TODAY EXPRESS PRESENTS
18 MAR 2019
583 582 581
VOTE
62
NO MORE DICTATORSHIP IN THAILAND
02
CONTENTS
ISSUE 582 18 MAR 2019
DATABASE ตัวเลขเชิงสถิติที่น่าสนใจ เกี่ยวกับการเลือกตั้ง ปี 2562 และแฮชแท็ก การเมืองยอดนิยม
IN CASE YOU MISSED IT 10 ข้อควรรู้ก่อนออกไป เข้าคูหาเลือกตั้ง
THE CONVERSA TION จุดยืนและทัศนคติของ นักการเมืองแนวหน้าจาก พรรคการเมืองทีส ่ า� คัญ ในการเลือกตัง้ ครัง้ นี้
LIFE เข้าใจพฤติกรรมและ
ISSUE 582
ปรากฏการณ์ทางการเมือง ด้วยจิตวิทยา
VOTE
62
NO MORE DICTATORSHIP IN THAILAND
A THOUSAND WORD ภาพเหตุการณ์ทางการเมือง ที่ร้อนระอุ ผ่านสายตาของ 4 ช่างภาพจากกลุ่ม Real Frame
BREATHE IN 1 แน่ใจได้อย่างไรว่ารูจ้ ก ั ตัวเอง ดีแล้ว เมือ่ คุณอาจเข้าใจตัวเอง ผิดมาตลอดเลยก็ได้ TODAY EXPRESS PRESENTS
18 MAR 2019
583 582 581
ภาพถ่ า ยทรงพลั ง ที่ อ ยู่ บ นปกของ a day BULLETIN ฉบั บ นี้ เป็ น ฝี มื อ ของ ปฏิ ภั ท ร จั น ทร์ ท อง ช่ า งภาพสายการเมื อ งจาก Real Frame กลุ่มเพื่อนนักเล่าเรื่องด้วยภาพที่รวมตัวกันมาตั้งแต่ช่วงหลัง น�้ า ท่ ว มปี 2555 เพื่ อ สะท้ อ นประเด็ น ปั ญ หาสั ง คม การเมื อ ง และ สิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยภาพที่เราเลือกมานั้นเป็นเหตุการณ์ ของเช้า วันต่อมาหลัง ประกาศรัฐ ประหารปี 2557 ที่กองก�า ลังทหาร ได้เข้ายึดพืน ้ ทีค ่ น ื จากบริเวณอนุสาวรียป ์ ระชาธิปไตย สือ ่ ถึงความหมาย ของการใช้ อ� า นาจในทางไม่ ช อบ และการยึ ด เอาประชาธิ ป ไตยไปจาก ประชาชน
INTERNS
BREATHE IN 2 Death Cleaning ตายก่อนตาย วิถีสวีดิช ในการก�าจัดสิ่งของให้หาย ก่อนความตายมาถึง
EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อ ชีวิตและสังคมผ่านสายตา วุฒช ิ ย ั กฤษณะประกรกิจ
ทีป ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการทีป ่ รึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ้ ม ิ พ์ผโู้ ฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒชิ ย ั กฤษณะประกรกิจ รองบรรณาธิการบริหาร ฆนาธร ขาวสนิท บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นั กเขี ยน/ผู้ ป ระสานงาน ตนุ ภั ท ร โลหะพงศธร หั ว หน้ าช่ างภาพ กฤตธกร สุ ท ธิ กิ ต ติ บุต ร ช่ างภาพ ภาสกร ธวัช ธาตรี รัช ต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง กวินนาฏ หัวเขา ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจฬ ุ างกูล 08-1639-1929, พงศ์ธด ิ า อังศุวฒ ั นากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว นักศึกษาฝึกงาน กรภัทร์ เกียรติจารุกุล ธฤษวรรณ แสงโชติช่วงชัย ณัชพล เนตรมหากุล ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com
เรื่อง
DATA BA S E
พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai
ภาพ
ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ ศิลปกรรม IG : 9901f9443
กตั้ง
ลือ ิทธิ์เ ุ ส ี คน ู ม ้ ผ าย 9,772 น น อ ว ง 2ค จ�าน ามชว่ ,33 ต 25 ปี 7 583,47 คน ่ ง บ , แ 18- ปี 19 4,663 น 45 8ค 44 26- ปี 14, 52,06 0 0 , 6 10 46- น ึ้ ไป ี ข ป 61
H T 19
G I A
E N E
04
L A R
issue 582 18 mar 2019
N IO
น า� นว จ ย ว้ ึ้ ด วม น ข ิ ด ะเก รวบร ี้ ี จ ป บ 8 าจึงขอ ค รั้ ง น อ ร ร ั้ ง น ทยใ นคน เ เ ลื อ ก ต ไ ศ ระเท 51 ล้า ั บ ก า ร เ้ หน ็ ป ง อ ก สี่ อื่ ให ง ึ ข ว ถ ก ย ่ ี ล ร รงั้ แ ะวัติกา น ใ จ เ ก นยิ ม ท งของ ค ป ไ ทวั่ เป็นปร ิ ที่ น่ า ส ทก็ ยอด ารเมือ ้ ั ง ต งก อื ก ถิ ต ์ ชแ สุด ารเล ตั้งที่สูง ข เ ชิ ง ส รนดแ์ ฮ ื่นตัวทา อนไลน ก ั ือก ตั ว เ ล มทงั้ เท การต นโลกอ ก่ วี่ น ีอ ไม ีสิทธิ์เล ก รว ระแส าชนบ ก ช ผู้ม ประ
20
E L E
T C
% 5 7
งั้ อื กต ล เ ร ลู กา ง ค รั้ ง ขอ้ ม จาก ลั ง ส อ และ ห 50 ธิ์ ย้ อ น นปี 25 สี ท ใ มู้ ิ ดุ ลา่ ส พบวา่ ผ ไ ป ใ ช้ 4 ก 255 ตั้ ง อ อ 5% 7 ก เ ลื อ ระมาณ ์ ิ ป ิ ธ สท
8
8
9 1 4 ,
5 7 ,9
ม ี าค มน 4 2 ี ่ ั ท น ตงั้ ว 75 คน ก ื อ ล ิ ธเิ์ 1,419,9 มู้ สี ท ผ 5 น ด ว น จา� น มีทั้งหม 27 ค น 5 , 2 1 256 ามเพศ 24,80 448 ค , ต ชาย 618 แบ่ง 26, ิ ง หญ
51
4 3 , 2
11
ก ั้งนอ ต ก เลือ , 1 6 5 บียน ด 1 1 2 มี่ ี เ ะ ท ู้ลงท ห ม เทศ วนผ ั ก ร ทั้ ง ดยประ รเลยี น า � มีจ า ณ า จ ะเทศ โ ออสเต อื ร อ ร า ช 67 ป กทสี่ ดุ ค น า ใ ม ราย ทะเบยี น ง ล ย การ 26 รา ,4 ที่ 15
8 6 1 8,
เขต นอก ้ ั ง ต ลอื ก ็ ยี นเ แบง่ เปน บ เ ะ คน ลู้ งท 68 คน 9,450 ผ น 2 1 8 นว 8, มจี า� ด 2,34 หานคร 18 คน 7 ม , ม ทงั้ ห รงุ เทพ ดั 1,518 ก ว จงั ห ตา่ ง
5 แ ฮ ช แ ท็ ก ย อ ด นิ ย ม ใ น ทวิตเตอร์เรื่องการเลือกตั้ง 2562 (ต่อจ�านวนครัง้ )
794,000 1
#Savethanathorn
113,555
5 6 2,1
53,312
53,000
41,346
2
3
4
5
#ฟ้ารักพ่อ
#ไทยรักษาชาติ
#ทรงพระสเลนเดอร์
#มึงมาไล่ดส ู ิ
ทีม ่ า : www.bbc.com, www.ect.go.th, voicetv.co.th, www.thairath.co.th
ǩlj˦ˑǣǀ˦˓ǣǘˎDžǏǩƽ˒ǥǗǑLjǗLj˯Ʈ ǟǥǗǏƯǫǞ ǀˠljƮǥǏ˚DŽ ǪǖǨ ǣ˦ˑLjɑ Ʈˎǘ Z\ppZ
ǖDŽǩǟˠˑ lj ǰǯɺ ADAYKLOOK
Ǘ˱ǒǗ˯DŽ ǴǴǯȡ ǘǥdž
g E+ +
ǑˎLjLjˢ ˓ Ɂ Dzǯ ǩljȫǛȫ DZǴǵDZ
ȡǩǒ˦ǣ ˑ LjǫƽǪǖǨƽ˒ǣDžƮǖǒǩǙ˞LjǫǙDžǥljdžˢǘ ˑ ǏˠǚˎdžɒƮ˨ǥǠLjDŽ
เรื่อง
กรภัทร์ เกียรติจารุกุล นักศึกษาฝึกงาน IG : Fixker_krp
AGENDA
10
06
ธฤษวรรณ แสงโชติช่วงชัย นักศึกษาฝึกงาน IG : maymmoery
ISSUE 582 18 MAR 2019
THINGS
YOU NEED TO KNOW BEFORE THE ELECTION
5 ขั้นตอนเมื่อไปถึงคูหา
กฎใหม่ ‘บัตรเลือกตั้งใบเดียว’
ระเบียบการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2562 ระบุให้ใช้ ‘บัตรเลือกตั้งใบเดียว’ ซึ่ง หมายถึงหากผูส้ มัคร ส.ส. ทีค่ ณ ุ เลือก เป็นผู้สมัครของพรรคการเมืองใด ก็ จ ะมี ผ ลกั บ สั ด ส่ ว นคะแนนของ พรรคการเมืองนั้นด้วย โดยคะแนน ของพรรคการเมืองจะมีผลต่อโอกาส ทีพ่ รรคการเมืองนัน้ จะได้เป็นผูจ้ ดั ตัง้ รัฐบาลหรือนายกรัฐมนตรีในอนาคต เพราะฉะนั้น นอกจากศึกษาผลงาน ของผูส้ มัคร ส.ส. ในเขตแล้ว อย่าลืม ศึกษานโยบายของพรรคการเมือง ที่ผู้สมัคร ส.ส. คนนั้นสังกัดด้วย เพื่อที่เราจะไม่เลือกผิดคนผิดพรรค
ศึกษาหมายเลขของผูส ้ มัครในเขต
นอกจากนโยบายของแต่ละพรรคการเมืองแล้ว สิ่งที่ส�าคัญไม่แพ้กัน คือ การเลือกตั้งครั้งนี้ ผู้สมัคร ส.ส. จากพรรคเดี ย วกั น ของแต่ ล ะเขต สามารถมีหมายเลขต่างกัน เพราะ ฉะนั้ น คุ ณ ต้ อ งศึ ก ษาหมายเลข ของผู ้ ส มั ค รในเขตของคุ ณ ให้ ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ลงทะเบียน เลือกตัง้ ล่วงหน้า มีความเป็นไปได้สงู ที่จะสับสนกับหมายเลขของผู้สมัคร ในเขตตามที่ อ ยู ่ ใ นทะเบี ย นบ้ า น กับผู้สมัครในเขตที่อาศัยอยู่
สิ่งที่ต้องเตรียมไปในวันเลือกตั้ง
ก่อนออกจากบ้านไปคูหาเลือกตั้ง สิ่ ง ที่ ต ้ อ งเตรี ย มไปด้ ว ยคื อ บั ต รประชาชน (บัตรที่หมดอายุก็ใช้ได้) หรือหลักฐานทีร่ าชการหรือหน่วยงาน ของรัฐออกให้ (โดยบัตรนั้นต้องมี รูปถ่ายและหมายเลขบัตรประจ�าตัว ประชาชน) เช่น บัตรประจ�าตัวเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ใบขับขี่ หนังสือเดินทาง
มีเวลาถึง 5 โมงเย็น
ถ้าใครติดธุระในช่วงบ่ายวันอาทิตย์ ไม่ตอ้ งรีบร้อนกลับมาให้ทนั เลือกตัง้ ตอน 15.00 น. เหมือนปีกอ่ นๆ เพราะ ปีนไี้ ด้มกี ารขยายเวลาปิดหีบลงคะแนน ต่ อ ไปถึ ง 17.00 น. ซึ่ ง จะไม่ ส ่ ง ผลกระทบใดๆ ต่อการนับคะแนน เลือกตั้ง
ส�าหรับมือใหม่ที่ได้ใช้สิทธิ์เลือกตั้ง เป็นครั้งแรก สามารถปฏิบัติตาม 5 ขั้นตอนหลักๆ เมื่อไปถึงคูหา ดังนี้ 1. ตรวจสอบรายชื่ อ และล� า ดั บ ที่ จากบั ญ ชี ร ายชื่ อ ผู ้ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง ที่ประกาศไว้หน้าหน่วยเลือกตั้ง 2. ยืน่ บัตรประชาชนและลงลายมือชือ่ ในบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 3. รับบัตรเลือกตัง้ พร้อมลงลายมือชือ่ หรือพิมพ์ลายนิ้วหัวแม่มือขวาบน ต้นขั้วบัตรเลือกตั้ง 4. เข้ า คู ห าลงคะแนน แล้ ว ท� า เครื่องหมายกากบาท (X) ลงในช่อง ท�าเครื่องหมาย โดยเลือกผู้สมัคร เพียงหมายเลขเดียว หากไม่ตอ้ งการ เลื อ กผู ้ ส มั ค รรายใดเลย ให้ ท� า เครื่องหมายกากบาท (X) ในช่อง ไม่ลงประสงค์ลงคะแนน 5. เมื่ อ ลงคะแนนเสร็ จ แล้ ว พั บ บัตรเลือกตัง้ ให้เรียบร้อยและหย่อนบัตร ลงในหีบบัตรเลือกตั้งด้วยตนเอง
ที่มา : www.ect.go.th, www.ilaw.or.th, https://news.thaipbs.or.th
การนับคะแนนและประกาศผล
การนั บ คะแนนและประกาศผล การเลือกตั้ง จะเริ่มต้นเมื่อเสร็จสิ้น การลงคะแนนในเวลา 17.00 น. โดยจะ นับคะแนน ณ คูหาเลือกตัง้ ทีเ่ ปิดเผย ให้เห็นจนเสร็จสิ้นในครั้งเดียว เพื่อ ป้องกันการทุจริตเลือกตั้งที่อาจเกิด จากการขนย้ายหีบบัตร และสามารถ ประกาศผลการเลือกตั้งได้รวดเร็ว หลังจากนั้น กกต. เขต จะรวบรวม ผลการนับคะแนนของทุกหน่วยเลือกตัง้ ภายในเขต แล้วประกาศผลรวมคะแนน ของเขต และปิดประกาศไว้ในสถานที่ ที่ก�าหนด พร้อมรายงานต่อ กกต. ประจ�าจังหวัด และรายงานต่อ กกต. หลั ก เพื่ อ ประกาศและรั บ รองผล การเลือกตั้ง
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
ทุ ก คะแนนเสี ย งมี ค วามหมาย แม้คะแนนช่องไม่ประสงค์ลงคะแนน ในกรณี ที่ คุ ณ รู ้ สึ ก ว่ า ไม่ มี ผู ้ ส มั ค ร ส.ส. คนใดเหมาะสมกับต�าแหน่งเลย คุณสามารถลงคะแนนในช่องไม่ประสงค์ ลงคะแนน และหากคะแนนของ ช่องไม่ประสงค์ลงคะแนนมีจ�านวน มากกว่าคะแนนสูงสุดของผู้สมัคร ส.ส. ในเขตนัน้ จะท�าให้การเลือกตัง้ ในเขตนัน้ เป็นโมฆะ ทุกพรรคการเมือง ต้องส่งผู้สมัคร ส.ส. ที่ไม่ใช่คนเดิม มาให้ประชาชนในเขตนัน้ เลือกตัง้ ใหม่ อีกครั้ง
ทุกเสียงมีความส�าคัญ
อย่าคิดว่าคะแนนเสียงของคุณจะ ไร้ประโยชน์ แม้ผส้ ู มัคร ส.ส. ทีค่ ณ ุ เลือก อาจไม่ชนะเลือกตัง้ ในเขตนัน้ เพราะ ทุกคะแนนเสียงไม่วา่ จะของผูช้ นะหรือ ผู้แพ้จะถูกน�าไปคิดเป็นสัดส่วนของ จ�านวน ส.ส. ที่แต่ละพรรคพึงจะมี ซึง่ จะมีผลกับจ�านวน ส.ส. แบบบัญชี รายชือ่ หมายความว่าคะแนนเสียง ของคุณยังมีความหมายกับโอกาส ที่พรรคการเมืองนั้นๆ จะได้จ�านวน ส.ส. เพิม่ ขึน้ ในสภาอยูด่ ี
ยื่นคัดค้านการเลือกตั้ง แจ้งเบาะแสการทุจริต
หากพบเห็นการทุจริตเลือกตัง้ ไม่วา่ จะเป็นการแจกเงิน สิ่งของ หรือมี การเรี ย กรั บ เงิ น หรื อ ทรั พ ย์ สิ น สามารถแจ้งเบาะแส หรือรวบรวม หลักฐานการทุจ ริตแจ้ง ต่อต�ารวจ ในพื้นที่หรือรายงานให้ กกต. ทราบ ด้วยตัวเอง หรือโทรศัพท์หมายเลข 1444, 0-2141-8888
ผู ้ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง ผู ้ ส มั ค ร หรื อ พรรคการเมือง สามารถยื่นคัดค้าน การเลือกตัง้ ต่อ กกต. ภายใน 30 วัน นั บ ตั้ ง แต่ วั น ประกาศผลเลื อ กตั้ ง กรณีเห็นว่าการเลือกตัง้ ในเขตเลือกตัง้ นัน้ เป็นไปโดยไม่ถกู ต้อง หรือไม่ชอบ ด้วยกฎหมาย และกรณีเห็นว่าผูส้ มัคร หรื อ พรรคการเมื อ งใดใช้ จ ่ า ยเงิ น ในการหาเสียงเกินจ�านวนที่ กกต. ก�าหนด
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
¼ÈÔ´ćÊ .3./ ÂÐIJÀĊÊÀ` Ã¾Ê IJÍب²č Ô ČØ Č Ö Å̲Ôijżč
5,< - î 8 $5? $ ï = ²·²³ 8= ;!D ,8 2î = H&õ $ 8 "@P ï 8 -"<Q C +=)I0;.= = I )î 8!A 5,<-$@6Q 0< = ., =.)< $=ýC,ý$ .;".2 ,6= L"- U=H$?$ =$ ²·²³ 8-î= î8H$BP8 'î=$ =.)?5D $ò ï2- C +=) ,= . =$ I0;ýBP8H5@- "@P"U=K6ï5?$ ï= ²·²³ L"-H&õ$"@P-8,.<%K$.; <%$=$=ý= ?L&I0ï2 $="@$@QK .L,î,@ 8 ²·²³ Kýï 8= ;!B82î= H".$ ò HO &õ$L ï I!, 8 %= 8-î= ,@I îH)@- ý?$Q H @-2K$J0 K .8-= L ï ï8 8 0î2 6$ï= I0;.8 8-8-î= 8 "$ Kýî2î=K . ; <% 8 H&õ$H ï= 8 L ï î=-N <$H0-"@H @-2
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
£¼Ê¸°č ÂijÑIJÌÖÅ Ö°¼
/@TK M C@ Ö°¼
¼ÈÔ´ćÊĶÊ ¼ÈĶÑIJ Ö°¼
ęŕĦĞĬĈčĩ Ĺ õėĤİďœĦy čĥĎİďŝčġĩõğčĪûĸ õęĬĕŕ ĞĨčøŖĦċĩõĸ ĦĽ ęĥûĕĦıėûöġû ','( õėĤİďœĦİõŘĶ üĦõĞĦėĒĥĈěĥĉĊĬĈĨĎĴĈŖėĥĎõĦėĒĥĆčĦİĒīĸġİĉėĩĖĕIJõġĨčİĉġėřĴď İüĨĈüėĥĞijčİěċĩIJęõ ĈŖěĖIJøėûõĦėĒĥĆčĦĐęĨĉĔĥćąřøęĥĞİĉġėř O Ų P ďėĤİĔċ õėĤİďœĦċĩĸčĽĦĐĭŖďėĤõġĎõĦė ','( ďėĤİĔċõėĤİďœĦ 57 ėĦĖüĦõċĥĸěďėĤİċĜ İöŖĦďėĤþĬĕİþĨûďăĨĎĥĉĨõĦėİĒīĸġĒĥĆčĦĖõėĤĈĥĎĞėŖĦûıĎėčĈřĐęĨĉĔĥćąř IJĈĖ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč õėĤċėěûĕğĦĈĴċĖ ėŕěĕõĥĎ ĞĊĦĎĥčĒĥĆčĦěĨĞĦğõĨü öčĦĈõęĦûıęĤöčĦĈĖŕġĕ ĞĨčøŖĦığŕûĔĭĕĨďśāāĦċĩĸĕĩġĥĉęĥõĝćřİýĒĦĤĉĥěöġûıĉŕęĤċŖġûĊĨĸč ĴĈŖėĥĎ õĦėěĨ İ øėĦĤğř üĬ Ĉ İĈŕ č üĬ Ĉ ĈŖ ġ Ė İĒīĸ ġ Ēĥ Ć čĦċĥĹ û ĕĦĉėĄĦčıęĤøĬ ć ĔĦĒijğŖ IJĈĈİĈŕč İĉĨĕıĉŕûĈŖěĖĴġİĈĩĖĈĩĴÿčřċĩĸĒėŖġĕüĤĞŕûĴďĞĭŖĜĪõijčĉęĦĈĉŕĦûďėĤİċĜ ÿĪĸûďśüüĬĎĥčĕĩİøėīĸġûĕīġĞĽĦøĥāġĖŕĦûIJÿİþĩĖęĕĩİĈĩĖċĩĸĞĦĕĦėĊĖŕġIJęõijĎčĩĹijğŖİęķõęû ıęĤčĽ Ħ ĒĦĐęĨ ĉ Ĕĥ ć ąř Ĵ ďġěĈIJýĕijğŖ Đĭ Ŗ Ď ėĨ IJ ĔøĴĈŖ İ ğķ č ġĖŕ Ħ ûėěĈİėķ ě ėěĕċĥĹ û ĖĥûĞĦĕĦėĊĞėŖĦûıėûĎĥčĈĦęijüijğĕŕĶ ijğŖıõŕĐĭŖďėĤõġĎõĦėijčõĦėĒĥĆčĦĞĨčøŖĦ ','( ĴďĒėŖġĕõĥčĴĈŖĈŖěĖ ĞĨûĸ ċĩõĸ ėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþčİčŖčĖĽĦĹ ijğŖıõŕĐďŖĭ ėĤõġĎõĦėċĩĴĸ ĈŖėĎĥ øĥĈİęīġõ İöŖĦėŕěĕIJøėûõĦėċĥûĹ 57 ėĦĖüĦõċĥěĸ ďėĤİċĜĕĩċûĥĹ ĔĦøċĘĝĂĩıęĤĔĦøďăĨĎĉĥ üĨ Ħõ ĐĭŖİþĩĸĖěþĦāĈŖĦčĉŕĦûĶ ĴĕŕěŕĦüĤİďŝčİċėčĈřıēþĥĸčijčďśüüĬĎĥčİďŝčĴďijčċĨĜċĦûijĈ õĦėĉęĦĈıĎĎĈĨüĉĨ ġęĕĦėřİõķĉĉĨûĹ ıęĤõĦėċĽĦĈĨüĉĨ ġęıĎėčĈřĈûĨĹ ėěĕĊĪûıčěċĦû õĦėġġõıĎĎİĒīĸġijğŖİöŖĦĊĪûõęĬŕĕİďőĦğĕĦĖċĩĸıĉõĉŕĦûõĥč İėĩĖõěŕĦĉĨĈġĦěĬČ øėĎİøėīĸġûĒėŖġĕėĎijčĞčĦĕüėĨûõĥčİęĖ
/HX@RHK@ Ö°¼ ÀÌÂÊà ÌĶ§Ðº§²Ĺ¼ÍIJÊÕƲIJč ÔºIJ Ö°¼
ĉĥ ě ġĖŕ Ħ ûıĎėčĈř (ū Ñūy õėĤİďœ Ħ İĞŖ č ĒęĦĞĉĨ õ İõŘ Ķ üĦõüĥûğěĥĈýĤİþĨûİċėĦ ċĩĸİčŖčõĦėöĦĖġġčĴęčřIJĈĖİýĒĦĤĐŕĦčċĦûİēÿĎĬŗø ĕĩüĈĬ İĈŕčĈŖĦčėĭďıĎĎıęĤĈĩĴÿčřĞĤĈĬĈĉĦ ıĉõĉŕĦû ıęĤċĥčĞĕĥĖ ûĦččĩčĹ ġõüĦõ üĤþŕěĖijğŖĴĈŖİėĩĖčėĭŖİċøčĨøõĦėöĦĖġġčĴęčřċĩĸĞĦĕĦėĊĕġûğĦþŕġûċĦûĉęĦĈ İĒĨĕĸ ĕĦõöĪčĹ ıęŖě õĨĉčĨ Ĉĥ ĈĦ IJġĞĊĦččċřy İüŖĦöġûıĎėčĈř ĖĥûİĉėĩĖĕġġõıĎĎ ĈĩĴÿčřijğĕŕĕĦijğŖİğęŕĦĞĦěõ (ū Ñū ċĩĸĕĥĸčijüijčøĬćĔĦĒĞĨčøŖĦġĖĭŕıęŖě ĴĈŖüĥĎüġûėĭďıĎĎijğĕŕĶ õĥčİėķěĶ čĩĹġĩõĈŖěĖ öćĤċĩ ĸ čĨĉĖĦ İėīġûüĥčċėřy üĦõüĥûğěĥĈĒĥċęĬû ċĩĕĸ ĦĒėŖġĕĐęĨĉĔĥćąř õėĤİďœĦüĦõ õėĤüĭĈy ċĩĸčĦċĩčĩĹıċĎüĤİďŝčĒėĤİġõijčċĬõûĦčıĞĈûĞĨčøŖĦ ċĥĹ û ĖġĈöĦĖıęĤøěĦĕğęĦõğęĦĖ ĈŖ ě ĖøěĦĕIJĈĈİĈŕ č İėīĸ ġ ûěĥ ĉ ĊĬ ĈĨ Ď ċĩĸ İ ďŝ č İġõęĥõĝćřıęĤİďŝčĕĨĉėõĥĎĞĨûĸ ıěĈęŖġĕ ďėĤõġĎõĥĎõĦėĒĥĆčĦėĭďıĎĎĴĈŖġĖŕĦû ĉŕġİčīĸġû ėěĕĊĪûøĬćďėĤIJĖþčřõĦėčĽĦĴďijþŖĴĈŖĞĦėĒĥĈġĖŕĦûċĩĸĎĦûøėĥĹûõķİďŝčĴĈŖ ĕĦõõěŕĦõėĤİďœĦ ċĽĦijğŖ õėĤİďœĦõėĤüĭĈy ĈĭüĤĴďĴĈŖĴõęijčĉęĦĈĉŕĦûďėĤİċĜ ġĩõİþŕčõĥč Ğŕěč ěĨĞĦğõĨüþĬĕþčĞĩĈĦıĢčĈřİĕĈy üĦõüĥûğěĥĈčŕĦč ċĩĸĕĦĒėŖġĕ õėĤİďœĦğčĥûěĥěġġõıĎĎĐĞĦčİöŖĦõĥĎĐŖĦċġĕīġ ċĽĦijğŖĕĩėĭďıĎĎûĈûĦĕıďęõĉĦ ĴĈŖėĎĥ øĽĦĎġõİęŕĦüĦõ ĜėĩĞĈĬ Ħ IJěċĦčy ġČĨĎĦĖĊĪûüĬĈİĈŕčöġûĐęĨĉĔĥćąř ','( öġûċĩĸčĩĸěŕĦ İďŝčõĦėijþŖğčĥûıċŖĕĦĐĞĕõĥĎĐŖĦđőĦĖċġĕīġ ıęĤõėĤİďœĦċĬõijĎİĖķĎ ĈŖěĖĕīġ İĒėĦĤýĤčĥĹččġõüĦõęĭõøŖĦüĤĞĦĕĦėĊġġõıĎĎęĦĖċĩĸþġĎĴĈŖĈŖěĖ ĉĥěİġûıęŖě ûĦččĩüĹ ûĪ İďŝčöġûþĨčĹ İĈĩĖěijčIJęõ İõŘĴõŘĴĕŕÿĦĽĹ ijøėõĥčİęĖ ıęĤüĦõõĦė İöŖĦėŕěĕIJøėûõĦėijčøėĥĹûčĩĹ ĎġõĴĈŖøĽĦİĈĩĖěěŕĦėġþĕĈĩĴÿčřijğĕŕĶ öġûċĩĸčĩĸõĥčĴĈŖ ġĩõĐęĨĉĔĥćąřċĩĸIJĈĈİĈŕčĴĕŕıĒŖijøėøīġ õėĤİďœĦüĦõĐŖĦþĦěİöĦęĦĖ IJĎėĦć ıĎėčĈř ū ūy üĦõüĥûğěĥĈİĒþėĎĭėćř ċĩ ĸ čĨþĦĔĦ ıÿĕęĽĦİüĩĖõy ĎġõİęŕĦõĦėĞėŖĦûĞėėøřĐęĨĉĔĥćąřċĩĸİõĨĈüĦõĐŖĦijĖõĥāþû ĉõıĉŕûĈŖěĖûĦč ĐŖĦďśõĕīġċĥĹûğĕĈ İğęŕĦøčþġĎûĦčďśõĴĈŖİğķčİďŝčĉŖġûĉõğęĬĕėĥõõĥčİęĖ ĞŕěčüĤüĥĎüġûİďŝčİüŖĦöġûĐęûĦčþĨĹčĴğčĴĈŖĎŖĦûčĥĹčĉŖġûĞġĎĊĦĕõĥčġĩõøėĥĹû İĒėĦĤğęĥûüĦõûĦččĩĹıęŖěĴĈŖĖĨčěŕĦĖġĈüġûĕĩĕĦĴĕŕöĦĈĞĦĖõĥčİęĖ ġĩõėĦĖøīġ øėĦēċř ĞĉĭĈĨIJġy üĥûğěĥĈĒĤİĖĦ ċĩĸ üĨėĥĄĨĉĨġė IJøıęķûy ĎġõěŕĦĐęĨĉĔĥćąřİĈŕčøīġ õėĤİďœĦĐŖĦĈŖčĕīġy ijčþīĸġıĎėčĈř üĨčüŘĦy ċĩĸİęīġõ ijþŖĐŖĦđőĦĖċġĕīġÿĪĸûİďŝčĐŖĦċŖġûĊĨĸčĕĦĖŖġĕĞĩČėėĕþĦĉĨ ıęĤĞėŖĦûüĬĈİĈŕčijğŖ ıĉõĉŕĦûĈŖěĖõĦėĈŖčĕīġ ıęĤõĦėďśõİďŝčęěĈęĦĖĉŕĦûĶ ÿĪĸûĕĩõĦėġġõıĎĎ
ĐĞĕĐĞĦčċĥĹûıĒċİċĨėřčõėĤİďœĦıęĤęĦĖďśõ ûĦččĩĹċĽĦijğŖİüŖĦöġûıĎėčĈřİõĨĈ ıėûĎĥčĈĦęijüijğĕŕĶ ĕĦõĕĦĖ ıęĤĕġûİğķčþŕġûċĦûõĦėĉęĦĈċĩĞĸ ĈijĞėġġĖĭöŕ ĦŖ ûğčŖĦıęŖě / ċĩĸ üĥ Ĉ öĪĹ č øėĥĹ û čĩĹ ö ġûõėĕõĦėĒĥ Ć čĦþĬ ĕ þč čġõüĦõ üĤĕĬûŕ ĒĥĆčĦĖõėĤĈĥĎĞėŖĦûıĎėčĈřĐęĨĉĔĥćąřıęŖě ĖĥûěĦûıĐččĽĦõėĤİďœĦ ','( İöŖĦĞĭŕĉęĦĈĉŕĦûďėĤİċĜġĖŕĦûİďŝčėĤĎĎĈŖěĖ İĒėĦĤüĤĕĩõĦėøĥĈİęīġõ ĞĬĈĖġĈ õėĤİďœĦ ','(y ıĎĎİĈĩĖěõĥĎċĩĕĸ õĩ ĦėøĥĈĞėė ĞĬĈĖġĈ 7 İĕčĭġĦğĦėĒīčĹ ĊĨčĸ y ċĩĸİĕīĸġĴĈŖĐęõĦėøĥĈĞėėıęŖěüĤčĽĦĐĭŖďėĤõġĎõĦėİğęŕĦčĥĹč * ūÑ ĴďĖĥû ûĦčıĞĈûĞĨčøŖĦijčĉŕĦûďėĤİċĜ ĎġõİęŕĦøěĦĕIJĈĈİĈŕčijčİěċĩčĦčĦþĦĉĨõĥč ġĖŕĦûĉŕġİčīĸġû ıěŕěĶ ěŕĦ ğęĥûėĭŖĐęıęŖěčŕĦüĤİėĨĸĕċĩĸĢŕġûõûİďŝčĉęĦĈıėõ
ûĦččĩĹijøėġĖĦõüĥĎüġûõėĤİďœĦijĎĴğč ıĎėčĈřijĈ ęġû ĉĨĈĉŕġõĥčĴěŖęŕěûğčŖĦ İĒėĦĤĊĪûİěęĦčĥĹčċĩĸğĦõĴĈŖėĥĎõĦėøĥĈĞėė ĞĬĈĖġĈõėĤİďœĦ ','(y öĪĹčĕĦıęŖě øĨěġĦüüĤĖĦěĕĦõ õěŕĦüĤĴĈŖİďŝčİüŖĦöġûõķİďŝčĴĈŖ ıĉŕċĥĹûğĕĈċĥĹûĞĨĹččĩĹēśûıęŖěõķ þīĸčijüıċčĐĭŖĐęĨĉĐĭŖďėĤõġĎõĦė ','( İĒėĦĤčĩĸİďŝčġĩõğčĪĸû ĉĥěġĖŕĦûĞĽĦøĥāöġûõĦėčĽĦĞĨčøŖĦþĬĕþčĴďĞĭŕĞĦõę ċĩĸüĤİďŝč õĦėĞėŖĦûûĦč ĞėŖĦûġĦþĩĒ ijğŖøčijčþĬĕþč İĒīĸġčĽĦĴďĞĭŕõĦė ĞėŖĦûøěĦĕĞĬöıõŕþĬĕþčĴĈŖġĖŕĦûĖĥĸûĖīčĉŕġĴďčĥĸčİġû
^ ūŭŲŬ ^ŭ a ŭÑÑ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč ĕĬŕûĕĥĸčİĞėĨĕĞėŖĦûİĜėĝĄõĨüĄĦčėĦõĕĥĸčøû İĒĨĸĕøěĦĕĞĬöĕěęėěĕijğŖďėĤþĦþč
10
T H E C O N V E R SAT I O N
โอกาสส�าคัญที่เราจะได้ร่วมกันน�าพาสังคมไทยกลับเข้าร่องเข้ารอยของประชาธิปไตย และมีสิทธิเสรีภาพเหมือนเดิม 24 มีนาคม 2562 ตั้งแต่แปดโมงเช้าถึงห้าโมงเย็น ไปท�าหน้าที่ของพลเมือง ร่วมกันใช้สิทธิใช้เสียงของตัวเองอย่างเต็มที่ ใช้หนึ่งกากบาทของเราให้มีค่าที่สุด ดูนโยบายเรื่องปากท้องและจุดยืนเรื่องประชาธิปไตย เพื่อตัดสินใจเลือกพรรคการเมือง
ISSUE 582 18 MAR 2019
11 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
VOTE62.com เป็นความร่วมมือกันของ The MOMENTUM x a day BULLETIN x iLaw x opendream เพื่อจัดท�าเว็บไซต์ ให้ บ ริ ก ารตรวจสอบฐานข้ อ มู ล ผูล ้ งสมัคร ส.ส. เขต มีจด ุ ประสงค์ เ พื่ อ อ� า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ เ ลื อ ก ตั ด สิ น ใ จ ลงคะแนน โดยให้ ค วามส� า คั ญ กั บ น โ ย บ า ย แ ล ะ จุ ด ยื น ด้ า น
ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ข อ ง แ ต่ ล ะ พรรคการเมืองเป็นหลัก VOTE62.com ให้ ข้ อ มู ล เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ วิ ธี ก า ร ล ง ค ะ แ น น แ บ บ ใ ห ม่ ที่ ป ร ะ ช า ช น บางส่วนยังคงสับสน นอกจากนี้ ยั ง มี ข่ า ว ส า ร ล่ า สุ ด เ กี่ ย ว กั บ นโยบายและจุดยืนทางการเมือง ของพรรคการเมืองต่างๆ โดยมี ฟังก์ชน ั หลักคือการเปิดให้ผส ู้ นใจ
เ ข้ า ม า ก ร อ ก ภู มิ ล� า เ น า แ ล ะ พรรคการเมืองที่ต้องการ แล้ว จะแสดงผลกลับไปเป็นหมายเลข และชื่ อ ผู้ ส มั ค ร ส.ส. เขตจาก พรรคการเมื อ งนั้ น ๆ ได้ ทั น ที เพือ ่ ความสะดวกและจดจ�าได้งา่ ย ในการลงคะแนนในวั น อาทิ ต ย์ ที่ 24 มีนาคม 2562 V O T E 6 2 . c o m เ ชื่ อ ว่ า ระบอบประชาธิ ป ไตยและสั ง คม
ไทยจะเข้มแข็ง เมื่อเราให้ความส� า คั ญ กั บ พ ร ร ค ก า ร เ มื อ ง พิ จ ารณานโยบายที่ เ หมาะสม จุ ด ยื น ที่ ถู ก ต้ อ ง เลื อ กกากบาท ให้ ผู้ ส มั ค รจากพรรคการเมื อ ง นั้ น ๆ เพื่ อ ที่ พ วกเขาจะเข้ า ไปท� า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและนิ ติ บั ญ ญั ติ ในสภาฯ ได้อย่างดีที่สุด
12 ISSUE 582 18 MAR 2019
พรรคเพือ ่ ไทย
พรรครวมพลังประชาชาติไทย
สุเทพ เทือกสุบรรณ สุเทพ เทือกสุบรรณ ในวันนีม ้ าพร้อมความมัน ่ ใจเต็มร้อย เขาเชือ ่ ว่ารัฐธรรมนูญ ฉบับ คสช. ช่วยแก้ปญ ั หาการเลือกตัง้ ได้เป็นอย่างดี พรรครวมพลังประชาชาติไทย เชือ ่ มัน ่ ว่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือค�าตอบของปัญหาปากท้องคนจน ซึง่ เป็นหน้าทีข ่ องรัฐทีต ่ อ ้ งหามาตรการช่วยเหลือ เช่น ต้องตัง้ ‘ราคาเป้าหมาย’ ของผลผลิตทางการเกษตร
ชัชชาติ สิทธิพน ั ธุ์ ชัชชาติ สิทธิพน ั ธุ์ เป็นรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม ทีไ่ ด้รบ ั สมญานามว่า เป็นรัฐมนตรีทแ ี่ ข็งแกร่งทีส ่ ด ุ ในปฐพี ตอนนีต ้ อบรับมาเป็นหนึง่ ใน แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรคเพือ ่ ไทยในการเลือกตัง้ ครัง้ นี้
Political Standpoint
Policy Statement
Political Standpoint
Policy Statement
“เราตั้งพรรครวมพลังประชาชาติไทยขึ้นมา เพื่อจะให้เป็นพรรคการเมืองของประชาชนที่แท้จริง เนือ่ งจากว่ายังไม่เคยมีพรรคการเมืองของประชาชน ทีแ่ ท้จริงเลยในประเทศไทยนับตัง้ แต่เราเปลีย่ นแปลง การปกครอง ปี 2475 เป็นต้นมา เราจะเห็นว่า พรรคการเมืองเหล่านี้มีเจ้าของพรรค คนเหล่านั้น เป็นเจ้าของพรรค ก็กวาดต้อนเอาบรรดานักการเมือง เข้ามาอยู่ในพรรคของตัวเอง แล้วก็ท�างานการเมือง ตามค�าสั่งของเจ้าของพรรค หรือกลุ่มหุ้นส่วนของ เจ้าของพรรคเป็นคนบงการชีน้ า� แล้วเรามีประสบการณ์ ที่ชัดเจนว่า พรรคการเมืองที่รับใช้หัวหน้าพรรค เจ้าของพรรค ไม่คอ่ ยฟังเสียงประชาชน พรรคการเมือง เหล่ า นั้ น ความที่ เ ขาไม่ ใ ช่ พ รรคการเมื อ งของ ประชาชน เขามุง่ ทีจ่ ะไปรับใช้เจ้าของพรรคมากกว่า รับใช้ประชาชน “พรรคการเมืองที่อยู่ในประเทศวันนี้ ที่เขา ลงสนามคราวนี้ พรรคเพื่อไทย พรรคประชาธิปัตย์ พรรคพลังประชารัฐ พรรคภูมิใจไทย พรรคชาติไทย พัฒนา พรรคพวกนี้เขาท�าพรรคกันมา 10 ปี 20 ปี 30 ปี ทั้งนั้น พรรครวมพลังประชาชาติไทยเพิ่งตั้ง ไม่กี่เดือนนี้เองนะครับ เราก็ตัดสินใจทางการเมือง ตามความเป็ น จริ ง เราคงไม่ ช นะที่ 1 ได้ เ สี ย ง 251 ที่นั่งในสภาหรอก เพราะฉะนั้น ไม่ต้องคิด เราไม่ เ สนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ จะเป็ น นายกรั ฐ มนตรี ในนามของพรรค เพื่อให้ทุกคนได้เห็นว่าเราเปิด โอกาสที่จะร่วมมือกับใครก็ได้ที่เราเห็นว่าเขาจะท�า ประโยชน์ให้ประเทศ “ผมและพีน่ อ้ งในพรรครวมพลังประชาชาติไทย ร่วมมือกับใครก็ได้ที่จะท�างานให้กับประเทศชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือที่มีความมุ่งมั่นที่จะปฏิรูป เปลี่ยนแปลงประเทศไทย ตามเจตนารมณ์ ข อง ประชาชน และมุ่งมั่นที่จะแก้ปัญหาชาวบ้าน แต่ จะไม่ ร วมกั บ พรรคเพื่ อ ไทยและพรรคในตระกู ล ‘เพือ่ ’ ทัง้ หลาย หรือพรรคในเครือของระบอบทักษิณ เพราะผมบอกตั้งแต่แรก ผมเป็นคนที่บอกเองนะ ว่า พี่น้องทั้งหลายระวังนะครับ เขาจะใช้ยุทธวิธี แตกแบงก์ พั น เป็ น แบงก์ ร ้ อ ยนะ แล้ ว ก็ เ ป็ น จริ ง แล้ ว ความเป็ น จริ ง นี้ ไ ม่ ใ ช่ ค นอื่ น ไปรั บ รองนะ ทักษิณรับรองมาเองว่านั่นพรรคของเขา เพราะ ฉะนั้น เราไม่ร่วมมือกับคนเหล่านี้ เพราะความจริง ทางประวัติศาสตร์ได้บอกเขาแล้วว่า คนพวกนี้เป็น พิษภัยต่อประเทศไทย เป็นพิษภัยต่อประชาชน”
“ผมเป็นคนแรกที่ออกมาพูดว่า เศรษฐกิจ ของชาวบ้านไม่ดี เป็นเรื่องที่ทุกส่วนในสังคมต้อง ให้ความสนใจ แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของชาวบ้าน ผมก็มารายงานกรรมการบริหารพรรค ทีมวิชาการ ของพรรค พรรครวมพลังประชาชาติไทยจึงได้กา� หนด เป็นนโยบายว่า เราจะแก้ปัญหาเศรษฐกิจชาวบ้าน ทีช่ ดั เจนทีส่ ดุ ทีนี้ ถามว่าจะแก้อย่างไร ก็ทา� ให้ชาวบ้าน มีรายได้เพิ่มขึ้น มีเงินเหลือจับจ่ายเลี้ยงครอบครัว ได้ นโยบายของพรรครวมพลังประชาชาติไทยจึงได้ ก�าหนดว่า เราจะต้องให้เกษตรกรชาวไร่ชาวนาทัง้ หลาย ขายผลผลิตของเขาแล้วได้กา� ไร มีเงินเหลือกลับบ้าน แต่ ว ่ า การที่ จ ะท� า อย่ า งนี้ ต ้ อ งท� า กั น ด้ ว ยเหตุ ผ ล ไม่ใช่เอากิเลสของประชาชนมาเป็นของเล่นในทาง การเมือง ไม่ได้หลอกล่อด้วยกิเลส “สิง่ ทีเ่ ราจะท�าก็คอื วางแผนการผลิต แปรรูป การตลาด เท่ากับเรารู้เป้าหมายว่าจะต้องผลิตอะไร เอาไปเข้าโรงงานอุตสาหกรรมอย่างไร มีตลาดไหน รองรับ สามารถจะให้ข้อมูลกับเกษตรกรได้ว่าควร เพิม่ ลดก�าลังผลิตส่วนไหนก่อนที่เขาจะลงทุน สอง คือ ต้องค�านวณต้นทุนพืชผลอย่างจริงจัง ข้าวนาปี ต้นทุนเกวียนละเท่าไหร่ ยางพาราที่เป็นยางแผ่น ยางแผ่นดิบต้นทุนเท่าไหร่ มันส�าปะหลังต้นทุนกิโลละ เท่าไหร่ วั น นี้ มั น ค� า นวณได้ แ ล้ ว ตั ว เลขอย่ า งนี้ มันเป็นคณิตศาสตร์ ทีนพี้ อคุณประกาศราคาได้แล้ว คุณก็ต้องประกาศ ‘ราคาเป้าหมาย’ รัฐบาลต้อง กล้าหาญทีจ่ ะประกาศว่า รัฐบาลมีเป้าหมายจะผลักดัน ให้ราคาพืชผลการเกษตรไปถึงเท่าไหร่ และรัฐบาล ก็ตอ้ งใช้มาตรการนะครับว่าจะท�าอย่างไร ทีนถี้ า้ สมมติ ว่ า รั ฐ บาลท� า ทุ ก อย่ า งแล้ ว ไม่ ไ ด้ รั ฐ บาลก็ แ สดง ความรับผิดชอบได้นะครับว่าเมื่อเกษตรกรผลิตได้ เท่านี้ด้วยต้นทุนเท่านี้ รัฐบาลพยายามให้ขายได้ เท่านี้ แต่ปรากฏว่าท�าไม่ได้ รัฐบาลก็เติมส่วนที่ขาด แต่ไม่ใช่ประกันรายได้นะ “ตอนที่ ผ มท� า ให้ ย างพาราขายได้ กิ โ ลละ 170-180 นี่ ชาวสวนยางเปลี่ยนจากหลังคาสังกะสี เป็นหลังคากระเบื้อง ซื้อรถมอเตอร์ไซค์ ซื้อทีวีใหม่ บางคนก็ซอื้ รถปิก๊ อัพใหม่ การค้าการขายดี เศรษฐกิจ ข้ า งหน้ า จะดีเ ลย พรรครวมพลัง ประชาชาติไทย ก� า หนดว่ า เราจะต้ อ งน� า เอาศาสตร์ พ ระราชา เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาด� า เนิ น การ ท� า โครงการ เศรษฐกิจพอเพียงกันอย่างจริงจัง เพือ่ ทีจ่ ะช่วยเหลือ คนเหล่านีใ้ ห้เขามีชวี ติ ทีพ่ อเพียงได้ ถึงวันนีผ้ มคิดว่า เราต้องมาพูดความจริงกันแล้วว่า คนครอบครัวหนึ่ง ควรจะมีรายได้เท่าไหร่ เขาถึงจะมีชีวิตอยู่ได้อย่าง สมศักดิ์ศรี พอเพียงที่เป็นมนุษย์”
“ในหนังสือ How Democracy Dies เขาบอกว่า ประชาธิปไตยในโลกเสื่อมลง เพราะมีคนที่ไม่ได้ เลื่อมใสประชาธิปไตย แต่ใช้ประชาธิปไตยเป็นทาง เข้ามาสู่อ�านาจ เช่น ฮิตเลอร์ หรือที่เกิดกับประเทศ เปรู เวเนซุเอลา ประชาธิปไตยตายได้ 2 แบบ คือ ตาย ด้วยปืนแบบทีบ่ า้ นเราเพิง่ ตายไป และด้วย autocrats หรือเผด็จการที่แอบเข้ามา ต้องพยายามระวังตรงนี้ การดู เ ผด็ จ การก็ มี เ ช็ ก ลิ ส ต์ อ ยู ่ สั ก 3-4 ข้ อ เช่ น สนับสนุนการเปลีย่ นแปลงการปกครองโดยใช้อา� นาจ คล้ายการปฏิวัติ รัฐประหาร การใช้กฎหมายรังแก ผูอ้ นื่ การด่าคนอืน่ ว่าเป็นคนชัว่ การไม่รบั ฟังความเห็น ปิ ด กั้ น เสรี ภ าพการท� า สื่ อ พวกนี้ เ ป็ น บั น ทึ ก ของ คนที่ไม่ได้มีจิตวิญญาณเป็นประชาธิปไตย “ประชาชนควรต้องให้ความรู้เขา แต่สดุ ท้าย ก็พดู ยาก ระบบประชาธิปไตยไม่สามารถห้ามไม่ให้ใคร มาสมัครได้ ถึงแม้เขาจะเป็นเผด็จการ เพราะทุกคน มีสิทธิ์เท่ากัน เป็นหน้าที่ของผู้ลงคะแนนเสียงที่ต้อง ศึ ก ษาประวั ติ ใ ห้ ดี และท� า ให้ ดี ที่ สุ ด ใครที่ ไ ม่ ไ ด้ เลื่อมใสในประชาธิปไตยก็จะเห็นบันทึกที่ผ่านมาอยู่ หมายถึงว่าคนทีเ่ ข้ามาสูป่ ระชาธิปไตยด้วยการเลือกตัง้ ไม่ได้ยืนยันว่าคุณเป็นนักประชาธิปไตย เพราะการเลื อ กตั้ ง เป็ น เพี ย งขั้ น ตอนหนึ่ ง ของกระบวนการ ทั้งหมด “มีค นถามผมว่ า สิ่ง ที่พ รรคเคยท� า มัน เป็ น เผด็จการหรือเปล่า แต่ผมคิดว่าสิง่ ทีพ่ รรคท�ามาตลอด คือกระบวนการทางประชาธิปไตย เราไม่เคยเอาอาวุธ ออกไปยึดอ�านาจ เอากฎหมายไปเข่นฆ่าใคร หรือ เซ็นเซอร์ใครด้วยการจับติดคุก”
“ประชาธิปไตยอาจจะเป็นการปกครองที่แย่ น้อยที่สุด มันช่วยบาลานซ์กับระบบทุนนิยมได้บ้าง ก็คือคนไหนมีทุนเยอะก็จะมีพลังที่เข้มแข็ง อย่าง พ.ศ. 2561 ก�าไรตลาดหลักทรัพย์คอื 1 ล้านล้านบาท แต่ท�าไมมันไม่ได้กระจายลงไปสู่ตลาด ผมว่าพอเรา มีตัวแทนของแต่ละกลุ่มเข้าไปอยู่ในรัฐบาลจะดูแล คนได้ทั่วถึงขึ้น ถ้าไม่ดูแลเขา ในอนาคตเขาก็เลือก คนอื่นมาดูแลแทน มันก็เป็นตัวที่อาจจะบาลานซ์ อาจจะไม่ขนาดท�าให้ประเทศร�่ารวยขึ้น แต่ท�าให้มี ความยุติธรรมมากขึ้น แต่มันคงไม่เกิดขึ้นในพริบตา หรอกนะ มันต้องใช้เวลาเหมือนกัน “การกระจายอ�านาจสู่ท้องถิ่น ผมว่าเรามี ระบบราชการทีใ่ หญ่โตและรวมศูนย์มากมายมาอย่าง ยาวนาน ซึ่งระบบนี้อาจจะเหมาะกับสมัยก่อนที่ การตั ด สิ น ใจมาจากผู ้ มี ค วามรู ้ จ ากส่ ว นกลาง มีขั้นตอนในการสั่งงาน การท�าตามค�าสั่ง ระเบียบ อย่ า งเคร่ ง ครัด ยิ่ง ทางการเมือ งไม่ มีเ สถีย รภาพ มี ก ารปฏิ วั ติ รั ฐ ประหารบ่ อ ยครั้ ง ยิ่ ง ท� า ให้ ร ะบบ ราชการเข้มแข็งขึ้น เพราะเป็นกลุ่มที่ท�างานอย่าง ต่อเนื่อง ขณะที่ฝ่ายการเมืองเปลี่ยนบ่อยและต้อง พึง่ ราชการ ต่อไประบบราชการมีความจ�าเป็นแต่ตอ้ ง ปรับตัวให้มีประสิทธิภาพและทันสมัยมากขึ้น “ปั ญ หาความเหลื่ อ มล�้ า เป็ น ปั ญ หาเชิ ง โครงสร้าง แต่วา่ มันอาจจะมาเร่งในช่วงนีเ้ พราะเมือ่ ก่อน ความเหลือ่ มล�า้ อาจจะเกิดจากว่าใครมีทดี่ นิ แรงงาน ทรัพย์สมบัติเยอะกว่า แต่ในปัจจุบันสิ่งส�าคัญคือ เทคโนโลยีทที่ า� ให้ความเหลือ่ มล�า้ รุนแรงขึน้ ใครเข้าถึง เทคโนโลยี จ ะสามารถมี สิ น ทรั พ ย์ เ ยอะ เราต้ อ ง ปรับเปลีย่ นโครงสร้างหรือให้ความรู้คนว่าจริงๆ แล้ว มั น มี เ ทคโนโลยี ที่ คุ ณ หาเงิ น ได้ ถ้ า คุ ณ รู ้ ขั้ น ตอน คุณสามารถจะสร้างรายได้ได้ ก็เป็นตัวหนึ่งที่ต้อง เอามาช่วยลดความเหลื่อมล�้า หัวใจของอนาคตคือ คุณต้องอยู่ร่วมกับมันให้ได้ คุณต้องเอา AI มาเป็น IA คือ Intelligent Assistance คือเอา AI มาเป็น ผูช้ ว่ ยเหลือทีช่ าญฉลาดของเรา หัวใจของประเทศไทย คือ SME มากกว่า คือส่งเสริม SME ทีม่ อี ยู่ 3 ล้านราย ให้เข้มแข็งขึ้น “ปัญ หาเรื่องกฎหมาย เช่น รัฐ ธรรมนู ญ มรดกจาก คสช. ที่ต้องแก้ไข สิ่งแรกไม่ใช่เรื่องของ ทางสภา แต่ต้องให้ประชาชนมาเป็นแนวร่วมกับเรา ก่อน เพราะการแก้รัฐธรรมนูญครั้งนี้มันยากมาก ไม่มีทางเลยที่เราจะขับเคลื่อนเองได้ ต้องขับเคลื่อน จากประชาชนเป็นหลัก ตรงนี้ต้องเอาภาคประชาชน เข้ามาร่วม ชี้ให้เห็นปัญหา ผมว่ามันจะเดินไปได้
เรือ ่ ง : อรพิณ ยิง ่ ยงพัฒนา ภาพ : สรรพัชญ์ วัฒนสิงห์
เรือ ่ ง : ฆนาธร ขาวสนิท ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี
13 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
พรรคอนาคตใหม่
ธนาธร จึงรุง่ เรืองกิจ ธนาธร จึงรุง่ เรืองกิจ แห่งพรรคอนาคตใหม่ อาจเป็นแค่นก ั ธุรกิจหนุม ่ ผูป ้ ระสบความส�าเร็จ แน่นอนว่าเขาสนใจเรือ ่ ง การเมืองเป็นทุนเดิมตัง้ แต่สมัยเป็นนักศึกษา 4 ปีภายใต้สภาวะอึดอัดคับข้อง ก็มากเพียงพอแล้วทีจ ่ ะท�าให้เขาตัดสินใจเริม ่ ต้น ท�าพรรคการเมืองอย่างจริงจัง โดยหวังว่าจะกลายเป็นส่วนหนึง่ ของการเปลีย ่ นแปลงโครงสร้างของประเทศ
ดีขึ้น แต่ถ้าท�าให้เป็นเรื่องการเมืองจะล�าบาก “ปัญหาการศึกษา ที่ผ่านมาเราสอนให้เด็ก ท่องจ�ากันมากเกินไป ซึ่งคงตอบโจทย์กับเศรษฐกิจ แบบเก่า คือให้เด็กไปเป็นคนงานในโรงงาน หรือ ท�างานราชการที่มีกฎระเบียบชัดเจน ซึ่งการศึกษา แบบนี้ท�าให้ไม่มีความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ดั ง นั้ น เราจึ ง อยู ่ ใ นโลกของเศรษฐกิ จ ใหม่ ไ ม่ ไ ด้ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่จะอยู่ ด้ ว ยนวัตกรรม และ ความคิดสร้างสรรค์ การศึกษาก็เป็นส่วนหนึ่งของ ปัญหา สมมติเราให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์นอกเหนือ จากการเรียนวิชา เขาก็จะสามารถสร้างคุณค่า มีอสิ ระ ในการพูดในการคิดได้ ต้องลดขั้นตอน กฎระเบียบ และกระจายอ�านาจให้มากขึ้น”
“ประชาชนควรต้อง ให้ความรูเ้ ขา แต่สด ุ ท้ายก็ พูดยาก ระบบประชาธิปไตย ไม่สามารถห้ามไม่ให้ใคร มาสมัครได้ ถึงแม้เขาจะ เป็นเผด็จการ เพราะทุกคน มีสท ิ ธิเ์ ท่ากัน เป็นหน้าที่ ของผูล ้ งคะแนนเสียง ทีต ่ อ ้ งศึกษาประวัตใิ ห้ดี และท�าให้ดท ี ส ี่ ด ุ ”
Political Standpoint
Policy Statement
“ผมอยากจะให้การเลือกตัง้ ครัง้ นีเ้ ป็นก้าวแรก ของการยุติวงจรอุบาทว์แห่งการท� ารัฐประหารใน ประเทศให้ได้ เป็นเพียงก้าวแรกเท่านั้น ไม่ได้บอกว่า จะท�าส�าเร็จ เพราะต้องต่อสูท้ างความคิดอีกหลายยก แต่ผมคิดว่าการเลือกตั้งครั้งนี้จะเป็นการเปิดประตู ให้กบั ความเป็นไปได้ ภารกิจอันดับแรกในการเลือกตัง้ ครั้ ง นี้ ที่ จ ะท�า ให้ ค วามฝั น ส�า เร็ จ คื อ การหยุ ด ยั้ ง การสืบทอดอ�านาจของ คสช. หยุดยั้งการสืบทอด อ�านาจของทหาร ถ้าเขาสืบทอดอ�านาจได้ คุณจะต้อง อยู่กับเขาไปอีก 8 ปี 5 ปียังขนาดนี้ ถ้าอยู่อีก 8 ปี เจ๊งทั้งประเทศแน่ๆ แต่ถ้าเราหยุดยั้งการสืบทอด อ�านาจของ คสช. ในการเลือกตั้งครั้งนี้ได้ ก็มีโอกาส ที่จะเปลี่ยนแปลงเป็นไปได้ นี่คือประตูหรือบันได ก้าวแรกที่มีความส�าคัญ “มีคนกลุ่มหนึ่งพยายามพูดเสมอว่า คนไทย ไม่เหมาะกับประชาธิปไตย ไม่พร้อมกับประชาธิปไตย หรือไม่กค็ นไทยโง่ทา� ให้ประชาธิปไตยทีด่ เี กิดขึน้ ไม่ได้ วาทกรรมพวกนี้ ค�าหลอกลวงต่างๆ เหล่านี้ ท�าให้คน ไม่อยากยุ่งกับอ�านาจ เมื่อคนไม่อยากยุ่งกับอ�านาจ อ� า นาจก็ ไ ปอยู ่ ใ นมื อ คนส่ ว นน้ อ ยของสั ง คมที่ ไ ด้ ประโยชน์จากการใช้อ�านาจนั้น และเขาก็พูดกับคน ส่วนใหญ่เพื่อที่คนส่วนใหญ่ จะได้ไม่ไปยุ่งกับอ�านาจ เพราะถ้าคนส่วนใหญ่ยุ่งกับอ�านาจเมื่อไหร่ ก็คือ การเอาอ�านาจจากคนส่วนน้อยลงมา แล้วท�าให้ สถานะเขาสั่นคลอน “ดังนั้น คนส่วนน้อยที่ถืออ�านาจอยู่ต้องใช้ ค� า พู ด แบบนี้ ต้ อ งใช้ นิ ท านหลอกลวงเราแบบนี้ เจอนิทานแบบนีต้ งั้ แต่ในหนังสือเรียนนะครับ โตขึน้ มา ในสังคมก็เจอเรือ่ ยๆ นีค่ อื นิทานทีห่ ลอกลวงคนส่วนใหญ่ ให้เกลียดกลัวการเมือง ไม่กล้าเข้าไปยุ่งกับการเมือง เมื่อเป็นแบบนั้นอ�านาจก็อยู่ที่เขา เพราะเราไม่เข้าไป แย่งชิงอ�านาจที่เป็นของเรามา นี่คือภาวการณ์ที่ผม เรียกว่า การยอมจ�านน แต่ถา้ คนไทยทุกคนเชือ่ ว่าเรา มีอ�านาจเท่ากัน มีศักดิ์ สิทธิ์ และศรีเท่ากัน เรามี ความชอบธรรมเต็ ม ที่ ที่ จ ะเอาอ� า นาจที่ เ ขาถื อ อยู ่ กลับคืนมาเป็นของพวกเราทุกคนได้”
“เราเห็นการเมืองในรอบ 13 ปีทผี่ า่ นมา เกิด รัฐประหาร 2 ครั้ง นายกรัฐมนตรี 7 คน รัฐธรรมนูญ อีก 5 ฉบับ การชุมนุมที่นา� มาซึ่งความบาดเจ็บและ การล้มตายของผู้คนที่เรียกร้องสิทธิและเสรีภาพอีก หลายครั้ง นี่คือสังคมที่เราบอกว่า ‘พอได้แล้ว... มันถึงเวลาที่จะต้องเปลี่ยนแปลง’ เพราะถ้าเรา ไม่เปลีย่ นแปลง ถ้าเราอยูอ่ ย่างนีต้ อ่ ไป ลูกหลานเรา จะล�าบาก เพราะเราต้องไม่ลืมว่า ในช่วง 10 กว่าปี ที่ผ่านมา ในขณะที่ความขัดแย้งในสังคมของเรา ด�ารงอยู่สูงมาก ประเทศเราเจริญเติบโตช้ากว่า เพื่อ นบ้ า น ครั้ง หนึ่ง เราเคยแข่ ง ขัน กับ เกาหลีใ ต้ ครั้งหนึ่งเราเคยแข่งขันกับไต้หวัน ครั้งหนึ่งเราเคย แข่งขันกับมาเลเซีย วันนี้ไม่ต้องบอกก็รู้ว่าเกาหลีใต้ แซงหน้ า เราไปไกลแล้ ว รายได้ ต ่ อ หั ว ต่ อ ปี ข อง เกาหลีใต้มากกว่าเรา 5 เท่า ไต้หวันและมาเลเซีย ก็แซงหน้าเราไปแล้ว ถ้ายังเดินหน้าอย่างนี้ต่อไป แม้แต่เวียดนามหรือ อินโดนีเซีย เราก็แพ้เขา “การแก้โครงสร้างเชิงอ�านาจ โครงสร้างทีผ่ ม พูดคือทุนผูกขาด ระบบราชการรวมศูนย์ วังวนของ การท�ารัฐประหารทีซ่ า�้ ซาก ถ้าคุณไม่จดั การโครงสร้างนี้ อย่าไปพูดถึงเลยครับ การแก้ไขปัญหาเชิงประเด็น เพราะมันแก้ไม่ได้ ถ้าเกิดมันแก้ได้ประเทศของเรา พัฒนาไปนานแล้ว ทั้งหมดนี้คือโครงสร้างที่ส�าคัญ ถ้าคุณละเลยเรื่องพวกนี้ และคิดแต่จะแก้ปัญหา ความยากจน แก้ปญ ั หาการคมนาคม มันไม่สามารถ ท� า ได้ เราเห็ น ได้ ชั ด เจนว่ า บริ ษั ท ที่ อ ยู ่ ใ นตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยปีที่แล้วกับปีนี้ เติบโต 13% แต่ถ้าคุณไปดูชาวบ้าน พ่อค้า-แม่ค้าในตลาด ผมเดินทางไป 70 จังหวัดทั่วประเทศไทย ไปคุยกับ พวกเขา ทุกจังหวัดพูดเป็นเสียงเดียวกันหมดว่า ยอดขายลดลง 50% รายได้ลดลง 50% บางร้าน ลดลงถึง 60-70% จากเดิมอาจจะขายได้ 100 บาท วันนี้ลดลงเหลือวันละ 20-40 บาท ขณะที่บริษัท ใหญ่ๆ ในประเทศร�่ารวยขึ้น ก�าไรมากขึ้น 10 กว่า เปอร์เซ็นต์ อ�านาจทีร่ วมศูนย์ยอ่ มท�าให้การกระจาย ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ รวมศูนย์ไปด้วย “ถามว่าท�าไมพรรคอนาคตใหม่จะท� าสิ่ง เหล่านี้ส�าเร็จ หนึ่ง เราเป็นพวกคุณ ไม่ใช่พวกเขา เราไม่เคยอยู่ในระบบอุปถัมภ์แบบนี้ เราถึงกล้าท�า เพราะเราไม่ได้อยู่ในกลุ่มผลประโยชน์แบบนี้ ถ้าเรา เป็นหนึ่งในพวกเขา เราจะทุบหม้อข้าวตัวเองท�าไม แต่เราไม่ใช่ ผู้สมัคร ส.ส. ทั้ง 350 เขต เป็นคนใหม่ ทั้งหมด ไม่มีใครเป็นหนึ่งในพวกเขา เพราะเราเป็น พวกเราเราจึงกล้าท�า สอง เราตั้งใจมากกว่า เรามี
เรือ ่ ง : ปริญญา ก้อนรัมย์ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกต ิ ติบต ุ ร
เจตจ�านงทางการเมืองทีม่ ากกว่าในหลายเรือ่ ง ท�าไม ธนาคารทุกธนาคารในประเทศไทยต้องมีสา� นักงานใหญ่ อยู ่ ที่ ก รุ ง เทพฯ ท� า ไมเราไม่ มี ธ นาคารเชี ย งใหม่ ไม่มีธนาคารอุดรธานี ไม่มีธนาคารที่ตรัง การออก ใบอนุญาตธนาคารใบใหม่ไม่ได้เป็นเรื่องยากเลย แต่ไม่มีคนท�า ไม่มีคนที่กระจายอ�านาจ กระจาย โอกาสให้กับแหล่งทุนที่ต่างจังหวัด”
“การแก้โครงสร้างเชิง อ�านาจ โครงสร้างทีผ ่ มพูด คือทุนผูกขาด ระบบ ราชการรวมศูนย์ วังวน ของการท�ารัฐประหาร ทีซ ่ า�้ ซาก ถ้าคุณไม่จด ั การ โครงสร้างนี้ อย่าไปพูดถึง เลยครับ การแก้ไขปัญหา เชิงประเด็น เพราะมัน แก้ไม่ได้ ถ้าเกิดมันแก้ได้ ประเทศของเราพัฒนา ไปนานแล้ว”
14 ISSUE 582 18 MAR 2019
พรรคประชาธิปต ั ย์
พรรคสามัญชน
เลิศศักดิ์ ค�าคงศักดิ์
อภิสท ิ ธิ์ เวชชาชีวะ
เลิศศักดิ์ ค�าคงศักดิ์ หัวหน้าพรรคสามัญชน เป็นนักกิจกรรมทางสังคมด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม พรรคสามัญชนเกิดจากการรวบรวม นักกิจกรรมทางการเมือง เอ็นจีโอ และเยาวชน เพือ ่ ต่อสูแ ้ ละเคลือ ่ นไหวด้าน ความเหลือ ่ มล�า้ สิง่ แวดล้อม และความยัง่ ยืน พวกเขาเข้าสูส ่ นามทางการเมืองที่ ดุดน ั เพือ ่ อย่างน้อยคนสามัญธรรมดาจะได้มพ ี น ื้ ทีท ่ างการเมืองกับเขาบ้างสักที
อภิสท ิ ธิ์ เวชชาชีวะ ปฏิเสธไม่ได้วา่ เขาคือหนึง่ ในตัวละครส�าคัญทีโ่ ลดแล่นอยูใ่ น ภูมท ิ ศ ั น์การเมืองมาตัง้ แต่ปี 2535 -- จากหนุม ่ น้อยนักการเมืองรุน ่ ใหม่ กลายเป็น นักการเมืองหน้าเก่ามากประสบการณ์ และ 5 ปีทผ ี่ า่ นมา เขาก็ยน ื ยันว่ายังคง ท�างาน และประสบการณ์กม ็ ากขึน ้ ในการหวนกลับมาสูก ่ ารเลือกตัง้ ครัง้ นี้
Political Standpoint
Policy Statement
Political Standpoint
Policy Statement
“ถ้าย้อนไปถึงช่วงรัฐประหารปี 49 คนท�างาน ในภาคประชาชนมีความขัดแย้งกันสูงมาก เพราะมี กลุ ่ ม คนในพวกเราเข้ า ไปสนั บ สนุ น รั ฐ ประหาร ปัญหาคือ สิ่งที่เอ็นจีโอท�าเพื่อสนับสนุนรัฐประหาร โดยเฉพาะในปี 57 มันไม่ได้เป็นการล้มประชาธิปไตย ในรัฐสภาอย่างเดียว แต่มันล้มประชาธิปไตยที่อยู่ นอกสภาด้วย เพราะ คสช. ออกกฎหมายและค�าสั่ง มากมายที่ท�าให้อ�านาจประชาธิปไตยบนท้องถนน อ่อนแอ ไม่ว่าจะเป็นกฎหมายห้ามชุมนุมเกิน 5 คน ขึ้ น ไป ลิ ด รอนช่ อ งทางของสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ ของประชาชน เช่น การยื่นหนังสือ ยื่นจดหมาย การร้องเรียน “นี่คือความเสียหายและความอดสูอย่างยิ่ง ที่ เ กิ ด จากการคิ ด ไม่ ค รบถ้ ว น คิ ด อย่ า งมั ก ง่ า ย การสนใจแต่การต่อท่ออ�านาจ ไม่สนใจในแง่ของ การสร้างพลังประชาชนให้เข้มแข็ง แต่ไปล็อบบี้และ สร้างความสัมพันธ์กับผู้มีอา� นาจ และหวังว่าเขาจะ ช่วยเราได้ มันน�ามาซึง่ ความอ่อนแอของภาคประชาชน อาวุธของประชาชนไม่ใช่ปนื หรือรถถัง แต่เป็นสองมือ สองเท้ า ของเราที่ จ ะต้ อ งกู ่ ร ้ อ ง กดดัน เรี ย กร้ อ ง นี่คือสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานที่รัฐธรรมนูญก็รับรอง เราเป็นคนสามัญธรรมดา จะมีอา� นาจต่อรองกับรัฐได้ ก็ด้วยสิ่งนี้ แต่สิ่งที่ คสช. ท�าคือเขาท�าลายสิทธินี้ ไปหมด มันน่าเจ็บปวดและรุนแรงมาก เราโดนยึด อาวุธที่ส�าคัญที่สุดไป “อย่างน้อยเราก็พยายามจะบอกว่า อย่า ท�าลายการเลือกตัง้ นี้ ประชาธิปไตยแบบการเลือกตัง้ มี ค วามส� า คั ญ มาก ถึ ง แม้ เ ราจะเห็ น ว่ า ตั ว เองมี ความเสียเปรียบอยู่ก็ตาม อย่างพรรคสามัญชนเอง อาจจะได้ ส.ส. สัก 1-2 คน แต่มันจะไปเทียบกับคน 400 คน ได้อย่างไร การเข้าไปในสภาแค่ 1-2 คนของเรา อาจจะไม่มีความหมายเลยก็ได้ แต่เราอยากจะบอก ว่า อย่างน้อยการเลือกตั้งนี้ ถ้าคุณคิดว่าอยากแชร์ อ�านาจกับรัฐก็มาตั้งพรรคการเมือง เพราะมันท�าให้ คนไทย 70 ล้านคน สามารถเข้าถึงการเมืองมากกว่า การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ด้วยการมาตั้งพรรค ของตัวเองให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้”
“จากประสบการณ์การต่อสูข้ องภาคประชาชน นอกจากจะท� า งานนอกสภาด้ ว ยการขั บ เคลื่ อ น เรียกร้อง กดดัน แก้ไขปัญหา เพื่อเจรจาต่อรองกับ ผู้มีอ�านาจแล้ว เราน่าจะเอาตัวเองเข้าไปอยู่ในสภา เพื่อเวลาต้องการเสนอข้อกฎหมายอาจจะท�าให้มัน ไม่ถูกแก้เนื้อหาจนเกินควร ซึ่งถ้าท�าได้เราจะได้มี ประชาธิปไตยทั้งสองส่วน คือประชาธิปไตยที่อยู่ใน สภา และประชาธิปไตยข้างนอกที่ท�าอยู่แล้ว เพื่อมี ช่องทางต่อรองได้มากขึ้น และหวังให้อ�านาจทาง การเมื อ งที่ มั น วนเวี ย นอยู ่ ใ นคนกลุ ่ ม เดิ ม ๆ เช่ น ชนชัน้ น�า ได้แบ่งปันและมีพนื้ ทีใ่ ห้คนอย่างพวกเราบ้าง มันก็คล้ายวรรคทองที่เขาพูดกันว่า ‘ชนชั้นใดเขียน กฎหมาย ก็แน่ไซร้เพื่อชนชั้นนั้น’ ซึ่งเรารู้สึกว่าชนชั้น สามัญชนอย่างพวกเราก็น่าจะทดลองและเข้าไป มีส่วนร่วมในอ�านาจนั้นมากขึ้น “นโยบายของพรรคสามัญชนท�าหน้าที่ 2 ส่วน ส่วนหนึง่ คือพยายามผลักดันให้มี ส.ส. เข้าไปในสภา ให้มากที่สุด อีกส่วนท�าหน้าที่แทรกแซงความคิด ของคน ผมคิดว่า ถึงแม้วา่ จะไม่มี ส.ส. เข้าไปในสภา แต่พรรคก็ยังท�าหน้าที่ส่วนที่สองได้อยู่ เราเชื่อว่า นโยบายของเราสร้างผลประโยชน์ระยะยาว ถ้าประชาชน ตอบรับความคิดของเรา ก็จะท�าให้เขาตั้งค�าถามต่อ โครงสร้างของการเมืองและสังคม “ผมว่าชาวบ้านตื่นตัวกับการเมืองมากกว่า พวกเอ็นจีโออย่ า งผมอีก ยกตัวอย่ า งเหมือ งทอง ที่จังหวัดเลย หรือเหมืองอื่นๆ ที่ผมเข้าไปท� างาน ชาวบ้านรู้ว่าอ�านาจในการอนุมัติท�าเหมืองมีทั้งส่วน ท้องถิน่ และส่วนกลาง เขาจึงเข้าไปเป็นสมาชิก อบต. เพื่อได้อ�านาจทางการเมืองมา เข้าไปยกมือเห็นต่าง แต่ทผี่ า่ นมาเอ็นจีโอเองนีแ่ หละทีเ่ ข้าไปกีดกันชาวบ้าน ไม่ให้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการเมือง ซึ่งอาจเป็นการคิด วิเคราะห์ของเอ็นจีโอที่ยังไม่ครบถ้วน “พรรคสามัญชนไม่ได้มง่ ุ นโยบายเรือ่ งการพัฒนา ประเทศด้านเศรษฐกิจเป็นหลัก แต่เราพยายามลด ความเหลื่อมล�้า ซึ่งมันยากและเห็นผลช้า ประชาชน อยากเห็นอะไรที่ง่ายกว่านั้น เขาสนใจตัวเลข แม้จะ รูว้ า่ ตัวเองโดนกระท�า โดนฉกชิงความมัง่ คัง่ ของสังคม ไปขนาดไหนก็ตาม ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่มาก ปัจจุบัน ถ้ า มองในสเกลโลก คน 1% ถื อ ครองทรั พ ย์ สิ น มหาศาล มากกว่าคนอีก 99% ทีเ่ หลือ เรารูส้ กึ ว่านีเ่ ป็น ปั ญ หาที่ รุ น แรง เราไม่ ไ ด้ ม องว่ า พรรคสามั ญ ชน ต้ อ งการเป็ น ฐานเสี ย งของคนชนบทโดยไม่ ส นใจ คนเมื อ ง แต่ เ ราคิ ด ว่ า ปั ญ หาความเหลื่ อ มล�้ า เป็นปัญหาที่ส�าคัญกว่า”
“หนึง่ เผด็จการ สอง โกง และสาม อุดมการณ์ ในการบริหารประเทศไม่สอดคล้องกับความเชื่อเรา “ประชาธิปตั ย์อยูม่ า 70 กว่าปี เพราะหลายๆ สถานการณ์ เราตัดสินใจชัดเจนว่าไม่เหมาะสมที่จะ เป็นรัฐบาล ประชาธิปัตย์ก็เคยเป็นรัฐบาล และได้ ตัดสินใจถอนตัวสมัยรัฐบาลนายกฯ ชาติชาย ถามว่า อยากเป็นรัฐบาลไหม อยากเป็นเพือ่ ผลักดันนโยบาย แนวคิ ด เรา แต่ ถ ้ า เป็ น แล้ ว ท�า ไม่ ไ ด้ ก็ ไ ม่ ค วรเป็ น ไม่ได้ดิ้นรนว่าจะต้องมีต�าแหน่งในรัฐบาล “มีการวิเคราะห์กันว่าระบบการเลือกตั้งนี้ ออกแบบมาเพื่อให้มีพรรคขนาดกลาง ขนาดเล็ก ก็ถ้าประชาชนเลือกให้เด็ดขาดมันก็จะมีพรรคใหญ่ เพราะฉะนั้น อย่าไปมองว่ากติกาถูกออกแบบมา เพื่อพยายามบังคับให้เดินไปทางไหนแล้วต้องไป จ�านนกับมัน แม้กระทัง่ การทีว่ ฒ ุ สิ ภา 250 คน จะมีสทิ ธิ์ มาเลือกนายกฯ ผมก็ยืนยันว่าถ้าประชาชนแสดง เจตนาของตัวเองชัด ถ้าจะฝืนความต้องการของ ประชาชน วุฒิสมาชิกก็ต้องคิดหนักเหมือนกัน “อ�านาจของประชาชนมีมากนะครับ อย่าไป ประมาท เราก็เห็นว่าบางทีแม้แต่ผู้มีอ�านาจในทาง การเมืองอยากจะท�าอย่างนั้นอย่างนี้ แต่เวลาเจอ เสี ย งดั ง ๆ เขาก็ ต ้ อ งหยุ ด ชะงั ก อยู ่ เ หมื อ นกั น เพราะฉะนัน้ จะบอกว่ามีเต็มทีก่ ค็ งไม่ได้เพราะกติกา แต่ ถ ามว่ า ถ้ า ใช้ เ ต็ ม ที่ แ ล้ ว มี ผ ลไหม ผมว่ า มี ผ ล ถ้ า เป็ น การเลื อ กตั้ ง ที่ สุ จ ริ ต แล้ ว ประชาชนเลื อ ก ฝ่ายเผด็จการเข้ามา เราก็ยอมรับผลครับ ไม่มปี ญ ั หา เพราะว่าที่ผ่านมาในการเลือกตั้งหลายครั้ง พรรค ประชาธิปัตย์ก็แพ้บ้าง ชนะบ้าง เราก็ยอมรับผล การเลือกตั้งเสมอ เราต้องก�าหนดบทบาทตัวเอง ซึ่งประชาธิปัตย์เป็นพรรคการเมืองเดียวที่ไม่เคย มีปัญหากับการเป็นฝ่ายค้าน”
“ปัญหาต่างๆ ไม่ใช่แค่ปัญหาเฉพาะหน้า ที่ เ ราต้ อ งพู ด กั น วั น นี้ ป ระเทศไทยมี ป ั ญ หาเชิ ง โครงสร้างเยอะมาก ไม่ว่าจะเป็นความเหลื่อมล�้ า สังคมสูงวัย เหมือนกับประเทศอื่นที่ถูกเทคโนโลยี เข้ า มาเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว ผมถึ ง บอกว่ า เราอย่ า คิ ด ว่ า มั น มี แ ค่ ป ระเด็ น ใดประเด็ น เดี ย ว เราอยากให้ 24 มีนาคม เป็นโอกาสของคนไทยและ ประเทศไทย ไม่ใช่แค่เพื่อก้าวพ้นจากสภาพปัจจุบัน แต่สามารถวางรากฐานส�าหรับอนาคตได้ด้วย “เรื่องปากท้องนี่ชัดเจน เพราะฐานะทาง เศรษฐกิจ ของคนส่ว นใหญ่ใ นประเทศไม่ไ ด้ดีขึ้น คนจ� า นวนมากแย่ ล งด้ ว ยซ�้ า ซึ่ ง ไม่ น ่ า แปลกใจ เพราะว่าเศรษฐกิจในภาคเกษตรและชนบทได้รับ ผลกระทบมากใน 5 ปีที่ผ่านมา เราจะฟื้นก�าลังซื้อ ทันที เพราะมันคือสิ่งที่ท�าให้เศรษฐกิจไม่หมุนเวียน และต้ อ งเพิ่ ม ก� า ลั ง ซื้ อ ในลั ก ษณะที่ จ ะท� า ให้ มั น หมุนเวียนอยูใ่ นชุมชนและท้องถิน่ ได้ดว้ ย เราประสบ ความส�าเร็จกับการใช้นโยบายประกันรายได้พืชผล ทางการเกษตรมาแล้ว ข้าว ข้าวโพด มันส�าปะหลัง ท� า แล้ ว รั ฐ บาลก็ ไ ม่ ไ ด้ มี ห นี้ สิ น เยอะ ไม่ มี ทุ จ ริ ต ตลาดการค้าขายสินค้าพวกนี้ไม่ได้พังลง ขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าไม่ได้ตกลง เพราะ ฉะนั้น ตัวนี้กลับมาได้ทันที เป็นระบบที่เราริเริ่มไว้ เคยท� า แล้ ว และจะน� า กลั บ มาปรั บ ปรุ ง ได้ ทั น ที ขยายไปสู่พืชผลตัวอื่นๆ ด้วย “บัตรสวัสดิการแห่งรัฐหรือบัตรคนจน เราว่า มันถึงเวลาที่ต้องปล่อยให้เขาใช้จ่ายได้อย่างเสรี การบั ง คั บ ให้ ค นต้ อ งรู ด บั ต รในร้ า นค้ า ท� า ให้ เ งิ น ไปกระจุกอยูใ่ นร้านค้า แทนทีจ่ ะกระจายรายได้ไปยัง แม่ค้าในตลาดสด เจ้าของร้านก๋วยเตี๋ยว ข้าวแกง ร้านช�าเล็กๆ ซึ่งคนเหล่านั้นก็ไม่ใช่คนรวย “เรื่องกระจายอ�านาจ เราก็เป็นคนท�า อบต. ขึ้นมา เราเป็นคนให้เลือกผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรง เราผลักดันกฎหมายเลือกตัง้ ผูว้ า่ ฯ กรุงเทพมหานคร วันนี้เราก็บอกว่าถึงเวลาเลือกตั้งผู้ว่าฯ ทุกจังหวัด เราไปดูเมืองภาคธุรกิจ ภาคประชาชนอย่างขอนแก่น เขาอยากท�าอะไรเยอะแยะทีบ่ ริหารตัวเอง เช่น ขนส่ง มวลชน เราก็บอกว่าควรท�ารูปแบบการบริหารเมือง แบบพิ เ ศษขึ้ น มาได้ แ ล้ ว ส� า หรั บ จั ง หวั ด แบบนี้ แล้ว เราก็พู ด ไปถึงว่า ต่อ ไปนี้ก ารกระจายอ�า นาจ มันไม่ใช่แค่เรื่องท้องถิ่น ในความหมายของ อบต. อบจ. เทศบาล อย่างเดียว กระทรวงศึกษาธิการ ก็ควรจะให้อา� นาจไปอยูท่ โี่ รงเรียนได้แล้ว ความหมาย
เรือ ่ ง : พัทรมน วงศ์รต ั นะ ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์
เรือ ่ ง : ปริญญา ก้อนรัมย์ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกต ิ ติบต ุ ร
15 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
พรรคประชาชนปฏิรป ู
ไพบูลย์ นิตต ิ ะวัน ไพบูลย์ นิตต ิ ะวัน ผูก ้ อ ่ ตัง้ และหัวหน้าพรรคประชาชนปฏิรป ู มีนโยบายน้อมน�าหลักค�าสอนของพระพุทธเจ้ามาปฏิบต ั ิ เพือ ่ การท�างานด้านการเมือง เขาบอกกับเราอย่างภูมใิ จว่า เขาคือคนทีล ่ ม ้ นางสาวยิง่ ลักษณ์ และเป็นคนทีท ่ า� ให้พลเอกประยุทธ์ ได้เป็นหัวหน้า คสช. ในทีส ่ ด ุ รวมไปถึงได้ดา� รงต�าแหน่งทางการเมืองอืน ่ ๆ ซึง่ ล้วนแต่มบ ี ทบาทส�าคัญทัง้ สิน ้ เขายืนยันอีกครัง้ ว่า “ทุกอย่างผมจะต้องเป็นผูน ้ า� เพราะผมเป็นตัวของตัวเองสูง”
ของการกระจายอ�านาจ คือการท�าให้การตัดสินใจ ในการก�าหนดทิศทางและการบริหารไปอยู่ในระดับ ใกล้ ชิ ด กั บ ประชาชนหรื อ องค์ ก รนั้ น ให้ ม ากที่ สุ ด อย่างเทียบเคียงก็คือเรื่องของโรงเรียนก็ให้โรงเรียน ตัดสินใจ ไม่ใช่ให้คนทีก่ ระทรวงศึกษาธิการในกรุงเทพฯ ตัดสินใจให้เขา”
“บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ หรือบัตรคนจน เราว่ามัน ถึงเวลาทีต ่ อ ้ งปล่อยให้เขา ใช้จา่ ยได้อย่างเสรี การบังคับให้คนต้องรูดบัตร ในร้านค้าท�าให้เงินไปกระจุก อยูใ่ นร้านค้า แทนทีจ ่ ะ กระจายรายได้ไปยังแม่คา้ ในตลาดสด เจ้าของร้าน ก๋วยเตีย ๋ ว ข้าวแกง ร้านช�า เล็กๆ ซึง่ คนเหล่านัน ้ ก็ ไม่ใช่คนรวย”
Political Standpoint
Policy Statement
“การสนับสนุนพลเอกประยุทธ์เป็นความเห็น ส่วนตัวของผม เราเห็นแล้วว่าเขาเป็นคนดี มีความซื่อสัตย์สุจริตมากกว่าคนอื่น ดังนั้น หากต้องเลือก ใครสักคนมาเป็นนายกรัฐมนตรี เราต้องเลือกคนทีเ่ รา คิดว่ามีความเหมาะสมที่สุด แต่ถ้าหากสิ่งที่เลือก ท�าให้คนไม่ชอบเรา มันจะเป็นธรรมไหม เราก็มีสิทธิ์ จะชอบพลเอกประยุทธ์ การไม่ชอบกันด้วยเหตุผล ว่าคนหนึง่ ไปสนับสนุนสิง่ ทีต่ วั เองไม่ชอบถือเป็นมิจฉาทิฐิ เพราะมันเป็นสิทธิ์ของเขา เราว่าไม่ได้ สิ่งที่ส�าคัญ คือต้องปล่อยไปตามวิถขี องเขา ไม่วา่ ใครได้เป็นนายกฯ ผมก็ไม่มีปัญหา ส่วนพลเอกประยุทธ์ที่เราสนับสนุน ถ้าได้เป็นนายกฯ ก็ดี หรือไม่ได้เป็นก็ดี “ในการท�างานแต่ละขั้น ทุกอย่างผมจะต้อง เป็นผูน้ �า เพราะผมเป็นตัวของตัวเองสูง กลุม่ 40 ส.ว. นี้ ผมเป็นคนรวบรวมเพื่อนและขับเคลื่อนมันไปตาม อุดมการณ์ของเรา ดังนั้น เราก็ท� าหน้าที่ของเรา ตามมุมมองทีเ่ ห็นว่ามันถูกต้อง การไปร่วมเคลือ่ นไหว กับกลุ่ม กปปส. ผมไม่ได้ไปร่วมเฉยๆ ผมเป็นคน ไปช่ ว ยให้ ป ระชาชนกลั บ บ้ า น เพราะผมเป็ น คน ไปล้มรัฐบาลคุณยิ่งลักษณ์ ผมเป็นตัวหลักส�าคัญ ที่ท�าให้พลเอกประยุทธ์เป็นหัวหน้า คสช. คือถ้าเรา ไม่ล้มรัฐบาลคุณยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์ก็เข้ามา ยึดอ�านาจไม่ได้ “ดังนั้น ผมไม่ได้ไปติดค้างบุญคุณพลเอก ประยุทธ์ แต่พลเอกประยุทธ์ติดค้างผม แต่ในขณะ ที่ ท� า ผมมี ค วามรู ้ สึ ก เกลี ย ดคุ ณ ยิ่ ง ลั ก ษณ์ ไ หม ไม่มีเลย ไม่เกลียด ไม่โกรธ เราท�าแค่พอหยุดเขา เพื่อให้ประชาชนกลับบ้านได้ สิ่งเหล่านี้เป็นมุมมอง ในการท� า งานทุ ก ครั้ ง ครั้ ง ล่ า สุ ด กรณี พ รรค ไทยรั ก ษาชาติ เป็ น ประเด็ น ที่ ผ มต้ อ งไปยื่ น เรื่ อ ง ในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ เพราะว่าเป็นเรื่องที่ไม่ทา� ไม่ได้ และไม่มีใครท�าได้ ฉะนั้น เป็นหน้าที่ที่ผมต้องท�า”
“พรรคประชาชนปฏิรปู ค�าแรกคือ ประชาชน ก็ ชั ด เจนว่ า พรรคมี เ จตจ� า นงที่ จ ะเป็ น พรรคของ ประชาชน เพื่อประชาชน โดยประชาชน ส่วนค�าว่า ปฏิรูป คือประชาชนเป็นผู้ปฏิรูป ไม่ใช่การปฏิรูป ประชาชน ไม่ใช่ให้ข้าราชการมาปฏิรูป ต้องเป็น ประชาชนเท่านั้น เรื่องที่เราจะปฏิรูปมีหลักใหญ่ 3 เรือ่ ง คือ หนึง่ ปฏิรปู เพือ่ เพิม่ อ�านาจให้กบั ประชาชน ด้วยการให้มีสภาประชาชนปฏิรูปทุกจังหวัด มีสิทธิ์ มี เ สี ย งในการตรวจสอบเพื่ อ ถ่ ว งดุ ล อ� า นาจรั ฐ สอง ปฏิรปู กิจการพระพุทธศาสนา ปฏิรปู การจัดการ ทรั พ ย์ สิ น วั ด ส่ ง เสริ ม ให้ พุ ท ธศาสนิ ก ชนน้ อ มน� า ค�าสอนของพระพุทธเจ้ามาปฏิบัติ และสาม ปฏิรูป ให้มีการน�าบุคคลหรือแต่งตั้งบุคคลเข้าสู่ต�าแหน่ง ต่างๆ โดยระบบคุณธรรม ไม่ใช่ระบบอุปถัมภ์ “ดังนัน้ เรียกง่ายๆ ว่าเราเป็นพรรคฝ่ายคุณธรรม ยึดในความถูกต้อง เปิดเผย โปร่งใส ตรงไปตรงมา ถือเป็นการปฏิรูปพรรค ปฏิรูปการเมือง ส่วนกรณี พลเอกประยุทธ์จะเป็นนายกรัฐมนตรีหรือไม่ เป็นเรือ่ ง ของรัฐสภา อยู่ที่จ�านวนมือ ส.ส. และ ส.ว. จะยกมือ ให้ มันไม่ได้เกี่ยวข้องกับนโยบายการปฏิรูปของ พรรคเรา ดังนั้น มันเป็นคนละเรื่องกัน “ในฐานะที่ผมเป็นชาวนามานานพอสมควร เรื่องนี้ก็แล้วแต่คนจะคิด ผู้ที่ออกกฎหมายก็ต้องมา ทบทวน ศึกษาค�าวิพากษ์วจิ ารณ์ และรับฟังความคิดเห็น ให้ดกี อ่ นทีจ่ ะออกกฎหมาย จริงๆ กรณีนเี้ ป็นประเด็น เกี่ยวกับเมล็ดพันธุ์ ซึ่งมีความซับซ้อนอยู่หลายมิติ ถ้าเราไม่ควบคุมเลยจะมีปัญหาเรื่องพันธุกรรมข้าว การหลอกลวงเอาเมล็ดข้าวทีม่ กี ารปลอมปนเข้ามาสู่ ระบบการปลูกจะสร้างความเสียหายอย่างร้ายแรง ฉะนั้น ในส่วนนี้ต้องท�า “ขณะเดี ย วกั น ส่ ว นที่ ไ ปท� า ให้ ก ระทบกั บ กระบวนการปลูกพืชที่จะต้องพึ่งพิงบางเมล็ดพันธุ์ ซึง่ ก็อาจขยายไปถึงเมล็ดพันธุล์ กู ผสม หรือเมล็ดพันธุ์ ทีอ่ าจจะต้องให้บริษทั ผูผ้ ลิตผูกขาดกับธุรกิจขนาดใหญ่ ก็เป็นสิง่ ทีน่ า่ เป็นห่วง และต้องระวังว่าจะใช้วธิ กี ารใด ทีใ่ ห้ประสิทธิภาพการใช้เมล็ดพันธุไ์ ม่มกี ารปลอมปน หรือการได้ใช้เมล็ดพันธุ์ที่ดีโดยไม่ไปสร้างปัญหา ให้กับระบบการผลิตในนาข้าวทั้งระบบ และต้อง ไม่ไปกระทบท�าให้เกิดการผูกขาด เกิดการท�ามาหากิน ที่ท�าลายกลไก สร้างต้นทุนที่สูงให้เกษตรกร ในกรณี ต้นทุนเมล็ดพันธุ์สูงขึ้นแต่ผลตอบแทนดีขึ้นก็ต้อง ค�านึงประกอบไปด้วย ต้องให้เกษตรกรมีทางเลือก รัฐต้องมีมาตรการออกมา “ถ้าผมอยู่ในสภา และ พ.ร.บ. ข้าวถูกน�า
เรือ ่ ง : ตนุภท ั ร โลหะพงศธร ภาพ : วงศกร ยีด ่ วง
เข้าสู่การพิจารณา ผมจะเป็นผู้น�าในการพิจารณา กฎหมายฉบับนี้ เพราะผมเป็นชาวนาที่จะไปออก กฎหมาย ผมย่อมรูถ้ งึ สิง่ ทีค่ วรท�า ไม่ควรท�า หรือควร ท�าแค่ไหน”
“ในฐานะทีผ ่ มเป็นชาวนา มานานพอสมควร เรือ ่ งนี้ ก็แล้วแต่คนจะคิด ผูท ้ อ ี่ อก กฎหมายก็ตอ ้ งมาทบทวน ศึกษาค�าวิพากษ์วจ ิ ารณ์ และรับฟังความคิดเห็น ให้ดก ี อ ่ นทีจ ่ ะออกกฎหมาย จริงๆ กรณีนเี้ ป็นประเด็น เกีย ่ วกับเมล็ดพันธุ์ ซึง่ มี ความซับซ้อนอยูห ่ ลายมิติ ถ้าเราไม่ควบคุมเลยจะมี ปัญหาเรือ ่ งพันธุกรรมข้าว การหลอกลวงเอาเมล็ด ข้าวทีม ่ ก ี ารปลอมปน เข้ามาสูร ่ ะบบการปลูก จะสร้างความเสียหาย อย่างร้ายแรง”
16 ISSUE 582 18 MAR 2019
พรรคภูมใิ จไทย
พรรคเสรีรวมไทย
พล.ต.อ. เสรีพศ ิ ท ุ ธ์ เตมียเวส พล.ต.อ. เสรีพศ ิ ท ุ ธ์ เตมียเวส ออกมาวิจารณ์และท้าชนกับอ�านาจเผด็จการทหาร อย่างชัดเจน ลองไปฟังกันว่าอะไรคือเหตุผลทีท ่ า� ให้อดีตนายต�ารวจตงฉิน วัย 70 ทีม ่ ส ี ถานภาพชีวต ิ ส่วนตัวทีเ่ พียบพร้อมสุขสบายอยูแ ่ ล้ว กระโดดมาต่อสูบ ้ น สนามการเมือง และหาญกล้าบอกว่า ตัวเองคือค�าตอบเดียวทีจ ่ ะต่อสูก ้ บ ั เผด็จการได้
Political Standpoint
Policy Statement
“เมื่อเราคิดจะช่วยประชาชน เราก็ต้องตั้ง พรรคการเมือง เพราะถ้าเป็นแค่พลต�ารวจเอกเสรีพศิ ทุ ธ์ เราก็คงช่วยไม่ได้หรอก อาจจะช่วยได้เล็กๆ น้อยๆ เหมือนกับทีเ่ คยท�ามา ดังนัน้ ผมเลยตัง้ พรรคการเมือง ชือ่ พรรคเสรีรวมไทย ชือ่ ก็มาจากสถานการณ์ปจั จุบนั เมือ่ บ้านเมืองมีปญ ั หา เสรีกอ็ าสารวมไทยเพือ่ ให้เป็น หนึง่ เดียว ลองไปดูรฐั บาลทีค่ ณ ุ ประยุทธ์ไปยึดอ�านาจ และบริหารมาจะครบ 5 ปี ถามว่ารวมประเทศไทย ให้เป็นหนึง่ เดียวได้ไหม ไม่ได้หรอก เพราะว่าคุณประยุทธ์ ใจไม่เทีย่ ง คุณประยุทธ์คดิ แต่จะเอาผลประโยชน์ของ ตัวเอง ผลประโยชน์ของพวกพ้อง ไม่ได้คดิ ถึงผลประโยชน์ ของประชาชน “ถ้าพี่น้องประชาชนไปเลือกเขาเป็นรัฐบาล ก็โอเค ถึงแม้จะเป็นกติกาเฮงซวย เราก็ต้องยอมรับ ให้เขาจัดตั้งรัฐบาล เขาอยากบริหารประเทศก็ให้ บริหารไป แต่พรรคเสรีรวมไทยจะไม่รว่ มกับพรรคทีม่ ี พฤติกรรมแบบนีเ้ ด็ดขาด เราจะร่วมกับฝ่ายประชาธิปไตย เท่านั้น คุณอยากปู้ยี่ปู้ยา� ท�าอะไรก็ว่าไป เพราะว่า ประชาชนเลือกคุณมานี่ เราก็ถือว่าเป็นฉันทามติ ของประชาชน และประชาชนก็ต้องรับผิดชอบเองนะ จากการกระท� า ของคนที่ คุณ เลือ กมา เพราะคุณ ไม่เลือกผมนี่ ก็ว่ากันไปตามระบบตามกติกา “ถ้าประชาธิปไตยมาจริงนะ ก็หมายความว่า ต้องชนะขาด ถ้าชนะไม่ขาดเผด็จการไม่ยอมหรอก เพราะพูดง่ายๆ ว่าตอนนี้เตรียมมาโกงทุกอย่างแล้ว ถ้ า เปิ ด หี บ แล้ ว ทุ ก อย่ า งขมุ ก ขมั ว เผด็ จ การก็ จ ะ โกงแหลกเลยเพื่อที่จะชนะให้ได้ ถ้าชนะกันขาด ในแบบที่โกงไม่ได้นะ ไอ้พวกนี้มันหนีก่อน คอยดูสิ “จะมีรัฐประหารซ้อนไหมอย่างนั้นน่ะเหรอ อันนี้ข้ามไปได้ ถ้ามีก็ว่ากันไป ตอนนี้ผมไม่ได้อยู่ใน อ�านาจ แต่ผมพูดไว้เลยว่า ถ้าผมเป็นนายกรัฐมนตรี ประเทศไทยจะไม่มีการรัฐประหารอีกต่อไป”
“คนมักจะพูดแบบนี้นะว่านโยบายคืออะไร ใครจะเป็นรัฐมนตรีความมั่นคง รัฐมนตรีเศรษฐกิจ ไหนโชว์ตัวหน่ อ ยซิ แต่ ผมอยากจะให้ ป ระชาชน ตระหนักถึงข้อเท็จจริง ว่าพรรคต่างๆ ส่วนใหญ่มกั จะ เอาลู ก เอาหลาน เอาญาติ พี่ น ้ อ งมารั บ ต� า แหน่ ง สมมติพรรคหนึง่ ยึดพืน้ ทีไ่ ด้แล้ว พูดตรงๆ นะ โดยเฉพาะ พรรคเก่าแก่ เขาจะส่งเสาไฟฟ้าลงรับต�าแหน่งก็ได้ ส่ ง หมาลงก็ ไ ด้ เพราะเขาคิ ด แต่ ไ ด้ และบรรดา นักการเมืองพวกนี้ก็ไม่ได้มีความรู้อะไร มีแต่ญาติ พีน่ อ้ ง สายเลือดต่างๆ พอลงไปปุบ๊ สองสมัยสามสมัย ก็เอาไปอ้างว่าเคยเป็นรัฐมนตรีแล้ว ถามว่ามึงเคยท�า อะไรประสบความส�าเร็จบ้าง ไม่เคยเป็นผู้บริหาร ไม่เคยท�าอะไรส�าเร็จเลย แล้วก็เอาแต่ไปพูดๆ “แต่ ถ ามผม ถ้ า ผมเป็ น นายกรั ฐ มนตรี ใครจะมาเป็นรัฐมนตรีคลัง ใครจะมาเป็นรัฐมนตรี คมนาคม ใครจะเป็นรัฐมนตรีกลาโหม ใครจะเป็น รัฐ มนตรีกระทรวงนั่น กระทรวงนี่ ผมบอกเลยว่ า รัฐมนตรีของผมเยอะแยะ เอามาจากไหนล่ะ ก็คน เก่งๆ ในประเทศไง ถ้าผมเป็นนายกฯ ผมบอกเลย ว่าพวกทีอ่ ยูก่ บั พรรคผม แต่ไม่มคี วามรูค้ วามสามารถ จะให้ ขึ้ น มาเป็ น รั ฐ มนตรี ท�า ไม เราต้ อ งเอาคนที่ ท�างานได้มาเป็นสิ ไปเชิญเขามา และพอเขาไม่ต้อง เสียเงินเสียทองเพื่อให้ได้ต�าแหน่งตรงนี้มา ก็จะท�า หน้าที่ได้อย่างเต็มที่ ไม่ต้องไปรับใช้นายทุน ดูแค่ ผลประโยชน์ของประชาชนเท่านั้น ประเทศก็จะ เจริญ ท�าไมเราต้องปิดกั้นคนภายนอกล่ะ “นโยบายทีส่ า� คัญของพรรคเรา มีอยู่ 6 อย่าง ด้วยกัน 1. หยุดความยากจน ลดความเหลื่อมล�้า 2. หยุดคอร์รัปชัน เอางบประมาณคืนมา 3. หยุด ยาเสพติ ด ปราบผู ้ มี อิ ท ธิ พ ล 4. หยุ ด เผด็ จ การ ปฏิรูปทหาร 5. หยุดไฟใต้เอาสังคมสันติสุขกลับมา และ 6. หยุดแยกเสื้อสี เลิกแบ่งพรรคพวกสถาบัน และก้าวสู่อนาคตใหม่ “แต่ถ้าจะถามประเด็นย่อยๆ ว่าจะให้เลิก เกณฑ์ ท หารหรื อ เปล่ า ก็ อ ยู ่ ใ นการปฏิ รู ป ทหาร ถามเรือ่ งสาธารณสุขถามเรือ่ งการหยุดความยากจน ก็อยู่ในนโยบายลดความเหลื่อมล�้า เพราะเราลง พื้ น ที่ เ ยอะ ได้ เ ห็ น พี่ น ้ อ งประชาชนเดื อ ดร้ อ นใน การท�ามาหากิน ค�าว่าประเทศนี้นั้นประกอบด้วย พืน้ ทีแ่ ละประชาชน ถ้าประชาชนอ่อนแอไม่มคี ณ ุ ภาพ ประเทศก็อยู่ไม่ได้หรอก ดังนั้น ประเทศไทยจะ เจริญก้าวหน้าประชาชนต้องมีคุณภาพ เขาต้อง กินดี อยู่ดี มีความสุข”
เรื่อง : ปริญญา ก้อนรัมย์ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล
อนุทน ิ ชาญวีรกูล อนุทน ิ ชาญวีรกูล ผูส ้ บ ื ทอดบริษท ั ‘ซิโน-ไทย’ บริษท ั รับเหมาก่อสร้างในล�าดับ ต้นๆ ของประเทศไทย กับการน�าทัพให้กบ ั พรรคภูมใิ จไทย ทีถ ่ อ ื เป็น พรรคระดับกลางทีน ่ า่ จะเป็นตัวแปรส�าคัญในการจัดตัง้ รัฐบาลครัง้ นี้
Political Standpoint “เมือ่ มีสภาผูแ้ ทนราษฎรทีม่ าจากการเลือกตัง้ ของประชาชนแล้วเนี่ย คนที่ไม่ได้มาจากประชาชน จะมีบทบาทอะไรได้อกี ล่ะ ขออย่างเดียว คนทีม่ าจาก ประชาชนที่ได้รับความไว้วางใจเข้ามาแล้ว ต้องท�า หน้ า ที่ ที่ ป ระชาชนอุ ต ส่ า ห์ ม อบให้ เ ข้ า มาท� า ด้ ว ย ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ด้ ว ยความตั้ ง ใจขยั น ขั น แข็ ง แล้วก็ท�าทุกอย่างเพื่อประชาชน เพื่อบ้านเมือง “ไม่มหี รอกครับ ไม่มใี ครฝืนเสียงของประชาชน ไปได้ ถ้าประชาชนเลือกฝ่ายพรรคการเมืองเข้ามา อย่างเต็มทีล่ น้ หลาม เสียงอืน่ ไม่มคี วามหมาย ส�าหรับ พรรคภูมิใจไทย กลุ่มใดก็ตามที่ไม่ได้มาจากพี่น้อง ประชาชน ไม่สนใจ ไม่ให้ความส�าคัญ ไม่มคี วามหมาย “ผมว่ า ประชาชนก็ อ ยากจะได้ ค วามเป็ น ประชาธิปไตยคืนมา เมื่อมีความเป็นประชาธิปไตย มีสภาผูแ้ ทนราษฎร มีการเลือกตัง้ ประชาชนเลือกตัง้ ให้คนเข้ามาท�าหน้าที่ผู้แทนราษฎร มาตั้งรัฐบาล ที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน ก็ท�าให้สถานะ ของประเทศไทยมีความหมายในสายตาประชาคมโลก การไปเจรจาการค้าเรือ่ งต่างๆ ก็จะพูดอยูบ่ นพืน้ ฐาน ทีเ่ ท่าเทียมกัน เมือ่ มีการเลือกตัง้ แล้ว ทุกอย่างกลับสู่ สภาวะปกติ มันก็อยู่บนพื้นฐานของความเท่ากัน ฉะนัน้ การเลือกตัง้ เนีย่ สิง่ ทีม่ นั ดีแน่นอนก็คอื สถานะ ของความเป็นประชาธิปไตยของประเทศนีม้ นั เกิดขึน้ ทันที แล้วการยอมรับการให้เกียรติของทั่วโลกมายัง ประเทศไทยก็จะถูกยกระดับขึ้นไป”
เรือ ่ ง : อรพิน ยิง ่ ยงวัฒนา ภาพ ขจรศิริ อุย ่ มานะชัย
“เราเชือ ่ ว่าหากประชาชน มีปากท้องทีด ่ ี คุณภาพ ชีวต ิ ทีด ่ ี มีการงานท�า มีเงินออมเงินใช้ สามารถ ประกอบอาชีพต่างๆ ได้ มีความสามัคคีกน ั รัฐคอย ดูแลเอาใจใส่ ปัญหาอืน ่ ๆ ทีเ่ ป็นปัญหาสังคมใน ทุกวันนี้ เช่น ปัญหา ความแตกแยก ปัญหา ความขัดแย้งมันจะหมดไป โดยธรรมชาติ”
17 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
พรรคมหาชน
‘พอลลีน’ - พาลินี งามพริง้ พาลินี งามพริง้ หนึง่ ในสมาชิกของพรรคมหาชน ทีช ่ น ู โยบายเรือ ่ งของสิทธิเท่าเทียมกันของทุกคนในสังคม โดยเฉพาะสิทธิ ของชาว LGBT เธอจะเป็นตัวกลางทีส ่ ามารถเชือ ่ มโยงคนรุน ่ ใหม่กบ ั คนรุน ่ เก่าให้เข้าใจกันได้ดข ี น ึ้ ทัง้ ในเรือ ่ งของความเข้าใจ คนทีม ่ ค ี วามหลากหลายทางเพศ ไปจนถึงการสร้างความเท่าเทียมให้กบ ั คนในประเทศ เพือ ่ ให้คนรุน ่ ใหม่ตอ ่ จากพวกเรา มีชว ี ต ิ ความเป็นอยูท ่ ด ี่ เี หมือนกับประเทศทีเ่ ขาให้การยอมรับในเรือ ่ งของสิทธิมนุษยชน และเจริญก้าวหน้าได้ไม่แพ้พวกเขา
Policy Statement “ผมเข้ามาเป็นหัวหน้าพรรคภูมิใจไทยปีนี้ ก็ปที ี่ 6 สิง่ ทีผ่ มพูดกับสมาชิกพรรคของผมเสมอก็คอื พรรคภู มิ ใ จไทยจะเน้ น แต่ เ รื่ อ งของปากท้ อ งของ ประชาชนเป็นหลัก เพราะเราเชื่อว่าหากประชาชน มี ป ากท้ อ งที่ ดี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี มี ก ารงานท� า มีเงินออมเงินใช้ สามารถประกอบอาชีพต่างๆ ได้ มี ความสามัคคีกัน รัฐคอยดูแลเอาใจใส่ ปัญหาอื่นๆ ที่เป็นปัญหาสังคมในทุกวันนี้ เช่น ปัญหาความแตกแยก ปัญหาความขัดแย้งมันจะหมดไปโดย ธรรมชาติ “ในแต่ละภูมิภาคก็มีนโยบายที่ต่างกันไป สอดคล้องกับความต้องการของพี่น้องประชาชนใน ภูมภิ าคนัน้ อย่างเช่น ในกรุงเทพมหานคร เราเสนอเรือ่ ง Grab ทีท่ า� ให้ถกู กฎหมาย เรือ่ งของการท�างานอยูท่ บี่ า้ น สัปดาห์ละ 1 วัน เพื่อเป็นการลดปัญหาการจราจร เรื่องของการที่จะจัดให้มีสถานที่ท�างาน co offfiifice working space ส�าหรับนักธุรกิจทีก่ า� ลังก่อร่างสร้างตัว ไม่จา� เป็นทีจ่ ะต้องเดินทางเข้ามาในเมืองให้เสียเวลา เสียค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เสียค่าเช่าออฟฟิศ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีทางการสือ่ สารในปัจจุบนั “นโยบายส�าหรับภูมิภาค เราจะยกระดับ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมูบ่ า้ น เพิม่ องค์ความรู้ ให้เขา มีแอพพลิเคชัน มีอปุ กรณ์ทนั สมัย เกิดมีคนไข้ พีน่ อ้ งของเขาในหมูบ่ า้ นห่างไกลความเจริญเกิดป่วย กะทันหันกลางดึก กว่าจะถึงโรงพยาบาล รถราก็ ไม่ ส ะดวก ก็ ยั ง สามารถใช้ แ อพพลิ เ คชั น ติ ด ต่ อ เพือ่ ท�าการรักษาเยียวยาในระดับเบือ้ งต้นก่อน เราก็ จะเพิ่มองค์ความรู้ให้กับพี่น้อง อสม. ให้เขามีความเชี่ยวชาญ มีความรู้ที่จะท�าการปฐมพยาบาลให้มัน เหนือกว่าระดับเบือ้ งต้นได้ ก็เป็นการลดภาระของรัฐ และเป็นโอกาสทีจ่ ะต่อชีวติ ของผูป้ ว่ ย ท�าให้คา่ ใช้จา่ ย ต่างๆ ลดลง “นโยบายเรื่องการท่องเที่ยว เราเน้นเรื่อง การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวท้องถิ่น คนทีม่ บี า้ นมีทอี่ ยูอ่ าศัย อยากจะท�าให้เป็นโฮมสเตย์ ทุ ก วั น นี้ ต ้ อ งแอบท� า เพราะไม่ มี ก ฎหมายรองรั บ วันดีคนื ดีเจ้าหน้าทีข่ องรัฐก็ไปตรวจ บอกว่ามีใบอนุญาต โรงแรมไหม พอไม่มีก็ไปปรับเขา ด� าเนินคดีเขา เรารับฟังความต้องการของชาวบ้าน ในเมื่อเขา สามารถจะสร้างรายได้จากทรัพย์สินที่เป็นเจ้าของ อยู่ เราก็ต้องส่งเสริม ไม่ใช่คอยไปกีดกันเขา”
Political Standpoint
Policy Statement
“ถ้าไม่เริม่ วันนี้ คนรุน่ ใหม่หลังจากเราก็ตอ้ ง ไปเริ่มต้นใหม่แล้วก็ต้องต่อสู้กับความคิดเก่าตลอด เวลา ความคิดเก่าไม่ใช่ไม่ดี แต่ว่าเราต้องใส่ใจ พวกเขาด้วย แต่ถามจริงๆ ว่าเราท�าเรื่องการเมืองนี้ เพือ่ คนรุน่ เก่าหรือคนรุน่ ใหม่กนั แน่ เรามองว่าการเมือง ส�าหรับคนรุ่นเก่าคือการผลักดันให้มีรัฐสวัสดิการ ดูแลผูส้ งู อายุ ท�าให้เขามีความสะดวกสบายหลังจาก ที่ท�างานหนักมาเป็นเวลาหลายปี เป็นเรื่องที่ต้อง ดูแลเขา แต่สังคมเองก็ต้องขับเคลื่อนไปสู่อนาคต ต้องตอบสนองโลกให้ทัน เพราะคนรุ่นใหม่คือคนที่ จะมาแทนพวกเรา แล้วทีนี้จะเป็นการต่อสู้แบบที่ รุนแรงเลยไหม ไม่เลย เป็นแค่การปรับตัวเข้าหากัน เราต้องพยายามอธิบายกับคนรุ่นเก่าเหมือนกับที่ พ่อแม่ของเราพยายามจะอธิบายกับเราให้เป็นแบบ เขา แต่โลกมันเปลี่ยนไปแล้ว เราก็ต้องเป็นฝ่าย อธิบายพ่อกับแม่เราว่าท�าไมถึงต้องท�าแบบนี้ ก็เพราะ สังคมมันเปลี่ยนไป ท�าไมถึงจะต้องปรับตัวให้ทัน ถ้าพูดคุยกันแบบนี้โดยที่ไม่ไปขัดแย้งกับความคิด เก่าๆ การดูถกู เหยียดหยามก็ไม่นา่ จะมี ถ้าเราซือ่ สัตย์ และเคารพตัวเองมากพอ เราจะเคารพคนอื่นด้วย”
“ปั ญ หาปากท้ อ งมั น ก็ คื อ เรื่ อ งของความเท่าเทียมไง ทุกวันนี้ปัญหาปากท้องเกิดเพราะคน ไม่เท่ากัน มีคนทีไ่ ด้เยอะกว่ามีคนทีไ่ ด้น้อยกว่า คนที่ ยึดครองเศรษฐกิจบางอย่างอยู่ มีการผูกขาด มีการใช้ กลไกต่างๆ ที่ท�าให้เกิดการผูกขาด คนรวยมีแต้มต่อ ที่ไม่เท่ากัน ถึงเวลาที่จะหาเสียงก็โยนเศษเงินไปให้ เพือ่ ให้เขาเลือก และสุดท้ายเราก็ถกู กดถูกเหยียบย�า่ เหมือนเดิม นี่คือความไม่เท่ากันจริงๆ เมืองไทยเป็น ประเทศที่ร�่ารวย เราอาจจะไม่ได้มีทรัพย์ใต้ดินเยอะ แต่เรามีทรัพย์บนดินเยอะ หยอดอะไรลงไปมันก็ขึ้น จริงๆ คนไทยไม่ต้องกลัวอดตายเลย เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค เรามีครบ แล้วเราจนไหม เราไม่ได้จน แต่ที่เราจนเพราะมันไม่เท่ากัน เราถูกใส่ ความคิดเรื่องความฟุ้งเฟ้อ เรื่องแบรนด์เนมเข้าไป เพราะไปแล้วก็สร้างความต้องการให้กบั คนทีเ่ ขาไม่มี เกษตรกรขายข้าวไปหนึง่ เกวียนยังซือ้ โทรศัพท์มอื ถือ เพื่อที่จะมาแข่งกับคนในเมืองยังไม่ได้เลย แต่เราไป สร้างค่านิยมแบบนี้เราไปสร้างความต้องการแบบนี้ นี่คือสิ่งที่ท�าให้คนไทยจน แต่จริงๆ คนไทยไม่เคยจน เลย “อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ GDP 6% หรือ 10% มันไม่มีความหมายเลยถ้าเกิดว่าโอกาส ทางเศรษฐกิจมันไม่เท่ากัน เรือ่ งของสังคม เรือ่ งต้นทุน มนุษย์กเ็ ช่นกัน เยาวชนทีเ่ กิดมาถ้ามีตน้ ทุนทีต่ า่ งกัน รัฐบาลมีโอกาสให้พวกเขาน้อยกว่าคนทีอ่ ยูใ่ นสังคมเมือง ถ้าสังคมมันแตกต่างกันแล้วเราท�าให้มนั ใกล้เคียงกับ ความเท่าเทียมมากที่สุด ความเท่าเทียมเป็นค� า ที่อุดมคติก็จริง แต่ถ้าเราลดช่องว่าง ท�าให้ทุกคน มีความเสมอภาคทัง้ มิตทิ างการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคม ก็จะกลายเป็นภาพใหญ่ทันที “ถ้าไม่ไปติดกับกับดักว่าเราเป็น LGBT และ เราจะเข้าไปเพื่อท�างานให้กับพวกเราเท่านั้น การคิด แบบนั้นไม่มีประโยชน์เลยที่จะมีคนที่เป็น LGBT อยู่ในสภา ซึ่งก็ไม่ต่างกับการคิดว่าการมีตัวแทน ภาคเกษตรกร มีตัวแทนของชาวนาชาวสวนยาง เข้ า ไปอยู ่ ใ นนั้น แล้ ว เขาจะท� างานรับ ใช้ แ ต่ กลุ่ม ของตัวเอง ก็ไม่มีประโยชน์ที่เขาจะเข้าไปอยู่ในสภา เราอยากเข้าไปเพราะเรารู้ว่าปัญหาของกลุ่มเราคือ อะไร แล้วเราสามารถพูดเรื่องนั้นได้อย่างลงลึกและ ดีที่สุด เราสามารถบอกถึงปัญหาและแก้ในเรื่อง ที่ตัวเองถนัดได้ แต่ทั้งนี้เราก็จะท�างานเพื่อรับใช้ คนอื่นด้วย “ดังนั้น เรื่องของความเท่าเทียมทางเพศจึง ไม่ใช่ประเด็นเล็กๆ ที่หลายคนมอง แต่เรากลับคิดว่า เรื่องนี้เป็นสาระส�าคัญเลยของการท�างานในทุกด้าน
“เราอยากเข้าไปเพราะเรา รูว ้ า่ ปัญหาของกลุม ่ เราคือ อะไร แล้วเราสามารถพูด เรือ ่ งนัน ้ ได้อย่างลงลึกและ ดีทส ี่ ด ุ เราสามารถบอกถึง ปัญหาและแก้ในเรือ ่ งที่ ตัวเองถนัดได้ แต่ทงั้ นี้ เราก็จะท�างานเพือ ่ รับใช้ คนอืน ่ ด้วย”
เรือ ่ ง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ิ สกุล
โดยเฉพาะเรื่ อ งการเมื อ งซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งใหญ่ แ ละมี ความเกีย่ วข้องกับคนจ�านวนมาก พรรคมหาชนสนใจ เรือ่ งนีต้ ลอดเวลา เพราะเรือ่ งของความเท่าเทียมและ ความหลากหลายทางเพศเป็นส่วนหนึง่ ในการพัฒนา สังคม คุณลองนึกภาพตามนะ ว่าถ้าทุกคนมีความเท่าเทียม สังคมมีความเท่าเทียมกันแล้ว เมือ่ ท�าอะไร ก็ตามเราจะคิดจากพื้นฐานก่อนว่าคนเรามีความหลากหลาย และในความหลากหลายนีก้ ต็ อ้ งมีความเท่าเทียม แล้วความคิดนี้ก็จะขยายไปสู่ความคิด ทางการเมือง เมื่อมีความเท่าเทียมเราก็จะไม่มีการเหยียดหยาม ไม่ดูถูกฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เพียงแค่คิด ต่างกันแค่เล็กน้อย “เราสามารถอยู่กับทุนนิยมได้ไหม ถ้าใช้ ความคิดว่าเมืองไทยนัน้ รวยอยูแ่ ล้ว ท�าไมเราไม่เริม่ คิด ในเรื่องนวัตกรรมของเราเอง อย่างรถยนต์ทา� ไมเรา ไม่สร้างแบรนด์ของตัวเอง ท�าไมเราจะผลิตรถยนต์ ของตัวเองไม่ได้ ทั้งๆ ที่เราเป็นฐานการผลิตรถยนต์ ในเอเชีย เราก็เคยอยู่ในวงการรถยนต์ แต่พอท�า ขึ้นมาเป็นแบรนด์ไทย เป็นยี่ห้อไทย คนไทยก็ไม่ใช้ แต่ถ้าเริ่มจากรัฐบาลก่อนล่ะ ให้รถต�ารวจทุกคัน เป็ น แบรนด์ ไ ทย หน่ ว ยงานราชการต้ อ งซื้อ ยี่ห ้ อ ของไทยเท่านัน้ เทคโนโลยีมนั ไม่ตา่ งกันแล้ว ชิน้ ส่วน ต่างๆ ก็ท�าในเมืองไทย 80% “เราต้องเท่าเทียมกับเขา เราต้องมีนโยบาย เรื่อง SME ออนไลน์ ท�าไมคนไทยจะต้องขายของ ผ่านเว็บท่าต่างประเทศ ท�าไมเราไม่มีเว็บท่าของเรา เอง ท�าไมเราไม่มอี คี อมเมิรซ์ ของตัวเอง เขามีแอมะซอน เรามีเจ้าพระยาได้ไหม เขามีอาลีบาบา เรามีตลาดไท หรือจะเป็นชือ่ อะไรก็แล้วแต่เป็นเว็บท่าของไทยทีข่ าย ของเกษตรผลิตภัณฑ์ OTOP คนทุกต�าบลสามารถ เข้าถึงได้ รัฐบาลเข้าไปฝึกอบรมในการที่จะโพสต์ สินค้าขายในโลกออนไลน์ ปัจจุบันนี้คนในชนบท ใช้อินเทอร์เน็ตแค่ไลน์ เฟซบุ๊ก ท�าไมเราไม่เข้าไปให้ ความรู้ให้เขาเข้าถึงการค้าขายออนไลน์ได้ เราจะได้ ไม่ต้องตกเป็นทาสของพ่อค้าคนกลางต่างประเทศ เพียงอย่างเดียว เมื่อโลกหมุนไปแบบนี้ นโยบาย เศรษฐกิจการเมืองและสังคม ก็ต้องหมุนไปตาม ความเป็นจริงของโลก”
20
LIFE
เรื่อง
ตนุภัทร โลหะพงศธร นักเขียน IG : sincerely.tn
ISSUE 582 18 MAR 2019
HOW HAVE WE COME THIS FAR เรามาถึงจุดนี้ได้อย่างไร? ในอดีต การเมืองไทยเคยด�าดิง่ ไปสู่จุดต�่าสุดมาแล้วหลายต่อหลาย ครัง้ คนจ�านวนหนึง่ ยืนหัวเราะชอบใจ ขณะมองไปยังร่างไร้ชีวิตที่ถูกแขวน คอและถูกหวดฟาดด้วยเก้าอี้ซ�้าแล้ว ซ�า้ เล่า คนจ�านวนหนึง่ ก�าปืนแน่นด้วย ใจแน่วแน่เพื่อเล็งไปยังเป้าหมายที่มี ลมหายใจก่ อ นเหนี่ ย วไกสุ ด แรง หมายปลิดชีพ ซึง่ คนเหล่านัน ้ ท�าส�าเร็จ คนจ�านวนหนึง่ ท�าหน้าทีเ่ ป็นศาลเตีย ้ ตั้งตนพิพากษาคนอื่นด้วยอารมณ์ เกลี ย ดชั ง และความคั บ แค้ น คน จ�านวนหนึง่ สังหารผูอ้ น ื่ อย่างโหดร้าย และไร้ความปรานีอย่างถึงทีส ่ ด ุ ดังที่ เคยปรากฏในเหตุการณ์สังหารหมู่ ตั้งแต่เหตุการณ์ 14 ตุลา (2516), เหตุการณ์ 6 ตุลา (2519), พฤษภา ทมิ ฬ (2535) จนมาถึ ง การสลาย การชุมนุมทีแ่ ยกราชประสงค์ (2553)
อะไรท�าให้มนุษย์เผยสันดานดิบเถือ ่ น เยี่ ย งเดรั จ ฉานไร้ ปั ญ ญา และกล้ า ลงมือฆ่าใครก็ตามที่เห็นต่างอย่าง ไม่รู้สึกผิดชอบชั่วดีเช่นนี้? เวลาผันเปลี่ยนไป โลกปัจจุบัน หมุ น วนด้ ว ยแรงขั บ เคลื่ อ นของ นวัตกรรมและเทคโนโลยี แต่บางสิ่ง บางอย่างกลับไม่แปรเปลี่ยนไปตาม เวลา เพราะการเปลี่ยนแปลงที่ยาก ที่ สุ ด คื อ การเปลี่ ย นแปลงตั ว เอง หลายคนจึงเก็บง�าความรู้สึกเดิมๆ กรอบความคิ ด เก่ า ๆ ไว้ ใ นใจ แล้ ว เปลีย ่ นวิธร ี ะบายแรงคับแค้นทีค ่ บ ั คัง่ อยู่ภายในด้วยวิธีการใหม่ๆ บนหน้า ฟีดส์ หลายคนแชร์ขอ ้ มูลทีไ่ ม่ปรากฏ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง เลือกเสพข่าว เฉพาะฝ่าย บางคนคอมเมนต์แบบ ด่าเสียเทเสีย บ้างก็ถนัดแต่งกลอน หลอกด่าคนเห็นต่าง เข้าข้างนักการเมืองที่เชียร์ สนับสนุนพรรคที่ตน
ชื่ น ชอบ หนั ก เข้ า ก็ พ ยายามท� า ทุ ก วิถท ี างแม้กระทัง่ สร้างข้อมูลเท็จและ บิ ด เบื อ นความจริ ง เพื่ อ โจมตี ห รื อ ดิ ส เครดิ ต ฝ่ า ยตรงข้ า มโดยเอา ความสะใจเป็นที่ตั้ง ท�าไมคนเราถึง ยึ ด มั่ น ในความเชื่ อ ทางการเมื อ ง ของตนจนกล้ า แสดงพฤติ ก รรม เกรี้ ย วกราดเข้ า ข่ า ยน่ า รั ง เกี ย จ เหล่านี้ได้อย่างไม่รู้สึกรู้สา? เหตุ บ้ า นการเมื อ งที่ เ กิ ด ขึ้ น จึงน�าไปสู่การตั้งค�าถามต่างๆ นานา ถึ ง ความเป็ น มนุ ษ ย์ ผู้ พ ร�่ า บอกว่ า ตนเป็นสัตว์ประเสริฐ เป็นคนดี เป็น คนมีศาสนา เป็นความดีงามของโลก แต่ ท� า ไมการกระท� า ที่ ผ่ า นมาและ ที่ ยั ง เห็ น เป็ น อยู่ ทุ ก เมื่ อ เชื่ อ วั น กลั บ ขัดแย้งสิ้นดี บางทีอาจจะต้องย้อนกลับมา มองที่ตัวเองในฐานะรากของปัญหา ทั้ ง ม ว ล แ ล ะ ท� า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ว่ า
ที่ ผ่ า นมาเราท� า อะไรกั น ไว้ ถึ ง ได้ พ า ตั ว เองมาถึ ง จุ ด ที่ ทุ ก อย่ า งไม่ เ คย เปลี่ยนไปจากอดีต ด้วยมุมมองเชิง จิ ต วิ ท ยาที่ เ คยตั้ ง ค� า ถามเดี ย วกั น เหล่านี้ และพยายามหาค�าตอบ จนพบ ความจริงที่อธิบายความเป็นมนุษย์ ได้อย่างร้ายกาจและคาดไม่ถึง บทเรียนจากอดีต และความเข้าใจสาเหตุของปัญหา จึงกลายเป็น ความหวั ง ที่ น่ า จะท� า ให้ ม นุ ษ ย์ ไ ด้ เรียนรู้และเปลี่ยนแปลงตัวเองไปใน ทางที่ดีขึ้นซึ่งอาจต้องค่อยๆ ใช้เวลา แต่ในท้ายทีส ่ ด ุ ทุกอย่างอยูท ่ ม ี่ นุษย์วา่ จะสร้ า งการเปลี่ ย นแปลงใหม่ ๆ หรือจะท�าลายทุกสิง่ ให้พงั พินาศต่อไป จึ ง ไม่ มี ห ลั ก ประกั น ใดยื น ยั น ได้ ว่ า เราจะไม่กลับไปสูจ่ ด ุ เดิม จุดทีเ่ คยถาม ตัวเองว่าเรามาถึงจุดนี้ได้อย่างไร?
21 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
1 CONFORMITY เกลียดใครก็จะยิ่งเกลียดมากขึ้น คลั่งไคล้ใครก็จะยิ่งคลั่งไคล้มากกว่า เดิม แล้วในท้ายที่สุดความสุดโต่งนี้จะก่อให้เกิดปัญหาและความวุ่นวาย
Getty Images
& DEINDIVIDUATION
ท�ำไมเรำจึงแสดง พฤติกรรมรุนแรง สุดโต่ง?
เมื่อไหร่ก็ตามที่เราปักใจเชื่อในจุดยืนทาง การเมืองทีเ่ ลือก ไม่วา่ จะเป็นลิเบอรัล คอนเซอร์เวทีฟ หรือจุดยืนอื่นใดอย่างไม่ลืมหูลืมตา เมื่อนั้นคนเรา ก็มีสิทธิ์ตกหลุมพรางความคิดของตัวเองได้เสมอ กลายเป็นคนทีข่ บั เคลือ่ นด้วยอารมณ์มากกว่าเหตุผล จนไม่สามารถแยกแยะและเปิดใจรับฟังความเห็นต่าง อื่นๆ ได้ ประกอบกับมนุษย์เป็นสัตว์สังคม คนที่มี จุ ด ยื น การเมื อ งเหมื อ นกั น ก็ จ ะดึ ง ดู ด กั น และกั น จนรวมเข้าเป็นกลุ่มสังคมที่พูดคุยและแลกเปลี่ยน ความคิดเฉพาะภายในกลุ่มเท่านั้น เกิดเป็นความสุดโต่งของขัว้ ความคิดและพฤติกรรม (group polarization) ในที่สุด ปี ค.ศ. 1970 David Myers และ George Bishop ศาสตราจารย์ด้านจิตวิทยา ได้ออกแบบ การทดลองโดยให้นักศึกษาท�าแบบประเมินทัศนคติ เหยียดสีผิว แล้วแบ่งนักศึกษาออกเป็นสามกลุ่ม ตามระดับทัศนคติเหยียดสีผิวมาก ปานกลาง และ น้อย ต่อมาให้แต่ละกลุม่ คุยกันเรือ่ งเชือ้ ชาติและสีผวิ
เมื่อคุยจบนักศึกษาทุกคนจะได้ท�าแบบประเมินใหม่ อีกรอบ ผลทีไ่ ด้ยนื ยันว่า กลุม่ ทีม่ แี ต่นกั ศึกษาทัศนคติ เหยียดสีผิวมาก หลังคุยกันเสร็จจะมีทัศนคติที่แย่ลง กว่ า เดิ ม ส่ ว นกลุ ่ ม ที่ มี ทั ศ นคติ เ หยี ย ดสี ผิ ว น้ อ ย หลังคุยเสร็จมีทัศนคติที่ดีขึ้น นี่คืออิทธิพลของกลุ่มที่มีความคิดความเชื่อ เรื่องเดียวกัน เมื่อเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม เรามี แนวโน้มคล้อยตาม (conformity) คนในกลุม่ เกลียดใคร ก็จะยิ่งเกลียดมากขึ้น คลั่งไคล้ใครก็จะยิ่งคลั่งไคล้ มากกว่าเดิม แล้วในท้ายที่สุดความสุดโต่งนี้จะก่อ ให้เกิดปัญหาและความวุน่ วายตามมา เพราะคนในกลุม่ จะกระจายความรับผิดชอบและลดความเป็นตัวตน ลง (deindividuation) ไม่มกี ารบ่งชีไ้ ด้วา่ ใครเป็นใครเพราะ กลุ่มฝูงชนขนาดใหญ่มีคนเยอะเกินไป เมื่อการคิด และไตร่ตรองต่อการกระท�าลดลงตามไปด้วย คนจึง กล้าแสดงพฤติกรรมอุกอาจอย่างเหิมเกริม เพราะ คิดว่าถ้าท�าอะไรลงไปแล้วไม่ต้องรับผิดชอบใดๆ เพราะคนอื่นในกลุ่มก็ท�าเหมือนกัน
2 COGNITIVE DISSONANCE โจมตีฟาดฟันคนเห็นต่างจนไม่สนใจด้วยซ�้าว่าอะไรคือ ความจริงที่ถูกต้อง เพราะมัวแต่ถือความเชื่อของตน เป็นที่ตั้ง และเปลี่ยนความคิดให้ตรงกับใจที่เอาแต่ได้
ท�ำไมเรำจึงแสดงพฤติกรรมเกรี้ยวกรำดจนน่ำรังเกียจจำกอคติเอนเอียงทำงกำรเมือง? ปกติคนเรามีแนวโน้มเปิดรับข้อมูล เพื่อตอบสนองสิ่งที่ตัวเองต้องการ (selective exposure) ขณะเดียวกันก็จะพยายามปรับตัว ให้เข้ากับข้อมูลทีม่ เี นือ้ หาตรงกับความเชือ่ เดิม เมือ่ ใกล้ถงึ วันเลือกตัง้ (24 มีนาคม) การไหลบ่า ของข่าวสารการเมืองจึงพร้อมเข้ามาปะทะ กั บ ความคิ ด ในหั ว ของทุ ก คนตลอดเวลา จนเกิดเป็น Cognitive Dissonance เพราะรู้สกึ ไม่สบายใจเมื่อได้รับรู้ข้อมูลที่ไม่ลงรอยกับ ความเชือ่ เดิม หลายคนจึงเลือกเปิดรับเฉพาะ ข่าวที่ไปในทิศทางเดียวกันกับความคิดหรือ จุดยืนทางการเมืองเดิมของตนเท่านั้น และ หลี ก เลี่ ย งข่ า วที่ จ ะสร้ า งความขั ด แย้ ง กั บ ความคิด ปี ค.ศ. 1956 Leon Festinger นักจิตวิทยาสังคมชาวอเมริกัน ได้ออกแบบ การทดลองที่มีว่า Measures of Performance โดยมีนกั ศึกษามาเป็นอาสาสมัคร ทุกคนจะได้ ท�างานง่ายๆ ที่ซ�้าซากและน่าเบื่ออย่างหมุน
แท่งไม้แต่ละอันให้หันไปในทิศทางเดียวกัน ด้วยมือเพียงข้างเดียว ท�าเช่นนีซ้ า�้ ๆ เป็นเวลา หนึ่งชั่วโมง ซึ่งจะได้รับค�าชมเมื่อท�าเสร็จ จากนัน้ ผูว้ จิ ยั ต้องการให้นกั ศึกษามาเป็นผูช้ ว่ ย แลกกับค่าตอบแทนซึ่งแบ่งเป็นสองกลุ่ม คือ 1 เหรียญฯ และ 20 เหรียญฯ แล้วต้องคอย ท�าหน้าทีไ่ ปบอกอาสาสมัคร (หน้าม้า) ทีก่ า� ลัง รอร่วมการทดลองว่าเป็นงานทีน่ า่ สนใจมากๆ ผลการทดลองพบว่า กลุม่ ทีไ่ ด้รบั ค่าจ้าง 20 เหรียญฯ รู้สึกชัดเจนว่างานนี้ไม่น่าสนใจ สักนิด แต่ที่ยอมโกหกเพราะท�าตามหน้าที่ ผู้ช่วยวิจัย ต่างจากกลุ่มที่ได้รับค่าจ้างเพียง 1 เหรียญฯ ทั้งที่รู้อยู่แก่ใจว่างานน่าเบื่อ แต่ ก ลั บ ยื น ยั น ว่ า งานที่ ท� า น่ า สนใจจริ ง ๆ การทดลองนีจ้ งึ พิสจู น์ได้วา่ ทุกอย่างไม่ได้เกิดขึน้ อย่างตรงไปตรงมา เพราะหลายครั้งที่มนุษย์ ต้ อ งต่ อ สู ้ แ ละหาหนทางจั ด การกั บ ความไม่ลงรอยนี้ก่อนที่จะแสดงพฤติกรรมออกมา โดยเฉพาะคนที่ มี ค วามมั่ น ใจสู ง
ตั้งความคิดของตนเป็นใหญ่ จมไม่ลง ระดับ ความเข้มข้นของ Cognitive Dissonance ก็จะ ยิง่ รุนแรงขึน้ กลายเป็นคนเกรีย้ วกราด หัวร้อน สรรหาเหตุผลสารพัดมาแก้ต่างให้ตัวบุคคล และพรรคการเมืองทีต่ นเชียร์สดุ ใจ ออกอาวุธ เป็นค�าพูดและค�าเขียนสร้างความเกลียดชัง โจมตีฟาดฟันคนเห็นต่างจนไม่สนใจด้วยซ�้า ว่าอะไรคือความจริงที่ถูกต้อง เพราะมัวแต่ ถือความเชื่อของตนเป็นที่ตั้ง และเปลี่ยน ความคิดให้ตรงกับใจที่เอาแต่ได้
Discovering Psychology (1990), the PBS documentary
22 ISSUE 582 18 MAR 2019
สังคมสองมาตรฐานนี้จึงสร้างความขัดแย้งให้เกิดขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เพราะไม่ว่าใครก็ตามหากได้ขึ้นมามีอ�านาจ จะล้างแค้นอีกฝ่ายโดยอ้าง ความยุติธรรมเสมอ
3 SOCIAL CONFLICT ท�ำไมควำมขัดแย้งทำงกำรเมืองจึงไม่เคยหมดไป? เมือ่ ผูค้ นในสังคมรูส้ กึ ว่าตนเองไม่ได้รบั ความเป็น ธรรม ท�าให้เกิดความคับแค้นใจมากพอทีจ่ ะลงมือล้างแค้น ด้วยตัวเอง สังคมสองมาตรฐาน (double standard) นี้จึง สร้างความขัดแย้ง (social conffllflict) ให้เกิดขึ้นอย่างไม่มี ที่สิ้นสุด เพราะไม่ว่าใครก็ตามหากได้ขึ้นมามีอ�านาจ จะล้างแค้นอีกฝ่ายโดยอ้างความยุติธรรมเสมอ แล้ว ความน่ากลัวของการแก้แค้นก็คอื ทุกคน ทุกฝ่าย ยอมจ่าย ไม่ว่าจะด้วยราคาใด เพือ่ แลกกับการเอาคืนอย่างสะใจ และไม่สนด้วยว่าการแก้แค้นครัง้ นัน้ จะน�าไปสูค่ วามเสียหาย ย่อยยับให้ใครบ้าง Ernst Fehr นักเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมชาว ออสเตรี ย -สวิ ส ได้ อ อกแบบการทดลองเพื่ อ ศึ ก ษา กระบวนการคิดและพฤติกรรมจากความไว้เนื้อเชื่อใจ และการแก้แค้น โดยมอบเงินให้ผู้เข้าร่วมการทดลอง สองคน จ�านวนคนละ 10 เหรียญฯ เพื่อเล่นเกม กติกา ง่ายๆ คือ ถ้ายอมมอบเงิน 10 เหรียญฯ ให้อีกคน เขาคนนั้นจะได้รับเงิน 10 เหรียญฯ พร้อมเงินสมทบอีก 4 เท่า ไปเพียงฝ่ายเดียว คนส่วนมากยอมเพราะคิด ล่วงหน้าไปถึงอนาคตว่า จะได้ส่วนแบ่ง 25 เหรียญฯ แต่ไม่เป็นอย่างที่หวังเสมอไป จึงมีกติกาใหม่คือ ฝ่ายที่ ยอมยกเงิน 10 เหรียญฯ สามารถจ่ายเงินส่วนตัวให้กับ ผู้วิจัยเพื่อจ้างวานไปหักเงินของอีกฝ่ายออกได้สองเท่า คนส่วนใหญ่จึงยอมจ่ายเงินส่วนตัว 25 เหรียญฯ เพื่อ กอบกู้ความไม่เป็นธรรมที่ตัวเองเคยได้รับ และชดเชย
ความรูส้ กึ ว่ามนุษย์เท่าเทียมกันไปพร้อมๆ กัน แต่มบี างคน ยอมจ่ายเงินมากกว่า 25 เหรียญฯ ให้อีกฝ่ายต้องควัก เงินส่วนตัวออกมาจ่ายเพิม่ ซึง่ เป็นการล้างแค้นให้สาสม กับความรูส้ กึ ถูกเอาเปรียบจากคนทรยศ นีค่ อื ข้อพิสจู น์ ว่ามนุษย์สามารถท�าได้ทุกวิถีทางเพื่อการแก้แค้น สิง่ ส�าคัญทีท่ า� ให้เกิดความขัดแย้งคือการเข้ากัน ไม่ได้ของพฤติกรรมหรือเป้าหมาย (รวมถึงความคิด ความเชือ่ และอุดมการณ์) ทีแ่ ต่ละคน แต่ละฝ่ายยึดถือ ซึ่งทั้งหมดนี้เกี่ยวข้องกับความรู้สึกเกรงกลัวต่อความอยุตธิ รรม การสูญสิน้ อ�านาจต่อรอง การสูญเสียผลประโยชน์ บางอย่างที่หวังได้หรือครอบครอง และเป็นผลมาจาก การถูกเลือกปฏิบัติ จนน�าไปสู่ความต้องการเอาชนะ ฝ่ายอื่นๆ ให้ได้ กลายเป็นว่าความไม่เป็นธรรม อ�านาจ และผลประโยชน์ คือแรงจูงใจทีท่ า� ให้มนุษย์สร้างปัญหา และส่งต่อความขัดแย้งได้ไม่จบไม่สิ้น ความขัดแย้งจึง กลายสถานะเป็นเชื้อเพลิงชั้นดีที่คอยจุดชนวนน�าไปสู่ จุดแตกหักในสังคม
Getty Images
4 OBEDIENCE
ท�ำไมบำงคนถึงกล้ำท�ำร้ำยคนอื่นโดยไม่รู้ผิดชอบชั่วดี?
คนเรายอมท�าตามค�าสั่งอย่างง่ายดาย เพราะเกิดมุมมอง ต่อตัวเองว่าเป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะต้องท�าให้ค�าสั่งที่รับเอามา เกิดขึ้นให้ได้ แม้จะต้องท�าร้ายคนอื่น
ย้อนกลับไปในปี ค.ศ. 1961 หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ยุตลิ ง Otto Adolf Eichmann นายทหารนาซีเยอรมัน ระดับสูงและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การฆ่าล้างเผ่าพันธุช์ าวยิวจึงถูกจับกุม และถูกพิพากษาให้ได้รบั โทษประหาร ชีวิต เขาพยายามต่อสู้ให้ตัวเองพ้น จากข้อกล่าวหา โดยอ้างเหตุผลว่า เป็นการท�าตามค�าบังคับบัญชาเท่านัน้ ซึ่ ง เป็ น ค� า สั่ ง ที่ เ ขาเองไม่ ส ามารถ ปฏิเสธได้ แต่สดุ ท้ายเขาก็ถกู แขวนคอ ค� า แก้ ตั ว ของทหารนาซี เยอรมันกลับท�าให้ Stanley Milgram นักจิตวิทยาสังคมชาวอเมริกัน เกิด ความสงสัยถึงโอกาสและความเป็น ไปได้ทคี่ นเราจะกล้าท�าร้ายและฆ่าคน จากค�าสัง่ ของคนอืน่ โดยเฉพาะค�าสัง่ จากคนที่มีอ�านาจ เขาจึงออกแบบ การทดลองเพื่ อ ศึ ก ษาพฤติ ก รรม การเชื่อฟัง (obedience) ผู้มีอ�านาจ (authority) ในมนุษย์ โดยสั่งการให้ อาสาสมั ค รเปิ ด สวิ ต ช์ ช็ อ ตไฟฟ้ า คนอื่นเมื่อคนนั้นตอบค�าถามผิดไป
เรือ่ ยๆ ซึง่ เครือ่ งช็อตไฟฟ้า (ปลอม) สามารถปล่ อ ยความแรงไฟฟ้ า ได้ ตั้งแต่ 15-440 โวลต์ ผลปรากฏว่า อาสาสมั ค รทุ ก คนเปิ ด สวิ ต ช์ ช็ อ ต ไฟฟ้าถึงความแรง 300 โวลต์ และมี อาสาสมัคร 24 คน (65%) จากทัง้ หมด ยอมเปิ ด สวิ ต ช์ ช็ อ ตไฟฟ้ า ใส่ ค นที่ ไม่รู้จักมาก่อนจนถึงความแรงสูงสุด ที่ 450 โวลต์ เพราะเชือ่ ฟังค�าสัง่ จาก นักวิจยั แม้วา่ ระหว่างทดลองอาสาสมัคร จะรูส้ กึ ไม่ดที ตี่ อ้ งช็อตไฟฟ้าใส่คนอืน่ แต่นกั วิจยั ยืนยันว่าไฟฟ้าไม่ได้ทา� ให้ ผูถ้ กู ช็อตพิการหรือเกิดบาดแผลถาวร ทีส่ า� คัญ ทัง้ หมดนีเ้ ป็นความรับผิดชอบ ของนักวิจยั เพียงผูเ้ ดียว อาสาสมัคร จึงลงมือช็อตไฟฟ้าต่อไป การทดลองนี้ แ สดงให้ เ ห็ น ความจริงทีว่ า่ มนุษย์มแี นวโน้มเชือ่ ฟัง ค�าสัง่ จากผูม้ อี า� นาจ แม้จะต้องท�าร้าย คนอื่นจนถึงตายก็ตาม และต่อให้ จะรู้สึกไม่เต็มใจ แต่ถ้ารู้ว่าตนเอง ไม่ต้องรับผิดชอบในการกระท�านั้น ก็จะยิง่ ท�าตามค�าบัญชานัน้ ได้งา่ ยขึน้
ไปอีก
เมื่อมนุษย์ไม่ได้ตระหนักถึง การกระท�าของตัวเอง ไม่รจู้ กั ใช้สญ ั ญา และวิจารณญาณใคร่ครวญมากพอ ที่จะยืนกรานแสดงความกล้าหาญ เพือ่ ตัง้ ค�าถามต่อค�าสัง่ ไร้เหตุผลทีท่ งั้ ชักจูง โน้มน้าว และบังคับให้ท� า รุนแรงต่อผู้อื่น จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ทีม่ นุษย์จะมุง่ เปิดสวิตช์ปล่อยกระแส ไฟฟ้าให้ไปช็อตใส่ผอู้ นื่ ต่อไปเรือ่ ยๆ ภายใต้บรรยากาศเผด็จการ เป็นใหญ่ ตราบใดทีม่ นุษย์จ�านนต่อ อ�านาจ ไม่รู้จักเรียนรู้และมองเห็น อั น ตรายและความไร้ เ หตุ ผ ลของ การเชือ่ ฟัง เท่ากับว่าเกิดภาวะยอม เป็นเครือ่ งมือ (agentic state) ซึง่ ถือเป็น ปัจจัยส�าคัญที่ท�าให้คนเรายอมท�า ตามค�าสัง่ อย่างง่ายดาย เพราะเกิด มุมมองต่อตัวเองว่าเป็นเครือ่ งมือหนึง่ ทีจ่ ะต้องท�าให้คา� สัง่ ทีร่ บั เอามาเกิดขึน้ ให้ได้ แม้จะต้องท�าร้ายคนอืน่ ซึง่ เป็น ความขัดแย้งกับจิตส�านึกรูผ้ ดิ ชอบชัว่ ดี ก็ตาม
Reuters (1961)
The Chronicle of Higher Education (1962)
Obedience (1965), Stanley Milgram’s documentary film on the experiment
23 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
การเรียนรู้ด้วยตัวเองว่า ไม่ว่าจะพยายามท�าอะไรก็ตาม มันจะไม่มีผล ต่อความเปลี่ยนแปลงใดๆ หรือไม่ช่วยให้อะไรดีขึ้นเลย และนี่คือ ความส�าเร็จอย่างงดงามของเผด็จการ
5 LEARNED HELPLESSNESS ท�ำไมบำงคนถึงสยบยอมต่อเผด็จกำรได้ง่ำยดำย? ปี ค.ศ. 1967 Martin Seligman นักจิตวิทยา ชาวอเมริกัน น�าหมาจ�านวนหนึ่งมาฝึกเงื่อนไข เพื่อดู การเรียนรู้และหาวิธีแก้ปัญหาของมัน เริ่มต้นแบ่งหมา เป็นสามกลุ่ม กลุ่มแรก เอามาใส่ปลอกคอไว้สักพักแล้ว ก็ปล่อยไปโดยไม่ได้ทา� อะไร กลุม่ ทีส่ อง ให้สวมปลอกคอ ที่สามารถปล่อยกระแสไฟฟ้าใส่ โดยมีปุ่มให้มันหัดกด เพือ่ เรียนรูท้ จี่ ะหยุดกระแสไฟด้วยตัวมันเอง และกลุม่ ทีส่ าม สวมปลอกคอแล้วปล่อยกระแสไฟใส่แบบสุ่ม มันท�า อะไรไม่ได้เลย ต้องยอมทนรับกระแสไฟไปแบบนั้น ต่อมาจับหมาทัง้ หมดใส่กรงทีแ่ บ่งออกเป็นสองฟาก มีแผงเตี้ยๆ กั้นไว้ตรงกลางพอที่พวกมันจะกระโดดข้าม ได้ พืน้ ของกรงฟากหนึง่ มีกระแสไฟฟ้า ส่วนอีกฟากหนึง่ ปลอดภัย ผลคือหมากลุ่มที่หนึ่งและสอง เมื่อโดนพื้น กรงช็อตไฟฟ้าใส่ พวกมันจะกระโดดหนีไปยังฟากที่ ปลอดภัยทันที แต่หมากลุม่ ทีส่ ามกลับไม่ไปไหน ยอมรับ กระแสไฟฟ้าไปเรื่อยๆ แบบนั้น แม้ว่ามันจะเห็นแผงกั้น เพียงเตี้ยๆ อยู่ตรงหน้า การทดลองนี้เผยให้เห็นแนวคิด เรือ่ งความสิน้ หวังจากการเรียนรู้ (Learned Helplessness) สามารถน�ามาใช้อธิบายกระบวนการคิดของสิ่งมีชีวิต ทัง้ หลาย รวมถึงคนเราด้วย ทีต่ อ้ งปรับตัวเพือ่ ความอยูร่ อด และวิวัฒนาการต่อไป เงือ่ นไขส�าคัญต่อความหวังมาจากประสบการณ์ ในอดีตทีเ่ รียนรูม้ าว่า ตนเองมีความสามารถและก�าหนด
ชะตากรรมตัวเองได้มากแค่ไหน ถ้าถึงแม้มีความรู้ ความสามารถมากมาย แต่ เ ติ บ โตขึ้ น มาพร้ อ มกั บ สถานการณ์ เ ลวร้ า ยเรื้ อ รั ง ยาวนาน โดยที่ ตั ว เอง ไม่สามารถแก้ไขหรือท�าอะไรกับมันได้เลย ในที่สุดก็จะ ค่อยๆ เรียนรู้ว่าชีวิตนี้สิ้นหวังขึ้นมา นับย้อนไปตลอดทศวรรษ คนจ�านวนมากผ่าน ช่ ว งประวั ติ ศ าสตร์ ท างสั ง คมและการเมื อ งที่ ย�่ า แย่ มาตลอด รัฐประหารทีส่ ญ ู เปล่าครัง้ แล้วครัง้ เล่า จนต้อง ตกอยูใ่ นระบอบเผด็จการทหารมายาวนาน วงจรอุบาทว์ ภายใต้ระบอบอ�านาจนิยมนี้ กลายเป็นเงื่อนไขที่สร้าง ความสิ้นหวังให้เกิดขึ้นมากที่สุด คือการเรียนรู้ด้วย ตัวเองว่า ไม่ว่าจะพยายามท�าอะไรก็ตาม มันจะไม่มผี ล ต่อความเปลี่ยนแปลงใดๆ หรือไม่ช่วยให้อะไรดีขึ้นเลย และนีค่ อื ความส�าเร็จอย่างงดงามของเผด็จการ ความรูส้ กึ ที่ฝังรากลึกและติดค้างอยู่ในใจของใครบางคน
Getty Images
การสื่อสารและการอ่อนข้อยังช่วยยุติความขัดแย้งเมื่อแต่ละฝ่าย เรียกร้องข้อต่อรองอย่างสมเหตุสมผลเพื่อให้ได้ผลประโยชน์ ร่วมกันจนเกิดเป็นความร่วมมือในที่สุด
6 PRISONER’S DILEMMA ท�ำไมเรำจึงไม่สำมำรถก้ำวข้ำมควำมขัดแย้งทำงกำรเมือง? ถึงตรงนี้เราได้รู้ความจริง ท่ า มกลางปั ญ หาความขั ด แย้ ง ในสังคมอยู่สองเรื่อง คือ มนุษย์ สามารถขุ ด ดึ ง ความมื ด ด� า ในใจ ออกมาแสดงได้ อ ย่ า งร้ า ยกาจ ขณะเดียวกันมนุษย์ก็ไม่ได้อับจน หนทางหรือหมดปัญญาคิดหาวิธกี าร แก้ไขความขัดแย้งไม่ได้เสียทีเดียว Prisoner’s Dilemma คือ สถานการณ์จา� ลองความยากล�าบาก ในการตัดสินใจของนักโทษ เป็นสภาวะ กลืนไม่เข้าคายไม่ออก (dilemma) ที่ เกีย่ วกับความขัดแย้ง ผลประโยชน์ และการร่วมมือ ซึ่งได้จา� ลองไว้ว่า ผู้ต้องสงสัยสองคนถูกจับแยกห้อง เพือ่ สอบสวนหาความผิด เจ้าหน้าที่ รูว้ า่ ทัง้ คูผ่ ดิ จริงเพียงแต่ไม่มหี ลักฐาน เพียงพอที่จะลงโทษสถานหนักได้ จึงตั้งเงื่อนไขให้แต่ละคนสารภาพ ไว้คือ (1) ถ้าคนใดคนหนึ่งสารภาพ
คนสารภาพจะพ้ น โทษ ส่ ว นคน ไม่สารภาพจะต้องโทษสถานหนัก (2) ถ้าทั้งคู่สารภาพ จะได้รับโทษ ปานกลาง (3) แต่ ถ ้ า ไม่ มี ใ คร สารภาพเลย ทั้ ง คู ่ จ ะได้ รั บ โทษ สถานเบาที่สุด ซึ่งเงื่อนไขสุดท้าย เป็นตัวเลือกที่ดีที่สุด แต่ปัญหาคือ ผูต้ อ้ งสงสัยแต่ละคนจะต้องคิดหนัก และประสบกับความยากล�าบากใน การคิดไม่ตกว่าจะสารภาพดีหรือไม่ เพราะผลลัพธ์ไม่ได้ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของตัวเองคนเดียวเท่านั้น สถานการณ์ นี้ จึ ง สะท้ อ น ให้เห็นว่า เมือ่ ไม่สามารถสือ่ สารกัน ได้ แต่ละคนจะเกิดความไม่ไว้วางใจ กลัวว่าอีกฝ่ายจะรีบสารภาพ ต่างฝ่าย จึ ง เลื อ กที่ จ ะสารภาพเพื่ อ ไม่ ใ ห้ เกิดการถูกเอาเปรียบจนเป็นฝ่าย เสียประโยชน์ แต่ถ้าทั้งคู่ได้พูดคุย ตกลงกัน จะเกิดเป็นร่วมมือเพื่อ
ผลประโยชน์ ส ่ ว นรวมร่ ว มกั น มากกว่ า ฉกฉวยโอกาสท� า เพื่ อ ประโยชน์ส่วนตน กรณี Prisoner’s Dilemma จึงน�าเสนอหนทางที่ช่วยลดความขัดแย้งและเพิม่ ความสมานฉันท์ได้ ด้วยการติดต่อ (contact) การสือ่ สาร (communication) ความร่ ว มมื อ (cooperation) รวมถึงการอ่อนข้อ ยอมถอยคนละก้าว (conciliation) แ ต ่ ต ร า บ ใ ด ที่ ม นุ ษ ย ์ ไม่สามารถก้าวข้ามความเห็นแก่ตวั เอาแต่ได้ และใช้ชีวิตอยู่ในความขัดแย้งและแรงเกลียดชัง รวมถึง ระบบที่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ไ ม่ เ ป็ น กลาง ก็ไม่มีวันที่ความขัดแย้งนั้นจะถูก แก้ไข ต่างฝ่ายต่างช่วงชิงอ�านาจ และผลประโยชน์ไม่จบสิน้ เพือ่ ไม่ให้ ถูกเอาเปรียบต่อไปไม่จบสิ้น
24 ISSUE 582 18 MAR 2019
A MUST CO NCER T
THE 1975 L i v e
i n
E VE N T
B a n g k o k
งานที่ จ ะพาคุ ณ ไปพู ด คุ ย กั บ ผู้มากประสบการณ์ในการท่องเที่ยว ที่เดอะคอมมอนส์ รวบรวมตลาดขาย ของ นิทรรศการขนาดย่อม เวทีพูดคุย และเวิ ร ์ ก ช็ อ ป ที่ คุ ณ จะได้ พ บกั บ นักท่องเทีย่ วมืออาชีพอย่างบล็อกเกอร์, นักเขียนจากนิตยสารชือ่ ดังต่างๆ และ ช่างภาพที่จะถ่ายทอดเรื่องราวและ มุมมองทีน่ า่ สนใจจากสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว แปลกใหม่ ที่ คุ ณ อาจจะยั ง ไม่ เ คย ได้ ไ ปค้ น เจอ งานจะจั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 30-31 มีนาคม 2562 ทีเ่ ดอะคอมมอนส์ ซ.ทองหล่อ 17
กับชีวติ ของมนุษย์มากขึน้ ซึง่ เพลง ที่ถูกตีความมาจากคอนเซ็ปต์ ของอัลบัม้ ออกมาได้อย่างชัดเจน ก็คอื เพลง The Man Who Married A Robot / Love Theme ทีใ่ ช้เสียง คนดัดแปลงจนคล้ายเสียงของ ระบบปฏิบตั กิ ารบนสมาร์ตโฟน มาเล่ า เรื่ อ ง โดยมี เ สี ย งดนตรี ที่เล่นคลอไปกับเรื่องราวด้วย เป็ น มิ ติ ใ หม่ ข องการน� า เสนอ ผลงานเพลงทีศ่ ลิ ปินหยิบความเข้าใจในความเป็นไปเป็นมาของ สังคมมาใช้ นอกจากนั้นก็ยังมี เพลงเปิดตัวอย่าง Give Yourself
a Try ทีพ่ ดู ถึงมุมมองของความรัก และการให้โอกาสตัวเองเพือ่ ทีจ่ ะ เป็ น ตั ว ของตั ว เองที่ ดี ขึ้ น และ ล่าสุดกับเพลงที่คนพูดถึงอย่าง Sincerity is Scary ที่ได้ไปโชว์ ในงานบริตอวอร์ด เนื้อหาเพลง ที่ใช้การเปรียบเปรยน่ารักๆ กับ ความสัมพันธ์ในแบบทีไ่ ม่เหมือน ใครในสไตล์ของ The 1975 The 1975 จึงเป็นวงดนตรี ทีม่ คี วามน่าสนใจในทางงานดนตรี และทางภาพลักษณ์เป็นอย่างมาก งานของพวกเขาสร้ า งความแ ป ล กใหม่ อ อกมาได้ เ ป็ น ที่
น่าชื่นชมของนักวิจารณ์ ล่าสุด ทางวงก็เพิ่งออกวิดีโอเบื้องหลัง เอ็มวีในอัลบั้มล่าสุดที่ใช้ชื่อว่า ‘And I do make art... thank you very much’ ซึ่งหัวหน้าวงอย่าง แม็ ต ตี้ ม าอธิ บ ายคอนเซ็ ป ต์ และความตัง้ ใจของการท�าเอ็มวี แต่ละตัว เราจึงอยากชวนคุณ ไปสนุกกับคอนเสิร์ตในไทยของ พวกเขาได้ในวันที่ 13 และ 14 กัน ยายนนี้ บัต รราคา 2,800 / 3,500 และ 5,000 บาท ซื้อบัตร ได้ที่ Ticketmelon.com
F ES TIVA L
KING'S CUP ELEPHANT BOAT & RIVER FESTIVAL ชวนไปดูการแข่งขันเรือยาวช้างไทยที่บางคนอาจจะยังไม่เคยได้สัมผัสกับประสบการณ์ การแข่งเรือแบบนีม้ าก่อนทีโ่ รงแรมอนันตรา ริเวอร์ไซด์ กรุงเทพฯ โดยในงานมีรา้ นอาหารทีน่ า่ สนใจ มาร่วมมากมายอย่าง R.HAAN, Kuppa, Pizza Masilla และอีกหลายร้าน รวมถึงคอนเสิร์ตจาก เจ เจตริน, นิว-จิ๋ว, สิงโต น�าโชค และ อะตอม ชนกันต์ พร้อมกับการประกวดชิงรางวัลอย่าง การแข่งขันกรรเชียงบก และการประกวดการแต่งกายชุดไทยย้อนยุค บัตรเข้างานราคา 200 บาท/วัน และ 500 บาทส�าหรับเข้างานทั้งสามวัน ซื้อบัตรได้ที่ www.bangkokriverfestival.com
M OVIE DUMBO
ส� า หรั บ คอนเสิ ร ์ ต ของ The 1975 ในปีนี้ พวกเขาเปิดทัวร์ คอนเสิรต์ มาพร้อมกับอัลบัม้ ใหม่ อย่าง A Brief Inquiry into Online Relationships ที่ เ พิ่ ง กวาดทั้ ง สองรางวัลในสาขาอัลบั้มและ วงดนตรีแห่งปีจากเวทีบริตอวอร์ด ไปหมาดๆ ท�าให้คนหันมาสนใจ ในตัวอัลบัม้ นีม้ ากขึน้ ในด้านของ เนื้อหาและดนตรี สิ่งที่น่าสนใจ ของอัลบั้มนี้คือคอนเซ็ปต์ของ อัลบัม้ ทีพ่ ดู ถึงความสัมพันธ์ของ คนกั บ เครื่ อ งยนต์ ในยุ ค สมั ย ที่โซเชียลมีเดียเข้ามามีบทบาท
THE COMMONS : READY, PACK, GO!
กลุม ่ วงดนตรีอน ิ ดีพ ้ อ ็ พร็อกสัญชาติอง ั กฤษทีช ่ อ ื่ วงได้แรงบันดาลใจมาจากหนังสือทีพ ่ ด ู ถึงการเปลีย ่ นแปลงวัฒนธรรม และการเมืองของประเทศสหรัฐอเมริกาโดยแจ็กเจแควกซึง่ ภายในวงมีสมาชิกทัง้ หมดสีค ่ นและหลายคนจะจดจ�าThe 1975ได้จาก คาแรกเตอร์ที่น่ารักและบ้าบอของแม็ตตี้หรือแมตทิวฮีลีย์นักร้องน�าในยุคเริ่มต้นของวงโดยอัลบั้มแรกที่ชื่อเดียวกับชื่อวง ก็โด่งดังไปทัว่ อังกฤษและมีเพลงดังอย่างSex, Chocolateและ Robbersจนมาถึงอัลบัม ้ ทีส ่ องI Like It When You Sleep, for You Are So Beautiful Yet So Unaware of It ทีป ่ ล่อยมาในปี2016ก็สร้างชือ ่ เสียงและเป็นทีร ่ จู้ ก ั ในวงกว้างจนเป็นปรากฏการณ์ คอนเสิรต ์ ทีบ ่ ต ั รขายหมดในหลายโชว์พร้อมกับถูกเสนอชือ ่ เข้าชิงในสาขาอัลบัม ้ แห่งปีทงั้ แกรมมีอวอร์ดและบริตอวอร์ดแล้วก็ได้รบ ั รางวัลในสาขาวงดนตรีแห่งปีจากบริตอวอร์ดในปี2017โดยอัลบัม ้ นีม ้ เี พลงดังอย่างLove Me, The Sound, Change of Heart และอีกมากมายทีเ่ ล่าเนือ ้ หาของเพลงออกมาในมุมร็อกทีผ ่ สมผสานกับเพลงพ็อพทีม ่ ด ี นตรีลก ึ ซึง้ ฟังสบาย
จากแอนิเมชันสุดคลาสสิกของ ดิสนีย์ ถูกน�ามาสร้างเป็นภาพยนตร์ โดยผู้ก�ากับ ทิม เบอร์ตัน ที่มีชื่อเสียง ในผลงานที่สร้างเรื่องราวอันน่าฉงน และการสร้ า งโลกสมมติ อั น เป็ น เอกลั ก ษณ์ ที่ ค นชื่ น ชอบอย่ า ง Dark Shadows, Big Eyes, Edward Scissorhands โดยครัง้ นีเ้ ป็นเรือ่ งราวของ ช้างในคณะละครสัตว์ทมี่ หี ขู นาดใหญ่ ผิดปกติ ทีโ่ ดนคนหัวเราะเยาะในความแปลกและแตกต่ า ง แต่ ก ลั บ ท� า ให้ คณะละครสัตว์กลับมาท�าเงินได้อกี ครัง้ ติดตามเรื่องราวประทับใจที่สรรเสริญ ความแตกต่ า งในตั ว ตนได้ ใ นวั น ที่ 28 มีนาคมนี้ ทุกโรงภาพยนตร์
25 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
B O OK
THE GHOSTS OF TOKYO ความฝั น
แฟนตาซี และเงา ของโตเกี ย ว
มองอีกด้านของญี่ปุ่น ประเทศที่ใครต่อใครต่าง หลงใหลในความสวยงาม ทันสมัย และเคร่งขรึม ผ่านธุรกิจ เช่าลุงหรือการจ้างคนรุ่นใหญ่มาอยู่เป็นเพื่อน ซึ่งไม่ใช่ บริการจัดหาคู่ แต่เป็นการตอบสนองความต้องการของ คนทีต่ อ้ งการค�าปรึกษาจากคนทีม่ ากประสบการณ์ชวี ติ ทั้งเรือ่ งของความรัก ครอบครัว การงาน หรือส�าหรับการมี เพือ่ นเทีย่ วชมงานศิลปะ กินอาหารหรือให้ไปเป็นเพือ่ น ส�าหรับตรวจอพาร์ตเมนต์ใหม่ทจ่ี ะย้ายเข้าไปอยู่ เล่าเรือ่ ง โดย รติพร ชัยปิยะพร ผูท้ ใี่ ห้คา� นิยามต่อญีป่ นุ่ ในมุมนีว้ า่ เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ เ กิ ด ขึ้ น มาเพื่ อ สะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่ า ญี่ ปุ ่ น เป็นประเทศมั่งคั่งที่ผู้คนสิ้นหวังและเบื่อหน่ายได้อย่าง น่าตกใจ (ส�านักพิมพ์เอสไอเดีย / ราคา 250 บาท)
SW EET
THE MAD HATTER'S AFTERNOON TEA จากนิยายแฟนตาซี Alice in Wonderland สูช่ ดุ น�า้ ชาจากการสร้างสรรค์ของ เชฟเพ็ญณี จิรายุวฒ ั นา ประกอบด้วยน�า้ ชาพรีเมียมของ Monsoon พร้อมขนมหวาน แบบอังกฤษแท้ๆ ทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจจากดินแดนมหัศจรรย์ของอลิซ เช่น Tick Tock Gold Clock Macaroon, White Rabbit’s Carrot Pot และ The Talking Flower Williams Pear Mousse ลิม้ ลองความอร่อยได้ตงั้ แต่วนั นีถ้ งึ 31 มีนาคม 2562 ณ ห้องอาหาร Bangkok Trading Post Bistro & Deli โรงแรม 137 Pillars Suites & Residence ซ.สุขมุ วิท 39
EX H I B I T ION
IN LOVE
ใครที่ ก� า ลั ง มี ค วามรั ก และหลงรั ก ในการ์ตูนลายเส้นน่ารักสดใสเหมือนขนม สายไหม นิทรรศการจากศิลปินสาว Kanis ที่ มี ค นติ ด ตามเพจของเธอจ� า นวนมาก กับผลงานภาพวาดสีน�้าด้วยลายเส้นที่เป็น เอกลักษณ์ นิทรรศการครัง้ นีม้ ชี อื่ ว่า In Love ทีพ่ ดู ถึงตอนทีเ่ ราก�าลังมีความรัก เวลาทีเ่ รา ได้ ใ ช้ ไ ปด้ ว ยกั น โลกนี้ ที่ มี แ ต่ เ ราสองคน ไปร่วมเพลิดเพลินกับนิทรรศการทีจ่ ะพิสจู น์ ช่วงเวลาธรรมดาอันแสนพิเศษนี้ได้ ตั้งแต่ วัน นี้ถึง 1 เมษายน 2562 ที่ 10ml. Cafe Gallery ซอยโชคชัยร่วมมิตร
P LACE
HELLO KITT Y GO AROUND BANGKOK เปิ ดตัวไปแล้วกับห้างดังจากญี่ปุ่นอย่างดองกิที่มีสินค้าอิมพอร์ตจาก ประเทศญี่ปุ่นในราคาย่อมเยา และต่อเนื่องความพิเศษด้วยการที่ชั้นห้าของ ห้างทองหล่อฮอลล์ ซึง่ สร้างขึน้ เป็นพืน้ ทีท่ สี่ ามารถรับรองกิจกรรมได้หลากหลาย เปิดตัวด้วยงานแรกกับ Hello Kitty Theme Park สวนสนุกขนาดย่อมทีย่ กความน่ารัก น่าเอ็นดูของเจ้าแมว Hello Kitty มาให้คนไทยได้สัมผัสกัน งานจะจัดขึ้นตั้งแต่ วันนี้ถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม
B E AUT Y
PANNAVEJ ผลิตภัณ ฑ์บ�า รุงผิว โดยแพทย์ผู ้เ ชี่ย วชาญ ด้านผิวหนังของพรรณเวชคลินิกที่ได้รับการยอมรับ มากว่า 20 ปี ซึ่งตอนนี้ออกโปรดักต์ใหม่มาเพื่อการบ�ารุงผิวให้คณ ุ โดยมี Premium White Perfect Serum เซรัมบ�ารุงผิวหน้าก่อนนอน และ Premium White Perfect Booster Cream ครีมบ�ารุงผิวหน้ากลางวัน ทีม่ สี ว่ นผสม ของสารสกัดจากแมงกะพรุนทะเลลึก ช่วยในการฟืน้ ฟู และสร้างความยืดหยุน่ ของผิว และนอกจากสารสกัด เข้มข้นทีช่ ว่ ยให้ผวิ นุม่ อีกหลายชนิดแล้ว ยังมีสว่ นผสม ของว่านหางจระเข้และชะเอมเทศ ที่ช่วยลดการอักเสบของผิว ลดรอยแดงจากสิว ควบคุมความมัน บนใบหน้ า กระชั บ รู ขุ ม ขนให้ เ รี ย บเนี ย นอย่ า ง มีประสิทธิภาพด้วย จ�าหน่ายในราคาชุดละ 1,380 บาท ทดลองใช้กันก่อนได้ที่ตัวแทนจ�าหน่ายทั่วประเทศ รายละเอียดเพิม่ เติมเข้าไปดูได้ที่ www.facebook.com/ PannavejBeautySkin
26 issue 582 18 MAr 2019
CALENDAR
18
M 19
T 20
W 21
TH 22
F 23
SA 24
S
Cold War
ชีวิตบรรเลง บทเพลงด�ำเนิน
The spiriT of six
CaTCh The moon
look aT me
poTs-The-Vessels
Time
ภาพยนตร์เรื่อง ‘Cold War’ ผลงานการก�ากับ ภาพยนตร์ของ Pawel Pawlikowski เรื่องราว ความรักที่เป็นไปไม่ได้ ของนักดนตรีและนักร้อง คูห่ นึง่ ภายใต้บรรยากาศ สงครามเย็ น ระหว่ า ง ทศวรรษ 1950 วั น นี้ เวลา 18.30 น. ณ สมาคม ฝรั่งเศส กรุงเทพ (บัตร ราคา 120 บาท)
การแสดงครุ ศ าสตร์ คอนเสิร์ต ‘ชีวิตบรรเลง บทเพลงด�าเนิน’ ชมการแสดงดนตรีหลากหลาย ประเภท ทั้งวง String Ensemble เดีย่ วจะเข้หมู่ วงปีพ่ าทย์ไม้นวม วงขับร้องประสานเสียง โดย นิ สิ ต สาขาวิ ช าดนตรี ศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชมฟรี วันนี้ เวลา 19.00 น. ณ หอประชุ ม ใหญ่ ศู น ย์ วั ฒ นธรรมแห่ ง ประเทศไทย ส�ารองทีน่ งั่ ได้ที่ Ticketmelon.com
นิทรรศการ ‘The Spirit of Six’ โดยหลาก ศิ ล ปิ น ร่ ว มถ่ า ยทอด จิตวิญญาณของศิลปิน ผ่านภาพผลงานจิตรกรรม อาทิ เทวพร ใหม่คงแก้ว ที่ น� า เ ส น อ เ รื่ อ ง ร า ว บรรยากาศความเสื่อม ของโลกวัตถุ, พัทธ์ ยิง่ เจริญ บอกเล่ า เรื่ อ งราวใน อดี ต เพื่ อ เป็ น กระจก สะท้ อ นมาสู ่ ป ั จ จุ บั น ฯลฯ วันนี้ถึง 23 มีนาคม 2562 ณ นั ม เบอร์ วั น แกลเลอรี ซ.สีลม 21
นิทรรศการ ‘คว้าดวงจันทร์’ โดย องอาจ โล่อมรปักษิณ การทดลอง และการปฏิบตั ติ น เป็น หนทางทีน่ า� ไปสูจ่ ดุ หมาย ในการเข้าใจความเป็น มนุ ษ ย์ เข้ า ใจตนเอง และเข้าใจสภาวะ ภายในในแง่มุมต่างๆ และในบริบททีแ่ ตกต่าง กัน วันนี้ถึง 31 มีนาคม 2562 ณ People’s Gallery ชัน้ 2 หอศิลป์กรุงเทพฯ
สั ม ผั ส ประสบการณ์ เชิ ง ศิ ล ป์ รู ป แบบใหม่ ในนิ ท รรศการ ‘Look at ME’ จัดแสดงผลงาน ร่วมสมัยจาก 28 ศิลปิน ที่ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ‘ตัวฉัน’ ของพวกเขา อย่างไม่ธรรมดา ผ่าน ภาพเหมื อ นตนเอง กว่ า 60 ผลงานใน แบบที่ คุ ณ คาดไม่ ถึ ง วั น นี้ ถึ ง 30 มี น าคม 2562 ณ g23 Gallery มศว ประสานมิตร
นิทรรศการศิลปะเซรามิก ‘ภาชนะ-พา-ชนะ’ โดย ศิลปินและช่างฝีมอื ทาง ด้านงานศิลปะเซรามิก จ�านวน 12 คน จาก 5 ประเทศ น�าเสนอความงามในอี ก แง่ มุ ม หนึ่ ง ของงานเซรามิ ก ซึ่ ง ศิลปินได้พิจารณาและ ให้ ค วามส� า คั ญ กั บ ความสามัญนีป้ ระหนึง่ ความงามในอุ ด มคติ วั น นี้ ถึ ง 30 มี น าคม 2562 ณ พิพธิ ภัณฑสถาน แห่งชาติ หอศิลป (เปิด ท� า ก า ร วั น พุ ธ - วั น อาทิตย์)
การตีความหมายของ เวลาในมุมมองที่ต่าง กันไปของศิลปิน 9 คน ซึ่งได้ใช้แรงบันดาลใจ ในการสร้างสรรค์งาน ศิ ล ปะที่ พ วกเขารั ก และตั้ ง ใจท� า ให้ ง าน ศิ ล ปะเหล่ า นั้ น เกิ ด ประโยชน์กับผู้อื่น ใน นิ ท รรศการ ‘Time’ วันนี้ถึง 30 เมษายน 2562 ณ 333 แกลเลอรี ตรอกโรงน�้าแข็ง
ad JCB_HP adB582.pdf 1 02-Mar-19 9:29:41 AM
27 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
BULLETIN BOARD
อัพเดตแวดวง ข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจ ในรอบสัปดาห์
TA L K O F T H E T O W N
เอ็ ม จี เปิ ด ตั ว Passenger Van ขนาด 11 ที่นั่ง ‘NEW MG V80’ ในงานมอเตอร์โชว์ บริษทั เอสเอไอซีมอเตอร์-ซีพี จ�ำกัดและบริษทั เอ็มจีเซลส์(ประเทศไทย)จ�ำกัดผู้ผลิตและผู้จ�ำหน่ำย รถยนต์เอ็มจีในประเทศไทยเตรียมเปิดตัวNEWMGV80 รถยนต์ PassengerVanขนำด11ที่ นั่ ง ที่ ม ำพร้ อ ม ห้องโดยสำรกว้ำงควำมสะดวกสบำยและระบบควำมปลอดภัยครบครันด้วยกำรติดตัง้ ระบบควำมปลอดภัยESP (ElectronicStabilityProgram)ซึง่ ครอบคลุมทัง้ ระบบป้องกัน ล้อล็อกABSระบบกระจำยแรงเบรกEBDและระบบ ควำมปลอดภัยอื่นๆอีกครบครันโดยขับเคลื่อนด้วย เครือ่ งยนต์ดเี ซลคอมมอนเรลขนำด2.5ลิตรซึง่ มีให้เลือก ทัง้ แบบเกียร์อตั โนมัติ และเกียร์ธรรมดำ6สปีดเจำะกลุม่ ลูกค้ำทีต่ อ้ งกำรรถยนต์นงั่ ขนำดใหญ่เพือ่ กำรเดินทำงกับ ครอบครัวหรือในแบบหมูค่ ณะในงำนบำงกอกอินเตอร์เนชัน่ แนลมอเตอร์โชว์ครัง้ ที่ 40ส�ำหรับผูท้ สี่ นใจสำมำรถ ชมและทดลองขับรถยนต์รุ่นต่ำงๆของเอ็มจีได้ในงำน บำงกอกอินเตอร์เนชัน่ แนลมอเตอร์โชว์ครัง้ ที่ 40ระหว่ำง วันที่ 27มีนำคม-7เมษำยน2562ณอำคำรชำเลนเจอร์ เมืองทองธำนีหรือสอบถำมข้อมูลเพิม่ เติมได้ทศี่ นู ย์ลกู ค้ำ สัมพันธ์โทร.1267หรือเว็บไซต์www.mgcars.com
พช. 4.0 เดินหน้าวางแนวทาง สร้างสรรค์ชุมชนอยู่ดีมีสุข ขับเคลื่อนประเทศสู่ความยั่งยืน
นิสิตจันทร์สมวงศ์อธิบดีกรมกำรพัฒนำชุมชนเป็นประธำนในพิธเี ปิดกำรประชุม เชิงปฏิบตั กิ ำรตรวจติดตำมผลกำรด�ำเนินงำน ของหน่วยรับตรวจรำยไตรมำสครัง้ ที่ 1/2562 มอบนโยบำยและแนวทำงกำรขับเคลื่อน ยุทธศำสตร์กรมฯปี2562เพื่อเสริมสร้ำง ควำมรูค้ วำมเข้ำใจแก่บคุ ลำกรของส�ำนักงำน พัฒนำชุมชนจังหวัดพร้อมบรรยำยพิเศษ ‘HappinessStrategy2019:คนพช.4.0 สร้ำงสรรค์ชุมชนอยู่ดีมีสุข’โดยเน้นย�้ำ กำรท�ำงำนเป็นทีมอย่ำงมีควำมสุขโดยมี วิ รุ ฬ พรรณเทวี รองผู ้ ว ่ ำ รำชกำรจั ง หวั ด เชียงใหม่มำร่วมด้วยณโรงแรมกรีนเลค รีสอร์ตจังหวัดเชียงใหม่
ททท. จับมือพันธมิตรระดับ บิก ๊ ทัว ่ ไทย แถลงข่าวเปิดตัว โครงการ ‘เที่ยวไทยรับพร 12 ราศี กับ อ.คฑา’
กำรท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย(ททท.) จับมือAISเดอะมอลล์กรุ๊ปโรงแรมในเครือ ฟอร์จนู โมโนกรุป๊ และแอร์เอเชียแถลงข่ำว เปิดตัวโครงกำร‘เทีย่ วไทยรับพร12รำศีกับ อ.คฑำ’ต่อยอดควำมส�ำเร็จจำกโครงกำร เที่ย วไทยรับพร12รำศีปี2561ที่ไ ด้รับ กระแสตอบรับอย่ำงดีเยีย่ มจำกนักท่องเทีย่ ว ทัว่ ประเทศและเพือ่ ขำนรับนโยบำยและส่งเสริม กำรท่องเทีย่ วของรัฐบำลน�ำรำยได้สปู่ ระชำชน ทุกภำคส่วนอย่ำงยัง่ ยืนโดยพำไปตำมสถำนที่ ขอพรประจ�ำรำศีเกิดของตนทั้ง12สถำนที่ 12รำศีเพือ่ ควำมเป็นสิรมิ งคลแก่ชวี ติ ตลอดปี 2562เมือ่ วันที่ 1มีนำคมทีผ่ ำ่ นมำณโรงแรม แกรนด์เมอร์เคียวฟอร์จูนกรุงเทพฯ
บ้านโครงการใหม่ Private N irvana THROUGH เอกมัย-รามอินทรา
ตะลุ ย 4 ถิ่ น เด็ ด 3 ประเทศ ใน ‘มอส แท่ง แย่งกันชิม’
พร้อมเปิดให้ชมบ้ำนโครงกำรใหม่ PrivateNirvanaTHROUGHเอกมัย-รำมอินทรำ บ้ำน3ชั้นรำคำเริ่มต้น10.8ล้ำนบำทกับ optionบ้ ำ นที่ มี ใ ห้ เ ลื อ กมำกถึ ง 4แบบ จ�ำนวนเพียง54ยูนติ พืน้ ทีใ่ ช้สอย230ตร.ม. ที่ดินเริ่มต้น38ตร.ว.พร้อมที่จอดรถสูงสุด 3คั น รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษและเลื อ กแปลงสวย ก่อนใครและรับของทีร่ ะลึกดีไซน์โดยPrivate Nirvanaเฉพำะในวันงำนเท่ำนัน้ รำยละเอียด เพิ่มเติม โทร. 0-2538-3883 เฟซบุ๊กหรื อ อินสตำแกรม คลิก @privatenirvana หรือ www.private-nirvana.com
บริษัทNextCompanyผู้น�ำสื่อวิทยุ ณจุ ด ขำยระเบิ ด กิ จ กรรมยิ่ ง ใหญ่ ข องปี เตรียมมอบควำมสุขให้กบั แฟนๆในกิจกรรม ข้ำวแสนดีพรีเซนต์เน็กซ์คิทเช่น‘มอสแท่ง แย่งกันชิม’ที่พำแฟนไปเปิดประสบกำรณ์ กำรทำนอำหำรมือ้ พิเศษแบบสุดเอ็กซ์คลูซฟี โดยสองคู ่ ซี้ มอสปฏิ ภ ำณกอดคอแท่ ง ศักดิ์สิทธิ์ กับ4แหล่งอร่อยใน3ประเทศ เช่นหัวหิน,เชียงใหม่,เกำหลีและญี่ปุ่น โดยประเดิมพำทัวร์ควำมอร่อยครั้งแรกที่ โรงแรมฮอลิเดย์อินรีสอร์ตวำนำนำวำหัวหิน ในวัน ที่30-31มีน ำคม2562นี้พร้ อมกับ เอ็กซ์คลูซีฟคอนเสิร์ตและบีชปำร์ตี้
28 เรื่อง
A THOUSAND WORDS
ทรรศน หาญเรืองเกียรติ บรรณาธิการบทความ IG : Matt_Doraemon
พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai
ISSUE 582 18 MAR 2019
NO MORE DICTATORSHIP IN THAILAND
“หลังจากผ่านเหตุการณ์หน้าสิ่วหน้าขวานมาระยะหนึ่ง ทางรัฐก็ให้เจ้าหน้าที่ต�ารวจเข้ามาช่วยในการ คุมก�าลัง แต่ประชาชนเองก็ยังออกมาแสดงความไม่พอใจกับเหตุการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้น” ภาพถ่ายโดย : ธิติ มีแต้ม
ในวันที่การเมืองไทย ร้ อ น ร ะ อุ ขึ้ น ม า อี ก ค รั้ ง เราขอยกพื้ น ที่ โ ชว์ ภ าพ 4 หน้ากระดาษให้กบ ั Real Frame กลุม ่ เพือ ่ นนักเล่า เรือ ่ งด้วยภาพทีร่ วมตัวกัน มาตั้งแต่ช่วงหลังน�้าท่วม ปี 2555 แม้จะมีอาชีพและ พื้นเพที่แตกต่างกัน แต่ พวกเขาก็ มี จุ ด ประสงค์ เดียวกัน คือการถ่ายภาพ บนท้องถนน เพื่อสะท้อน ปั ญ หาสั ง คม การเมื อ ง แ ล ะ สิ ท ธิ เ ส รี ภ า พ ข อ ง ประชาชนออกมาอย่ า ง ชัดเจนและแหลมคม เช่น เดียวกับเซตภาพถ่ายของ ตัวแทนสมาชิกกลุ่ม ธิติ มีแต้ม, อณุศก ั ดิ์ เลาวิลาศ, ปฏิภัทร จันทร์ทอง และ ยศธร ไตรยศ ที่คุณจะได้ รับชมต่อไปนี้
29 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
PEOPLE UNDER MILITARY FORCE
01
ด้ ว ยความที่ ส นใจในเรื่ อ งของสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน จึ ง ท� า ให้ ธิ ติ มี แ ต้ ม เข้ า ร่ ว มกั บ กลุ่ ม Real Frame เพื่ อ ใช้ ภ าพถ่ า ยของเขาในการสื่ อ สารประเด็ น สั ง คม เพราะเชือ ่ ว่าการออกมาพูดในนามของกลุม ่ คนทีม ่ ค ี วามคิดในทางเดียวกันนัน ้ จะมีพลังมากกว่าการออกมาพูดในนามของคนคนเดียว และภาพถ่ายของเขานัน ้ ก็ได้ท�าการส่งต่อประเด็นทางสังคม มากกว่าจะมาถกเถียงกันว่าภาพนี้ถ่ายอย่างไร ดีหรือไม่ดี และในภาพเซตนี้เขาก็ก�าลังบอกเราถึงความไม่พอใจบางอย่าง ที่ประชาชนถูกผู้มีอ�านาจใช้ก�าลังเพื่อลิดรอนสิทธิและเสรีภาพของพวกเขาในการแสดงความเห็นต่าง
ภาพเหตุการณ์ช่วงสัปดาห์แรกของการรัฐประหารปี 2557 เมือ่ วิวทิวทัศน์ของกรุงเทพฯ ย่านอนุสาวรียช ์ ย ั สมรภูมเิ ปลีย ่ นเป็น พื้นที่ของกลุ่มผู้คนที่ออกมาไม่เห็นด้วย และหมวกลายพราง ทีข ่ วางภาพวิวทีค ่ น ุ้ เคย สะท้อนถึงความไม่ปกติของสภาพสังคม โดยผูม ้ อ ี า� นาจต้องการทีจ ่ ะปกครองประชาชน
รัว้ ลวดหนามบริเวณค่ายทหารตรงสนามเป้า บอกถึงความกังวล ของฝ่ายทหารต่อการรับมือกับผูป ้ ระท้วง และยังมีรถหุม ้ เกราะ กับอาวุธหนักประจ�าตัว ทัง้ ๆ ทีฝ ่ า่ ยประท้วงเป็นแค่คนธรรมดา มือเปล่า
เหตุการณ์ร�าลึกการปฏิวัติสยามในวันที่ 24 มิถุนายน 2560 ทีอ ่ นุสาวรียป ์ ระชาธิปไตย ภาพนีถ ้ า่ ยผ่านรถของเจ้าหน้าทีต ่ า� รวจ ทีข ่ บ ั รถวนตรวจตราไปรอบๆ อนุสาวรีย์ ซึง่ ในภาพเจ้าหน้าที่ ก�าลังพูดอะไรบางอย่างกับวิทยุสอ ื่ สาร เพือ ่ เป็นการเฝ้าระวัง
หนึง่ วันหลังจากเหตุการณ์รฐ ั ประหาร บริเวณสีแ ่ ยกปทุมวัน เหล่าประชาชนออกมาแสดงความไม่พอใจ และแสดงออกด้วย การใช้เทปปิดปากเพือ ่ บอกว่าตัวเองถูกจ�ากัดสิทธิแ ์ ละเสียง
กองก�าลังทหารทีต ่ งั้ แถวในพืน ้ ทีบ ่ ริเวณอนุสาวรียช ์ ย ั สมรภูมิ มีทงั้ กองก�าลัง รถคันใหญ่ และแนวทหารทีต ่ งั้ ด่าน โดยมีอาวุธ ครบมือ ราวกับว่าพร้อมทีจ ่ ะตอบโต้ประชาชน
ภาพจากอีกฝั่งในเหตุการณ์ที่กองก�าลังทหารก�าลังตั้งแถว ในพืน ้ ทีบ ่ ริเวณอนุสาวรียช ์ ย ั สมรภูมิ ซึง ่ ชายคนนีเ้ ป็นเหมือน ตัวแทนประชาชนทีค ่ ด ั ค้านรัฐประหาร และแสดงเจตจ�านงว่า แม้จะมีแค่มือเปล่าแต่ก็พร้อมจะสู้ แต่ในทางกลับกัน ทางฝั่ง เจ้าหน้าทีก ่ ม ็ อ ี าวุธครบมือ
ภาพเช้ า วั น แรกบริ เ วณ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย หลั ง การท� า รั ฐ ประหาร โดยคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ (คสช.) วันที่ 23 พฤษภาคม 2557 โดย อณุศก ั ดิ์ เลาวิลาศ
30 ISSUE 582 18 MAR 2019
MONOPOLY OF VIOLENCE
02
การเมืองในบ้านเราในช่วงหลายปีที่ผ่านมามีสภาพเหมือนถูกแช่แข็งเอาไว้ ตั้งแต่เกิดรัฐประหารเมื่อปี 2557 และการจับตามองความเป็นไปของประเทศไทย จาก ปฏิภัทร จันทร์ทอง ช่างภาพสายการเมืองคนนี้ ก็ท�าให้เห็นว่า แม้จะมีคนออกมาแสดงพลังต่อต้านและเรียกร้องสิทธิตามหลักของประชาธิปไตยแค่ไหน ก็จะถูกสกัดไว้ด้วยอ�านาจทางทหารทุกครั้ง ท�าให้การต่อสู้เต็มไปด้วยความเหนื่อยยาก และภาพเหล่านี้ที่มาจากมุมมองของเขาก็คือสิ่งที่ก�าลังบอกกับเราว่าที่ ผ่านมาจนกว่าจะได้เลือกตั้งกันจริงๆ ในครั้งนี้รัฐบาลท�าอะไรกับประชาชนอย่างเราไว้บ้าง
นักศึกษาจัดงานครบรอบ 1 ปีรัฐประหาร ด้านหน้าหอศิลป กทม. ซึ่งเป็นกิจกรรมที่พวกเขาออกมาแสดงความไม่พอใจ ผ่านสัญลักษณ์รป ู นาฬิกา แต่ตา� รวจกลับใช้กา� ลังเข้าล้อมจับ และสลายการชุมนุม ทัง้ ๆ ทีไ่ ม่จา� เป็นต้องงใช้ความรุนแรง
กลุม ่ ทีเ่ รียกร้องให้ประชาชนโหวต No และกลุม ่ ทีบ ่ อกว่าให้ respect my vote ภาพนีเ้ ป็นจังหวะทีเ่ ทียนของกลุม ่ หลังบังเอิญไปโดนกระดาษ ทีท ่ า� ออกมาเป็นลักษณะของบัตรเลือกตัง้ พอดี ท�าให้เกิดเป็นสัญลักษณ์และความหมายทีน ่ า่ สนใจในการตีความ
หลังช่วงรัฐประหาร ทางกองทัพก็จัดกิจกรรมคืนความสุข ทีบ ่ ริเวณอนุสาวรียป ์ ระชาธิปไตย มีการโฆษณาชวนเชือ่ เปิดเพลง ร้องเพลงให้คนทีผ ่ า่ นไปผ่านมาได้ฟงั ซึง่ ก็มป ี ระชาชนสนใจและ เข้าไปสนุกกับกิจกรรมนี้
เหตุการณ์หลังการประกาศรัฐประหาร หน้าหอศิลป กทม. เ ป็ น เ ห ตุ ก า ร ณ์ ช่ ว งวั น แรกๆ ที่ ประชาชนออกมา ต่อต้านรัฐประหาร มี ทัง้ การท�าป้ายแสดง ความไม่พอใจ หรือ เดิ น ไปนอนอยู่ ใ น แนวเส้นของทหาร ทีก ่ า� ลังตรึงก�าลังอยู่ บนถนน
31 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN
AFTER THE COUP
03
ช่วงหนึ่งถึงห้าวันหลังรัฐประหารปี 2557 ยศธร ไตรยศ สมาชิกของกลุ่ม Real Frame แบกกล้องกระโจนเข้าสู่สนามความขัดแย้งทางการเมือง ระหว่างผู้สนับสนุนและผู้ต่อต้านรัฐประหารในหลายพื้นที่ในกรุงเทพฯ แม้จะเป็นสถานการณ์ที่สุ่มเสี่ยงจนท�าให้ต้องตกอยู่ในดงแก๊สน�้าตามาแล้ว แต่เขาก็เลือกท�าหน้าที่บันทึกภาพเหตุการณ์ตรงหน้าอย่างมุ่งมั่น โดยสอดแทรกแนวคิดและอุดมการณ์ทางประชาธิปไตยที่เขาศรัทธา ท�าให้เกิดเป็น เซตภาพที่แสดงให้เห็นบรรยากาศทางการเมืองของหลากหลายฝ่าย ทั้งฝ่ายทหาร กลุ่ม กปปส. และประชาชนที่ออกมาเรียกร้องต่อต้าน
ไม่กี่วันหลังรัฐประหาร ก็มีกระบวนการคืนความสุข ก่อนจะตามมาด้วยเพลง คืนความสุขประเทศไทย บริเวณอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิจึงมีกิจกรรมเชิงจิตวิทยาของทหาร เช่น รถขยายเสียง การ ร้องร�าท�าเพลง แจกข้าวของ แจกอาหาร แสดงคอนเสิร์ต แล้วก็มีคนน�าช่อดอกไม้มาให้ทหารอย่างในรูป
เป็นภาพผู้หญิงที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ถือกระดาษเขียนว่า PRAYUT GET OUT ซึง ่ ในความจริงไม่ได้มแ ี ค่เธอคนเดียว ทีน ่ ง ั่ ร้องไห้เสียใจกับเหตุการณ์นี้ แต่ยง ั มีคนในกลุม ่ ผูช ้ ม ุ นุม อีกมากมายทีต ่ อ ้ งเสียน�า้ ตาด้วยความผิดหวัง
เพียงหนึง ่ วันหลังรัฐประหาร กลุม ่ ผูช ้ ม ุ นุม กปปส. ได้ออกมาประกาศชัยชนะทางการเมืองทีอ ่ นุสาวรียป ์ ระชาธิปไตย ในมือมีดอกกุหลาบ และป้ายแสดงความยินดีกับกลุ่มทหาร
เป็นช่วงทีม ่ ค ี นออกมาชูสามนิว้ ตามภาพยนตร์เรือ ่ ง The Hunger Games แล้วก็โดนด�าเนินคดี ช่วงนัน ้ หลายคนคงตัง้ ค�าถาม ว่า แค่ชน ู วิ้ มันผิดกฎหมายเลยเหรอ จึงพยายามออกมาโห่ไล่ทหาร ทีย ่ ด ึ เอาอ�านาจของประชาชนไป
32 เรื่อง
B R E AT H E I N
สีตลา ชาญวิเศษ นักเขียน คนท�างานด้านวางแผนคอนเทนต์ นักบรรยายด้าน การตลาดสร้างสรรค์และการเล่าเรื่อง seetala.ch@gmail.com
issue 582 18 MAr 2019
คุณคงได้ยน ิ ประโยคนีบ ้ อ ่ ยๆ ว่า ‘ไม่มใี ครรูจ้ ก ั ตัวเราดี เท่ากับตัวเราเอง’ จริงๆ ไม่มอ ี ะไรผิดเลยส�าหรับประโยคนี้ เพราะโดยมากก็เป็นตัวเราเองนีแ ่ หละ ทีจ่ ะรูจ้ ก ั ตัวเองดีกว่าคนอืน ่ แต่วา่ การบอกว่าเรารูจ้ ก ั ตัวเองดีกว่าคนอืน ่ ก็ไม่ได้แปลว่าเราจะรูจ้ ก ั ตัวเองถูกต้องไปสักทุกเรือ ่ ง
ยกตัวอย่างล่าสุด ช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์ เราไปเดิน ขึ้นดอยหลวงเชียงดาว ที่จังหวัดเชียงใหม่ ระยะทางไป-กลับ เกือบ 20 กม. ซึ่งทริปนี้ไม่ใช่การตัดสินใจที่เราเต็มใจสักเท่าไหร่ แต่เพราะมีเหตุตกกระไดพลอยโจนทีป่ ฏิเสธไม่ได้ ก็เลยเป็นอันว่า ต้องไป แต่ก่อนไป เราคิดกับตัวเองเสมอว่า นี่คงเป็นทริปที่ ทรมานทรกรรมที่สุดแน่ๆ และเราคงเป็นภาระกับคนร่วมทาง เหตุผลก็เพราะเราคิดมาตลอดว่า เราเป็นคนกลัวความล�าบาก และท�าอะไรที่สมบุกสมบันไม่ได้ แต่กลับกลายเป็นว่า การเดินขึ้นดอยรอบนี้ท�าให้เรารู้ อย่างหนึ่งคือ ‘เราแทบไม่รู้จักตัวเองเลย’ นั่นเพราะพอเอา เข้าจริง เราเดินขึน้ และลงดอยโดยไม่ปริปากบ่นสักค�า แถมทริปนี้ ก็มีอุปสรรคเรื่องห้องน�้าห้องท่า ซึ่งโดยปกติเราจะหงุดหงิดกับ เรื่องห้องน�้ามากๆ เรียกว่าถ้าไปพักที่ไหนก็ตาม ห้องเล็กไม่บ่น แต่ขอห้องน�้าสะอาด แต่กลายเป็นทริปดอยหลวงเชียงดาว เราท�าธุระปลดทุกข์ได้อย่างไม่มีปัญหาและไม่บ่นสักกะแอะ เราเลยได้ตกผลึกกับตัวเองเรื่องนี้ว่า คงมีอีกหลายเรื่อง ที่เราเข้าใจตัวเองผิดมาตลอดได้เหมือนกัน ก็เหมือนกับทริป ดอยหลวง ที่สรุปแล้ว เราไม่ใช่คนกลัวความล�าบาก แต่เป็น คนที่ทนความล�าบากได้ดีเลยทีเดียว เหตุผลทีเ่ รายกเรือ่ ง ‘การเข้าใจตัวเองผิด’ ขึน้ มา ก็เพราะ มานึกขึ้นได้ว่า การเข้าใจตัวเองที่ผิดเพี้ยนนั้นท�าให้คนเรา พลาดโอกาสหลายอย่างดีๆ ในชีวิตไป ในท�านองเดียวกัน การจะเปลี่ยนตัวเอง (Transform) เป็นคนใหม่ อาจเริ่มจาก การเข้าใจตัวเองให้ถูกต้องเสียก่อน เหมือนกับเรื่องจริงของ ลิซ เมอร์เรย์ อดีตเด็กไร้บ้าน ที่มีพ่อแม่ติดยาเสพติด ที่สุดท้ายชีวิตพลิกผันกลายมาเป็น นักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ซึง่ ถ่ายทอดออกมาเป็นหนังสือ ชื่อ Breaking Night ด้วยความทีล่ ซิ เติบโตมาในสภาพแวดล้อมทีไ่ ร้ความหวัง เธอย�า้ เสมอในหนังสือเล่มนีว้ า่ ในช่วงเด็กจนถึงวัยรุน่ เธอแทบ ไม่มีความเชื่อเลยว่าเธอจะออกจากวังวนไร้อนาคตแบบนี้ได้ ภาพ : Getty Images
เพราะมองไปรอบตัว แทบไม่มีอะไรที่เอื้อให้เธอคิดได้ว่าเธอมี ศักยภาพทีจ่ ะขีดเขียนโชคชะตาตัวเองได้ ว่าง่ายๆ คือ ลิซมีความเข้าใจตัวเองที่บิดเบี้ยว และ ความเข้าใจที่บิดเบี้ยวคือสิ่งที่ขังเธอไว้ไม่ให้กล้าคิดนอกกรอบ เช่น เธอคุน้ ชินกับการเป็นคนไร้บา้ น เธอเลยนึกภาพตัวเองไม่ออก ว่าเธอควรหาทางท�าให้ตวั เองมีหลักมีแหล่ง ซึง่ ส�าหรับคนมีบา้ น อย่างเราๆ เวลาอ่านหนังสือเล่มนี้ จะหงุดหงิดใจว่าท�าไมลิซถึงได้
จริ ง ๆแล้ ว คุ ณ อาจ เข้ า ใจตั ว ผิ ด เอง มาตลอดก็ ไ ด้ ! Breaking Night
ซือ่ บือ้ ไม่คดิ เก็บเงินเช่าห้องพักให้ตวั เอง ซึง่ เราในฐานะคนนอก ไม่แปลกที่จะหงุดหงิดว่าท�าไมลิซถึงคิดไม่ได้ แต่จริงๆ เราลืม คิดไปว่า ในมุมของลิซ เธอคุ้นชินกับการเป็นอย่างนั้น ฉะนั้น มันเลยยากที่จะให้คนที่ชินกับการไร้บ้านมาคิดอยากมีบ้าน พูดอีกอย่างคือ การทีค่ นเราคุน้ ชินกับอะไรมานานๆ ก็มกั เข้าใจตัวเองไปตามสภาพแวดล้อมแบบนั้น เหมือนกับตัวเรา
ทีค่ นุ้ ชินกับความสะดวกสบาย จนนึกไม่ออกว่า เราทนความล�าบาก ได้ดว้ ยเหรอ? จนวันทีเ่ ราไปเจอความล�าบากนีแ่ หละ ถึงได้รวู้ า่ เรา เข้าใจตัวเองผิดมาตลอด เช่นกันกับ ลิซ เมอร์เรย์ พอวันหนึง่ ที่ลิซมีโอกาสได้คลุกคลีกับวงสังคมใหม่ที่มีที่พักเป็นของตัวเอง รวมทั้ ง เธอได้ เ จอโรงเรี ย นทางเลื อ กที่ พ ร้ อ มสนั บ สนุ น เด็ ก ด้อยโอกาสให้ได้ฉายแวว ตอนนัน้ ลิซถึงค่อยๆ รูจ้ กั ตัวเองชัดขึน้ ว่า จริงๆ แล้วเธอ ต้องการบ้านและเธอเป็นคนเอาการเอางานใช้ได้เลยทีเดียว กล่าวคือ ลิซถึงบางอ้อขึ้นเรื่อยๆ ว่า ไอ้ความเข้าใจที่ว่า เธอคง ไม่เหมาะกับการมีหลักแหล่งหรือชีวติ เธอคงไม่สามารถดีไปมากกว่า นี้ มันเป็นความเข้าใจทีผ่ ดิ แท้ทจี่ ริง การมีบา้ นและการมีอนาคต ที่ดีคือสิ่งที่เธอต้องการ และแน่นอนว่า พอลิซรูจ้ กั ความต้องการตัวเองถูกต้องขึน้ ลิซก็เดินหน้าสู้ตายที่จะตั้งใจเรียนจนสอบติดมหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด และตัง้ ใจทีห่ าทีพ่ กั ให้ตวั เอง โดยจะไม่ยอมกลับไปไร้บา้ น อีกแล้ว ซึ่งต่อมาเรื่องราวของเธอกลายเป็นที่สนใจของสื่อดังๆ จนท�าให้ลซิ เป็นทีร่ จู้ กั ในวงกว้างในฐานะ ‘คนไร้บา้ นสูฮ่ าร์วาร์ด’ อย่างไรก็ตาม เราเชื่อว่าคงไม่ได้มีแค่ตัวเราและ ลิซ เมอร์ เ รย์ เท่ า นั้ น ที่ เ พิ่ ง มารู ้ ตั ว ว่ า เข้ า ใจตั ว เองผิ ด มาตลอด เราเชื่อว่าคุณผู้อ่านหลายคนคงเคยมีประสบการณ์เหมือนกัน ที่มารู้ว่า จริงๆ นี่ฉันไม่ได้เป็นอย่างที่คิดไว้นี่! ซึ่งแน่นอนว่า ทันที่คนเราเห็นมุมใหม่ๆ ของตัวเอง มันก็เหมือนการเปิดประตู บานใหม่ไปสู่โอกาสอื่นๆ อย่างเช่น ที่ลิซเปิดโอกาสตัวเองสู่ การศึ ก ษา หรื อ ตั ว เราที่ ต ่ อ ไปคงกล้ า พาตั ว เองไปล�า บาก เพราะรู้แล้วว่าจริงๆ เราทนความล�าบากได้ เช่นกัน คุณลองนึกดูวา่ ถ้าคุณได้รจู้ กั ตัวเองในมุมใหม่ๆ ที่คุณไม่เคยคิดมาก่อนอีกสักเรื่องสองเรื่อง จะเกิดอะไรขึ้นกับ ชีวติ คุณ? แต่ทแี่ น่ๆ สิง่ ส�าคัญของการจะค้นพบตัวเองคือ คุณต้อง เอาตัวเองไปลองประสบการณ์ใหม่ๆ หรือวงสังคมใหม่ๆ เพราะ ถ้าขืนอยูก่ บั ความคุน้ ชินเดิมๆ ไม่มที างทีค่ ณ ุ จะเห็นตัวเองได้ชดั หรอก
33 พชร สูงเด่น นักศึกษาทุน Erasmus Mundus ด้านการศึกษาเพื่อการ พัฒนา เรียนรู้นอกห้องเรียนด้วยการเดินทางไปยังเมือง ต่างๆ ในยุโรป
adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin
เรื่อง
ชีวต ิ หลังความตายมีจริงไหมไม่มใี ครรู้ แต่ทรี่ แ ู้ น่ๆ คือเราต่างทิง้ สิง่ ของเครือ ่ งใช้มากมาย ในวันทีเ่ ราหายไปจากโลกนี้ สิง่ ของทีค ่ นเบือ ้ งหลังกลืนไม่เข้า คายไม่ออก จะทิง้ ก็เกรงใจคนทีจ่ ากไปแล้ว ครัน ้ จะเก็บไว้กไ็ ร้ความจ�าเป็น
เดธคลีนนิง (Death Cleaning) หรือ เดอสแต็คนิง (Döstädning) ทีแ่ ปลตรงตัวได้วา่ การท�าความสะอาด (Städning) + ความตาย (Dö) เป็นวิธีการที่ มาร์กาเรตา แม็กนัสซัน (Margareta Magnusson) ผู้เขียนหนังสือ The Gentle Art of Swedish Death Cleaning นิยามว่า หมายถึงการจัดการ คัดสรรสิง่ ของทีต่ วั เองมี น�าสิง่ ของ ที่ไม่จ�าเป็นออกไป ให้สิ่งของต่างๆ ค่อยๆ หมดไปจากบ้าน ก่อนที่เราจะจากโลกนี้ไป กระแสการจัดบ้านแนวทางญี่ปุ่น ที่ใช้การจัดบ้านท�าให้ ชีวิตดีขึ้นด้วยการเลือกเก็บเฉพาะสิ่งของที่ท�าให้มีความสุขไว้ หากเดธคลีนนิงนัน้ มีเป้าหมายไปไกลกว่านัน้ เป็นการจัดบ้านที่ ไม่ใช่เพียงเพื่อความสุขของตัวเองในวันที่ยังมีชีวิต หากเพื่อ ความสบายใจของคนใกล้ ชิ ด ในวั น ที่ เ ราไม่ ไ ด้ อ ยู ่ ต รงนั้ น ในการเลือกว่าจะเก็บหรือทิ้งอะไรออกไปจากบ้านที่พวกเขายัง ต้องอยู่ต่อไป มาร์กาเรตามีอายุแปดสิบกว่าในวันที่เขียนหนังสือเล่มนี้ เธอเล่ า ว่ า เธอผ่ า นการย้ า ยบ้ า นสิ บ เจ็ ด ครั้ ง ตั้ ง แต่ เ กิ ด มา ประสบการณ์ที่ท�าให้เข้าใจดีว่า การตัดสินใจเลือกว่าของสิ่งใด ควรอยู ่ ห รื อ ไปนั้ น ไม่ ง ่ า ย และถ้ า มั น ยากแม้ แ ต่ กั บ เธอเอง ที่เป็นเจ้าของสิ่งนั้น มันคงยากกว่าส� าหรับคนอื่นๆ ที่ต้อง มาจัดการหาที่ไปให้สิ่งของเหล่านี้ในวันที่เธอไม่อยู่ตัดสินใจ ชี้ชะตาให้ข้าวของของเธอได้ด้วยตนเอง ค�าว่า ‘ตาย’ อาจท�าให้ใครกังวลใจในความหมายที่จะ ทดลองวิธีนี้ หรือชวนคนรอบตัวมาท�าสิ่งนี้อยู่บ้าง ชื่อของมัน อาจท�าให้คิดว่ามันคือการกวาดล้างข้าวของในวันก่อนตาย หากความจริงแล้ว เดธคลีนนิงนั้นไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นฉับพลัน ในวันเดียว หากคือกระบวนการค่อยเป็นค่อยไปในการเปลี่ยน จากชีวิตที่ยิ่งอยู่นาน สิ่งของยิ่งเพิ่มพูน กลายเป็นยิ่งอยู่นาน ยิ่งมีของน้อยลง ค่อยๆ ก�าจัดของออกทีละชิ้นสองชิ้น จนถึงวัน สุดท้ายที่เราหายไป และไม่เหลือภาระใดให้ใครต้องมาจัดการ และถึงแม้ผู้เขียนจะแนะน�าวิธีการนี้ให้กับคนที่ ‘ก�าลัง เดินทางมาสู่ครึ่งหลังของชีวิต’ หากนั่นไม่ได้หมายความว่า ภาพ : Getty Images
มันจะใช้ได้ผลเฉพาะคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น เพราะจริงๆ แล้วนี่ดูจะเป็นปรัชญามากกว่าวิธีการ เป็นเรื่องของการใช้ชีวิต มากกว่าความตาย ด้วยวิธกี ารง่ายๆ ในการตัดสินใจเล็กๆ น้อยๆ ในชีวิตประจ�าวัน เช่น การเลือกตัดใจ ปล่อยวาง สิ่งที่ไม่ชอบ และไม่ ท� า ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ไม่ ยึ ด ถื อ แบกไว้ ใ ห้ ห นั ก บ้ า น หนักชีวิตอีกต่อไป การเสี ย ดายข้ า วของเพราะเสี ย ดายเวลาที่ เ คยมี ม า
Death Cleaning ตายก่ อ นตาย วิ ถี ส วี ดิ ช ในการก� า จั ด สิ่ ง ของให้ ห าย ก่ อ นความตายมาถึ ง
อาจแสดงว่าเรายังไม่ได้ให้คุณค่ากับสิ่งนั้นอย่างเต็มที่ในวันที่ มันอยู่ตรงนั้นเพื่อท�าหน้าที่ของมัน หากกลับกัน เมื่อเราได้ ก�าหนดมัน่ หมายว่าจะปล่อยวางสิง่ ทีไ่ ม่ท�าให้ชวี ติ มีความหมาย ในวันนีแ้ ละวันต่อๆ ไป และเห็นว่าตราบใดทีช่ วี ติ เรานัน้ มีอายุขยั ข้าวของเครื่องใช้ก็เช่นกัน มันก็จะง่ายขึ้นในการปล่อยมันไป เห็นความไม่จรี งั มากขึน้ จนความอยากลดลง ภาระทีเ่ หลือทิง้ ไว้ ให้ใครต้องตามจัดการก็น้อยลง
เหมือนที่ มาร์ก ทเวน เคยกล่าวไว้วา่ “ความกลัวตายนัน้ เกิดขึ้นกับคนที่กลัวชีวิต ผู้ใช้ชีวิตอย่างสมบูรณ์แล้วเท่านั้น ที่พร้อมจะตายได้ทุกเมื่อ” (The fear of death follows the fear of life. A man who lives fully is prepared to die at any time.) เดธคลีนนิงอาจฟังดูไม่ง่ายเท่าไหร่ โดยเฉพาะในสังคม ที่ ค วามตายเป็ น เรื่ อ งต้ อ งห้ า ม (ท่ า มกลางอี ก หลายเรื่ อ ง) หากระลึกถึงความตายนั้นไม่ใช่เรื่องชวนหดหู่ หากช่วยท�าให้ ชีวติ มีความหมาย การได้ตดั สินใจว่าจะเก็บหรือปล่อยวางสิง่ ใด สิ่งของ หรือความสัมพันธ์ใดที่ควรมีพื้นที่อยู่ในชีวิต นอกจาก จะช่ ว ยให้ ผู ้ ท� า สิ่ง นั้น เองได้ หัน ไปรอบตัว แล้ ว เจอแต่ สิ่ง ของ ผู้คนที่เราเลือกแล้วว่าจะมีชีวิตอยู่กับสิ่งนั้น กับคนนั้น และนั่นอาจเป็นหนึ่งในสิ่งที่ดีที่สุดที่ท�าให้คนรอบตัวได้ ทั้งในวันที่จากไป และในวันที่ยังมีชีวิตอยู่ด้วยกัน
34
, EDITOR S NOTE
เรื่อง
ISSUE 582 18 MAR 2019
กว่าจะมาเป็นเว็บ #VOTE62 เว็บไซต์สำาหรับเช็กหมายเลขพรรคการเมือง ใช้หนึ่งกากบาทให้คุ้มค่าที่สุด เหลื อ เวลาอี ก ไม่ ถึ ง หนึ่ ง อาทิ ต ย์ ก็จะไปสูว่ นั เลือกตัง้ 24 มีนาคม 2562 ถือเป็น การเลื อ กตั้ ง ที่ ห ลายคนตั้ ง ตารอหลั ง จาก ห่างหายไปนานกว่า 8 ปี สี่องค์กรที่ท�างาน เกี่ยวข้องกับการสื่อสารในหลากแง่มุมจึง จับมือกัน เปิดตัวแพลตฟอร์มกลางอย่าง เว็บไซต์ Vote62.com ให้บริการตรวจสอบข้อมูล หมายเลขพรรคการเมือง และยังมีฟังก์ชัน ใส่ฟิลเตอร์กรองจุดยืนของพรรคการเมือง ด้วยว่า เป็นพรรคที่จะสนับสนุนคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ (คสช.) หรือไม่สนับสนุน เบือ้ งหลังของการท�างานครัง้ นีม้ าจาก การช่ ว ยกั น ลงแรงกั น ตามความถนั ด ของ แต่ละทีม ได้แก่ โอเพนดรีม (opendream) เป็นบริษัทไอทีที่สนใจงานประมวลผลข้อมูล สาธารณะและการท�า data visualization, อะเดย์บุลเลติน (a day BULLETIN) สื่อ รายสั ป ดาห์ แ ละสื่ อ ออนไลน์ ที่ มี เ นื้ อ หา ตอบโจทย์ความสนใจของคนเมือง, เดอะ โมเมนตัม (The Momentum) สื่อออนไลน์ว่า ด้วยสังคม การเมือง และวัฒนธรรม และ ไอลอว์ (iLaw) สื่ อ ที่ จั บ ตาด้ า นกฎหมาย และนโยบายของไทย “นี่เป็นการเลือกตั้งที่มีจ�านวนผู้สมัคร มากที่ สุ ด และมี พ รรคการเมื อ งมากที่ สุ ด ครั้งหนึ่ง และต้องบอกว่า นี่เป็นการเลือกตั้ง ที่ยากและซับซ้อนที่สุดครั้งหนึ่งเลยก็ว่าได้” ยิ่งชีพ อัชฌานนท์ ผู้จัดการไอลอว์ อธิบาย ถึงความพยายามที่จะอธิบายการเลือกตั้ง ครั้งนี้ให้เข้าใจง่ายมากยิ่งขึ้น “นอกจากมันจะท�าให้เราสับสนแล้ว
มันยังไม่สะท้อนเจตนารมณ์ของเราทีเ่ ข้าคูหา ไปกากบาท ยิง่ เมือ่ ประกอบกับรัฐธรรมนูญใหม่ ที่ไม่สะท้อนถึงสิทธิเสรีภาพของประชาชน มัน ก�า ลั ง จะท�า ให้ บ ้ า นเมือ งเรากลายเป็ น เหมื อ นย้ อ นกลั บ ไปเมื่ อ 20-30 ปี ก ่ อ น ที่สมาชิกวุฒิสภามีอ�านาจมากขึ้น ในขณะที่ นั ก การเมื อ งและพรรคการเมื อ งมี อ� า นาจ ลดลง ซึ่งแน่นอนว่ามันหมายถึงเสียงของ ประชาชนที่ มี พ ลั ง น้ อ ยลงด้ ว ย” วุ ฒิ ชั ย กฤษณะประกรกิ จ บรรณาธิ ก ารบริ ห าร อะเดย์บุลเลติน กล่าว ภายใต้สถานการณ์เช่นนี้ ทั้งสี่องค์กร จึงมานัง่ คุยกันว่า จะท�าอย่างไรให้คะแนนเสียง เพียงหนึง่ กากบาทนัน้ มีคา่ ทีส่ ดุ และสะท้อน ความต้องการของประชาชนออกไปได้ชดั เจน ที่สุด ภาณุ เ ดช วศิน วรรธนะ นัก พัฒ นา โปรแกรมจากโอเพนดรีม เล่าว่า ได้อา่ นกติกา การเลือกตั้งที่พออ่านจบก็เกิดค�าถามและ ข้อสงสัยขึน้ มากมาย โดยเฉพาะเรือ่ งการค�านวณ คะแนน จึงอดไม่ได้ที่จะต้องพิสูจน์กันด้วย สมการคณิตศาสตร์ ซึ่งพอท�าไปท�ามาก็เริ่ม จริงจัง “แล้วเราก็ค้นพบผลลัพธ์บางอย่าง จากการพิ สู จ น์ นั้ น เช่ น ท� า ไมต้ อ งย่ อ ย พรรคใหญ่เป็นพรรคเล็กพรรคน้อย ท�าไม เขตเลื อ กตั้ ง เดิ ม ใช้ ไ ม่ ไ ด้ ต ้ อ งแบ่ ง ใหม่ ท�าไมกาได้เบอร์เดียว โดยเฉพาะท�าไมพรรค พรรคเดียวจึงมีหลายเบอร์ มันท�าให้เราคิดว่า ควรมีเครื่องมือที่ช่วยลดความปวดหัวนี้” ปมเรื่องพรรคหนึ่งมีหลากหลายเบอร์
นี้เองที่ท�าให้การเลือกตั้งครั้งนี้ชวนสับสน นั่นจึงเป็นที่มาของการออกแบบให้ Vote62 มีระบบช่วยบันทึกความทรงจ�า คือสามารถ เซฟหมายเลขผู ้ ส มั ค รเก็ บ เอาไว้ เ ป็ น รู ป หรือส่งเก็บไว้ในไลน์หรือในโซเชียลมีเดียอืน่ ๆ ได้ โดยเน้นไปที่การจดจ�าหมายเลขผ่าน การค้นชื่อพรรคการเมือง อีกฟังก์ชันที่เสริมเข้ามาคือการช่วย ใส่ฟิลเตอร์ให้คนสามารถกรองได้ ว่าจะดู รายชื่ อ เฉพาะพรรคการเมื อ งที่ ส นั บ สนุ น คสช. หรือไม่สนับสนุน คสช. เป็นปุ่มสีเขียว และสีส้มที่หน้าเว็บ “ถ้ามีคนที่สนับสนุน คสช. แต่ไม่ชอบ ส.ส. เขตของพรรคพลังประชารัฐ แล้วเราจะ เลือกใครแทนได้บ้างเพื่อมาเป็น ส.ส. เขต บ้ า นเรา เว็ บ นี้ ก็ พ อจะช่ ว ยได้ ร ะดั บ หนึ่ ง โดยกรองจากข้อมูลนโยบายพรรคหรือจาก ที่เคยสัมภาษณ์ไว้ว่าสนับสนุน คสช. หรือไม่ ตอนท� า ก็ คิ ด ว่ า จะเป็ น การชี้ น� า หรื อ เปล่ า เหมือนกัน แต่พอท�าออกมาดูแล้วก็รู้สึกว่า ช่ ว ยได้ เ ยอะเลย ส� า หรั บ คนที่ ไ ม่ รู ้ ข ้ อ มู ล ในส่วนนี้” ภาณุเดชกล่าว “เราถือว่าไม่ว่าจะเลือก คสช. หรือไม่ เลือก คสช. มันก็เป็นหนึ่งในทางเลือกทั้งนั้น การท� า ข้ อ มู ล ให้ เ ข้ า ใจง่ า ยก็ ก ลายเป็ น ฟังก์ชันที่สนุกดีด้วย” อรพิณ ยิ่งยงพัฒนา บรรณาธิการบริหาร The Momentum กล่าว วุฒชิ ยั เสริมว่า การเลือกเป็นพรรคนัน้ เป็ น การแสดงเจตนารมณ์ อ ย่ า งชั ด เจน เพือ่ ตอบค�าถามหลักๆ สองข้อ ข้อแรกสุดคือ เราจุดยืนทางการเมืองว่าสนับสนุนรัฐบาล
ชุดปัจจุบันที่มาจากคณะ คสช. หรือไม่ และ ข้อต่อมา เราต้องการผลักดันนโยบายของ พรรคใดอย่างชัดเจน เช่น เรือ่ งสวัสดิการสังคม อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม แก้ปญ ั หาเศรษฐกิจ ฯลฯ เว็ บ ไซต์ Vote62 จะท�า หน้ า ที่ ช ่ ว ย สื่ อ สารข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การเลื อ กตั้ ง ให้ เ ข้ า ใจง่ า ยยิ่ ง ขึ้ น โดยจะแบ่ ง ออกเป็ น สองเฟส เฟสแรกคือ ก่อนเลือกตั้งจนถึง วันเลือกตัง้ นัน้ ในเว็บไซต์จะเปิดฟังก์ชนั หลัก เพื่อให้ข้อมูลพื้นฐานที่คาดว่าคนจะสงสัย เช่น ค้นเบอร์ของผูส้ มัครหรือพรรคในแถวบ้าน ท�าความเข้าใจกติกาการเลือกตั้งครั้งนี้ และ ดูนโยบายของพรรคการเมือง ส่วนเฟสสองนั้นจะปรากฏให้เห็นหลัง ปิดหีบที่เริ่มมีการนับคะแนน โดยจะคอย อัพเดตผลการนับคะแนนทั้งประเทศอย่าง ไม่ เ ป็ น ทางการ ซึ่ ง ข้ อ มู ล ส่ ว นหนึ่ ง นั้ น จะ เชิญชวนให้คนทัว่ ไปช่วยกันอัพโหลดผลของ หน่วยเลือกตั้งใกล้บ้านตัวเองเข้ามาด้วย