TODAY EXPRESS PRESENTS
04 MAR 2019
581 580 579
SINGAPORE THE UNKNOWN WORLD
02
CONTENTS
ISSUE 580 04 MAR 2019
DATABASE ตัวเลขเชิงสถิตท ิ แี่ สดงให้เห็น ถึงการให้คณ ุ ค่ากับงานศิลปะ และวัฒนธรรมของประเทศ สิงคโปร์
PRESENTS
04 MAR 2019
581 580 579
ISSUE 580
TODAY EXPRESS
THE CONVERSA TION บทสนทนาเรือ ่ งศิลปะและ ความร่วมสมัยกับ Sam Lo และ รักกิจ สถาพรวจนา ศิลปินสตรีทอาร์ตของ
SINGAPORE THE UNKNOWN WORLD
สิงคโปร์และของไทย
LIFE ยุทธศาสตร์การสร้างชาติ ด้วยศิลปะ ตามแบบฉบับของ สิงคโปร์
THEY SAID คุยเรื่องความสัมพันธ์และ ความของชีวิตกับสี่หนุ่ม ดาวรุ่ง จากซีรีส์ Great Men
Academy สุภาพบุรษ ุ สุดทีเ่ ลิฟ
SPACE & TIME เดินส�ารวจ Supermama ร้านขายของดีไซน์สญ ั ชาติ
เราอยากได้ รู ป สิ ง คโปร์ ที่ ต รงกั บ คอนเซ็ ป ต์ The Unknown World เพื่ อ สื่ อ ถึ ง ประเทศนี้ ใ นมิ ติ ใหม่ ที่ ไ ม่ ไ ด้ มี แ ค่ ค วามยิ่งใหญ่ทางเศรษฐกิจ เท่ านั้ น แต่ ยั ง รุ่ ม รวยด้ ว ยศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมจากคน หลากหลายเชื้ อ ชาติ จึ ง เดิ น ลั ด เลาะหลี ก เลี่ ย ง ย่ า นธุ ร กิ จ และตึ ก สู ง จนมาเจอกั บ วั ด เที ย นฮกเก๋ ง บนถนน Amoy Street ย่านไชนาทาวน์ แค่เห็นปุ๊บ ก็ ช อบเลย เพราะบนก� า แพงวั ด แต่ ง แต้ ม ไปด้ ว ย สี สั น ของภาพกราฟฟิ ตี้ จ าก Yip Yew Chong สตรีทอาร์ทิสต์ชาวสิงคโปร์ โดยมีฉากหลังเป็นตึก สูง สไตล์ โ มเดิ ร์ น ท� า ให้ สุ ด ท้ า ยเราได้ ภ าพบนปกที่ สื่ อ ให้ เ ห็ น ถึ ง การผสมผสานอย่ า งลงตั ว ระหว่ า ง ศิ ล ปะร่ ว มสมั ย ศาสนา และการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของสิ ง คโปร์
INTERNS
สิงคโปร์
BREATHE IN เล่าเรือ่ ง Content Marketing (ตอนจบ) : วิธเี ล่าเรือ่ งอย่าง นักการตลาดคอนเทนต์
EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อชีวิตและสังคม ผ่านสายตา วุฒช ิ ย ั กฤษณะประกรกิจ
ทีป ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการทีป ่ รึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ้ ม ิ พ์ผโู้ ฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒช ิ ย ั กฤษณะประกรกิจ รองบรรณาธิการบริหาร ฆนาธร ขาวสนิท บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นั ก เขี ย น/ผู้ ป ระสานงาน ตนุ ภั ท ร โลหะพงศธร บรรณาธิ ก ารภาพ คเชนทร์ วงศ์ แ หลมทอง หั ว หน้ า ช่ า งภาพ กฤตธกร สุ ท ธิ กิ ต ติ บุ ต ร ช่ า งภาพ ภาสกร ธวั ช ธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ิ สกุล ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิม ้ แย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิรล ิ ก ั ษณ์ ตะเภาหิรญ ั ศิลปกรรม ฐิตช ิ ญา อนันต์ศร ิ ภ ิ ณ ั ฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิ สู จน์ อั กษร หั ส ยา ตั้ งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิท ธิ์ ไม้ล�า ดวน พิสูจ น์อัก ษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง กวินนาฏ หัวเขา ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ ช่ว ยผู้จัดการฝ่า ยโฆษณา ภรัณ ภพ สุข อินทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจุฬ างกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว นักศึกษาฝึกงาน กรภัทร์ เกียรติจารุกุล ธฤษวรรณ แสงโชติช่วงชัย ณัชพล เนตรมหากุล ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com
04 เรื่อง
พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณำธิกำร IG : itspattamai
DATA BA S E
ภำพ
สิริลักษณ์ ตะเภำหิรัญ ศิลปกรรมอำวุโส IG : Ponyo_thesea
ARTS AND C U LT U R E O F SINGAPORE
ISSUE 580 04 MAR 2019
จ�ำนวนนิทรรศกำร Visual Arts ในสิงคโปร์ (ชิ้น) 2010
999
2011
858
2012
675
2013
559
2014
97 3
2015
1041
2016
1114
ปี
ยังจ�ำได้ดีว่ำเมื่อปีกว่ำๆ ที่ผ่ำนมำมีคนรู้จักหลำยคนแห่แหนกันไปชมงำนของ ‘คุณป้ำลำยจุด’ หรือ ยำโยอิ คุซำมะ (Yayoi Kusama) กันถึงประเทศสิงคโปร์ แถมยัง เดินต่อไปชมพิพธ ิ ภัณฑ์ศล ิ ปะและแกลเลอรีสวยๆ ทีต ่ ง ั้ อยูม ่ ำกมำยในใจกลำงเมือง ท�ำให้ได้เห็นมุมมองใหม่ๆ ว่ำสิงคโปร์ไม่ได้เป็นแค่ประเทศใหม่ทม ี่ ค ี วำมแข็งแกร่งทำง เศรษฐกิจเท่ำนัน ้ แต่ยงั ให้คณ ุ ค่ำกับงำนศิลปะ ประเพณี และวัฒนธรรมของชำติ เพือ ่ ขับเคลือ ่ นจิตวิญญำณของประชำชนและผูม ้ ำเยือนอีกด้วย
N AT I O N A L G A L L E R Y S I N G A P O R E
2 เป็นหอศิลป์ที่ใหญ่ ที่สุดในประเทศ
4
ในปี 2017 มีผู้เข้ำชมทั้งหมด 1,974,900 คน
C
M
Y
CM
MY
3
ที่มำ : www.straitstimes.com, www.nationalgallery.sg, www.timeout.com, www.channelnewsasia.com, www.mccy.gov.sg, www.ocula.com
1
จัดแสดงผลงำน ศิลปะ 8,000 ชิ้น
CY
เนื้อที่ 64,000 ตำรำงเมตร
CMY
K
5,400,000
ในปี 2017 มีผู้เข้ำชมงำนศิลปะในพิพิธภัณฑ์ และแกลเลอรีของสิงคโปร์มำกถึง 5.4 ล้ำนคน เพิ่มขึ้นจำกปีก่อนหน้ำรำว 3 แสนคน
11,000,000
840,700,000
กำรสนับสนุนของรัฐบำลท�ำให้สง ิ คโปร์มง ี ำนศิลปะให้ชมฟรี มำกมำย โดยในปี 2017 มี ผู้ เ ข้ ำ ร่ ว มชมงำนโดยไม่ เ สี ย ค่ำใช้จ่ำยมำกถึง 11 ล้ำนคน เพิ่มขึ้นจำกปี 2016 ถึง 20%
ในปี 2017 รั ฐ บำลสิ ง คโปร์ เ พิ่ ม งบประมำณ กำรสนั บ สนุ น ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมของชำติ จ ำก 720 ล้ำน เป็น 840.7 ล้ำนเหรียญสหรัฐฯ
5 ศิลปินชำวสิงคโปร์ผู้มีชื่อเสียงระดับโลก
Georgette Chen
(1906-1993) จิตรกรภำพสีนำ�้ มัน สไตล์ : Post-Impressionism ผลงานเด่น : Singapore Waterfront
ควำมรู้ สึ ก ของชำว สิงคโปร์ต่องำนศิลปะ ในประเทศ
Liu Kang
(1911-2004) จิตรกรภำพสีนำ�้ มัน สไตล์ : Nanyang Style ผลงานเด่น : Artist and Model
Sarkasi Said
(1940-ปัจจุบน ั ) ศิลปินผ้ำบำติก สไตล์ : Abstract ผลงานเด่น : Full Moon
Chong Fah Cheong
(1946-ปัจจุบน ั ) ประติมำกร สไตล์ : Contemporary Sculpture ผลงานเด่น : First Generation
Yip Yew Chong
(1970-ปัจจุบน ั ) ศิลปินสตรีทอำร์ต สไตล์ : Realistic, Interactive ผลงานเด่น : Provision Shop
65%
90%
6 4%
รู้สึกภูมิใจในประเพณีและ วัฒนธรรมของสิงคโปร์
สามารถสัมผัสได้ถึง อัตลักษณ์ที่ชัดเจนของประเทศ
เห็นด้วยว่าวงการศิลปะของสิงคโปร์ได้รบ ั ความสนใจมากขึน ้ ในช่วง 5 ปีทผ ี่ า่ นมา
§À²Ø´Ô°ÍÜ»À§º
ÕÀÈ§Ì º Ôº²Ñ ÅÊÃʼ¯Ìܲ¼ÂØ°»Õ°Ċ ¯Î¦§Ðº§² L î-î= H =52$ 2= 8$I î$
I 5ï,&0=ýî8$I& .?Q2 ;Hý? H".=
0=%&0=-@P5 0U=)D$
ï=2H .@-%-=6$ï= .=
60=,&0= 6$8 =-
ï,J 0ï &0=-î= 5C).. %C.@
.;-=5=." =
$UQ=).? .;5< 5.;I ï2
I ;"?68- <$ <%-8 H&ê )< =
2< $#.., ï=$8=6=. =. ?$ 8 H,B8 L"-H.=$<Q$ ,@ýBP8H5@- H&õ$"@P.Dï < L&"<P2J0 H,$D8=6=.L"-60=-8-î= H ?$"= ï=,$UQ= ï=,";H0L&5.ï= ýBP8H5@- $U=)=$< "î8 H"@P-2 U=$2$L,î$ï8-K6ïH ?$"= 5Dî&.;H"3L"-H)BP8,= ý? , .5ý= ? "@P H &õ $ ï $ U = .< % $<P $ A H&õ $ "@P , =K6ï ., =.)< $=ýC , ý$ .;".2 ,6= L"- < =.I î < $ ? ..,8=6=.!?P $ .5L"-I"ï ²·²³ ¤Ø×ËÈÑ×ÌÆ ·ËÄÌ ·ÄÖ×È +=-K ïJ . =.ýC,ý$"î8 H"@P-2 ²·²³ $2< 2?!@ H)BP8 < 5..H,$D8=6=.!?P$.5L"-I"ï I0;)< $=L&5Dî =. 5.ï= =$ 5.ï= 8=ý@) 5.ï= .=-L ï .2,"<Q 5.ï= ýBP8H5@- ,=5DîýC,ý$ I0; .< 4=2< $#.., ï=$8=6=. 8 I î0;"ï8 !?P$L2ïH&õ$,. 5î î8K6ï0D 60=$8@ ï2 İþīĸġěŕĦğęĦĖøčøûġĖĦõėĭŖõĥčıęŖěěŕĦİĕčĭİğęŕĦčĥĹčĕĩġĤĴėĎŖĦû ěĥččĩĹ İėĦĕĩ 47 İĕčĭıčĤčĽĦ ċĩĸĉŖġûĎġõěŕĦğĦõİĈĨčċĦûĴďċŕġûİċĩĸĖěıĉŕęĤĔĭĕĨĔĦø İĖĩĸĖĕİĖīġčüĥûğěĥĈĉŕĦûĶ ıęŖě ġĖŕĦęīĕĊĦĕğĦİĒīĸġęġûþĨĕ ėĥĎėġûĴĈŖěŕĦüĤĉĨĈġõ ĉĨĈijü üčĉŖġûĎġõĉŕġõĥčİęĖċĩİĈĩĖě İėĨĸĕüĦõİĕčĭġĦğĦėöġûĔĦøijĉŖ ġĖŕĦûıėõøīġ čĦÿĨčĦıõy ğėīġ čĦÿĨĈĦıúy öġûüĥûğěĥĈčėĦČĨěĦĞ IJĈĖ čĦÿĨĈĦıúy ğĕĦĖĊĪûöŖĦěöġûøč ĉŕĦûĊĨčĸ IJĈĖčĽĦöŖĦěİğčĩĖěıęĤöŖĦěİüŖĦĕĦĐĞĕõĥččĪûĸ ijğŖĒġĞĬõ İĉĨĕğĦûõĤċĨęûĴď ĐĞĕõĥĎĞĕĬčĴĒėĉĦĕıĎĎýĎĥĎġĦğĦėijĉŖ čĨĖĕõĨčõĥĎıõûĴõŕğėīġıõûďęĦ İĕčĭĊĥĈĕĦøīġ ıõûõĤċĨğġĖõĥčõĥĎĖġĈİďőûy öġûüĥûğěĥĈĒĥûûĦ IJĈĖ İďőûy İďŝčĞõĬęİĈĩĖěõĥĎġĨčċĐĦęĥĕ öĥĹčĉġčõĦėďėĬûčĥĹčĴĕŕĖĦõİęĖ ĉĥĹûõėĤċĤijğŖėŖġč ijĞŕĒėĨõıõûęûĴďøĥĸěijğŖğġĕ ıęŖěijĞŕğġĖıęĤĖġĈİďőûęûĴď ďėĬûėĞijğŖĊĭõďĦõ ıøŕčĩĹõķĒėŖġĕİĞĨėřēøěĦĕġėŕġĖ ĉŕġõĥčċĩĸİĕčĭ ğġĖčĦûėĕċėûİøėīĸġûy üĥûğěĥĈ ĞĬėĦĝĂėřČĦčĩ İĕčĭĞĈĬ ĢĨĉöġûİĕīġûğġĖijğāŕ ĴöŕıĈû İĒĩĖûıøŕęĦŖ ûğġĖijğŖĞĤġĦĈ ĉĦĕĈŖěĖčĽĦĹ üĨĕĹ ıęĤİøėīġĸ ûİøĩĖûõķēčŌ ĴďĉĦĕĶ õĥč üĦõčĥčĹ õķĉġŕ ĈŖěĖİĕčĭ öŖĦěĖĽĦ ČĥāĒīþy öġûüĥûğěĥĈĒĥċęĬû ċĩĸčĽĦĞŕěčĐĞĕüĦõĞĕĬčĴĒėıęĤİøėīĸġûďėĬûėĞĉŕĦûĶ ĕĦěĦûĴěŖijčüĦčĒėŖġĕĈŖěĖöŖĦěğġĕĕĤęĨėŖġčĶ õŕġčüĤõĨčõķ ĖĽĦy ijğŖİöŖĦõĥč čġõüĦõøěĦĕġėŕġĖıęŖě ĖĥûĕĩøĬćøŕĦċĦûIJĔþčĦõĦėĞĭû ĈĩĉŕġĞĬöĔĦĒġĩõĈŖěĖ ďŌĈċŖĦĖİĕčĭĔĦøijĉŖĈěŖ ĖöġûğěĦč ĴġĜõėĩĕõęŖěĖİęķĎĕīġčĦûy öġûüĥûğěĥĈþĬĕĒė ĞėŖĦûĞėėøřüĦõõęŖěĖďėĤüĽĦċŖġûĊĨĸčöġûĔĦøijĉŖ ĕĩėĞğěĦčıęĤõęĨĸčğġĕ ğčŖĦėŖġčıĎĎčĩĹİďŝčİĕčĭıčĤčĽĦõĥčİęĖċĩİĈĩĖě üĦõĔĦøijĉŖöčĪĹ ĴďĔĦøõęĦû ĕĩ ĴõŕĖĦŕ ûĞĦėĨõĦy öġûüĥûğěĥĈčøėčĦĖõ ĞĭĉėęĥĎİýĒĦĤöġûĒīčĹ ċĩ ĸ ĴĈŖþġīĸ ĕĦüĦõčĽĦĹ ĉõĞĦėĨõĦ ĞĊĦčċĩċĸ ġŕ ûİċĩĖĸ ěöĪčĹ þīġĸ öġû üĥûğěĥĈčøėčĦĖõ Ğŕěčİĕčĭ ĉŖĕIJøęŖûďęĦĖŕĦûy öġûüĥûğěĥĈĞĬĒėėćĎĬėĩ õķĕĦ üĦõİĕčĭİĈķĈüĦõďęĦþŕġččĦ ċĩĸčĨĖĕõĨčėŖġčĶ þŕěĖöĥĎİğûīĸġ ıęĤİüėĨāġĦğĦė IJĈĖİýĒĦĤġĖŕĦûĖĨĸûĞĽĦğėĥĎøčİďŝčğěĥĈþĤûĥĈĈĩıċŖ ġĩõİĕčĭøīġ öŖĦěøęĬõõĤďŌy öġûüĥûğěĥĈĞĨûğřĎėĬ ĩ čĩõĸ İķ ĈķĈĴĕŕıĒŖijøė ĈŖěĖõĦėijþŖ õĤďŌy İøėīġĸ ûďėĬûõŖčøėĥěĴċĖ ıĉŕIJĎėĦć øęĬõöŖĦě õĨčõĥĎİøėīĸġûİøĩĖûĉŕĦûĶ ċĩĸĕĩğęĦõėĞġėŕġĖijčüĦčİĈĩĖě öćĤċĩĸ ıõûďŐĦy öġûüĥûğěĥĈõĦāüčĎĬėĩ ċĩĸğġĕõėĬŕčĈŖěĖİøėīĸġûİċĜ İďŝčıõû ığŕûĔĭĕĨďśāāĦĞĤċŖġčěĨĊĩþĩěĨĉċĩĸĕĩøěĦĕĞĥĕĒĥčČřõĥĎČėėĕþĦĉĨ ıęĤďŌĈċŖĦĖİĕčĭ
^ ūŭŲŬ ^ŭ a ŭÑÑ ^ ūŭŲŬ ^ŭ a ŭÑÑ õėĕõĦėĒĥ õėĕõĦėĒĥĆ ĆčĦþĬ čĦþĬĕĕþč ĕĬ þč ĕĬŕûŕûĕĥĕĥĸčĸčİĞėĨ İĞėĨĕĕĞėŖ ĞėŖĦĦûİĜėĝĄõĨ ûİĜėĝĄõĨüüĄĦčėĦõĕĥ ĄĦčėĦõĕĥĸčĸčøû İĒĨ øû İĒĨĸĕĸĕøěĦĕĞĬ øěĦĕĞĬööĕěęėěĕijğŖ ĕěęėěĕijğŖďďėĤþĦþč ėĤþĦþč
ï=2I ñ$#<p)Bý 0U=&=
ï=2 @P5<%&;. L.î,î2 H0-
L î-î= 5=.? = $ .$=-
I &é= =p $%C.@
I 9< H0 I).î
ï=2-U=#<p)Bý )<"0C
ï=2 0C ;&å 5? 6ñ%C.@
$, 8 0U=H @- 8î= "8
ĔĦøõęĦûĈŖěĖ öčĕĈġõęĽĦİüĩĖõy öġûüĥûğěĥĈġŕĦûċġû İďŝčöčĕğěĦčIJĎėĦć ċĩğĸ ĦĴĈŖĖĦõijčďśüüĬĎčĥ ĉĥěöčĕęĥõĝćĤøęŖĦĖĈġõęĽĦİüĩĖõ ĴĞŖċĦĽ ĕĦüĦõĕĤĒėŖĦě ġŕġč ğŕġĈŖěĖıďőûöŖĦěİğčĩĖěċĩĐĸ Ħŕ čõĦėġĎøěĥčİċĩĖč üĪûĴĈŖėĞĞĥĕĐĥĞċĩğĸ ġĕğěĦč ıĞčġėŕġĖ ĕĦĉŕġõĥčċĩĸĔĦøĉĤěĥčġġõ ĒęĦĈĴĕŕĴĈŖĉŖġû İĞŖčüĥčċřĐĥĈďĭy öġû üĥûğěĥĈüĥčċĎĬėĩ ċĥĹûİğčĩĖěčĬŕĕıęĤõęĕõęŕġĕøěĦĕġėŕġĖ IJĈĖĕĩĊĥĸěûġõĞĈ ijĎõĬĖþŕĦĖ ıĉûõěĦÿġĖğĥčĸ ıęĤğĥěďęĩġġŕ čİďŝčİøėīġĸ ûİøĩĖû ĉŕġĈŖěĖ öŖĦěİõėĩĖĎ ĖĦğčŖĦy öġûüĥûğěĥĈĉėĦĈ ĞėŖĦûĞėėøřüĦõöŖĦěİõėĩĖĎďĦõğĕŖġċĩĸčĽĦĕĦĖŕĦûĎč İĉĦĊŕĦčüčıĐŕčıďőûĞĬõ ĴĈŖėĞþĦĉĨĊõĭ ďĦõĴďġĩõıĎĎ öćĤċĩ ĸ ĐĥĈĴċĖõĬûŖ İøĩĖûİøĖy öġûüĥûğěĥĈėĤĖġû õķĕĩċĩİĈķĈõĦėďėĬûėĞüĦõčĽĹĦĕĤöĦĕİďōĖõ čĽĹĦĉĦęďōŠĎ ıęĤ ĒėĨõığŖû ĴĈŖėĞþĦĉĨġėŕġĖİďėĩĖĹ ěġĕğěĦčĐĞĕİĐķĈ ġĩõİĕčĭİĈķĈøīġ ıõûĞŖĕďęĦþŕġč ıďĈėĨĹěy öġûüĥûğěĥĈýĤİþĨûİċėĦ ijþŖďęĦþŕġčĉĥěIJĉċġĈċĥĹûĉĥěIJĈĖĴĕŕİġĦğĥěġġõ İğęīġûõėġĎıĎĎİčīĹġijčĖĥûčĬŕĕ ėĦĈčĽĹĦıõûĞŖĕĒėŖġĕĈŖěĖĐĥõõėĤİýĈ üĦõčĥĹčõķ İďŝč čĽĹĦĒėĨõõėĤĞĥûy öġûüĥûğěĥĈĞėĤıõŖě ęĭõõėĤĞĥûčĥĹčİďęīġõĕĩõęĨĸčğġĕijþŖ ıċčĕĤčĦěĴĈŖ ďėĬûėĞĈŖěĖõĦėIJöęõĒėĨõõėĤİċĩĖĕıęĤõėĤĞĥû İĒĨĕĸ ėĞþĦĉĨĈěŖ Ė čĽĹĦďęĦėŖĦ ĕĦĒėŖġĕõĥĎĐĥõıčĕ ġėŕġĖġĖŕĦĎġõijøėİþĩĖě üĦõčĥĹčõķĴďĔĦøĔĦøĉĤěĥčġġõİýĩĖûİğčīġ İĕčĭġĩĞĦčİėĨĸĕõĥčĈŖěĖ ğęĦĕďęĦy üĥûğěĥĈğčġûøĦĖ õęĨčĸ ğġĕĴēİğĕīġčõĦėďŌûş ıęĤõĦėĥčĉĩėĞþĦĉĨ øěĦĕġėŕġĖ öćĤċĩĸ İğķĈčĥěėřy öġûüĥûğěĥĈġĬĈėČĦčĩ ĈŖěĖõĦėčĽĦİğķĈøęĬõİøęŖĦ õĥĎıďőû ıęŖěċġĈijččĽĦĹ ĕĥčėŖġčĶ üčİğęīġûõėġĎüĨĕĹ õĥĎčĽĦĹ üĨĕĹ ėĥĎėġûġėŕġĖİĈķĈ ĉĦĕĈŖěĖ öŖĦěüĩĸĞĥĎďĤėĈĴėŕĕŕěûy öġûüĥûğěĥĈİęĖ İĕčĭüĦõþĬĕþčĎŖĦčĴėŕĕŕěû ığęŕûďęĭõĞĥĎďĤėĈĕĦõċĩĞĸ ĈĬ ijčüĥûğěĥĈİęĖ ęûĉĥěĈŖěĖøěĦĕğġĕüĦõõĦėďŌûş ıęĤ ėĞğěĦčġĕİďėĩĖĹ ěüĦõĞĥĎďĤėĈ öćĤċĩ ĸ ďŐčďĭčĦy öġûüĥûğěĥĈõĦĠĞĨčČĬ ř õķğĦŖ ĕĒęĦĈ
$= ? =I $.=#?2=5
&é$&D$= =75?$#Cò
ñ2-H @S-25CJ "<- 5CJ "<-
H5ï$ <$"ò'< &D <$"%C.@
ĖĨĸûİĕīĸġõĨčøĭŕõĥčõĥĎĐĥõĒīĹčĎŖĦčĞĈĶ ėĥĎďėĤõĥčøěĦĕġėŕġĖĴĈŖİęĖ ďŌĈċŖĦĖĈŖěĖ İĕčĭþīĸġĈĥû ĴõŕĖŕĦûİöĦĞěčõěĦûy öġûüĥûğěĥĈöġčıõŕč üĬĈİĈŕčġĖĭŕċĩĸõĦėğĕĥõ ıęĤõĦėĖŕ Ħ û ĈŖ ě Ėİøėīĸ ġ ûğĕĥ õ ĒīĹ č ĄĦč 36 ġĖŕ Ħ û ıęĤĖŕ Ħ ûĈŖ ě ĖİĉĦĊŕ Ħ č ıöõĴďijøėĕĦõķĉŖġûĎġõěŕĦİďŝčİĕčĭğŖĦĕĒęĦĈİęĖċĩİĈĩĖě ĞŕěčİĕčĭġėŕġĖöġûĔĦøİğčīġ İėĨĸĕĈŖěĖ ıõûĢĥûİęy öġûüĥûğěĥĈıĒėŕ ğėīġĎĦûċĩõķİėĩĖõ ıõûĢĨčİęy čĨĖĕijþŖğĕĭĞĦĕþĥĹč øęĬõİøęŖĦİøėīĸġûıõûďėĬûėĞ ıęŖěİøĩĸĖěüčğĕĭčĬŕĕ öćĤċĩĸ ęĦĎďęĦĖĩĸĞõy üĥûğěĥĈęĽĦĒĭčõķöĪĹčþīĸġ ijþŖİčīĹġďęĦ ĉŖĕ ĞĥĎijğŖęĤİġĩĖĈ ďėĬûĈŖěĖİøėīĸġûďėĬûĉŕĦûĶ õĨčõĥĎöŖĦěİğčĩĖěėŖġčĶ ėĥĎėġû øĽĦİĈĩĖěĴĕŕĒġıčŕĶ Ğŕěčġĩõİĕčĭøīġ õŘěĖİĉĩĻĖěĞĬIJöċĥĖy öġûüĥûğěĥĈĞĬIJöċĥĖ ĈŖěĖİġõęĥõĝćřijčõĦėijĞŕčĽĹĦĉĦęďōŠĎıęĤĊĥĸěđśõĖĦěğĥĸčıýęĎĉĦĕıĎĎýĎĥĎöġû õŘěĖİĉĩĻĖěİĕīġûĞĬIJöċĥĖ İĕčĭĊĥĈĕĦİďŝč öŖĦěıĉŘčČĥāĒīþy üĥûğěĥĈęĽĦďĦû ġĦğĦė ĞĭĉėĈĥûĹ İĈĨĕıęĤİďŝčİġõęĥõĝćřöġûĔĦøİğčīġ ĕĩöĦŖ ěİğčĩĖěčĪûĸ İďŝčĞŕěčďėĤõġĎ ĞĽĦøĥā ĕĩĞĉĩ Ħŕ ûĶ ğęĦõğęĦĖüĦõČėėĕþĦĉĨ ĉĎċŖĦĖİĕčĭĔĦøİğčīġĈŖěĖ õėĤĖĦĞĦėċy öġûüĥûğěĥĈĉĦõ õĨčİďŝčġĦğĦėěŕĦû ğėīġøĭŕõĥĎčĽĹĦþĦ õĦıē ĕĩøĬćøŕĦċĦû IJĔþčĦõĦė İďŝčöčĕĴċĖIJĎėĦćċĩĸĖĥûøûøěĦĕġėŕġĖıęĤĞŕûĉŕġİďŝčĕėĈõĊĪû ęĭõğęĦčijğŖĔĭĕĨijüijčěĥĆčČėėĕġĦğĦėõĦėõĨčĴĈŖİďŝčġĖŕĦûĈĩ ûĦččĩĹĉŖġûĎġõěŕĦ ċŕġûİċĩĸĖěĔĦøĴğčĶ õķĕĩöġûġėŕġĖĶ ijğŖıěĤþĨĕĴĈŖ ċĬõĔĭĕĨĔĦø ğęĦõğęĦĖüĥûğěĥĈõĥčİęĖċĩİĈĩĖě ĎĦûİĕčĭġĦüüĤğčŖĦĉĦĴĕŕøĬŖčþĨč þīĸġēśûĴĕŕøĬŖčğĭ ıĉŕċĬõİĕčĭõĦėĥčĉĩøěĦĕġėŕġĖıęĤøĬćĔĦĒüĦõõėĕõĦėĒĥĆčĦ þĬĕþč õėĤċėěûĕğĦĈĴċĖ ıęĤĞĊĦĎĥčġĦğĦėõĥčĕĦıęŖě İĈĨčċĦûċŕġûİċĩĸĖě øėĥĹûğčŖĦġĖŕĦęīĕıěĤĴďęġûþĨĕ ġĬĈğčĬčıęĤėŕěĕijğŖõĽĦęĥûijüþĦěþĬĕþč õĥĎ 47 İĕčĭġĦğĦėĊĨčĸ ėĞĴċĖıċŖ ėŕěĕĞėŖĦûûĦč ĞėŖĦûġĦþĩĒ ĞėŖĦûėĦĖĴĈŖijğŖþĕĬ þčõĥččĤ
'< L"- Cï H @- H - .;-8
68-$= .,". H .BP8 5C.=4 .ò#=$@
H6O $<2.ò 8C .#=$@
L83 .@, 0ï2-H0O%,B8$= ýC,).
08 issue 580 04 MAR 2019
AGENDA
01
02
www.theguardian.com
www.edition.cnn.com
TRaNspORTaTION
TRaVEl
ลักเซมเบิรก ์ จะกลายเป็นประเทศ แรกในโลกที่ ป ระชาชนได้ ใ ช้ ระบบขนส่งสาธารณะฟรีทงั้ หมด
โรงแรมใต้ ม หาสมุ ท รแห่ ง แรก ของโลกที่มัลดีฟส์
ลักเซมเบิร ์ ก ประเทศเล็ก ๆ ที่มีป ระชากรจ�า นวน 600,000 คน คือหนึ่งในประเทศที่มีการจราจรที่ติดขัด ทีส่ ดุ ในโลก โดยผลการศึกษาในปี ค.ศ. 2016 ชีใ้ ห้เห็นว่า ผูข้ บั รถในเมืองหลวงของประเทศใช้เวลาเฉลีย่ 33 ชัว่ โมง ต่อปีกบั การจราจรทีแ่ สนติดขัด เพราะในแต่ละวันจะมี ประชากรจากต่างเมืองอีก 400,000 คน และประชากร ที่อาศัยอยู่ในประเทศฝรั่งเศส เบลเยียม และเยอรมนี อีก 200,000 คน เดินทางเข้ามาท�างานเป็นประจ�า ทุก วัน ล่ า สุด ซาวีเ ยร์ เบตแตล นายกรัฐ มนตรี ประเทศลั ก เซมเบิ ร ์ ก จึ ง ประกาศนโยบายยกเลิ ก ค่าโดยสารรถขนส่งสาธารณะส�าหรับเด็กและเยาวชน ที่มีอายุต�่ากว่า 20 ปี และจะยกเลิกค่าบัตรโดยสาร ขนส่งสาธารณะทั้งหมดภายในปี ค.ศ. 2020
โรงแรมสุดหรูบนหมู่เกาะมัลดีฟส์ Conrad Maldives Rangali Island เปิดตัว ‘Muraka’ ทีพ่ กั ใต้ทอ้ งทะเลแห่งแรก ของโลก เป็นวิลลาสองชัน้ สร้างลึกลงไปกว่า 16 ฟุต ใต้มหาสมุทรอินเดีย ด้านในประกอบด้วยห้องนอน ใต้ท้องทะเล มีอ่างอาบน�า้ ที่หันหน้าเข้าหาท้องทะเล ห้องออกก�าลังกายส่วนตัว บาร์ สระว่ายน�า้ ห้องพักของ ผูต้ ดิ ตาม และลานพักผ่อนส�าหรับอาบแดดทีช่ นั้ ดาดฟ้า เหนือผืนน�้า โครงสร้างทั้งหมดถูกผลิตขึ้นที่ประเทศ สิงคโปร์ ก่อนจะส่งมาประกอบผ่านทางเรือขนาดใหญ่พเิ ศษ และถูกยึดเข้าอีกทีหนึ่งด้วยเสาคอนกรีตที่แข็งแรง ทนทานเพื่อป้องกันคลื่นกระแทก โดยกระบวนการ ก่อสร้างทัง้ หมดนีย้ ดึ หลักความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม
03
04
QuOTE
“I live in a set, with the curtains of the stage closed with no audience - but who cares?”
Karl Lagerfeld ดีไซเนอร์ระดับต�ำนำน อดีตผูอ้ ำ� นวยกำร ฝ่ำยสร้ำงสรรค์ของชำแนล
05
www.freshplaza.com
www.msn.com
www.architecturendesign.net
BusINEss
aNIMal
ENVIRONMENT
‘ใยสั บ ปะรด’ เทรนด์ ใ หม่ ข อง เ ค รื่ อ ง แ ต่ ง ก า ย จ า ก บ ริ ษั ท สัญชาติสเปน
สุนข ั เกรย์ฮาวด์ปลดเกษียณจาก สนามแข่ง เพือ ่ มาช่วยบ�าบัดเด็กๆ ในโรงพยาบาล
Lacoste แทนทีโ่ ลโก้แบรนด์ดว้ ย 10 สัตว์ปา่ ใกล้สญ ู พันธุ์
จากประสบการณ์ในอุตสาหกรรมดีไซน์กว่า 15 ปี เจ้าของ บริษทั Ananas Anam ชาวสเปน Carmen Hijosa ได้คดิ ค้น Piñatex ซึ่งเป็นวัสดุสิ่งทอจากเส้นใยสับปะรดเพื่อน�า มาใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มต่างๆ เช่น เสื้อผ้า เครือ่ งประดับ รองเท้า หรือเฟอร์นเิ จอร์ เนือ้ สัมผัสของ Piññatex มีความนุม่ ยืดหยุน่ และทนทาน หน้าตาคล้าย กับหนังสัตว์ แถมยังท�าความสะอาดง่ายและแห้งเร็ว โดยปัจจุบันมีบริษัทกว่า 500 แห่งได้น�าวัสดุนี้ไปใช้ รวมถึงบริษัทชื่อดัง Hugo Boss ก็ได้ผลิตรองเท้ากีฬา จาก Piññatex ออกมาแล้วเช่นกัน “เราได้สร้างสรรค์ นวัตกรรมทีย่ งั ไม่เคยมีมาก่อน โดยใช้ขนั้ ตอนการผลิต ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคมน้อยที่สุด เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของเกษตรกร” Carmen Hijosa กล่าว
เจ้าฟินน์ สุนขั พันธุเ์ กรย์ฮาวด์ ผันชีวติ จากการเป็นสุนขั แข่งขันมาสูก่ ารเป็นสุนขั บ�าบัดเด็กๆ ผูป้ ว่ ยในโรงพยาบาล Riley’s Children Health ในอินเดียแนโพลิส เพราะ ก่อนหน้านี้ ทางสนามแข่งพบว่ามันไม่ได้มที า่ ทีกระตือรือร้น อยากชนะการแข่งขันเลยสักครั้ง เขาจึงส่งมันไปยัง Prison Greyhounds สถานเปลี่ยนถ่ายสุนัขแข่งขัน ให้ไปอยูใ่ นสถานทีใ่ หม่ทเี่ หมาะสม โดยหลังจาก Kathi Moore รั บ มั น ไปเลี้ ย ง เธอก็ พ บว่ า ฟิ น น์ เ ป็ น สุ นั ข ที่มีนิสัยอ่อนโยน และสามารถเป็นสุนัขบ�าบัดที่ดีได้ เธอจึงส่งมันไปฝึกที่องค์กร Paws & Think ซึ่งเป็น องค์กรดูแลสุข เด็ก และคนพิการในรัฐอินดีแอนา ปรากฏว่ามันท�าหน้าทีไ่ ด้ดมี าก จนได้รบั ต�าแหน่งเป็น สุนัขบ�าบัดในโรงพยาบาลที่สร้างรอยยิ้มให้กับทุกคน
แบรนด์แฟชัน่ ระดับโลกสัญชาติฝรัง่ เศส Lacoste ร่วมมือ กับสหภาพระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ออกแคมเปญกระตุ ้ น การตระหนั ก รู ้ ด ้ า น สิ่งแวดล้อม โดยการปรับเปลี่ยนโลโก้จระเข้สีเขียว ในต� า นานบนเสื้ อ โปโลให้ ก ลายเป็ น สั ต ว์ ป ่ า ที่ ใ กล้ สูญพันธุท์ งั้ หมด 10 ชนิด เช่น เต่าหลังนูนพม่า แรดชวา ลีเมอร์ แร้งคอนดอร์แคลิฟอร์เนีย นกแก้วสายพันธุ์ กากาโป โลมาวากีตา และอิกัวนาแรด โดยผลิต เสือ้ โปโลออกมาในจ�านวนเท่ากับสัตว์ปา่ ชนิดดังกล่าว เท่านั้น นอกจากนี้ Lacoste ยังจะน�าเงินส่วนหนึ่ง จากการซื้ อ เสื้ อ โปโลสุ ด ลิ มิ เ ต็ ด นี้ ไ ปบริ จ าคให้ กั บ ไอยูซเี อ็นและองค์กรอนุรกั ษ์สตั ว์ปา่ ทัว่ โลกด้วย
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
T H E C O N V E R SAT I O N
ภาพ
เรื่อง น�้าปาย ไชยฤทธิ์ บรรณาธิการศิลปวัฒนธรรม นิตยสาร a day
เบญจวรรณ มังกรอัศวกุล บรรณาธิการไลฟ์สไตล์ นิตยสาร a day
ธนดิษ ศรียานงค์ ช่างภาพ thanadis@gmail.com
SINGA
THE UN WOR
11 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin
APORE
NK NOWN RLD
12 issue 580 04 mar 2019
Let’ s Talk About (Street) Art
ป ก ติ เ ว ล า แ พ ล น ไ ป เ ที่ ย ว ที่ ประเทศสิงคโปร์เรามักใช้เวลาอยูท ่ น ี่ น ั่ ประมาณสามวัน เพราะสิงคโปร์เป็น ประเทศเพื่ อ นบ้ า นที่ เ ดิ น ทางไปง่ า ย ใช้ เ วลาไม่ น าน มี เ ทคโนโลยี อ� า นวย ความสะดวกครบมาก (เผลอๆ จะดี กว่าบ้านเราเสียอีก) และเนือ ่ งจากเป็น ประเทศเล็กๆ รูตการเดินทางของเรา จึงวางแผนง่ายมาก สถานที่ส�าคัญ ส่ ว น ใ ห ญ่ ส า ม า ร ถ เ ดิ น ท า ง ด้ ว ย รถไฟฟ้ า ที่ เ กื อ บจะครอบคลุ ม บาง สถานที่ ที่ ร ถไฟฟ้ า ไปไม่ ถึ ง การขึ้ น รถประจ� า ทางของที่ นั่ น ก็ ไ ม่ ย าก เพราะสามารถตืด ๊ ! บัตรให้หก ั เงินจาก บัตรรถไฟฟ้าได้เลย หรือแม้แต่แท็กซี่ ก็ราคาไม่แพง (ถ้าไม่ใช่ชว่ งไพร์มไทม์) แ น ว ท า ง ก า ร เ ที่ ย ว ห ลั ก ๆ ส�าหรับเราหากไม่ใช่การช้อปกระจาย ที่ย่าน Orchard ไปฮอปปิ้งคาเฟ่และ บาร์ตามไลฟ์สไตล์วย ั รุน ่ หรือพาเพือ ่ น ไปตืน ่ เต้นทีส ่ วนสนุกยูนเิ วอร์แซลสตูดโิ อ ถ้ามีเวลามากพอ ไม่เร่งรีบ เราก็จะ ปลีกตัวไปเดินชมงานศิลปะตามแกลเลอรี แ ละมิ ว เซี ย มชั้ น น� า โดยเฉพาะ ถ้าสังเกตสองข้างทางที่เดินผ่านให้ ถี่ถ้วนอีกนิด จะเห็นว่าเมืองที่ดูเป็น แพตเทิร์น ตึกรามบ้านช่องที่หน้าตา ดูคล้ายกัน เริม ่ มีงานสตรีทอาร์ตเข้ามา เพิ่มสีสันกับเมืองมากขึ้นเรื่อยๆ Sam Lo หรือ SKL0 คือศิลปิน สตรีทอาร์ตน่าจับตาจากเกาะสิงคโปร์ เอกลักษณ์ของเธอคืองานที่หยิบจับ สิ่ ง ต่ า งๆ รอบตั ว ทั้ ง เก่ า และใหม่ ถ่ายทอดออกมาบนงาน painting และ sculpting คนที่มีโอกาสเห็น งานของเธอแบบผ่ า นตาอาจรู้ สึ ก เหมือนเราว่า นอกจากความจัดจ้าน ของสีสน ั ความคมของลายเส้น ในงาน ของ แซม โล นั้นจะมีเซนส์ของความร่วมสมัยที่ชัดเจนและโดดเด่นมาก มิตรภาพทีด ่ ขี องเธอนัน ้ ไม่เพียง แต่พาเราไปท�าความรูจ้ ก ั กับเรือ ่ งราว ของสตรีทอาร์ตในบ้านเกิดของตัวเอง เรายังได้รว่ มนัง่ พูดคุยกับศิลปินท้องถิน ่ คนนี้ ร่ ว มกั บ รั ก กิ จ สถาพรวจนา หนึ่งในศิลปินสตรีทอาร์ตเบอร์ต้นๆ ของประเทศไทยไปพร้อมๆ กันด้วย เพื่อให้เห็นภาพว่างานศิลปะของที่นี่ เปลี่ ย นแปลง สร้ า งสรรค์ มี พ ลั ง ขนาดไหน ก่อนที่พวกเขาจะพาเราไป เ ดิ น ช ม ง า น ศิ ล ป ะ ที่ ซ่ อ น ตั ว ต า ม ซอกมุ ม เล็ ก ๆ ระหว่ า งตึ ก ออฟฟิ ศ ย่านแลนด์มาร์ก สถานที่ท่องเที่ยว หรือในย่านทีอ ่ ยูอ ่ าศัยของชาวสิงคโปร์
จุดเริ่มต้นของคุณทั้งสองมาจากการท�างานสายคอมเมอร์เชียล อย่างคุณรักกิจก็เป็นกราฟิกดีไซเนอร์มาก่อน แซม โล ก็เป็น project manager ทีท ่ า� งานด้าน creative consult แล้วอะไร ที่ท�าให้พวกคุณกลายมาเป็นคนท�างานศิลปะสายสตรีทอาร์ตได้
แซม : ตอนทีท่ ำ� งำนด้ำนสือ่ สิง่ พิมพ์รำว 10 ปีทแี่ ล้ว ตอนนัน้ เรำ ก�ำลังหำข้อมูลของอุตสำหกรรมสิ่งพิมพ์ของสิงคโปร์ เรำเริ่มพูดคุยและ สั ม ภำษณ์ ห ลำยๆ คนเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งควำมคิ ด สร้ ำ งสรรค์ ใ นสิ ง คโปร์ โดยเริ่มต้นที่ถนน Haji Lane และพบงำนสตรีทอำร์ตที่เป็นสติกเกอร์ ที่ ท รงพลั ง อยู ่ ต ำมก� ำ แพงเต็ ม ไปหมด ซึ่ ง ผลงำนนั บ ร้ อ ยชิ้ น เหล่ ำ นี้ สร้ำงแรงขับเคลื่อนให้กับเรำ แล้วเรำก็รักพลังของกำรสร้ำงสรรค์นี้ เพรำะมันสะท้อนถึงวัฒนธรรมที่น่ำสนใจออกมำสู่ท้องถนน รักกิจ : ส�ำหรับผม มำจำกกำรได้รับโอกำสจำกพี่ P7 เมื่อรำวๆ สิบปีที่แล้ว ซึ่งเขำมำชวนผมไปท�ำงำนกรำฟฟิตี้ที่ก�ำแพงของหอศิลป์ฯ ตอนนัน้ ยอมรับว่ำตัวเองไม่ถนัดงำนศิลปะแบบฟรีแฮนด์แบบนี้ เลยต้อง ท�ำกำรบ้ำนหนักหน่อยเพรำะต้องหำวิธที เี่ รำจะท�ำงำนร่วมกับ P7 ได้ และ งำนนี้มีศิลปินหลำยคนมำท�ำงำนร่วมกัน ก็เลยลองใช้วิธีของ block stencil คือกำรท�ำบล็อกเพื่อเป็นลำยเส้น และท�ำเทมเพลตเพื่อพ่นสี ก็พลิกแพลงไปเรือ่ ยๆ จนเกิดเป็นรูปขึน้ มำ ไปๆ มำๆ เทคนิคนีก้ ท็ ำ� ให้เกิด เป็นสไตล์ของตัวเอง แล้วก็พบว่ำเรำได้รบั พลังจำกงำนนีก้ ลับมำเยอะมำก เลยท�ำงำนสตรีทอำร์ตต่อจนถึงวันนี้ สตรีทอาร์ตมีความหมายกับพวกคุณอย่างไร เพราะบางคนก็บอก ว่าคือการปลดแอกทางความคิดสร้างสรรค์ บางคนก็ยกให้เป็น แกลเลอรีนอกสถานที่ เป็นงานศิลปะที่สะท้อนสังคม หรือเป็นสื่อ ที่ท�าให้ตั้งค�าถามบางอย่างต่อสังคม
แซม : ตอนท�ำโปรเจ็กต์ My Grandfather Road พอมีคนรูว้ ำ่ งำน สติกเกอร์โปรเจ็กต์นเี้ ป็นของเรำ ก็เลยได้รบั ค�ำติชมทีค่ อ่ นข้ำงหลำกหลำย ซึง่ นีค่ อื เรือ่ งทีด่ ที มี่ คี นจ�ำนวนมำกพูดถึง อิมแพ็กต์ทไี่ ด้รบั กลับมำนีแ้ ข็งแรง มำก เมือ่ เทียบกับควำมหวังในตอนแรกทีไ่ ม่ได้คำดหวังอะไรเลย เรียกว่ำ เป็นภำรกิจทีท่ ำ� ไปแบบไม่รผู้ ลอะไรด้วยซ�ำ้ (innocence mission) ซึง่ สิง่ ทีไ่ ด้ รับกลับมำจำกงำนสตรีทอำร์ตก็คอื ท�ำให้เรำรูว้ ำ่ ตัวเองคิดไม่ผดิ และมุง่ มัน่ ต่อไปว่ำ Yeah! Life Goes On รักกิจ : ทุกอย่ำงมันมีสองด้ำน สตรีทอำร์ตเป็นแค่สอื่ อีกตัวหนึง่ เท่ำนัน้ อยูแ่ ค่วำ่ คนใช้จะสือ่ สำรเรือ่ งอะไรออกมำ และน�ำสตรีทอำร์ตนีม้ ำ ใช้ในกำรน�ำเสนอแบบไหน ถ้ำเขำอยำกสือ่ สำรด้วยควำมก้ำวร้ำว ผลงำน ก็จะออกมำเป็นแบบนัน้ แต่สำ� หรับผม ผมแค่นำ� รูปสัตว์เข้ำมำเป็นส่วนหนึง่ ของเมือง เพรำะเมืองมีแต่ตกึ แข็งๆ ทีไ่ ม่มคี วำมรูส้ กึ ของธรรมชำติ โดย เฉพำะในกรุงเทพฯ ทีค่ วำมรูส้ กึ ของธรรมชำตินอ้ ยลงไปทุกวัน ผมอยำกให้ คนมีทพี่ กั สำยตำบ้ำง ให้คนเห็นแล้วคิดถึงพวกสัตว์กนั บ้ำง นีค่ อื ควำมหมำย ทีผ่ มแฝงเอำไว้ในงำน ส่วนรูปแบบหรือลำยเส้นเป็นแค่ส่วนหนึง่ ของกำรน�ำเสนอ คนจะคิดตำมหรือไม่นนั้ อยูใ่ นรำยละเอียดข้ำงในของผลงำน ส�าหรับประเด็นเรือ ่ งสัตว์ปา่ เป็นเรือ ่ งทีเ่ ราควรให้ความส�าคัญมาก ในตอนนี้ เพราะเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมโลก ถ้าในมุมของ การเรียกร้องให้คนตื่นตัว คุณสนใจในประเด็นนี้มากน้อยแค่ไหน
รักกิจ : ผมมองว่ำเรือ่ งนีแ้ ล้วแต่จงั หวะ อย่ำงเช่นเรือ่ งของเสือด�ำ ผมก็จะซ่อนเมสเสจเอำไว้เยอะหน่อย แต่ถำ้ เรือ่ งทัว่ ไป ผมจะมองก่อนว่ำ สเปซทีเ่ รำก�ำลังจะท�ำงำนนีเ้ หมำะกับสัตว์ชนิดไหน หรือถ้ำเอำสัตว์ทอ้ งถิน่ มำใช้จะเข้ำกับบริบทของพืน้ ทีไ่ ด้ไหม เพรำะสถำนทีแ่ ต่ละแห่งก็จะมีวธิ คี ดิ ต่ำงกัน บำงโปรเจ็กต์อย่ำงตรงสะพำนหัวช้ำง ผมก็จะเอำช้ำงมำเล่น แต่ถำ้ ไปอินเดียผมจะเจอกับอีกำทีไ่ ม่เหมือนอีกำในบ้ำนเรำ ตรงคอของมันจะมี สีเทำแซมอยู่ ก็จะหยิบเอำอีกำมำใช้แล้วเรือ่ งรำวก็เปลีย่ น
แล้วผลงานของแซมล่ะ สร้างแรงบันดาลใจอะไรให้แก่คนสิงคโปร์ ได้บ้าง
แซม : มันเป็นเรื่องมหัศจรรย์มำกที่ศิลปะจะช่วยเล่ำถึงบริบท ควำมเป็นจริงที่คนจะสัมผัสได้ และเรำรู้สึกว่ำศิลปะช่วยให้คนไม่รู้สึก โดดเดีย่ ว อย่ำงงำนสติกเกอร์ เป็นอีกหนึง่ ภำษำทีช่ ว่ ยสร้ำงสีสนั สร้ำงเสียง หัวเรำะให้กบั คนทีไ่ ด้พบเห็น เป็นอีกมุมทีน่ ำ่ รักของสิงคโปร์ และท�ำให้เรำ เข้ำใจแล้วว่ำศิลปะนัน้ เชือ่ มไปยังควำมรูส้ กึ ของคนได้อย่ำงไร นีค่ อื ควำมเจ๋ง ทีเ่ รำได้รบั จำกกำรท�ำงำนศิลปะ
The Power of Street Art
ถ้ า อย่ า งนั้ น บริ บ ทระหว่ า งสถานที่ กั บ ความคิ ด ของคนสร้ า งสรรค์ อะไรเป็ น สิ่ ง ส� า คั ญ ที่ สุ ด ของงาน สตรีทอาร์ต
รักกิจ : ผมว่ำอยู่ที่คนมำกกว่ำ สถำนที่ ก็ คื อ ตั ว ศิ ล ปิ น และคนดู ต่ำงหำกทีจ่ ะท�ำให้งำนสตรีทอำร์ตชิน้ นัน้ สมบู ร ณ์ ถ้ ำ เรำท� ำ แล้ ว มี ค วำมสุ ข เจ้ ำ ของสถำนที่ มี ค วำมสุ ข ก็ ถื อ ว่ ำ ประสบควำมส�ำเร็จแล้วระดับหนึง่ พอคน มำเห็นแล้วชอบ อยำกถ่ำยรูป อยำกเอำ ไปแชร์ต่อ หรือคิดอะไรต่อได้ ก็ถือเป็น เป็นอีกควำมส�ำเร็จทีต่ อ่ เนือ่ งจำกควำมส�ำเร็จแรก แต่วธิ ที จี่ ะท�ำให้ประสบควำมส�ำเร็จนัน้ ไม่สำมำรถใช้อะไรมำเป็นหลัก ตำยตั ว ได้ เพรำะคนแต่ ล ะคนก็ ต ่ ำ ง ควำมคิดต่ำงที่มำ อย่ำงเรื่องของเสือด�ำอำจจะมี พลังในเรื่องของเมสเสจ แต่เรื่องอื่นก็ สร้ำงอิมแพ็กต์แบบนี้ได้นะ อย่ำงเช่นที่ ภูเก็ต ผมน�ำขนมมำท�ำเป็นรูปสัตว์แล้ว ตัง้ ไว้ในย่ำนเมืองเก่ำ พลังก็ถกู ส่งมำจำก รอบๆ ตัวก�ำแพงเองก็ส่งเสริมเรื่องรำว ของผลงำน จริงๆ ทุกสถำนที่ก็มีผลกับ ควำมรูส้ กึ ของผมหมด เพรำะมีเรือ่ งรำว ที่ ย ำกล� ำ บำกต่ ำ งๆ เกิ ด ขึ้ น ระหว่ ำ ง ท�ำงำน ดังนัน้ เรำจะอินกับงำนทุกชิน้ ทีท่ ำ� พูดถึงบริบทของสถานที่ อยากถาม แซม โล เหมือนกันว่าสิงคโปร์นั้น ถูกมองว่าเป็นประเทศทีม ่ ก ี ฎเกณฑ์ เ ข้ ม ง ว ด ม า ก ๆ ใ น ฐ า น ะ ค น ที่ นี่ คุ ณ มองเห็ น ความเปลี่ ย นแปลง อะไรที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ประเทศนี้ บ้ า ง ในการท�างานศิลปะ
แซม : สิงคโปร์เป็นประเทศ เกิดใหม่ ก็ต้องยอมรับว่ำเรำอำจไม่ได้มี รำกเหง้ำที่ฝังลึกในเรื่องศิลปะมำกนัก เรำไม่ได้โฟกัสเรื่องศิลปะเมื่อเทียบกับ เรือ่ งของเศรษฐกิจ แต่เรำคิดว่ำสิงคโปร์ ให้ควำมส�ำคัญกับงำนศิลปะนะ โดยเฉพำะ 20 ปีที่ผ่ำนมำ จะเห็นว่ำมีศูนย์รวมของ งำนศิลปะเกิดขึ้นเรื่อยๆ มีโรงเรียนสอน ศิลปะเกิดขึน้ มำกมำย ได้เห็นอำร์ตอีเวนต์ ที่จัดขึ้นบนพื้นที่สำธำรณะมำกขึ้น คน เริม่ เห็นควำมส�ำคัญของงำนศิลปะมำกขึน้ ศิลปะถูกกระจำยเป็นวงกว้ำงมำกขึ้น รัฐบำลเองก็ออกทุนให้แก่ศลิ ปินไปสร้ำง งำนศิลปะ เมือ่ ก่อนเรำอำจจะตัง้ ค�ำถำม ว่ำศิลปินทีท่ ำ� แต่งำนศิลปะจะอยูไ่ ด้ไหม แต่ ต อนนี้ พู ด ได้ เ ลยว่ ำ เรำสำมำรถ ท�ำงำนศิลปะเพื่อด�ำรงชีพได้แล้ว แล้ ว ส� า หรั บ คุ ณ รั ก กิ จ ล่ ะ ความเคลือ ่ นไหวของงานศิลปะของสิงคโปร์ ในสายตาคุณเป็นอย่างไร
รักกิจ : ประเทศเขำค่อนข้ำง เล็ก เลยไม่ได้จัดเทศกำลศิลปะบ่อยๆ คนนอกเลยไม่ ค ่ อ ยรู ้ ว ่ ำ ที่ นี่ มี ง ำน นิทรรศกำร มีงำนสตรีทอำร์ต สิงคโปร์ มีควำมเป็นเมืองทีท่ นั สมัยในสำยตำเรำ มี ส ถำปั ต ยกรรมล�้ ำ ๆ มี ตึ ก ที่ มี ดี ไ ซน์
ระดับโลกเยอะมำก เมือ่ ก่อนเรำแทบจะ ไม่รู้เลยว่ำที่นี่มีงำนสตรีทอำร์ตด้วย ซีน ของที่นี่น้อยมำกเลย แล้วเขำก็ไม่ได้จัด เฟสติวัลอะไร เรำก็ไม่รู้ว่ำที่สิงคโปร์ให้ ควำมส�ำคัญกับศิลปะมำกน้อยแค่ไหน แต่พอได้มำรู้จักแซม เรำก็ได้รู้เพิ่มขึ้น แซม : งำนของพวกเรำคือกำรเพนต์ก�ำแพงโดยกำรจ้ำงของเอเจนซีให้ ท�ำโปรเจ็กต์ เรำไม่มีก�ำแพงทิ้งร้ำงไว้ให้ ฝึกฝนฝีมือเลย (หัวเรำะ) กำรหำก�ำแพง ทิง้ ร้ำงเป็นเรือ่ งยำกมำก เพรำะมีกฎหมำย ของกำรใช้งำนก�ำแพง แต่ทำง National Arts Council ของที่นี่ก�ำลังท�ำงำนกัน มำกขึ้นเพื่อหำพื้นที่ให้พวกเรำได้เพนต์ เพรำะตอนนีเ้ รำมี commission wall ด้วย เช่น ในลิตเติลอินเดียที่เขำอนุญำตให้ เรำเพนต์ได้อย่ำงถูกกฎหมำย แสดงว่างานสตรีทอาร์ตถือว่าเป็น hidden place อีกจุดหนึ่งของที่นี่ และน่าจะเป็นสิง ่ ใหม่ของคนทีอ ่ ยาก เห็นอะไรทีแ ่ ปลกใหม่ในการมาเทีย ่ ว สิงคโปร์
รักกิจ : ผมว่ำต้องเป็นคนทีส่ นใจ เรือ่ งนีจ้ ริงๆ เขำถึงจะมำตำมหำ แต่สำ� หรับ คนทั่วไป ก็น่ำสนใจที่จะลองมำเที่ยว เช่นกัน เพรำะแต่ละพืน้ ทีจ่ ะมีงำนสตรีท อำร์ตซ่อนอยู่เยอะ เช่น ตรง *SCAPE Skate Park ถ้ำนัง่ รถผ่ำนคุณจะเห็นเลยว่ำ มีงำนสตรีทอำร์ตอยู่พอสมควร ผมเคย คิดว่ำเรำจะไปพ่นตรงก�ำแพงนัน้ ได้หรือ เปล่ำ (หัวเรำะ) พอได้คยุ กับคนทีน่ จี่ ริงๆ ถึ ง รู ้ ว ่ ำ ต้ อ งมี ก ำรคุ ย กั น ก่ อ น คื อ ที่ ประเทศไทยท�ำกันได้ แต่ที่สิงคโปร์เขำ เหมือนแชร์พื้นที่กัน ดังนั้น เขำน่ำจะมี ควำมเคำรพกันอยู่พอสมควร แซม : พวกเรำไม่คอ่ ยบอมบ์งำน กันเท่ำไหร่นะ (หัวเรำะ) ถ้ำเรำอยำก เพนต์บนก�ำแพงนี้ ก็ขนึ้ อยูก่ บั ว่ำก�ำแพง ตรงนัน้ เป็นของใครด้วย เรำจะปล่อยให้ งำนนั้นอยู่สักสองสำมอำทิตย์ จำกนั้น ก่อนที่เรำจะตัดสินใจเพนต์ทับก็จะรอ เวลำสองสำมวัน ถ่ำยรูปงำนชิน้ นัน้ ก่อน ที่จะเพนต์ลงไป และแจ้งไปยังศิลปิน เจ้ำของงำนว่ำเรำจะเพนต์ทับบนงำน ของคุณนะ ถ้ำเขำโอเค เรำก็จะท�ำ ถ้ำไม่ เรำก็จะไม่ทำ� เรำค่อนข้ำงให้ควำมเคำรพ เจ้ำของงำนชิ้นก่อน เรำรู้สึกว่ำถ้ำเรำไป เพนต์ทับงำนของเขำโดยที่ไม่บอกก่อน มันไม่คูล
13 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin
มันเป็นเรื่องมหัศจรรย์ มากที่ ศิ ล ปะจะช่ ว ยเล่ า ถึงบริบท ความเป็นจริง ทีค ่ นจะสัมผัสได้ และเรา รู้สึกว่าศิลปะช่วยให้คน ไม่รู้สึกโดดเดี่ยว อย่าง งานสติกเกอร์ เป็นอีก หนึ่ ง ภาษาที่ ช่ ว ยสร้ า ง สีสัน สร้างเสียงหัวเราะ ให้ กั บ คนที่ ไ ด้ พ บเห็ น เป็ น อี ก มุ ม ที่ น่ า รั ก ของ สิ ง คโปร์ และท� า ให้ เ รา เข้ า ใจแล้ ว ว่ า ศิ ล ปะนั้ น เชื่ อ มไปยั ง ความรู้ สึ ก ของคนได้อย่างไร นี่คือ ความเจ๋งทีเ่ ราได้รบ ั จาก การท�างานศิลปะ
Procession by Yip Yew Chong at Thian Hock Keng Temple
สิ ง คโปร์ มี ศิ ล ปะหลาย แ ข น ง ม า ก แ ล ะ มี อุ ตสา ห กร ร ม ห ลา กห ล า ย ที่ ร อ ง รั บ ง า น ศิลปะด้วย ดังนั้น จึงมี ศิ ล ปิ น บางกลุ่ ม ที่ ไ ด้ รั บ การซั พ พอร์ ต จากทาง รัฐบาล ได้รบ ั เงินทุนเพือ ่ การท� า โปรเจ็ ก ต์ ศิ ล ปะ ซึง่ เราชืน ่ ชมรัฐบาลของ เรา เพราะว่ า เขาช่ ว ย ขยายโอกาสให้ ศิ ล ปิ น สื่ อ ส า ร กั บ ค น ดู ข อ ง พวกเขาได้ ม ากขึ้ น มี โอกาสได้ โ ชว์ ง านของ ตัวเอง ถ้าพวกเราไม่ได้ รับการซัพพอร์ตจากรัฐ เ ร า ก็ ค ง ไ ม่ ไ ด้ โ ช ว์ ใ ห้ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ เ ห็ น ว่ า ศิ ล ปิ น สิ ง คโปร์ ท� า อะไร ได้บ้าง
14 issue 580 04 mar 2019
เราเชื่ อ ว่ า เมื่ อ ก่ อ นคน โฟกั ส ไปที่ ก ารหาเงิ น เพือ ่ ความอยูร ่ อด ดังนัน ้ คนรุ่นพ่อแม่จึงท�างาน หนักมาก เพราะอยากมี ฐานะที่ ดี ขึ้ น เลยเลี่ ย ง ไ ม่ ไ ด้ ที่ ค น รุ่ น ก่ อ น จ ะ มุง ่ มัน ่ สร้างความมัน ่ คง ให้ครอบครัวเป็นสิง่ แรก นีค ่ อื ความจริง แต่สา� หรับ คนรุ่ น ใหม่ ที่ เ ติ บ โตขึ้ น เราไม่ ต้ อ งไปกั ง วลกั บ เรือ ่ งพวกนัน ้ แล้ว ดังนัน ้ ง า น ศิ ล ป ะ จึ ง มี พื้ น ที่ เพิ่ ม ขึ้ น และสามารถ ท�าเงินได้
By Jaba and Antz, at Aliwal Arts Centre
My Grandfather Road by Sam Lo at Circular Road
15 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin
It’ s not where you’re from. It’ s where you are เราเคยได้ยินว่าถ้าเศรษฐกิจโดยรวมดี คนสามารถด�ารง ชีวิตได้อย่างไม่ล�าบาก งานศิลปะก็จะเฟื่องฟูตามไปด้วย เรื่องนี้จริงแต่ไหน
แซม : เรำเชือ่ ว่ำเมือ่ ก่อนคนโฟกัสไปทีก่ ำรหำเงินเพือ่ ควำมอยู่รอด ดังนั้น คนรุ่นพ่อแม่จึงท�ำงำนหนักมำก เพรำะ อยำกมีฐำนะที่ดีขึ้น เลยเลี่ยงไม่ได้ที่คนรุ่นก่อนจะมุ่งมั่นสร้ำง ควำมมัน่ คงให้ครอบครัวเป็นสิง่ แรก นีค่ อื ควำมจริง แต่สำ� หรับ คนรุ่นใหม่ที่เติบโตขึ้น เรำไม่ต้องไปกังวลกับเรื่องพวกนั้นแล้ว ดังนัน้ งำนศิลปะจึงมีพนื้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ และสำมำรถท�ำเงินได้ รักกิจ : สิงคโปร์เปลีย่ นไปมำกจนน่ำอิจฉำ ทีเ่ มืองไทย ยังไม่มีพื้นที่ให้ท�ำงำนสตรีทอำร์ตแบบ *SCAPE Skate Park ด้ ว ยมั้ ง ส�ำหรับคนสิงคโปร์เวลำเขำสนใจอะไร เขำจะท�ำ อย่ำงเต็มที่ แล้วท�ำออกมำได้ดีมำกๆ คนสิงคโปร์อำจดูว่ำมี ควำมเคร่งเครียด แต่ สิ่ ง แวดล้ อ มของที่ นี่ ท� ำ ให้ พ วกเขำมี ควำมสนุกมำกขึ้น เพรำะนอกจำกตึกสวยๆ ยังมีหลำยโซนที่ รองรับไลฟ์สไตล์ของพวกเขำ ท�ำให้ประเทศนีม้ คี วำมหลำกหลำย มำกกว่ำทีค่ ดิ แซม : เรำก�ำลังจะเห็นงำนศิลปะในรูปแบบต่ำงๆ มำกขึน้ แลนมำร์กดังๆ อย่ำง Haji Lane หรือ Tiong Bahru ก็เป็น ถนนทีเ่ ต็มไปด้วยงำนศิลปะ และเครือข่ำยของศิลปินก็อยู่รอบๆ มี art residency มำกมำย ทุกสิ่งทุกอย่ำงค่อยๆ สนับสนุนให้ ศิลปะมีควำมส�ำคัญมำกขึน้ เหมือนเป็นควำมร่วมมือร่วมใจ เมือ่ มีงำนศิลปะเกิดขึน้ มำ แม้จะเป็นงำนเล็กๆ แต่เมือ่ มีคนเห็นก็ ท�ำให้งำนศิลปะชิน้ อืน่ ๆ เกิดตำมขึน้ มำด้วย อยากรูว้ า่ ศิลปินทีอ ่ ยูใ่ นสิงคโปร์เขาหารายได้กน ั ด้วยวิธไี หน
แซม : เท่ำทีเ่ ห็น ศิลปินส่วนใหญ่ตอ้ งท�ำงำนอย่ำงน้อย สองงำน เช่น ท�ำงำนประจ�ำเป็นกรำฟิกดีไซเนอร์หรือเป็น นักดนตรี แล้วค่อยใช้ชวี ติ อีกด้ำนมำท�ำงำนศิลปะทีต่ วั เองชอบ เป็นกำรบำลำนซ์ชวี ติ หมำยควำมว่ำเรำจะฝึกฝนแต่ทกั ษะทำง ด้ำนศิลปะอย่ำงเดียวไม่ได้ ต้องให้เวลำในกำรหำควำมรู้ เช่น เรือ่ งข้อตกลง กำรท�ำสัญญำ หรือกำรออกไปเจอคนใหม่ๆ ซึง่ ฟัง แล้วอำจจะยำกแต่กต็ อ้ งท�ำ เพรำะสุดท้ำยเรำเชือ่ ว่ำงำนของเรำ จะพำไปพบกับผู้คนมำกขึ้น ผลงำนจะถูกบันทึก ถูกเห็น แต่สงิ่ ส�ำคัญคือ ต้องโฟกัสในสไตล์ของตัวเองให้ได้ เพรำะถ้ำคุณ มีลำยเซ็นของตัวเองชัดเจน เดีย๋ วก็จะมีรำยได้เข้ำมำหำเอง สไตล์ที่ชัดเจนนี้รวมถึงความเป็น Singapore Style ด้วยไหม
แซม : เรำเพิง่ เคยได้ยนิ ค�ำนีค้ รัง้ แรกนะ (หัวเรำะ) แต่ คุณรูไ้ หม ทีน่ มี่ ที งั้ งำนออกแบบตัวอักษร มีเรือ่ งของแพตเทิรน์ มีลวดลำยทีแ่ ตกต่ำงกัน หรือแม้กระทัง่ เฉดสีทอี่ ยูร่ อบตัว พวกเรำ สำมำรถน�ำมำใช้ในงำนของตัวเอง ดังนัน้ เรำไม่รหู้ รอกว่ำงำนที่ เรียกว่ำสิงคโปร์สไตล์คอื อะไรหรือเป็นแบบไหน แต่สตรีทอำร์ต ของพวกเรำเกิดขึน้ จำกกำรน�ำหลำยๆ อย่ำงมำรวมเข้ำไว้ดว้ ยกัน แต่ถ้ำพูดถึงโปรเจ็กต์ที่รับจ้ำงท�ำให้เขำนั้น จะเป็นงำนที่เน้น ควำมรวดเร็ว ซึง่ ตรงนีค้ อื วัฒนธรรมของพวกเรำ (หัวเรำะ) ถ้ า ให้ แ นะน� า สถานที่ ส� า หรั บ ไปดู ง านสตรี ท อาร์ ต เจ๋ ง ๆ ในสิงคโปร์ เราควรไปที่ไหนบ้าง
แซม : มีสองสำมทีท่ เี่ รำคิดว่ำน่ำสนใจ หนึง่ ในนัน้ คือ Heartland Area ที่เรำเห็นว่ำสำมำรถท�ำอะไรได้อีกมำกมำย เพือ่ ให้เกิดเป็นพืน้ ทีส่ ำธำรณะเพือ่ งำนศิลปะ โลเกชันจะคล้ำยๆ ย่ำนลิตเติลอินเดีย เพรำะมีกำ� แพงเกิดใหม่เยอะมำก เรำรอวันที่ จะได้เห็นงำนศิลปะเกิดขึน้ ตรงนัน้ มำก และตรง Chinatown ทีน่ นั่ มีงำนกรำฟฟิตบี้ นก�ำแพงทีใ่ หญ่มำก และมีแรงบันดำลใจให้คณ ุ ค้นหำเยอะมำก แต่ทงั้ หมดนีค้ คุณต้องออกไปเดินแล้วก็มองหำ เองจริงๆ เพรำะยังมีมุมก�ำแพงที่รอเซอร์ไพรส์คุณอีกเยอะ หลำยทีๆ่ ยังไม่ถกู พบเห็น และรอให้ใครหลำยคนเข้ำไปหำมัน
กำรทีไ่ ด้เห็นสีสนั พวกนัน้ มันต้องเซอร์ไพร์สคุณได้แน่ๆ รักกิจ : ผมมำงำน Culture Cartel ช่วงปลำยปีที่แล้ว เป็นงำนรวมศิลปินสตรีทอำร์ต นักดนตรี ช่ำงสัก พูดง่ำยๆ ว่ำ เป็นงำนทีร่ วมทุกอย่ำงเกีย่ วกับวัฒนธรรมของสตรีทอำร์ต ซึง่ มำ กี่ครั้งก็ประทับใจในควำมเป็นเมืองที่เนี้ยบมำกของที่นี่ เรำจะ ไม่เห็นแหล่งเสือ่ มโทรมเลย คงเป็นเพรำะคนทีน่ มี่ คี วำมประณีต ในทุกรำยละเอียด ท�ำให้ทกุ อย่ำงดูเนีย้ บไปหมด ดังนัน ้ ความเนีย ้ บจึงไม่ได้เท่ากับการไม่มงี านศิลปะ ปรากฏให้เห็น?
รักกิจ : แรกๆ เรำก็คดิ ว่ำสิงคโปร์คงไม่มงี ำนศิลปะให้ดู เท่ำไหร่หรอก (หัวเรำะ) แต่พอมำเห็นจริงๆ ควำมคิดเปลีย่ นเลย ประเทศไทยแม้วำ่ จะใหญ่ แต่ควำมหลำกหลำยของสถำนทีแ่ สดง งำนศิลปะยังน้อย แต่ที่สิงคโปร์เขำให้ควำมส�ำคัญ เขำเต็มที่ อย่ำงงำนศิลปะทีเ่ อำมำโชว์ในพิพธิ ภัณฑ์ เห็นครัง้ แรกเรำเหวอ ไปเลย ศิลปินดังๆ ก็เยอะ พอดูในเรือ่ งของรำยละเอียด พวกเขำ ลงลึกมำกจริงๆ ถ้ำคนทีอ่ ยำกมำดูงำนศิลปะทีส่ งิ คโปร์อำจต้อง ท�ำกำรบ้ำนเยอะหน่อย แต่ถำ้ ได้มำเห็นนีค่ มุ้ ค่ำมำกเลย แนะน�าได้ไหมว่าต้องไปทีไ่ หน เผือ ่ ครัง้ หน้าจะแพ็กกระเป๋า มาตามรอยดูงานศิลปะสไตล์รักกิจบ้าง
รักกิจ : ตำมแกลเลอรีตำ่ งๆ เลย แต่ตอ้ งหำข้อมูลกัน หน่อยว่ำเขำมีงำนอะไรบ้ำง แต่ถำ้ เอำง่ำยจริงๆ ก็ในห้ำงสรรพสินค้ำ เพรำะเขำมีงำนประติมำกรรมของศิลปินดังๆ ตัง้ แสดงไว้ เอำจริงๆ นะ เหมือนว่ำเมืองของเขำมีงำนศิลปะกระจำยไปทุกที่ เพรำะเรำพบเห็นได้งำ่ ยมำก ผมเชือ่ ว่ำคนรักศิลปะจะสนุกกับ เมืองนีไ้ ด้
นึกภาพออกเลย เพราะตอนที่ไปเดินเล่นแถวสะพาน คาเวนาห์ เราก็จะเห็นรูปปัน ้ เด็กกระโดดน�า้ ทีส ่ วยงามอยู่ ตรงริมทางเดิน หรือใกล้ๆ กันก็เป็นรูปปั้นคนยืนคุยกัน
แซม : สิ ง คโปร์ มี ศิ ล ปะหลำยแขนงมำก และมี อุตสำหกรรมหลำกหลำยที่รองรับงำนศิลปะด้วย ดังนั้น จึงมี ศิลปินบำงกลุม่ ทีไ่ ด้รบั กำรซัพพอร์ตจำกทำงรัฐบำล ได้รบั เงินทุน เพือ่ กำรท�ำโปรเจ็กต์ศลิ ปะ ซึง่ เรำชืน่ ชมรัฐบำลของเรำ เพรำะว่ำ เขำช่วยขยำยโอกำสให้ศิลปินสื่อสำรกับคนดูของพวกเขำ ได้มำกขึ้น มีโอกำสได้โชว์งำนของตัวเอง ถ้ำพวกเรำไม่ได้รับ กำรซัพพอร์ตจำกรัฐ เรำก็คงไม่ได้โชว์ให้ตำ่ งประเทศเห็นว่ำศิลปิน สิงคโปร์ทำ� อะไรได้บำ้ ง ในเวลำเดียวกัน ทำงรัฐบำลก็ตงั้ ใจดึง ศิลปินจำกข้ำงนอกเข้ำมำด้วย ซึง่ เป็นประโยชน์กบั พวกเรำ และ สร้ำงควำมตืน่ ตำตืน่ ใจมำก เพรำะเวลำไปงำนอีเวนต์ ก็จะได้เห็น งำนเจ๋งๆ เยอะแยะมำกมำย เห็นวิธีคิดที่ต่ำงไปจำกพวกเรำ ได้เปิดโลกมำกขึน้ ด้วยตำตัวเอง ได้เรียนรูโ้ ดยตรงจำกตัวศิลปิน มันเป็นประสบกำรณ์ตรง ได้เห็นทัง้ งำนเล็กงำนใหญ่ เรำคิดว่ำ ถ้ำภำครัฐไม่เข้ำมำสนับสนุน เรำก็คงไม่มโี อกำสเหล่ำนี้ รักกิจ : มำสิงคโปร์แต่ละครัง้ ได้เห็นควำมเปลีย่ นแปลง ทำงด้ำนศิลปะทุกครัง้ มีกำรจัดงำนแสดงศิลปะทีห่ ลำกหลำยขึน้ ระบบต่ำงๆ ขององค์กรก็ท�ำได้ดีมำก เหมือนกับว่ำเขำดีไซน์ ทุกอย่ำงไว้กอ่ น และคิดไว้ดมี ำกๆ ถ้ำอยำกดูงำนศิลปะ กำรมำ ทีน่ จี่ ะได้อะไรกลับไปเยอะจริงๆ
16 ISSUE 580 04 MAR 2019
A MUST TR IP
CRAZY RICH ASIANS
TIONG BAHRU
DV D
ด้วยความนิยมของคนสมัยนี้ที่ท�าให้วิถีการกินนั้นเปลี่ยนไป ไม่ว่าจะเป็นการกินที่รวมอาหารเช้าและกลางวัน เข้าไปด้วยกันอย่าง brunch หรือจะเป็นวิถีการกินเพื่อสุขภาพในหลายๆ รูปแบบ ท�าให้เกิดกระแสการกินอาหาร ในรูปแบบใหม่ๆ และร้านอาหารที่ทยอยกันเปิดตัวก็หลากหลายมากขึ้นเพื่อตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของคนสมัยนี้ รวมไปถึงสร้างการท่องเทีย ่ วในรูปแบบใหม่ทน ี่ ก ั ท่องเทีย ่ วหลายคนแพลนการเดินทางเพือ ่ ไปลองชิมเมนูเด็ดตาม คาเฟ่ฮอปปิง ้ ออกตามหาร้านกาแฟ ร้านขนมชือ ่ ดังในแต่ละประเทศ เรียกว่าสมัยนีค ้ งหายากแล้วกับการท่องเทีย ่ ว ในรูปแบบเก่า เหมือนสมัยที่คุณพ่อคุณแม่พาเราไปเที่ยว
Tiong Bahru เป็นย่ำนท่องเที่ยวอีก หนึง่ ย่ำนทีค่ นนิยมไปในสิงคโปร์ เป็นย่ำนทีร่ วมร้ำนกำแฟ เก๋ๆ และขนมเบเกอรีแสนอร่อยไว้ในที่เดียว ซึ่งย่ำนนี้ มีลักษณะคล้ำยกับย่ำนอำรีย์ ที่ในย่ำนจะเต็มไปด้วย อพำร์ตเมนต์สีขำวหลังเล็กๆ เรียงกันไปเรื่อยๆ เป็นย่ำน ที่เหมำะส�ำหรับคนที่ตำมหำบรรยำกำศเงียบๆ ชิลๆ เพรำะพื้ น ที่ ข องย่ ำ นนี้ จ ะเป็ น พื้ น ที่ ที่ ไ กลออกมำจำก กลำงเมืองหน่อย ทุกร้ำนจะมีคอนเซ็ปต์น่ำรักๆ ท�ำให้ ย่ำนนี้กลำยเป็นย่ำนเก๋อีกหนึ่งย่ำนของสิงคโปร์ไปโดย ปริยำย ซึ่งเรำก็ได้น�ำร้ำนที่น่ำสนใจในย่ำนนี้มำฝำกกัน
ส�ำหรับใครทีย่ งั ไม่เคยมีสงิ คโปร์ อยูใ่ นลิสต์ของประเทศทีอ่ ยำกไป เรำขอ แนะน�ำให้คุณลองดูหนังเรื่อง Crazy Rich Asians ที่ น� ำ เนื้ อ เรื่ อ งมำจำก หนังสือขำยดีทพี่ ดู ถึงชีวติ ของหนุม่ สำว คู่หนึ่ง เมื่อผู้ชำยได้ตัดสินใจชวนแฟน ของเขำไปพบกั บ ครอบครั ว ตั ว เอง ที่เป็นมหำเศรษฐีอยู่ที่สิงคโปร์ แต่เขำ ไม่เคยได้บอกควำมจริงกับตัวผูห้ ญิงเลย จึงท�ำให้เรื่องรำววุ่นวำยเกิดขึ้น ซึ่ง หลำยฉำกในหนังได้ถำ่ ยท�ำในสถำนที่ ท่องเที่ยวที่สวยงำมต่ำงๆ ในประเทศ สิงคโปร์ ที่จะท�ำให้คุณเพลิดเพลินกับ เรือ่ งรำวและตกหลุมรักไปกับประเทศนี้
Tiong Bahru Club ร้ำนที่มีกลิ่นอำย ของอำหำรแขกและฝรั่ ง ผสมผสำนกั บ ควำมเป็ น สิงคโปร์แท้ๆ เข้ำไป ทีม่ อี ำหำรให้เลือกอร่อยไม่วำ่ จะเป็น เอเชียนทำปำส แกงต่ำงๆ และอำหำรจำนย่ำง ในเวลำ กลำงคืนตัวร้ำนก็จะเปิดเป็นบำร์ด้วย PS. Cafe ร้ำนทีเ่ ด่นในเรือ่ งของพิซซ่ำ ของหวำน และไวน์ คุณจะได้ลองพิซซ่ำหน้ำซิกเนเจอร์ที่ทำงร้ำน มีให้เลือกหลำกหลำย ไอศกรีมทีท่ ำงร้ำนท�ำเองก็ดไี ม่แพ้ กัน และบำงวันจะมีกำรจัดไวน์เทสติ้งที่ร้ำนด้วย BooksActually ร้ ำ นหนั ง สื อ น่ ำ รั ก ๆ ที่บรรจุหนังสือเมืองนอกดีไซน์สวย และหนังสือที่ตีพิมพ์ จำกส� ำ นั ก พิ ม พ์ ใ นประเทศสิ ง คโปร์ หนอนหนั ง สื อ ห้ำมพลำดร้ำนนี้เป็นอันขำด
Tiong Bahru Bakery ร้ำนที่เน้น ในเรือ่ งเบเกอรีและเครือ่ งดืม่ มีขนมปังหลำกชนิดให้เลือก อย่ำงเดนิชช็อกโกแลต เลมอนทำร์ต คร็อคเมอซิเออร์ รวมไปถึ ง เครื่ อ งดื่ ม ที่ มี ทั้ ง ชำ กำแฟ และน�้ ำ ผลไม้ สูตรพิเศษให้คุณเลือกดื่มหลำกหลำย
S HOW เต็มอิม่ กันไปพอสังเขปจำกร้ำนในย่ำน Tiong Bahru ทีเ่ รำน�ำมำแนะน�ำ ย่ำนนี้สำมำรถเดินทำงด้วยรถไฟฟ้ำและลงที่สถำนี Tiong Bahru ได้เลย แล้วเดินมำอีกประมำณสิบนำทีเพือ่ เข้ำสูต่ วั ย่ำนทีเ่ ต็มไปด้วยร้ำนอำหำร บำร์ และคำเฟ่ ที่เรำเชื่อว่ำเป็นอีกย่ำนหนึ่งที่คุณจะได้ประสบกำรณ์คำเฟ่ฮอปปิ้ง ในสิงคโปร์ไปอย่ำงเต็มอิม่ แน่นอน หรือจะเลือกมำสัมผัสกับช่วงเวลำกลำงคืน ที่บำงร้ำนจะเปลี่ยนบรรยำกำศจำกร้ำนอำหำรให้กลำยเป็นบำร์ ดังนั้น อย่ำลืมใส่ย่ำนนี้ไว้ในแพลนเที่ยวสิงคโปร์ของคุณ
RESTAURANT
BEAUT Y IN A POT อำหำรแนวจิม้ จุม่ หรือทีค่ นไทยนิยมเรียกกันว่ำชำบู แต่สำ� หรับคนสิงคโปร์ จะเรียกกำรกินแบบนีว้ ำ่ ‘Steamboat’ ร้ำนอำหำรชือ่ ดังนีเ้ ด่นในเรือ่ งของน�ำ้ ซุป ที่มีส่วนผสมของคอลลำเจน กินเข้ำไปแล้วได้สุขภำพร่ำงกำยที่ดี พร้อมกับ ผิวสวย แถมยังเป็นร้ำนทีค่ นไทยนิยมแวะไปเยีย่ มเยียนเนือ่ งจำกรสชำติของ น�้ำจิ้มที่เด็ด และเนื้อสัตว์คุณภำพดี ลูกค้ำยังสำมำรถเลือกรสชำติซุปได้ถึง สี่ซุป ร้ำนเปิดอยู่สองสำขำ คือที่ถนน Orchard และ Tanjong Katong
จำกควำมมหัศจรรย์บนจอหนัง ที่ก�ำลังจะน�ำเสนอออกมำในรูปแบบ มิวสิคัล ใครๆ ก็คงรู้จักกำร์ตูนชื่อดัง อย่ำง อลาดิน เรือ่ งรำวของหนุม่ เร่รอ่ น ที่ค้นพบตะเกียงวิเศษซึ่งเปลี่ยนชีวิต เขำไปตลอดกำล ซึ่งภำยในปีนี้จะมี Live Action ออกมำให้ชมกันอีกด้วย แต่ส�ำหรับใครที่ชื่นชอบมิวสิคัลระดับ โลก ต้องห้ำมพลำดกับโชว์ครั้งนี้ ที่จะ จัดขึน้ ที่ Sands Theatre ใน Marina Bay Sands ตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎำคม ถึง 11 สิ ง หำคมนี้ จองบั ต รที่ www. marinabaysands.com
ALADDIN THE MUSICAL
Plain Vanilla ร้ำนที่ดังเรื่องขนมคัพเค้ก และขนมเค้กขนำดเล็ก หรือ tea cake เป็นอย่ำงมำก ใครที่ เป็นแฟนขนมชนิดนี้ต้องอย่ำลืมแวะมำลองชิม ทำงร้ำน จะอบขนมสดใหม่ทุกวัน เลยท�ำให้ร้ำนอบอวลไปด้วย กลิ่นขนม
17 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
CLUB
TELOK AYER ARTS CLUB
ร้ำนอำหำร บำร์ และแกลเลอรีทจี่ ดั แสดงงำนศิลปะแบบ ไม่จ�ำกัดเทคนิค มีกำรน�ำเสนองำนศิลปะด้วยวิธีแตกต่ำงกัน ทัง้ กำรเชิญนักเขียนจ�ำนวน 11 คนมำโชว์ผลงำนคนละชิน้ และชวน คน 11 คนมำร่วมงำน โดยพวกเขำจะถูกจับคู่และเวียนกันอ่ำน บทควำมหลำกหลำยอำรมณ์ ซึ่งบ้ำงก็หัวเรำะออกมำดังๆ หรือ บำงคนก็เสียน�้ำตำด้วยควำมเศร้ำซึ้ง เพรำะที่นี่คือ ‘arts club’ ศิ ล ปะจึ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลำงของทุ ก อย่ ำ ง ในแต่ ล ะนิ ท รรศกำร บำร์ เ ทนเดอร์ แ ละเชฟจะสร้ ำ งสรรค์ เ มนู พิ เ ศษขึ้ น มำเพื่ อ นิทรรศกำรนั้นๆ ท�ำให้นอกจำกจะพลำดนิทรรศกำรไม่ได้แล้ว กำรไปกินมื้อพิเศษจำกนิทรรศกำรนั้นก็เป็นเรื่องที่พลำดไม่ได้ เช่นกัน เปิดให้บริกำรวันจันทร์-วันเสำร์ เวลำ 11.00-23.00 น. รำยละเอียดเพิ่มเติม www.telokayerartsclub.sg
THEATER
THE PROJEC TOR โรงภำพยนตร์นอกกระแสทีก่ อ่ ตัง้ ในปี 2014 หลังจำกโรงภำพยนตร์บอลลีวดู เดิมปิดกิจกำร โดยหนังทีฉ่ ำยทีน่ มี่ ที งั้ หนังใหม่ลำ่ สุด หนังนอกกระแส สำรคดี และ แอนิเมชัน แต่ที่พิเศษไปกว่ำนั้นคือพวกเขำยังจัดเทศกำลฉำยหนังตำมธีมต่ำงๆ (แถมพวกเขำกระซิบว่ำมีควำมเป็นไปได้ทจี่ ะมีเทศกำลหนังไทยด้วย) เปิดพืน้ ทีแ่ สดง คอนเสิรต์ วงอินดี้ ให้คนมำจัดทอล์ก หรือแม้กระทัง่ เปิดบ้ำนเป็นพืน้ ทีจ่ ดั งำนประกำศ รำงวัลด้วย ตัง้ อยูท่ ชี่ นั้ บนสุดของห้ำงเก่ำแก่อย่ำง Golden Mile Tower เปิดให้บริกำร ทุกวันตัง้ แต่เวลำ 11.00-24.00 น รำยละเอียดเพิม่ เติมที่ www.theprojector.sg
TEM PL E
KUAN YIN THONG HOOD CHO TEMPLE ถ้ำใครอยำกเทีย่ วแบบสำยบุญ ควรจะแพลน ทริ ป สั ก หนึ่ ง วั น ไปไหว้ พ ระเอำโชคลำภเข้ ำ ตั ว ถ้ำเปรียบเทียบเวลำชำวต่ำงชำติมำเที่ยวบ้ำนเรำ ก็ ต ้ อ งไปไหว้ พ ระพรหม แต่ ถ ้ ำ ไปสิ ง คโปร์ ก็ ต ้ อ ง วัดนี้เลย Kuan Yin Thong Hood Cho ที่มีรูปปั้น เจ้ำแม่กวนอิมให้เข้ำไปสักกำระบูชำ วัดนีข้ นึ้ ชือ่ และ เป็นที่นิยมอย่ำงมำก ตั้งอยู่ในละแวก Bugis ที่มี สถำนที่ท่องเที่ยว ห้ำงสรรพสินค้ำ ให้เดินเล่นใน ละแวกนั้นได้อีกด้วย
GALLERY
DECK
แกลเลอรีทใี่ ช้ตคู้ อนเทนเนอร์มำวำงซ้อนกันจนกลำยเป็นพืน้ ทีแ่ สดง งำนศิลปะเล็กๆ ที่ห้อมล้อมท่ำมกลำงตึกสูงใหญ่ จนกลำยเป็นเอกลักษณ์ ชวนให้อยำกเข้ำไปสัมผัสตัง้ แต่ครัง้ แรกทีไ่ ด้พบเจอ และยังเป็นเหมือนชุมชน ข องช่ำงภำพในสิงคโปร์ทเี่ ข้ำมำใช้ทนี่ เี่ ป็นสถำนทีจ่ ดั แสดงผลงำน โดยแบ่ง ออกเป็น 2 ห้อง ทีเ่ หลือก็แบ่งเป็นห้องสมุดทีไ่ ด้รบั บริจำคหนังสือจำก Steidl ส�ำนักพิมพ์อำร์ตบุก๊ เยอรมันกว่ำพันเล่ม, ห้องท�ำงำนทีมงำน และห้องท�ำงำน ของ artist in residence ที่เปิดรับศิลปินมำพ�ำนักหมุนเวียนไปตลอดทั้งปี ดังนัน้ ใครทีส่ นใจงำนภำพถ่ำย DECK จึงเป็นหนึง่ ในแพลนของคุณทีต่ อ้ งแวะ มำเยีย่ มชมให้ได้ เปิดให้เข้ำชมวันอังคำร-วันอำทิตย์ ตัง้ แต่เวลำ 12.00-19.00 น. (วันอำทิตย์เปิดถึง 17.00 น.) รำยละเอียดเพิม่ เติมที่ www.deck.sg
P L ACE
MAHATTAN บำร์ที่ได้อันดับหนึ่งของ Asia's 50 Best Bars มำถึงสองปีซ้อน เป็นบำร์ที่ตั้งอยู่ในโรงแรม Regent Singapore ตัวบำร์ทถี่ กู ตกแต่งด้วยไม้เฉดด�ำ เครือ่ งหนัง และหินอ่อน บรรยำกำศทีจ่ ะช่วยเสริมค็อกเทลแก้วนัน้ ของคุณให้ดีเยี่ยมขึ้นไปอีก ซึ่งบำร์นี้จะขึ้นชื่อในเรื่อง ของกำรน�ำค็อกเทลคลำสสิกที่น�ำหัวเหล้ำชั้นเยี่ยม ที่ คั ด สรรมำอย่ ำ งดี ม ำดั ด แปลงให้ มี ร สชำติ ที่ ใ หม่ และแตกต่ำงอย่ำงมีเอกลักษณ์
EX HI B I TI O N
HUMAN NATURE นิทรรศกำรทีจ่ ะจัดขึน้ ที่ Red Dot Design Museum ก่อตัง้ โดยเจ้ำของรำงวัลระดับโลกอย่ำง Red Dot ซึ่ง เป็นรำงวัลทีส่ นับสนุนให้กบั ผลิตภัณฑ์ทมี่ ดี ไี ซน์และ กำรออกแบบทีน่ ำ่ สนใจ ซึง่ ในตัวงำน Human Nature เป็นนิทรรศกำรทีพ่ ดู ถึงกำรทดสอบของมนุษย์ทมี่ ตี อ่ หุน่ ยนต์ เทคโนโลยีทถี่ กู สร้ำงขึน้ มำตำมยุคสมัย ในอนำคต มนุษย์เรำจะสำมำรถใช้ชีวิตร่วมไปกับ หุน่ ยนต์ได้หรือไม่ งำนจะจัดแสดง ถึงวันที่ 20 กันยำยน 2562
18
LIFE
เรื่อง
พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai
ภาพ
ธนดิษ ศรียานงค์ ช่างภาพ thanadis@gmail.com
ISSUE 580 04 MAR 2019
19 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
TH E H E AR T OF S IN G AP OR E
ตึกสูงระฟ้า บ้านเมืองสะอาดสะอ้านแต่ปกคลุมด้วยต้นไม้ใหญ่ คือ ภาพของสิงคโปร์ที่เราเห็นผ่านสื่อ และการไปเยีย ่ มเยือนประเทศนีห ้ ลาย ต่อหลายครัง้ จนบางทีกน ็ ก ึ แปลกใจว่า ปัจจัยอะไรที่ท�าให้สิงคโปร์ยิ่งใหญ่ใน วั น นี้ เพราะเศรษฐกิ จ ที่ แ ข็ ง แรง เท่านั้นหรือที่ท�าให้ประเทศนี้เติบโต อย่างมัน ่ คง หรือเพราะองค์ประกอบ อะไรทีร่ วมกันจนเกิดเป็นความแข็งแกร่ง การเดิ น ทางไปสิ ง คโปร์ ค รั้ ง ล่าสุดท�าให้เราพบค�าตอบทีต ่ า่ งออกไป เพราะจากวิคตอเรียสตรีท สู่ตรอก ฮิ ป ส เ ต อ ร์ ใ น ย่ า น กั ม ป ง ก ลั ม ไปจนถึ ง เขตพื้ น ที่ สุ ด โลคอลอย่ า ง ลิ ต เติ ล อิ น เดี ย และไชนาทาวน์ เรา สังเกตได้วา่ ‘ศิลปะ’ คือสิง่ ทีส ่ อดแทรก อยู่ ใ นทุ ก ส่ ว นประกอบของชี วิ ต ชาวสิ ง คโปร์ ไม่ ว่ า จะเป็ น ภาพวาด สตรีทอาร์ต กราฟฟิตี้ เทศกาลดนตรี งานอี เ วนต์ ท างศิ ล ปะ รวมไปถึ ง แกลเลอรี แ ละพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ม ากมาย ที่เปิดให้เข้าชมฟรีตลอดทั้งปี หากเศรษฐกิจต้องการเชือ้ เพลิง ทีช่ ว่ ยขับเคลือ ่ นประเทศ ศิลปะก็เป็น อีกปัจจัยส�าคัญในการสร้างรากฐาน ทางสังคมและหลอมรวมจิตใจของ ประชาชน เพราะเมือ่ ย้อนไปดูประวัต-ิ ศาสตร์แล้ว หลังจากสิงคโปร์ประกาศ เป็นเอกราชตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1965 ประเทศเล็กๆ ปลายแหลม มลายูแห่งนี้ก็ริเริ่มโครงการพัฒนา ให้ทันสมัยโลกตะวันตกอย่างจริงจัง ไม่วา่ จะเป็นการสถาปนาอุตสาหกรรม การผลิต พัฒนาทีด ่ น ิ และลงทุนด้าน การศึกษาอย่างเข้มข้น ท�าให้เศรษฐกิจ ของประเทศสิ ง คโปร์ เ ติ บ โตเฉลี่ ย ร้ อ ยละ 8 ต่ อ ปี และกลายเป็ น หนึ่ ง ในชาติที่รุ่งเรืองที่สุดในเอเชีย แต่หากมองลึกลงไป ความส�าเร็จนี้ จะเกิ ด ขึ้ น ไม่ ไ ด้ เ ลยหากปราศจาก การพั ฒ นาทางจิ ต วิ ญ ญาณและ ความเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ของ คนในประเทศ ผ่านการส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณีร่วมสมัย ทัง้ จากจีน มลายู อินเดีย จนสามารถ สร้ า ง ‘ความเป็ น สิ ง คโปร์ ’ ที่ ไ ม่ ไ ด้ หมายถึ ง แค่ ตั ว เลขเชิ ง เศรษฐกิ จ หลักหลายล้าน แต่เป็นความรุม ่ รวย ทางวั ฒ นธรรมที่ ป ระกอบขึ้ น จาก ชิน ้ ส่วนของเรือ่ งราวอันมีคณ ุ ค่าทัง้ ใน อดีต ปัจจุบน ั และยังเติมเต็มจิตใจของ ประชาชนและผูม ้ าเยือนได้เสมอมา
20 ISSUE 580 04 MAR 2019
1 9 6 0 s - 198 0s
A RTS FOR T HE COMMUNIT Y A ND NATION หลังประกาศอิสรภาพอย่าง เป็นทางการ ประเทศสิงคโปร์ตอ้ ง เจอกับการก่อจลาจลและความขัดแย้งที่เกิดจากความแตกต่าง ของคนต่างชาติพันธุ์และศาสนา ที่เข้ามาอาศัยในประเทศ ทั้งจีน มาเลย์ และอินเดีย รัฐบาลจึงริเริม่ สร้างความปรองดองโดยการปล่อย แคมเปญรณรงค์ด้านวัฒนธรรม เพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างคน ต่างเชื้อชาติ โดยมีกลุ่มตัวแทน ประชาชนจัดกิจกรรมโชว์เคสด้าน ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมมากมาย รวมทั้ ง มี ก ารโปรโมตเพลงจาก นักแต่งเพลงชาวสิงคโปร์เพือ่ ตอกย�า้ ‘คุณค่าของความเป็นสิงคโปร์’ (Singapore Values) และส่งเสริม การสร้างอัตลักษณ์ของชาติ
ต่อมาจึงมีการก่อตัง้ National Theatre Company ซึง่ ประกอบด้วย Singapore National Orchestra, Chinese Orchestra, Choir และ Dance Company เมือ่ เศรษฐกิจของ ประเทศเติบโตอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1970-1980 ภาครัฐก็หันมา สนั บ สนุ น ชุ ม ชนศิ ล ปะและงาน จิตรกรรมดัง้ เดิมของประเทศมากขึน้ ด้วยการเปิดตัวงานเทศกาลศิลปะ แห่งชาติสิงคโปร์ (The Singapore Festival of Arts) สิงคโปร์ซิมโฟนี ออร์เคสตรา (Singapore Symphony Orchestra) และ Cultural Medallion สถาบันเพื่อส่งเสริมและผลักดัน ศิลปินชาวสิงคโปร์
1 9 9 0s - 2007
IN VESTING I N C ULTURAL INFRA ST RUCTUR E, IN ST I T UT I ONS AND IN DUST RY สภาวะเศรษฐกิจตกต�า่ ในปี ค.ศ. 19851986 ท�าให้ทางการสิงคโปร์มองหาความเป็น ไปได้ในการพัฒนาศักยภาพด้านอื่นๆ ของ ประเทศ โดยมีการก่อตั้ง Advisory Council on Culture and the Arts (ACCA) เพือ่ ศึกษาบทบาท ของศิลปะในฐานะเป็นยุทธศาสตร์พฒ ั นาชาติ และในปี ค.ศ. 1989 องค์กรดังกล่าวก็เปิดเผย รายงานชิน้ ส�าคัญออกมาว่า ศิลปะและวัฒนธรรม คือกุญแจในการพัฒนาคุณภาพชีวติ สร้างสังคม ทีด่ งี าม และขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ ทัง้ ยังแนะน�า ให้ภาครัฐเพิ่มงบประมาณและเงินสนับสนุน
อาร์ ต สเปซต่ า งๆ เช่ น หอศิลป์ แ ละสถานที่ จัดแสดงโชว์ดา้ นวัฒนธรรม หลังจากนัน้ สิงคโปร์ จึงเปิดตัวเทศกาลใหม่ๆ มากมาย ทั้งเทศกาล นักเขียนสิงคโปร์ เทศกาลศิลปะนานาชาติ รวมทั้ ง มี ก ารปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาหลั ก สู ต ร ศิ ล ปะส� า หรั บ เด็ ก ๆ เพื่ อ บ่ ม เพาะความคิ ด สร้างสรรค์ให้กับเยาวชน ซึ่งนับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างทีละเล็กทีละน้อย แต่ก็น�าพามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่ ในเวลาต่อมา
21 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
KE Y M I L E S T O N E S I N S I NGAPO R E A RT S D E V E LO P M E N T
1938 Na nya ng Aca de my o f Fi ne A r ts
197 7
S i nga po re Fe s ti va l o f A r ts (B i e nni a l )
197 9
C u l tu ra l M e da l l i o n
1984
LA SA LLE C o l l e ge o f the A r ts
19 91 S i nga po re Wr i te r Fe s ti va l
1999
S i nga po re A r ts Fe s ti va l (A nnu a l )
20 04
The A r ts Ho u s e
20 0 6
S i nga po re B i e nna l e
20 0 8 - 2018
GLOBAL CITY FOR T HE A RTS
ปัจจุบนั สิงคโปร์กา้ วขึน้ มาเป็นยักษ์ใหญ่แห่งเอเชีย และหนึง่ ในประเทศทีม่ คี วามหลากหลาย ทางวัฒนธรรมมากทีส่ ดุ ในโลก โดยไม่ลมื ทีจ่ ะพัฒนาเศรษฐกิจควบคูไ่ ปกับการส่งเสริมศิลปะ ในทุกแขนง อย่างล่าสุดในปี ค.ศ. 2017 รัฐบาลสิงคโปร์ได้เพิม่ งบประมาณในการสนับสนุนศิลปะ และวัฒนธรรมของประเทศ จาก 720 ล้าน เป็น 840 ล้านเหรียญฯ ซึง่ เป็นส่วนส�าคัญทีท่ า� ให้ องค์กรด้านศิลปะสามารถจัดงานอีเวนต์และการแสดงต่างๆ โดยไม่ต้องเก็บค่าใช้จ่ายจาก ประชาชน ท�าให้เกิดการเข้าถึงศิลปะที่มากขึ้น นอกจากนี้ยังวางกลยุทธ์เพื่อก้าวมาเป็น ศูนย์กลางด้านศิลปะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วย เพื่อที่จะสร้างชุมชนศิลปะที่แข็งแรงยิ่งขึ้นในอนาคต ทางการสิงคโปร์ไม่หยุดคิดค้น กลยุทธ์ใหม่ๆ เพื่อขยายจ�านวนกลุ่มผู้ชมงานศิลปะ โดยเฉพาะผู้คนที่มาจากต่างประเทศ ไม่นานมานีเ้ ราจึงได้ชมผลงานจากศิลปินระดับโลกของ ‘คุณป้าลายจุด’ หรือ ยาโยอิ คุซามะ จัดแสดงขึ้นใน National Gallery Singapore และยังมีการเชิญชวนสตรีทอาร์ทิสต์จากหลาย มุมโลกเข้ามาแต่งแต้มสีสันให้กับก�าแพงตามตรอกซอกซอยและย่านชุมชนเก่าให้กลับมา มีชีวิตชีวากว่าที่เคย
20 0 8
S cho o l o f the A r ts
20 15
Na ti o na l Ga l l e r y S i nga po re
22 ISSUE 580 04 MAR 2019
5 PLAC E S TO VISIT AND LEARN MORE ABOUT SI NGA POR E A RT S
1
NATIO NA L GA L L E RY SINGAPO R E หอศิลป์แห่งชาติสิงคโปร์ เป็นสถาบันทัศนศิลป์ ใหม่ลา่ สุดทีเ่ พิง่ เปิดเมือ่ ปลายปี 2015 ตัง้ อยูใ่ นใจกลางย่าน ซีวิก ดิสทริกต์ จัดแสดงคอลเลกชันผลงานศิลปะของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และศิลปะสิงคโปร์สมัยใหม่ที่มี เอกลักษณ์ มรดกทางวัฒนธรรม ตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 จนถึงปัจจุบันมากกว่า 8,000 ชิ้น ผู้เข้าชมจะได้สัมผัส กับผลงานภาพเขียนและงานศิลปะที่ส�าคัญโดยศิลปิน ผูม้ ชี อื่ เสียงชาวสิงคโปร์ เช่น Georgette Chen, Chen Chong Swee, Chen Wen Hsi, Cheong Soo Pieng และ Liu Kang รวมถึงศิลปินชัน้ น�าในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นับว่าเป็น สถานที่จัดแสดงงานทัศนศิลป์ที่ใหญ่ที่สุดในสิงคโปร์ และเป็นหอศิลป์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคด้วยเนื้อที่กว่า 64,000 ตารางเมตร
2
L A SA L L E C O L L E GE O F T H E A RT S วิทยาลัยแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1984 เป็น สถาบั น การศึ ก ษาของภาคเอกชนที่ ไ ม่ ห วั ง ผลก� า ไร เนือ่ งจากได้รบั เงินช่วยเหลือจากกระทรวงการศึกษาของ ประเทศสิงคโปร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างบัณฑิตที่มี ความคิดสร้างสรรค์ มีความพร้อมส�าหรับการท�างาน และมีโอกาสเป็นผู้ทรงอิทธิพลหรือผู้น�าทางวัฒนธรรม ในอนาคต รวมทัง้ เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาด้านศิลปะ และการออกแบบในประเทศสิงคโปร์โดยมุ่งเน้นไปยัง การปฏิบตั จิ ริงและการวิจยั ด้วยรูปทรงอาคารทีแ่ ปลกตา ท�าให้ LASALLE College of the Arts ไม่ได้เป็นแค่เพียง สถาบันการศึกษาด้านศิลปะชั้นน�าของสิงคโปร์เท่านั้น แต่ยังเป็นสถานที่ที่ทรงคุณค่าทางด้านสถาปัตยกรรม ทีไ่ ด้รบั รางวัลด้านการออกแบบจากเวทีระดับโลกมากมาย
3
ART S C I E NC E M US E U M อีกหนึ่งแลนด์มาร์กส�าคัญที่ถ้าใครมาสิงคโปร์ ก็คงต้องแวะถ่ายรูปและตีตวั๋ เข้าไปชมนิทรรศการ เพราะ พิพิธภัณฑ์รูปดอกบัวที่ตั้งอยู่หน้า Marina Bay Sands แห่งนีเ้ น้นการผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนการจัดแสดงผลงาน นิ ท รรศการที่ มี ชื่ อ เสี ย งระดั บ โลก เช่ น American Museum of Natural History และ The Smithsonian Institutution โดยมีโซนจัดแสดงกึง่ ถาวร ซึง่ ปัจจุบนั เป็น ผลงานชือ่ FUTURE WORLD : Where Art Meets Science ของกลุ่มศิลปินญี่ปุ่น Teamlab ผู้น�าศิลปะไปผสมผสาน กับความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ จนเกิดเป็น Interactive Art ในสไตล์โลกดิจิตอล
23 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
3 1
2
5
4
4
SU LTA N A RT S VILLAG E พื้ น ที่ ส� า หรั บ ผู ้ ชื่ น ชอบสตรี ท อาร์ ต ซ่ อ นตั ว อยู่ในย่านสุดฮิปอย่างกัมปง กลัม เมื่อเข้ามาจะพบกับ ก�าแพงหลากสีที่เหล่าศิลปินชาวสตรีทมักแวะเวียนมา สร้างสรรค์ชนิ้ งานใหม่ๆ และยังเป็นทีต่ งั้ ของกลุม่ กราฟฟิตี้ The Blackbook หนึ่งในกลุ่มกราฟฟิตี้กลุ่มแรกๆ ของ สิงคโปร์ที่เปิดร้าน Zinc Nite Crew (ZNC) ขายสีสเปรย์ และอุปกรณ์พ่นก�าแพง ที่นี่ไม่ได้เป็นเพียงแค่คอมมูนิตี้ ของเหล่ า อาร์ ทิ ส ต์ เ ท่ า นั้ น แต่ ยั ง เป็ น บ้ า นที่ ศิ ล ปิ น ส่วนหนึ่งมาอาศัยอยู่จริงๆ โดยส่วนใหญ่จะมีร้านสัก และท�ากราฟิกดีไซน์ควบคู่ไปกับการท�างานสตรีทอาร์ต
5
H AJ I L A N E ตรอกฮาจิ หรือตรอกฮัจญี เป็นถนนช้อปปิง้ สาย เล็กๆ ทีเ่ ต็มไปด้วยสินค้าแฟชัน่ จากร้านค้าและดีไซเนอร์ อิสระวัยรุน่ และหนุม่ สาวสิงคโปร์ โดดเด่นด้วยบ้านเรือน แบบตึกแถวสไตล์โคโลเนียลสองชั้น ที่ตกแต่งและทาสี ได้สดใส ทีส่ า� คัญ ยังเป็นแหล่งรวมงานกราฟฟิตที้ มี่ ชี อื่ เสียง มากมาย เช่นงานของ Ceno2 บนผนังด้านนอกของร้านอาหาร The Singapura Club ซึง่ แสดงภาพของกรรมกรใส่ผ้าโพก ศีรษะ หญิงอพยพชาวจีน และชายชาวมาเลย์ สือ่ ถึงประวัติ ความเป็นมาของถนน Arab Street และงานทีผ่ นังด้านนอก ของร้านอาหารเม็กซิกัน Piedra Negra ซึ่งเป็นผลงาน ภาพวาดสีสันสดใสสไตล์ฮิปปี้และชนเผ่า โดย Jaba ศิลปินชาวโคลอมเบีย
“เราตระหนักถึงบทบาทส�าคัญของ ศิลปะ ทีส ่ ามารถเปิดมุมมองใหม่ๆ และมอบคุณค่าทีย ่ งิ่ ใหญ่ให้ชวี ต ิ ในระดับชุมชน ศิลปะสามารถน�าพา ผูค ้ นจากหลากหลายภูมห ิ ลังให้เข้ามา มีปฏิสม ั พันธ์และสร้างรากฐานทาง สังคมทีแ่ ข็งแรง ในระดับประเทศ ศิลปะจะช่วยเสริมสร้างอัตลักษณ์ ความมัน ่ ใจ และเน้นย�า้ ประวัตศ ิ าสตร์ ของชาติ เราจึงท�างานกันอย่างหนัก เพือ่ สร้างความเป็นเลิศในวงการศิลปะ สิงคโปร์ เพิม ่ กลุม ่ ผูช ้ ม และท�าให้ แน่ใจว่าชาวสิงคโปร์ทก ุ คน ไม่วา่ จะเป็น ใครก็ตาม สามารถเข้าถึงศิลปะ ได้อย่างเท่าเทียม” Grace Fu รัฐมนตรีกระทรวงวัฒนธรรม ชุมชน และเยาวชนสิงคโปร์
24 issue 580 04 MAr 2019
CALENDAR
04
M 05
T 06
W 07
TH 08
F 09
BiBliophilia
STYX
#JaMNiGhT live! wiTh Mac aYreS
The UNcerTaiN
DiN claY To
นิ ท รรศการ ‘ศิ ล ปิ น ผูต้ กหลุมรัก หนังสือ’ โดย โอ๊ต มณเฑียร มาอ่าน เรื่องสั้นพิเศษที่เขียนขึ้น โดยมีหนังสือหายากใน หอสมุ ด แห่ ง ชาติ เ ป็ น แรงบันดาลใจ และงาน ศิ ล ปะที่ ต ่ อ ยอดจาก หนังสือ ทีจ่ ะท�าให้ประสบการณ์การอ่านของคุณ มี ค ว า ม โ ร แ ม น ติ ก มากกว่าทุกครัง้ ทีผ่ า่ นมา วันนี้ถึง 28 เมษายน 2561 ณ หอสมุดแห่งชาติ
ภาพยนตร์เรื่อง ‘Styx’ ไรเคอ แพทย์หญิงที่มุ่ง สู่การเติมเต็มความฝัน โดยการออกแล่นเรือใน ทะเลคนเดียว ทว่าวัน พั ก ร้ อ นในฝั น ของเธอ ก็ถูกท�าลายลง เมื่อเรือ ของเธอลอยมาอยู่ใกล้ กั บ เรื อ ประมงซึ่ ง มี ค น เกือบร้อยชีวิตก�าลังจะ จมลงสูก่ น้ ทะเล เธอจึง ถู ก สถานการณ์ ก ดดั น ให้ตอ้ งตัดสินใจครัง้ ใหญ่ ชมฟรี วันนี้ เวลา 19.30 น. ณ สถาบันเกอเธ่
ล่องไหลไปกับส�าเนียง อาร์ แ อนด์ บี สุ ด ละมุ น ของ Mac Ayres นักร้อง โปรดิวเซอร์ และ multiinstrumentalist จาก นิวยอร์ก ที่จะมาสะกด คุณให้ตกอยู่ในห้วงกรูฟ สุดโรแมนติก ใน ‘#JAMNIGHT Live! with Mac Ayres’ วั น นี้ เวลา 20.30 น. ณ Voice Space จ�าหน่ายบัตรที่ Ticketmelon.com
นิทรรศการ ‘ในความคลุ ม เครื อ และคลาดเคลือ่ น’ โดย เจษฎา ตัง้ ตระกูลวงศ์ นิทรรศการ ที่ จ ะเปลี่ ย นแปลงรู ป แบบงานตามสภาพอากาศ ในแต่ละวัน เช่น วันทีม่ ี เมฆเป็นส่วนมาก, วันที่ แดดออกเป็นส่วนมาก ฯลฯ (ตรวจสอบสภาพ อากาศได้ที่ Accuweather.com ในเวลา 11.00 น. ของแต่ ล ะวั น ) วั น นี้ ถึง 31 มีนาคม 2562 ณ Nova Contemporary ซ.มหาดเล็ ก หลวง 3 (เว้นวันจันทร์)
นิ ท รรศการ ‘สุ น ทรี ย สนทนา เบอร์ ลิ น ราชบุร’ี โดยศิลปินชาว เยอรมัน สเตฟานี แฮริง ร ่ ว ม กั บ ศิ ล ป ิ น ไ ท ย วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ จั ด แ ส ด ง เ ท ค นิ ค งานฝี มื อ ในการผลิ ต เครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผาและ เครื่องเคลือบซึ่งเปี่ยม ด ้ ว ย ก ลิ่ น อ า ย แ บ บ ดั้งเดิมและทรงคุณค่า ทางวัฒนธรรม วันนีถ้ งึ 30 มีนาคม 2562 ณ ห้อง สตูดโิ อ ชัน้ 4 หอศิลป์ กรุงเทพฯ (เว้นวันจันทร์)
SA 10
MarooN 5: reD pill BlUeS ToUr 2019
Maroon 5 วงพ็อพร็อก สุ ด ฮอตที่ มี ย อดขาย ระดั บ มั ล ติ - แพลทิ นั ม เตรียมกลับมาตอกย�้า ความมันในประเทศไทย อีกครั้ง ใน ‘Maroon 5: Red Pill Blues Tour 2019’ วันนี้ เวลา 19.00 น. ณ อิมแพ็ก ชาเลนเจอร์ ฮอลล์ 1 เมืองทองธานี จ�าหน่ายบัตรทีไ่ ทยทิกเก็ตเมเจอร์
S
lUcKY TapeS & TeNDre live iN BaNGKoK
Lucky Tapes กลับมา อีกครัง้ ตามค�าเรียกร้อง กับคอนเสิร์ตใหญ่ของ พวกเขาในกรุ ง เทพฯ แถมยั ง พ่ ว ง Tendre อีกหนึ่งศิลปินญี่ปุ่นที่ ก�าลังมาแรงในขณะนี้ รวมถึ ง วงอิ น ดี้ โ ซล ของไทยอย่างวงปลานิล เต็มบ้าน ใน ‘Lucky Tapes & Tendre Live in Bangkok’ วันนี้ เวลา 19.00 น. ณ ไลฟ์อารีนา อาร์ซเี อ จ�าหน่ายบัตร ที่ Ticketmelon.com
WHERE TO FIND
Where the conversations begin. adaybulletin.com
หมอชิต
Meet
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
Up
สยามสแควร์
Every อโศก
Monday!
ศาลาแดง
BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น. หมอชิต อโศก
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ศาลาแดง
สยาม
Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ
ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ากว่า 100 จุดทั่วประเทศ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน
25 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
ดวงกมล จันทร์เนตร์ คอนเทนต์ครีเอเตอร์อิสระ ผู้สนใจเรื่องการเงิน ชีวิต และการงานที่สมดุล ส่วนงานรองคือเขียนแนะน�าไลฟ์สไตล์และท่องเที่ยวด้วยส�านวนสดใหม่ มีแฟนๆ เฝ้าติดตามเธออยู่ไม่น้อย amjunnet@gmail.com
เรื่อง
M O N E Y. L I F E . BA L A N C E .
เงินออมมีไว้ท�าไมกัน GoogleTrendระบุว่าในช่วง15ปีที่ผ่านมาคนไทยเสิร์ชค�าว่า‘ฝากเงิน’เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ9%ซึ่งสะท้อนพฤติกรรมคนส่วนใหญ่ที่มักท�างานไปใช้เงินไป ไม่มีเงินเก็บในขณะเดียวกันก็มีอีกหลายคนที่มักบอกว่าไม่รู้จะเก็บเงินไปท�าไมเพราะไม่ได้อยากรวยทั้งที่จริงแล้วเงินออมส�าคัญกว่านั้นมาก 1. ออมเพือ ่ ซือ ้ รถหรือบ้าน คุณอาจจะคิดว่า การมีงานประจ� าท�า สามารถช่ วยให้ คุณ กู ้ ซื้อ บ้ าน หรือรถได้ แต่อย่าลืมว่าอย่างน้อยคุณต้องมีเงินดาวน์ ดังนั้น จึงจ�าเป็นอย่างมากที่คุณจะต้องออมเงินเพื่อ เก็บไว้เป็นเงินดาวน์ ยกเว้นเสียแต่วา่ จะมีใครสักคนให้คณ ุ ยืมเงินก้อนนี้ วงเงินกูส้ งู สุดจะอยูท่ ี่ 95% ของราคาบ้าน และ 90% ของราคาคอนโดฯ คุณต้องเตรียมเงินดาวน์ ไว้ที่ 5-10% ยิง่ มีเงินดาวน์มากเท่าไหร่ วงเงินกู้น้อยลง โอกาสกูผ้ า่ นก็มมี ากขึน้ บางโครงการอาจให้ผอ่ นดาวน์ ได้ แต่อย่าลืมว่ากว่าจะสร้างเสร็จ ราคาอาจสูงไปเรือ่ ยๆ โอกาสที่ คุ ณ จะกู ้ ไ ม่ ผ ่ า นก็ มี คุ ณ ก็ อ าจเสี ย เงิ น ฟรี ส่วนรถนั้นมีให้ฟรีดาวน์ แต่คุณต้องไปลุ้นดอกเบี้ย ที่สูงแทน ความต้องการซื้อบ้านซื้อรถอาจจะยังไม่ เกิดขึ้น แต่หากคุณมีเงินออมไว้ เมื่อใดที่คุณจ�าเป็น ต้องซื้อ ทุกอย่างก็ง่ายขึ้นทันที 2. ออมเพือ ่ ใช้หนี้ นอกจากการไม่มโี รคจะเป็น ลาภอันประเสริฐแล้ว การไม่มหี นีก้ เ็ ป็นลาภอันประเสริฐ เช่นกัน เมื่อมีหนี้ ก็ต้องเก็บเงินเพื่อไปปลดหนี้ ฟังดู ขัดแย้งกัน แต่มนั เป็นไปได้ หนีส้ ว่ นใหญ่ของคนในปัจจุบนั
เกิดจากการใช้บัตรเครดิตที่อ้างว่าเป็นกรณีฉุกเฉิน แล้วไม่ยอมจ่ายยอดคืนเต็มจ�านวน ดังนัน้ คุณต้องหยุด รูดบัตร แล้วเก็บเงินให้ได้ตามจ�านวนหนีใ้ นบัตรเครดิต หลังจากนั้นคุณต้องออมเงินเพื่อเป็นก้อนเงินส�ารอง กรณีฉุกเฉินแทนการรูดบัตรเครดิต 3. ออมเพื่อค่าใช้จ่ายประจ�าปี คุณเคย ส�ารวจหรือไม่วา่ ต้นปี ระหว่างปี สิน้ ปี คุณมีคา่ ใช้จา่ ย อะไรบ้างที่คุณต้องจ่ายทุกปี ซึ่งเมื่อถึงเวลาต้องจ่าย หลายคนมักเกิดอาการเครียดเพราะไม่รจู้ ะหาเงินก้อน จากไหน การออมเพือ่ ค่าใช้จา่ ยเหล่านัน้ จ�าเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นค่าวันหยุดพักร้อนประจ�าปี ค่าของขวัญ ช่วงเทศกาล ค่าบ�ารุงรักษารถ ค่าซ่อมแซมบ้าน ค่าภาษี ค่าประกันชีวติ การเก็บเงินเพือ่ ค่าใช้จา่ ยเหล่านีไ้ ม่ใช่แค่ ให้คุณมีเงินจ่าย แต่เพื่อลดความกังวลใจหรือความเครียดที่จะเกิดขึ้นด้วย 4. ออมเพือ ่ เหตุใช้เงินฉุกเฉิน จะเกิดอะไร ขึ้นหากรถที่คุณใช้เสียขึ้นมา หรือบ้านที่คุณอยู่เกิด หลังคารัว่ ห้องทีค่ ณ ุ เช่าขึน้ ราคา คนในครอบครัวประสบ
ปัญหาสุขภาพ คุณต้องบินไปร่วมงานศพคนที่คุณรัก ตัวคุณเองประสบอุบัติเหตุ ซึ่งกรณีฉุกเฉินเหล่านี้อาจ ใช้เงินมากกว่าทีค่ ณ ุ คิด หรืออย่าคิดว่าคุณจะสามารถ หยิบยืมเพือ่ นฝูงหรือคนรอบข้างได้ เพราะการคิดแบบนัน้ นอกจากจะท�าให้คุณไม่ได้เงินแล้ว คุณอาจเสียเพื่อน ดีๆ ไปด้วยก็ได้ จะไม่ดกี ว่าหรือหากคุณมีเก็บเงินไว้ใน กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินเหล่านี้
แต่ละคนนั้นมีนิยามที่แตกต่างกัน แต่การออมจะช่วย ให้คณ ุ เข้าใกล้ค�าว่าเป็นอิสระทางการเงินมากขึน้ และ ค� า ว่ า อิ ส ระทางการเงิ น นี้ ก็ ห มายถึ ง การใช้ ชี วิ ต ได้ ในแบบทีค่ ณ ุ ต้องการ อยากไปเทีย่ วเมือ่ ไหร่กไ็ ด้ ท�าให้ คุณกล้าทีจ่ ะออกจากงานทีค่ ณ ุ เบือ่ หน่าย หรือกลับไป เรียนต่อ รวมทัง้ การเริม่ ต้นธุรกิจเล็กๆ หรือลงทุนท�าอะไร สักอย่าง หรือแม้กระทัง่ การได้ชว่ ยเหลือคนในครอบครัว
5. ออมเพือ ่ เหตุการณ์ไม่คาดฝัน แม้วา่ คุณคิดว่างานทีท่ า� นัน้ มัน่ คง บริษทั มีความมัง่ คัง่ แต่เรือ่ ง เลวร้ายก็เกิดขึ้นได้กับทุกคน วันหนึ่งคุณอาจจะโดน เลิกจ้าง ธุรกิจทีค่ ณ ุ ท�าอาจจะประสบปัญหา คุณอาจเป็น โรคร้ายแรงจนถึงขัน้ ป่วยท�างานไม่ได้ หลายคนอาจจะ มีประกันสุขภาพ ประกันสังคม แต่อย่าลืมว่าคุณยังมี ค่าใช้จ่ายรายเดือน ค่าอาหาร ค่ารถ ค่าน�้า ค่าไฟ ค่าอินเทอร์เน็ต ในกรณีทคี่ ณ ุ ยังตัง้ ตัวไม่ตดิ การมีเงินออม จะช่วยให้คุณสามารถช�าระค่าใช้จ่ายเหล่านี้ได้
7. ออมเพือ ่ ชีวต ิ ทีด ่ ี มีคนจ�านวนไม่นอ้ ยทีต่ อ้ ง อยู่ในภาวะเดือนชนเดือน ได้มาจ่ายไป ซึ่งเกิดจาก พฤติกรรมการไม่วางแผนจนท�าให้เกิดภาวะวิกฤตชนวิกฤต อยู่บ่อยครั้ง ทั้งที่เคล็ดลับง่ายๆ ในการใช้ชีวิตให้มี ความสุขคือการมีวินัย คนที่รู้จักวางแผน จัดระเบียบ มีการจัดการชีวิตที่ดีย่อมได้เปรียบ ไม่มีใครรู้อนาคต ล่วงหน้า แต่การเตรียมตัวไว้ให้พร้อมรับมือจึงเป็น วิธที งี่ า่ ยและดีทสี่ ดุ ในการมาถึงของพรุง่ นี้ การออมเงิน ไม่ได้ทา� ให้คณ ุ เสียอะไรไปเลย สิง่ ทีไ่ ด้กลับมาคืออนาคต ที่มีความสุขมากขึ้นเสียด้วยซ�้าไป
6. ออมเพื่อเป็นอิสระ หลายคนอาจรู้สึกว่า ออมเงินไปก็ไม่ได้ท�าให้รวยขึ้น เพราะค�าว่ารวยของ
จัดระเบียบขายของออนไลน์
รองเท้าผ้าใบในก้อนเมฆ
ใครที่ ก� า ลั ง ขายของออนไลน์ ฟั ง ทางนี้ คณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ระบุให้ทุกคนที่เปิดขายของออนไลน์ ไม่วา่ จะเป็นการขายผ่านช่องทางเว็บไซต์ของตนเองเฟซบุก ๊ ไอจีไลน์ ลาซาด้าช้อปปี้ อีเลฟเว่นสตรีทแอมะซอนอีเบย์และช่องทางอืน ่ ๆ ทีม ่ ย ี อดขายเกินกว่าปีละ1.8ล้านบาทต้องลงทะเบียนเป็นผูค ้ า้ ตลาด แบบตรงตามพ.ร.บ.ขายตรงและตลาดแบบตรงพ.ศ.2560ไม่เช่นนัน ้ จะมีโทษจ�าคุก1ปีและปรับ100,000บาทหรือทัง ้ จ�าทัง ้ ปรับ
แม้วา่ ส�าหรับสาวกรองเท้าผ้าใบการได้ไปเดินชมจับแต่ไม่ถงึ กับจูบแต่อย่างน้อยได้ลบ ู คล�า และลองใส่ จะเป็นความรูส ้ ก ึ ทีฟ ่ น ิ ไม่นอ้ ยแต่พฤติกรรมผูบ ้ ริโภคเปลีย ่ นไปคนส่วนใหญ่ในปัจจุบน ั นี้ กลับเลือกทีจ่ ะซือ ้ รองเท้าผ้าใบผ่านช่องทางออนไลน์ดูจากรูปภาพสวยๆทีล ่ องไม่ได้แต่คา� นวณ ขนาดรองเท้าจากรายละเอียดสินค้าทีร ่ ะบุไว้ใส่ไม่ได้กเ็ ปลีย ่ นอาจจะเพราะราคาทีถ ่ ก ู กว่าการไม่มี เวลาออกไปช้อปปิ้งและก็มีคนอีกจ�านวนหนึ่งหลังจากลองที่ร้านค่อยตัดสินใจซื้อผ่านออนไลน์ ดังนั้น จึงไม่น่าแปลกใจที่ Foot Locker บริษัทขายรองเท้า จะยอมทุ่มเม็ดเงินกว่า 100 ล้าน เหรียญสหรัฐฯเพื่อเข้าสู่แพลตฟอร์มขายรองเท้าผ้าใบออนไลน์ชื่อดังอย่างGOAT
ภาพ : Getty Images
26 เรื่อง
THEY SAID
ทรรศน หาญเรืองเกียรติ บรรณาธิการบทความ IG: @matt_doraemon
ภาพ
ธนดิษ ศรียานงค์ ช่างภาพ thanadis@gmail.com
เมื่อสี่หนุ่มดาวรุ่งที่มาแรงที่สุดตอนนี้อย่าง ‘เจเจ’ - กฤษณภูมิ พิบูลสงคราม, ‘เจมส์’ ธีรดนย์ ศุภพันธุ์ภิญโญ, ‘กัปตัน’ - ชลธร คงยิ่งยง และ ‘ไอซ์’ - พาริส อินทรโกมาลย์สุต จากซีรีส์ Great Men Academy สุภาพบุรุษสุดที่เลิฟ มารวมตัวกัน เราก็ไม่พลาดที่จะนั่งคุยกัน ในประเด็นทีว ่ า่ ด้วยความสัมพันธ์อน ั หลากหลาย พร้อมกับเปิดบทสนทนาให้พวกเขาได้ถกเถียงกัน ถึงเรื่องความหมายของชีวิต
“ทุกอย่างเปิดกว้างหมดแล้ว ถ้าใครก็ตามหรือแม้แต่ตวั ผมจะเป็นคนเพศที่ 3 ก็ไม่ใช่เรือ่ งผิด เรือ่ งของเพศสภาพ กลายเป็นเรือ ่ งเฉยๆ ของคนตอนนีแ ้ ล้ว ถึงเวลาแล้วทีป ่ ระเทศของเราจะเปิดเรือ ่ งนีก ้ น ั อย่างจริงจังเสียที”
The GreaTesT (Show) Man
issue 580 04 mar 2019
27 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin
ความวายและคู่จิ้น...
เจมส์ : จริงๆ แล้วเนื้อเรื่องก็ยังเป็นความรักระหว่าง ผู้หญิงกับผู้ชาย เพียงแต่ถูกน�าเสนอในมุมที่แฟนตาซีว่า ผู้หญิงนั้นต้องมาอยู่ในสถานการณ์ที่ตัวเองเป็นผู้ชาย แต่เรา ก็ปไู ว้เพือ่ ให้คนดูได้จนิ ตนาการกันเอง เราไม่ปฏิเสธนะถ้าใคร จะมองว่าเป็นซีรีส์วาย เพราะไม่ได้เป็นเรื่องผิด แต่เราเชื่อว่า นอกจากความมุง้ มิง้ นัน้ ยังมีเส้นเรือ่ งทีส่ นุก มีขอ้ ความทีอ่ ยาก เล่า ซึ่งเป็นเรื่องของความสัมพันธ์ต่างๆ ทั้งพ่อ แม่ ลูก เพื่อน พี่น้อง คนรัก ซึ่งมีประเด็นเหล่านี้อยู่บนเส้นเรื่อง แต่ผมก็ ไม่ได้ปฏิเสธ เดี๋ยวจะเข้าใจผิดว่าไม่เอาวาย เราไม่ชอบวาย หรือเปล่า
วัฒนธรรมแฟนเซอร์วิส...
เจเจ : ผมว่าเรือ่ งแบบนีไ้ ม่ใช่การเซอร์วสิ นะ ท้ายทีส่ ดุ แล้ว สิ่งที่เราต้องท�าคือแสดงให้ดี มีการพัฒนาอยู่เสมอ ส่วนเรื่อง จะจิ้น ไม่ จิ้ น หรื อ จะเซอร์ วิ ส ไหมเป็ น ความพอใจของคนดู ถ้าคนดูพอใจก็เป็นความรู้สึกของเขา แต่ไม่ใช่ว่าเราจะต้อง มาคิดว่าท�าอย่างไรให้คนดูจิ้นให้ได้ กัปตัน : เราไม่ได้ตั้งใจจะท�าเป็นซีรีส์วายออกมาเพือ่ สร้างกระแส ตอนอ่านบทครั้งแรกพวกเราก็มีการถกเถียง กั น ว่ า ตกลงมั น ซี รี ส ์ ว าย หรื อ ไม่ แล้ ว เราก็ ป รั บ ความเข้าใจกันว่านี่ไม่ใช่ ซี รี ส ์ ว ายนะ บทมั น เป็ น แบบนี้ ทุ ก อย่ า งมั น มี จุ ด เริ่ ม ต้ น และด� า เนิ น มาถึงจุดจบ ซึ่งจุดเริ่มต้น จ ริ ง ๆ ก็ คื อ ผู ้ ห ญิ ง ที่ กลายร่างมาเป็นผู้ชาย เจเจ : ซีรีส์เรื่องนี้ มี เ มสเสจของมั น เพี ย ง แต่ ว ่ า ผู ้ ก� า กั บ เขาอยาก เล่าในแนวนี้
ไอซ์ : ปัญหาหลักคือคนจะติดกับค�าว่าต้องท�าตาม ท�าตามไปเรื่อยๆ ตามประเพณีทุกๆ อย่าง เหมือนทุกคน ต้องท�าให้เป๊ะ ห้ามมีการดัดแปลง อย่างเรื่องของการศึกษา ซึ่งมีอะไรหลายอย่างที่ควรจะปรับได้ เราไม่ได้บอกว่าให้ทิ้ง ประเพณีทุกอย่างที่ผ่านมา ประเพณีนั้นเป็นเรื่องดี แต่ไม่ใช่ เก็บรักษาไว้แล้วก็อยู่กันแค่นั้น
กล้าที่จะเสี่ย ง...
กั ป ตั น : ทุ ก คนมี ค วามชอบส่ ว นตั ว กั น อยู ่ แ ล้ ว แค่ บ างคนอาจจะโดนบั ง คั บ ให้ ไ ม่ ช อบในสิ่ ง นั้ น เขาเลย ไม่กล้าที่จะชอบ ดังนั้น ค�าว่ากล้าเสี่ยงของผมคือ กล้าจะ สนุกไปกับสิ่งที่ชอบ ซึ่งเราก็ควรจะชอบไปกับมัน ถ้าสิ่งนั้น แสดงออกถึงความเป็นตัวเรา เจมส์ : ผมกล้าเสี่ยงที่จะเปิดรับสิ่งใหม่ตลอดเวลา กล้าที่จะรับบทแปลกๆ กล้าที่จะท�าชิ้นงานที่ไม่รู้ว่าจะมี ใครสนใจหรือเปล่าแต่ว่าตัวเราชอบ ไอซ์ : แค่ เ รากล้ า เสี่ ย งไปท� า อะไรที่ เ ราชอบจริ ง ๆ ไม่ต้องไปยึดติดแต่ว่าต้องเรียนแต่อาชีพในสาขาที่จบมาแล้ว ท�างานได้เงินเยอะๆ เมื่อเราคิดแบบนี้ได้ พาตัวเองให้หลุด ออกไปจากกรอบนีไ้ ด้ ผมเชือ่ ว่าทุกวงการ ทุกสาขาอาชีพนัน้
เล่นให้ถึง...
เจมส์ : ผมรู้สึกว่า การท� า ซี รี ส ์ ว ายไม่ ใ ช่ เรื่ อ งผิ ด ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เรื่ อ ง แปลก แต่อย่างว่าช่วงนี้ กระแสวายมา แน่นอนว่า คนคงมองว่ า เราท� า วาย ตามกระแส แต่ ผ มรู ้ สึ ก ว่ า ซี รี ส ์ นี้ มี เ ส้ น เรื่ อ งที่ ผู ้ ก� า กั บ เขาอยากเล่ า ในการที่ผู้หญิงได้กลายร่างเป็นผู้ชายแล้วเข้าไปในโรงเรียน ชายล้วน ก็ยังยืนยันว่าเราไม่ได้ท�าตามกระแส แต่เหมือน กับตอนที่นาดาวเคยท�า ฮอร์โมน ซึ่งซีรีส์เรื่องนั้นก็ยืนยัน ได้ว่าไม่ได้ท�าตามกระแส ไอซ์ : เราตั้งใจในการแสดงจริงๆ อย่างเจมส์ที่ต้อง เล่นเป็นผู้หญิง ซึ่งในการตีความไม่ใช่คิดจากความรู้สึก ของผู้ชายไปชอบผู้ชาย แต่คือความรักของคนปกติแค่เขา อยู ่ ใ นอี ก ร่ า งหนึ่ ง ตอนที่ พ วกเราจะรั บ เรื่ อ งนี้ เราเห็ น ความแปลกใหม่และความท้าทายในการแสดง
การยอมรับความแตกต่าง...
เจมส์ : สั ง คมไทยยั ง ยอมรั บ เรื่ อ งพวกนี้ ใ นตอนนี้ ไม่ได้หรอก ถึงประเทศเราจะเปิดกว้างมากขึ้นแต่ก็เป็นไป อย่างเชื่องช้า เรื่องบางเรื่องไม่ได้เปิดกว้างจริงๆ เรายังยึดติด กับความคิดว่าทุกอย่างต้องเป๊ะ ทุกอย่างต้องตายตัว อายุ 19 ต้องท�าอย่างนั้น อายุ 25 ต้องท�าอย่างนี้ เจเจ : แต่ ผ มเข้ า ใจนะ เพราะขนบธรรมเนี ย ม วัฒนธรรมของบ้านเรามีความอ่อนช้อยงดงามแต่แข็งแกร่ง มาก แต่ในทางกลับกันก็เป็นสิ่งที่ยึดเราไม่ให้ไปไหนสักที
คนไทยจะไปได้ ไ กลมาก เราจะมี ค นที่ ก ลายเป็ น ต� า นาน มากขึ้นกว่านี้ เพราะผมเชื่อว่ายังมีคนที่เก่งอีกเยอะมากๆ เพียงแต่อาจจะถูกผู้ใหญ่ไม่ให้เขาเลือกทางเดินของตัวเอง อยากให้ไปท�าอาชีพที่มีรายได้มั่นคง
สิ ท ธิ เ ท่ า เที ย ม...
เจเจ : ไม่ใช่ความเท่าเทียมกันจริงๆ หรอก สุดท้ายแล้ว ผู้ชายเป็นเพศที่แข็งแรงกว่า อะไรที่ผู้ชายท�าให้ผู้หญิงได้ ก็ควรจะท�า มันเป็นบริบททางสังคม ไอซ์ : ผมว่าเป็นเรื่องของความรู้สึก ถ้าอยากท�า ก็ท�า ไม่ได้แปลว่าถ้าเราไม่ลุกให้ผู้หญิงนั่งแล้วเราจะเป็น คนแย่ เอาจริงๆ ก็มีผู้หญิงที่ชอบผู้ชายอีกแบบหนึ่งที่ไม่ต้อง สุภาพ เรียบร้อย มีน�้าใจขนาดนั้น แต่เป็นเรื่องของความรู้สึก ว่ า เราอยากท� า ให้ เ ขารู ้ สึ ก ดี ห รื อ เปล่ า ผู ้ ห ญิ ง หลายคนก็ ไม่ได้ต้องการให้ผู้ชายลุกให้นั่งหรอก เจเจ : แต่ผมไม่ชอบเลย ความเท่าเทียมแต่ไม่เท่าเทียม กันจริงๆ ในสังคมไทยไม่ใช่ยุคที่ผู้หญิงเสียเปรียบอีกต่อไป แล้ว ผูช้ ายต่างหากทีเ่ สียเปรียบ ปัจจุบนั ผูห้ ญิงไม่ได้ให้เกียรติ ผู้ชายขนาดนั้น ไม่ได้ให้ความเท่าเทียมกับผู้ชายขนาดนั้น
เหมือนบางจังหวะ บางสถานการณ์ เขาใช้ความเป็นผู้หญิง ในการเรียกร้องผลประโยชน์จากผู้ชายเสียด้วยซ�้า กัปตัน : เขาไม่ได้รู้ว่าผู้ชายบางคนอาจจะเจอเรื่อง หนักมากๆ ในชีวิตมาแล้ว เขาอยากนั่งนิ่งๆ ของเขาก็ได้ คุณไปตัดสินว่าเขาไม่ดีแค่เขาไม่ลุกให้คุณนั่งไม่ได้ เพราะ คุณไม่รวู้ า่ เขาไปเจออะไรมา แต่ถา้ สมมติวา่ คุณก�าลังตัง้ ครรภ์ ใครก็ตามที่อยู่ตรงนั้นก็ควรลุกให้นั่ง
สุ ภ าพบุ รุ ษ คื อ ...
เจมส์ : คุณสุภาพหรือเปล่า สุภาพบุรุษต้องสุภาพ อย่างที่ไอซ์บอก มีความสุภาพอ่อนโยน อย่างที่สองคือ ทัศนคติคุณดีไหม สุดท้ายผมว่ารูปลักษณ์จะเป็นอย่างไร ก็แล้วแต่ อยู่ที่คนชอบ ถ้าคุณดูแลตัวเองให้ดูสะอาดสะอ้าน หน่อย ก็อาจจะเป็นหนึ่งในวิธีที่ดูเป็นสุภาพบุรุษ แล้วแต่ คนมอง สุภาพบุรุษเป็นได้ล้านแบบ อยู่ที่ว่าเป็นในแบบของ ใคร เหมือนที่ Great Men Academy สอนว่าให้คุณเป็นผู้ชาย ที่ดีขึ้นในแบบของตัวคุณเองทั้งภายในและภายนอก เจเจ : ส�าหรับผมเป็นแค่ชว่ งโปรโมชันครับ เราก็อยาก ดีขึ้นเพื่อเขานะ แม้ช่วงโปรโมชันเราจะดีเป็นพิเศษ แต่เรา ก็จะดีขึ้นกว่าเดิมแน่นอน เพราะว่าพอเรามีความรัก เราจะ อยากท� า อะไรเพื่ อ คน คนหนึ่ ง พอเราท� า อะไร ไม่ดี เขาไม่ชอบ เราจะ ปรั บ ตั ว ให้ ตั ว เองดี ขึ้ น ผ ม ว ่ า นั่ น มั น คื อ สิ่ ง ที่ ค�าเปรยพูด เจมส์ : ความรัก ต้ อ งท� า ให้ เ ราดี ขึ้ น นะ ถ้ า เราอยากให้ เ ขาชอบ เ ร า ก็ ต ้ อ ง ท� า ใ ห ้ เ ข า ประทับใจ ไม่ใช่แค่ชว่ งเดียว แต่ถ้าจะท�าให้สม�่าเสมอ คุณก็ตอ้ งท�าตัวดีไปเรือ่ ยๆ ผมรู ้ สึ ก ว่ า ถ้ า เจอคู ่ ที่ ใ ช่ จริงๆ การคบกันจะมีแต่ เสริมกัน จะดีขึ้นด้วยกัน ทั้งคู่ ทั้งเรื่องชีวิต ทั้งเรื่อง การแสดงออก และเรื่อง อะไรหลายๆ อย่าง กัปตัน : ความรัก อยู่ที่ความเข้าใจ ความลงตัวมากกว่า ถ้าคนหนึ่ง มากเกิ น อี ก คนหนึ่ ง ไม่ ช อบ สุ ด ท้ า ยก็ ต ้ อ ง แยกกัน เอาจริงๆ การทีเ่ ราทุม่ เทเพือ่ ใครคือการทีเ่ ราอยากให้ อีกคนหนึ่งเข้ามาเท่ากัน แต่บางทีถ้าเข้ามาเท่ากันช้าไป ความอยากเปลี่ยนแปลงตัวเองก็จะลดลง ไอซ์ : ส�าหรับผม ความรักคือการท�าอะไรบางอย่าง ให้เขาแล้วตัวเรามีความสุข ท�าให้เราดีขึ้น เพราะทุกๆ ครั้ง ที่เรามีความสุข เราได้รับพลังบวกมาเรื่อยๆ จากการได้ท�า อะไรสั ก อย่ า งให้ กั บ ใครคนหนึ่ ง ซึ่ ง ไม่ จ� า เป็ น ต้ อ งมาจาก การเป็นคู่รัก ความรักจากครอบครัวเป็นความรักที่จริงที่สุด มากกว่าคู่รักบางคู่เสียอีก
ใช้ ส มองหรื อ หั ว ใจ...
กัปตัน : ผมเชื่อหัวใจ เพราะผมชอบท�าในสิ่งที่ตัวเอง ชอบจริงๆ อะไรที่ไม่ชอบก็จะไม่ฝืน เจมส์ : ต้องท�าให้ลงตัวสิ สมมติเรารักเขามากๆ แต่คบกันแล้วมันไม่เวิร์กก็ไม่ดีนะ คบกันแล้วต้องลาออก จากงานมาอยู ่ ด ้ ว ยกั น ก็ ไ ม่ ไ ด้ เราต้ อ งใช้ ส มองและสติ มีความรักได้แต่ต้องมีสติ ไอซ์ : ใช่ เพราะมันคือการ follow your heart but bring your brain with you.
28 ISSUE 580 04 MAR 2019
BULLETIN BOARD
TA L K O F T H E T O W N ช าญอิ ส สระ อวดโฉม Issara Residence Rama 9 บ้ า นหรู แนวคิ ด ใหม่ ใจกลางพระราม 9
ชาญอิสสระเปิดสัมผัสประสบการณ์‘อนันตกาล แห่งความสุขใจกลางเมืองAninfiffiinitehappinessof urbanliving’ที่สุดของบ้านเดี่ยวระดับซูเปอร์ลักชัวรี IssaraResidenceRama9ในท�าเลศักยภาพชูความเหนือระดับด้วยสังคมคุณภาพทีม่ คี วามเป็นส่วนตัวสูง ด้วยจ�านวนเพียง20หลังโดยต้องการให้ประสบการณ์ กับผูอ้ ยูอ่ าศัยเป็นปัจจัยหลักในการออกแบบอีกทัง้ ยัง น�าแนวคิดหลักการของธรรมชาติทมี่ ผี ลต่อสถาปัตยกรรม ในเขตร้อนชืน้ อย่างในประเทศไทยได้แก่การป้องกัน แดดการระบายอากาศรวมทั้งการอาศัยพลังงาน ต่างๆจากสิง่ แวดล้อมภายนอกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ กับที่อยู่อาศัยทั้งในภาพลักษณ์อาคารและพื้นที่ ใช้ ส อยภายในอาคารโดยถ่ า ยทอดแนวคิ ด ผ่ า น ความเป็น‘บ้านเขตร้อนสมัยใหม่’(ModernTropical House)ทีท่ า� ให้เกิดภาวะน่าสบาย(ComfortZone)ใน การอยู่อาศัยมีความเรียบง่ายตามวิถีของคนยุคใหม่ แต่ไม่ละทิ้งหลักการของธรรมชาติและประสบการณ์ การใช้ชีวิตแบบ‘อิสระ’
บลจ. กสิ ก รไทย เติ ม บุ ญ สมทบทุน มูลนิธเิ พือ่ สนับสนุน การผ่าตัดหัวใจเด็ก
OTOP Authentic Thai Taste
S TARGIRL เปิดสาขาใหม่ ไ ด้ SBFIVE พรีเซนเตอร์ ร่วมยินดี
ควีนส์คพ ั พิงค์โปโล 2019
สุ ร เดชเกี ย รติ ธ นากรกรรมการ ผู้จัดการ บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทยจ�ากัดเป็นตัวแทนบริษทั เข้ามอบ เงินสมทบทุนจ�านวน240,000บาทให้แก่ มูลนิธิเพื่อสนับสนุนการผ่าตัดหัวใจเด็ก (Pediatric Cardiac Surgery Foundation) โดยมีนายแพทย์ก�าพูฟูเฟื่องมงคลกิจ ศัลยแพทย์โรคหัวใจโรงพยาบาลราชวิถี เป็นตัวแทนรับมอบณสถาบันโรคหัวใจ ตึกสอาดศิริพัฒน์โรงพยาบาลราชวิถี
กรมการพัฒนาชุมชนจัดงานOTOP AuthenticThaiTasteเพื่อยกระดับรวมถึง ให้การรับรองมาตรฐานอาหารทีร่ สไทยแท้ ให้กบั ผูป้ ระกอบการเป็นการสร้างอัตลักษณ์ ของอาหารถิ่นและไทยแท้อันเป็นจุดขาย ของอาหารไทยซึง่ ครัง้ แรกจัดทีเ่ มืองสุขสยาม บริเวณลานเมืองชัน้ Gไอคอนสยามส่วน ในภาคเหนือที่เซ็นทรัลเฟสติวัลเชียงใหม่ และภาคใต้ ที่ เ ซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล ภู เ ก็ ต ภายในงานนอกจากจะได้ชิมอาหารถิ่น มาตรฐานรสไทยแท้แล้วยังได้ชมการจัดส�ารับ อาหารถิน่ ทีผ่ า่ นการคัดเลือกระดับประเทศ สาธิตการปรุงเมนูอาหารถิน่ รสไทยแท้ดว้ ย
หลังจากร้าน‘STARGIRL’บิวตีส้ โตร์ สไตล์เกาหลีประสบความส�าเร็จเป็นทีพ่ ดู ถึง อย่างมากวันนี้จึงผุดสาขา2ณห้างใหม่ TheMarketBangkokอยู่ชั้น2โซนM1 ในรูปแบบการตกแต่งร้านโทนขาว-ชมพูให้ฟลี สาวหวานสไตล์เจ้าหญิงซึ่งความพิเศษ ในการเปิดสาขาใหม่ครั้งนี้ได้5หนุ่มวง SBFIVEมาเป็นพรีเซนเตอร์ และร่วมงาน เปิ ดร้ านกับ ผู ้ บ ริห ารสาวสวย‘มิ้น ท์ ’ - ประภัสสรวิรยิ ะกิจนุกลู กรรมการผูจ้ ดั การ บริษัทดร.โทบิจ�ากัดอีกด้วยรวมถึงยังมี เหล่ า เซเลบที่ ม าร่ ว มแสดงความยิ น ดี อีกมากมาย
ด ร.ฮาราลด์ลิงค์ประธานกลุม่ บริษทั บี . กริ ม ในฐานะนายกสมาคมกี ฬ าขี่ ม ้ า แห่งประเทศไทยและนันทินีแทนเนอร์ นั ก กี ฬ าขี่ ม ้ า โปโลหญิ ง คนแรกของไทย ประธานจัดการแข่งขันขีม่ า้ โปโลหญิงการกุศล รายการ‘ควีนส์คพั พิงค์โปโล2019’ชิงถ้วย พระราชทานสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินนี าถในรัชกาลที่ 9เป็นปีที่ 11 ร่วมกับบีเอ็มดับเบิลยู(ประเทศไทย)และ ยูเอสโปโลเพื่อหารายได้มอบให้โครงการ มะเร็ ง เต้ า นมมู ล นิ ธิศู น ย์ ม ะเร็ ง เต้ า นม เฉลิมพระเกียรติณสนามไทยโปโลแอนด์ อีเควสเทรียนคลับพัทยา
29 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
อั พ เ ด ต แ ว ด ว ง ข่า วสังคมทีน ่ า่ สนใจ ในรอบสัปดาห์
โรงแรมเรเนซองส์ พัทยา รีสอร์ท แอนด์ สปา จั ด งาน ‘Your Day Y our Way’ REN Wedding Showcase 2019 ผ่านไปแล้วกับงานRENWeddingShowcase -YourDayYourDayที่ จั ด ไปอย่ า งยิ่ ง ใหญ่ ด ้ ว ย ความร่วมมือระหว่างโรงแรมเรเนซองส์พัทยารีสอร์ท แอนด์สปาและเวดดิง้ แพลนเนอร์นับว่าเป็นครัง้ แรก ของโรงแรมฯทีจ่ า� ลองสถานทีจ่ ดั งานแต่งงานรูปแบบ ต่างๆทั้งภายในและภายนอกห้องแกรนด์บอลรูม ด้วยฝีมอื จากทีมงานมืออาชีพมาเนรมิตงานแต่งงานในฝัน ริมทะเลในแบบไม่เหมือนใครภายในงานมีสทิ ธิพเิ ศษ มากมายแก่คู่รักทุกคนทั้งจากทางโรงแรมและเหล่า พาร์ตเนอร์ต่างๆที่ขนกันมาแบบไม่มีอั้นพร้อมเสิร์ฟ อาหารและเครื่องดื่มและการแสดงดนตรีสดตลอด ทั้งวัน ปิดท้ายงานด้วยการเดินแฟชั่นโชว์ชุดเจ้าสาว จากห้องเสือ้ ชือ่ ดังโดยมีแขกผูม้ เี กียรติและสือ่ มวลชน ร่วมงานกับอย่างคับคั่ง
‘แมว’ ลุ้ น ‘แจ๊ ค ’ พิ ชิ ต ดอกฟ้ า ใน MV ‘เดื อ นหก อกหัก’ ค่ายโมโนมิวสิค
หนังสือ #ถ�า้ หลวง ร่วมบริจาค เพื่อคนตาบอด
‘LH Bank’ ผนึกพันธมิตร C TBC Bank รุ ก ธุ ร กิ จ Trade Finance
YOO แบรนด์ดไี ซน์ทอ ี่ ยูอ ่ าศัย และโรงแรมใหญ่ทส ี่ ด ุ ในโลก เปิดส�านักงานในกรุงเทพฯ
ร็ อกเกอร์รุ่นใหญ่ ‘แมว’-จิรศักดิ์ ปานพุ ่ ม กลั บ มาอี ก ครั้ ง ในฐานะศิ ล ปิ น ภายใต้พชี ส์มิวสิคโปรเจ็กต์ค่ายโมโนมิวสิค ในเครื อ โมโนกรุ ๊ ป กั บ ซิ ง เกิ ล เปิ ด ตั ว ‘เดือนหกอกหัก’สไตล์โจ๊ะๆจี๊ดๆโดยได้ แจ็คแฟนฉันหรือเฉลิมพลทิฆมั พรธีรวงศ์ มาเป็นพระเอกของเรื่องในบทพนักงาน ออฟฟิศที่แอบหมายปองดอกฟ้าซึ่งเป็น ผู้บริหารสาวสวยสุดเซ็กซี่รับบทโดย‘มุก’ -พิชานาอยู่สุขเน็ตไอดอลชื่อดังส่วนบท สรุปนั้นจะเป็นอย่างไรต้องไปติดตามดูกัน
กัญญภัทรสุขสมานผูช้ ว่ ยผูอ้ า� นวยการกลุ่มธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์และอินเทอร์เน็ต บริษัทโมโนเทคโนโลยี จ�ากัด(มหาชน) พร้อมด้วยจีระวุฒิ เขียวมณีบรรณาธิการ ส�านักพิมพ์GeekBookในเครือโมโนกรุ๊ป ร่ ว มมอบเงิ น จ� า นวน100,000บาท หลั งหักค่าใช้จา่ ยจากการจ�าหน่ายหนังสือ #ถ�า้ หลวงตามติดภารกิจช่วยชีวติ ทีมหมูปา่ ให้กับมูลนิธิคนตาบอดไทย โดย กิติพงศ์ สุทธิผูอ้ า� นวยการห้องสมุดคนตาบอดและ ผู้พิการทางสื่อสิ่งพิมพ์แห่งชาติ และคณะ ร่วมรับมอบณสตูดโิ อ2ชัน้ 5อาคารจัสมิน อินเตอร์เนชัน่ แนลทาวเวอร์ถนนแจ้งวัฒนะ
L HBankน� า โดยศศิ ธ รพงศธร (ฉัตรศิริวิชัยกุล)ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการบริษัทแอลเอช ไฟแนนซ์เชียลกรุป๊ จ�ากัด(มหาชน)(LHFG) พร้ อ มด้ ว ยที ม ผู ้ บ ริ ห ารกลุ ่ ม การเงิ น แลนด์แอนด์เฮ้าส์เผยกลยุทธ์ปี62พร้อม ผนึกพันธมิตรCTBCBankเสริมแกร่งรุกขยาย ฐานลูกค้าTradeFinanceยกระดับบริการ WealthManagementตัง้ เป้าสินเชือ่ โต6-8% และLHFundยกระดับการเป็นผู้บริหาร กองทุ น มื อ อาชี พ เพื่ อ เพิ่ ม ขนาดกองทุ น ที่บริหารจัดการให้เติบโต20%ส�าหรับLH Securitiesยกระดับการให้บริการที่ดีและ เพิม่ ช่องทางการให้บริการทีส่ ะดวกรวดเร็ว สอดคล้องกับไลฟ์สไตล์ชีวิตที่เร่งรีบเพื่อ สร้างประสบการณ์การลงทุนทีด่ ใี ห้กบั ลูกค้า
YOO(ยู)บริษทั ออกแบบทีอ่ ยูอ่ าศัย และโรงแรมสัญ ชาติอังกฤษที่มีชื่อ เสียง โด่งดังและใหญ่ทสี่ ดุ ในโลกทีส่ ร้างโครงการ KhunbyYOO(แสนสิริ)อัล ตราลักชัว รี คอนโดมิเนียมใจกลางกรุงเทพฯได้ประกาศ ให้กรุงเทพฯเป็นทีต่ งั้ ส�าหรับส�านักงานใหญ่ ประจ�าภูมภิ าคฯพร้อมเปิดรับทีมผูบ้ ริหารดีไซเนอร์คนไทยและเอเชียเพือ่ ร่วมรุกธุรกิจ การออกแบบที่พักอาศัยและธุรกิจโรงแรม ภายใต้แบรนด์YOOWorldwide(ยูเวิลด์ไวด์) โดยเจมส์สเนลการ์หุ้นส่วนและหัวหน้า ฝ่ายพัฒนาธุรกิจเปิดเผยว่า“เราจะผลักดัน บุคลากรทีม่ คี วามคิดสร้างสรรค์ในกรุงเทพฯ เพื่อสร้างทีมนักออกแบบไทยและเอเชีย หน้าใหม่ให้มีผลงานสู่ระดับโลก”ติดตาม รายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ www.yoo.com
30 เรื่อง
S PA C E & T I M E
น�้าปาย ไชยฤทธิ์ บรรณาธิการศิลป วัฒนธรรม นิตยสาร a day
เบญจวรรณ มังกรอัศวกุล บรรณาธิการไลฟ์สไตล์ นิตยสาร a day
พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai
ภาพ
ธนดิษ ศรียานงค์ ช่างภาพ thanadis@gmail.com
ISSUE 580 04 MAR 2019
“หลายคนถามผม เหมือนกันว่า สิงคโปร์ดไี ซน์ คืออะไร ผมก็บอก ไม่ได้ แต่อยากให้ ลองสัมผัสและ เอนจอยกับมันดู เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกคนก็อาจ ตีความสิงคโปร์ ออกมาในแบบ ของเขาเอง” Edwin Low
A PIECE OF SINGAPORE HERITAGE ร้านค้าทีบ ่ อกเล่าเรือ ่ งราวของประเทศ สิงคโปร์ผา่ นของชิน ้ เล็กชิน ้ น้อย
เราขอเถียงขาดใจเลย ถ้าใครบอกว่าเทีย ่ วสิงคโปร์ 3 วันก็ทวั่ แล้ว เพราะนอกจากแลนด์มาร์กชือ ่ ดังของประเทศ ห้างหรู และตึกมารินาเบย์แล้ว สิงคโปร์ยง ั มีแกลเลอรีศล ิ ปะและร้านค้าเล็กๆ น่ารักกรุบกริบซ่อนตัวอยูม ่ ากมายตามตรอกซอกซอย ซึง ่ หนึง ่ ในนัน ้ คือ Supermama ร้านขายของ ดีไซน์เก๋ของคู่รักชาวสิงคโปร์ Edwin Low และ Mei Ling ที่มีสินค้าชูโรงเป็นจานชามเซรามิกลวดลายสวย ออกแบบโดยช่างเซรามิกมากฝีมือ จากหลากหลายประเทศ “เราเริม่ ต้นร้านนีเ้ มือ่ ประมาณ 8 ปีทแี่ ล้ว ตอนนัน้ ผมกับภรรยาเพิง่ มีลกู คนทีส่ อง ท�าให้เรา ตัดสินใจลาออกจากงานประจ�าเพือ่ ใช้เวลากับครอบครัวอย่างเต็มที่ 1 ปี ในขณะเดียวกัน ผมก็ขอ เติมเต็มความฝันของตัวเองด้วยการเปิดร้านเล็กๆ ขายของดีไซน์ที่ตัวเองชอบ ซึ่งตอนนั้นสิงคโปร์ ยังไม่คอ่ ยมีรา้ นแนวนีเ้ ท่าไหร่ แล้วผมก็ไม่เคยมีประสบการณ์ดา้ นธุรกิจมาก่อน จึงไปเริม่ ท�าความรูจ้ กั เมกเกอร์และดีไซเนอร์หลายๆ คน เพือ่ ดูวา่ เขาท�าอะไรบ้าง และน�ามาสร้างงานใหม่ๆ รวมทัง้ หา วิธกี ารสือ่ สารทีแ่ ตกต่างไปจากเดิม” Edwin Low เล่าให้เราฟังด้วยรอยยิม้ แม้เรือ่ งราวของเขาจะฟังดูราบรืน่ เป็นความฝันอันสวยงาม ของหนุม่ สาวทีอ่ ยากลาออกจากงานมาท�าธุรกิจเป็นของตัวเอง แต่จริงๆ แล้วทัง้ เอ็ดวินและภรรยา ต้องเจอกับอุปสรรคมากมาย พวกเขาตัดสินใจขายอพาร์ตเมนต์ 4 ห้องนอน และย้ายไปอยูแ่ ฟลต 3 ห้องนอน เพือ่ น�าเงินทุนมาเปิดร้าน ซึง่ ในขณะนัน้ ‘โทบี’้ ลูกชายคนเล็กมีอายุเพียง 3 เดือนเท่านัน้ แต่ภรรยาของเขาก็คอยสนับสนุนธุรกิจของเขา และท�าหน้าทีแ่ ม่อย่างไม่ขาดตกบกพร่อง เอ็ดวินจึง
ตัง้ ชือ่ ร้านว่า ‘Supermama’ เพือ่ เป็นเครือ่ งเตือนใจให้เขากับลูกๆ ได้นกึ ถึงการเสียสละและความรัก ทีย่ งิ่ ใหญ่ของคุณแม่ Mei Ling “เพราะผมไม่มปี ระสบการณ์การท�าธุรกิจเลย ผมเป็นดีไซเนอร์ ก็คดิ ว่าถ้าหนึง่ ปีผา่ นไปแล้วเรา อยูไ่ ม่ได้ เราน่าจะปิดร้านนะ แต่หลังจากหนึง่ ปีผา่ นไป เพือ่ นของผมบอกว่า ท�าเงินไม่ได้จากร้านก็จริง แต่ผมไม่ได้เสียเงินไปนะ ในธุรกิจร้านค้า ถ้าคุณไม่เสียเงินไปในปีแรกจริงๆ นัน่ ก็ดมี ากแล้ว เขาเลย บอกให้ผมท�าต่อ เราก็เลยท�าร้านต่อเป็นปีทสี่ อง ซึง่ มันกลายเป็นจุดเปลีย่ นไปเลย เพราะ Singapore Art Museum (SAM) ติดต่อเรามา และให้พนื้ ทีร่ า้ นเราในนัน้ ” หลังจากใช้พนื้ ทีข่ องพิพธิ ภัณฑ์อยูร่ าว 3-4 ปี ในทีส่ ดุ เอ็ดวินและภรรยาก็ได้ยา้ ยร้านมาอยูท่ ี่ ท�าเลปัจจุบนั ด้วยความพยายามแรงกล้าทีจ่ ะบอกเล่าเรือ่ งราวของสิงคโปร์ และจิตใจทีม่ งุ่ มัน่ อยาก ให้คนได้เห็นคุณค่าของงานคราฟต์ ท�าให้ทา� ให้มผี คู้ นสนใจสินค้าในร้านเขาเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ โดยขณะนี้ Supermama มีผลิตภัณฑ์หลากหลาย ทัง้ ของแต่งบ้านเก๋ๆ สไตล์รว่ มสมัย กระเป๋า แจกัน และถ้วย
31 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
ชามเซรามิกลายสวยที่พวกเขาออกแบบและ ผลิ ต ขึ้ น เอง สะท้ อ นถึ ง ความใส่ ใ จของทั้ ง เจ้าของร้านและผู้ผลิต “สิงคโปร์เป็นสังคมทีม่ คี วามหลากหลาย ทางวัฒนธรรมมาก คุณจะเห็นได้จากอาหาร ของเรา หรือแม้กระทั่งภาษาที่เราพูด ดังนั้น สินค้าของเราหลายชิ้นจึงมาจากต่างประเทศ เช่น มาเลเซีย จีน อินโดนีเซีย ญีป่ นุ่ แต่ผมเชือ่ ว่า เมือ่ เราเริม่ เติบโตขึน้ เราจะเริม่ มีอตั ลักษณ์เป็น ของตัวเอง ท�าให้ผมอยากสื่อสารอัตลักษณ์นี้ ผ่านสิง่ ของชิน้ เล็กๆ หรือดีไซน์รปู แบบใหม่ๆ ที่ เราผลิต นี่คือสิ่งที่ผมชอบท�ามากๆ เพราะได้ สร้างวิธสี อื่ สารเรือ่ งสิงคโปร์แบบใหม่ๆ” ในช่วงแรก เอ็ดวินสังเกตว่าร้านเขาไม่มี สินค้าทีด่ เู ป็นสิงคโปร์เลย เขาจึงเริม่ หาสิงคโปร์ ดีไซน์ในแบบฉบับของเขา “ผมบังเอิญรูจ้ กั กับ เมกเกอร์ชาวญีป่ นุ่ พวกเขามอบงานดีไซน์บางชิน้ ให้ผมเอามาขายต่อ ผมถึงสังเกตว่าสีขาวฟ้า ในงานเซรามิกญีป่ นุ่ มันดูคล้ายกับสิง่ ทีเ่ ราเห็น ในสิงคโปร์ เหมือนๆ กับถ้วยชามกระเบือ้ งจาก ยุคราชวงศ์หมิง ตอนนั้นผมจึงเริ่มคิดท�าอะไร บางอย่างทีผ่ สมผสานความดัง้ เดิมและโมเดิรน์ เข้าด้วยกัน ในคอลเลกชันแรกเราจึงออกแบบ HDB Plate เป็นงานกราฟิกบนจานเซรามิกที่
SUPERMAMA
265 Beach Rd., Singapore เปิดท�าการ : ทุกวัน 11.00-20.00 น.
แสดงให้เห็นถึงตึกรามบ้านช่องของชาวสิงคโปร์ ซึง่ ต่อมาท�าให้เราชนะรางวัล President’s Design Award ในปี 2013” หลังจากนัน้ พวกเขาก็ออกแบบจานเซรามิก ลวดลายอืน่ ๆ อีกมากมาย ซึง่ สะท้อนให้เห็นวิถชี วี ติ ของชาวสิงคโปร์และศิลปะแบบเอเชียได้เป็น อย่างดี นอกจากนีย้ งั เคยร่วมมือกับวอลต์ดสิ นีย์ เพือ่ ออกแบบจานเซรามิกลายสตาร์วอร์สด้วย ทุกวันนีเ้ อ็ดวินเดินทางไปประเทศญีป่ นุ่ อย่างสม�า่ เสมอ เพือ่ หาแรงบันดาลใจและความเป็นไปได้ในการท�าโปรดักต์ใหม่ๆ “ตอนนีเ้ รามี โชว์รมู ทีโ่ ตเกียวด้วย เพราะผมอยากให้คนญีป่ นุ่ ได้เห็นงานดีไซน์ของสิงคโปร์บ้าง” เขาพูดถึง ความส�าเร็จอีกขัน้ ให้เราฟัง “เราเริม่ ต้นเล็กๆ แต่เราก�าลังพยายาม ดูอยูว่ า่ มันจะเติบโตไปยังไง บางครัง้ ทีผ่ มได้งาน ดีไซน์มาแล้วคิดว่าอาจจะขายไม่ออก แต่ผม ก็เลือกทีจ่ ะน�ามันมาวางขายอยูด่ ี เพราะถ้าเรา ไม่ท�า แล้วใครจะเป็นคนเล่าเรื่องราวเหล่านี้ ผมจะยังดื้อผลิตของที่ขายยากๆ อย่างน้อย เรือ่ งราวก็มผี นื ผ้าใบ และจากนัน้ มันก็เริม่ เติบโต แน่นอนว่าบางช่วงเราก็ขายดี บางทีเราก็ไม่ แต่ผมคิดว่ามันส�าคัญกว่าทีจ่ ะบอกเล่าเรือ่ งราว ให้คนอืน่ ได้ร”ู้
32 เรื่อง
B R E AT H E I N
สีตลา ชาญวิเศษ นักเขียน คนท�างานด้านวางแผนคอนเทนต์ นักบรรยายด้าน การตลาดสร้างสรรค์และการเล่าเรื่อง seetala.ch@gmail.com
issue 580 04 mar 2019
ครัง้ ก่อนเราเล่าถึงการท�าการตลาดและสร้างแบรนด์สอ ื่ คอนเทนต์ทเี่ ป็นภาพใหญ่กน ั มาแล้ว ครัง้ นีม ้ าถึงเรือ ่ งสุดท้าย คือในระดับของการท�าคอนเทนต์ สักชิ้นหนึ่งออกมา ควรมีหลักการตลาดอะไรบ้าง
ส�าหรับการเล่าเรือ่ ง (Storytelling) จริงๆ ก็มหี ลายหลักการ ถ้าเป็นสายวรรณกรรม ก็อาจจะพูดในแง่ศิลปะของการค่อยๆ ปั้นเรื่องราวจากศูนย์จนเกิดเป็นเหตุการณ์ต่างๆ เพื่อให้คนอ่าน ติดตามเรื่องต่อ มาจนถึงไคลแม็กซ์ (Climax) การคลี่คลายปม และหาวิธีจบเรื่องให้ตรึงใจ แต่พอเป็นการเล่าเรื่องที่ใช้หลักการตลาด หน้าที่ของ คอนเทนต์จะไม่ใช่แค่ทา� ให้คนอ่านอยากติดตามเรือ่ งราวเท่านัน้ แต่เป็นการออกแบบการเล่า การเขียน หรือท�าคอนเทนต์เพื่อ บรรลุวัตถุประสงค์อะไรบ้างอย่างที่ตั้งไว้ เช่น ตั้งวัตถุประสงค์ ของบทความเพื่อให้คนรู้จักองค์กร A มากขึ้น หน้าที่ของนักการตลาดคอนเทนต์ นอกจากจะต้องหาวิธเี ล่าเรือ่ งให้สนุก ก็ยงั ต้องหาวิธีดึงดูดให้คนมากดอ่าน และให้คนจ�าองค์กร A ได้ หรือถ้าตัง้ วัตถุประสงค์ของวิดโี อเพือ่ ให้คนไปซือ้ สินค้า B หน้าที่ ของนักการตลาดคอนเทนต์ก็ต้องเล่าเรื่องให้น่าติดตาม และ สิง่ ส�าคัญคือ ต้องไม่ลมื หาวิธวี า่ จะเล่าอย่างไรให้คนอยากไปซือ้ สินค้า B พูดอีกอย่าง นักเขียนวรรณกรรมคงไม่จ�าเป็นต้องมา ซีเรียสว่าคนจะอ่านจะท้อแท้ในการอ่านอะไรยาวๆ หรือไม่ เพราะคุณค่าของวรรณกรรมไม่ใช่การเอาใจคนอ่าน แต่ส�าหรับ การตลาดคอนเทนต์ ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าการตลาด ฉะนั้น มุมลูกค้าจะต้องมาก่อน คือคิดอยูบ่ นหลักเดียวกันกับการตลาด ทั่วไปเลย คือ 1. ตั้ ง เป้ า หมายการท� า คอนเทนต์ ขึ้ น มาก่ อ น เช่ น อยากให้คนรู้จัก? อยากคนให้ชอบ? อยากให้คนไปซื้อ? เป็นต้น 2. หาให้ได้ว่ากลุ่มเป้าหมายของเราคือใคร 3. หาให้ ไ ด้ ว ่ า กลุ ่ ม เป้ า หมายมองหาอะไรอยู ่ เช่ น มองหาความตลก มองหาวิธีแก้ปัญหาชีวิตตัวเอง มองหา เรื่องราวของถิ่นบ้านเกิดตัวเอง เป็นต้น 4. ค่อยมาออกแบบและท�าคอนเทนต์ (สินค้า) ให้ตอบโจทย์ กลุ่มเป้าหมาย เช่น กลุ่มเป้าหมายมองหาอะไรตลกๆ ก็ท�า คอนเทนต์ให้ตลกเพือ่ ดึงดูดให้คนยอมอ่านยอมดู หรือรวมไปถึง การตอบโจทย์ในแง่ของภาษาที่ใช้ เช่น กลุ่มเป้าหมายเป็น คนอีสาน ก็เล่าด้วยภาษาอีสานเพือ่ ท�าให้คนใกล้ชดิ กับคอนเทนต์ มากขึ้น หรือตอบโจทย์ในแง่ความขี้เกียจ เช่น กลุ่มเป้าหมาย ภาพ : Getty Images
ไม่ชอบอ่านอะไรยาวๆ ก็หาวิธเี ล่าให้กระชับ โดยทัง้ หมดทีท่ �าไป คือมีปลายทางเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายยอมเสพคอนเทนต์นั้น เพื่อรู้จัก หรือชอบ หรือไปซื้อของสิ่งนั้นนั่นเอง กล่าวคือ โดยมากคนท�าคอนเทนต์มักคิดจาก What (เล่าอะไร) ก่อน เช่น ฉันอยากจะเล่าเรือ่ งนี้ ฉันก็จะเล่าเรือ่ งนีเ้ ลย แต่การคิดแบบนักการตลาดคอนเทนต์จะเริม่ จาก Who (ใคร) ก่อน จากนั้นค่อยมาหาว่า Why (ท�าไมเขาถึงอยากอ่าน) แล้วค่อยมา How (จะเล่ากับคนนั้นอย่างไร เช่น เล่าแบบตลก เล่าแบบซึ้ง)
เล่าเรื่อง Content Marketing (ตอนจบ)
วิ ธี เ ล่ า เรื่ อ งอย่ า ง นั ก การตลาดคอนเทนต์
ถึงค่อยมาเป็น What (เล่าอะไร) แล้ว Where (เล่าที่ไหน) และ When (เล่าเมื่อไหร่) ถ้ายังไม่เห็นภาพ ขอเล่าแบบนีล้ ะกัน อาทิตย์ก่อนเราขึน้ ไปเชียงรายและได้คยุ กับทีมงานทีท่ า� เรือ่ งชนเผ่าอาข่า เป้าหมาย ของทีมงานคือต้องการบอกเล่าเรือ่ งราวของชนเผ่าให้เป็นทีร่ จู้ กั ในวงกว้าง โดยเฉพาะกับคนเมือง ทีนี้บังเอิญว่าพี่คนหนึ่ง เล่าเรื่องพิธีแต่งงานของชนเผ่าอาข่าให้เราฟัง และเราก็ติดใจ รายละเอียดเรือ่ งหนึง่ มาก นัน่ คือ ในพิธแี ต่งงาน บ่าวสาวชาวอาข่า
จะต้องถูกคนในหมู่บ้านรุมกันปามูลสัตว์ใส่ เหตุผลเพราะเป็น กุศโลบายให้บ่าวสาวเรียนรู้เรื่องความอดทนของการใช้ชีวิตคู่ ตอนเราได้ยนิ เรือ่ งนี้ เราบอกพีท่ มี งานเลยว่า ไอ้รายละเอียด ปาขีน้ แี่ หละทีม่ พี ลังมาก เพราะมันสร้างเซอร์ไพรส์ให้คน กล่าวคือ คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีใครอยากรู้เรื่องงานแต่งงานของชนเผ่า เท่าไหร่หรอก ฉะนัน้ ถ้าเล่าเรือ่ งงานแต่งงานเลยทันทีจะไม่มใี คร สนใจอยากรู้ ขณะทีพ่ อเป็นเรือ่ งปาขี้ มันเป็นเรือ่ งทีค่ นส่วนใหญ่ ต้ อ งแปลกใจแน่ น อน ดั ง นั้ น ถ้ า เริ่ ม ต้ น เรื่ อ งหรื อ จั่ ว หั ว ว่ า ‘งานแต่งงานทีบ่ า่ วสาวถูกปาขี’้ แบบนีจ้ ะเรียกให้คนมาติดตาม ได้มากกว่า แล้วจากนัน้ ค่อยเล่าเรือ่ งงานแต่งงานของชาวอาข่า สุดท้ายคนอ่านก็ได้อ่านเรื่องชนเผ่าอย่างที่ตั้งใจไว้อยู่ดี พูดง่ายๆ เป้าหมายคือต้องการเล่าเรื่องงานแต่งงาน อาข่าให้คนเมืองรู้จัก แต่แทนที่จะเล่าเรื่องแต่งงานเลย ก็มาคิด ก่อนว่าคนเมืองน่าจะอยากรูอ้ ะไร แล้วพอเหมาะว่างานแต่งงาน ของอาข่ามีเรื่องปาขี้ใส่บ่าวสาว ซึ่งเป็นเกร็ดที่คนเมืองน่าจะ สนใจ เพราะมันแปลก ดังนั้น ก็ใช้ความแปลกตรงนี้เป็นจุด เรียกร้องความสนใจเพือ่ ดึงให้คนเมืองยอมอ่านต่อและได้รบั สาร เรื่องงานแต่งของอาข่านั่นเอง ฉะนัน้ ถ้าให้สรุปว่าการเล่าเรือ่ งทีใ่ ช้หลักการตลาดคอนเทนต์ คืออะไร มันก็คือการท�าคอนเทนต์ที่มอบคุณค่าอะไรบางอย่าง ให้คนอ่านนั่นเอง โดยคิดจากมุมคนอ่าน (Audience) ก่อนว่า เขาอยากรู้อะไร เขาเห็นคอนเทนต์จากที่ไหนกันบ้าง เขาชอบ การเล่า ด้ว ยน�้าเสียงแบบไหน เขากดอ่า นต่อจากรูปสวยๆ หรือเปล่า จากนั้นถึงค่อยท�าคอนเทนต์ออกมา และแน่นอนว่า เมื่อเอาใจกันมากขนาดนี้แล้ว คนก็น่าจะยอมอ่านยอมดูต่อ ซึ่งนั่นคือการท�าให้คอนเทนต์ปังนั่นเอง ส�าหรับใครทีส่ นใจเรือ่ ง Content Marketing กับ Storytelling ก็มีหนังสือ 2 เล่มที่อยากแนะน�า เล่มแรกเป็นเล่มทีเ่ ราคิดว่า เก็บหลักการและรายละเอียด ของ Content Marketing ได้ครบถ้วนดี แถมยังอ่านง่ายมากด้วย คือหนังสือภาษาไทยออกใหม่ชื่อ INBOUND Marketing ของทีม Content Shifu ส่วนอีกเล่มเกีย่ วกับ Storytelling เป็นหนังสือภาษาอังกฤษ ชื่อ Storyshowing : How to stand out from the storytellers เขียนโดย Sam Cawthorn
33 พชร สูงเด่น นักศึกษาทุน Erasmus Mundus ด้านการศึกษาเพื่อการ พัฒนา เรียนรู้นอกห้องเรียนด้วยการเดินทางไปยังเมือง ต่างๆ ในยุโรป
adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin
เรื่อง
เมือ ่ การเดินทางคือการแสวงหา เมือ ่ การท่องไปไกลเพือ ่ ใกล้(ภู)เขา คือการกลับมาใกล้ใจเราเอง ‘Sacred Mountain Festival’1 เทศกาลภูเขา ศักดิ์สิทธิ์ การรวมตัวกันของจิตวิญญาณผู้คน ชุมชน และธรรมชาติ เขาทั้งหลายที่เดินทางมาบนหุบเขาใต้ดอยหลวงเชียงดาว เพื่อพบกับเขา อีกหลายๆ คนที่ต่างอยู่บนเส้นทางแสวงหาคุณค่า ความหมายของการมีชีวิต
เทศกาลทีจ่ ดั ขึน้ เป็นครัง้ แรก หากกิจกรรมในงานไม่ใหม่ ตาม หลายกิจกรรมเป็นการกลับไปสูพ่ ธิ กี รรมโบราณของวัฒนธรรม ต่างๆ ทีต่ า่ งกันไปในแต่ละรูปแบบ แต่ลว้ นช่วยน�าพาเราและเขา ทั้งหลายกลับมาเชื่อมโยงกายภายนอกกับใจภายในให้เป็น หนึ่งเดียว เช่น เขาวงกต (labyrinth) ทีป่ รากฏในหลายวัฒนธรรม ในการเป็นสัญลักษณ์ของการเปลี่ยนผ่าน ด้วยการเดินอย่าง ใคร่ ค รวญเข้ า ไปในวงที่ ถู ก จั ด เรี ย งด้ ว ยหิ น ก้ อ นเล็ ก ใหญ่ , อธิษฐานถึงสิ่งที่ตั้งใจ หรืออยากปล่อยวาง, แล้วก้าวออกมา หรือจะเป็นกิจกรรมเขียนกวีไฮกุ (Haiku) ที่เป้าหมายไม่ใช่ การเขียนงานชิน้ เอก หากคือการฝึกการรับรูช้ วั่ ขณะปัจจุบนั แล้ว สือ่ สารออกมาอย่างเรียบง่าย ฉับพลัน ไร้การตัดสินใดๆ ให้พนื้ ที่ กับทุกเสียงทีด่ งั ขึน้ ในใจผ่านกระดาษว่างเปล่าและปลายปากกา ‘Earth-based psychology’2 จิตวิทยาแขนงหนึง่ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ โดย อาร์โนลด์ มินเดล ผ่านการประยุกต์จติ วิทยาสาย คาร์ล จุง และฟิสิกส์ประยุกต์ที่ใช้พลังงานจากภายภาพของโลก (earth landscape) ในการเยียวยาสภาวะจิตใจ และเป็นตัวน�าพาผูค้ นไปสู่ การตระหนักรู้ภายใน ด้วยแนวคิดพื้นฐานว่าทุกๆ สรรพสิ่งล้วน มาจากแหล่งพลังงานเดียวกัน และเราต่างมีพลังงานของโลก อยู่ในตัว การทีเ่ รารูส้ กึ ผ่อนคลาย เวลาได้มาอยูท่ า่ มกลางธรรมชาติ ไม่ใช่เป็นเพียงเพราะว่าสภาพแวดล้อมเช่นนัน้ แตกต่างจากตึกสูง พืน้ คอนกรีตทีเ่ ราใช้ชวี ติ อยูใ่ นทุกวัน จนท�าให้เราโรแมนติกไซซ์ (romanticize) พอใจกับมันยามได้เห็น หากเป็นเพราะเราสูญเสีย พลังงานบางอย่างทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของเราไป และการกลับมาอยูใ่ น สภาพแวดล้อมธรรมชาติเช่นนัน้ จึงเป็นการดึงพลังงานทีส่ ญ ู เสีย ไปนัน้ กลับคืนมา การเดินทางหลายร้อยกิโลเมตรมานัง่ ข้าง(ภู)เขา และริม สายน�้า จึงไม่ใช่เป็นเพียงการเดินทางพักผ่อน หลีกหนีจาก ความจริง แต่หากคือการเดินทางย้อนกลับสูส่ ภาวะในใจตัวเอง ทีจ่ ริงแท้ทสี่ ดุ การเดินริมสายน�้าจนเห็นความเชื่อมต่อของตาน�า้ เล็กๆ บนยอดเขา ที่ไหลรวมกับธารน�้าเล็กๆ ที่ไหลลงมาจากจุดอื่น มารวมกันกลายเป็นแหล่งน�้าที่เราพึ่งพาอาศัยอยู่ทุกวัน การได้ รู้ว่าสายน�้ามาจากไหน ไม่ใช่เพียงความรู้ดาษดื่นทั่วไป หากคือ ภาพ : Getty Images
การรับรู้ว่าตัวเรานั้นมาจากไหน เท้ า ที่ ยื น แช่ รู ้ สึ ก ถึ ง น�้ า เย็ น ที่ ไ หลผ่ า นกาย ระยะห่ า ง ระหว่ า งตั ว เราและสายน�้า จากยอดดอยที่ ช ่ า งดู ไ กลออกไป เมื่อแรกพบ หายไปสนิทเป็นสิ่งเดียวกัน เมื่อรับรู้ถึงน�้านอกกาย ที่ ไ หลวนอยู ่ ใ นกายเป็ น ส่ ว นประกอบของชี วิ ต เราทั้ ง หลาย สายน�้าที่เหมือนมีแรงดึงดูดให้เรา และเขาทั้งหลายมักเดิน ย่างกรายมาพักพิงริมสายน�า้ - แรงดึงดูดของสภาวะทีเ่ หมือนกัน ที่ท�าให้ ‘รับรู้’ ไม่ใช่แค่ ‘รู้’ ว่าสายน�้ากับเรานั้นคือสิ่งเดียวกัน หากในวันทีไ่ ม่สามารถมานัง่ ฟังเสียงสายน�้าไหล รูส้ กึ ถึง
เทศกาลภู เ ขาศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ Sacred Mountain Festival
ความสัมพันธ์โยงใยของเขา เรา และธรรมชาติได้ มินเดลได้ แนะน�าวิธฟี น้ื ฟูตวั เองรูปแบบ ‘Earth-based psychology’ ในการรับ พลั ง งานธรรมชาติ ง ่ า ยๆ ท่ า มกลางความวุ ่ น วายของชี วิ ต ด้วยการหายใจเข้าลึกๆ หายใจออกยาวๆ แล้วถามตนเองว่า “สถานที่ ไ หนบนโลกนี้ ที่ ฉั น อยากไปอยู ่ ม ากที่ สุ ด ในตอนนี้?” ความส�าคัญไม่ได้อยูท่ คี่ า� ตอบ จะเป็นภูเขา ทะเล ป่า หรือ แม่นา�้ หากจิตวิทยาแขนงนีช้ วนให้เพ่งลึกลงไปถึงความรูส้ กึ ในใจ
ว่าอะไรเกีย่ วกับสถานทีน่ นั้ ทีใ่ ห้เราโหยหาในชัว่ ขณะนัน้ มันคือความหนักแน่นของภูเขา ในวันทีเ่ รารูส้ กึ สัน่ คลอน, มันคือความรื่นรมย์ เคลื่อนไหวไม่หยุดนิ่งของคลื่นริมชายหาด ทีท่ า� ให้เราโหยหาในวันไร้ชวี ติ ชีวา หรือมันคือความไหลวนเอือ่ ย ที่ ห ล่ อ เลี้ ย งชี วิ ต ต่ า งๆ อย่ า งเกื้ อ กู ล กั น ที่ ท�า ให้ เ รารั บ รู ้ ถึ ง ความจริ ง ขั้ น พื้ น ฐานของชี วิต ว่ า สรรพสิ่ ง ล้ ว นเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ส่วนเดียวกัน ในวันที่เราไม่รู้สึกถึงความสัมพันธ์ เชื่อมต่อกับ สิ่งใด การเดินทางไกลหลายร้อยกิโลเมตรของเขาทั้งหลาย เพื่อแสวงหาคุณค่า ความหมายของชีวิต บนภูเขาศักดิ์สิทธิ์ สุดท้ายจึงไม่ได้ไปไหนไกลนอกจากกลับสู่ใจตนเอง ทีท่ �าให้รบั รู้ ได้ว่า ความหมายของชีวิตไม่ใช่การค้นหา หากคือการรับรู้ถึง สิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และการอยู่ร่วมกันของต้นไม้ ป่า เขา และเรา ในสถานที่ที่ท�าให้เกิดสภาวะการเกื้อกูล ไม่เบียดเบียน ด้วยความรับรูว้ า่ เราต่างเป็นส่วนหนึง่ ของกันและกันนัน้ เป็นชีวติ ที่ศักดิ์สิทธิ์และมีค่าต่อชีวิตอื่นเพียงใด
หมายเหตุ : 1ติดตามงานปีต่อไปได้ที่ Facebook page: Sacred Mountain Festival 2 หนังสือ Earth-Based Psychology: Path Awareness from the Teachings of Don Juan, Richard Feynman, and Lao Tse เขียนโดย Arnold Mindell (2007)
34
EDITOR,S NOTE
เรื่อง
วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness
ภาพ
อุษา นพประเสริฐ ศิลปกรรม IG : aadayy
คนหนุ่มสาว
หมายเหตุ : อ่านข้อมูลเพิ่มเติมจาก https://www.theguardian.com/commentisfree/2015/nov/03/do-we-become-more-conservative-with-age-young-old-politics
คนหนุ่มสาวที่ไม่เป็นลิเบอรัลนั้นไม่มี หัวใจ คนแก่ๆ ที่ไม่เป็นคอนเซอร์เวทีฟนั้น ไม่มีสมอง ค�ำคมตลกๆ นี้อำจจะฟังดูเหมำรวม และโอเวอร์ซมิ พลิฟำยด์ทรรศนะทำงกำรเมือง ของคนต่ำงวัย แต่ถ้ำคุณได้มำท�ำงำนเป็น สื่อมวลชนในเทศกำลเลือกตั้งอย่ำงตอนนี้ และได้ออกเดินสำยสัมภำษณ์ผคู้ นหลำกหลำย วัยที่เป็นนักกำรเมืองและผู้ที่เกี่ยวข้องกับ ประเด็ น ทำงสั ง คมต่ ำ งๆ ก็ จ ะพบเลยว่ ำ ค�ำกล่ำวติดตลกนี้เป็นจริงอยู่ไม่น้อย ตลอดเดือนที่ผ่ำนมำ ผมได้พบปะกับ นักกำรเมืองรุ่นเก่ำๆ ที่ช่วงนี้ก�ำลังโดนคน หนุ่มสำวโห่ฮำและด่ำทอในโซเชียลมีเดีย มำบอกเล่ำถึงเรื่องรำวโลดโผนโจนทะยำน ในชีวติ วัยหนุม่ สำวของเขำ ว่ำเคยยืนหยัดต่อสู้ เผด็จกำร หรือขัดขืนกฎระเบียบเคร่งครัดของ สังคม ออกเดินทำงแสวงหำตัวตน เขำบอกเล่ำ ถึงควำมหลงใหลในนิยำยอย่ำง โจนำธำน ลีฟวิงสตัน และเพลงเพื่อชีวิตที่เคยกอดคอ กันร้องกับเพื่อนๆ ผมมักจะถำมเขำ ว่ำเมื่อเวลำผ่ำนไป พวกเขำล้ ม เลิก กำรเป็ น คนแบบนั้น ตั้ง แต่ เมื่อไหร่ พวกเขำส่วนใหญ่จะหัวเรำะ และ บอกว่ำสักวันผมจะเข้ำใจเอง ในทำงตรงกันข้ำม ผมได้ไปพบปะกับ พวกนักกำรเมืองหนุม่ สำวไฟแรงทีก่ ำ� ลังได้รบั ควำมนิยมและเป็นที่พูดถึงอย่ำงกว้ำงขวำง ในโซเชียลมีเดีย เพรำะพวกเขำมีทำ่ ทีเปิดกว้ำง พูดจำด้วยถ้อยค�ำที่แสดงถึงอุดมคติสูงส่ง เมื่ อ เรำสั ม ภำษณ์ กั น ไปถึ ง จุ ด หนึ่ ง ผมมักจะถำมพวกเขำว่ำ ถ้ำสักวัน ในยำมที่ แก่ชรำมำเท่ำกับผม เรีย่ วแรงลดน้อยถอยลง และได้ พ บกั บ ควำมผิ ด หวั ง ซ�้ ำ ซำกกั บ สภำพสั ง คมอย่ ำ งที่ ผ มเองได้ ป ระสบมำ พวกเขำจะยืนหยัดกับอุดมคติต่อไปได้ไหม บำงคนบอกว่ำ ยังคงมั่นใจว่ำไม่มีวัน เปลีย่ นแปลง ในขณะทีม่ บี ำงคนนิง่ งัน เพรำะ เข้ำใจถึงเจตนำทีผ่ มถำมค�ำถำมนี้ เขำเอ่ยถึง ผู ้ ค นที่ เ คยเป็ น ไอดอลหรื อ โรลโมเดลทำง ควำมคิด ทีใ่ นทุกวันนีไ้ ด้เปลีย่ นไปไม่เหมือน เดิมรำวกับเป็นคนละคน ผมคิ ด ว่ ำ อำยุ เ ป็ น ตั ว แปรส� ำ คั ญ ที่ ก�ำหนดทรรศนะทำงกำรเมือง มีบทควำมใน เว็บไซต์ The Guardian ชื่อเรื่องว่ำ Do we really become more conservative with age? อธิบำยแนวคิดนีไ้ ด้อย่ำงน่ำสนใจ ยกตัวอย่ำง บรรดำรัฐบุรุษและนักคิดนักเขียนระดับโลก อย่ำง วินสตัน เชอร์ชลิ ล์ เบนจำมิน ดิสรำเอลี วิกเตอร์ ฮูโก คนเหล่ำนี้เคยมีหัวเอียงซ้ำย มำกๆ ในตอนวั ย หนุ ่ ม แต่ พ อแก่ ช รำก็ มี ควำมโน้มเอียงมำทำงด้ำนคอนเซอร์เวทีฟ มำกขึ้นเรื่อยๆ ผมเชื่อว่ำในโลกแห่งควำมจริงไม่มี อะไรที่แบ่งขั้วกันแบบตัดขำด มีเพียงในโลก แห่งอุดมคติทเี่ ป็นเช่นนัน้ ซึง่ เรำมักจะเห็นกัน ในค� ำ ปรำศรั ย ของนั ก กำรเมื อ งที่ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ควำมแตกต่ำงแบบขำวและด�ำ ถูกและผิด ดีและเลว
ทรรศนะทำงกำรเมืองในหัวของเรำ แต่ละคนล้วนพร่ำเลือนและกระจัดกระจำย ในแต่ละเรือ่ งทีเ่ รำเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยนัน้ สำมำรถแยกออกไปเป็นหลำยระดับ และ แถมยังไม่มีควำมสอดคล้องกันเมื่อมองไป ในประเด็ น แยกย่ อ ย คนที่ ย อมรั บ ควำมหลำกหลำยเท่ำเทียมทำงเพศ อำจจะใช่หรือ ไม่ใช่คนเดียวกันกับทีย่ อมรับเรือ่ งกำรท�ำแท้ง เสรีหรือสิทธิของคนต่ำงด้ำว ในบทควำมของ The Guardian บอก ว่ำ ในประเทศอังกฤษ อำยุของกลุม่ ประชำกร ใช้ท�ำนำยผลคะแนนกำรโหวตของพวกเขำ ได้ เ ลย คนมี อ ำยุ ม ำกขึ้ น มี แ นวโน้ ม เลื อ ก พรรคอนุ รั ก ษ์ นิ ย มมำกขึ้ น เที ย บกั บ คน หนุม่ สำวทีม่ แี นวโน้มว่ำจะเลือกพรรคแรงงำน พรรคเสรี ป ระชำธิ ป ไตย และพรรคกรี น รูปแบบนี้เป็นมำตั้งแต่ยุคหลังสงครำมโลก ครั้งที่สองเป็นต้นมำ สิง่ ทีน่ ำ่ สนใจคือ ค�ำถำมว่ำเพรำะอะไร? ค�ำตอบคือ เมื่อคนอำยุมำกขึ้น จะมี ล� ำ ดั บ ควำมส� ำ คั ญ ในชี วิ ต เปลี่ ย นแปลง ไปจำกเดิ ม เรื่ อ งที่ ไ ม่ เ คยสลั ก ส� ำ คั ญ ก็กลำยเป็นเรื่องส�ำคัญกว่ำ เรื่องที่ไม่เคย คิดถึงจึงกลำยเป็นเรื่องที่พวกเขำต้องใส่ใจ ขึ้น มำ ทรรศนะทำงกำรเมือ งในหัว ที่เ ดิม ก็ พ ร่ ำ เลื อ นอยู ่ แ ล้ ว และกระจั ด กระจำย ในมิติต่ำงๆ จึงเปลี่ยนแปลงระดับไปมำ กำรเติบโตไม่ได้มีแค่อำยุที่เป็นตัวเลข แต่ยงั หมำยถึงกำรเติบโตทำงสังคม อันได้แก่ กำรศึกษำ กำรแต่งงำน กำรมีลูก หรือกำรมี รำยได้เพิ่มสูงขึ้น นอกจำกนี้ เงื่อนไขในชีวิตแต่ละคน ในฐำนะปั จ เจก เงื่ อ นไขจำกสั ง คมใน ภำพรวมก็เกี่ยวข้องอย่ำงมำก ปัจจัยอื่นๆ นอกจำกอำยุ ยั ง มี เ รื่ อ งชนชั้ น ทำงสั ง คม ระดับกำรศึกษำ ควำมเชื่อทำงศำสนำ ฯลฯ ตั ว ตนของเรำไม่ ไ ด้ ค งที่ แ ละตั ด ขำดจำก คนอื่นๆ แต่มันเปลี่ยนแปลงอย่ำงต่อเนื่อง และเชือ่ มโยงกับบริบทต่ำงๆ รอบตัวในแต่ละ ช่วงของชีวิต กำรเติบโตขึน้ มำร่วมอยูใ่ นเจเนอเรชัน หนึ่งๆ จะมีเงื่อนไขทำงเศรษฐกิจ สังคม กำรเมืองทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ประชำกรรุน่ นัน้ ๆ ก็จะมีลักษณะคล้ำยคลึงกัน เช่น ถ้ำได้รับ กำรศึกษำสูงกว่ำ มีสภำพสังคมสงบสุขกว่ำ ก็มักจะมีแนวคิดลิเบอรัลมำกกว่ำ ท�ำให้ มี มุ ม มองต่ อ ประเด็ น ทำงสั ง คม เช่ น โทษประหำร หรื อ กำรรั บ ผู ้ อ พยพ ไปใน ทำงเดียวกัน ขณะที่ เ มื่ อ โลกมี แ นวโน้ ม จะเป็ น เสรีนิยมมำกขึ้น เด็กทั้งเจเนอเรชันนี้เติบโต มำพร้อมกับทรรศนะเปิดกว้ำงกว่ำ ดังนั้น ก็เป็นไปได้ทรี่ ะลอกคลืน่ ของยุคสมัย จะพัดพำ เอำแนวคิ ด อนุ รั ก ษ์ นิ ย มตกกระแสไปใน กำรเลือกตั้งแต่ละครั้งๆ ที่ด�ำเนินไป แต่แนวคิดและพรรคกำรเมืองอนุรกั ษ์นิ ย มก็ จ ะไม่ ถู ก พั ด พำหำยไปเสี ย ทั้ ง หมด เพรำะถึงแม้สังคมโดยรวมจะมีแนวคิดเรื่อง เสรีภำพมำกขึ้น แต่เมื่อคนแต่ละเจเนอเรชัน
แก่ตัวลง พวกเขำก็จะค่อยๆ ตลบกลับมำ อนุรักษ์นิยมอยู่ดี เพื่อจะรักษำสภำพกำรณ์ ต่ำงๆ ไว้ให้เหมือนเดิม เพรำะพวกเขำไม่ชอบ กำรเปลี่ยนแปลง คนไม่ได้สนใจกำรเมืองลดลงเมื่อเขำ แก่ตัวลงและอยู่แต่ในบ้ำน เพียงแต่ทรรศนะ เขำจะเปลี่ยนไป แล้วในท้ำยที่สุด คนทุกวัย จำกทุกเจเนอเรชัน ก็จะมำกองอยู่รวมกัน ในช่วงเวลำหนึ่งๆ เมื่อต้องลงคะแนนเสียง แล้วในจังหวะนัน้ เรำก็จะมำมองหน้ำ กั น แบบสั บ สนงุ น งง ฝ่ ำ ยหนึ่ ง ก็ ส งสั ย ว่ ำ ท�ำไมพวกคุณจึงได้เปลี่ยนไปได้ถึงเพียงนี้ ในขณะทีอ่ กี ฝ่ำยหนึง่ ก็บอกว่ำท�ำไมพวกคุณ ถึงไม่ยอมเข้ำใจอะไรเลย เรำมีทรรศนะหลำกหลำยภำยในตัว เพียงแต่ในช่วงเวลำและสถำนกำรณ์นั้นๆ ทรรศนะใดจะปรำกฏออกมำเท่ำนั้นเอง
issue 580 04 MAR 2019