจ�านวน 200,000 ผืน ไปมอบให้กบ ั เหล่าพีน ่ อ้ งผูป ้ ระสบภัยพร้อมกับพันธมิตร เพือ ่ เรียกรอยยิม ้ และความสุข พร้อมทัง ้ การช่ ว ยเหลื อ ทั้ ง ในด้ า นการศึ ก ษา การแพทย์ และกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ จนเป็นคาราวานแห่งความอบอุน ่ แสดงถึง ความห่ ว งใยในกั น และกั น ของคนไทย ที่เดินทางด้วยกันมาอย่างยาวนานถึง 19 ปี

SPREADING LOVE TO NORTHEAST THAILAND ​ไทยเบฟ...​รวมใจต้านภัยหนาวปีที่​19​ออก เดินทางสู​่ 8​จังหวัดในภาคอีสาน​โดยเริม่ ต้นทีจ่ งั หวัด นครราชสีมาเป็นจังหวัดแรก​ก่อนจะเดินทางต่อเนือ่ ง ไปยังมหาสารคาม​ร้อยเอ็ด​นครพนม​สกลนคร​บึงกาฬ​ หนองคาย​และหนองบัวล�าภู​โดยน�าผ้าห่มผืนเขียว มอบผ่านท่านผู้ว่าราชการจังหวัด​จากความร่วมมือ ของกระทรวงมหาดไทย​และกรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย​ท�าให้คาราวานแห่งความอบอุน่ สามารถ กระจายผ้าห่มให้ถึงมือพี่น้องผู้ประสบภัยในอ�าเภอ ต่างๆ​อย่างทั่วถึง​โดยในปีนี้มีจ�านวนผ้าห่มที่มอบ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวมทั้งสิ้น​105,000​ผืน​ ก่อนจะเดินทางไปมอบความสุขต่อไปในภาคเหนือ ​นอกจากจะมอบความอบอุน่ ผ่านผ้าห่มผืนเขียว แล้ว​โครงการไทยเบฟ...​รวมใจต้านภัยหนาวปีที่​19​ ยังน�ากิจกรรมอันเป็นประโยชน์จากพันธมิตรภาคส่วน ต่างๆ​ไปมอบให้กบั พีน่ อ้ งผูป้ ระสบภัยด้วย​ไม่วา่ จะเป็น กิจกรรมชุมชนดีมรี อยยิม้ ​และช้างโมบายฟุตบอลยูนติ ​ ร่วมสร้างเสริมทักษะด้านกีฬาและดนตรีแก่น้องๆ​ใน พืน้ ที​่ กิจกรรมตรวจสุขภาพจากหน่วยแพทย์เคลือ่ นที​่ โรงพยาบาลรวมแพทย์ยโสธร​กิจกรรมเสริมสร้าง ความรูจ้ ากกลุม่ นักศึกษาโครงการผูป้ ระกอบการรุน่ ใหม่ เพื่อสังคม​(Beta​Young​Entrepreneur)​มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย​โครงการให้น้องจากใจไทยเบฟ​มอบ อุปกรณ์การเรียน​อุปกรณ์กฬี า​และคอมพิวเตอร์​จาก บริษัท​เคพีเอ็มจี​ภูมิไชยสอบบัญชี​จ�ากัด​รวมไปถึง บูธกิจกรรม​อาหาร​เครือ่ งดืม่ ​จากพันธมิตรหลากหลาย หน่วยงานที่มาช่วยกันอย่างอุ่นหนาฝาคั่ง


23 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

อั พ เ ด ต แ ว ด ว ง ข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจ ในรอบสัปดาห์

ส่ งต่ อ ปณิธ านแห่ง การให้ สู่ ร อยยิ้ มของพี่ น้ อ งผู้ ประสบภัยชาวไทย SPREADING LOVE TO NORTHERN THAILAND โ​ครงการไทยเบฟ...​รวมใจต้านภัยหนาว​เดินทาง ต่อไปยังภาคเหนือของประเทศไทย​น�าความอบอุ่น ไปสู่พนี่ ้องในภาคเหนืออีก​6​จังหวัด​ได้แก่​พิษณุโลก​ สุโขทัย​อุตรดิตถ์​แพร่​พะเยา​และปิดท้ายทีจ่ งั หวัดน่าน​ โดยมอบผ้าห่มอีกจ�านวน​95,000​ผืน​รวมจ�านวนทัง้ สิน้ ​ 200,000​ผืน​ซึง่ การเดินทางขึน้ เหนือในครัง้ นี​้ นอกจาก จะมอบความอบอุ่นผ่านผ้าห่มผืนเขียว​และมอบ ความห่วงใยผ่านกิจกรรมอันเป็นประโยชน์จากหน่วยงาน พันธมิตรหลากหลายภาคส่วนที่ร่วมเดินทางไปกับ โครงการฯ​แล้ว​ยังมีความประทับใจเล็กๆ​ทีส่ ร้างรอยยิม้ ให้เกิดขึ้นทั้งกับ​‘ผู้ให้’​และ​‘ผู้รับ’​ไปพร้อมๆ​กัน​ ซึง่ มาจากเหล่านักแสดงจิตอาสาทีร่ ว่ มเดินทางมามอบ ความสุข​และร่วมแจกผ้าห่มกับทางโครงการไทยเบฟ...​ รวมใจต้านภัยหนาวปีท​ี่ 19​ไม่วา่ จะเป็น​‘แพนเค้ก’​-​ เขมนิจ​จามิกรณ์​ทีม่ าแบ่งปันแนวคิดดีๆ​จากการด�าเนิน ชีวิตตามรอยพระราชด�าริเกษตรทฤษฎีใหม่​พร้อม มอบความสุขผ่านเสียงเพลงไพเราะจาก​‘อูม’​-​วิยะดา​ อุมารินทร์,​‘แตน’​-​ราตรี​วิทวัส​และ​ยิง่ ยง​ยอดบัวงาม​ ทีร่ ว่ มคาราวานนัง่ รถอีแต๊กเข้าไปมอบผ้าห่มและน�้าดืม่ จนถึงมือผูป้ ระสบภัยในเส้นทางทุรกันดาร​นอกจากนัน้ ยังมี​‘น้องอาจัว’​-​มธุรดา​เลาว้าง​เด็กสาวผูเ้ คยได้รบั ผ้าห่มจากโครงการฯ​เมื่อปี​พ.ศ.​2546​มาร่วมเป็น จิตอาสาแจกผ้าห่มในครั้งนี้ด้วย​ เรียกได้ว่าความสุข เล็กๆ​ทีเ่ กิดขึน้ จากการให้น​ี้ จะจุดประกายให้เกิดการสร้าง ผู้ให้ต่อไปอย่างไม่สิ้นสุด

ไทยเบฟ... รวมใจต้ า นภั ย หนาว ปีที่ 19 ​ด้วยปณิธานแห่งการให้​น�ามาซึง่ ความร่วมมือ จากพันธมิตรทีม่ จี า� นวนเพิม่ มากขึน้ ในทุกปี​‘ไทยเบฟ...​ รวมใจต้านภัยหนาว’​จึงเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของ การสร้างสังคมแห่งการให้และแบ่งปันที่เชื่อว่าจะ สามารถขยายไปสู ่ ทุ ก ภาคส่ ว นของประเทศไทย​ และยังคงตัง้ มัน่ สานต่อปณิธานแห่งการให้นใี้ ห้ยงั่ ยืน ตลอดไป​และบริษัท​ไทยเบฟเวอเรจ​จ�ากัด​(มหาชน)​ ยังคงตัง้ มัน่ ทีจ่ ะส่งต่อรอยยิม้ และความอบอุน่ แก่พนี่ อ้ ง คนไทยผ่านโครงการ​‘ไทยเบฟ...​รวมใจต้านภัยหนาว’​ ต่อไป​โดยมุง่ หวังให้ผา้ ห่มผืนเขียวนีเ้ ป็นสัญลักษณ์แห่ง ความห่วงใยที่คนไทยมีให้แก่กันเสมอมา​และมุ่งหวัง ให้ปณิธานแห่งการให้ได้ขยายผลไปสูพ่ ลังความร่วมมือ ของทุกภาคส่วนในการร่วมกันสร้างสังคมแห่งการให้ ทีย่ งั่ ยืน​เมือ่ รวมระยะเวลา​19​ปีทผี่ า่ นมา​‘ไทยเบฟ...​ รวมใจต้านภัยหนาว’​ได้มอบผ้าห่มถึงมือคนไทยแล้ว ถึง​3,800,000​ผืน​


LIFE

เรื่อง

ทรรศน หาญเรืองเกียรติ บรรณาธิการบทความ IG: @matt_doraemon

พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai

ภาพ ภัทรพร บุญน�าอุดม บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ pattaraporn1331@gmail.com

ธนดิษ ศรียานงค์ ช่างภาพ thanadis@gmail.com

รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล ISSUE 575 ช่างภาพ sangmeesinsakul FB : ratchaphak 28 JAN 2019

40

HOW TO

40 4 0 40 40 40 4 40 0 S U R V I V E

M I D L I F E

GETTING

WITH FAILED LOVE, SHATTERED DREAM , NO MONEY AND HATE YOUR JOB

1

2


25 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

0

40 040 4 4 0 40 0 404 0

E

C R I S I S

:

- SOMETHING

3

4 1. PHOOSIK PAT TA N A P R A G A N 2. PUTTIYOS PHALAJIVIN 3.ANANDA EVERINGHAM 4.THIDA PLITPHOLKARNPIM

วิ ก ฤตวั ย กลางคน หรื อ Midlife Crisis เป็นสภาวะของคนที่อยู่ในช่วงอายุ ประมาณ 35-50 ปี ซึ่งเป็นอาการของคน ที่กลับมาคิดทบทวนชีวิตว่าตอนนี้ตัวเอง ท�าอะไรอยู่ แล้วเป้าหมายชีวิตของตัวเอง คืออะไร ซึ่งหลายๆ คนจะพบว่าตัวเองเริ่ม เหนื่อยหน่าย ท้อแท้ เมื่อพบว่าตัวเองยังไป ไม่ถง ึ ไหนหรือไม่ประสบความส�าเร็จในชีวต ิ เลย ซึ่ ง ความผิ ด หวั ง นั้ น มี ทั้ ง เรื่ อ งของ หน้าทีก ่ ารงานทีห ่ ยุดนิง ่ ไม่กา้ วหน้าไปไหน และบางทีกอ ็ าจอยูใ่ นสถานะการถูกเลิกจ้าง การสู ญ เสี ย บุ ค คลที่ รั ก ในครอบครั ว ปัญหาด้านการเงิน ความเจ็บป่วยของตัวเอง จนเกิ ด เป็ น ความกลั ว เพราะรู้ สึ ก ว่ า ชี วิ ต ก�าลังนับถอยหลังไปสู่ความตาย ความหวาดหวัน ่ ทีเ่ กิดขึน ้ นีไ้ ม่ใช่แค่เรา ที่รู้สก ึ ได้ มีคนอีกมากมายที่เกิดความวิตก ในเรื่ อ งนี้ ด้ ว ยเหมื อ นกั น เพราะปั ญ หา ของชี วิ ต หลั ง อายุ 35 ปี ถื อ ว่ า เป็ น ช่ ว ง หั ว เลี้ ย วหั ว ต่ อ ยุ ค ที่ ส องของคน ซึ่ ง มี ทั้ ง ความสับสน หวาดหวัน ่ และความวิตกกังวล อย่างรุนแรงกว่าสมัยเป็นวัยรุ่น เราจึงพาคุณไปพบกับบุคคลทีค ่ รัง้ หนึง่ เคยพบ เคยเจอ เคยรู้สึกกับปัญหาวิกฤต วัยกลางคนในด้านต่างๆ มาแล้ว ทัง ้ คุณลุง สุดเก๋า ทีบ ่ อกกับตัวเองว่าไม่วา่ จะอายุเท่าไหร่ ก็ตาม เขาจะไม่มว ี น ั เลิกเป็นคนเก๋ๆ เด็ดขาด นักแสดงหนุ่มรูปหล่อขวัญใจคนไทยที่พบ ความจริ ง ของชี วิ ต เมื่ อ อายุ เ ข้ า สู่ เ ลข 36 การเปลีย ่ นแปลงทีเ่ กิดขึน ้ ท�าให้เขามองชีวต ิ ในมุมใหม่ ให้เป็นคนที่อ่อนโยน ปล่อยวาง และบอกรั ก พ่ อ ได้ อ ย่ า งไม่ เ คอะเขิ น หรื อ นักดนตรีอน ิ ดีท ้ อ ี่ ยูใ่ นวงการเพลงมา 15 ปี ซึ่ ง ต้ อ งรั บ มื อ กั บ ความเปลี่ ย นแปลงของ ชีวิต ทั้งในด้านการกลับมาท�างานประจ�า เพื่ อ ความมั่ น คง การเจ็ บ ป่ ว ยอย่ า งหนั ก ข อ ง ผู้ เ ป็ น พ่ อ ที่ ห วั ง จ ะ ไ ด้ เ ห็ น ลู ก ช า ย แต่ ง งานเป็ น ฝั่ ง เป็ น ฝา ซึ่ ง ต้ อ งก้ า วผ่ า น ความกลัวแล้วไปให้ถึงเป้าหมายนั้นให้ได้ รวมทั้งผู้หญิงสุดแกร่งที่พร้อมเข้าชนกับ ปั ญ หาต่ า งๆ ในชี วิ ต โดยมองว่ า อายุ ที่ มากขึน ้ ก็กลายเป็นก�าลังหนุนอย่างดีให้เธอ สามารถรับมือกับปัญหาที่ยุ่งยากได้อย่าง อารมณ์ดี


26 ISSUE 575 28 JAN 2019

01

LIVING TO THE FULLEST

' PATU E K ' PH O OS I K PATTA NAP RAGA N “เมือ่ ชีวต ิ ก�าลังอ่อนโรย ดังเจ้าพระยา ทีด ่ เู หือดแห้ง สภาวะทีด ่ อ ู อ ่ นแรง และสิน ้ หวัง ได้ยน ิ เสียงข้างในจิตใจ ได้เรียกร้องให้ทา� ตามทีฝ ่ น ั เพราะ ชีวิตยังต้องการพลัง ให้ก้าวเดิน ด้วยความกล้าหาญ” เพลง : ชีพจร ศิลปิน : ภูมจ ิ ต ิ

ก ล้ า พู ด อ ย่ า ง เ ต็ ม ป า ก เ ล ย ว่ า ‘ป๋าตึก’ - ภูษก ิ พัฒนปราการ คือ คนอายุ 66 ปีทจี่ ด ั จ้านทีส ่ ด ุ เท่าทีเ่ รา เคยเจอมา เพราะแม้ตวั เลขอายุเขา จะจัดอยูใ่ นวัยชราทีอ ่ าจต้องประสบ กับความอ่อนล้าทางร่างกาย แต่ จิตใจก็ยง ั เรียกร้องความเปรีย ้ วเก๋ สนุกสนาน และโหยหาความตืน ่ เต้น ใหม่ๆ อยูต ่ ลอดเวลา สิง่ เหล่านีส ้ ะท้อน ออกมาอย่ า งชั ด เจนจากเสื้ อ เชิ้ ต ตัวยาวสีชมพู แว่นกันแดดสีแดงสด และรองเท้า Balenciaga ลวดลาย เท่ๆ ซึง ่ เป็นเหมือนสัญลักษณ์ทเี่ ขา แสดงออกให้โลกรูว้ า่ วิกฤตวัยไหน ก็ท�าอะไรเขาไม่ได้ ถ้าเรารู้วิธีที่จะ สนุกกับชีวต ิ ในทุกวัน

เรามาเยี่ยมป๋าตึกถึงบ้านของเขาใน ย่านลาดพร้าว หลังจากถามไถ่เรื่องทั่วไปกัน พักใหญ่ เขาก็เริ่มเล่าเรื่องการไปออกบูธขาย ของ มิลานแฟชัน่ วีก ลูกสาวสองคนทีป่ ัจจุบนั อยู่อังกฤษ การแต่งตัวของนักการเมืองไทย ยาวไปถึ ง เรื่ อ งเล่ น พระและการดู ล ายมื อ โดยมีเรานั่งฟังไปข�าไป พลางนึกแปลกใจว่า คนอายุเท่านี้ยังท�าให้ชีวิตตัวเองเต็มไปด้วย สีสันขนาดนี้ได้อย่างไร “กูพดู เหีย้ อะไรอยูเ่ นีย่ ! เอ้า! เข้าเรือ่ ง!” ป๋าตึกเบรกตัวเองเสียงดัง ท�าเอาเราสามคน หัวเราะลั่นออกมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ ก่อนจะมาเป็นสไตล์ไอคอนชื่อดังของ เมืองไทย ป๋าตึกเคยเป็นเด็กหาดใหญ่ธรรมดาๆ ที่ชอบดูหนัง อ่านหนังสือ เพื่อเปิดโลกทัศน์ ของตัวเอง “เราเป็นเด็กต่างจังหวัด สมัยก่อน ไม่มีอินเทอร์เน็ต จะเปิดโลกตัวเองมันยาก ก็เลยอาศัยการดูหนัง พอดูแล้วก็มคี วามฝันนะ เห็น สตีฟ แม็กควีน แล้วก็อยากแต่งตัวแบบ เขา เท่ ม าก (เน้ น เสี ย ง)” พออายุ ยี่ สิ บ กว่ า ป๋าตึกกับภรรยาก็จบั พลัดจับผลูไปอยูอ่ งั กฤษ ท�าให้ลูกสาวเกิดมาได้สัญชาติบริติช โดยมี คุณพ่ออย่างเขาคอยท�างานทุกอย่างทีพ่ อท�าได้ “แล้วป๋าเคยเจอวิกฤตหรือปัญหาอะไร ตอนเข้าสูว่ ยั กลางคนไหม” เราเอ่ยถามป๋าตึก ด้วยความสงสัย “โห สู ้ ฉิ บ หาย อาจเพราะความจน ของเราตอนเด็กมันท�าให้เราอยากเป็นคนรวย อยากใส่โรเล็กซ์ มันเป็นความฝันของเรา เลย ไม่ได้รู้สึกว่าเราอยู่ในวิกฤตอะไร สู้อย่างเดียว ตอนอายุประมาณ 40 ก็ไปท�าธุรกิจอยูแ่ อฟริกา ท�าอยู่เป็นสิบปี ทั้งในแทนซาเนีย แซมเบีย เคนยา จนทางการเขาสงสัยว่ามึงมาท�าอะไร

บ่อยขนาดนี้ มันต้องมีอะไรตุกติกแน่ๆ ตอนนัน้ ชีวิตตื่นเต้นตลอด มันเหมือนหนังสือที่ไม่ได้ เขียนอะไรเลย แต่เราจะท�ายังไงให้มนั เป็นนิยาย ทีต่ นื่ เต้น สนุก ก็อย่าไปกลัวอะไรทัง้ นัน้ เดีย๋ วนี้ ป๋าแก่แล้วเลยเริม่ ปอด แต่หนุม่ ๆ ไม่กลัวอะไร ทั้ ง สิ้ น พอเป็ น คนกล้ า คนก็ ก ล้ า มาลงทุ น ท�าธุรกิจกับเรา “พอถึงวัยนี้แล้วก็ไม่เคยกลัวว่าตัวเอง จะแก่นะ ต้องมีแรงบันดาลใจทีร่ นุ แรงเหมือนกัน กูอายุ 60 ก็ยังไปสักอยู่เลย ความคลุ้มคลั่ง ของเรามั น ไม่ มี วั น หมด จะไปโดดร่ ม เป็ น โรบินฮู้ด ท�าอะไรก็ได้ 40 ยังเป็นโรบินฮู้ดไหว เลย ขนาดพ่ออายุ 70 กว่า ยังส่งพ่อไปล้างจาน ทีอ่ เมริกาเลยว่ะ (หัวเราะ) ให้เอาตัวรอด ตอนแรก ก็คิดว่าไม่ไหว ปรากฏถ่ายรูปใส่เสื้อหนาว แฮปปี้ เก๋ไปอีก” ป๋าตึกแนะน�าว่าตอนไหนทีร่ สู้ กึ ว่าชีวติ ไม่ตื่นเต้นแล้ว ลองย้ายไปอยู่ต่างประเทศ สักพักก็ชว่ ยได้มากเหมือนกัน “เราได้เห็นสเกล ของโลกที่มันใหญ่มาก ประเทศเราสเกลเล็ก ตอนไปอเมริกาป๋าคิดว่า กูไม่มีทางจนเลย คนเยอะขนาดนี้ ประเทศเขามีกึ๋น ช่วยเปิด ความคิดเราได้ ตอนนี้ยังไม่อยากตาย เพราะ กูยังไม่เคยได้ใส่ Yamamoto เลย (หัวเราะ) มันก็เป็นความสุขของเราอะเนอะ ใส่เสื้อเท่ๆ นั่งพารากอน” เราเหลื อ บไปเห็ น คอลเลกชั น หมวก รองเท้า และเสือ้ ผ้ามากมายในบ้านของป๋าตึก ในขณะทีค่ นวัยท�างานมากมายตัง้ ใจเก็บเงินก้อน ไว้ใช้หลังเกษียณ แต่ปา๋ ตึกกลับไม่ได้เห็นด้วย ทัง้ หมด “เคยมีคนมาถามว่าป๋ารวยขนาดไหน ป๋าก็บอกว่า มึงอย่าถามว่าป๋ามีเงินเท่าไหร่ ถามว่าป๋าใช้เงินไปเท่าไหร่ดีกว่า (หัวเราะ)

จะมีเงินเยอะไปท�าไม จุกตูดตายห่า ตายไป ก็เท่านั้น” เขาให้ความเห็นว่า ค�าถามทีส่ า� คัญกว่า การมี เ งิ น เท่ า ไหร่ คื อ เรามี เ งิ น เพื่ อ อะไร “คุณแค่โดนอบรมสั่งสอนจากผู้ใหญ่ว่าคุณ ต้ อ งมี เ งิ น อ้ า ว แล้ ว มี ไ ปท� า ไม ต้ อ งใช้ มั น ให้เป็นประโยชน์ แล้วก็ช่วยคนรอบข้างด้วย แต่ไม่ใช่ฟมุ่ เฟือยจนโง่ จนล�าบาก มีเงินก็ตอ้ ง ใช้แหละ แต่ใช้อย่างฉลาด ป๋ามีแม่ ตอนแม่ ไม่สบายเราก็ต้องมีเงินรับผิดชอบ “แต่ถา้ เป็นเรือ่ งของตัวเอง ป๋าใช้แหลก เลย ถ้าป๋ามีเงินนั่งเครื่องบินเฟิสต์คลาสได้ ป๋านั่งเฟิสต์คลาสทันที ถ้าหมดไปแล้วป๋าก็ ไม่เสียดาย เพราะกูนั่งมาแล้ว แต่ถ้าเป็นแม่ แม่ด่าฉิบหาย มึงซื้อตั๋วราคาเป็นแสนท�าไม ซื้อสามหมื่นก็พอ แต่ป๋าก็อยากลองสักครั้ง คนโบราณเขาชอบด่าว่า ซื้อของแพงแล้ว เหาะได้เหรอ ใส่รองเท้าคู่เป็นหมื่นมึงเหาะ ได้ ห รื อ ไง มึ ง ก็ เ หาะไม่ ไ ด้ เ หมื อ นกู แ หละ แต่กูมีคนมอง ลงหนังสือ มีรายได้ ตอนป๋า ไปอยู่อังกฤษก็ไปเทสต์หน้ากล้อง เพราะเขา ต้ อ งการคนหน้ า เอเชี ย ก็ ไ ปเลย ท� า อะไร ท�าให้สุด “ถ้ า เราฟุ ่ ม เฟื อ ยวั น นี้ แ ล้ ว วั น หน้ า จะล�าบาก เราก็ต้องล�าบาก สู้ตาย (หัวเราะ) ถึงแม้ลกึ ๆ จะมีกลัวเหมือนกัน นีป่ า๋ ก็ผดิ พลาด นะ ไม่ได้มตี งั ค์ ต้องมานัง่ เปิดท้าย ยังอายเขา อยู่เลย ไม่ได้เปิดเพราะสนุกหรอก เอาตังค์! ไม่มตี งั ค์! (หัวเราะ) มันก็ตลกร้ายแหละ คนอืน่ เขาไปถึงไหนกันแล้วเรามานั่งเปิดท้ายอยู่ ทุเรศทุรัง แต่เราก็ไม่ได้อะไรหรอก เพราะ ตอนนีม้ หี ลายๆ เรือ่ ง ท�าหลายๆ อย่าง ทุกวันนี้ ก็มีความสุข แต่ที่พูดไม่ได้หมายความว่าให้


27 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

ฟุม่ เฟือยขนาดนัน้ แค่อยากบอกว่าไม่กระมิดกระเมีย้ น ชีวติ มันสัน้ มากเลย แป๊บเดียวก็ 70 กว่าแล้ว ถ้าพรุง่ นี้ เป็นมะเร็งก็ตายห่าไม่ได้ใช้อะไรเลย” แม้ชีวิตป๋าตึกจะเต็มไปด้วยสีสัน แต่เราก็อด สงสัยไม่ได้ว่าคุณพ่อที่ไม่ได้อยู่บ้านกับลูกๆ จะเคย รู้สึกเหงาบ้างไหม เพราะมีคนมากมายที่เคยประสบ วิ ก ฤตวั ย กลางคนเนื่ อ งจากลู ก สุด ที่รั ก ต้ อ งออกไป มีชีวิตของตัวเอง ทิ้งให้พ่อแม่เกิดความรู้สึกว่างเปล่า ในจิตใจ “ลูกสาวทั้งคู่ไม่ได้อยู่กับป๋ามาเป็นสิบปี คนใช้ ก็ไม่มี แล้วเดี๋ยวนี้ไม่ค่อยอยากโทรหาใคร มันเหมือน เราขี้คุย หลังๆ ก็เลยเหงานิดหนึ่ง ไม่ใช่ว่าหยิ่งนะ แต่ก็ไม่รู้จะคุยอะไรเหมือนกัน ตอนนี้ลูกไม่ได้อยู่ด้วย ก็จริง แต่เป้าหมายคือเราไม่ได้อยากให้ลูกอยู่กับเรา ไปตลอด ชีวิตของเขา เขาก็ต้องออกไปใช้ เดี๋ยวนี้ยัง บอกเขาเลยว่า ไม่ตอ้ งกลับมาก็ได้ลกู ส่วนลูกเองก็บอก ให้ป๋าบินไปหาที่ลอนดอนดีกว่า ป๋าก็จะได้มีชีวิตอีก แบบหนึ่ง เราจะได้เปลี่ยนแปลงชีวิตที่มันปกติ จืดชืด ให้มีสีสัน “ป๋ า เคยอ่ า นมาเหมื อ นกั น ว่ า คุ ณ จะไป เปลีย่ นแปลงอะไรได้อย่างไร ถ้าคุณใช้ชวี ติ เหมือนเดิม ทุ ก วั น ทุ ก วั น นี้ ป ๋ า ก็ อ ยากเปลี่ ย นแปลงไปเรื่ อ ยๆ วันดีคนื ดีกอ็ ยากเปลีย่ นศาสนาเหมือนกันนะ (หัวเราะ) เผื่อจะดีขึ้น ชีวิตมันต้องเปลี่ยน เหมือนเราท�างาน ทางนีท้ กุ วัน แล้วก็ขบั รถกลับบ้านทางเดิมซ�า้ ๆ ก็สอนลูก เหมื อ นกั น ว่ า อย่ า ท� า อะไรเหมื อ นเดิ ม ลู ก เขาโต ต่ า งประเทศ ก็ บ อกเขาเสมอว่ า ไม่ ต ้ อ งกลับ มาอยู่ กับเราหรอก มันเป็นชีวติ เขา เขาควรจะไปดู ไปเรียนรู้ ตามแบบของเขา ถ้าเขาเบื่อจะกลับมาก็ได้ ส่วนเรา ก็ต้องดูแลตัวเอง เป็นคนโชคดีที่มีเด็กรุ่นใหม่ๆ มา คุยเล่น มาปรึกษาเรา เพราะเราเห็นอะไรมาเยอะ แล้ ว อี ก อย่ า งคื อ เราก็ อ อกไปสิ อย่ า จมอยู ่ กับ บ้ า น ยังมีขา ยังมีแรงอยู่ เกิดขาเดินไม่ได้แล้วก็วา่ ไปอย่าง”

ทุกวันนี้ป๋าตึกออกไปเดินเล่นสยามพารากอน เกือบทุกวัน เพื่อไปนั่งดูผู้คน ดูหนังเรื่องใหม่ อย่าง วันนี้เขาก็ตั้งใจไปดู Green Book กับภรรยา “เดี๋ยวนี้ ชอบออกจากบ้านไปดูหนัง ส่วนหนึ่งอาจเพราะลูก ไม่ได้อยู่ด้วย แล้วก็ไม่ต้องเลี้ยงหลาน ถ้ามีหลาน ก็ไม่ได้แล้ว เดี๋ยวโรงเรียนเลิกต้องออกไปรับหลาน (หัวเราะ) มัน ก็เป็น อีก เรื่อ ง เพราะป๋า รัก เด็ก ด้ว ย ยิ่งถ้าเป็นลูกครึ่งนะ อุ้มไปเดินพารากอนเลย “แต่ถ้าถามว่าตอนนี้ดีไหม ก็ไม่ได้บอกว่ามัน เปอร์เฟ็กต์ไปทุกอย่าง แค่อย่าหยุดนิง่ ท�าตัวเหมือนเดิม พูดจริงๆ เดี๋ยวนี้ถ้าป๋าอยู่เฉยๆ ก็เปิดอินเทอร์เน็ต เรียนเรื่องดูลายมือ เส้นนู้นเส้นนี้หมายความว่ายังไง (หัวเราะ) คือยังไม่หยุดหาความรู้ ถ้าจะไปเรียนอย่างอืน่ ก็ได้ แต่ตอนนี้ชอบดูลายมือมาก” ถ้าเปรียบชีวิตเราเป็นรถไฟที่บางเวลาวิ่งช้า บางวันก็วงิ่ เร็ว ชีวติ ป๋าตึกคงเป็นเหมือนโรลเลอร์โคสเตอร์ ทีเ่ หาะตีลงั กา หวาดเสียว น่าสนุกสนาน ชวนให้ตนื่ เต้น อยู่ตลอด “ถ้าเราอยากให้ชวี ติ เราดีขนึ้ ก็อย่าหยุดท�าอยูซ่ า�้ ๆ ตลอดเวลา คุณนัง่ บ่นว่าชีวติ คุณไม่ดขี นึ้ แต่กท็ �าอะไร เหมือนเดิม ไปที่เดิม กินเหมือนเดิม ตอนนี้เลยคิดว่า กูลองเป็นมุสลิมดีไหม อยากรู้ว่าเป็นยังไง ถ้าตายไป จากโลกนีจ้ ะเจอโลกหลังความตายแบบไหน แม่กบ็ อก ว่าป๋าไฮเปอร์ ถ้าไม่มอี ะไรท�าก็หาอะไรเรียนในอินเทอร์เน็ต เรียนจนจ�าได้ ลายมือก็เป็นงานอดิเรกเล่นๆ แต่เรือ่ งอืน่ ก็ยังมีอย่างแฟชั่น แต่งตัว มิลานแฟชั่นวีก ดูตลอดว่า มีแฟชั่นที่ไหนเพิ่งเดิน ดูอย่างใกล้ชิดเลย ส่วนลูกป๋า ก็ไม่ตอ้ งห่วง เป็นบริตชิ เขาก็มสี วัสดิการกันดีอยูแ่ ล้ว”


28 ISSUE 575 28 JAN 2019

02

PU T T IYOS PH AL AJI V I N “วิชาทีเ่ รียนรูใ้ นตอนนีค ้ อื วิชาชีวต ิ สอนให้เรามองโลกแห่งความจริง และก้าวไปสูค ่ วามฝัน ฝันทีจ่ ะเดิน เริม ่ ทีจ่ ะดู และรูท ้ อ ี่ ยูต ่ อนนี้ เดินไป ตามฝั น บนโลกแห่ ง ความจริ ง ด้ ว ยทรั พ ยากรที่ มี เมื่ อ เราตื่ น ขึน ้ มาก็พบว่าโลกนีย ้ งั อยู” ่ เพลง : โลกยังอยู่ ศิลปิน : ภูมจ ิ ต ิ

ความล่มสลายทีเ่ กิดขึน ้ ในชีวต ิ เป็น ตัวการใหญ่ทบ ี่ น ั่ ทอนจิตใจของเรา ให้หม่นหมองไปตามวันและเวลา ความทุ ก ข์ ที่ เ ข้ า เกาะกิ น ใจส่ ง ผล ให้หลายๆ คนที่เราเห็นว่าเป็นคน เข้มแข็ง เห็นโลกมาเยอะ ผ่านร้อน ผ่านหนาวมาก็มาก กลายเป็นคนที่ ท้อแท้อ่อนแรงหมดก�าลังใจที่จะใช้ ชีวต ิ ต่อไป ซึง ่ การจัดการกับความล้มเหลวในชีวต ิ ของ พุฒย ิ ศ ผลชีวน ิ หรือ พุฒิ ภูมจิ ต ิ คือการหาเป้าหมาย ของตัวเองให้เจอ แล้วค่อยๆ ผ่านไป ให้ได้ทีละขั้น ไปตามฝันของตัวเอง ทีละก้าว ช้าๆ แต่มน ั่ คง

STA ND U P FROM THE FA LL

“เราอาจจะโชคดีทตี่ วั เองเจอกับความล่มสลายมาตัง้ แต่เด็ก แล้วเราก็อยูก่ บั ความฝัน มาเรื่อยๆ แม้ว่าจะล้มเหลวบ่อยๆ ก็ตาม” พุฒิเล่าให้เราฟังถึงชีวิตวัยรุ่นในช่วงหัวเลี้ยว หัวต่อที่ไม่ได้ราบรื่นสักเท่าไหร่ เขาเป็นเด็ก จากครอบครัวที่รับราชการ ถูกปลูกฝังว่าต้อง เข้าเรียนเป็นนายร้อย เมื่อเขาเลือกเส้นทาง ที่ฉีกออกไปก็ท�าให้มองไม่เห็นอนาคตของ ตัวเอง “แต่เราก็ยังโชคดีที่ยังพาตัวเองเดินไป ต่ อ ได้ แต่ เ ราก็ จ ะโดนรี ไ ทร์ อี ก ที ต อนเรี ย น อยู่ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ ตอนอยูป่ ี 6 เพือ่ นก็บอกว่า ไปขอเกรดกับ อาจารย์สิ จะได้มีเ วลาสู ้ต ่อ อีกเทอม ระหว่างที่เดินไปขอเกรด เราก็ค่อยๆ นึกภาพตัวเองว่า ถ้าขอเกรดได้สา� เร็จจะเป็น ยังไง เราเห็นตัวเองเป็นผู้ใหญ่ที่ไม่ยอมรับ ความจริง เราเห็นตัวเองเป็นผู้ใหญ่ที่ขี้โมโห แล้วก็เป็นผู้ใหญ่ที่โกงคนอื่นเพื่อให้ตัวเองได้ ผลประโยชน์ รู้สึกตัวอีกทีเราก็ถึงหน้าห้องพัก อาจารย์ เราก็เข้าไปคุยว่าตอนแรกผมว่าจะ มาขอเกรด แต่มาคิดอีกทีผมว่าผมควรโดน รีไทร์ อาจารย์ตกใจมากก็เลยนั่งคุยกัน แล้ว เราก็ค้นพบว่าเรามีเส้นทางใหม่ที่ท�าให้เรา ยังมีชีวิตที่ดีได้แม้จะโดนรีไทร์แล้วก็ตาม” อี ก สาเหตุ ห นึ่ ง ที่ ท� า ให้ ม นุ ษ ย์ รู ้ สึ ก ท้อแท้กับความผิดพลาดที่เกิดขึ้น คงเพราะ ให้ความส�าคัญกับอดีตจนเกินไป จนกลายเป็น ความเชื่อว่าตัวเองเป็นคนไม่มีอนาคต และ หลงลืมการอยู่กับปัจจุบัน “เราถูกท�าให้เชื่อว่าเราจะไม่มีอนาคต ถ้าเราไม่สามารถเลือกปัจจุบันได้ คนก็เลย ไปให้ค่ากับอดีตสูงมากมาตลอด พอไปพูด เรื่องความหวังทุกคนจะบอกเป็นคนโลกสวย นัน่ คือหลักการพัฒนาตัวเองแบบคนตะวันตก แต่ถ้ามองด้วยหลักปรัชญาของคนตะวันออก อย่างไคเซ็น (Kaizen) จะพบว่าจริงๆ แล้วเรา พอจะท�าอะไรบางอย่างแบบเล็กๆ ไปได้เรือ่ ยๆ แล้วชีวิตจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น”

ปี ที่ ผ ่ า นมาเรี ย กว่ า เป็ น ช่ ว งเวลาที่ หนักหนาส�าหรับเขาก็ได้ เพราะมีเหตุการณ์ ต่างๆ ประเดประดังเข้ามามากมาย ทัง้ เรือ่ งงาน ความวิตกกังวล เป้าหมายที่ต้องท�าให้ส�าเร็จ ทั้งงานเพลง การแต่งงาน ความเจ็บป่วยที่ เกิดขึ้นกับคนในครอบครัว ทั้งหมดก่อให้เกิด ความรู ้ สึ ก เคว้ ง คว้ า งในชี วิ ต ขึ้ น มาอย่ า ง มหาศาล “เราหันมาตัง้ เป้าหมายเล็กๆ ให้ตวั เอง เราจะโฟกัสอยู่แค่สองเรื่องนั่นคือ ท�าอัลบั้ม Midlife ให้ส�าเร็จ เพราะท�ามาห้าปีแล้วไม่จบ สั ก ที จะมี อุ ป สรรคเยอะไปไหน (หั ว เราะ) เรือ่ งทีส่ องคือ เราตัดสินใจกลับมาท�างานประจ�า เมื่อห้าปีก่อนเพื่อเอาเงินมาแต่งงาน ก็คิดว่า ถึงเวลาแล้วที่จะต้องท�าตามเป้าหมายนี้สักที แต่พอถึงช่วงต้นปี 2018 พ่อต้องรับการผ่าตัด มะเร็ง กลายเป็นว่าต้องใช้พลัง ใช้ความรู้ที่มี มาทัง้ ชีวติ เพือ่ ให้ผา่ นเวลาสิบวันช่วงเวลาทีพ่ อ่ ผ่าตัดไปให้ได้ ระหว่างทีอ่ ยูเ่ ฝ้าพ่อในโรงพยาบาล ท�าให้รู้ว่าสิ่งที่พ่ออยากเห็นคือ chapter ต่อไป ของเรา แล้วอะไรที่เป็น chapter ต่อไปของเรา นัน่ ก็คอื การมีครอบครัว เราคิดว่ามีครอบครัว จะท�าให้พ่อมีความหวัง ดังนั้น การแต่งงาน ของเราไม่ใช่เรื่องระหว่างเรากับแฟนสองคน แต่มนั ท�าให้คนอืน่ ในครอบครัวของทัง้ สองฝ่าย มีชีวิตต่อไป” เราถามไปตรงๆ ว่าอะไรเป็นสาเหตุที่ หลายๆ คนไม่ประสบความส�าเร็จในการเซต เป้าหมายของชีวิต และการตั้งเป้าหมายใน ชีวิตนั้นแตกต่างกับการตั้งปณิธานประจ�าปี ที่ เ ราเห็ น ใครต่ อ ใครโพสต์ ไ ว้ บ นเฟซบุ ๊ ก อย่างไร “มีความแตกต่างกันนิดหน่อยตรงทีว่ า่ การตั้งปณิธานประจ�าปีนั้นเป็นโกลที่ใหญ่ ต้องมีเงินเก็บให้ได้เท่านี้ ต้องวิง่ ให้ได้ระยะทาง เท่านี้ แต่พอเราตั้งเป้าหมายเล็กๆ ให้ตัวเอง ว่า ‘กูจะท�าแค่สองเรื่องนี้ให้จบ’ กลายเป็นว่า ตัวเองได้เคลียร์ความคิดบางอย่าง มีหมุดหมาย ของชีวิต พอมาถึงปีนี้หมุดหมายนั้นได้จบ

ไปแล้ว ก็จะมีแต่สิ่งเล็กๆ ที่ตัวเองตั้งใจไว้ อย่างนั่งสมาธิให้ได้ 3,000 ชั่วโมง หรือไปวิ่ง ให้ ไ ด้ สัก 3 งานก็โอเคแล้ ว หรือ พาภรรยา ไปเที่ยวต่างประเทศสักครั้ง “ทีค่ ดิ แบบนีเ้ พราะเราท�างานกับหัวหน้า ที่เป็นคนญี่ปุ่น ฝรั่งจะคิดเรื่อง innovation ส่วนคนญี่ปุ่นจะคิดเรื่องไคเซ็น บิ๊กไอเดียของ สองฝั ่ ง นี้ ค นละเรื่ อ งกั น เลย innovation คื อ เอาเงินมากๆ มาซัพพอร์ตไอเดียใหญ่ๆ แต่ ไคเซ็นคือการดูว่าจุดนี้ท�าอะไรได้บ้างแล้วก็ ค่ อ ยๆ ท�า ไปจากจุดนั้น การพัฒ นาไอเดีย เป็นคนละขัว้ กันเลย แล้วเราก็มาคิดว่าแต่ละคน น่าจะมีจริตแบบที่ตัวเองชอบ คุณจะชอบ การพัฒนาแบบ innovation ก็ได้ แต่ถา้ ลองแล้ว ไม่ชอบก็ลองมาใช้ปรัชญาแบบคนตะวันออก ก็ได้” เมื่อได้คุยถึงวิธีจัดการกับภาวะของ Midlife Crisis ที่เกิดขึ้นกับตัวเขาแล้ว ท�าให้ เราพบว่าวิกฤตวัยกลางคนนีอ้ าจเป็นเรือ่ งน่ากลัว ของคนในปัจจุบนั แต่ถา้ ได้รแู้ ละท�าความเข้าใจ ถึ ง เรื่ อ งการตั้ ง เป้ า หมายใหม่ ใ ห้ ชี วิ ต แล้ ว สิ่งที่ดีๆ ที่ได้กลับมานั้นก็มีประโยชน์กับเรา ไม่น้อยเหมือนกัน “ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ท�าให้เรารูถ้ งึ การดูแล คนรอบตัว ดูแลครอบครัว ดูแลภรรยาได้ดีขึ้น เราชวนคนที่ ท� า งานออกไปวิ่ ง ท� า ให้ ค นที่ ร่ ว มงานมี พั ฒ นาการในการท�า งานที่ ดี ขึ้ น เมือ่ เราจ�ากัดความฝันด้วยภาพมายาบางอย่าง ความฝั น จะแคบลง ไม่ ฟุ ้ ง ท� า ให้ ค ้ น พบ ความหมายของการได้ฝนั และสามารถแปลง ความฝันนั้นให้เป็นอีกหลายๆ รูปแบบได้” “แล้วก็ก้าวไปตามความฝันเหล่านั้น แบบใจเย็น” เราชิงพูดดัก ซึ่งนักร้องน�าของ วงภูมิจิตก็ยิ้มให้พร้อมกับตอบกลับมาว่า “ใช่!”


29 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

03

LESS OF S ELF, M ORE OF OTHER S

A NANDA EV E RINGH A M “โลกกลมๆ ทีโ่ ค้งมนหนึง่ ใบ ในชีวต ิ ต้องการอะไร ไม่ใช่เกียรติ ชือ ่ เสียง เงินทอง จินตนาการเมือ่ เราหลับตา เราต้องการแค่มเี วลากับเธอทีร ่ ก ั เอาใจใส่” เพลง : ปัจจุบน ั ศิลปิน : ภูมจ ิ ต ิ ค� า ร้ อ งสุ ด กระแทกใจของเพลง ‘ปัจจุบน ั ’ จากวงภูมจิ ต ิ ไม่ตา่ งอะไรกับ ชีวต ิ วัย 36 ปีของ อนันดา เอเวอริง่ แฮม นักแสดงคุณภาพทีท ่ ม ุ่ เทกับหน้าที่ การงานและพยายามสร้ า งชี วิ ต อันสมบูรณ์แบบ จนวันหนึง ่ ก็เลือก ทีจ่ ะเฟดจากงานแสดงไปถึงสามปี เพือ ่ หลบไปจัดการสภาวะยุง่ เหยิงใน จิตใจ จากคนทีว่ างตัวเป็นศูนย์กลาง ของจักรวาล กลายเป็นคนปล่อยวาง และไว้ใจคนรอบข้าง จากต�าแหน่ง ผู้ น� า ในความรั ก ความสั ม พั น ธ์ เริม ่ โอนอ่อนผ่อนปรนเป็นผูต ้ ามทีด ่ ี จากลูกชายที่พร้อมทะเลาะกับพ่อ ตลอดเวลา สามารถบอกรั ก พ่ อ ได้อย่างไม่เก้อเขิน

วันนี้ ชีวิตที่เต็มไปด้วยความทะเยอทะยานของเขายังด�าเนินต่อไป ด้วยมุมมอง ทีเ่ ข้าใจโลกและหัวใจทีเ่ ข้าใจผูอ้ นื่ มากกว่าเดิม “ถ้าถามว่ามีความสุขมากกว่าเมือ่ ก่อน ไหม มันพูดยากนะ” อนันดาเริม่ เล่าถึงภาพรวม ชีวิตปัจจุบันให้เราฟัง “อาจจะหาความสุข ได้ง่ายกว่า รู้สึกว่าภาระในชีวิตมันเบากว่า ไม่ได้หมายความว่าภาระมันหายไปไหน แต่ ทัศนคติและมุมมองที่เรามีต่อสิ่งที่เราเรียกว่า ภาระหน้าที่มันอาจจะเปลี่ยนไป” เขาเริ่มงานในวงการบันเทิงตั้งแต่อายุ สิบสามปี ด้วยความทะเยอทะยานและความคิด อยากจะพิสูจน์ตัวเอง เพื่อให้ครอบครัวและ คนรอบข้างได้เห็นคุณค่าในตัวเขา วันเวลา ทีล่ ว่ งเลยมาพร้อมกับความเหนือ่ ยล้าทีส่ ะสม มาสิบกว่าปี นักแสดงแนวหน้าคนนี้ตัดสินใจ หยุ ด พั ก เพื่ อ กลั บ ไปทบทวนความต้ อ งการ ของชีวิตตนเอง และเป็นช่วงเดียวกับที่เขา ตระหนั ก ได้ ว ่ า Midlife Crisis หรื อ วิ ก ฤต วัยกลางคน ทีใ่ ครหลายคนเคยเตือนได้เดินทาง มาถึงแล้ว “มันเป็นช่วงเวลาที่ชีวิตเริ่มเขว เกิด การตั้งค�าถามกับตัวเองมากมาย ท�าไมเรา ต้ อ งเหนื่ อ ยขนาดนี้ มั น ใช่ สิ่ ง ที่ เ ราเลื อ ก เพือ่ ตัวเองจริงหรือ มันถูกต้องใช่ไหม ชีวติ มันมี ค�าถามไปกับทุกสิ่งทุกอย่าง ทั้งความส�าเร็จ หรื อ ว่ า เงิน ทองกลายเป็ น สิ่ง ที่ไ ม่ ค ่ อ ยมีค ่ า ไปเลย เพราะเราหาค่าโดยรวมของมันไม่เจอ ก็เลยไม่รับงานแสดง ไม่ดูแลตัวเอง ปล่อยให้ น�้าหนักขึ้น เที่ยวเสเพลไปวันๆ ส่วนมากก็จะ ไปท�างานอยูเ่ บือ้ งหลัง ผมก็ไม่รวู้ า่ จุดพลิกผัน มันอยู่ตรงไหน แต่มันเริ่มเกิดการคลายปม ทีละอัน เราเริ่มมองตัวเองจากมุมของคนอื่น จากโลกทัศน์ที่กว้างขึ้น แล้วมันกลายเป็นว่า ผลที่ มั น เกิ ด ในช่ ว งเวลาสิ บ ปี นั้ น มั น ค่ อ ยๆ คลายออกไปทีละอย่าง ไม่ถงึ ขัน้ ปลงนะ แต่วา่ ทุกอย่างมันเบาลง รู้สึกว่าทุกอย่างที่เราท�า

มีวฏั จักรทีเ่ คลือ่ นไปของมันได้ โดยเราไม่จา� เป็น ต้องเอาตัวเองมาเป็นศูนย์กลาง” อนั น ดาเล่ า ว่ า การเอาตั ว เองเป็ น ศูนย์กลางของจักรวาลท�าให้รู้สึกเหมือนอยู่ ตัวคนเดียว ซึง่ จริงๆ แล้วมันไม่ใช่เลย “มันเกิด จากอารมณ์ตา่ งหาก แล้วก็ชอบไปลงกับคนอืน่ ท�านองที่ว่าไม่เข้าใจกูหรอกว่าวันๆ กูต้องท�า อะไรบ้าง กูเหนือ่ ยนะมึง โอเค เราท�างานเยอะ เราเหนือ่ ยจริง แต่เรามีสทิ ธิเ์ หรอทีจ่ ะไปบอกว่า เขาเหนื่ อ ยน้ อ ยกว่ า เรา เราไม่ ไ ด้ เ ป็ น เขา เราไม่มีทางรู้หรอก” เขาเน้นเสียงหนักแน่น “ถามว่าทุกวันนีย้ งั เป็นไหม ก็ยงั เป็นนะ บางที กลั บ บ้ า นมา มึ น เมา ก็ มี ฟ ี ล ของขึ้ น เดื อ ด อยากโวยวาย เพียงแต่ว่าตื่นเช้ามาเราจะ ขอโทษทันทีเลย ไม่เก๊กแล้ว เฮ้ย กูขอโทษ กูผิดเอง ตรงนี้กลายเป็นเรื่องที่ท�าง่ายขึ้น” เมื่อชีวิตเริ่มปล่อยวาง มุมมองเรื่อง การแสดงของเขาก็เปลี่ยนไปด้วย “เมื่อก่อน เราอยากพิสูจน์ตัวเอง เวลาเล่นก็เผลอคิดว่า คนจะชอบไหม เล่นดีหรือเปล่า ซึ่งธรรมชาติ ของตัวละครเขาจะไม่คดิ ว่าคนดูกา� ลังดูเขาอยู่ เขาไม่ ไ ด้ ต ้ อ งมานั่ ง คิ ด ว่ า สิ่ ง ที่ กู ท� า มั น เป็ น ชี วิ ต ประจ� า วั น ของกู แต่ พ อสมาธิ เ ราหลุ ด เราเอา ‘ฉัน’ เอาความรูส้ กึ ว่าเราเป็นนักแสดง เข้าไปเกี่ยวข้อง แต่เมื่อถึงจุดหนึ่งที่ท�าให้เรา รูส้ กึ ว่าการแสดงของเรามันเหมือนไม่ได้พฒ ั นา ไปไหน ก็กลับมารีเซตใหม่วา่ เอ๊ะ ท�าไมอะไรง่ายๆ ตัวละครที่ไม่ซับซ้อนมันถึงดูซับซ้อนจัง อ๋อ มันเป็นเพราะเราไม่รู้ตัวว่าเราเอาตัวเข้าไป เกี่ยวข้องกับตัวละคร พอเบรกจึงท�าให้เห็น ปัญหา เห็นตัวเองมากขึน้ แล้วค่อยๆ มาแก้ไข ทีละอย่าง คลายไปทีละปม” การถูกเลี้ยงดูให้เป็นผู้น�ามาตั้งแต่เด็ก ท�าให้อนันดาติดนิสยั ชอบเป็นผูน้ า� ซึง่ แน่นอน ว่ า เป็ น ลั ก ษณะนิ สั ย ที่ ดี แต่ ใ นความรั ก ความสั ม พั น ธ์ เขาก็ ไ ด้ เ รี ย นรู ้ ว ่ า บางครั้ ง เขาอาจจะต้องยอมตามบ้างก็ได้ “ผมต้อง

หัดตาม ไม่ใช่แค่กับแฟน แต่กับครอบครัว กับคนที่ผมท�างานด้วย ผมก็ต้องเรียนรู้ที่จะ ให้เขามีบทบาทของเขา เชื่อใจ ให้เขาเป็น คนน�าแล้วเราเอาสิ่งที่มันเป็นประสบการณ์ ของเราไปเสริมเพือ่ ช่วยให้เขาไปสูจ่ ดุ มุง่ หมาย ของเขา แทนที่เราจะไปลากทุกสิ่งทุกอย่าง จากทุกคนมา มันต้องรู้สึกแชร์ชีวิตกับคนอื่น บ้าง เป็นการช่วยเตือนให้เราเห็นว่ามีอะไร อี ก ตั้ ง เยอะตั้ ง แยะในโลกนี้ ที่ ยั ง สอนเราได้ เพราะบางทีตอนเราน�าๆ อยูเ่ ราก็ชอบไปตีความ ว่า สิ่งที่เรารู้คือสิ่งที่ถูกต้อง โดยที่มันอาจจะ มีสิ่งที่ถูกอยู่สามอย่างสี่อย่างก็ได้” เขาเสริมว่าจริงๆ แล้วตัวเองมีความสัมพันธ์ทดี่ กี บั แม่มาเสมอ แต่กบั พ่อนัน้ แตกต่าง ออกไป บางครัง้ เขาไม่ได้เจอพ่อเลยถึง 6 เดือน ท�าให้ตงั้ ค�าถามกับตัวเองว่าเขามีปญ ั หาอะไร กั บ พ่ อ หรื อ เปล่ า “พอพยายามมองให้ มั น ละเอียดขึ้นเราจึงเห็นว่า มันเป็นอะไรก็ไม่รู้ ทีไ่ ร้สาระซึง่ สัง่ สมมานาน แล้วเราก็ไปตีความ เองว่าเราอึดอัด มันเป็นสิ่งที่เราสร้างมาเอง ด้วยซ�า้ ไป เมือ่ ก่อนอยูก่ บั พ่อแล้วต้องตัง้ การ์ด พร้อมทะเลาะตลอดเวลา แต่ตอนนี้ความสัมพันธ์กับพ่อดีขึ้นง่ายขึ้น “ทุกวันนีร้ สู้ กึ ว่าการบอกรักพ่อเป็นเรือ่ ง ธรรมดามาก พอเราท�าแล้วทุกอย่างก็ดีขึ้น เดี๋ยวอีกไม่กี่วันก็จะไปเจอพ่อที่หัวหิน ไม่รู้ เหมือนกันนะ แต่ชีวิตตอนนี้ดีขึ้น อาจเพราะ ความสัมพันธ์กบั คนรอบข้างของเราดีขนึ้ ด้วย”


30 ISSUE 575 28 JAN 2019

04

D E A LING W I T H D IF F I C U LT PRO B LE M S

T H I DA P L I TPHOLKARNPIM “ดูหน้าจอ ขัดความแย้งก็เฝ้ารอ อยูบ ่ น Timeline มีความเห็นทัง้ ข้าวของแพง ทั้งเหลืองทั้งแดง ทั้ ง เพศหญิ ง เพศชาย ระเบิ ด ที่ ปลายนิ้ ว สงครามก็ พ ร้ อ มบน News Feed” เพลง : Drama Addict ศิลปิน : ภูมจ ิ ต ิ

ส�าหรับผูห ้ ญิงแล้ว เรือ ่ งของวัยที่ มากขึ้ น ก็ เ ป็ น ปั ญ หาใหญ่ ที่ ท� า ให้ รูส ้ ก ึ วิตกกังวลมากพออยูแ่ ล้ว และ ความเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก การมีลก ู ก็ยง ิ่ ท�าให้อะไรหลายอย่าง ไม่เหมือนเดิม แม้เราจะเห็นว่าคนเก่งๆ อย่าง ธิดา ผลิตผลการพิมพ์ ทีเ่ ป็น ทั้ ง ตั ว ตั้ ง ตั ว ตี ท� า ให้ เ กิ ด โรงหนั ง ทางเลือกอย่าง Doc Club Theater หรือเป็นคนบุกเบิกการน�าหนังสารคดี มาฉายจนเรียกว่าประสบความส�าเร็จ ในตอนนี้ แต่ภาวะที่รู้สึกไม่มั่นคง ในชีวต ิ นัน ้ ก็มอ ี ยูเ่ หมือนกัน

“ชีวติ ตอนเป็นวัยรุน่ เรามองไปข้างหน้า พอผ่านอายุสี่สิบห้ากลายเป็นเรามองย้อน กลับไปแล้วว่าชีวติ ส่วนทีเ่ หลือล่ะจะอยูอ่ ย่างไร” พี่สาวแสนดีเล่าถึงความคิดของตัวเองหลัง เข้าสูว่ ยั กลางคน ก่อนจะพูดถึงผลกระทบจาก การมีลู ก ว่ า ถึ ง กั บ เป็ น สิ่ ง ที่ เ ปลี่ ย นชี วิ ต ของ ตัวเองไปเลย “ตอนยังไม่มีลูก เรายังเป็นคนที่ออก จากบ้านไปท�างาน ออกมาเจอผูเ้ จอคน แต่พอ มีลูกทุกอย่างเปลี่ยนไปหมดเลย กลายเป็น คนอยู่บ้าน แทบจะไม่อยากออกมาเจอใคร ตอนเช้าไปส่งลูก ตอนเย็นก็ไปรับลูก วนเวียน อยูอ่ ย่างนีเ้ ป็นสิบปี จนเราเกิดความคิดว่าท�าไม ตัวเองกลายเป็นคนแบบนี้ ท�าไมเข้ามาอยู่ใน โหมดนีไ้ ปเลย แล้วความสามารถในโหมดของ การท�างานไม่ถกู น�ามาใช้จนมันก็คอ่ ยๆ หายไป” ฟังแล้วเหมือนว่าชีวติ ก็นา่ จะมีความสุข ไม่ต้อ งท� า งานดิ้น รนอะไร การมีค รอบครั ว ก็ น ่ า จะท� า ให้ ชี วิ ต มี ค วามเรี ย บง่ า ยขึ้ น แต่ กลายเป็ น ว่ า ความคุ ้ น ชิ น นี้ ก ลั บ ท� า ให้ เ กิ ด ความเครียดและความกังวลที่ส่งผลต่องาน ที่ท�าได้อย่างไม่น่าเชื่อ “ถึงจุดเริ่มต้นในการท�า Documentary Club ตอนแรกจะเป็นการท�าอะไรเล่นๆ ไม่ได้ คิดว่าเป็นโปรเจ็กต์ที่ยิ่งใหญ่อะไร แต่ในวันนี้ งานทีท่ า� ก�าลังเรียกร้องอะไรบางอย่างทีย่ งิ่ ใหญ่ ขึ้นจากเรา แต่ด้วยนิสัยของเราที่กลายเป็น คนไม่ตอบสนองกับความท้าทายเหล่านัน้ แล้ว ก็ท�าให้ Documentary Club มีปัญหาเกิดขึ้น ในปีที่ผ่านมา เพราะองค์กรของเราเติบโตขึ้น มีคนท�าหนังอิสระหรือคนจากต่างประเทศ อยากเข้ามาท�าความรู้จัก อยากชวนเราไป ตลาดหนัง ไปขอทุนท�าเทศกาลหนัง ซึง่ ตอนนี้

Documentary Club ก�าลังเรียกร้องการเติบโต เพราะมันอยูใ่ นช่วงทีม่ นั ต้องเติบโต แล้วเรือ่ งนี้ ถ้ า เกิ ด ขึ้ น เมื่ อ สั ก สิ บ หรื อ สิ บ ห้ า ปี ที่ แ ล้ ว เราจะกระโจนเข้าใส่เลย แต่ตลอดสิบปีทผี่ า่ นมา การเป็นแม่ท�าให้ชีวิตเราไม่มีความทะเยอทะยานในเรือ่ งแบบนี้ ก็ยงั คิดอยูว่ า่ จะเอายังไง ดี องค์กรอยากโต แต่เราไม่อยากโต ก็เป็น ค�าถามว่านีม่ งึ ต้องการอะไรในชีวติ (หัวเราะ)” มีหลายคนที่เกิดภาวะอย่างนี้เช่นกัน เมื่อเข้าสู่วัยกลางคน รู้สึกว่าตัวเองหมดไฟ ไม่กล้าที่จะลองท�าอะไรใหม่ๆ เพราะกลัวว่า จะไม่ มี ค วามมั่ น คง ถ้ า ให้ ล าออกจากงาน ตอนนี้ แ ล้ ว จะเอาอะไรกิ น ซึ่ ง เธอบอกว่ า จริงๆ แล้วสาเหตุหลักอาจไม่ใช่เพราะวัยที่ ท�าให้เป็นปัญหา แต่เป็นเพราะเราไม่มสี วัสดิการ รองรับที่ดีจึงท�าให้คนเกิดความกลัว “แก่ แ ล้ ว ไม่ มี ง านท� า เราเองก็ ก ลั ว โดยเฉพาะกับคนท�าหนังซึ่งเห็นได้ชัดเลยว่า พออายุเกินห้าสิบปี ต่อให้คณ ุ มีประสบการณ์ ในการท� า หนั ง มาแล้ ว ก็ ยั ง ถู ก เขี่ ย ทิ้ ง ได้ เอาโปรเจ็กต์ไปเสนอขอทุนก็ไม่ผ่าน แล้วก็ กลายเป็ น ว่ า ต้ อ งยอมรั บ ความจริ ง แบบ ทุกข์ทรมานว่าตัวเองจะไม่มีโอกาสได้กลับไป อยูห่ น้ากองถ่ายอีกแล้ว แล้วชีวติ ปัจจุบนั ก็อยู่ ไม่ได้ดว้ ย เพราะรัฐไม่มสี วัสดิการอะไรช่วยเหลือ เลย ท�าหนังมาเงินที่ได้ก็เข้าไปสู่เจ้าของหนัง คุณได้คา่ ก�ากับแค่ตอนทีท่ า� งาน ซึง่ ต่อให้ไม่แก่ ก็ยังกลับมายากเลย ถ้าคุณผ่านช่วงพีกของ ตัวเองมาแล้ว และมีคนจ�านวนมากเลยทีก่ ลับ มาไม่ได้ พอแก่ตัว ไม่มีอาชีพ ไม่มีรายได้ ก็เกิดเป็นความกลัว ซึง่ ถ้าปีหน้า Documentary Club เกิ ด เจ๊ ง ขึ้ น มา เราเองก็ ต กไปอยู ่ ใ น สภาวะนั้นเหมือนกัน”

ถ้ า มองไปยั ง ผู ้ ค นที่ อ ยู ่ ใ นประเทศ ที่รัฐบาลพร้อมช่วยเหลือและมีสวัสดิการที่ดี ก็พบว่าความน่ากลัวที่เกิดขึ้นในวัยกลางคน จะไม่น่ากลัวขนาดนี้ เพราะสิ่งที่น่ากลัวจริงๆ การที่ ค นจะเข้ า สู ่ สั ง คมผู ้ สู ง อายุ โ ดยไม่ มี หลักประกันของชีวิต เอาแค่พอมีเงินบ�านาญ ทีส่ ามารถซือ้ อะไรกินเลีย้ งตัวเองไปได้ทกุ เดือน แม้จะตกงานตอนอายุ เ ยอะแล้ ว ก็ ยั ง ไม่ มี ความวิตกกังวลมากเท่าไหร่ “หน้าที่ของรัฐบาลคือท�าให้ประชาชน รู้สึกปลอดภัย เพราะเราเป็นพลเมืองที่คุณจะ สูบเลือดสูบเนือ้ กินเรีย่ วแรงเอาภาษีของเราไป ดังนั้น สวัสดิการคือสิ่งที่คุณต้องตอบแทนให้ เขาได้ใช้ชีวิตอย่างเป็นสุข ถ้าเราอยู่ในสังคม ที่ชีวิตมีความปลอดภัยแบบนี้ก็ไม่มีอะไรต้อง กลัว ไม่ต้องกลัวตกงาน ไม่ต้องกลัวว่าตัวเอง จะเสีย่ งจนไม่กล้าท�าอะไรอีกแล้ว หรือว่าไม่ตอ้ ง กลัวว่าจะแก่แล้วอยู่ไม่ได้ ชิงฆ่าตัวตายดีกว่า กลัวการมีลูกเพราะเดี๋ยวจะเลี้ยงไม่ไหว ซึ่ง ไม่ควรจะมีใครอยู่ในภาวะแบบนี้ ถ้ายังเป็น แบบนีแ้ ล้วเราจะไปพัฒนาอะไรได้ เพราะคุณ ไม่สามารถคิดอะไรได้ แค่ปจั จุบนั เอาตัวให้รอด ก่ อ น ต้ อ งคอยบอกตั ว เองว่ า กู ไ ม่ ส ามารถ ตกงานได้ แล้ ว จะมาบอกให้ เ ราไปสร้ า ง นวัตกรรมอะไรใหม่ๆ ได้ละ ใครทีจ่ นก็แบกรับ ชีวิตตัวเองไป คนชั้นกลางที่มีชีวิตขึ้นๆ ลงๆ ก็รบั ความเสีย่ งไป มีแต่คนรวยเท่านัน้ ทีอ่ ยูร่ อด ซึง่ มันไม่ใช่ แล้วเรามีบตั ร 30 บาทรักษาทุกโรค ให้ เ ห็ น กั น แล้ ว นั่ น แปลว่ า รั ฐ สามารถท� า สวั ส ดิ ก ารเพื่ อ รองรั บ คนประเภทต่ า งๆ ได้ แต่เขาไม่ท�า” การสนทนาด�าเนินไปอย่างออกรสชาติ จนเราอดแซวไม่ได้ถึงเรื่องความเกรี้ยวกราด


31 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

ของพี่สาวคนนี้ที่ต่างก็คุ้นเคยกันดีเวลาเธอออกมา แสดงความไม่ยอมกับระบบบางอย่างในการท�างาน ผ่านเฟซบุ๊ก ซึ่งเจ้าตัวก็ยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ไม่ค่อย น่ารักสักเท่าไหร่ แต่ถา้ มองอีกมุมหนึง่ นีก่ เ็ ป็นสิง่ ทีเ่ ธอ บอกว่ามาถูกที่ถูกเวลาเหมือนกัน “เราเข้าใจนะว่าโวยวายไปก็ไม่ได้น�าไปสูก่ ารแก้ อะไรหรอก เช่น ปัญหาที่เห็นกันชัดเจนอย่างโรงหนัง ทีผ่ กู ขาด มีแต่ความไม่ยตุ ธิ รรมมากขึน้ ทุกวัน พอหนังใหญ่ เข้ามาก็เอาโรงไปเกือบหมด แล้วให้หนังเล็กๆ แบ่ง โรงฉายกันเอง แล้วเราโวยวายไปก็ไม่ได้ทา� ให้เป็นทีร่ กั ของใครด้วย มีแต่สร้างศัตรู (หัวเราะ) แต่เราก็รสู้ กึ นะว่า ด้วยวัยตอนนี้แหละคือข้อได้เปรียบ ถ้าเราไม่พูดแล้ว ใครจะพูด เราควรจะโวยวายบ้างถึงแม้จะไม่ได้นา� ไปสู่ การเปลี่ยนแปลง แต่ก็ดีกว่าไม่มีคนออกมาพูดเลย เราเชือ่ ว่ายังไงต้องมีคนเห็นด้วยว่าเรือ่ งนีม้ ปี ญ ั หาจริงๆ แต่เขาก็ไม่รหู้ รอกว่าต้องแก้ปญ ั หาอย่างไร เราได้เปรียบ ที่ตัวเองอยู่ในรุ่นที่โตพอสมควร เราพูดได้โดยไม่มี อะไรจะเสีย ถ้าเราเด็กกว่านีเ้ ราอาจจะไม่กล้าหรือว่าพูด ด้ ว ยซ�้ า ความแก่ บ างที ก็ มี ป ระโยชน์ ป ระมาณนี้ ท�าให้เราแสดงความเกรีย้ วกราดในสิง่ ทีเ่ ราควรจะพูด ได้ (หัวเราะ) การเกิดขึ้นของ Doc Club Theater จึงเป็นอีก หนึ่งวิธีในการจัดการปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้มีพื้นที่ ส�าหรับแสดงออกถึงเสรีภาพ ซึง่ เธอบอกว่าสามารถน�า วิธีการนี้ไปใช้ในการจัดการกับปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ของตัวเองได้ โดยก่อนอืน่ ต้องเริม่ จากสร้างความรูส้ กึ ว่า เรายังมีทางเลือกอื่นๆ อยู่ เป็นทางที่ท�าให้เราไม่ต้อง ยอมอยู่ในระบบที่ไม่โอเค “ต้องสนุกกับงาน เราพยายามคิดว่างานของ ตัว เองท�า อะไรได้ อีก แต่ อาจจะไม่ ใช่ อะไรใหญ่ โต ขนาดต้องไปปะทะกับคนนั้นคนนี้หรือว่าสร้างโมเดล ยิ่งใหญ่ เราจึงชอบวางเป้าหมายเล็กๆ ในขอบเขตที่ ตัวเองพอท�าได้ เพือ่ จะไม่ตอ้ งทนท�างานทีเ่ ป็นแพตเทิร์น

เดิมๆ แต่แค่ขอให้งานทัง้ หมดนัน้ สามารถนัง่ ท�าอยูท่ บี่ า้ น ได้ก็พอ (หัวเราะ) เราคุยกันว่าปัญหาของคนยุคนีค้ อื ความไม่มนั่ คง ในชีวิต สิทธิเสรีภาพ และการดีลกับการท�างาน แต่ ความบั่นทอนแฝงเร้นที่เรานึกถึงอีกเรื่องคือ การมี โซเชียลเน็ตเวิร์กที่ท�าให้วัฒนธรรมการอวดกลายเป็น หนามที่ ค อยทิ่ ม แทงความรู ้ สึ ก ของเราไปเรื่ อ ยๆ โดยไม่ทันรู้ตัว ท�าให้คนประเมินค่าของตัวเองต�า่ กว่า ความเป็นจริง แล้วไปประเมินค่าคนอื่นสูงกว่าความเป็นจริง ท�าไมคนอื่นถึงมีในสิ่งที่เราไม่มี แล้วท�าให้ สิง่ ทีเ่ รามีกลับไม่มคี วามหมาย แล้วเราก็ไปจมอยูก่ บั ทุกข์ ที่เกิดจากการไม่มีเสียเอง “แต่ ก ารได้ ไ ปรู ้ ไ ปเห็ น ความคิ ด ของคนอื่ น บนโซเชียลเน็ตเวิร์กก็มีข้อดีนะ” เธอมองในมุมกลับ “โซเชียลเน็ตเวิรก์ ท�าให้เราลดความจองหองของตัวเอง ลงไปเรื่ อ ยๆ เพราะเราจะพบว่ า โลกนี้ มี ค นเก่ ง อยู่ เยอะมาก จากแต่ก่อนที่เราไม่เจอใครเลย แล้วเรา จะคิดว่าตัวเองเก่งตัวเองเจ๋งแล้ว พออีโก้ของตัวเอง ลดลงไปมากๆ เราก็จะรู้ว่าจริงๆ แล้วเราเก่งแค่ใน พื้นที่ของตัวเอง แล้วมึงก็ท� าในสิ่งที่มึงท�าไปเถอะ ท�าให้มันอยู่รอดปลอดภัยแล้วมีความสุขกับสิ่งที่ท�า ก็พอแล้ว การดีลกับสิ่งต่างๆ คือ อยู่กับความเป็นจริง ให้มากๆ ฟังคนอืน่ เขาให้มากๆ แล้วเราก็จะสูก้ บั ปัญหา ได้ ถ้าคิดแค่ว่าเราแก่แล้ว เหลือ เวลาอีก แค่ 20 ปี ก็ตายแล้ว นัน่ คือคุณเป็นน�้าเต็มแก้ว แต่ถ้าเรารู้สกึ ว่า อีก 20 ปีที่เหลือนี้ เรายังโชคดีนะที่มีเฟซบุ๊ก มีอะไร ให้ได้เรียนรูจ้ ากคนนัน้ คนนี้ แบบนีจ้ ะท�าให้เราเผชิญหน้า กับปัญหาได้ดีกว่า”


32 เรื่อง

S PA C E & T I M E

พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai

ภาพ

ธนดิษ ศรียานงค์ ช่างภาพ thanadis@gmail.com

ISSUE 575 28 JAN 2019

“การมาท�าตรงนี้ ท�าให้ได้เจอกับ หลายๆ คนทีค ่ ด ิ ตรงกับเรา มันไม่ได้ เป็นแค่โรงแรม แต่เป็นโปรเจ็กต์ ทีม ่ ค ี วามหมาย เพราะสามารถ สร้างความแตกต่างกับชุมชน ได้อย่างชัดเจน” กิตติศก ั ดิ์ ปัทมะเสวี

THE NEXT EPISODE เปิดฟิลม ์ ม้วนใหม่ของ โรงหนังแห่งความทรงจ�าย่านบางรัก

แม้จะไม่เคยมีประสบการณ์เป็นวัยรุน ่ บางรักทีต ่ น ื่ ไปกินโจ๊กปรินซ์เป็นอาหารเช้า แวะไปโซ้ยร้านเป็ดย่างประจักษ์ตอนกลางวัน แล้วแอบพ่อมาดูหนัง ที่โรงหนังปรินซ์ รามาในตอนเย็น แต่เราก็ดีใจไม่น้อยที่ได้รู้ข่าวว่าโรงภาพยนตร์สแตนด์อโลนสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 แห่งนี้ก�าลังได้รับ การชุบชีวิตขึ้นมาอีกครั้ง หลังถูกทอดทิ้งมานานหลายปี โดย ‘ป่าน’ - กิตติศักดิ์ ปัทมะเสวี และทีมงาน ได้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่แห่งนี้ ให้กลายเป็นโรงแรมสุดเก๋ และครีเอทีฟสเปซส�าหรับการจัดเวิร์กช็อปเพื่อขับเคลื่อนความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้นในสังคม ในชื่อ Prince Theatre Heritage Stay ก่อนจะกลายมาเป็นโรงภาพยนตร์สแตนด์อโลน สถานทีแ่ ห่งนีเ้ คยเป็นโรงบ่อนหลวงทีส่ ร้างขึน้ ในปี พ.ศ. 2455 แต่เมือ่ มีนโยบายยกเลิกบ่อนเบีย้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 จึงต้องเปลีย่ นบทบาทให้กลายเป็น โรงภาพยนตร์ในชื่อ Prince Theater หรือโรงภาพยนตร์ปรินซ์ ต่อมาได้ความนิยมมากขึ้น จากโรงหนัง 1 ชั้น ก็กลายเป็น 2 ชั้น และเปลี่ยนชื่อเป็นปรินซ์ รามา ซึ่งในสมัยนั้นนับว่าเป็นอีกแหล่งรวมตัว ของวัยรุ่นที่ฉายหนังชื่อดังจากทั้งฮอลลีวูดและหนังไทย แต่เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป ผู้คนเริ่มเข้าไปดูหนังในโรงภาพยนตร์มัลติเพล็กซ์มากขึ้น ท�าให้ปรินซ์ รามา ที่เคยรุ่งเรืองกลับเงียบเหงาจนต้องปรับเปลี่ยนมาฉายหนังควบหรือหนังโป๊ จนสุดท้ายต้อง ปิดตัวลงและถูกปล่อยร้างมายาวนานถึง 7 ปี “ตอนเรามาที่นี่ครั้งแรกเมื่อปีที่แล้ว มันเป็นเหมือนสถานที่ที่ถูกทอดทิ้ง เหมือนที่เก็บของ ที่ทิ้งขยะของชุมชน คนเร่ร่อนก็มานอนในนี้” กิตติศักดิ์เล่าถึงสภาพของโรงหนังก่อนที่จะถูกรีโนเวต เขาและทีมงานบริษัท เฮอริเทจ สเตย์ จ�ากัด ค่อยๆ เข้ามาพัฒนาพื้นที่แห่งนี้ให้กลายเป็นโรงแรมขนาดเล็ก และพยายามรักษาคุณค่าทางประวัติศาสตร์ของสถานที่ไว้ให้ได้มากที่สุด ด้วยการคงพื้นที่จอฉายหนังขนาดใหญ่พร้อมม่านก�ามะหยี่สีแดงไว้ใกล้กับบริเวณล็อบบี้และบาร์เครื่องดื่ม ตกแต่งให้มีลักษณะเหมือนเป็น Box Offiffiice ด้วยป้ายไฟสะดุดตาและกลิ่นป๊อปคอร์นหอมๆ ในขณะเดียวกันก็ปรับเปลี่ยนบริเวณชั้นลอยจากที่เคยเป็นพื้นที่ฉายภาพยนตร์ให้เป็นห้องพักหลายรูปแบบ ทั้ง private room และ dormitory


33 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

ตอนนี้ Prince Theatre Heritage Stay เปิดท�าการมาได้ราวหนึง่ ปีแล้ว โดยไม่ได้ทา� หน้าที่ เป็นแค่สถานที่พักกายพักใจของนักเดินทาง เท่านัน้ แต่ยงั เป็นสเปซจัดกิจกรรมดีๆ มากมาย “ผมรู้สึกมีความสุขมากที่เราสามารถสร้าง ความเปลี่ ย นแปลงอย่ า งเห็ น ได้ ชั ด เพราะ นอกจากจะเป็นโรงแรมแล้ว ปรินซ์ยงั กลายเป็น สถานทีจ่ ดั เวิรก์ ช็อปให้บริษทั ชัน้ น�าของเมืองไทย จากสถานที่ที่ถูกทิ้งร้าง ก็เปลี่ยนโฉมมาเป็น สเปซแห่งความคิดสร้างสรรค์ ทั้งยังสามารถ กระจายผลประโยชน์ให้กบั เพือ่ นบ้านโดยรอบ ด้วย” กิตติศักดิ์กล่าว นอกจากนี้ การเข้ า มาของโรงแรม ปรินซ์เธียเตอร์ยงั ช่วยเพิม่ รายได้ให้กบั ร้านค้า และร้านอาหารเก่าแก่ในชุมชน เพราะเนือ่ งจาก ทางโรงแรมไม่มคี รัวเป็นของตัวเอง และอยาก ให้ผู้มาพักได้ลองชิมอาหารต้นต�ารับจากร้าน โดยรอบ พวกเขาจึงเป็นตัวกลางในการซื้อ อาหารอร่อยๆ ในละแวกเพือ่ นบ้าน และน�ามา เสิร์ฟให้นักเดินทางถึงที่ “อย่างตอนที่เราจัด เวิร์กช็อป ก็เอารายได้กว่า 30% ไปช่วยเหลือ ชุมชนอีกทีหนึง่ การมาท�าตรงนีจ้ งึ มีความหมาย กับผมมาก เพราะนอกจากได้ชุบชีวิตตัวตึก ขึ้ น มา และท� า ให้ ข องเก่ า กลั บ มามี คุ ณ ค่ า

ในมุมมองของสายตานักธุรกิจรุ่นใหม่แล้ว เรายังสามารถซัพพอร์ตชุมชนได้ด้วย” “ถ้าเปรียบ Prince Theatre Heritage Stay เป็นหนังเรื่องหนึ่ง ผมว่าน่าจะเป็นหนังที่มี พล็อตทวิสต์เยอะๆ อย่างเรือ่ ง Memento คนดู จะค่อยๆ ค้นพบเรื่องราวประวัติที่คาดไม่ถึง ของตัวละครหลัก เพราะเวลาคนเข้ามาทีป่ รินซ์ หลายคนอาจจะงงมากว่ า มั น เป็ น โรงหนั ง ท�าไมเอามาท�าเป็นโรงแรม เรื่องราวมันเป็น อย่างไร แล้วพอเขาค่อยๆ พูดคุยกับพนักงาน และสัมผัสกับบริการต่างๆ เขาก็เริ่มเข้าใจว่า ทีน่ เี่ คยเป็นโรงบ่อนมาก่อน จนมาเป็นโรงหนัง ฉายหนังขาวด�า จนปรับเปลีย่ นมาเป็นโรงแรม ในตอนนี้” กิตติศักดิ์เล่าว่า ในอนาคตเขาอยาก ท�าให้สถานที่แห่งนี้เป็นสเปซส�าหรับองค์กร หรือลูกค้าที่อยากท�าประโยชน์ให้กับชุมชน และต้องการสถานทีเ่ พือ่ ท�าเวิรก์ ช็อป ท�าแผนการ หรือคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ พร้อมกับเป็นโรงแรม ทีม่ คี ณ ุ ค่าเชิงประวัตศิ าสตร์ เพือ่ เติบโตไปข้างหน้า พร้อมกับชุมชนโดยรอบได้อย่างมั่นคง

PRINCE THEATRE HERITAGE STAY

441/1, Charoenkrung Road, Bangrak, Bangkok Hours : 24 Hours, Daily


34 เรื่อง

A THOUSAND WORDS

HAPPY NEW YEAR (2016)

ทรรศน หาญเรืองเกียรติ บรรณาธิการบทความ IG : Matt_Doraemon

ISSUE 575 28 JAN 2019

WITHIT CHANTHAMARIT PHOTOGRAPHY 29.7 X 42 CM, 2016

“​ เวลาและวาระการเปลี่ยนผ่านของการขึ้นปีใหม่มักท�าให้เราพบกับการลืมเลือน​ สิ่งที่ติดตามมาก็คือการหวนคิดถึงอดีตเพื่อตกตะกอนถึงสิ่งที่ผ่านมา​และคิดถึงอนาคตว่าจะเป็นอย่างไร​ แต่อะไรที่จะกระตุ้นชี้น�าและท�าให้คิดในชั่วขณะนั้น​ซึ่งส่วนมากก็คือมาจากสิ่งและวัตถุที่ผมเห็นนั่นเอง”

ABOUT WITHIT CHANTHAMARIT

​ท ว ิ ต ิ ​จันทามฤต​หรือ​‘ปิน ่ ’​นักตามหาโลเคชัน​ช่างภาพนิง ่ ​ภาพเคลือ ่ นไหว​ฟรีแลนซ์ทม ี่ ก ั รับงานใดๆ​ก็ตามทีไ่ ด้อยูเ่ บือ ้ งหลังคนอืน ่ ​เจ้าของ ร้านหนังสือศิลปะทีช่ อ ื่ ​Vacilando​Bookshop​โดยงานชิน ้ นีเ้ ขาเล่าถึงการทีเ่ ห็นสัญลักษณ์​วัตถุหรือเครือ ่ งหมายเหล่านีใ้ นทุกๆ​วัน​นอกจากในช่วง เทศกาล​ซึง ่ ในขณะนัน ้ ได้แปรเปลีย ่ นเป็นวัตถุทป ี่ ระดับผนังหรือก�าแพงไปแล้ว​ไม่ได้ทา� ให้รส ู้ ก ึ ยินดีหรือมีความสุขมากขึน ้ เท่าไหร่​เป็นเพียงสิง ่ ที่ ย้อนย�้าให้นึกถึงวันเวลาและการลืมเลือนที่ผ่านไปทุกทีๆ​ถ้าอยากรู้จักเขามากกว่านี้​ลองไปตามที่อินสตาแกรม​@vacilandobookshop​


35 สีตลา ชาญวิเศษ นักเขียน คนท�างานด้านวางแผนคอนเทนต์ นักบรรยายด้าน การตลาดสร้างสรรค์และการเล่าเรื่อง seetala.ch@gmail.com

adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin

เรื่อง

B R E AT H E I N

คุณเคยเจอไหม? เมื่อโอกาสหรือสิ่งที่คุณต้องการถูกปิดลง เหมือนกับประตูที่ไม่มีวันเปิดออก แล้วคุณก็ท�าอะไรไม่ถูก เพราะที่ผ่านมาคุณตั้งตารอ แต่ประตูบานนัน ้ บานเดียว ยกตัวอย่างเช่น คุณอดทนเก็บเงินมาหลายปีเพือ ่ ท�าธุรกิจส่วนตัว แต่แล้ววันหนึง่ แม่ของคุณล้มป่วยกะทันหัน ท�าให้คณ ุ ต้องน�าเงินทัง้ หมดไปใช้รก ั ษาแม่ แล้วคุณก็รส ู้ ก ึ จุกเต็มหัวใจว่าประตูแห่งฝันถูกดับลงแล้ว หรือไม่ความสัมพันธ์ของคุณกับคนรักก�าลังเดินมาสูท ่ างตัน ราวกับประตูที่ก�าลังลงกลอนปิดถาวร

เราเชือ่ ว่า คุณผูอ้ า่ นแต่ละคนคงมีประสบการณ์เจอประตู ทีป่ ดิ ในเรือ่ งราวแตกต่างกันไป และคงมีคา� ถามใหญ่ๆ ภายในใจ ว่า แล้วฉันควรท�าอย่างไรต่อดี? อันที่จริงไม่มีค�าตอบตายตัว ส�าหรับสถานการณ์ของแต่ละคน แต่มีคา� แนะน�าหนึ่งที่คิดว่า คุณควรท�า นั่นคือเดินหน้า (move on) ซึ่งนี่ไม่ใช่ค�าตอบแบบ ก�าปั้นทุบดิน หรือตอบแบบขอไปที แต่เราหมายความอย่างนั้น จริงๆ เพราะในเมื่อท�าอะไรไม่ได้ ขืนรอประตูบานเดิมต่อไป ก็ไม่เกิดประโยชน์ สู้เดินหน้าเสียดีกว่า มีหนังสือเล่มหนึ่งที่เราคิดว่าจะช่วยให้คนที่เจอทางตัน หรื อ เจอประตู ที่ ป ิ ด ลง ได้ มี มุ ม มองใหม่ ๆ เพื่ อ เดิ น หน้ า ต่ อ หนังสือที่ว่านี้ คือ The Disruptor เขียนโดย รวิศ หาญอุตสาหะ อดีตหัวหน้าเก่าเราเอง ซึ่งผิวเผินหนังสือเล่มนี้เหมือนหนังสือ การตลาดและธุรกิจ แต่จริงๆ ยังมีมิติอื่นที่ซ่อนอยู่ในหนังสือ นั่นคือการปลดล็อกตัวเองสู่หนทางใหม่ๆ เหมือนกับชื่อหนังสือ เลย คือ ‘The Disruptor’ หรือคนที่จะฉีกกฎ เพราะหนังสือไม่ได้มอบแค่แง่มุมเรื่องประตูที่ปิดในเชิง ธุรกิจเท่านั้น แต่ยังปรับใช้กับประตูบานอื่นๆ ที่เป็นปัญหาของ ชีวิตด้านอื่นๆ ได้อีกด้วย ได้แก่ 1) ประตูแห่งนิสัย

บ่อยครั้งที่ชีวิตคนเราไม่ไปไหนสักที ยังวนเวียนมีชีวิต แบบเดิมๆ เช่น อยากเปลี่ยนแปลงตัวเองเป็นคนใหม่ อยากแก้ นิสัยที่ไม่เข้าท่าหรือสร้างความเดือดร้อนให้คนอื่น แต่ไม่ว่า อย่างไรก็แก้ไม่หายสักที เหมือนกับประตูที่ไม่มีวันเปิดออก ซึ่งประตูบานที่ว่าก็คือประตูแห่งนิสัย วิธีการหนึ่งที่ควรท�าคือ การเดินหน้าท�าอะไรสักอย่าง ไม่ใช่เอาแต่บ่นโชคชะตาหรือท้อใจว่าคงเปลี่ยนอะไรไม่ได้แล้ว ซึ่งในหนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาหลายบทที่พูดถึงการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม โดยเคล็ดลับส�าคัญของการปรับพฤติกรรมให้ส�าเร็จ คือ ‘การแทนที่พฤติกรรมเก่าด้วยพฤติกรรมใหม่’ พูดอีกอย่าง คือ แทนที่คุณจะหมกมุ่นกับการแก้นิสัยเก่า คุณเดินไปหา พฤติกรรมใหม่ที่คุณท�าได้เลยยังจะดีกว่า เราขอยกตัวอย่างเช่น ถ้าคุณเป็นคนเก็บเงินไม่เก่ง แทนที่ คุณจะตัง้ หน้าตัง้ ตาบังคับตัวเองไม่ให้ใช้เงิน คุณก็หาประตูบานใหม่ ด้วยการตัดสินใจซือ้ เหมือนเดิม เพียงแต่ไปซือ้ อะไรทีเ่ ป็นการลงทุน หรือการออมแทน เช่น กองทุน ประกัน ว่าง่ายๆ คือ คุณยังเป็น นักช้อปเหมือนเดิม เพียงแต่คณ ุ ช้อปสิง่ ทีเ่ ข้าท่ามากขึน้ อย่างน้อย คุณอาจจะแก้นิสยั ช่างซือ้ ไม่ได้ แต่คณ ุ ก�าลังเปิดประตูบานใหม่ ของการเป็นนักออมด้วยวิถีนักช้อปในแบบของคุณ ภาพ : Getty Images

2) ประตูแห่งโอกาส

บางครั้งโชคชะตาไม่เข้าข้าง ท�าให้หลายคนเจอปัญหา ว่า ประตูแห่งโอกาสที่รอคอยถูกปิดลง เช่น เก็บเงินมาท�าธุรกิจ แต่ สุด ท้ า ยมีเ หตุต ้ อ งเอาเงิน ไปท� า อย่ า งอื่น ก่ อ น หรือ ตั้ง ใจ อยากสอบเป็นผู้พิพากษา แต่สอบไม่ผ่านสักที แล้วคุณก็คิดว่า นี่คือความล้มเหลวของคุณ สิ่ ง ส� า คั ญ ของการต่ อ สู ้ ใ นสมรภู มิ นี้ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ อ งของ สถานการณ์ภายนอก แต่เป็นเรื่องของทัศนคติหรือมุมมอง ในการรับมือ ซึ่งในหนังสือพูดไว้เยอะมากและยกมาหลาย ตั ว อย่ า งที่ พู ด ถึ ง การมี มุ ม มองที่ พ ลิ ก สถานการณ์ จ ากร้ า ย ให้กลับมาดี จากที่ดูเหมือนทางตันแต่กลายเป็นพบทางออก

เอาไงต่ อ ? เมื่ อ โอกาสหรื อ ประตู ที่ ร อคอย ถู ก ปิ ด ลง

ยกตัวอย่างเช่น เจ้าของธุรกิจรับจัดผลไม้ให้ออกมาเหมือน ดอกไม้ หรือ Edible Arrangement ที่ถูกคนห้ามและหัวเราะเยาะ ไอเดียธุรกิจของเขา แต่สุดท้ายเขาก็ท�ามันได้ส�าเร็จ เคล็ดลับส�าคัญของการเปิดประตูบานด้านโอกาสคือ ‘คุณต้องมีความยืดหยุ่น’ เพราะทันทีที่คุณยืดหยุ่นกับตัวเอง คุณจะไม่ดันทุรังที่จะเปิดประตูบานนั้นบานเดียว แต่คุณจะเริ่ม มองหาประตูบานอื่น และเชื่อเถอะว่า มีคนเยอะแยะมากมาย ที่กลับไปขอบคุณประตูบานที่ปิดลง เพราะมันท�าให้เขาเจอ ประตูทองที่ยิ่งใหญ่กว่าประตูบานเก่า หรือกระทั่งบางทีการที่ คุ ณ เดิ น หน้ า ไปเรื่ อ ยๆ สุ ด ท้ า ยวั น หนึ่ ง คุ ณ อาจพบว่ า ประตู บานที่ปิดได้ถูกปลดล็อกให้เปิดแล้วก็ได้

3) ประตูแห่งชีวิต

ประตูแห่งชีวิตฟังดูเป็นค�ากว้างๆ ค�าใหญ่ๆ แต่ที่ตั้งใจ จะหมายถึงคือ แง่มมุ อืน่ นอกเหนือจากงานหรือนิสยั ส่วนตัว เช่น ครอบครัว ความรัก ความเจ็บปวด สุขภาพร่างกาย ยกตัวอย่าง เช่น ประตูบานที่ปิดลงอาจหมายถึงการหย่าร้าง ประตูที่ปิดลง คือการจากไปของคนที่คุณรัก ประตูที่ปิดลงคือความเจ็บปวด ที่ ฝ ั ง และคอยหลอกหลอนอยู ่ ใ นชี วิ ต คุ ณ ราวกั บ เงาตามตั ว ที่แยกไม่ออก ประตูที่ปิดลงคือโรคร้ายที่คุณเผชิญหน้าอยู่ แม้หนังสือจะไม่พูดถึงเรื่องนี้ตรงๆ แต่การอ่านหนังสือ เล่ ม นี้ จ ะท� า ให้ เ ห็ น วิ ธีคิ ด หนึ่ ง ที่ ซ ่ อ นอยู ่ คื อ ‘การมองโลก ในแง่บวก’ เพราะแทบทุกบทจะเริ่มต้นด้วยสถานการณ์หรือ ปัญหาก่อน แต่สุดท้ายจะชี้ให้เห็นว่ามันมีคนที่คิดหาทางออก หรือคิดหาทางใหม่ๆ ที่จะผ่านสถานการณ์หรือปัญหาที่ใหญ่ ราวกับภูเขานั้นไปได้ทั้งนั้น เช่นเดียวกับประตูแห่งชีวติ การทีเ่ ราเจอทางตันหรือประตู ทีป่ ดิ ลง ไม่ได้แปลว่าเราล้มเหลว หรือเราไม่สามารถเริม่ ต้นใหม่ ได้ เปล่าเลย! การที่ประตูบานหนึ่งปิดลง มันก็คือการผลักคุณ สู่โอกาสใหม่ๆ ต่างหาก คุณอาจไม่เคยรู้ตวั มาก่อนว่า คุณแกร่ง แค่ ไ หน ถ้ า คุ ณ ไม่ เ จอโรคร้ า ยหรื อ เหตุ ก ารณ์ แ ย่ ๆ ในชี วิ ต คุณอาจไม่รวู้ า่ คุณรักภรรยาหรือสามีของคุณแค่ไหน เมือ่ ความสัมพันธ์ของคุณเดินมาถึงจุดของการหย่าร้าง ทุกอย่างอาจดูเหมือนคุณพลาดโอกาส แต่อย่างที่บอก ถ้ า คุณ มองโลกในแง่ บ วกแล้ ว เดิน หน้ า ต่ อ คุณ จะพบประตู บานใหม่แน่นอน

และนี่ก็คือหนังสือที่อยากจะแนะน�าให้กับคนที่รู้สึกตัน หรือคิดไม่ออกว่าต้องท�าอย่างไรต่อดี? เพราะสุดท้าย ทางเลือก มี 2 ทาง คือ คุณจะเปลี่ยน หรือรอให้โลกเปลี่ยนคุณ


36

EDITOR,S NOTE

เรื่อง

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

ภาพ

อุษา นพประเสริฐ ศิลปกรรม IG : aadayy

เติบโต 1. เวลาขับรถเร็วๆ บนหนทางยาวไกล มักจะมีความรูส้ กึ แปลกๆ บางอย่างผุดขึน้ มา ภายในใจ มันเป็นความภาคภูมิใจอยู่ลึกๆ ระคนกันกับความรูส้ กึ แปลกใจ และแปลกแยก กับสถานการณ์ตรงเบื้องหน้า เมื่อมองออกไปเห็นท้องฟ้าสว่างไสว สองมือเกาะกุมพวงมาลัยไว้มนั่ ควบคุมทิศทาง ทีต่ นเองก�าลังมุง่ ไป เข็มเกจ์วดั รอบเครือ่ งยนต์ แกว่งไกว เข็มบนหน้าปัดนาฬิกาข้อมือข้างซ้าย กระดิกไป ผมรู ้ สึก แปลกแยกเหมือ นว่ า ตัว เอง ไม่ได้เป็นตัวเอง แปลกใจทีร่ สู้ กึ เหมือนเราเป็น คนอื่น เพราะสถานการณ์ตรงหน้ามันเป็น สิง่ ทีม่ แี ต่ผใู้ หญ่เท่านัน้ ทีท่ า� ได้ ในขณะเดียวกัน ก็รู้สึกภาคภูมิใจที่เราได้เป็นเหมือนคนรุ่น พ่อเรา รุ่นพี่ ที่เราเคยเห็นพวกเขาท�าแบบนี้ 2. แปลกดีที่เรามักจะไม่ทันรู้ตัว เวลาที่ ได้เติบโตขึ้นไปสู่อีกระดับขั้นของชีวิต เพราะ ความรูส้ กึ ถึงตัวตนของเราด�าเนินมาและด�าเนิน ไปด้วยความทรงจ�าและเรื่องเล่าที่ต่อเนื่อง ไร้รอยต่อ จนเรายังรูส้ กึ ว่าเป็นคนเดิม เหมือนเดิม ไม่ รู ้ ว ่ า มี ใ ครรู ้ สึ ก เหมื อ นกั น นี้ ไ หม อย่ า งตอนที่ จ ะจะก้ า วเข้ า สู ่ วั ย รุ ่ น จะมี ช่ ว งหนึ่ง ซึ่ ง เราลั ง เลสงสั ย ว่ า จะต้ อ งจ่ า ย ค่าตั๋วรถเมล์เท่าไหร่ สมัยก่อนค่าตั๋วรถเมล์ ของเด็กนักเรียนตัวเล็กๆ นัน้ เก็บแค่ครึง่ ราคา เวลาพีช่ ายพาผมขึน้ รถเมล์ไปโรงเรียนตอนเช้า กระเป๋ า รถเมล์ บ างคนเก็ บ ผมครึ่ ง หนึ่ ง บางคนเก็บผมเต็มราคา หรือตอนทีเ่ ราก�าลัง จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่เต็มตัว จะมีอยู่ช่วงหนึ่ง ซึ่งเราลังเลที่จะเรียกบริกรในร้านอาหารว่า พี่หรือเรียกว่าน้อง นี่อาจจะเป็นเหตุผลว่าเราแต่ละคน จะต้องมีจดุ เปลีย่ น จุดพลิกผัน หรือพิธกี รรม อะไรบางอย่างในชีวิต เพื่อเป็นหมุดหมาย หรือสัญลักษณ์แห่งการเติบโตและข้ามผ่าน ช่วงวัย ส�าหรับบ้านผม พิธีกรรมและวัตถุ สัญลักษณ์แห่งข้ามผ่านช่วงวัย คือการไปซือ้ นาฬิกาข้อมือและการหัดขับรถยนต์ 3. ทีบ่ า้ นเรามีประเพณีภายในครอบครัว เมื่อลูกๆ เข้าสู่วัยหนุ่มสาว ตอนที่เราเรียน ถึงชั้นมัธยมปลาย ป๊าจะซื้อนาฬิกาข้อมือ ให้คนละเรือน วัน ที่ป ๊ า พาไปซื้อนาฬิกาของตัวเอง เหมือนเป็นวันส�าคัญในชีวติ ตามปกติป๊าจะ ไม่ ไ ด้ ไ ปเที่ ย วเตร่ ห รื อ ช้ อ ปปิ ้ ง อะไรที่ ไ หน ท�างานส่งเส้นก๋วยเตี๋ยวเสร็จก็จะมาพักผ่อน ทีบ่ า้ น แต่ในวันซือ้ นาฬิกาให้ลกู ป๊าจะส่งของ ให้ เ สร็ จ เร็ ว กว่ า ปกติ มาอาบน�้ า แต่ ง ตั ว ใส่เสื้อเชิ้ตหล่อเหลา กางเกงขายาว และ รองเท้าหนังคู่เก่ง ลูกก็จะแต่งตัวสวยหล่อ ตั้งตารอวันส�าคัญ พอกินข้าวเช้าเสร็จ แม่รับหน้าที่เก็บ ล้าง ส่วนป๊าจะพาเราขับรถออกจากบ้านไป พอเที่ยงๆ กลับมาถึงบ้าน เราก็จะมีนาฬิกา

เรื อ นใหม่ เ อี่ ย มผู ก อยู ่ บ นข้ อ มื อ จ� า ได้ ว ่ า พี่สาวคนโตได้นาฬิกาเข็มเรือนเล็กๆ ยี่ห้อ Orient พี่ชายคนรองลงมาได้นาฬิกาเข็ม ดู บึ ก บึ น ยี่ ห ้ อ Seiko ส่ ว นพี่ ช ายอี ก คน ได้นาฬิกาทันสมัยไฮเทค มีทงั้ เข็มและตัวเลข ดิจิตอล ยี่ห้อ Citizen วันส�าคัญของผมในฐานะลูกคนสุดท้อง นั่นมันก็เกือบจะสามสิบปีมาแล้ว ผมจ�าได้ ว่าเราอยู่บนรถแวนคันเก่าที่อบอวลไปด้วย กลิ่นหืนน�้ามันพืชที่ใช้ชโลมเส้นก๋วยเตี๋ยว พาผมไปซื้อนาฬิกาที่เยาวราช ขับรถขึ้นไป จอดไว้ตรงที่จอดรถของห้างคาเธย์ ทางขึ้น เป็ น เนิน สู ง ชั น ช่ อ งจอดคั บ แคบยากเย็ น แล้วพาผมเดินทะลุตรอกซอกซอยออกมาถึง ริมถนนใหญ่ เข้าไปทีห่ า้ งขายนาฬิกาใหญ่โต สมัยนัน้ นาฬิกาข้อมือเป็นเครือ่ งประดับ หรูหรา บรรยากาศในร้านดูเป็นทางการและ จริงจังมาก พนักงานขายใส่สูท ใส่ถุงมือ บรรจงหยิ บ นาฬิ ก าออกจากตู ้ ใ ห้ ล องใส่ ทีละเรือนๆ นาฬิกาเรือนแรกในชีวิตของผม ยีห่ อ้ Citizen เป็นนาฬิกาเข็ม ตัวเรือนท�าจาก สเตนเลส มีชุบทองชุบเงิน คนขายเรียกว่า ลวดลายสามกษั ต ริ ย ์ ราคาพั น กว่ า บาท ซึ่งเทียบกับค่าเงินสมัยก่อน ตอนนั้นทองค�า บาทละแค่สามหรือสี่พัน ก๋วยเตี๋ยวชามหนึ่ง ราคาห้าบาทแปดบาท นาฬิกาข้อมือกลายเป็นสัญลักษณ์ ของการเติ บ โตจากเด็ ก น้ อ ยไปเป็ น วั ย รุ ่ น การไปซื้อ นาฬิ ก าที่เยาวราชก็เป็ น เหมือ น พิธีกรรมในการข้ามผ่านช่วงวัย เหมือนกับ พวกชนเผ่ า โบราณที่ จ ะมี พิ ธีก รรมน� า เด็ ก ที่ เ พิ่ ง แตกเนื้ อ หนุ ่ ม ไปกระโดดหน้ า ผา อะไรท�านองนั้น 4. หลั ง จากการไปซื้ อ นาฬิ ก าข้ อ มื อ ตอนมัธยมปลาย เราจะข้ามผ่านช่วงวัยอีกครัง้ ตอนเรียนจบมหาวิทยาลัยและเริม่ ต้นท�างาน ป๊าจะสอนเราขับรถและซือ้ รถญีป่ นุ่ คันเล็กๆ ให้ รถคันเก่าเกียร์กระปุกของป๊านั้นจะมี ไว้สา� หรับให้พวกเราฝึกปรือ ป๊าจะนัง่ ประกบ อยู่เบาะซ้าย มือจับเบรกมือไว้ตลอดเวลา พาเราขั บ วนแถวๆ สวนอ้ อ ย สวนรื่ น ที่การจราจรค่อนข้างโล่ง เขาลุ้นตัวโก่งเวลา ทีเ่ ราเลียคลัตช์ไม่ให้เครือ่ งดับตรงคอสะพาน เวลาที่ เ ลี้ ย วโค้ ง แล้ ว ลื ม ถอนเท้ า ขวาจาก คันเร่งมาแตะเบรก และเวลาที่เราฝึกจอด เทียบช่องฟุตปาธแคบๆ ผมได้ใบขับขี่ตอนเรียนมหาวิทยาลัย ปีสี่ และติดนิสยั ถอดรองเท้าขับรถมาจากป๊า เพิ่ ง จะใส่ ร องเท้ า ขั บ ได้ ก็ ต อนที่ ซื้ อ รถ เกียร์ออโต้ของตัวเอง เมื่อมีรถยนต์ เราก็ออกจากบ้านไกล ขึ้ น ๆ ไปไหนมาไหนได้ เ องอย่ า งอิ ส ระ ตัดสินใจทิศทางชีวิตได้ โดยไม่ต้องรอไป กับป๊าและพี่ๆ อีกต่อไป เมือ่ มีนาฬิกาข้อมือ เราก็ออกจากบ้าน นานขึ้นๆ ชีวิตประจ�าวันไม่ได้ขึ้นกับนาฬิกา แขวนบนฝาผนังที่บ้านอีกต่อไป ไม่ต้องรีบ กลับมากินข้าวบ้าน แทบไม่ต้องกลับบ้าน

เลยก็ได้ วันทีผ่ มรูส้ กึ ว่าตัวเองเติบโตเป็นผูใ้ หญ่ ได้อัพเลเวลไปสู่สภาวะใหม่อย่างฉับพลัน คือตอนทีเ่ รียนจบและเริม่ ท�างานมาได้สหี่ า้ ปี ตอนนั้นเริ่มท�างานเป็นนักเขียน และเพิ่งมี หนังสือพ็อกเกตบุก๊ เล่มแรกของตัวเอง วันนัน้ ผมก� า ลั ง ขั บ รถไปงานเปิ ด ตั ว หนั ง สื อ ของ ตัวเองในงานสัปดาห์หนังสือฯ ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ิ์ บนถนนรัชดา มุง่ หน้า คลองเตย ผมมองออกไปเบือ้ งหน้าเห็นท้องฟ้า สว่างไสว สองมือเกาะกุมพวงมาลัย และ นาฬิกาเรือนนั้นอยู่บนข้อมือ แปลกดีทเี่ รามักจะไม่ทนั รูต้ วั เวลาทีไ่ ด้ เติบโตขึน้ ไปสูอ่ กี ระดับขัน้ ของชีวติ นัน่ มันคือ เมื่อเกือบยี่สิบปีก่อน ผมคิดว่าการเติบโตนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ส�านึก เกี่ยวกับระยะทางและเวลา 5. เมื่อคืนผมฝันถึงป๊ากับแม่ เราสามคน อยู่ในรถแวนคันเดิมคันนั้น ป๊าเป็นคนขับ แม่นั่งอยู่เบาะข้าง เราก�าลังไปที่ไหนสักแห่ง บรรยากาศเหมื อ นเป็ น ย่ า นเมื อ งใหญ่ ถนนพลุกพล่าน ป๊าอาจจะไปกูเ้ งินหรือฝากเงิน ที่ทรัสต์ไหนสักแห่ง อยู่แถวๆ พลับพลาไชย หรือเยาวราช มองไปเบื้ อ งหน้ า เห็ น เบาะหน้ า สูงตระหง่าน ผมก�าลังนั่งเล่นอยู่เบาะหลัง มี ก บปลอมตั ว ใหญ่ ข นาดเท่ า แขนของ เด็กน้อย สีเขียวจาง ท�าจากยางนุ่มนิ่ม อย่างเชื่องช้าและเงียบเชียบ ผมเอา กบยางตั ว นั้ น ค่ อ ยๆ ไต่ ห ลั ง เบาะขึ้ น ไป กลิ่นเบาะหนังปลอมท�าจากพลาสติกเรียบ ลื่น กลิ่นเหม็นหืนของน�้ามันพืชที่ใช้ชโลม เส้นก๋วยเตี๋ยว กลิ่นครีมแต่งผมยี่ห้อแอคชั่น กระปุกสีน�้าเงิน ที่ท�าให้ผมของป๊ามันแผล็บ และหวี เ สยเหมื อ นดาราฮ่ อ งกง กลิ่ น ฉุ น ของน�้ายาดัดผมราคาถูกๆ จากร้านท�าผม ในตลาดทีท่ า� ให้ทรงผมของแม่หยิกฟูเหมือน ทรงนางงามตลอดเวลา ผมแกล้ ง วางกบปลอมยอบแยบ น่าขยะแขยงไว้บนไหล่แม่ แม่หันมามอง อย่างเฉยเมย เอื้อมมือมากุมมือผมไว้ ป๊าหันมายิ้มและหัวเราะอารมณ์ดี

ISSUE 575 28 JAN 2019


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.