a day BULLETIN 585

Page 1

TODAY EXPRESS PRESENTS

08 APR 2019

ExtrEmE happinEss, ExtrEmE anxiEty

586 585 584


02

CONTENTS

ISSUE 585 08 APR 2019

DATABASE PRESENTS

08 APR 2019

ISSUE 585

586 585 584

TODAY EXPRESS

ย่นย่อเรือ ่ งราวของระบบ เทคโนโลยี AI ทีอ ่ ก ี ไม่นาน (อาจ) จะชนะมนุษย์

THE CONVERSATION ร่วมกลัน ่ กรองประสบการณ์ ชีวต ิ (ทีก ่ า� ลังเผชิญกับความสับสน) และเสียงดนตรี (ทีเ่ ต็มไป ด้วยความสุข) ไปกับ ภูมิ วิภรู ศิ

MONEY LIFE BALANCE ชวนสะกิดให้คิด (ใหม่) กับเรื่องเงินๆ ทองๆ

ExtrEmE happinEss, ExtrEmE anxiEty สิ่ ง ที่ ป ระทั บ ใจเรามากที่ สุ ด ในวั น นั้ น นอกจาก บทสนทนาที่ เ ป็ น กั น เอง คงหนี ไ ม่ พ้ น รอยยิ้ ม ของ Mr. Sunshine คนนี้ ที่ไม่ว่าใครได้คุยกับ ภูมิ วิภูริศ ศิ ล ปินหนุ่ม จากค่าย Rats Record ตรงๆ ต่อ หน้ า คงสัมผัสได้ถึงพลังบวกที่แผ่ออกมาได้ตลอดเวลา เป็นอย่างดี แม้วา่ เรือ ่ งราวทีเ่ ราพูดคุยกันวันนัน ้ จะไม่ใช่เรือ ่ ง เบาๆ แต่เป็นประสบการณ์ชีวิตในช่วงเวลาที่ผ่านมา หลังเจอกับความส�าเร็จทีเ่ ข้ามาอย่างรวดเร็ว สิง่ ทีเ่ ขาต้อง รับมือนอกจากความสุขที่เอ่อล้น คือการเผชิญกับ ความสับสนในความเป็นตัวเอง งานอดิเรกทีเ่ คยเป็นสิง่ ที่ สร้างความสุข กลายเป็นภาระกดดันทีท ่ า� ให้เขากลัวทีจ่ ะ สูญเสียสิง ่ ทีร ่ ก ั ไป จนถึงจุดทีเ่ ขาต้องหยุดทุกอย่างและ กลับมาหาสมดุลด้วยการฟังเสียงข้างในตัวเองอีกครัง้ แต่นา่ สนใจว่าเรือ ่ งราวทีน ่ า่ จะหนักหนาส�าหรับชายหนุม ่ วัย 23 ปี เขากลับเล่าสิ่งต่างๆ ออกมาพร้อมรอยยิ้ม และดูเหมือนเขาจะกลับมาหาจุดสมดุลของตัวเองได้อก ี ครัง้ ลองไปรูจ้ ก ั เด็กหนุม ่ คนนีใ้ ห้มากขึน ้ ผ่านบทสัมภาษณ์ชน ิ้ นี้

INTERNS

LIFE เติมแรงบันดาลใจไปกับ 3 หนุม ่ สาวทีส ่ ร้างชัมบาลาของ ตัวเองขึน ้ ทีบ ่ า้ นเกิด ‘โคราช’

BREATHE IN 1 A History of Thailand อ�านาจหอมหวาน ซ่อนภาระ หนักหัวให้ผู้ปกครอง

BREATHE IN 2 Deep Democracy โรงละคร ประชาธิปไตยในชีวต ิ จริง เมื่อเสียงคือสิ่งแทนใจ เมื่อประชาธิปไตยไม่ใช่แค่ เรื่องของสังคม

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อชีวิตและสังคม ผ่านสายตา วุฒช ิ ย ั กฤษณะประกรกิจ

ทีป ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการทีป ่ รึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ้ ม ิ พ์ผโู้ ฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒช ิ ย ั กฤษณะประกรกิจ รองบรรณาธิการบริหาร ฆนาธร ขาวสนิท บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นั ก เขี ย น/ผู้ ป ระสานงาน ตนุ ภั ท ร โลหะพงศธร หั ว หน้ า ช่ า งภาพ กฤตธกร สุ ท ธิ กิ ต ติ บุ ต ร ช่ า งภาพ ภาสกร ธวั ช ธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ิ สกุล ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิม ้ แย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิรล ิ ก ั ษณ์ ตะเภาหิรญ ั ศิลปกรรม ฐิตชิ ญา อนันต์ศร ิ ภ ิ ณ ั ฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อัก ษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง กวินนาฏ หัวเขา ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ภรั ณภพ สุ ขอิ นทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิด า อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว นักศึกษาฝึกงาน ธฤษวรรณ แสงโชติช่วงชัย ณัชพล เนตรมหากุล ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com



04 เรื่อง

ธฤษวรรณ แสงโชติช่วงชัย นักศึกษาฝึกงาน IG : maymmoery

DATA BA S E

ภาพ

สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรมอาวุโส IG : Ponyo_thesea

ISSUE 585 08 APR 2019

C AU S I N G JOB DISRUPTION

1

CA

US

IN

G

JO

B

DI

SR

UP

5 5 9

JO

HN

Mc

CA

R

TI

ON

DO

NO

ระบบ AI ถูกประดิษฐ์ขน ึ้ ครัง้ แรกในปี ค.ศ. 1955 โดย จอห์น แมคคาร์ที และ นักวิจย ั อีกกว่า 10 สถาบัน เป็นการน�า ระบบโครงข่ายใยประสาทติดตัง้ ใน เครือ ่ งจักร เพือ ่ ให้มน ั มีความคิดและ จิตส�านึกในการท�างานเสมือนมนุษย์ได้

0 3 2:

หลายองค์กรเริม ่ หันมาสนใจเทคโนโลยี AI เนือ ่ งจากความสามารถในการเรียนรูท ้ รี่ วดเร็ว ของมัน โดย AI ใช้เวลาเพียง 2 สัปดาห์เท่านัน ้ ในการเรียนรูข้ อ ้ มูลทีม ่ นุษย์ตอ ้ งใช้เวลากว่า 30 ปี

UN

IT

ED

AY

16

Y TH

30

TP

0 , 0 1

แชตบอตทนายความตัวแรกของโลก ชือ ่ DoNotPay ช่วยยืน ่ ค�าร้องและให้คา� ปรึกษาในคดีเกีย ่ วกับค่าปรับการจอดรถ ทีไ่ ม่เป็นธรรม ใน 21 เดือนทีเ่ ปิดให้บริการ แชตบอตตัวนี้ ชนะอุทธรณ์กว่า 160,000 เคส ช่วยให้ลูกความ ประหยัดค่าปรับไปกว่า 4 ล้านดอลลาร์ฯ

0 0

, 0

8 อาชีพทีต ่ กอยูใ่ นความเสีย ่ ง สู ง ถึ ง 99% ในการสู ญ เสี ย ต�าแหน่งงานให้หน ุ่ ยนต์

0 0 0

บริษท ั Enlitic พบว่าระบบ AI สามารถวิเคราะห์ภาพถ่ายจาก การเอกซเรย์ได้เร็วกว่าแพทย์ รังสีวท ิ ยา 10,000 เท่า และมี ความแม่นย�าในการวินจ ิ ฉัย มากกว่าแพทย์ถงึ 50% เช่น การมองเห็นเซลล์มะเร็งจุดเล็กๆ ในภาพ ขณะทีห ่ มอบางท่าน วินจ ิ ฉัยว่าไม่มม ี ะเร็ง

EN

LI

TI

7 4 -

N KI

GD

OM

มีการคาดการณ์วา่ ในปี ค.ศ. 2030 หุน ่ ยนต์จะเข้ามาแทนทีต ่ า� แหน่งงานในประเทศอังกฤษ ประมาณ 30% และในปี ค.ศ. 2033 จะแทนทีต ่ า� แหน่งงานในสหรัฐอเมริกาประมาณ 47%

22

จากการส�ารวจมุมมอง ผูบ ้ ริหารระดับสูง 250 คนของบริษท ั ทีน ่ า� เทคโนโลยีมาใช้ พบว่า มีผบ ู้ ริหาร 22% จาก กลุม ่ ตัวอย่าง ต้องการ ให้ AI มาท�างานแทน พนักงานทีเ่ ป็นมนุษย์

C

1

พนักงานคีย์ ข้อมูล

2

ช่างเทคนิค ห้องสมุด

3

พนักงานบัญชี

4

นักวิจัย

5

เจ้าหน้าที่ ค�านวณภาษี

6

พนักงาน ขนส่งสินค้า

7

ช่างซ่อม นาฬิกา

8

ผู้พิจารณา รับประกันภัย (Insurance Underwriter)

ที่มา : www.brandinside.asia, www.digitalwellbeing.org, www.theeleader.com, www.medium.com, www.krungsri.com, www.techrepublic.com

AI

แม้มนุษย์จะเป็นผูส ้ ร้างหุน ่ ยนต์ขน ึ้ มาเองกับมือ แต่โลกก�าลังหมุนมาถึงจุดทีค ่ นก�าลังหวาดระแวงกับพัฒนาการ ของเทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence) หรือปัญญาประดิษฐ์ ทีถ ่ ก ู พัฒนาขึน ้ เรือ ่ ยๆ ในระยะเวลาหลายสิบปี ทีผ ่ า่ นมา เพราะหุน ่ ยนต์เหล่านีม ้ ขี อ ้ ได้เปรียบมากมายเมือ ่ เทียบกับความสามารถทีไ่ ม่แน่นอนของมนุษย์ จนบริษท ั หลายแห่งเริม ่ เล็งเห็นประโยชน์ของการใช้ AI แทนแรงงานมนุษย์ และเป็นทีม ่ าของปัญหาการสูญเสียต�าแหน่งงาน ให้กบ ั หุน ่ ยนต์


GET YOUR FAVOURITE HAIR CARE BRANDS ON THIS CAMPAIGN TO STOP BAD HAIR DAYS

ER SHOPEE SUP B R A N D DAY น 2562 นี้ ั ที่ 9-11 เมษาย วน

ซัมเมอร์นี้บอกเลยว่า แดดแรงแค่ไหนก็ไม่ต้องกลัวผมเสีย เพราะ Shopee (ช้อปปี้) ผู้น�าตลาดอีคอมเมิร์ซในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไต้หวัน จับมือกับแบรนด์ผลิตภัณฑ์บ�ารุงเส้นผมระดับโลก ทั้ง Pantene, Head & Shoulders, Rejoice และ Herbal Essences เพื่ อ ชวนคุ ณ มาเปลี่ ย นผมเสี ย ให้ ก ลายเป็ น ผมเงาสวยสุ ข ภาพดี กับแคมเปญสุดพิเศษ Shopee Super Brand Day มอบส่วนลด สูงสุดถึง 50% พร้อมโปรโมชัน และรางวัลของแถมสุดเอ็กซ์คลูซีฟ มากมาย ตั้งแต่วันที่ 9-11 เมษายนนี้

5ด0สงู % ุ สด ล

ั ็ ผมสวยกบ ี ใหเ้ ปน ี่ นผมเสย เปลย ื ดาวน์ ee.co.th/ หรอ p o sh // s: p tt Shopee ที่ h ี าก App Store ้ รจ ั ไดฟ ชน ค ิ เ ล พ พ อ ้ ี แ ป ป ้ โหลดชอ Store ื Google Play หรอ

TO P SPEN DER

!

ผท ู้ ม ี่ ย ี อดใช จ ้ า่ ย รบ ั ไปเลย มากทส ี่ ุ ในแ ตล iPhon ด ่ ะ ั Dyson e XS Ma วน Super x s , on และ Sa msun ic Hair Dry g Gala e xy S10 r +

5 ITEMS

เปลีย ่ นผมเสียให้เป็นผมสวย

1 Micellar Detox & Purify Shampoo 530 ML แชมพูไมเซล่า สกัดจากสาหร่าย เหมาะส� า หรั บ ผมธรรมดา ไ ป จ น ถึ ง ผ ม ค่ อ น ข้ า ง มั น ช่ ว ยดีท็อกซ์และฟื้นบ�ารุงผม ให้ดูสวย นุ่มเบาสบาย ทั้งยัง อ่อนโยน ไม่ผสมสีและซิลิโคน

2 Pantene - Hair Fall Control Shampoo 1.2 L บอกลาปั ญ หาผมร่ ว ง ด้ ว ย แชมพูสต ู รโปรวิตามินขวดใหญ่ 1.2 ลิตร ที่ไม่ใช่แค่ท�าความสะอาด แต่ยงั ช่วยให้ผมแข็งแรง ลดการพันกันของเส้นผม และ ลดปั ญ หาผมขาดหลุ ด ร่ ว ง ทุกครัง้ ทีส ่ ระ

3 Head & Shoulders - Cool Menthol 850 ML แชมพูสูตรคูลเมนทอล ช่วย ขจัดรังแค มอบความเย็นสดชืน ่ พร้ อ มมอบความชุ่ ม ชื้ น ให้ หนังศีรษะตัง้ แต่ครัง้ แรกทีใ่ ช้

4 Herbal Essences Argan Oil Shampoo 400 ML สัมผัสความหอมจากธรรมชาติ พืชพรรณและสมุนไพรนานาชนิด ด้วยแชมพูแบรนด์พรีเมียม ทีม ่ า พร้อม Argan Oil of Morocco ช่ ว ย ฟื้ น บ� า รุ ง ใ ห้ ผ ม ส ว ย น่าหลงใหล

5 Rejoice - Perfume Fresh 600 ML แชมพูน�้าหอมกลิ่นดอกลิลลี่ ช่วยบ�ารุงให้ผมนุม ่ ลืน ่ สุขภาพ ดี แถมยังหอมเย้ายวนจนใคร ก็ตอ ้ งเหลียวมอง


C

¼ĉÀºÂ¼Ċʦ

òÂɦ£ºµÑĊÂѦÅÊ»Ðó Å»ĉʦºÍ£Ð®¹Ê· IJĊÀ»¡ĊźѾ òĶ´¬ ó

=.H&0@P-$I&0 J . 5.ï= 8 5< ,L"- H ? AQ$8-î= .2 H.O2K$ ýî2 "32..4"@P'î=$,= J -H.?P,H&0@P-$I&0 H ï=5Dî5< ,'Dï5D 8=-C8-î= 60@ H0@-P L,î)$ï A P ;2î=L&I0ï2 O!8B H&õ$ =.H&0@-P $I&0 .; <%J0 K$ ;$@Q H).=; 0Cî,8=-C 8 &.;ý= .J0 U=0< H&0@P-$'î=$5Dî&.;ý= .5D 2<- 0Cî, &.;H"3)< $=I0ï2 Hýî$ &.;H"35,=ý? K$-CJ.& 8H,.? =H6$B8 L ïH ï=5D5î < , 5D 2<-8-î= 5,%D. òI0ï2 ;"@%P = &.;H"3K$H8Hý@- Hýî$ p@&P $éC L ïH ï=5D5î < , 5D 2<-I0ï2Hýî$ <$ 5î2$K$8=H @-$$<$Q &.;H"3L"-8-DKî $ 0C,î 5< ,5D 2<-H&õ$ 8<$ <%"@P .8 = 5? J&.ò =,.=- =$ 8 ³ÒÓØÏÄ×ÌÒÑ µÈÉÈÕÈÑÆÈ ¥ØÕÈÄØ

õĦėüĤěĦûıĐčĒĥ Ć čĦďėĤİċĜijčĈŖ Ħ č ĉŕĦûĶ čĥĹč öŖġĕĭęċĩĸİďŝčöŖġİċķüüėĨûüĪûİďŝčĞĨĸûĞĽĦøĥā İĒėĦĤøěĦĕüėĨûüĤčĽĦĴďĞĭõŕ ĦėĞėŖĦû ďėĥĎďėĬû ıęĤ ĒĥĆčĦĴĈŖġĖŕĦûĉėûďėĤİĈķč ıęĤċĽĦijğŖďėĤİċĜĞĦĕĦėĊ öĥĎİøęīġĸ čĴďĴĈŖġĖŕĦûĕĥčĸ øû öŖġĕĭęċĩĸĞĽĦøĥāöġûďėĤİċĜĴċĖ ĕĦüĦõ öŖġĕĭęøěĦĕüĽĦİďŝčĒīčĹ ĄĦč OüďĄ^Py İĒėĦĤöŖġĕĭę õęĦûöġûďėĤİċĜċĩĸĴĈŖėěĎėěĎıęĤİõķĎöŖġĕĭęĊĪû ĞĔĦĒøěĦĕüĽĦİďŝčĒīčĹ ĄĦčöġûøčĴċĖİďŝčďėĤüĽĦċĬõďō ĞĦĕĦėĊĎŕûĎġõøĬćĔĦĒþĩěĉĨ öġûþĦěĎŖĦč ğĕĭĎŕ ĦŖ č ıęĤþĬĕþčijčĈŖĦčĉŕĦûĶ ijčþŕěûėĤĖĤİěęĦğčĪĸûĶ ġĥ č İďŝ č ĄĦčöŖġĕĭęĞĽĦøĥāċĩĸğčŕěĖûĦčĔĦøėĥĄıęĤ İġõþčĞĦĕĦėĊčĽĦĴďijþŖġŖĦûġĨûİĒīĸġõĦėıõŖďśāğĦ ıęĤĒĥĆčĦĴĈŖĉėûĉĦĕİďőĦğĕĦĖ ĞŕûĐęijğŖøčĴċĖĕĩ øĬćĔĦĒþĩěĉĨ ċĩĈĸ öĩ čĪĹ øćĤõėėĕõĦėĒĥ Ć čĦþčĎċığŕ û þĦĉĨ Oõþþ^P ĴĈŖĕġĎğĕĦĖijğŖõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč õėĤċėěûĕğĦĈĴċĖ üĥĈİõķĎöŖġĕĭęøěĦĕüĽĦİďŝčĒīčĹ ĄĦč OüďĄ^P ijčİöĉþčĎċ 99 üĥûğěĥĈİďŝčďėĤüĽĦċĬõďō IJĈĖĈĽĦİčĨčõĦėĕĦĉĥĹûıĉŕďō 4755 üčĊĪûďśüüĬĎĥč ıęĤĕĩõĦėďėĥĎďėĬûöŖġøĽĦĊĦĕıęĤİøėīĸġûþĩĹěĥĈijğŖ ĞġĈøęŖ ġ ûõĥ Ď ıĐčĒĥ Ć čĦİĜėĝĄõĨ ü ıęĤĞĥ û øĕ ığŕûþĦĉĨċõĬ 7 ďō öŖġĕĭę üďĄ^ İďŝčöŖġĕĭęċĩıĸ ĞĈûĊĪû ĞĔĦĒøěĦĕüĽĦİďŝčĈŖĦčĉŕĦûĶ öġûøč ěŕĦõĦėċĩĸøč üĤĕĩøĬćĔĦĒþĩěĨĉċĩĸĈĩıęĤĞĦĕĦėĊĈĽĦėûþĩěĨĉġĖĭŕijč ĞĥûøĕĴĈŖġĖŕĦûĕĩøěĦĕĞĬöčĥĹč øěėĕĩĕĦĉėĄĦčöĥĹčĉĽĸĦ ijčıĉŕęĤĈŖĦčġĖŕĦûĴėıęĤıøŕĴğč üĦõõĦėĞĽĦėěüøėĥĹûęŕĦĞĬĈijčďōċĩĸĐŕĦčĕĦ ÿĪûĸ ĞĽĦėěüøĬćĔĦĒþĩěĉĨ öġûøčĴċĖüĦõøėĥěİėīġčċĩĕĸ ĩ ĐĭŖġĦĜĥĖġĖĭŕüėĨûijčĒīĹčċĩĸİõĨč 8 İĈīġč ijč 98 üĥûğěĥĈ :9: ġĽĦİĔġ 9]477 ĉĽĦĎę 9]998 ġûøřõėďõøėġû ĞŕěčċŖġûĊĨĸč ıęĤ :6]<;< ğĕĭŕĎŖĦčaþĕĬþč üĽĦčěč 58]866]5<; øč ıĖõİďŝ č İĒĜþĦĖ üĽ Ħ čěč

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


39]:98]<96 øč O6:^9:ųP İĒĜğāĨû üĽĦčěč 3:]98:]457 øč O73^44ųP ĕĩĐęĞėĬďğčĪĸûċĩĸčŕĦ ĞčijüġĖŕĦûĖĨĸûøīġ İĕīĸ ġ ĒĨ ü ĦėćĦþŕ ě ûġĦĖĬ ö ġûďėĤþĦõėijč ĔĦĒėěĕďėĤİċĜ ĒĎěŕĦďėĤþĦõėĴċĖĕĩıčěIJčŖĕ ġĥĉėĦõĦėİõĨĈęĈęû ıęĤİöŖĦĞĭŕĞĥûøĕĐĭŖĞĭûġĦĖĬ IJĈĖ ďėĤþĦõėĞŕěčĕĦõĕĩþŕěûġĦĖĬ 48 ďōİĉķĕ N 6; ďō ėŖġĖęĤ 57^9< ėġûęûĕĦ øīġ ġĦĖĬĕĦõõěŕĦ 8< ďō İĉķĕöĪĹčĴď ėŖġĖęĤ 4<^<3 ġĦĖĬ 7< ďōİĉķĕ N 7; ďō ėŖġĖęĤ 38^98 ġĦĖĬ 3; ďōİĉķĕ N 47 ďō ėŖġĖęĤ :^8; ıęĤġĦĖĬ 8 ďōİĉķĕ N 34 ďō ėŖġĖęĤ 9^95 ÿĪĸû ĞėĬďĴĈŖěĦŕ ďėĤþĦõėĞŕěčijğāŕ ėŖġĖęĤ 94^69 ĕĩġĦĖĬ ĉĥĹûıĉŕ 48 ďōİĉķĕöĪĹčĴď þĥĈİüčġĖŕĦûĖĨĸûěŕĦ ĴċĖõĽĦęĥûİöŖĦĞĭŕûĞĥûøĕ ĐĭŖĞĭûġĦĖĬ ıęĤĉŖġûġĦĜĥĖöŖġĕĭęčĩĹijčõĦėöĥĎİøęīĸġč ĞĥûøĕĴĈŖġĖŕĦûĉėûİďőĦğĕĦĖ IJĈĖİøėīĸġûþĩĹěĥĈöŖġĕĭę øěĦĕüĽĦİďŝčĒīĹčĄĦčċĩĸijþŖijčõĦėüĥĈİõķĎöŖġĕĭęþŕěû ıĐčĒĥĆčĦİĜėĝĄõĨüıęĤĞĥûøĕığŕûþĦĉĨ ýĎĥĎċĩ ĸ 34 OĒ^Ĝ^ 478<N4786P ĕĩ 7 ğĕěĈ 53 ĉĥěþĩĹěĥĈ øīġ ğĕěĈĞĬöĔĦĒ ğĕěĈĞĔĦĒıěĈęŖġĕ ğĕěĈõĦėĜĪõĝĦ ğĕěĈõĦėĕĩûĦčċĽĦıęĤėĦĖĴĈŖ ıęĤğĕěĈøŕĦčĨĖĕ ijčõĦėĞĽĦėěüøėĥĹûęŕĦĞĬĈ ĕĩğęĦĖďėĤİĈķčċĩĸčŕĦĞčijü ÿĪûĸ čĽĦĕĦİďŝčĞŕěčğčĪûĸ ijčõĦėöĥĎİøęīġĸ čĞĥûøĕĐĭĞŖ ûĭ ěĥĖ ġĖŕĦûĕĩøĬćĔĦĒ ġĦċĨ ijčğĕěĈĞĬöĔĦĒ ċĩĸĐĭŖĞĭûġĦĖĬ üĤĉŖġûĴĈŖėĎĥ õĦėøĬĕŖ øėġûĈĭıęüĦõøėġĎøėĥě þĬĕþč ĔĦøėĥĄ ėěĕĊĪûĔĦøİġõþčġĖŕĦûĕĩøĬćĔĦĒ İĒėĦĤ ijčıĎĎĞġĎĊĦĕöġûõĦėĞĽĦėěüčĥčĹ üĤĕĩõĦėĞġĎĊĦĕ ċĥĹûõĦėġġõõĽĦęĥûõĦĖ õĦėĉėěüĞĬöĔĦĒďėĤüĽĦďō õĦėøĥĈõėġûIJėøİĎĦğěĦčıęĤøěĦĕĈĥčIJęğĨĉĞĭû õĦėďėĤõĥčĞĬöĔĦĒ õĦėijþŖĎėĨõĦėijčĞĊĦčĒĖĦĎĦę ĞĨċČĨijčõĦėėĥõĝĦĒĖĦĎĦę IJĈĖğčŕěĖûĦčċĥûĹ ĔĦøėĥĄ ĔĦøİġõþč ĞĦĕĦėĊčĽĦöŖġĕĭęĈĥûõęŕĦěĴďıõŖĴöďśāğĦ ijčėĤĈĥĎIJøėûĞėŖĦû ėěĕĊĪûďėĥĎďėĬû ıęĤĞŕûİĞėĨĕijğŖ ďėĤþĦþčĴĈŖİöŖĦĕĦĕĩĞěŕ čėŕěĕijčõĦėĒĥĆčĦøĬćĔĦĒ þĩěĨĉċĥĹûöġûĉčİġû þĬĕþč ıęĤĞĥûøĕĴďĈŖěĖõĥč ıĉŕüĤėĥõĝĦõĦĖİĒĩĖûġĖŕĦûİĈĩĖěõķøûĴĕŕĒġ ĈĥûøĽĦċĩİĸ øĖĴĈŖĖčĨ İĞĕġěŕĦ üĨĉİďŝččĦĖ õĦĖİďŝčĎŕĦě čĥčĹ

ıĞĈûijğŖİğķčġĖŕĦûþĥĈİüčěŕĦ čġõüĦõøěĦĕıöķûıėû öġûėŕĦûõĦĖüĤĞĽĦøĥāıęŖě øěĦĕıöķûıõėŕûöġûüĨĉijü õķĞĽĦøĥāĴĕŕıĒŖõĥč ıęĤ ğĕěĈøŕĦčĨĖĕy õķİďŝč ğĕěĈĞĽĦøĥāĖĨĸû ijčõĦėėŕěĕĞėŖĦû øėġĎøėĥěy ċĩĸ İďŝ č ĒīĹ č ĄĦčĞĽ Ħ øĥ ā öġûĞĥ û øĕijğŖ İ öŖ ĕ ıöķ û ďĭ Ő Ė ŕ Ħ ĉĦĖĦĖĖĥûøûėġøġĖøěĦĕėĥõüĦõęĭõğęĦčİĞĕġ øěĦĕõĉĥ ā Śĭ ö ġûęĭ õ ğęĦčİďŝ č İĞĕī ġ ččĽĹ Ħ ċĨ Ē Ėř þIJęĕijüijğŖĐĭŖĞĭûġĦĖĬĕĩþĩěĨĉċĩĸĕĩøěĦĕĞĬö øėġĎøėĥě üĪûİďŝčIJøėûĞėŖĦûċĩĞĸ ĦĽ øĥāġĖŕĦûĖĨûĸ ijčõĦėĞėŖĦûĞĥûøĕ ċĩĸĕĥĸčøû ĞûõėĦčĉřďōčĩĹ čġõüĦõüĤĞčĬõĞčĦčõĥĎ İĒīĸġčđĭû ġĖŕĦęīĕøčijõęŖĉĥěċĩĸėġøġĖõĦėõęĥĎĎŖĦč öġûİėĦ ĊīġIJġõĦĞijčþŕěûİċĜõĦęčĩĹ ıĞĈûøěĦĕėĥõ øěĦĕõĉĥ ā Śĭ õęĥ Ď ĴďėĈčĽĹ Ħ ĈĽ Ħ ğĥ ě öġĒėijğŖ ċ ŕ Ħ č ĴĈŖþīĸčijü

üĤěŕĦĴďıęŖě øěĦĕĐĭõĒĥčijčġûøřõėõķĊġī İďŝčĞŕěčğčĪûĸ öġûøěĦĕĞĥ ĕ Ēĥ č Čř ċĩĸ ı čŕ č ıēő č İďėĩ Ė ĎİĞĕī ġ č øėġĎøėĥěİþŕčõĥč ÿĪĸûõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþčİďŝč ġûøřõėğčĪĸûċĩĸijğŖøĬćøŕĦıęĤøěĦĕĞĽĦøĥāõĥĎĐĭŖġĦěĬIJĞ İĞĕġĕĦ İĒėĦĤøěĦĕİöŖĕıöķûöġûġûøřõėċĩĸċĽĦûĦč İĒīĸġėŕěĕĒĥĆčĦďėĤİċĜ ęŖěčĕĦüĦõďėĤĞĎõĦėćř ıęĤøěĦĕėĭ Ŗ ø ěĦĕþĽ Ħ čĦāċĩĸ Đĭ Ŗ ġ ĦěĬ IJ ĞċĬ õ ċŕ Ħ čĴĈŖ ĊŕĦĖċġĈüĦõėĬŕčĞĭŕėĬŕč ijčþŕěûİċĜõĦęĞûõėĦčĉřüĪû ĕĩ õĨ ü õėėĕėĈčĽĹ Ħ ĈĽ Ħ ğĥ ě öġĒėİĞėĨ ĕ ĞĨ ėĨ ĕ ûøęijğŖ ĞĕĦþĨõøėġĎøėĥěõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþčİďŝčďėĤüĽĦ ċĬõďō ėěĕĊĪûďōčĩĹċĩĸĕĩõĽĦğčĈõĦėüĥĈûĦčėĈčĽĹĦöġĒė İčīĸġûijčďėĤİĒćĩĞûõėĦčĉř ijčěĥčċĩĸ 3< İĕĝĦĖč 4784 İĒīĸġėŕěĕĞėŖĦûĞĥûøĕĴċĖċĩĸĕĩøĬćĔĦĒ ġĖŕĦû ĖĥĸûĖīčıęĤĕĥĸčøûy

^ ūŭŲŬ ^ŭ a ŭÑÑ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč ĕĬŕûĕĥĸčİĞėĨĕĞėŖĦûİĜėĝĄõĨüĄĦčėĦõĕĥĸčøû İĒĨĸĕøěĦĕĞĬöĕěęėěĕijğŖďėĤþĦþč


08

T H E C O N V E R SAT I O N

เรื่อง

ปริญญา ก้อนรัมย์ บรรณาธิการบทความ kuzher_@hotmail.com

ภาพ

ภาสกร ธวัชธาตรี ช่างภาพ passakorn.sunt@gmail.com

ExtrEmE happinEss, ExtrEmE anxiEty จากชีวิตเด็กผู้ชายคนหนึ่งที่ขลุกและเติบโตอยู่กับกีตาร์ในห้องนอน เลือกเล่น คัฟเวอร์เพลงทีต ่ ว ั เองชืน ่ ชอบโพสต์ลงยูทบ ู โดยไม่ได้คาดหวังว่าสิง ่ นีจ้ ะกลายมาเป็น เส้นทางหลักของชีวต ิ เขาใช้ชว ่ งเวลานัน ้ เป็นเหมือนโลกอีกใบ ให้ตว ั เองเข้าไปหลบซ่อน และมีความสุขกับงานอดิเรกของตัวเอง แต่ใครจะไปเชือ ่ ว่าโน้ตกีตาร์ทด ี่ ง ั ก้องภายในห้องวันนัน ้ จะเป็นเหมือนเสียงอินโทร เริม ่ ต้นเบาๆ ของบทเพลงชีวต ิ ของ ภูมิ วิภร ู ศ ิ ก่อนจะตัดเข้าท่อนฮุกและพีกสุดๆ ทันที ในเวลาเพียงไม่ถึงปี จากรอยยิ้มและสไตล์เพลงอันทรงเสน่ห์ที่เรียกว่า Sunshine Music ของเขา ทันทีทป ี่ ล่อยเพลงอัลบัม ้ แรกของชีวต ิ อย่าง Manchild เมือ ่ ปี 2017 แทร็กที่ 9 ื่ ของเขา ของอัลบัม ้ อย่าง Long Gone ของเขาได้เข้าไปติดในบล็อก Reddit จนส่งให้ชอ ติดหูแฟนเพลงทั่วโลก ตามมาด้วยเพลง Lover Boy ซิงเกิลจากอัลบั้มใหม่ล่าสุด ที่ ต อกย�้ า ความนิ ย มให้ เ ขาเพิ่ ม มากขึ้ น ไปอี ก ส่ ง ให้ เ ขาได้ อ อกทั ว ร์ ใ นเฟสติ วั ล และไลฟ์เฮาส์ใหญ่ๆ ทั่วโลก และน่าจะท�าให้เขาเป็นศิลปินไทยที่ออกทัวร์ต่างประเทศ มากที่สุดแล้วในปีที่ผ่านมา แต่ความสุขจากความส�าเร็จที่มาถึงอย่างรวดเร็วก็มาพร้อมเหรียญอีกด้าน ที่ท�าให้เขาต้องเผชิญกับความสับสนในความเป็นตัวเอง งานอดิเรกที่เคยเป็นโลก ที่สร้างความสุข กลายเป็นภาระกดดันที่ท�าให้เขากลัวที่จะสูญเสียสิ่งที่รักไป จนถึง จุดทีเ่ ขาต้องหยุดทุกอย่าง และกลับมาหาสมดุลด้วยการฟังเสียงข้างในตัวเองอีกครัง ้ ซึง ่ เขากลัน ่ กรองประสบการณ์ในช่วงเวลานัน ้ มาเป็นซิงเกิลใหม่ Hello, Anxiety ที่เขาบอกว่า นี่คือเพลงที่เขาแต่งด้วยความรู้สึกซื่อสัตย์ที่สุดในชีวิต

issue 584 585 08 01 aPr 2019


09 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin


10

hEllo, anxiEty ดูเหมือนปีทแ ี่ ล้วจะเป็นปีทม ี่ ค ี วามหมายกับคุณมากใช่ไหม

มีความหมายมากๆ เป็นปีทเี่ ราได้ ออกเดินทางจริงๆ ได้เอาดนตรีไปเล่น ให้คนทีเ่ ป็นคนฟังทีไ่ ม่ได้อยูใ่ นประเทศไทย เป็นปีแห่งการเดินทางและการเติบโต มากๆ ท�าให้เรารูจ้ กั ตัวเองขึน้ เยอะเลย

เหมือนว่าเราก�าลังท�าสิง่ นีอ้ ยูจ่ ริงๆ เหรอ อธิบายยากนะ แต่เราแค่รสู้ กึ ว่าทุกอย่าง extreme ไปหมด extreme happiness, extreme anxiety ขนาดของสิง่ ต่างๆ ทีเ่ รา ท�าใหญ่ขนึ้ ผมไม่รวู้ า่ อธิบายถูกหรือเปล่า แต่ความรูส้ กึ ทุกอย่างล้นในแง่อย่างทีผ่ ม พยายามพูดไป ทุกอย่างเข้ามาเยอะมาก

ในแง่ไหน

ความส�าเร็จทีม ่ าเร็วน่ากลัวอย่างไร

ในทุกแง่ละครับ ในแง่การเป็น นักดนตรี ในแง่การเป็น performer เติบโต ในแง่ของการเป็นตัวเอง การเป็นคนอายุ 23 ปีทไี่ ด้เห็นโลกมากขึน้ ได้เปิดมุมมอง ได้เจอสิง่ ทีเ่ ราไม่ได้คาดคิดว่าเราจะเจอมา ก่อน จากสถานการณ์ตา่ งๆ ในการเดินทาง ได้เพือ่ นดีๆ กลับมา เลยรูส้ กึ ว่าทุกด้าน ของชีวติ ได้เติบโตหมดเลย เรารูว้ า่ สิง่ ทีท่ า� ไม่ใช่แค่การเล่นดนตรีอีกต่อไป แต่คือ สิง่ ทีเ่ รารักจริงๆ พอได้ไปเจอ ไปเหนือ่ ย ไปลุยจริงๆ เรารูส้ กึ ว่ากลายเป็นสิง่ เดียว ทีอ่ ยากจะท�าไปอีกนานเลยครับ คิ ด มาก่ อ นไหมว่ า ดนตรี จ ะพาคุ ณ เดินมาถึงจุดนี้

ก่อนหน้านี้คือมั่นใจว่าเป็นสิ่งที่ เราชอบและอยากท�าครับ แต่อาจจะยัง ไม่ ใ ช่ ค วามเป็ น จริ ง ที่ เ ราอยู ่ กั บ มั น ได้ เต็มเวลา จากทีด่ นตรีเคยเป็นงานอดิเรก ตอนนี้ก ลายเป็ น อาชี พ ของผมไปแล้ ว จนพอปีทแี่ ล้วทีไ่ ด้ออกไปท�าจริงๆ เราก็ได้ รูว้ า่ สิง่ นีเ้ ป็นอาชีพได้นะ แต่ตอ้ งกลับมา คิดอีกทีวา่ พอถึงจุดทีง่ านอดิเรกกับอาชีพ มาผสมกัน เราต้องปรับตัวอย่างไรทีจ่ ะสนุก กับมันได้อยู่ และไม่สญ ู เสียสิง่ ทีร่ กั ไป

น่ากลัวตรงที่มาเร็วมากๆ ครับ บางครั้งผมก็รู้สึกว่าถ้ามาเร็วจะไปเร็ว หรือเปล่า แล้วคนที่เขาชวนเราไปเล่น นีเ่ ขาชวนเพราะอะไร ผมเริม่ จะคิดมาก คือเป็นคนทีค่ ดิ เยอะอยูแ่ ล้ว แต่สดุ ท้ายแล้ว ก็ต้องพยายามควบคุมให้ได้ มีช่วงหนึง่ ทีผ่ มเครียดมากๆ จนต้องกลับมานัง่ นิง่ ๆ ดูหนังที่เราชอบ แล้วก็ท�าอะไรที่ไม่เกี่ยว กับด้านดนตรี ไม่ได้เกี่ยวกับว่าผลงาน ต่อไปของผมต้องเป็นอะไร คือเอาตัวเองหลุดออกมาจากโลก ของ ภูมิ วิภรู ศิ น่ะครับ แค่ออกมาเป็นเด็ก ทีเ่ พิง่ เรียนจบมหาวิทยาลัยคนหนึง่ ทีห่ า อะไรท�าไปเรือ่ ยๆ (หัวเราะ) กลับมาแล้วก็ เล่นเกมบ้าง มีอกี สิง่ หนึง่ ทีช่ ว่ ยผมมากคือ ผมเริ่มฝึกคัฟเวอร์เพลงที่เราชอบใหม่ อีกรอบหนึง่ กลับไปย้อนว่าท�าไมเราถึงชอบ ร้องเพลงพวกนีใ้ นสมัยนัน้ กลับไปย้อนฟัง ย้อนเล่นดู สิง่ นีช้ ว่ ยดึงตัวเองกลับมาว่า ทีเ่ ราเล่นดนตรีเพราะอะไร เราไม่ได้เล่น เพือ่ เอาชือ่ เสียง เราเล่นเพราะว่าชอบมัน แล้ ว ในแง่ นั ก ดนตรี ล่ ะ เติ บ โตขึ้ น แค่ไหน

มีช่วงหนึ่งหลังจากทัวร์เสร็จผม เครียดมาก เป็นช่วงทีก่ ลับมาแล้วรูส้ กึ ว่า สิง่ ทีเ่ คยคิดฝันว่าอยากจะท�าภายในเวลา 20 ปีของการเป็นนักดนตรี ผมกลับท�า มันส�าเร็จภายใน 1 ปีเท่านัน้ เอง ผมได้ออก ไปทัวร์ทที่ วีปยุโรป ทวีปอเมริกา ได้ไปทัวร์ รอบเอเชีย และได้ไปเล่นเฟสติวลั ใหญ่ๆ ทัว่ โลก จนรูส้ กึ ว่ามันอิม่ มากๆ กับสิง่ ทีไ่ ด้ ท�าไป การทีเ่ ราปล่อยอัลบัม้ ชุดหนึง่ และ ออกซิงเกิลจากอัลบัม้ ชุดใหม่แค่หนึง่ เพลง แล้วเราได้มโี อกาสขนาดนี้ ท�าให้ขา้ งใน เรารู ้ สึ ก ล้ น แล้ ว พอกลั บ มาก็ รู ้ สึ ก ว่ า แล้วเราจะท�าอย่างไรต่อดี เราจะแต่งเพลง อย่างไรต่อดี อยูด่ ๆี ก็เครียดมาก

ส�าหรับผม การที่ได้ออกไปทัวร์ ไปเจอสิง่ ต่างๆ ท�าให้เราชัดเจนกับตัวเอง มากขึ้น ว่าดนตรีที่เราแต่งออกไป เล่น ออกไป ต้องเป็นสิง่ ทีท่ �าแล้วรูส้ กึ รักและ ภูมใิ จจริงๆ เป็นสิง่ ทีเ่ รารูส้ กึ กับมันจริงๆ เพราะว่าตอนเครียดมากๆ ผมพยายามคิด ว่าจะแต่งเพลงอย่างไรดีให้อยูใ่ นคอนเซ็ปต์ ทีเ่ คยท�ามาก่อน แล้วเหมือนกับว่าเราแคร์ คนฟังทุกคนมาก จนลืมฟังตัวเองว่า ตอนนี้รู้สึกอย่างไร สภาพจิตเราเป็น อย่ า งไร เราแฮปปี ้ กับ โมเมนต์ นี้ไ หม ทุกอย่างเลยผิดเพีย้ นไปหมด สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้ และอยากท�าตลอดไปคือจงท�าในสิ่งที่ ตัวเองชอบ สิง่ ทีต่ วั รักจริงๆ ให้เป็นผลงาน ทีซ่ อื่ สัตย์ทสี่ ดุ ถ้าเราไม่ได้แฮปปีข้ นาดนัน้ ก็ไม่จ�าเป็นต้องแต่งเพลงให้แฮปปี้ก็ได้ เรารูส้ กึ อะไรก็แสดงมันออกไป

ความส�าเร็จที่เอ่อล้น สร้างความทรมานให้เราได้ดว ้ ยเหรอ

ก่ อ นหน้ า นี้ นิ ย ามดนตรี ข องคุ ณ คืออะไร

ท�าไมถึงกลัวว่าจะสูญเสียสิง่ ทีร ่ ก ั ไป

จริงๆ มันแฮปปีม้ ากๆ นะ ผมไม่ควร จะมานัง่ บ่นด้วยซ�า้ ไป (หัวเราะ) แต่พอ ได้รบั ความส�าเร็จมาเร็วมากๆ มันมาพร้อม กับความกดดัน และด้านหนึง่ คือความสุข แต่ ด ้ า นหนึ่ ง ก็ เ ป็ น ความเครี ย ด รู ้ สึ ก

เราเรียกว่างานอดิเรก เป็นความสุข เล็กๆ น้อยๆ แบบว่ากลับจากโรงเรียนแล้ว ได้เล่นกีตาร์สกั 1-2 ชัว่ โมง มันคือการได้ หนีไปในห้องนอนแล้วอยู่ในโลกที่เรา ได้แกะคอร์ดเพลงใหม่ ได้ค้นหาและ

issue 585 08 aPr 2019


11 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin

“เหมือนกับว่าเราแคร์คนฟัง ทุกคนมาก จนลืมฟังตัวเอง ว่ า ต อ น นี้ รู้ สึ ก อ ย่ า ง ไ ร สภาพจิ ต เราเป็ น อย่ า งไร เราแฮปปี้กับโมเมนต์นี้ไหม ทุ ก อ ย่ า ง เ ล ย ผิ ด เ พี้ ย น ไปหมด”

Don’t BE afraiD to try ครับ ตอนกลับมาแรกๆ ผม culture shock มาก ทัง้ ๆ ทีผ่ มเกิดทีน่ ี่ รูส้ กึ ว่าทุกอย่างเคลือ่ นตัวเร็วมากๆ ถ้าไม่เคลือ่ นตัวเร็วมากๆ ก็จะติด อยูบ่ นถนนสัก 2-3 ชัว่ โมง (หัวเราะ) แต่ในความวุน่ วายก็เป็นประเทศ ทีม่ สี สี นั ชอบในความเป็นเมืองทีเ่ ปิดกว้างกับศิลปะหลายๆ อย่าง แต่ ใ นมุ ม หนึ่ ง วั ฒ นธรรมในประเทศไทยก็ ก ดให้ เ ด็ ก อยูใ่ นกรอบ คุณคิดอย่างไร

การเรียนรู้ตลอด ทุกวันนี้ส�าหรับผมก็ยังเป็น อย่างนั้น เพียงแต่มีแรงกดดันเข้ามาเพิ่ม เพราะ ดนตรีกลายเป็นอาชีพไปแล้ว ซึ่งเราต้องจริงจัง กั บ มั น มากขึ้ น ต้ อ งพยายามหาจุ ด กึ่ ง กลาง ระหว่างสองโลกนั้นให้เจอ แล้วเราจะได้เป็น คนท�างานที่แฮปปี้ที่สุดเท่าที่จะแฮปปี้ได้ การซือ ่ สัตย์กบ ั ตัวเองส�าคัญกับการผลิตงาน อย่างไร

ในการท�างานจริง พอมีหลายแรงกดดัน เข้ามาทีท่ า� ให้เราคิดว่าต้องเป็นแบบนัน้ ศิลปินควร เป็นแบบนี้ ถึงจะมีทยี่ นื ในโลกดนตรี บางคนบอกว่า แพลตฟอร์มในการท�างานส่งผลต่อวิธีคิดของ ศิลปิน บางคนก็บอกว่าไม่จริง แต่สา� หรับผมเอง ผมว่าก็มบี า้ งครับ พอท�าอะไรไปแล้วเป็นผลงาน ที่ได้รับความชื่นชอบเยอะ บางครั้งเราก็ตกอยู่ ภายใต้สิ่งนั้น จะมีประโยคที่ฝรั่งพูดว่า ‘Once something you make become really successful, you become enslave to your own creation.’ แปลว่า บางคนอาจจะไม่อยากออกจากอะไรที่เคยท�า เพราะสิ่งที่เรารักมากๆ และไม่เคยหวังผลก�าไร พอมันสร้างผลประโยชน์ สร้างชื่อเสียงให้เรา มากๆ พอมีตรงนี้ ความรับผิดชอบทีเ่ ราไม่เคยมี มาก่อนกลับหนักขึน้ และต้องตกอยูภ่ ายใต้มนั ผมว่าสิ่งที่ท�าให้เราสร้างผลงานต่อไปได้ เรื่อยๆ คือการที่ก ลับมาถามตัว เองว่ า ตอนนี้ รู้สกึ อย่างไร เราอยากจะส่งต่ออะไรออกไปจริงๆ นีเ่ ป็นหนทางเดียวครับ เพราะถ้าเราเป็นคนท�าเพลง แล้วไม่ได้ฟังตัวเอง สุดท้ายสิ่งที่ได้ออกมาก็จะ กลายเป็นอะไรที่ไม่ใช่ตัวเอง ฝึกฟังตัวเองอย่างไร

ชอบเขียนครับ สมัยก่อนผมเป็นคนทีไ่ ม่ได้ จดบันทึกว่าวันนีท้ า� อะไรบ้าง วันนีเ้ รารูส้ กึ อย่างไร บ้างกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แต่ช่วงนี้ผมกลับมา เขียนเป็น memo ว่าวันนีเ้ ราไปเจออะไรมาบ้าง เราท�าอะไรมาบ้าง มันได้เช็กกับตัวเองว่าเราเจอ อะไรมาบ้าง เหมือนได้บันทึกสิ่งที่เจอ ไม่ใช่ว่า มันเป็นความคิดทีล่ อยอยู่

คุ ณ คิ ด ว่ า ดนตรี ส่ ง ผลต่ อ รากฐานของ วัฒนธรรมสังคมแค่ไหน

ผมว่าจริงส่วนหนึ่ง ลองดูแฟชั่นวัยรุ่น ว่าเขาแต่งตัวตามใคร ก็จะพอรูไ้ ด้วา่ เขาอาจจะ แต่งตัวตามศิลปิน แล้วตอนเด็กๆ คุณโตมากับวัฒนธรรม อย่างไร

ผมโตในนิวซีแลนด์ ประเทศทีไ่ ม่ได้มศี ลิ ปิน นักดนตรีเยอะขนาดนัน้ ดาราประเทศนิวซีแลนด์ จะมีละคร soap opera อยูเ่ รือ่ งเดียว จะมีนกั แสดง อยูป่ ระมาณ 5 คนซึง่ คนทีน่ นั่ เรียกว่าดารา ทีเ่ หลือ จะเป็นนักรักบี้ที่ถือว่าเป็นดาราในประเทศนั้น ซึง่ ผมโตมากับวัฒนธรรมทีค่ อ่ นข้างตรงข้ามกับ ประเทศไทยมากๆ ไม่ได้รับอิทธิพลจากศิลปิน แต่ได้รับอิทธิพลจากเพื่อนรอบตัวมากกว่า บรรยากาศที่นิวซีแลนด์ช่วยในการเป็น ศิลปินของคุณไหม

เหมือนเราเติบโตมาในที่ที่เป็นแคนวาส ทีใ่ ห้เราไปเติมสีได้เยอะมากๆ นิวซีแลนด์กว้างมาก และคนน้อยมาก เวลา 4-5 โมงทุกอย่างก็จะปิด แล้ว มีแค่อยู่บ้าน ไปเดินสวน ไม่ก็อยู่กับเพื่อน บรรยากาศสอนให้เราอยู่กับตัวเอง อยู่กับคน รอบข้างให้เป็น ซึ่งช่วยผมค้นหาตัวเองเจอเร็ว และได้พลังงานดีๆ จากคนรอบตัว ต่างจากกรุงเทพฯ โดยสิน ้ เชิง

ผมก็คดิ เหมือนกันว่าทัศนคติผมจะเปลีย่ น ไปไหม ถ้าผมโตในกรุงเทพฯ ที่คนเยอะ และ แรงกดดันอาจจะเยอะกว่าประเทศนิวซีแลนด์ แต่ กรุงเทพฯ เป็น beautiful mess มากๆ ส�าหรับผม

โชคดีทผี่ มไม่เคยเจอครับ อาจเพราะไม่คอ่ ยมีใครแคร์วา่ เรา ก�าลังท�าอะไรอยู่ (หัวเราะ) ผมมีอสิ ระในการท�าอะไรก็ได้ ส�าหรับคน ทีเ่ จอแรงกดดันอยู่ ผมว่าวิธที จี่ ะผ่านมันไปได้คอื การอย่าไปแคร์ มากว่า ถ้าคนอืน่ พูดว่าเราท�าสิง่ นีไ้ ม่ได้ แต่ถา้ สิง่ ทีเ่ รารักไม่ได้ไป เหยียบเท้าคนอืน่ ไม่ได้ไปกดคนอืน่ ลง สิง่ ทีเ่ รารักสร้างสรรค์และ ดีตอ่ ตัวเองก็จงท�าไปครับ อย่าไปฟังว่าใครอยากให้เราเป็นยังไง เพราะ สุดท้ายแล้วก็คอื ชีวติ ของเราเอง ไม่วา่ มันจะขัดแย้งกับคนรอบตัวเรา ขนาดไหน สุดท้ายแล้วเราก็ต้องเลือกในสิ่งที่เราอยากท�าจริงๆ ครับ อาจจะไม่ได้ทา� เลยในตอนนี้ แต่ผมหวังว่าจะหาเวลาให้มนั ได้ อาจจะไม่ได้เป็นสถานการณ์ทเี่ ราทิง้ ทุกอย่างแล้วท�าในสิง่ ทีเ่ รารัก เพราะโลกความเป็นจริงของทุกคนมันไม่ได้เป็นอย่างนัน้ อย่างถ้าผมไม่มโี อกาสได้เจอตัวเองในวัยทีผ่ มก�าลังเติบโต ก็อาจจะไม่มภี มู วิ นั นีก้ ไ็ ด้ ผมเชือ่ ว่าเราไม่สามารถเลือกสถานการณ์ ทีอ่ ยูร่ อบตัวเราได้อยูแ่ ล้ว ก็ตอ้ งอาศัยการปรับตัวไปเรือ่ ยๆ แต่ผม หวังว่าน้องๆ จะหาตัวเองเจอ ลองท�าในสิง่ ทีต่ วั เองรักก็ได้ครับ อาจจะไม่ใช่สงิ่ ทีเ่ อามาเป็นอาชีพ แต่ถา้ เราสนใจอะไร อย่ากลัว ที่จะลองท�า อย่ากลัวที่จะเปิดเผยตัวเองออกมาว่าเราชอบ อย่าคิดมาก แค่ลองท�าไปเรื่อยๆ สักวันหนึ่งเดี๋ยวเจอเอง ส�าหรับเด็กทีอ ่ ยากเติบโตคนหนึง่ สภาพแวดล้อมแบบไหน เหมาะสมทีส ่ ด ุ

จริงๆ ควรจะอยูใ่ กล้คนทีเ่ ขาไม่กดเราลง ไม่ดถู กู เราในสิง่ ที่ เรารัก พยายามพาตัวเองไปอยูก่ บั คนทีม่ ี neutral respect ไม่วา่ เรา จะแตกต่างกันขนาดไหน แต่เคารพในสิง่ ทีเ่ ขาท�า ผมว่าเวิรก์ ทีส่ ดุ ครอบครัวมีอท ิ ธิพลมากไหม

อย่างพ่อและแม่ผมเขาไม่เคยห้ามในการทีเ่ ราจะลองอะไร ในชีวติ ผมเคยเป็นนักกีฬาว่ายน�า้ ตอนเด็กๆ แล้วพอไปนิวซีแลนด์ อยูด่ ๆี ผมก็ไปคุยกับแม่วา่ ไม่ไหวกับการว่ายน�า้ แล้ว ผมเกลียดมัน มาก มันหนาว แม่กถ็ ามว่างัน้ ภูมอิ ยากเล่นอะไร ผมเลยบอกว่า ผมอยากเล่นบอลครับ ผมเล่นไปได้ 3-4 ปี แล้วอยู่ดีๆ ปีสุดท้าย ผมอยากเปลีย่ นไปเล่นบาส แม่กใ็ ห้ลยุ เลย เช่นเดียวกับการเลือก วิชาเรียน การสนใจในดนตรี ผมเริ่มต้นตีกลอง เล่นได้ 2 ปีแล้ว ผมบอกแม่วา่ อยากเปลีย่ นมาเล่นกีตาร์ แม่กบ็ อกว่า โอเค ลองดู คือครอบครัวเป็นคนที่ชอบให้เราลองในทุกๆ อย่างที่สนใจ โดยที่เขาไม่คาดหวังว่าผมลองเล่นกลองแล้วภูมิต้องตีเก่งนะ ภูมิเล่นกีตาร์แล้วภูมิต้องเล่นเก่งที่สุดเพราะแม่อุตส่าห์ซื้อกีตาร์ ให้ ไม่เคยมีแรงกดดันอะไรแบบนั้นครับ แม่เขามีความสุขใน การที่ผมเป็นเด็กที่ได้ลองท�าหลายๆ อย่างและมีความสุขกับ การค้นหาตัวเอง ซึง่ ทุกวันนีผ้ มเป็นหนีบ้ ญ ุ คุณกับสิง่ ทีค่ รอบครัว มอบให้ตรงนี้มากๆ เพราะว่าท�าให้เราได้ลอง จริงๆ เด็กอาจอยากได้แค่โอกาสได้ทดลอง

ใช่ครับ แค่นนั้ เลย แค่ได้ลอง แค่ได้สมั ผัสอะไรบางอย่าง ที่เราไม่เคยสัมผัส ก็เป็นโมเมนต์มหัศจรรย์มากๆ ส�าหรับเด็ก ที่ก�าลังเติบโต


12 issue 585 08 aPr 2019

lifE CyClE of thE sun

คุณเคยบอกว่าความรักคือพื้นฐานของเพลงของคุณ วันนีย ้ งั เชือ ่ สิง่ นีอ ้ ยูห ่ รือเปล่า

เชื่ออยู่ครับ เชื่ออยู่มากๆ ไม่ว่าเราจะเครียดจาก ตรงไหนมา ผมเชื่อว่าความรักยังเป็น root ของเพลงอยู่ดี เพราะว่าเพลงของผมชุดแรก Manchild (2017) ท�าไปตอนที่ เรายังเป็นวัยรุน่ มากๆ ก็เลยอาจจะมีเรือ่ งความรักเข้ามาเยอะ ซึ่ ง เพลงชุ ด นี้ ที่ ท� า อยู ่ ก็ ยั ง เป็ น ความรั ก เหมื อ นเดิ ม ครั บ อาจจะไม่ได้เป็นรูปแบบความรักในทางโรแมนติก แต่เป็น ความรักทีม่ ใี ห้กบั ตัวเองหรือคนรอบข้างทีอ่ าจจะไม่ใช่ partner romantic ครับ แต่ก็ยังเป็นคอนเซ็ปต์ที่ผมเอามาแต่งเพลงอยู่ ท�าไมต้องเป็นความรัก

ผมเชือ่ ว่ามันเป็นพลังงานทีด่ คี รับ เป็นพลังงานทีบ่ ริสทุ ธิ์ ที่สุดในโลกส�าหรับผม ผมว่าถ้าเป็นความรักจริงๆ มันไม่มีวัน หมดครับ สิ่งนี้เติมเต็มให้เราได้ตลอด ท�าไมถึงเชือ ่ ในเรือ ่ งพลังบวก

ไม่รสู้ ิ ผมชอบถ่ายทอดสิง่ ทีไ่ ม่วา่ เราเจอเหตุการณ์เศร้า เครียด หรือเจออะไรที่ไม่ดีขึ้นมา ผมอยากถ่ายทอดให้เป็น ข้อความ ทีส่ ดุ ท้ายแล้วเรายังเรียนรูจ้ ากมันได้เสมอ อาจจะเป็น ทัศนคติการมองชีวติ ของผมก็ได้ ผมเป็นแบบนีม้ าตัง้ แต่เด็กๆ ค่อนข้างทีจ่ ะอะไรก็ได้ แม้วา่ เราจะรูส้ กึ กดดันขนาดไหนก็ยงั หา วิธที ยี่ มิ้ ได้ ผมไม่รวู้ า่ เป็นแบบนีไ้ ด้ยงั ไงนะ (หัวเราะ) แต่วา่ เรา เชือ่ ว่าถ้าเอาสิง่ นีม้ าใส่อยูใ่ นดนตรีแล้ว น่าจะเป็นพลังงานทีด่ ี ผมเชื่อว่าคนที่ฟังเพลงผมไม่ใช่คนที่มีความสุขตลอดหรอก ไม่ใช่คนทีท่ กุ อย่างในชีวติ เปอร์เฟ็กต์ เช่นกันกับผม ผมก็ไม่ใช่ คนทีม่ คี วามสุขตลอดเวลา ไม่ได้มอี ะไรทีเ่ ปอร์เฟ็กต์ เราจะเปลีย ่ นความเศร้าความทุกข์ให้เป็นพลังงานบวก ได้อย่างไร

ผมว่ า ความเศร้ า ของมนุ ษ ย์ มั น เป็ น พลั ง ได้ ด ้ ว ย การร้องมันออกมา (หัวเราะ) ส�าหรับผมนะ เวลาผมได้แปลง ความรู้สึกมาร้องเป็นเพลง หรือเอามาเปลี่ยนเป็นโน้ต ตีเป็น คอร์ด พอผสมผสานเข้าด้วยกันเรารูส้ กึ ว่าไม่ใช่แค่ความรูส้ กึ ทีอ่ นึ ๆ อยูข่ า้ งในอีกต่อไป สิง่ ทีเ่ ราอึดอัด สิง่ ทีเ่ ราเครียดมากๆ ได้ปล่อย ออกมาเป็นเสียง ซึง่ บางคนก็ปล่อยออกมาเป็นภาพวาด บางคน ก็อาจจะท�าหนัง ส�าหรับผมคือการปล่อยออกมาเป็นเสียง แล้วถ้าในเวลา 3 นาทีของเพลงที่ผมแต่ง ท�าให้คนฟังได้รู้สึก เหมือนได้เยียวยา หรือแค่ลืมไปว่าเราเครียดกับอะไรอยู่ แค่นั้นก็เป็นสิ่งที่ท�าให้ผมอยากท�าเพลงไปตลอดมากๆ แล้ว บางคนอาจคิดว่ามองโลกบวกไปหรือเปล่า เป็นการโกหก ตัวเอง

ผมไม่มสี ทิ ธิไ์ ปบอกว่าเขาท�าไม่ถกู แต่เราต้อง agree to disagree คือเขาคิดอย่างไรก็ไม่เป็นไร เราเลือกที่จะจัดการ กับความคิดแง่ลบที่เข้ามาในตัวเองด้วยการท�าแบบนี้ดีกว่า ถ้าคุณมีรปู แบบในการคิดหรือระบายทีไ่ ม่เหมือนกันก็ไม่เป็นไร

“Hello, anxiety เป็นเพลง ที่ผมซื่อสัตย์กับตัวเองที่สุด ว่าเราก�าลังรูส ้ ก ึ อะไรในตอนนี้ เหมือนเราเลือกที่จะพูดกับ ความวิ ต กกั ง วลนี้ เ หมื อ น เขาเป็นคนอีกคนหนึ่ง”


13 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin

การเป็น Mr. Sunshine ช่วยให้ใช้ชว ี ต ิ มีความสุขขึน ้ ด้วยไหมแค่ไหน

มีความสุขครับ ท�าให้เราได้พลังบวกจากคนรอบตัว เยอะ ผมรูส้ กึ โชคดีมากทีท่ กุ วันนีไ้ ด้ตนื่ มาแล้วได้ทา� ในสิง่ ทีร่ กั มากๆ แม้จะมีเครียดบ้าง แม้วา่ เราต้องปรับตัวกับการทีเ่ ติบโต และชีวติ ทีเ่ ปลีย่ นไปในหนึง่ ปี ผมอาจจะไม่ได้มองตัวเองเป็น มนุษย์ sunshine ขนาดนั้น ผมมองว่าผมเป็นคนที่อยู่กลางๆ แค่อาจจะยิ้มเก่ง (หัวเราะ) คนก็คิดว่าผมมีความสุขมากๆ ตลอดเวลา ถ้าผมเป็นพลังดีๆ ให้คนที่ก�าลังเศร้าได้ก็ดีใจ มากๆ ครับ ก็หวังว่าผลงานของผม เพลง หรือการที่ได้มาฟัง เราเล่นสดเป็นโมเมนต์ที่ดีๆ แล้วการที่คนมองเราเป็น Mr. Sunshine สร้าง ความกดดันให้เราไหม

ผมเรียกเพลงของผมว่า Sunshine Music เพราะว่าผม อาจจะไม่ได้มองค�าว่า sunshine เหมือนคนข้างนอกมองก็ได้ ครับ sunshine ของผมคือผมเล่นกับ cycle ของพระอาทิตย์ ในหนึง่ วัน สมมติวา่ ผมเป็นคนคนหนึง่ ทีย่ นื กลางสนามในวันที่ พระอาทิตย์ขึ้นมา ในเวลา 12 ชั่วโมง หรือ 24 ชั่วโมง การที่ พระอาทิตย์เคลื่อนไป สามารถสร้างเงาให้ตัวเราได้หลาย รูปร่างมากๆ อยากตีความแบบนัน้ มากกว่า ว่าแต่ละวันเรามี ความรู ้ สึ ก หลายแบบมากๆ อาจจะไม่ ใ ช่ ส� า หรั บ ผมเอง แต่คนคนหนึ่งในวันหนึ่งเขาต้องเจอเหตุการณ์อะไรบ้าง ตอนเช้าอาจจะมีมุมโรแมนติก ตอนกลางวันท�างานเครียด ตอนเย็นวิตกกังวลว่าพรุ่งนี้ต้องท�าอะไรต่อ คือเราเล่นกับ คอนเซปต์ sunshine ในแบบนัน้ จริงๆ พวกนีม้ นั เป็น life cycle of the sun มากกว่า แต่ผมเรียกมันว่า sunshine แล้วสนใจเฉดไหนของมนุษย์ทส ี่ ด ุ

ผมชอบโมเมนต์ตอนพระอาทิตย์ตกไปแล้ว ช่วงทีไ่ ม่มี เงาเลย ช่วงก่อนนอน ผมได้คยุ กับเพือ่ นหลายคนทีม่ ปี ญ ั หา นอนไม่หลับว่าเขาคิดอะไรกันบ้าง ช่วงทีผ่ มเครียดมากๆ จากที่ เป็นคนหลับง่ายมากกลายเป็นนอนไม่หลับเลย สนใจใน ช่วงเวลานั้นครับว่าสมองมันคิดอะไรอยู่ เราก�าลังกังวลกับ เรือ่ งอะไร ทัง้ ๆ ทีอ่ าจจะไม่ใช่เรือ่ งใหญ่โตคอขาดบาดตายเลย แต่ทา� ไมท�าให้เรานอนไม่หลับ เป็นคอนเซปต์ทผี่ มเอามาแต่งเป็น เพลงใหม่ ชือ่ ว่า Hello, Anxiety เป็นเพลงทีผ่ มซือ่ สัตย์กบั ตัวเอง ทีส่ ดุ ว่าเราก�าลังรูส้ กึ อะไรในตอนนี้ เหมือนเราเลือกทีจ่ ะพูดกับ ความวิตกกังวลนีเ้ หมือนเขาเป็นคนอีกคนหนึง่ หรือเหมือนเรา พูดคุยกับตัวเองในตอนทีเ่ รานอนไม่หลับว่าเรารูส้ กึ อย่างไร บอกได้ไหมว่าพูดถึงอะไรบ้าง

เหมือนเป็น inner monologue ที่เราพูดกับตัวเอง ผมหวังว่าคนฟังทีเ่ คยรูส้ กึ อย่างทีเ่ รารูส้ กึ จะเข้าใจ และหวังว่า เขาจะรูส้ กึ ถึงพลังดีๆ จากมัน ทัง้ ๆ ทีเ่ พลงมันชือ่ Hello, Anxiety แต่วา่ ไม่ใช่เพลงทีเ่ ศร้าเลย เป็นเพลงเหมือนบอกว่าเราปลดปล่อย มันออกมาได้แล้ว ไม่ตอ้ งเก็บไว้กบั ตัวเองอีกต่อไป ความวิตก กังวลหรืออะไรที่เกี่ยวกับสภาพจิตไม่ใช่อะไรที่เราควรต้อง เก็บไว้ มันเป็นอะไรทีเ่ ราพูดกันได้ พูดกับเพือ่ นว่าเขาเคยรูส้ กึ แบบนี้ ห รื อ เปล่ า เชื่ อ ว่ า การที่ ไ ด้ พู ด และระบายออกมา เป็นอะไรที่ healthy กับตัวเรามากกว่า พอคุณได้รบั ฟังอะไร ข้างนอกเยอะมากๆ การอยูก่ บั ตัวเองและได้เข้าใจตัวเองจริงๆ ว่าเรารู้สึกแบบนี้เพราะแบบนี้ พอเราผ่านตรงนั้นมาได้ก็จะ รู้สึกดีขึ้น แต่ตัวเราต้องยอมรับกับข้างในของเราได้ก่อน เขียนเพลงนีต ้ อนกีโ่ มง ดึกเลยหรือเปล่า

ผมใช้เวลาเขียนนานมาก เพราะดนตรีเพลงนี้เสร็จ ไปนานมากแล้วเราหาคอนเทนต์ทเี่ ราใส่เป็นเนือ้ ร้อง แล้วเป็น สิ่งที่รู้สึกจริงๆ ไม่ได้สักที เลยใช้เวลาคิดกับมันอยู่สักพัก เลยครับ

“โมเมนต์ที่ดีที่สุดคือช่วงที่เราไม่แคร์แล้วว่าคนเข้าใจในสิ่งที่เราร้องออกไปหรือเปล่า อาจจะสื่อสารไม่เข้าใจผ่านภาษา แต่มีการเชื่อมต่อในการเป็นมนุษย์คนหนึ่งกับอีกคนหนึ่ง ที่ก�าลังส่งพลังงานดีๆ ให้กัน”

เป็นสิทธิของแต่ละคน

GooD musiC, GooD ViBE ทุกวันนีก ้ อ ่ นขึน ้ เวทีบอกตัวเองว่าอะไร

ผมจะย�้าตัวเองเสมอว่าตอนนี้ผมอยู่เมืองอะไร มาเล่นทีป่ ระเทศอะไร (หัวเราะ) พูดกับตัวเองว่าเรามาจาก ที่ ไ หนไม่ รู ้ ดนตรี ข องผมเริ่ ม ในห้ อ งนอนแล้ ว อยู ่ ดี ๆ ได้มาเล่นที่เบอร์ลิน ได้เล่นเฟสติวัลที่อัมสเตอร์ดัม เป็นอะไรที่มหัศจรรย์มากๆ แค่ได้ไปอยู่ตรงนั้นกับเพื่อน บนเวทีก็เติมเต็มเรามากๆ แล้ว

Magic moment ในการเล่ น ดนตรี ข องคุ ณ ส�าหรับคุณคืออะไร

เกิดขึน้ ตอนผมแสดงสดครับ โมเมนต์ทดี่ ที สี่ ดุ คือ ช่วงทีเ่ ราไม่แคร์แล้วว่าคนเข้าใจในสิง่ ทีเ่ ราร้องออกไปหรือ เปล่า อาจจะสือ่ สารไม่เข้าใจผ่านภาษา แต่มกี ารเชือ่ มต่อ ในการเป็นมนุษย์คนหนึง่ กับอีกคนหนึง่ ทีก่ า� ลังส่งพลังงาน ดีๆ ให้กัน เป็นอะไรที่อธิบายยากถ้าไม่เคยเจอเอง จริงๆ แล้วดนตรีเป็นแค่คลื่นความถี่ครับ เสียงทุกอย่าง เราอาจสัมผัสไม่ได้ มันเป็นแค่ vibe ทีเ่ ราต้องรู้สกึ ข้างใน ไม่จา� เป็นต้องมีคนมาดูเยอะ เป็นอารมณ์รว่ ม เห็นเขายิม้ เห็นเขาโยกตามเราก็เป็น vibe ที่ดีมากแล้ว การได้เชื่อมกับคนอื่นผ่านเพลงของเรา ให้อะไร คุณกลับมาบ้าง

ผมรู้สึกว่าเราตัวเล็กลงครับ หมายถึงว่าปัญหา ที่รู้สึก ความเครียด หรือสิ่งที่เราได้ปลดปล่อยไปใน ตอนนั้น เขาได้รู ้สึกไปกับ เราด้วยแล้ว ทุกอย่า งมัน not that bad as it seems อย่างน้อยก็มีคนที่รู้สึกกับ สิง่ ทีเ่ ราท�า ท�าให้มมุ มองของเรากว้างขึน้ วันนีเ้ ราอาจจะ รูส้ กึ ไม่ดเี ลย แต่พอได้แชร์ไปผ่านการเล่นดนตรี เราก็รสู้ กึ เบาลง อาจจะพู ด ว่าเบาลงมากกว่าตัวเล็ก เรารู ้สึก ไปด้วยกัน สนุกกับสิ่งเดียวกัน มีประเทศไหนทีว ่ ฒ ั นธรรมดนตรีสร้าง culture shock ให้คณ ุ บ้างไหม

ช็อกมากๆ ตอนที่ไปเล่นที่ญี่ปุ่นครั้งแรกในชีวิต ครับ ช็อกกับการที่เขาตั้งใจฟังเราขนาดนั้น ทั้งๆ ที่เขา อาจจะไม่ได้รจู้ กั เพลงทัง้ อัลบัม้ เพลงดังๆ อาจจะร้องไม่เป็น ด้วยซ�้าไป เรารู้ถึงพลังงานการมีส่วนร่วมที่เขาตั้งใจฟัง แล้วเวลาเขาตบมือเขาตบมือแบบจริงๆ อะ จนเรารู้สึก ตื้นตัน อันนั้นช็อกในแง่ดี ช็อกอีกครั้งหนึ่งตอนไปยุโรป แล้วไปเล่นที่ไลฟ์เฮาส์ที่เมืองวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ ก็รู้มาบ้างว่าไลฟ์เฮาส์ของเขาไม่ได้เหมือนที่ไทยนะที่มี ทีมงานมาเซตอะไรพร้อมแล้ว ผมและรถตู้ขนของไปถึง ไม่มีใครเลย มีแค่โปรโมเตอร์เปิดประตูมารับบอกว่า โอเค วันนีเ้ ล่นทีน่ นี่ ะ เชิญยกของขึน้ ไปได้เลย ผมก็งง อ๋อ ระบบมันเป็นอย่างนี้ เราต้องหิว้ กลองชุด หิว้ แอมป์ขนึ้ ไป เซตเอง ต่อสายไฟเอง เสร็จแล้วซาวนด์เอนจิเนียร์เขาถึง จะมาคุมทีหลัง ผมท�าอย่างนี้อยู่ 17 เมืองครับ (หัวเราะ) จากคนที่ไม่เคยเจอมาก่อนก็ต้องปรับตัวเร็วมาก ก็สนุก ดีครับ เป็นนักดนตรีที่เล่นดนตรีแล้ว เราก็ควรจะเซต ทุกอย่างเป็น สอนให้เราเติบโตมากขึ้น ทีไ่ หนท้าทายทีส ่ ด ุ

น่าจะเป็นอิตาลี ผมมีโอกาสได้ไปเล่น 4 เมือง เริม่ ทีม่ ลิ าน ไปตูรนิ ไปเจโนวา และโบโลญญา อิตาลีเป็น ประเทศทีแ่ ฟนเพลงเราไม่เยอะอยู่แล้ว มีโอกาสไปทัวร์ ก็ลองดู เป็นการเล่นดนตรีทไี่ ด้เรียนรูว้ า่ บางครัง้ เขาอาจจะ ไม่เข้าใจและไม่ได้อนิ กับเราขนาดนัน้ ซึง่ เป็นบททดสอบ ที่ท�าให้เราต้องเริ่มต้นใหม่ จงลืมไปเลยว่าเราเป็นใคร มาจากไหน เราแค่เล่น และพยายามเอาคนทีไ่ ม่รจู้ กั เรา

เลยให้อยู่ เขาอาจจะไม่ได้แคร์ในสไตล์ดนตรีเราด้วยซ�า้ ต้องท�าให้เขาอินให้ได้ เป็นความท้าทายทีเ่ หนือ่ ยแต่สนุก มากครับ ทุกวันนีฟ ้ งั เพลงคนอืน ่ ๆ ยังสนุกอยูไ่ หม

ผมไม่ได้เสพดนตรีนอ้ ยลง ยังเสพดนตรีเหมือนเดิม และพยายามฟังเพลงใหม่ๆ ทุกวันให้ได้ ช่วงนีก้ ลับมา สนุกกับการดูหนังขึน้ เยอะ เพราะเราก็เรียนภาพยนตร์มา แล้วจบมาก็ยงั ไม่คอ่ ยได้เข้าไปแตะในสายงานทีเ่ ราเรียน มาเลย ช่วงนีก้ ารดูหนังเป็นอะไรทีผ่ อ่ นคลาย สนุก ซีรส ี ท ์ ต ี่ ด ิ ล่าสุดเรือ ่ งอะไร

เพิง่ ดู Kingdom ตืน่ เต้นมากครับ ดีมากแนะน�า จริงๆ ผมดูหนังได้ทุกแนวครับ แต่ถ้าไม่อยากให้เครียด จริงๆ ชอบดูแนว romantic-comedy จะยุค 2000s หรือ 90s อะไรแบบนี้ไปเลย Nothing Hill หรือ Pretty Woman อะไรแบบนี้ไปเลยครับ เรียนภาพยนตร์มาด้วย ถ้างานดนตรีซาลงยังสนใจ งานก�ากับอยูไ่ หม

จริงๆ ผมสนใจมากครับ คือซาหรือไม่ซาผมก็ยงั อยากกลับไปท�า เพิง่ ได้คยุ กับเพือ่ นทีเ่ รียนมาด้วยกันว่า ว่างๆ เราไปถ่ายอะไรกัน ไปท�า one-minute short ffi ifi lm ก็ได้ อยากท�ามาก มีอะไรทีช ่ อบท�าแล้วไม่เคยบอกคนอืน ่ ไหม

ผมชอบคีบตุก๊ ตาครับ แต่จริงๆ ผมเปิดเผยมา สักพักแล้ว แต่พอมาดูอีกทีคนที่คีบในร้านก็มีแต่เด็กๆ แล้ว (หัวเราะ) ผมก็รสู้ กึ ว่าผมอาจจะอายุเยอะไปส�าหรับ การท�าสิง่ นี้ แต่มนั เป็นอะไรทีเ่ ราชอบมาก หรืออย่างเพลง ผมชอบฟังเพลงแบบ Akon เพลง Lonely อะไรแบบนี้ ปาร์ตี้ๆ เพลงดีนะ จริงๆ ก็ไม่ได้ guilty ขนาดนั้น ความฝันต่อไปล่ะ

ตอนนีโ้ อเคแล้วครับ ได้คยุ กับตัวเองขนาดนัน้ แล้ว ได้ทา� เพลงระบายความรูส้ กึ เครียดๆ ออกมาแล้ว สิง่ ทีผ่ ม อยากท�าต่อไปคืออยากท�าผลงานทีด่ สี า� หรับตัวเองต่อไป เรือ่ ยๆ เราหวังว่าคนทีช่ อบเราเขาจะชอบจริงๆ ไม่ได้ชอบ แค่ในความทีภ่ มู นิ า่ รัก ภูมยิ มิ้ เก่ง ถึงมาฟัง แต่ชอบในตัว ดนตรีจริงๆ เป้าหมายต่อไปน่าจะเป็นการใส่ตวั เองเข้าไป ในผลงานจริงๆ ครับ ไม่อยากให้คนเข้ามาสนใจเพราะ หน้าตาหรือภาพลักษณ์ภายนอก งานดนตรีจะได้อยู่ ตลอดไป เมื่อเราไม่อยู่แล้ว เราอยากใส่พลังงานเข้าไป ในดนตรีจริงๆ มันจะได้เป็นผลงานที่มีพลัง ทุกวันนีย ้ งั ใช้เพลง Long Gone ปิดโชว์อยูไ่ หม

ยังใช้ครับ (หัวเราะ) เพราะมันเป็นเพลงทีเ่ ปิดประตู ให้ทกุ อย่างส�าหรับเราจริงๆ ก่อนเพลง Lover Boy ก่อนที่ คนไทยจะรูจ้ กั ภูมจิ ริงๆ Long Gone คือทุกอย่าง เป็นเพลง ทีไ่ ปติด blog ของ Reddit แล้วสร้างผูฟ้ งั มีเด็กฮิปสเตอร์ อเมริกนั เข้ามาคอมเมนต์กนั แล้วผมก็งงว่ามันเกิดขึน้ ได้ อย่างไร แล้วก็เปิดประตูให้เราได้ไปเล่นเฟสติวลั ทีไ่ ต้หวัน ครัง้ แรก ได้ไปเจอโปรโมเตอร์ของแต่ละประเทศ ได้พดู คุย และเกิดการทัวร์ เลยเป็นเพลงทีส่ า� คัญส�าหรับผม และ เป็ น เพลงที่ เ ล่ น สดสนุ ก ที่ สุ ด แล้ ว เพลงนี้ มี เ มสเซจ และทัศนคติทเี่ ราพยายามจะส่งให้คนมากทีส่ ดุ ว่า ไม่วา่ คุณจะเจออะไรมา ไม่วา่ วันนีจ้ ะแย่ขนาดไหน ขอให้คณ ุ ฟังเพลงนีแ้ ล้วรูส้ กึ เหมือนปลาว่ายน�า้ ไปด้วยกัน


14 ISSUE 585 08 APR 2019

A MUST T OY

M OV I E

S

IE ER

S

จากหนังสือการ์ตูนสู่หนังใหญ่ บนจอภาพยนตร์ ที่ ถู ก รี บู ต อี ก ครั้ ง หลังจากเวอร์ชันที่สร้างโดย กีเยร์โม เดล โตโร เจ้าพ่อแห่งการสร้างโลกใน จิ น ตนาการสุ ด ดาร์ ก ตั้ ง แต่ ป ี 2004 กลับมาคราวนีใ้ นภาพลักษณ์ใหม่ทเี่ หีย้ ม และโหดกว่าเดิม พร้อมกับนักแสดงหนุม่ หุน่ หมีทมี่ ารับบทเจ้ายักษ์กา� ปัน้ มหึมา อย่าง เดวิด ฮาร์เบอร์ ที่คุ้นหน้าคุ้นตา กั น ในบทบาทสารวั ต รในซี รี ส ์ สุ ด ดั ง Stranger Things และได้ผู้ก�ากับอย่าง นีล มาร์ แ ชลล์ ที่ส ร้ า งชื่อ เสีย งจาก ซีรสี ์ Westworld และ Game of Thrones มาให้ คุ ณ สั ม ผั ส ความมั น สนั่ น โรงภาพยนตร์ตั้งแต่ 11 เมษายนนี้

2

เลโก้เป็นของเล่นที่เริ่มต้นคิดค้นจาก ประเทศเดนมาร์กในปี 1932 ไม่นา่ เชือ่ ว่าตัวบล็อก สีนมี้ อี ายุมามากกว่าแปดสิบปีแล้ว นอกจากนี้ เลโก้ยงั ได้ไปร่วมโปรเจ็กต์กบั แบรนด์สนิ ค้าและ ภาพยนตร์มานับไม่ถว้ น เรียกได้วา่ ในอีกมุมของ เลโก้นนั้ เป็นเหมือนงานศิลปะทีส่ ามารถเปลีย่ น โลกทั้งใบให้กลายเป็นชิ้นส่วนเหลี่ยมๆ ได้ โปรเจ็กต์ล่าสุดนี้จะเป็นการร่วมมือ อีกครัง้ กับทางดิสนีย์ ด้วยการปล่อยมินฟิ กิ เกอร์ ที่เลโก้ปล่อยออกมาให้สะสมกันในรูปแบบ ชุดสะสม ซึง่ ลูกเล่นของการสะสมคือไบลด์บอ็ กซ์ ทีเ่ ราต้องตามหาส่วนประกอบของตัวคาแรกเตอร์ จากซองให้ครบเซต ซึ่งมีตัวละครมากมาย ของดิสนีย์ให้เลือกตามเก็บ ไม่ว่าจะเป็น ตัวการ์ตูนหรือตัวละครจากภาพยนตร์ที่อยู่

ภายใต้ลิขสิทธิ์ของดิสนีย์ โดยจะมีตัวละคร ออกมาให้ ส ะสมอย่ า ง Frozen, Aladdin, Incredibles, The Nightmare Before Christmas, Chip and Dale, Hercules, DuckTales และ Mickey Mouse เวอร์ชันสีขาวด�า ที่เรียกได้ว่าเป็น มิกกีเ้ มาส์เวอร์ชนั แรกทีเ่ ราได้เห็นเจ้าหนูตวั นี้ ออกมาโลดแล่นบนจอทีวี หรือแม้แต่ปราสาท ดิสนีย์ที่ทุกคนเห็นกันในสวนสนุก ก็น�ามา ดัดแปลงเป็นเลโก้ขนาดยักษ์ให้จับจองเป็น เจ้าของกันมากมาย เรียกว่าคอลเลกชันนีเ้ ป็น สินค้าทีร่ วมความเป็นต�านานของทัง้ สองแบรนด์ ออกมาได้อย่างลงตัว ตามหาเลโก้ชุดนี้ได้ ในเดื อ นพฤษภาคมนี้ ที่ แ ผนกของเล่ น ใน ห้างสรรพสินค้าทั่วไป หรือสั่งจองล่วงหน้า ได้ที่ www.facebook.com/Legopatsa

MUS IC

TWO DOOR CINEMA CLUB - TALK กลับมาให้หายคิดถึงกันอีกครัง้ กับวงอินดีร้ อ็ กอย่าง Two Door Cinema Club ทีใ่ ครหลายคนอาจจะ รู้จักพวกเขาจากเพลงดังอย่าง What You Know, Something Good Can Work, Sun และอีกมากมาย โดยหลังจากเงียบหายไปถึงสองปีกบั อัลบัม้ ล่าสุด Gameshow ครัง้ นีเ้ ขากลับมากับเพลง Talk ทีผ่ สมผสาน ซาวนด์อเิ ล็กทรอนิกเรโทรเข้ามา โดยยังคงมีกลิน่ อายของอัลบัม้ ทีแ่ ล้วอย่างชัดเจน ส่วนสมาชิกแต่ละคน ก็มาในลุกส์ที่ฮิปขึ้นกว่าเดิม พร้อมประกาศคอนเสิร์ตที่จะจัดขึ้นที่ลอนดอน ส่วนแฟนๆ ชาวไทยก็รอฟัง ข่าวดีเผื่อพวกเขาจะแวะมาทัวร์ที่ไทยให้พวกเราได้สนุกกันอีกครั้ง

F E S T I VAL GOOD VIBES

ไม่ว่าใครๆ ก็คงรู้จัก กับของเล่นเสริมทักษะของ เด็กๆ แบรนด์นี้ แต่เรือ ่ งราว ทีท ่ า� ให้ เลโก้ เป็นของเล่นทีม ่ ี เรื่องราว และยิ่งใหญ่กว่า การเป็ น ของเล่ น คื อ การกลายเป็ น ของที่ มี ค่ า ใน การสะสม และมี ผู้ น� า มา สร้างเรื่องราวอันน่าจดจ�า ม า ก ม า ย จ น ก ล า ย เ ป็ น ของเล่ น ตลอดกาลของ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่

HELLBOY

D O G LE

IS

Y E N

N I M

G I F I

E R U

งานเฟสติ วั ล ดี ๆ ที่ จั ด ขึ้ น ใน ประเทศมาเลเชีย บนพื้นที่สุดชิลด้วย บรรยากาศหมอกจางๆ บนภูเขา ซึง่ ปีนี้ มีนกั ดนตรีทมี่ าเข้าร่วมอย่าง Cashmere Cat, Daniel Caesar, Dean และอีกมากมาย ที่ จ ะประกาศตามมา จุ ด เด่ น ของ เทศกาลนี้คือราคาบัตรพร้อมแพ็กเกจ โรงแรมทีส่ ดุ คุม้ ควรค่าแก่การไปโดยที่ คุณไม่ต้องคิดอะไรมากเลย ติดตาม รายละเอียดของเทศกาลและราคาของ แพ็กเกจได้ที่ www.goodvibesfestival. com เราขอเตื อ นว่ า ราคาแพ็ ก เกจ จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ต้องรีบตัดสินใจกัน แล้วนะ


15 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

WORKSH O P

THE ART OF STORYTELLING BY PIXAR AND KHAN ACADEMY ใครจะไปคิดว่าบริษทั แอนิเมชันระดับโลกอย่าง Pixar จะเปิดคอร์ส ให้เราได้อ่านและท�าความเข้าใจกับเบื้องหลังการผลิตงานกันฟรีๆ ซึ่งโปรเจ็กต์นี้เกิดจากการร่วมมือกับ Khan Academy ซึ่งในบทเรียน จะมีทั้งหมด 6 หัวข้อ เช่น We are all storytellers, Characters และ Story structure เป็นต้น ซึง่ งานนีใ้ ครทีเ่ ป็นผูท้ รี่ กั ในการผลิตคอนเทนต์ อยากสร้างคอนเทนต์ให้โดนใจ และมีวธิ กี ารคิดทีเ่ ป็นระบบ ต้องห้ามพลาด ด้วยประการทัง้ ปวง ลงทะเบียนเรียนฟรีกนั ได้ที่ www.khanacademy.org/ partner-content/pixar/storytelling

ERA - WON ANTI BACTERIAL SOCKS

I N STAGRAM

ถุงเท้าเป็นสิ่งส�าคัญอีกอย่างในการแต่งตัว ที่สามารถบ่งบอกสไตล์ของคนใส่ หรือลวดลายที่ แอบซ่อนไว้เป็นกิมมิกน่ารักๆ ส�าหรับคนที่ชื่นชอบ การเพิ่มความสนุกสนานในการแต่งกาย ซึ่งแบรนด์ เสือ้ ผ้าอย่าง era-won ทีผ่ ลิตกางเกงผ้าทีส่ วมใส่สบาย ราคาเป็นกันเอง ได้ออกโปรดักต์ไลน์ใหม่อย่างถุงเท้า ภายใต้ชอื่ era-tech ทีจ่ ะประกอบไปด้วยถุงเท้าสีเดียว และถุงเท้าสีลายทาง ทีใ่ ส่งา่ ย และมิกซ์แอนด์แมตช์ ให้ลงตัวกับเสื้อผ้าได้ในทุกๆ วัน พร้อมเทคโนโลยี การผลิตทีจ่ ะท�าให้เท้าคุณไร้กลิน่ ด้วยเนือ้ ผ้าทีส่ ามารถ ยับยัง้ การเกิดของแบคทีเรียได้ ซึง่ เหมาะกับหน้าร้อน ของบ้านเราที่ท�าให้เท้าของหลายๆ คนมีเหงื่อออก เยอะ หาซือ้ ได้ทชี่ อ็ ป era-won ทุกสาขา หรือที่ www. facebook.com/erawon

BOU.GEOTTE สายช้อปต้องฟอลโลว์ด่วน เพราะนี่คือแหล่งพรีออร์เดอร์รับหิ้วของ สุดเก๋จากเมืองนอก ซึ่ง @bou.geotte เป็นร้านที่ตั้งคอนเซ็ปต์ไว้ว่า Lifestyle Design Minimal ซึ่งของที่น�ามาขายจะถูกคัดเลือกมาให้จากหลากหลาย แบรนด์ดงั อย่าง Maison Kitsune, Jean Jullien, Hay, Oh, lol y day! และอีกมากมาย แต่ต่อให้ไม่ได้ออร์เดอร์สินค้าจาก IG นี้ ก็ลองกดเข้าไปดูมูดแอนด์โทน ของรูปภาพจากแอคเคานต์นกี้ นั ก่อน เพราะหลายๆ ภาพทีเ่ ขาลงไว้สามารถ น�ามาใช้เป็นแรงบันดาลใจในการแต่งตัวสไตล์มินิมอลได้อย่างสนุกสนาน

COLLEC TIO N

SKECHERS X ONE PIECE COLLEC TION

AC C E S S O R I E S

แฟนๆ ของตั ว การ์ ตู น โจรสลั ด เตรียมฟินกับโปรเจ็กต์การร่วมมือกันของ รองเท้าสัญชาติอเมริกันอย่าง Skechers และการ์ตูนค่ายโทเอะที่โด่งดังไปทั่วโลก อย่ า ง One Piece ที่ อ อกคอลเล็ ก ชั น สนีกเกอร์ลมิ เิ ต็เอดิชนั รุน่ ใหม่ โดยหยิบเอา 5 ตัวละครหลักของ One Piece ตอน สงครามมารีนฟอร์ด มาลงลวดลายบน รุ่น Skechers D’Lites 3.0 ที่ขึ้นชื่อว่าเบา และนุ่มสบายที่สุดในการสวมใส่ จับจอง เป็นเจ้าของกันได้ตงั้ แต่วนั นีท้ รี่ า้ น Skechers Shop (ราคา 3,495 บาท)

G AD G E T RESTAURAN T

OVER SEOUL ร้านอาหารส�าหรับหนุม่ สาวสายเกาทีเ่ พิง่ เปิดตัวได้ไม่นาน ซึง่ ไม่วา่ คุณจะเป็นคนชอบรสชาติของอาหารเกาหลีอย่างต็อกโบกี จับเช รามยอน รวมไปถึงเครือ่ งดืม่ อย่างโซจู ม็อกกลลี และเหล้าพีช หรือคุณอาจจะชอบ ตะโกนร้องเพลงและเต้นไปกับเพลงเกาหลีติดชาร์ต ก็สามารถมา แฮฟฟันที่นี่ได้แบบสนุกสุดเหวี่ยง รับประสบการณ์เต็มๆ เหมือนได้ ปาร์ตอี้ ยูท่ โี่ ซล ขอแนะน�าว่าวันศุกร์-เสาร์ ให้รบี ไปจองโต๊ะทีร่ า้ นนีต้ งั้ แต่ หัวค�า่ เพราะคนจะเยอะมาก ตัวร้านตัง้ อยูบ่ ริเวณทางออก 3 สถานีรถไฟฟ้า BTS สนามเป้า ร้านเปิดตั้งแต่เวลา 18.00-01.00 น.

TUMI ALPHA 3 คุณก�าลังแพลนทริปสุดพิเศษอยู่หรือเปล่า ถ้าใช่เราขอแนะน�ากระเป๋าเดินทางรุน่ ใหม่ทจี่ ะท�าให้ ทริปพิเศษๆ ของคุณเท่ ง่าย และสบายขึน้ มากกว่าเดิม กับ Tumi รุ่น Alpha 3 ที่เหมาะทั้งการเดินทางแบบ ท่องเที่ยว หรือทริปธุรกิจก็ลงตัวด้วยดีไซน์ที่สวย ตัวกระเป๋าที่ผลิตด้วยเนื้อผ้าไนลอนพิเศษที่มีความแข็งแรงทนทาน สวยงาม ในคอลเลกชันนี้ประกอบ ไปด้วยกระเป๋าเป้อเนกประสงค์ กระเป๋าเป้สะพายหลัง และกระเป๋าเดินทาง หาซื้อได้ที่ช็อป Tumi ทุกสาขา และช่องทางออนไลน์ www.tumi.co.th


16 issue 585 08 apr 2019

CALENDAR

08

M 09

T 10

W 11

The LighT of Day

Life

LiTTLe WiLD

นิทรรศการ ‘ความสุขของ แสง’ โดย อุทศิ เหมะมูล นั ก เขี ย นรางวั ล ซี ไ รต์ ปี 2552 น�าเสนอสถานที่ ส่วนตัวพื้นที่ในความทรงจ� า ที่ ถู ก เปิ ด เผย และเปลื อ ยออกผ่ า น แสง ซึ่งจับสัมผัสไปยัง วัตถุ สถานที่ ทิวทัศน์ และเรือนร่าง จนก่อเกิด เป็นอากาศ บรรยากาศ ที่ ทั้ ง ลึ ก ลั บ เย้ า ยวน และเป็นส่วนตัว วันนี้ ถึง 20 พฤษภาคม 2562 ณ เดอะแจม แฟคทอรี แกลเลอรี

นิทรรศการ ‘Life’ โดย แคทลี ย า พั น ธ์ โ ตดี น�าเสนอผลงานภาพพิมพ์ แกะไม้ งานจิตรกรรม วาดเส้น และงานวัสดุ ปะติด ว่าด้วยเรื่องราว เกี่ ย วกั บ การเดิ น ทาง วิถีชีวิต และความรู้สึก ต่างๆ ที่เข้ามากระทบ กับจิตใจ โดยใช้แมวเป็น สัญลักษณ์สื่อความถึง สัมพันธภาพในรูปแบบ ต่างๆ วันนีถ้ งึ 19 พฤษภาคม 2562 ณ หอศิลป์ ร่วมสมัยอาร์เดล ถ.บรมราชชนนี (เว้นวันจันทร์)

นิ ท รรศการภาพถ่ า ย ฝี พ ระหั ต ถ์ ใ นพระเจ้ า หลานเธอ พระองค์เจ้าสิ ริ วั ณ ณวรี น ารี รั ต น์ ‘Little Wild’ สะท้ อ น ความงดงามของเหล่า สั ต ว์ ป ่ า และธรรมชาติ ของประเทศเคนยา ทวีป แอฟริกา ผ่านมุมมอง ของพระองค์ วันนี้ถึง 28 เมษายน 2562 ณ ไลก้า แกลเลอรี แบงค็อก ชัน้ 2 ศูนย์การค้าเกษร วิลเลจ

TH 12

MeLLoW feLLoW anDSTiLLCornerS Live in Bangkok

พบกับ Mellow Fellow ศิ ล ปิ น อิ น ดี้ พ็ อ พจาก ฟิลิปปินส์ กับซาวนด์ กีตาร์หวานฉ�า่ เสียงซินธ์ สวยๆ และเสี ย งร้ อง นุ่มนวลชวนหลง และ Still Corners คูห่ ดู โู อ้จาก ลอนดอน กับซาวนด์ชวน ฝัน เสียงกีตาร์ลอยๆ เสียงร้องฟุง้ ๆ ใน ‘Mellow Fellow and Still Corners Live in Bangkok’ วันนี้ เวลา 21.00 น. ณ Live Arena RCA จ�าหน่าย บั ต รที่ Ticketmelon. com

F 13

SA 14

SiaM Songkran MuSiC feSTivaL

S2o

เฟสติ วั ล สงกรานต์ ที่ ผสมผสานไปกับความเป็นไทย ‘สยามสงกรานต์ มิวสิก เฟสติวลั ’ ยกทัพ ดีเจกว่า 21 ชีวิต มา ระเบิดความมันให้สาด สนั่นถึง 4 วัน 4 โซน วันนี้ถึง 15 เมษายน 2562 เวลา 16.00 น. เป็นต้นไป ณ Show DC Arena พระราม 9 จ�าหน่ายบัตรที่ Siamsongkran.com (สงวน สิ ท ธิ์ ส� า หรั บ ผู ้ ที่ มี อ ายุ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป)

เตรียมชุดให้พร้อมแล้ว มาสู้กับความสนุกสุด มั น ในเทศกาลดนตรี ‘S2O’ เฉลิ ม ฉลอง เทศกาลสงกรานต์ภายใต้ บรรยากาศอบอุ่นของ กรุงเทพฯ ยามค�่าคืน ชุ ่ ม ฉ�่ า กั บ สายน�้ า เย็ น และเพลงสุ ด มั น จาก ดีเจชัน้ น�าของโลก วันนี้ ถึง 15 เมษายน 2561 ณ Live Arena อาร์ซเี อ จ�าหน่ายบัตรและติดตาม ไลน์อพั ได้ที่ S2Ofestival. com (สงวนสิทธิส์ า� หรับ ผู้ที่มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ ขึ้นไป)

S

Songkran Dragqueen feSTivaL 2019

ย ก ร ะ ดั บ เ ท ศ ก า ล สงกรานต์ให้แซ่บขึน้ ไป อีกขั้น กับ ‘Songkran Dragqueen Festival 2019’ เริ่ ม ต้ น ค�่ า คื น ด้วยดนตรียุค 90s กับ DJ Yui Truluv ดนตรี รี มิ ก ซ์ จ ากดี เ จชั้ น น� า และโชว์ จ ากเหล่ า dragqueen วั น นี้ วั น สุดท้าย เวลา 19.30 น. เป็นต้นไป ณ Maggie Choo’s ส�ารองโต๊ะได้ที่ โทร. 08-7015-6600

WHERE TO FIND

Where the conversations begin. adaybulletin.com

หมอชิต

Meet

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

Up

สยามสแควร์

Every อโศก

Monday!

ศาลาแดง

BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น. หมอชิต อโศก

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ศาลาแดง

สยาม

Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ากว่า 100 จุดทั่วประเทศ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน


17 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

ดวงกมล จันทร์เนตร์ คอนเทนต์ครีเอเตอร์อิสระ ผู้สนใจเรื่องการเงิน ชีวิต และการงานที่สมดุล ส่วนงานรองคือเขียนแนะน�าไลฟ์สไตล์และท่องเที่ยวด้วยส�านวนสดใหม่ มีแฟนๆ เฝ้าติดตามเธออยู่ไม่น้อย amjunnet@gmail.com

เรื่อง

M O N E Y. L I F E . BA L A N C E .

7 ข้อคิดที่อยากสะกิดเตือนคุณ ‘ถ้าคิดผิดให้คิดใหม่เรื่องใช้เงิน’ คนเรามักคิดเข้าข้างตัวเอง ในเรื่องการใช้เงินก็เช่นกัน บางเรื่องเป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจนเรารู้สึกว่าเป็นเรื่องปกติ เคยชินที่จะท�าแบบนั้นโดยไม่ได้ไตร่ตรองถึงข้อดีข้อเสีย ขาดความรอบคอบ ท�าให้สูญเสียเงินโดยเปล่าประโยชน์ ทั้งที่จริงเงินจ�านวนนั้นสามารถนอนอยู่ในกระเป๋าได้ยาวๆ หรือดียิ่งกว่านั้นคือสามารถท� าให้เพิ่มพูนได้เสียด้วยซ�้าไป แต่ไม่เป็นไร ถ้าเคยคิดผิดก็คิดใหม่ได้เสมอ

เงินซือ้ ของขัน้ ต�ำ่ 1,000 บำท ทัง้ ทีย่ งั ไม่มคี วำมจ�ำเป็นต้องซือ้ เพือ่ ให้ ส� ำ รวจตั ว เองผ่ ำ น 7 ข้ อ คิ ด ที่ อ ยำกสะกิ ด เตื อ นคุ ณ ว่ ำ 3. คิดว่าใช้เงินก่อนออมทีหลัง หำกคิดว่ำค่อยออม ชีวิตนี้ก็อำจจะไม่ได้ออมเงินเลย เพรำะ ได้จอดรถฟรีสองชั่วโมง ลองเปลี่ยนวิธีคิดสักนิด เตือนสติตัวเอง ‘ถ้ำคิดผิดให้คิดใหม่’ ในเรื่องกำรใช้เงิน เพรำะบำงพฤติกรรมที่เรำ ท�ำบ่อยๆ จนเป็นเรื่องปกติ โดยไม่ได้คิดไตร่ตรองให้ดี มักจะท�ำให้ คนเรำมักมีขอ้ อ้ำงในกำรใช้เงินเสมอ วิธที ดี่ ที สี่ ดุ คือตัดใจหักเงินออม สักหน่อย เก็บเงินไว้เผื่อมีเรื่องฉุกเฉินต้องใช้ไม่ดีกว่ำหรือ เรำเสียเงินโดยเปล่ำประโยชน์ ทั้งที่จริงๆ แล้วเรำสูญเงินที่ควรจะ ไปเลยหลังจำกได้รับเงินเดือนหรือเงินค่ำจ้ำง ค�ำแนะน�ำส่วนใหญ่ คือ ขัน้ ต�ำ่ ให้ออม 10% ของรำยได้ แต่หำกท�ำไม่ได้จริงๆ ก็อำจออม 6. คิดว่าบัตรเครดิตช่วยแก้ไขปัญหาได้ อยู่ในกระเป๋ำยำวๆ ออกไปมำกมำยเกินกว่ำควำมจ�ำเป็น ในจ�ำนวนที่เรำรับได้ก่อน หลังจำกนั้นค่อยๆ เพิ่มตัวเลขขึ้น เป็นเรือ่ งตรงกันข้ำมเลยต่ำงหำก โดยเฉพำะในคนทีไ่ ม่มวี นิ ยั ทำงกำรเงิ น กำรรูดปื๊ดๆ โดยที่ไม่รู้ว่ำจะเอำเงินจำกไหนไปจ่ำยคืน 1. คิดว่าประหยัดดีที่สุด จะท�ำให้เกิดปัญหำหนี้สิ้นก้อนใหญ่ตำมมำ ทุกครั้งที่มีกำรรูดบัตร ประหยัดนัน้ เป็นเรือ่ งดี แต่กำรประหยัดไม่ใช่วธิ ที ดี่ ที สี่ ดุ ในกำรใช้ 4. คิดว่าบัญชีรับ-จ่ายไม่ส�าคัญ ใครทีไ่ ม่ทำ� บัญชีรำยรับรำยจ่ำย แน่นอนว่ำไม่ใช่เรือ่ งคอขำด คุณต้องกันเงินไว้สำ� หรับจ่ำยหนีด้ ว้ ย ไม่เช่นนัน้ แล้วหนีก้ จ็ ะเพิม่ ขึน้ ๆ เงิน โดยเฉพำะเมือ่ เรำสำมำรถใช้เงินต่อยอดให้เกิดก�ำไรหรืองอกเงย ได้ ดังนั้น แทนที่จะเก็บเงินไม่ใช้เลย ใครจะชวนไปท�ำอะไรก็ไม่เอำ บำดตำย แต่มนั ร้ำยแรงพอๆ กับกำรท�ำเงินหำยโดยไม่รตู้ วั ปัจจุบนั นีม้ ี ดอกเบี้ยเอย ค่ำทวงหนี้เอย รู้ตัวอีกทีก็สำยเสียแล้ว ไม่สน เพรำะคิดว่ำต้องประหยัดเท่ำนั้น ลองเปลี่ยนเป็นกำรมองหำ แอพพลิเคชันทีน่ ำ่ สนใจเกีย่ วกับกำรออมหลำยแอพฯ ไม่จำ� เป็นต้อง วิธที จี่ ะน�ำเงินไปใช้ให้เกิดรำยได้ อำจเป็นกำรลงทุนในพันธบัตร หุน้ ใช้ปำกกำจดลงสมุดอีกต่อไป ลองเริม่ ต้นบวกในใจคร่ำวๆ ดูวำ่ วันนี้ 7. คิดว่าอยากได้เท่ากับจ�าเป็น ก่อนอืน่ ต้องแยกแยะให้ออกก่อนว่ำ ควำมอยำกกับควำมจ�ำเป็น กองทุน โดยพิจำรณำจำกควำมชอบ รวมทัง้ ควำมสำมำรถในกำรยอมรับ ใช้เงินไปกีบ่ ำท แล้วลองหักลบจำกรำยได้ทลี่ องหำรออกมำเป็นรำยวัน ระวังคุณอำจจะตกใจว่ำท�ำไมรำยจ่ำยมำกกว่ำรำยรับ นั้นแตกต่ำงกันอย่ำงสิ้นเชิง หลำยคนบอกว่ำ อยำกได้มำกกกก ควำมเสี่ยงของตัวเรำเองเป็นหลักแล้วลองหำข้อมูลเพิ่มเติม ก. ไก่ลำ้ นตัว ถ้ำควำมรูส้ กึ อยำกได้เกิดขึน้ แค่ปลี ะครัง้ สองครัง้ อำจจะ 5. คิดว่าต้องไม่ยอมเสียผลประโยชน์ ไม่เป็นไร แต่ถำ้ ควำมอยำกได้นมี้ กั มีมำเป็นประจ�ำ ทุกสัปดำห์ ทุกเดือน 2. คิดว่าซื้อของถูกช่วยลดค่าใช้จ่าย คนจ�ำนวนไม่นอ้ ยเมือ่ เห็นโปรโมชันลด แลก แจก แถม มักจะ หรืออำจจะบ่อยกว่ำนัน้ ต้องหำวิธจี ำ� กัดหรืออำจจะถึงขัน้ ต้องก�ำจัด ของถูกและดีอำจจะมี แต่สว่ นใหญ่แล้วของทีร่ ำคำถูกมำกๆ มักมีอำยุกำรใช้งำนค่อนข้ำงสั้น ของบำงอย่ำงซื้อมำในรำคำถูก รูส้ กึ ว่ำ นีเ่ ป็นกำรคืนก�ำไรให้กบั ลูกค้ำ หำกเรำไม่ใช้โควตำในกำรซือ้ ควำมอยำกให้หมดไป ไม่อย่ำงนัน้ แล้วเงินในกระเป๋ำก็อำจจะหมดไป แต่ต้องซื้อหรือเปลี่ยนบ่อยๆ เมื่อลองค�ำนวณเงินที่ต้องเสียไป ของครั้งนี้ก็จะท�ำให้เรำเสียผลประโยชน์บำงอย่ำง ทั้งที่จริงแล้ว กับควำมอยำกเหล่ำนี้แทน อำจสูงกว่ำกำรลงทุนซื้อของมีคุณภำพตั้งแต่แรก ต่อไปนี้ลองชั่งใจ ของลดรำคำ ของแถมส่วนใหญ่เป็นของที่เรำมักไม่จ�ำเป็นต้องมี หรือต้องซื้อในตอนนั้น หรือแม้กระทั่งค่ำที่จอดรถ บำงคนยอมจ่ำย เปรียบเทียบ และคิดค�ำนวณดีๆ ก่อนตัดสินใจซื้อของถูก

MONEY UPDATE VOLKSWAGEN

ใครทีม่ งี ำนท�ำขอให้ขยันและตัง้ ใจท�ำงำนให้ดี เพรำะมีคนจ�ำนวนไม่นอ้ ยทีก่ ำ� ลังจะสูญเสียงำน ส�ำนักข่ำว รอยเตอร์สรำยงำนว่ำ ฟ็อลคส์วำเกิน บริษทั ผูผ้ ลิตรถยนต์เยอรมันรำยใหญ่ทสี่ ดุ มีนโยบำยจะลดพนักงำน 7,000 คน ภำยในปี 2566 เพือ่ ให้บริษทั สำมำรถมีรำยได้ตำมเป้ำหมำยประจ�ำปีของบริษทั ที่ 5.9 พันล้ำนยูโร หรือประมำณ 2.15 แสนล้ำนบำท โดยบริษทั ให้เหตุผลว่ำส่วนหนึง่ มำจำกทิศทำงกำรผลิตรถไฟฟ้ำนัน้ ยุง่ ยำกน้อยลง จึงมีควำมจ�ำเป็น ที่จะใช้พนักงำนน้อยลงไปด้วย

ภาพ : Getty Images

ภาวะการท�างานของประชากร

ส�ำนักงำนสถิติแห่งชำติเปิดเผยว่ำ ประเทศไทย ในเดือนกุมภำพันธ์ 2562 ผู้ที่อยู่ในภำวะแรงงำน มีทงั้ หมด 38.32 ล้ำนคน ประกอบด้วยผูม้ งี ำนท�ำ 37.78 ล้ำนคน ผูว้ ำ่ งงำน 3 แสนคน และผูร้ อฤดูกำล 2.38 แสนคน โดยอยูม่ อี ำชีพในภำคเกษตรกรรมมำกทีส่ ดุ คือร้อยละ 10.58 รองลงมำคืออำชีพเกีย่ วกับขำยส่งสินค้ำ ร้อยละ 6.65 และภำคกำรผลิตร้อยละ 6.53 สถิตทิ นี่ ำ่ สนใจคืออำชีพเกีย่ วกับทีพ่ กั แรม อยูใ่ นอันดับ 4 ร้อยละ 2.86 และอันดับ 5 คืออำชีพก่อสร้ำง ร้อยละ 2.41


18

LIFE

เรื่อง

นันท์พัทธ์ พูลสวัสดิ์ นักเขียน IG: agrarian.utopia

ภาพ

ปกาสิต เนตรนคร ช่างภาพ IG : varnlocation

K O R AT : T H E SUM OF SMALL PA R T S ‘โคราช’ หรือภาษาราชการ เรียกว่าจังหวัดนครราชสีมา เมือง ที่มีอาหาร ศิลปะ วัฒนธรรม และ ภาษาเป็นของตัวเอง มีพื้นที่ทาง ธรรมชาติ อ ย่ า งอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ใหญ่ เ ป็ น อั น ดั บ 3 ของประเทศ ขณะเดียวกันก็มีห้างสรรพสินค้า ขนาดใหญ่ 3 ห้าง เกิดขึ้นภายใน เวลาอันรวดเร็ว และก�าลังเตรียม ต้อนรับรถไฟฟ้าความเร็วสูงในอีก ไม่กป ี่ ขี า้ งหน้า ‘โคราช’ เมืองทีผ ่ ค ู้ น รอการกระจายตัวของวิชาชีพ และ การเข้าถึงโอกาสอย่างเสมอภาค ในยุคที่วัฒนธรรมของผู้คน ทั่วโลกก�าลังเคลื่อนที่ เมืองขนาด เล็กก�าลังปรับตัวและเปลีย ่ นแปลง ฟังดูคล้ายว่าโคราชจะมีครบ ทุ ก อย่ า งของการเป็ น เมื อ งที่ จ ะ เติ บ โตต่ อ ไปในอนาคต โดยมี ค น อี ก กลุ่ ม หนึ่ ง ก� า ลั ง สร้ า งจิ๊ ก ซอว์ รู ป ทรงใหม่ ม าเติ ม พื้ น ที่ โ คราช ในส่วนทีห ่ าย ผ่านพลังสร้างสรรค์ พลังของการเปลีย ่ นแปลง พลังของ เหล่ าคนรุ่ น ใหม่ ใ นโคราชที่พ ร้ อม ท�าความเข้าใจ และออกมาแสวงหา โอกาส ในจั ง หวั ด ที่ เ ขาเลื อ กที่ จ ะ อยู่อาศัยในอนาคต เชื่อว่าเมื่อโอกาสกระจายตัว คนก็ จ ะกระจายตั ว ไปด้ ว ย หาก การเข้าถึงโอกาสของวิชาชีพในทุก จั ง หวั ด มี ม าตรฐานเดี ย วกั น ทั้ ง ประเทศ สภาพแวดล้อมในเมืองใหญ่ คงไม่แออัดนัก และนี่ไม่ใช่เรื่องของ การ ‘ท�าสิง่ ทีม ่ ใี ห้ด’ี เพราะสิง่ ส�าคัญ กว่ า นั้ น คื อ ‘อิ ส ระในการใช้ ชี วิ ต อิสระในการเลือกวิชาชีพ’

ISSUE 585 08 APR 2019


19 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN


20 ISSUE 585 08 APR 2019

BEHIND THE DREAM ก�ำฝันสิบปีไม่ไกล เกินปั้น

หนุม่ สตูลทีม่ ชี อื่ เล่นเหมือนชือ่ จริง อย่าง ‘ธง’ - ธง ยาเลหลา ที่ในวันนี้ การเคลื่ อ นย้ า ยถิ่ น ฐานท� า ให้ เ ขาเป็ น ลูกผสมระหว่างคนใต้กบั คนโคราช เขาเคย ซ้อมเป็นคนอีสานเมื่อตอนอายุ 4 ขวบ ที่จังหวัดเลย ก่อนกลับไปเรียนต่อจนจบ ปวช. ทีส่ ตูล และโชคชะตาได้พาเขากลับ สู่ประตูอีสานอีกครั้ง มาพบกับหญิงสาว คูช่ วี ติ ‘บุม๋ ’ - วรัชยา ยาเลหลา สาวเจ้าถิน่ โคราช เธอเรี ย นออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก่อนเบนเข็มมาเรียนอังกฤษ-ธุรกิจ แล้ว พาตัวเองออกจากบ้านไปเป็นพนักงาน บริษัท ต�าแหน่งเลขาฯ ในเมืองหลวง เพื่อไขค�าตอบว่าความสุขในใจนั้นอยู่ที่ บ้าน แล้วกลับมาสร้าง ‘สตูดิโอนายธง’ กับนายธง “ตอนที่ผมยังอยู่สตูล เจอแม่ของ เพื่อนเป็นคนโคราช แล้วเพื่อนก�าลังจะ ย้ายจากสตูลมาอยู่โคราช เขาก็มาถาม ผมว่าไปอยู่โคราชด้วยกันไหม เราก็คิด แค่ว่าอยากอยู่กับเพื่อน เลยตัดสินใจ มาเรียนที่ราชภัฏนครราชสีมา หลักสูตร ประยุกต์ศลิ ป์ ก็อยูด่ ว้ ยกันกับเพือ่ นนีแ่ หละ แล้วการเรียนทีน่ ที่ า� ให้ผมได้เรียนทุกอย่าง ในศาสตร์ศลิ ปะ รูจ้ กั ครูศลิ ปะหลายแขนง ที่ไม่ใช่แค่สอนศิลปะ แต่สอนการใช้ชีวิต ให้เราด้วย” หลังเรียนจบได้ไม่นาน ธงตัดสินใจ กลั บ สตู ล ไปดู แ ลแม่ ที่ ก� า ลั ง ป่ ว ย จน

ลมหายใจสุดท้ายของแม่สิ้นลง เขากลับ มาโคราชอีกครัง้ ในช่วงปี 2550 และรับท�างาน ศิลปะทุกรูปแบบ พร้อมตั้งเป้าเรียนรู้ เรื่องดินด่านเกวียน ให้เป็นหมุดหมาย ของชีวิต “ส�าหรับผมแล้ว ดินเผาเลีย้ งชีพได้ และดินด่านเกวียนน่าสนใจ ยิ่งในยุค ของ อาจารย์ทวี รัชนีกร ดินด่านเกวียน รุ่งเรืองมาก ตอนนั้นเราอยากมีงานท�า อยากได้เงิน ถ้าเรายังรับจ๊อบเล็กๆ ยังไง ก็คงไม่รอด ผมเลยเริ่มศึกษาศาสตร์ของ ดินมากขึ้น ตั้งแต่การขึ้นดินของชาวบ้าน การเผาไฟ ช่วงนัน้ ฝากร้านเพือ่ นขายบ้าง สั่งสมความรู้ และเริ่มขายงานได้ จน อาจารย์กิตติชัย ตรีรัตน์วิชชา ท่านก�าลัง ท�าโรงปั้นขึ้นใหม่ เขาอยากให้เราไปช่วย ผมเดิ น ทางไปกลั บ อ� า เภอด่ า นเกวี ย น กั บ โรงปั ้ น ประมาณ 30 กิ โ ลเมตร ท�าแบบนี้ทุกวัน” ระหว่างที่บุ๋มค้นพบว่าเมืองหลวง ไม่ใช่ค�าตอบ เธอกลับโคราชมาเรียนรู้ เรื่องการปั้นดินที่ด่านเกวียนพร้อมกับธง แม้เม็ดเงินจะน้อยกว่าที่เคยได้ แต่การมี เวลาท�าอาหารกินเอง ได้แวะมากินข้าว บ้านแม่ รวมถึงความประทับใจทีเ่ มืองหลวง ให้เธอไม่ได้ คือภาพของเปลวแสงสีนา�้ เงิน ระหว่างรอเผางานในช่วงเวลาเร่งไฟให้ดนิ สุก เป็นแสงไฟทีเ่ ธอนัง่ มองเพลิน เสมือน แสงแห่งพิธีกรรมและการเฉลิมฉลอง

ระหว่างทั้งคู่ศึกษาเรื่องการปั้น ดิ น พร้ อ มกั บ การหารายได้ เ ลี้ ย งชี พ ธงเล่าการปั้นฝันแบบอิม่ ท้องให้เราฟังว่า “ตอนที่ผมกับบุ๋มอยู่ด่านเกวียน เราจะวางแผนรายได้ เ งิ น รายอาทิ ต ย์ และเงินเดือน สัปดาห์นี้ต้องส่งงานใคร สิ้นเดือนนี้ต้องส่งงานใคร รายได้ของเรา จะเป็นแบบนี้ พอเราตัดสินใจย้ายออกจาก ด่านเกวียนมาสร้างบ้านและสตูดิโอที่อยู่ ปัจจุบันนี้ เราใช้วิธีหอบงานปั้นจากบ้าน ขับรถไปส่งให้ลูกค้าที่ด่านเกวียน จนเรา เริ่มท�าเตาเผาเอง มีงานออร์เดอร์เข้ามา บ้าง รับงานจากอาจารย์ส่งมาให้บ้าง หลังๆ เริ่มไม่ไหว เลยขอกับอาจารย์ว่า ผมอยากกลับมาท�าดินเผาจริงจัง ผมอยาก อยู่กับดินเผา “ผมเคยขายงานชิน้ ละสองสามร้อย แล้วไม่มีคนซื้อเลย ผมว่างานผมก็ดีนะ ใครเห็นก็บอกว่าดี แต่ไม่มีคนซื้อ เออ งั้นกูขาย 800 เลยแล้วกัน (หัวเราะ) เฮ้ย! แย่งกันซือ้ กลายเป็นว่าของถูกไม่มคี นซือ้ แต่ไม่ใช่วา่ คุณอยากขายแพง คุณจะขาย ได้เลยนะ งานคุณต้องถึงด้วย พอผมตั้ง ราคานี้ คนก็เริม่ สนใจ เป็นใคร มาจากไหน ใช้วัสดุอะไร ผมเองก็ต้องรักษาคุณภาพ ของงานให้มากขึน้ และเริม่ วางแผนระยะยาว ให้สตูดิโอนายธง จากเดิมมองกันเป็นแค่ สัปดาห์ เป็นเดือน ผมเริ่มมองในระยะ หนึง่ ปี ระยะสิบปี มองในระยะที่ไกลขึ้น”

01

สตูดิโอนายธง

ARTS &CRAFTS STORE ตั้งอยู่ที่หมู่บ้ำนทุ่งกระโดน ต�ำบลสีมุม อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครรำชสีมำ

กระถำงนำยธง / NaiThong Pot


21 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

“ผมเคยขายงานชิ้ น ละสองสามร้ อ ยแล้ ว ไม่ มี ค นซื้ อ เลย ผมว่ า งานผมก็ ดี น ะ ใครเห็ น ก็ บ อกว่ า ดี แต่ ไ ม่ มี ค นซื้ อ เออ งั้นกูขาย 800 เลยแล้วกัน (หัวเราะ) เฮ้ย! แย่งกันซื้อ”

เพือ่ ลบล้างค�าปรามาสทีว่ ่า ศิลปิน ไส้ แ ห้ ง ธงและบุ ๋ ม จึ ง ร่ ว มปั ้ น ความสุ ข ให้เกิดเป็นพาณิชยศิลป์ “ผมโชคดีที่เป็น เขยบ้ า นนี้ เพราะมี ผื น ดิ น ในโคราช เราปลู ก อาหารให้ ตั ว เองได้ แบ่ ง ปั น แรงบันดาลใจให้คนอื่นได้ ผมใช้เวลาเป็น สิ บ กว่ า ปี ก� า ฝั น ไว้ บ่ ม เพาะความรู ้ ท� า หน้ า ที่ ใ นแต่ ล ะช่ ว งเวลาของตั ว เอง เมื่อจังหวะพร้อม ลงมือเลย ส�าคัญที่สุด คุ ณ พร้ อ มยอมรั บ ความเจ็ บ ปวดไหม ผมท� า พาณิ ช ยศิ ล ป์ สิ่ ง ที่ ผ มท� า ต้ อ ง เลี้ยงชีพผมได้ด้วย ผมท�างานในสตูดิโอ ตั้งแต่แปดโมงเช้าถึงสี่ทุ่มทุกวัน แต่ผมได้ กินข้าว ผมได้อ่านหนังสือ ผมฟังเพลง ผมเปิดอินเทอร์เน็ต และผมปัน้ ดิน ทุกอย่าง ที่ผมบอกคืองาน งานคือชีวิตของผม” หากจะกล่าวว่าชีวติ คืองาน ฟังดูแล้ว อาจหนักหนาสาหัส แต่งานทุกชิ้นบนโลก ก็ล้วนมีหน้าที่ไม่ต่างกัน


22 ISSUE 585 08 APR 2019

HOME FLICK IS HOBBY เพรำะคิดถึงบ้ำน เลยเอำหนังกลับไปฉำย เราพบกับ ‘โจ้’ - ชลัท ศิรวิ าณิชย์ ช่วงเวลาประมาณห้าโมงของเย็นวันศุกร์ ภาพของชายหนุ ่ ม สวมเสื้ อ ยื ด สี ด� า ด้านหน้าสกรีนค�าว่า Homeffllflick ก�าลัง เลื่อนประตูเหล็กแง้มให้เห็นห้องภายใน ตึกแถวเก่ากลางเมืองโคราช เตรียมจัดวาง โต๊ ะ ขนาดเล็ ก บนริ ม ทางเท้ า ยกป้ า ย ตัวอย่างหนังออกมาตั้ง ด้านข้างมีม้านั่ง ยาวเรียงแถวเป็นระเบียบ เมื่อทุกอย่าง เรี ย บร้ อ ย เขานั่ ง โต๊ ะ ประจ� า ต� า แหน่ ง เพื่อรอขายตั๋วชมภาพยนตร์ หากไม่มีคน เขาแค่เข้าบ้านกลับไปนั่งกินข้าว และรอ เวลาสองทุม่ เพือ่ ออกมาตัง้ โต๊ะใหม่อกี ครัง้ ถ้ า มี ค นเดิ น ผ่ า นแล้ ว ถามว่ า ก� า ลั ง ท� า อะไรอยู่ เขาจะตอบกลับทันทีวา่ “ผมก�าลัง ท�าห้องฉายหนังเล็กๆ” พร้อมกับยิ้มแฉ่ง จากเด็กมัธยมทีใ่ ช้เวลาเสาร์อาทิตย์ เช่าหนังดูคนเดียวในบ้าน เวลาผ่านไป จากการดูคนเดียวของเขาเปลีย่ นรูปแบบ เป็ น ชวนคนโคราชมาร่ ว มดู เ ป็ น เพื่ อ น บ้างฉายหนังในร้านหนังสือ บ้างนึกสนุก ฉายหนังบนดาดฟ้า บางครัง้ ฉายในห้องมืด ใต้ บั น ไดบ้ า นของตั ว เอง หลั ง จากชม ภาพยนตร์ จ บ เขาชวนคนดู อ อกทริ ป ขึน้ รถไฟ เพือ่ พูดคุยถึงหนัง ผ่านฉากชีวติ เคลื่อนไหวในเมืองโคราช “ผมเดิ น ทางไปกลั บ กรุ ง เทพฯโคราช ตั้งแต่เรียนมหาวิทยาลัย ท�างาน ประจ�า จนออกมาเป็นฟรีแลนซ์รับงาน

ตั ด ต่ อ เป็ น ช่ ว งที่ ผ มรู ้ จั ก คนรุ ่ น ใหม่ ในโคราชมากขึ้น ท�าให้เริ่มเห็นโอกาส ของการฉายหนังนอกกระแสที่นี่ ผมจัด ฉายหนังเรือ่ งแรกในปี 2556 เป็นโปรเจ็กต์ เอาชื่อหนังสือ ‘ยูโทเปียช�ำรุด’ มาท�า หนังสัน้ ผมน�าหนังสัน้ จากโปรเจ็กต์ชดุ นัน้ มาฉายในร้านหนังสือเฟือ่ งนคร ซึง่ ตอนนี้ ปิดไปแล้ว หลังจากนั้นผมเช่าโรงหนัง ในโคราช เอาเรื่อง ตั้งวง มาฉาย เพราะ อยากให้คนโคราชได้ดูในโรงแบบที่เรา ได้ดทู ลี่ โิ ด้ การฉายหนังในวันนัน้ ท�าให้เรา เห็นว่า คนโคราชกลุ่ มนี้คือ คนที่อ ยาก ดูหนังจริงๆ” โจ้ควักเงินส่วนตัว จนมาถึงเรื่อง ที่ 5 คือเรื่อง ภวังค์รัก จากนักฉายหนัง ทีใ่ ช้ใจเดินทางเป็นหลัก โจ้เริม่ บริหารเงิน ฉายหนั ง ด้ ว ยการหาสปอนเซอร์ จ าก ห้างร้านและกลุ่มนักธุรกิจในโคราช เพื่อ จัดสรรค่าใช้จ่าย ผลลัพธ์ของวิธีการนี้ ท�าให้โจ้คนื ทุนได้ทงั้ หมด บ้านโฮมฟลิคมี ก�าไรเกิดขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อมีโมเดล ของการบริหารเงิน การเดินทางต่อจากนี้ คือสร้างการรับรู้ และขยายกลุม่ คนดูหนัง ในโคราช “อย่างเรื่อง Mary is Happy, Mary is Happy ผมให้เพื่อนวาดโปสเตอร์หนัง บนแผ่ น ไม้ แล้ ว มี ค นถ่ า ยตอนยั ง วาด ไม่เสร็จส่งไปให้พเี่ ต๋อดู พีเ่ ต๋อเอาไปขยีต้ อ่ เรารับมุกกันไปมาในโซเชียลฯ ครั้งนั้น

กลายเป็ น การเปิ ด ตั ว บ้ า นโฮมฟลิ ค คนรู้จักเรามากขึ้น และอีกหนึ่งโมเดล การฉายที่มีคนสนใจ ตอนนั้นฉายหนัง เรื่ อ ง Hommeless เป็ น หนั ง เกี่ ย วกั บ คนไร้บ้านใช้ชีวิตบนดาดฟ้า เราอยาก หากิมมิกใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับหนัง เลย เป็นที่มาของการฉายหนังบนดาดฟ้า” การวางรากฐานวั ฒ นธรรม ชมภาพยนตร์นอกกระแสที่โจ้ปูทางไว้ ให้คนโคราช เริ่มแข็งแรงขึ้นเรื่อยๆ พร้อม กับการแข่งขันของภาคธุรกิจห้างใหญ่ถึง 3 แห่งในโคราช ที่มีโรงภาพยนตร์เป็น ของตัวเอง โจ้มองว่าความเจริญที่ก�าลัง เข้ามาเปลีย่ นแปลงเมือง ท�าให้การดูหนัง ทางเลือกของคนโคราชจะมีโอกาสเพิ่ม มากขึ้นด้วย “ตอนแรกผมมี เ ป้ า กว้ า งมาก เราดีไซน์ตัวเองว่าเราจะเป็นกลุ่มฉาย หนังนอกกระแส จัดฉายเฉพาะหนังไทย เท่านัน้ เราคิดว่าเดีย๋ วก็คงมีคนมาช่วยฉาย แหละ เราไม่สนด้วยว่าคุณฉายหนังฝรั่ง หรือหนังญี่ปุ่นแล้วจะฮิตกว่า เรารู้สึกแค่ ว่า เฮ้ย! มาช่วยกูหน่อย (หัวเราะ) แต่พอ ผ่านไปสามสี่ปีก็เหมือนเดิม ไม่มีใครท�า เราก็เออ โอเค ฉายแต่หนังไทยอาจจะ ฝืนตัวเอง เพราะส่วนตัวเรายังชอบหนัง ต่างประเทศเลย เมื่อไหร่ที่หนังทางเลือก เริ่มเข้ามาในโคราชมากขึ้น ภาระของเรา ก็นอ้ ยลง เพราะสิง่ ทีเ่ ราตัง้ ใจคือ อยากให้

02

ห้องฉายหนัง บ้านโฮมฟลิค

HOMEFLICK ถนนไชยณรงค์ ตรงข้ำม โรงพยำบำล ป.แพทย์ 1 อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครรำชสีมำ

สำมำรถติดตำมรำยชื่อหนัง ทีเ่ ข้ำฉำย วันเวลำ และรำยละเอียด อื่นๆ เพิ่มเติมได้ทำง homeflick


23 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

เขานัง่ โต๊ะประจ�าต�าแหน่ง เพือ ่ รอขายตัว๋ ชมภาพยนตร์ หากไม่มค ี น เขาแค่เข้าบ้านกลับไปนัง่ กินข้าว และรอเวลาสองทุม ่ เพื่อออกมาตั้งโต๊ะใหม่อีกครั้ง

สิง่ นีม้ นั เกิดขึน้ ในโคราช แต่ถา้ หนังเรือ่ งไหน ที่เรารู้สึกว่าต้องฉายแล้วไม่เข้าโรงใน โคราช เราเอามาฉายของเราก็ได้” “ส�าหรับผม ‘บ้านโฮมฟลิค’ คือ ฮอบบี้ ผมเอาเวลาว่างจากงานมาท�า โคราชอยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ และเป็น จั ง หวั ด ที่ เ อื้ อ ให้ ผ มใช้ ชี วิ ต แบบนี้ ไ ด้ ช่วงไหนไม่มีงาน ก็แค่กลับบ้านมาฉาย หนัง เราอยากให้คนโคราชเข้าถึงการดู หนัง อยากให้การดูหนัง มันเป็นมากกว่า การดูเพื่อความบันเทิง” การน�าเสนอภาพยนตร์ทางเลือก เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่โจ้น�ามาจุนเจือสิ่งที่ ขาดในโคราช เพราะถ้าจะให้เขากลับบ้าน เพือ่ มาเปิดร้านอะไรสักร้าน หรือท�าสิง่ อืน่ ที่ไม่สอดคล้องกับชีวิต นั่นเป็นสิ่งที่เขา ไม่ถนัด แต่ในเมื่อธรรมชาติของมนุษย์ คือการดิ้นรน และในความดิ้นนั้น ยังคง มีความหวังที่จะกลับบ้าน


24 ISSUE 585 08 APR 2019

THIRD WORLD MUSIC ดนตรีในจักรวำล โครำช นั ก ออกแบบกราฟิ ก ในโคราช ‘ฟลุ้ค’ - วิศิษฎร์สร รัชตะปีติ ผู้น�า โบนัสประจ�าปีมาแลกฝันที่ไม่เพ้อฝัน กับ เทศกาลดนตรี Grass Tone Sound Music Festival (GTS) ที่จัดมาแล้วถึง 4 ครั้ง เขาแบ่ ง ชี วิ ต ช่ ว งหนึ่ ง เรี ย นรู ้ ก ารเป็ น ผู้บริหารค่ายเพลงอิสระ 3rd World Music พร้อมกับบทบาทของนักจัดปาร์ตี้ดนตรี ในโคราช ฟลุค้ โตมากับการเสพดนตรีทางเลือก ตัง้ แต่สมัยเป็นนักศึกษา จนเข้าสู่ยคุ การฟังเพลงผ่าน Myspace หลังเรียนจบและ เริม่ ท�างานประจ�าได้ไม่นาน บวกกับการอยากเห็นความแปลกใหม่ของกลุ่มคน ฟังเพลงในโคราช เขาเริม่ ตัง้ กลุม่ จัดปาร์ตี้ L.I.M.P. (Life is Music Party) เพือ่ แบ่งปัน รสนิยมทางดนตรี ถัดมา 4 ปี ใช้ชื่อกลุ่ม Indigo และต่อมาในนามค่ายเพลง 3rd World Music เพือ่ น�าเสนอดนตรีทสี่ อื่ วิทยุ และโทรทัศน์ให้คนโคราชไม่ได้ “ปกติ นั ก ดนตรี ใ นโคราชที่ เ ล่ น กลางคื น เขาต้ อ งเล่ น เพลงที่ เ ขี ย นใส่ กระดาษทิชชูมาให้ เจ้าของร้านเองก็อยาก ให้นกั ดนตรีเล่นเพลงฮิต เพือ่ ให้ลกู ค้าสนุก ผมคิดว่าจะมีไหมสักวันที่คุณเป็นตัวของ ตั ว เอง เล่ น เพลงที่ คุ ณ สร้ า งสรรค์ ม า ผมเคยชวนวงอินดีว้ งหนึง่ มาเล่นทีโ่ คราช ในร้านเหล้าเล็กๆ เป็นช่วงที่วงนี้ออก อั ล บั้ ม แรก ผมบอกว่ า ถ้ า เป็ น ไปได้

ไม่ต้องคัฟเวอร์นะครับ เราอยากให้เขา เล่นเพลงของตัวเอง น�าเสนอสิง่ ทีเ่ ขาเป็น เขาตอบผมกลับมาว่า พวกเราดีใจมากครับ ที่ไม่ต้องคัฟเวอร์ วันนั้นร้านแทบแตก คนเต็มร้าน สนุกมาก ทุกคนร้องเพลง เขาได้ ภาพวันนั้นท�าให้เรารู้สึกว่าควร จะต้องท�าอะไรแบบนี้อีกที่โคราช” การจั ด ปาร์ ตี้ เ ดื อ นละครั้ ง ของ ฟลุ้คเดินทางมาเกือบสิบปี เขาเห็นว่าถึง เวลาแล้วที่ควรน�านักดนตรี ดีเจ และคน ฟังเพลง ในโคราช ออกจากสถานบันเทิง ไปสู่บรรยากาศที่เป็นธรรมชาติ Grass Tone Sound Music 2007 จึงเกิดขึ้นเป็น ครั้ ง แรกบนสนามหญ้ า ข้ า งตึ ก ร้ า งที่ สามแยกปักธงชัย หลังเทศกาลดนตรี จบลง หลายคนในกลุ่มแยกย้ายกันไป ท�างานประจ�า และกลับมารวมตัวครั้งที่ สองในปี 2556 ต่อเนื่องจนถึงปี 2558 เป็น GTS ครัง้ ที่ 4 นับว่าเป็นครัง้ ใหญ่ทสี่ ดุ ตั้งแต่เคยจัดมา เพราะนอกจากวงดนตรี ในโคราชและภาคอีสาน ก็จะมีวงดนตรี จากกรุงเทพฯ เชียงใหม่ และต่างประเทศ มาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของงาน “นักดนตรีบางคนเป็นเด็กเสิร์ฟ มาทั้ ง ปี เป็ น พนั ก งานบริ ษั ท บางคน รับราชการ ไม่เคยมีใครรู้เลยว่าเขาเล่น ดนตรีได้ แต่เราสร้างค�่าคืนหนึง่ ให้เป็นคืน ของเขา เขามีเวลา 30-40 นาที เพื่อแสดง ตัวตน ศิลปินเอาแผ่นมาขาย เราให้พื้นที่

นั ก ดนตรี เ ปิ ด หมวกที่ ท�า งานเพลงของ ตัวเองเข้างานฟรี แต่คุณต้องเล่นดนตรี ของตัวเอง มันเป็นบรรยากาศทีส่ นุกมาก” นอกจากบทบาทผู ้ ส ร้ า งสรรค์ งานเทศกาลดนตรีในโคราช ฟลุ้ครวม กลุ่มเพื่อนท�าค่ายเพลง 3rd World Music ค่ายเพลงของโลกที่สาม โลกที่เขานิยาม ว่าเป็นโลกทีไ่ ม่รอู้ ะไรเลย แต่สงิ่ ทีพ่ วกเขา รู้คือ เป็นกลุ่มคนโคราชที่รักดนตรี และ โลกทีส่ ามของเขามี สงกรานต์ The Voice ที่คนโคราชรู้จักในนาม สงกรานต์ The Bantam เคยเป็นหนึ่งศิลปินในค่ายที่อยู่ ตัง้ แต่ GTS ครัง้ แรก แต่ดว้ ยความไม่พร้อม ของบุคลากร ท�าให้ค่ายเพลงอิสระแห่งนี้ เดินทางเพียง 3 ปีและต้องพักฝันไว้ “เราเริ่มจากศูนย์เลย โปรดิวเซอร์ ของเรา เอส ชัยณรงค์ หรือทีร่ จู้ กั กันในชือ่ เอส The Voice เป็นโปรดิวเซอร์คนเดียว ในค่ า ย เขานั่ ง ท� า เพลงตอนกลางคื น นอนตอนเช้า ถึงเวลาก็ออกไปเล่นดนตรี กลางคืน แล้วกลับมาท�าเพลงให้น้องๆ ในค่ายต่อ คนเราก็ต้องกินข้าวนะ ต้องมี อาชีพมัน่ คง มีวนั หนึง่ ศิลปินในค่ายพากัน ไปสอบบรรจุครูกันหมดเลยทั้งวง แต่นั่น ก็เป็นวิถชี วี ติ ของเขา พ่อแม่หวังกับคุณไว้ คุณไปสร้างชีวติ กันก่อน ถึงเวลาค่อยกลับ มาเจอกัน ทุกคนมีเส้นทางเดินของตัวเอง” ในขณะที่ ฟ ลุ ้ ค ก� า มื อ ข้ า งหนึ่ ง กุมความฝันที่ไม่เพ้อฝัน มืออีกข้างเขา

03

เทศกาลดนตรีอินดี้ GRASS TONE SOUND MUSIC F E S T I VA L จัดและท�ำโดยคนโครำช

สำมำรถอัพเดตสถำนที่และ รำยละเอียดต่ำงๆ ได้ทำง GTSmusicfestival


25 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

ฟลุ้ครวมกลุ่มเพื่อนท�าค่ายเพลง 3rd World Music ค่ายเพลงของโลกที่สาม โลกที่เขานิยามว่าเป็นโลกที่ไม่รู้อะไร เลย แต่สิ่งที่พวกเขารู้คือ เป็นกลุ่มคนโคราชที่รักดนตรี

ก็พร้อมโอบไหล่งานประจ�าเพื่อหล่อเลี้ยง ชีวิต “ศิลปินไม่ได้กินน�้าค้างเป็นอาหาร นะ (หัวเราะ) คุณไม่ต้องเอาชีวิตไปแลก แค่ บ ริ ห ารชี วิ ต ให้ ดี เศรษฐกิ จ เมื อ งไทย ขึ้นลงตลอดเวลา แล้วเราไม่ได้มีสวัสดิการ ที่ พ ร้ อ มจะให้ คุ ณ เอาชี วิ ต ออกไปลุ ย ได้ ถ้าคุณออกไปเล่นดนตรี แล้วคุณป่วย คุณ จะหาเงินจากไหนมารักษา ทุกอย่างต้อง ใช้เงิน กลุม่ เพือ่ นๆ ทีม่ สี ว่ นร่วมกับการจัดงาน ทุกคนเป็นพนักงานบริษัท เป็นข้าราชการ เราไม่มีเงินทุน เราเอาเงินเก็บทั้งปีของเรา มาท�าอะไรสนุกร่วมกัน ผมเอาโบนัสจาก งานประจ�าของผมมาจัดงาน การที่คุณมี เงิ น เดื อ น คื อ โอกาสให้ คุ ณ ท� า ความฝั น ต่อได้ คนอืน่ อาจเอาโบนัสไปเทีย่ วต่างประเทศ แต่ผมเอาโบนัสมาซื้อฝันในจังหวัดของผม นัน่ คือการจัดงาน Grass Tone Sound Music Festival เรื่องขาดทุนเป็นแค่เรื่องของเงิน ผมหาเงินใหม่ได้” มี ค นเคยพู ด ว่ า โคราชเป็ น เมื อ ง ปราบเซียน เพราะแบบนี้เองโคราชจึงเป็น เมืองท้าทาย และน่าหลงใหลไปพร้อมกัน


26 ISSUE 585 08 APR 2019

BULLETIN BOARD

TA L K O F T H E T O W N นิทรรศการศิลปะ ‘The Unknown World’

การท่องเทีย่ วสิงคโปร์ (Singapore Tourism Board - STB) จัดงานนิทรรศการศิลปะ The Unknown World ภายใต้แคมเปญ ‘Passion Made Possible: ทุกความชอบ ทีใ่ ช่ เป็นไปได้ทสี่ งิ คโปร์’ โดยน�าเสนอผ่านนิทรรศการชุด Atypical Singapore งานแสดงศิลปะและเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) ทีจ่ ะพาคุณไปค้นพบเรือ่ งราว วิถชี วี ติ และวัฒนธรรมทีค่ ณ ุ อาจไม่เคยสัมผัสของสิงคโปร์ มหานครทีก่ ล้าเปิดโอกาสให้กบั ทุกความเป็นไปได้ ผ่าน ผลงานของ 7 ศิลปินรุ่นใหม่ที่ก�าลังเป็นที่จับตามอง ผ่านงานประติมากรรม งานแอนิเมชัน งานศิลปะแสดงสด และภาพเคลือ่ นไหว ได้แก่ Amanda Tan (What Tribe isThi$?) anGie seah (To Steal the Night from the Day) Daniel Yu (Lunar Beast and Lunar Cleric) Eugene Soh (Sunday Afternoon on the Island of Singapore) Gerald Leow (Alang Alang (A Framed One) MuhammadIzdi (Tales Don’t Tell Themselves) Speak Cryptic (Farizwan Fajari)(S*GATTE) คัดเลือกโดย Khairuddin Hori ผูอ้ า� นวยการภัณฑารักษ์ จาก Chan+Hori Contemporary ซึง่ ผลงานเหล่านีจ้ ะท�าให้ งานศิลปะดูนา่ ตืน่ เต้นและแตกต่างไปจากเดิม

รวมพลั ง คน พช. ร่ ว มลด และคั ด แยกขยะมู ล ฝอย ในหน่วยงาน

โนเบิ ล ฯ สนั บ สนุ น น�้ า ดื่ ม เพือ ่ บริการประชาชนในเขต พญาไท

กิ จ ก ร ร ม พิ เ ศ ษ 1 0 6 ปี ธนาคารออมสิน

นิสิต จันทร์สมวงศ์ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เป็นประธานเปิดกิจกรรม ‘รวมพลัง คน พช. ร่วมลดและคัดแยกขยะ มู ล ฝอยในหน่ ว ยงาน’ พร้ อ มน� า ขบวน เดิ น รณรงค์ ล ดและคั ด แยกขยะมู ล ฝอย ในหน่วยงานกรมการพัฒนาชุมชน รวมถึง เชิญร่วมบริจาคถุงผ้าเพื่อส่งต่อให้ผู้ป่วย ใส่ยากลับบ้าน โดยจะน�าไปบริจาคให้แก่ โรงพยาบาลในเขตพื้นที่กรุงเทพฯ โดยมี นางณัสรี จันทร์สมวงศ์ ประธานชมรมแม่บา้ น พัฒนาชุมชน รองอธิบดีกรมการพัฒนา ชุมชน ผูต้ รวจราชการกรมฯ คณะผูบ้ ริหาร และเจ้าหน้าทีใ่ นสังกัด ร่วมกิจกรรมในครัง้ นี้ ด้วย ณ บริเวณโถงกลาง หน้าห้องสมุด สถาบันพัฒนาชุมชน ชัน้ 5 กรมการพัฒนา ชุมชน

บริษทั โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ จ�ากัด (มหาชน) น�าโดย นพฤทธิ์ ทรัพย์ทพิ ยรัตนา ผู้อ�านวยการกลุ่มฝ่ายการตลาด - ประชาสัมพันธ์และเทคโนโลยี พร้อมทีมบริหาร เป็ น ตั ว แทนบริ ษั ท ฯ มอบน�้ า ดื่ ม จ� า นวน 3,200 ขวด แก่ สุ ชั ย สกุ ล รุ ่ ง เรื อ งชั ย ผูอ้ า� นวยการเขตพญาไท เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ในการสนับสนุนเขตพญาไทส�าหรับการบริการ ประชาชนในพืน้ ทีก่ ารเลือกตัง้ สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรที่จัดขึ้นในวันที่ 17 มีนาคม และวั น ที่ 24 มี น าคม ณ ส� า นั ก งานเขต พญาไท

เนือ่ งในวาระ 106 ปี ธนาคารออมสิน ซึง่ ตรงกับวันที่ 1 เมษายนทีผ่ า่ นมา ธนาคาร ออมสินได้จัดกิจกรรมพิเศษด้วยการมอบ กระปุก ‘เครื่องแขวนไทย’ เป็ น ที่ระลึก 1 กระปุก ต่อ 1 ท่าน เพื่อเป็นการส่งเสริม การออมทรัพย์ให้แก่ผเู้ ปิดบัญชีเงินฝากใหม่ หรือฝากเพิ่มบัญชีเงินฝากประเภทใดก็ได้ ไม่ต�่ากว่าบัญชีละ 500 บาท และพิเศษ ส�าหรับเด็กแรกเกิดทีเ่ กิดในวันที่ 1 เมษายน 2562 แล้วตั้งชื่อว่า ‘ออมสิน’ ธนาคารฯ มอบทุนประเดิม 5,000 บาท เพียงน�าสูตบิ ตั ร ของเด็กพร้อมด้วยทะเบียนบ้านทีม่ ชี อื่ บิดามารดา มาแสดงที่สาขาธนาคารออมสิน ใกล้บ้านภายในเดือนธันวาคม 2562

SCG Chemicals Digest 2 0 1 9 เ ชื่ อ มั่ น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ห มุ น เวี ย นตอบโจทย์ ก ารพัฒนาอย่างยั่งยืน ธุ ร กิ จ เคมิ ค อลส์ เอสซี จี จั ด งาน สัมมนาลูกค้า SCG Chemicals Digest 2019 ภายใต้หวั ข้อ ‘Circular Economy: The Better Way’ ดึงภาครัฐ และองค์ กรธุร กิจ ชั้น น�า ระดั บ โลกร่ ว มแลกเปลี่ ย นมุ ม มองเพื่ อ จุดประกายให้ผปู้ ระกอบการพลาสติกกว่า 400 คน ได้ตระหนักและสามารถน�าแนวคิด เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ไปปรับใช้ในธุรกิจ เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการใช้ ทรั พ ยากรอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด งานสัมมนา ‘SCG Chemicals Digest’ เป็น งานสัมมนาวิชาการที่จัดขึ้นเป็นประจ� า ทุกปี เพื่อเปิดมุมมองใหม่ๆ ให้กับลูกค้า ของธุรกิจเคมิคอลส์ เอสซีจี ในด้านการตลาด เศรษฐกิจ รวมถึงสถานการณ์ปิโตรเคมี ซึ่งจะช่วยส่งเสริมศักยภาพในการบริหาร จัดการธุรกิจของลูกค้าให้สามารถแข่งขัน และเติบโตอย่างยั่งยืน


27 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

อั พ เ ด ต แ ว ด ว ง ข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจ ในรอบสัปดาห์

2019 the Return of BBB #11 ตอน Dream Journey Restage

สมฐานะ ‘โชว์แห่งปี’ ทีร่ สี เตจมาสร้าง ความสุข ความสนุก ความทรงจ�าให้แฟนๆ ได้ประทับใจสุดๆ อีกครั้งส�าหรับ 2019 the Return of BBB #11 ตอน Dream Journey Restage ของซูเปอร์สตาร์หนึ่งเดียว ของเมืองไทย ‘เบิร์ด’ - ธงไชย แมคอินไตย์ จากค่าย จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ทีก่ ลับมาจัดความฟินเต็มอิม่ ให้แฟน แบบเบิรด์ เบิรด์ ทุกคนด้วยภารกิจใหม่กบั โชว์ทจี่ ดั เต็ม มากกว่าเดิม ท�าเอาแฟนแบบเบิร์ดเบิร์ดทั้งอิมแพ็ก อารีนา เมืองทองธานี ชุม่ ฉ�า่ ไปด้วยความสุข ท่ามกลาง เสียงหัวเราะ รอยยิม้ และน�้าตาในแบบเบิรด์ เบิรด์ โชว์ ในครัง้ นี้ และถือเป็นโชว์แห่งปีอกี ครัง้ ในปี 2019 ทีเ่ บิรด์ น�าเอาความสุข ความทรงจ�าครั้งใหม่มาสาดความประทับใจให้ชมุ่ ฉ�า่ หัวใจแฟนแบบเบิรด์ เบิรด์ ได้กลับบ้าน ไปนอนหลับฝันดี

เมืองไทยประกันชีวต ิ จัดงาน ‘MTL Convention 2018’ ฉ ล อ ง เ กี ย ร ติ ย ศ นั ก ข า ย สุดยิ่งใหญ่ ดร. สุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการ คณะกรรมการก�ากับและส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัย (คปภ.) และ โพธิพงษ์ ล�า่ ซ�า ประธานกรรมการ บริษทั เมืองไทยประกันชีวติ จ�ากัด (มหาชน) ให้เกียรติรว่ มเป็นประธาน ในพิธมี อบรางวัลเกียรติยศฝ่ายขายประจ�าปี 2561 ภายใต้ชอื่ ‘Muang Thai Life Convention 2018’ เพือ่ แสดงถึงประสิทธิภาพนักขาย ของบริษัท ฯ ที่ทุ่ ม เทความสามารถและ ให้การบริการที่ดีแก่ผู้เอาประกัน ภายใต้ กฎระเบียบและจรรยาบรรณตัวแทนทีก่ า� หนด โดยมี สาระ ล�่าซ�า กรรมการผู้จัดการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ให้การต้อนรับ ณ อิมแพ็กอารีนา ฮอลล์ เมืองทองธานี

Blackmores RUN& MOVE 2019 วิง่ นีเ้ พือ ่ สังคม

LACOSTE เอาใจสนีกเกอร์เฮด เปิดตัวรองเท้ารุน ่ Wildcard

SIRI HOUSE ไลฟ์ ส ไตล์ โปรเจ็ ก ต์ สุ ด คู ล โฉมใหม่ ใจกลางกรุง

ผุสดี สุจิตจร ผู้จัดการทั่วไป และ วนิดา กิตติปรีชาศักดิ์ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การผลิตภัณฑ์ บริษัท แบลคมอร์ส (ประเทศไทย) จ�ากัด จัดกิจกรรม Blackmores RUN&MOVE 2019 ‘Let’s Run&Move Let’s Wellbeing’ กิจกรรม เพื่อสุขภาพต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 เพื่อรณรงค์ ให้ผู้รักสุขภาพทุกวัยตั้งแต่เด็กเล็กจนถึง ผู้สูงวัยได้ร่วมวิ่งและร่วมกิจกรรมสุขภาพ แ บบวิถีธรรมชาติ พร้อมมอบเงินจ�านวน 400,000 บาท ให้กบั มูลนิธชิ ยั พัฒนา มูลนิธิ เด็กโรคหัวใจ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ และมูลนิธิช่วยคนตาบอด แห่ ง ประเทศไทย โดยมี ณั ฐ ศั ก ดาทร นักร้องนักแสดงชื่อดัง ให้เกียรติร่วมงาน ณ ศูนย์กีฬาทางน�้าบึงหนองบอน

บริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ากัด (มหาชน) ผู้แทนจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ LACOSTE ประเทศไทย จัดงานเปิดตัวรองเท้า สนีกเกอร์ คอลเล็กชัน 2019 รุ่น Wildcard ที่ได้รับแรงจากบันดาลใจจากสนีกเกอร์ สุดคลาสสิกในอดีต สูด่ ไี ซน์ใหม่สดุ ชิคส�าหรับ สายสตรีท ภายในงานได้จา� ลองบรรยากาศ เป็นสนามเทนนิสใจกลางมหานครกรุงเทพฯ พบกับแร็ปเปอร์ชื่อดัง TWOPEE มาพูดคุย บนเวที กั น แบบเอ็ ก ซ์ ค ลู ซี ฟ และศิ ล ปิ น สตรีทอาร์ตแนวหน้าของเมืองไทย BENZILLA เจ้าของคาแรกเตอร์ 3Balls มาครีเอตลุกส์ สตรีทอาร์ตผ่านสนีกเกอร์ รุ่น Wildcard โดยเฉพาะงานนีม้ ดี าราเซเลบริตมี้ าร่วมงาน มากมาย ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์

SIRI HOUSE จัดงานเปิดบ้านต้อนรับ ทุกคนสู่โปรเจ็กต์แฟล็กชิปแห่งใหม่ล่าสุด จากแสนสิริ ณ ย่านในฝันอย่างชิดลม ทีค่ ดั สรร และรวบรวมไลฟ์สไตล์ชนั้ น�าอย่างพิถพี ถิ นั มาไว้ในที่เดียว ไม่ว่าจะเป็นอาหารเลิศรส ร้ า นค้ า สุ ด เก๋ พื้ น ที่ จั ด แสดงงานศิ ล ปะ ตลอดจนเป็ น พื้ น ที่ แ ห่ ง การแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ เพื่ อ ให้ ช าวไทยได้ ค ้ น หา แรงบั น ดาลใจใหม่ ๆ และเชื่ อ มต่ อ กั น ในบรรยากาศทีถ่ กู ออกแบบอย่างสวยงาม และอบอุน่ เสมือนอยูบ่ า้ นกลางเมือง แต่ให้ ความเงียบสงบทีโ่ อบล้อมไปด้วยธรรมชาติ ให้คณ ุ ได้หลีกหนีความวุน่ วายจากในเมือง และเติมพลังบวกให้กบั ชีวติ ได้อย่างเต็มอิม่ จุดประกายความสร้างสรรค์ เติมเต็มครบ ทุกไลฟ์สไตล์ในแบบฉบับแสนสิรใิ นทีเ่ ดียว ณ SIRI HOUSE ซอยสมคิด


28 เรื่อง

S PA C E & T I M E

ทรรศน หาญเรืองเกียรติ บรรณาธิการบทความ IG: @matt_doraemon

ภาพ

กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร หัวหน้าช่างภาพ kritdhakorn@gmail.com

ISSUE 585 08 APR 2019

“เราเองยังรูส ้ ก ึ ว่า ทีน ่ อ ี่ ยูส ่ บาย ผมเชือ ่ ว่าคนทีเ่ ข้ามาทีน ่ เี่ อง ก็คงรูส ้ ก ึ ผ่อนคลาย ด้วยเหมือนกัน เพราะคนทีจ ่ ะมาท�า ศัลยกรรมเขาก็มี ความกังวลในใจ อยูแ ่ ล้ว ผมก็อยาก ให้สถานทีน ่ เี้ ป็น ตัวช่วยให้พวกเขา รูส ้ ก ึ คลายความกังวล ได้อก ี ทางหนึง่ ” นายแพทย์นพรัตน์ รัตนวราห

THE CLINIC WHERE EVERYONE BELONGS คลินิกอ�านวยความสุข ให้ทั้งคนอยู่และผู้มาเยือน

NOPPARAT COSMETIC CLINIC (NCC) ถนนพระราม 9 ซอย 57 ห่างจาก The Nine ประมาณ 600 เมตร www.nopparatclinic.com www.facebook.com/ NopparatClinic

ชีวต ิ ในวันนีก ้ ว่าจะได้กลับไปอยูก ่ บ ั ความสุขทีบ ่ า้ นได้นน ั้ ต้องฝ่าฟันกับปัญหาการจราจรแบบนับไม่ถว ้ น จนไม่วา่ จะกลับช้าหรือกลับเร็วก็ตด ิ ขัดต่อเนือ ่ ง จนเกือบเที่ยงคืน เจอทั้งความเครียด ฝุ่น ควัน มลพิษต่างๆ บนท้องถนนก็ยิ่งท�าให้หน้าตาของเราโรยราเกินหน้าอายุจริงไปเป็นสิบปี เรื่องนี้จึงเป็น เหตุผลหลักทีท ่ า� ให้ ‘หมอสอง’ - นายแพทย์นพรัตน์ รัตนวราห ศัลยแพทย์คว ิ ทองคนนี้ ตัดสินใจหลอมรวมบ้านของตัวเองเข้ากับคลินก ิ ศัลยกรรม ตกแต่งนพรัตน์ หรือ Nopparat Cosmetic Clinic (NCC) เสียเลย ซึ่งเขาบอกว่า อยู่มาสามปีแล้วกลับเจอแต่ข้อดีไม่พบข้อเสีย

ทันทีที่คนไข้รายสุดท้ายกลับไปตอนช่วงเย็น บรรยากาศของคลินิกตอนนี้จึงไม่รู้สึกถึง ความเป็นโรงพยาบาล แต่เหมือนกับว่าเราก�าลังอยู่ในบ้านหลังใหญ่ที่มีโซฟารับแขกให้เลือกนั่ง เลือกเอนตัวได้ตามอัธยาศัย จนหมอสองเดินออกมาจากห้องท�างานแล้วก็อดยิ้มให้เราไม่ได้ “อย่างทีเ่ ห็นเลยว่าตอนนีไ้ ม่มคี นไข้มาเดินขวักไขว่แล้ว แล้วทีน่ กี่ ใ็ ห้ความรู้สกึ ของบ้านทันที และไม่ต้องกังวลเรื่องความเป็นส่วนตัว เพราะผมวางแปลนเอาไว้อย่างเป็นสัดเป็นส่วน ผมผ่าตัด เสร็จเดี๋ยวก็ขึ้นไปกินข้าว วันนี้เลิกเร็ว ก็เลยจะลงไปตีแบดมินตันออกก�าลังกายสักหน่อย เพราะ สนามแบดฯ อยู่ข้างบ้านตรงนี้เอง ถ้าสนใจมาตีด้วยกันสักเกมก็ได้นะครับ” เราตอบรับค�าเชิญชวนของศัลยแพทย์คนนี้ทันที และก็บอกเขาไปตามตรงว่าชีวิตทุกวันนี้ หาเวลาทีจ่ ะไปตีแบดฯ ได้ยากเหลือเกิน เพราะกว่าจะเลิกงาน กว่าจะเดินทางไปถึงสนามแบดมินตัน

ตีเสร็จก็ต้องฝ่ารถติดกลับบ้านแบบเหนื่อยๆ พอไปถึงบ้านก็ดึก หมดแรง แทบไม่เหลือเวลาที่จะได้ อยู่กับตัวเองเลย ซึ่งคุณหมอเองก็พยักหน้าอย่างเข้าใจ “พอผมมีทุกอย่างอยู่ที่นี่ครบสมบูรณ์ ผมก็ไม่ต้องเสียเวลาไปเปล่าๆ เหมือนเมื่อก่อน ตอนนัน้ ผมต้องเอาเวลาไปทิง้ บนถนนในแต่ละวันทัง้ ตอนเช้าและตอนเย็น รวมๆ กันแล้วชีวติ ของเรา หายไป 2-3 ชั่วโมงต่อวันเลย การได้อยู่ที่นี่มีแต่ความผ่อนคลาย ผมสามารถออกจากบ้านเวลาที่ อยากออกเท่านั้น ไม่ได้ออกไปเพราะจ�าเป็นต้องออก อยากจะไปไหนก็ไปได้ ไม่ใช่ว่ามีบ้านแล้ว จะออกไปไหนไม่ได้ เย็นๆ อยากขับรถเล่นชมเมืองหรือไปห้างสรรพสินค้าก็ไปได้ เรื่องข้อจ�ากัด ในการเดินทางส�าหรับผมไม่มอี กี แล้ว ยิง่ ช่วงนีก้ ารก่อสร้างรถไฟฟ้าเกิดขึน้ ทัว่ ทุกพืน้ ทีข่ องกรุงเทพฯ ก็ยิ่งท�าให้การจราจรติดขัด กลายเป็นความหงุดหงิดจนเสียสุขภาพจิต”



30 เรื่อง

A THOUSAND WORDS

ทรรศน หาญเรืองเกียรติ บรรณาธิการบทความ IG : Matt_Doraemon

ISSUE 585 08 APR 2019

LITTLE WILD

​นอกจากพระปรีชาสามารถรอบด้าน​ทั้งการกีฬาและการออกแบบแล้ว​พระเจ้าหลานเธอ​พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์​ ยังทรงแสดงพระอัจฉริยภาพด้านการถ่ายภาพในผลงานชุด​Little Wild ที่สะท้อนความงามของสัตว์ป่าและธรรมชาติ ของประเทศเคนยา​ทวีปแอฟริกา​เราจึงขอชวนคุณมาร่วมชื่นชมภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ผ่านมุมมองของพระองค์หญิงฯ​ไปด้วยกัน

ABOUT LITTLE WILD

​บริษท ั ​เอ-ลิส​ไพรเวต​จ�ากัด​ผูน ้ า� เข้าและจัดจ�าหน่าย​Leica​Camera​Thailand​(ไลก้า​คาเมร่า​ไทยแลนด์)​แบรนด์กล้องลักชัวรีระดับโลก​ จัดงาน​‘Little Wild’ จัดแสดงเป็นภาพสีและภาพขาวด�า​ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ของพระเจ้าหลานเธอ​พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์​ จ� า นวน​34​ภาพ​ภายในงานยั ง ได้ จั ด จ� า หน่ า ยหนั ง สื อ รวมภาพถ่ า ยจากนิ ท รรศการ ‘Little Wild’ พิ ม พ์ ​4​สี ​จ� า หน่ า ยราคา​999​บาท​ โดยรายได้หลังหักค่าใช้จ่ายน�าทูลเกล้าถวายเพื่อทรงใช้สอยตามพระอัธยาศัย​

​เข้าชมได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ​​ตั้งแต่วันนี้ถึงวันอาทิตย์ที่​28​เมษายน​2562​​เวลา​10.00-20.00​น. ณ​Leica​Gallery​Bangkok​ชั้น​2​ศูนย์การค้าเกษร​วิลเลจ​สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม​โทร.​0-2656-1102



32 เรื่อง

B R E AT H E I N

สีตลา ชาญวิเศษ นักเขียน คนท�างานด้านวางแผนคอนเทนต์ นักบรรยายด้าน การตลาดสร้างสรรค์และการเล่าเรื่อง seetala.ch@gmail.com

issue 585 08 APR 2019

ครั้งหนึ่งตอนเราไปเที่ยวรัสเซีย และมีโอกาสเห็นมงกุฎของกษัตริย์รัสเซียตั้งโชว์ในพิพิธภัณฑ์ ตอนนั้นเราคิดถึงเรื่องหนึ่งที่ไม่เคยคิดมาก่อน คื อ อ� า นาจเป็ น เรื่ อ งหอมหวาน แต่ อี ก ด้ า นมั น ก็ พ่ ว งกั บ ภาระอั น หนั ก อึ้ ง เหมื อ นกั บ มงกุ ฎ ที่ มี น�้ า หนั ก เฉลี่ ย ถึ ง 4 กิ โ ลกรั ม พู ด อี ก อย่ า งคื อ มงกุฎเป็นสัญลักษณ์แห่งอ�านาจ แต่อีกด้านมันก็หนักหัวสุดๆ เหมือนกัน ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ผูป้ กครองล้วนแต่มภี าระใจเรือ่ งหนึง่ ร่วมกัน คือการหาเหตุผลหรือความชอบธรรมว่าท�าไมคนอื่นๆ ถึงต้องยอมรับอ�านาจของพวกเขา อย่างในสมัยเริม่ ต้นสังคมมนุษย์ ที่ยังไม่ซับซ้อนนัก เดิมทีมนุษย์เราเป็นนักล่าและหาของป่า คนที่ ล่าสัตว์เก่งๆ จะได้ขนึ้ มาเป็นหัวหน้ากลุม่ ต่อมาเมือ่ มนุษย์หยุดเร่รอ่ น และหาแหล่งทีอ่ ยูเ่ ป็นหลักแหล่ง เริม่ ท�าเกษตรกรรมเพือ่ เก็บอาหาร ได้มากขึ้น ก็มีการแบ่งหน้าที่งานกัน คนที่มีบทบาทในการจัดแจง กลุ่ม หรือมีอาหารมากกว่า หรือมีความสามารถในการพุ่งรบเพื่อ ปกป้องกลุ่ม ก็จะได้ขึ้นมาเป็นหัวหน้าหรือผู้ปกครอง พูดอีกอย่างคือ แต่ไหนแต่ไร ผูป้ กครองไม่ได้ขนึ้ มามีอ�านาจ ได้เฉยๆ แต่พวกเขาขึน้ มาด้วยเหตุผลบางอย่างทีค่ นอืน่ ต้องยอมรับ เช่น ความสามารถ ทรัพย์สิน แต่ถึงอย่างนั้น เมื่อวันหนึ่งที่สังคม มีความสลับซับซ้อนมากขึน้ ความสามารถหรือการมีเสบียงอาหาร หรือแรงงานที่มากกว่าก็ไม่ใช่เหตุผลเพียงพอที่จะท�าให้ผู้ปกครอง ได้รับการยอมรับเพียงอย่างเดียว ดังนั้น จะเห็นได้ว่าในยุคถัดมา พิธีกรรมความเชื่อที่ผูก ระหว่างเทพเจ้ากับผู้ปกครองจึงมีปรากฏให้เห็นในประวัติศาสตร์ ของอารยธรรมทั่วโลก ว่าง่ายๆ คือ ผู้ปกครองใช้เทพเจ้าหรือ ความเชื่อของคนหมู่มากเป็นเหตุผลเพื่อสร้างความชอบธรรมว่า ท�าไมพวกเขาถึงควรอยู่ในอ� านาจหรือในต�าแหน่งนั้นต่อ เช่น เพราะพวกเขาเป็นลูกหลานของเทพเจ้า พวกเขาคือคนที่เทพเจ้า เลือก หรือไม่พวกเขาคือเทพเจ้านี่แหละ อย่ า งที่ คุ ณ รู ้ ว ่ า สิ่ ง ที่ ท ้ า ทายผู ้ ป กครองทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย คือข้อมูลหรือความเข้าใจชุดใหม่ที่เกิดขึ้นในสังคมที่เข้ามาลด ความชอบธรรมที่พวกเขาเคยอ้างไว้ เช่น ช่วงที่นักส�ารวจออก แล่นเรือแล้วพบว่าพวกเขาไม่ตกขอบโลก เพราะโลกไม่ได้แบน อย่างทีค่ ริสตจักรบอก แต่ความจริงโลกนัน้ กลมต่างหาก ความเข้าใจ ใหม่นจี้ งึ สัน่ คลอนอ�านาจของคริสตจักรว่า อ้าว ทีเ่ คยบอกๆ มาว่า โลกแบน แสดงว่าไม่ได้รู้จริงหนิ! ผลคือมันท�าให้ความเชื่อที่ว่า คริสตจักรคือคนที่รู้ความจริงของโลกนี้เปลี่ยนไป พอคนไม่เชื่อ ก็ส่งผลให้ความชอบธรรมที่คริสตจักรใช้มา ตลอดเป็นอันตกไป ซึ่งต่อมาก็น�าไปสู่การปฏิวัติที่ผู้คนต้องการจะ แยกสังคมออกจากคริสตจักร (Secular) กล่าวคือ ศาสนาก็เป็นแค่ ภาพ : Getty Images

ศาสนา แต่จะไม่เกี่ยวอะไรกับการปกครองอีกแล้ว นั่นเลยเป็น จุดสิ้นสุดของอ�านาจคริสตจักรที่เคยปกครองและชี้น�ายุโรปมา หลายร้อยปีในช่วงยุคกลาง หรื อ กระทั่ ง ในการปฏิ วั ติ ท างประชาธิ ป ไตยครั้ ง ใหญ่ ๆ หรือการปฏิวตั คิ อมมิวนิสต์ ก็ลว้ นแต่มที มี่ าจากความรูค้ วามเข้าใจใหม่ ที่เกิดขึ้นในสังคม เช่น เมื่อแนวคิดสังคมนิยมของ คาร์ล มาร์กซ์ เข้าไปในดินแดนต่างๆ เช่น รัสเซีย จีน ก็ท�าให้ผู้คนตั้งค�าถามกับ ผู้ปกครอง สิ่งที่ตามมาคือ ความชอบธรรมที่ผู้ปกครองเคยใช้อ้าง

A History of Thailand อ�านาจหอมหวาน ซ่อนภาระหนักหัว ให้ผู้ปกครอง

ก็เริ่มไม่สอดคล้องกับความเข้าใจของผู้คน ดังนั้น จะเห็นได้ว่าผู้ปกครองไม่ได้อยู่บนอ�านาจด้วยตัว ของพวกเขาเองอย่างแสนสบาย แต่พวกเขาต้องบริหารและแก้เกม ตลอด ว่าจะท�าอย่างไรให้พวกเขายังคงมีความชอบธรรมที่จะ อยู่ในอ�านาจนั้นต่อ หรือไม่ถ้าพวกเขาต้องการจะขึ้นมามีอา� นาจ แล้วอะไรล่ะที่จะท� าให้พวกเขามีความชอบธรรมในการขึ้นมา ปกครอง

เรื่ อ งนี้ ก็ ม าเข้ า กั บ สถานการณ์ ช ่ ว งก่ อ นหน้ า นี้ พ อดี คื อ การเลือกตัง้ ทีเ่ ป็นเครือ่ งมือสรรหาผูป้ กครองโดยยืนอยูบ่ นหลักมติ ของคนส่วนใหญ่ พูดง่ายๆ ในยุคนีค้ วามชอบธรรมคือการถูกเลือก โดยคนหมูม่ าก แต่แน่นอนอย่างทีค่ ณ ุ รูว้ า่ การเป็นคนทีป่ อ๊ ปปูลาร์นนั้ ไม่ใช่เหตุผลเดียวทีจ่ ะขึน้ มามีอา� นาจได้อย่างสวยงาม มันก็เหมือน เราเข้าประกวดร้องเพลง แล้วเราไปเกณฑ์คนมาช่วยกันโหวต คะแนนให้จนชนะ แต่ฝมี อื ร้องเพลงเราห่วยแตกมาก สุดท้ายมันก็ ค้านสายตาจนท�าให้การชนะการประกวดไม่สวยงามอยู่ดี ฉะนั้น ต่อให้มีศักยภาพที่จะไปเกณฑ์คนมาช่วยกันโหวต ผู้ปกครองหรือคนที่อยากขึ้นมาปกครองต่างรู้ดีว่าสุดท้ายพวกเขา ก็ต้องไปหาความชอบธรรมอื่นมาใช้อ้างเพื่อความสวยงามใน การขึ้นมามีอ�านาจเสมอ โดยมีอุปสรรคท้าทายคือ ตัวพวกเขาเอง และความเข้าใจของผู้คนที่เปลี่ยนไป ยกตัวอย่าง พวกเขาอ้างว่าพวกเขาเป็นคนดี หรือพวกเขา อ้างว่ามีความสามารถที่จะช่วยผู้คน แต่พอเวลาผ่านไป พวกเขา ไม่ได้เป็นแบบนั้น หรือพวกเขาอาจเป็นแบบนั้น แต่สังคมเริ่ม ไม่ได้ให้คา่ ความชอบธรรมเหล่านัน้ แล้ว เช่น สังคมเฉยๆ กับการเป็น คนดี แต่อยากได้คนมีความสามารถมากกว่า มนตร์ขลังของ ความชอบธรรมก็จะลดลง ซึ่งสุดท้ายก็คือการสั่นคลอนอ�านาจ นั่นเอง ฉะนั้น พอลองคิดไปคิดมา การเป็นผู้ปกครองดูจะไม่ใช่ เรื่องสบายและหอมหวานไปซะหมด เพราะมันก็มีภาระในหัวต้อง คิดเยอะแยะ แต่ที่แน่ๆ คือ สิ่งนี้บ่งบอกชัดเจนว่า ผู้ปกครองไม่ได้ มีอา� นาจเพียงฝ่ายเดียว อันทีจ่ ริงผูอ้ ยูใ่ ต้ปกครองมีอา� นาจและอาจ เป็นสิ่งที่น่ากลัวหรือน่าสยดสยองส�าหรับผู้ปกครองเสียด้วยซ�้า เพียงแต่ผปู้ กครองเก่งพอทีจ่ ะท�าให้ผอู้ ยูใ่ ต้ปกครองรูส้ กึ หรือไม่รสู้ กึ ถึงอ�านาจของตัวเองได้มากเพียงใดเท่านั้นเอง สุดท้าย ส�าหรับใครที่อยากอ่านเรื่องราวประวัติศาสตร์ การเมือ งไทยที่ฉ ายภาพรู ป แบบอ�า นาจ และรู ป แบบการอ้ า ง ความชอบธรรมในแต่ละยุคแต่ละสมัย มีหนังสือเล่มหนึ่งที่อยาก แนะน�าคือ ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย เขียนโดย อาจารย์คริส เบเคอร์ และ อาจารย์ผาสุก พงษ์ไพจิต ส�านักพิมพ์มติชน


33 พชร สูงเด่น นักศึกษาทุน Erasmus Mundus ด้านการศึกษา เพื่อการพัฒนา เรียนรู้นอกห้องเรียนด้วยการเดินทาง ไปยังเมืองต่างๆ ในยุโรป

adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin

เรื่อง

ประชาธิปไตย ค�าใหญ่ๆ ทีใ่ ช้กน ั จนชิน ได้ยน ิ กันทุกวัน ค�าทีห ่ ลายคนมุง่ มัน ่ ฟันฝ่าให้ได้มา ค�าว่า ‘demo’ รากศัพท์ภาษากรีกโบราณทีแ ่ ปลตรงตัวได้วา่ ‘ประชาชน’ และ ‘kratos’ อันหมายถึง ‘อ�านาจการปกครอง’ ประกอบกันเป็นความหมายทีเ่ ราเข้าใจกันมานานว่าคือการปกครองทีอ ่ า� นาจสูงสุด (ควร) เป็นของประชาชน ‘ประชาชน’ ‘อ�านาจ’ ‘เสียงข้างมาก’ ค�าห้วนๆ ที่ท�าให้ เราเผลอตีกรอบจ�ากัดความประชาธิปไตยแคบไป ผลักไสให้ ประชาธิปไตยค่อยๆ ห่างไกลจากตัว มัวแต่คดิ ว่าประชาธิปไตยนัน้ เป็นเพียงเรื่องของระบอบการปกครอง ‘ประชาธิปไตยเชิงลึก’ (Deep Democracy) หลักการส�าคัญ ของวิถกี ารจัดการความขัดแย้งรูปแบบกระบวนการ (process work) ที่ ใ นบทความที่ แ ล้ ว ได้ ก ล่ า วถึ ง บทบาทที่ เ จาะลึ ก ไปถึ ง แก่ น ความหมายแก่นของประชาธิปไตยว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวมากกว่านั้น กับใจความส�าคัญในกระบวนการรับฟังเสียงที่หลากหลาย ฟังจน สลายเส้นแบ่งความต่างของเสียง เปลีย่ นความขัดแย้ง ให้กลายเป็น ความเข้าใจ – หากมองจากมุมนี้ ไม่วา่ ในบริบทไหน ในระดับความสัมพันธ์ใด ประชาธิปไตยล้วนเป็นส่วนหนึ่งในการปฏิสัมพันธ์ ‘เสียง’ ทีถ่ กู ลดทอนให้กลายเป็นเพียงหนึง่ หน่วยนับคะแนน ในรูปแบบการเลือกตัง้ วิธกี ารให้ได้มาซึง่ ประชาธิปไตยทีเ่ ราเคยชิน แท้จริงนัน้ แต่ละเสียงก�าลังเล่น ‘บทบาท’ (role) ทีม่ คี วามรูส้ กึ นึกคิด มีความต้องการที่ไม่ได้ยึดติดกับบุคคล หากเปลี่ยนไปตามบริบท หรือสถานการณ์ การนับคะแนนช่วยให้เห็น ‘เสียงข้างมาก’ หากการฟังนั้น ช่ ว ยให้ เ ราลงได้ ลึ ก ถึ ง ความรู ้ สึ ก ความต้ อ งการของเสี ย งนั้ น สัญลักษณ์กากบาทในช่องลงคะแนน ความขัดแย้งระหว่างบทบาท ที่พอกพูนเผยตัวออกมาเป็นความรุนแรงนั้นเป็นเพียง ‘ความจริง ระดับที่มองเห็น’ (Consensus Reality) หาก ‘ประชาธิปไตยเชิงลึก’ ชวนให้เราเพ่งมองความจริงระดับทีล่ กึ ลงไปทัง้ ในชัน้ ของ ‘สภาวะฝัน’ (Dreaming) ที่สะท้อนผ่านพฤติกรรมต่างๆ เช่น เงียบใส่ไม่พูดจา ปฏิเ สธที่จ ะออกเสีย ง หรือ เสีย งคนรุ่ น ใหม่ ที่ตื่น เต้ น ตื่น ตัวกับ การเลือกตัง้ ทีเ่ ป็นครัง้ แรกของใครหลายคน ฯลฯ การมองลงไปให้ลกึ ถึงความจริงระดับ ‘แก่น’ ของพฤติกรรมทีแ่ สดงออกมาในความจริง สองระดับแรกนัน้ จะช่วยท�าให้เข้าใจว่าแท้จริงเสียงนัน้ ต้องการอะไร ฟังจนเข้าใจเสียงที่เงียบ เสียงที่โหวตโน ว่านั่นไม่ใช่ความเมินเฉย หากคือการประชดประชันจากการอดทนอดกลัน้ เป็นเสียงส่วนน้อย เปล่งเสียงดังเท่าไหร่ก็ไม่เคยได้รับการตอบสนองมานาน - ไม่ต่าง กันเลยกับเสียงความเงียบอื่นในความสัมพันธ์ ที่เงียบไปไม่ใช่ เพราะไม่มีอะไรจะเอ่ย แต่เป็นเพราะเสียงข้างในที่มีมันเอ่อล้น ภาพ : Getty Images

ถูกเก็บไว้นาน ไร้การรับฟัง จนต้องใช้ความเงียบแทนเสียงข้างใน แสดงความรู้สึกออกมา แล้วการมองเห็นความจริงแต่ละระดับช่วยอะไร? เกีย่ วอะไร กับประชาธิปไตย และการจัดการความขัดแย้ง? ‘ประชาธิปไตยเชิงลึก’ ไม่ได้เพียงนิยามประชาธิปไตยว่า ใครเป็นเจ้าของ และอ�านาจเป็นของใคร หากชวนให้เห็นคุณค่า ของความหลากหลายของเสี ย ง การเห็ น ดั ง กล่ า วช่ ว ยท� า ให้ ความขัดแย้งกลายเป็นสิ่งมีค่าในการช่วยขยายความต้องการของ

Deep Democracy

โรงละครประชาธิปไตย ในชีวิตจริง เมื่อเสียง คือสิง่ แทนใจ เมือ่ ประชาธิปไตย ไม่ ใ ช่ แ ค่ เ รื่ อ งของสั ง คม

เสียงให้ชัดขึ้นในวันที่เราไม่ค่อยได้ยินกันในวัน (ที่เหมือนจะ) สงบสุขทั่วไป ในวันที่เรามักได้ยินแค่ ‘เสียงส่วนใหญ่’ และเสียง ส่วนน้อยนั้นมักเบาเกินไปจนไม่ถูกรับฟัง หากเสียงที่มีความรู้สึก นึกคิดเป็นของตนเอง เมื่อถูกปฏิเสธ กดทับซ�้าๆ ก็ย่อมถมกัน เป็นความขัดแย้งที่พูนขึ้นจนปิดไว้ไม่ได้ ทลายปลายยอดของ ภูเขาน�้าแข็งปรากฏออกมาเป็นความเกลียดชัง ความรุนแรง แต่ ห ากเรามองให้ ลึ ก ทะลุ ป ลายยอดภู เ ขาน�้ า แข็ ง ของ

ความขัดแย้งที่ปะทุออกมา ฟังไปให้ลึกจนได้ยินความต้องการ จนได้ยินข้อความบางอย่างที่เสียงต้องการสื่อออกมา เสียงที่ ความดังต่างกันไป อยู่ในปากของคนต่างคน หากความต้องการ ภายในนั้นแทบไม่ต่างกัน เมื่อฟังกันจนถึงแก่นแท้ความต้องการ เท่านัน้ เสียงขัดแย้งทีไ่ ม่นา่ พึงปรารถนา แม้กระทัง่ เสียงก่นด่าก็ยงั มีความเป็นห่วงทีซ่ อ่ นไว้ ท้ายสุดแล้วจะเสียงทีเ่ งียบ ประชดประชัน ตะโกนแข่งขัน ล้วนต้องการการยอมรับ ความสงบสุขในชีวิต และเมื่อเราเห็นความต้องการที่เหมือนกันเช่นนั้น เสียงของฉัน แท้จริงนัน้ ก็คอื เสียงของเธอ เสียงของเธอย่อมพูดแทนเสียงของฉัน เสียงของเราคือเสียงของกันและกัน ทีเ่ รามักไม่ได้ยนิ ในวันทีม่ วั แต่ มองเห็นปลายยอดภูเขาน�้าแข็งของความขัดแย้งที่คมทิ่มแทง แต่แสนเปราะบาง เมื่อใส่ใจ เปิดใจเพียงพอที่จะมองให้ทะลุความจริงระดับ ที่มองเห็น ไปจนถึงความจริงระดับแก่นสาร ที่ความต้องการ ของเสียงค่อยๆ ดังชัดขึ้นมา เราย่อมเห็นแง่งามของความขัดแย้ง เห็นความหมายที่แท้จริงของประชาธิปไตย ตราบใดที่โรงละคร แห่งนี้ยงั ถูกเล่นโดยตัวละครทีเ่ ป็นมนุษย์ ไม่ว่าจะในบริบทต่างกัน แค่ไหน จะในบ้าน ความสัมพันธ์ ที่ท�างาน หรือเวทีนานาชาติ ความต้องการขัน้ พืน้ ฐานของเสียงนัน้ ก็ยงั คงเดิม ไม่เปลีย่ นแปลง


34

EDITOR,S NOTE

เรื่อง

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

ภาพ

อุษา นพประเสริฐ ศิลปกรรม IG : aadayy

โรงเรียนเก่า ข้อดีประการหนึ่ง ของโซเชียลมีเ ดีย ก็คือท�าให้เราได้กลับมาพบเจอเพื่อนเก่าๆ และมีภาพความหลังเก่าๆ ย้อนกลับมาให้ได้ รู้สึกอบอุ่นหัวใจ อย่ า งในเพจกรุ ๊ ป ของโรงเรี ย นเก่ า มีบรรดาศิษย์เก่าหลายสิบรุน่ มารวมตัวกันอยู่ เป็นร้อยคน นอกจากว่าจะได้เห็นว่ารุน่ พีร่ นุ่ น้อง คนไหนท�างานอะไรกันอยูบ่ า้ ง บางทีกไ็ ด้เห็น ภาพของคุณครูที่โรงเรียนตั้งแต่สมัยเราเป็น เด็กๆ ว่าตอนนีเ้ ขามีชวี ติ ความเป็นอยูอ่ ย่างไร อย่างครูประจ�าชัน้ ตัง้ แต่สมัยประถม ซึง่ เวลา ผ่านมานานเกือบสีส่ บิ ปี จนถึงตอนนีพ้ วกเขา อายุปาเข้าไป 70-80 ปี แก่หง่อมพอๆ กับพ่อแม่ ของเรา มีบางคนล้มป่วยเข้าโรงพยาบาล หรือกระทั่งมีบางคนนอนติดเตียงแล้ว และ มีบางคนที่ตายจากไป ในงานศพก็มีบรรดา ลูกศิษย์ไปกันอุ่นหนาฝาคั่ง ครูคนหนึ่งเพิ่งตายจากไป ผมจดจ�า เขาได้ในฐานะครูพละตอนชัน้ มัธยม เขาสอน วิ ช ายื ด หยุ ่ น และกี ฬ าอี ก หลายประเภท ตอนช่วงปิดเทอมฤดูร้อนเขาสัง่ ให้เด็กทุกคน ไปฝึกวิดพื้นและซิตอัพ เพื่อที่เปิดเทอมมา จะได้สอบเก็บคะแนน เขาก�าหนดให้วิดพื้น อย่างน้อย 15 ครัง้ และซิตอัพให้ได้อย่างน้อย 20 ครั้งติดต่อกัน โดยจะสุ่มให้เด็กมาสอบ ทีละคนๆ สมั ย นั้ น เรายั ง ไม่ ค ่ อ ยตื่ น ตั ว เรื่ อ ง การออกก�าลังกายสักเท่าไหร่ แฟชั่นการวิ่ง มาราธอนก็ยงั ไม่มี แฟชัน่ การเข้าฟิตเนสก็ยงั ไม่มี เด็กวัยรุ่นอายุสิบกว่าขวบก็แค่วิ่งเตะ ฟุตบอลเล่นกันตามธรรมดา แต่ในปิดเทอม ฤดูรอ้ นปีนนั้ เราทุกคนได้รบั การบ้านให้ไปซ้อม การวิดพื้นและซิตอัพกันมา เมื่อมองย้อน กลั บ ไป ก็ รู ้ ว ่ า มั น จ� า เป็ น อย่ า งมากต่ อ การเจริญเติบโตทางร่างกายในช่วงวัยนั้น ผมจ�าได้ว่าหลังจากปิดเทอมฤดูร้อนปีนั้น ร่างกายของผมและเพื่อนๆ สูงใหญ่ขึ้นอย่าง รวดเร็ว จนเวลาผ่านมาหลายสิบปี มองกลับไป ก็รู้สึกส�านึกบุญคุณของเขาอย่างยิ่ง วิชาเรียนมากมายในสมัยตอนเราเป็น เด็กๆ ถึงแม้จะรู้สึกว่าไร้สาระ โบราณ เชย หรือไม่เห็นความจ�าเป็นที่จะต้องเรียนเลย และส่วนใหญ่เราไม่ค่อยตั้งใจเรียนหรอก ตอนนั้น เราเลือกสนใจเรียนเฉพาะวิชาที่จะ น�าไปสอบแข่งขัน เพราะคิดว่าวิชาเหล่านั้น จ�าเป็น แต่ยงั มีวชิ าอีกมากมายทีเ่ รามองข้าม แล้วมันก็มสี ว่ นส�าคัญในชีวติ เรา แต่เมือ่ เวลา ผ่านไปจึงรูว้ า่ ทุกเรือ่ งทุกราวทีไ่ ด้เรียนรูม้ านัน้ มีประโยชน์มากบ้างน้อยบ้าง และในที่สุด แล้ว เราก็ได้น�ามาประกอบร่างสร้างเป็นชีวติ ของเราในทุกวันนี้ นอกจากวิ ช าพละ แม้ ก ระทั่ ง วิ ช า สร้างเสริมลักษณะนิสัย ที่เหมือนเป็นวิชา พักร้อน เราจัดตารางสอนเหมือนไว้คุยเล่น กัน มีวนั หนึง่ ครูสอบวิชากวาดบ้าน เขาให้เรา ไปเอาไม้กวาดคนละด้ามมากวาดพืน้ ห้องเรียน ให้ เ ขาดู แล้ ว ก็ ใ ห้ ค ะแนนเด็ ก แต่ ล ะคน ผมกวาดไปแบบไม่รู้เรื่องรู้ราว เพราะปกติก็ ไม่ค่อยได้ช่วยพ่อแม่ท�างานบ้านสักเท่าไหร่

ก็เลยสอบตก เขาสอนว่าการใช้ไม้กวาดทีถ่ กู วิธี ต้องกวาดไปแบบแบ็กแฮนด์จึงจะคล่อง กว่า ถ้าเรากวาดพื้นแบบโฟร์แฮนด์ จะท�าให้ ด้ามไม้กวาดทิ่มท่อนแขน จนมาทุกวันนี้ เวลาช่วยภรรยากวาดบ้าน ผมยังจดจ�าวิธกี าร กวาดด้วยแบ็กแฮนด์ และยังนึกถึงค�าสอนครู เสมอมา เราสามารถใช้คา� ว่า Connecting the dots เหมือนกับที่ สตีฟ จ็อบส์ อธิบายไว้ในหนังสือ ชีวประวัตขิ องเขา ว่าเรือ่ งราวต่างๆ ทีผ่ า่ นเข้ามา ในชีวิตของเราล้วนมีความจ�าเป็นในแง่ใด แง่ ห นึ่ ง แต่ ใ นขณะที่ เ ราด� า เนิ น ชี วิ ต อยู ่ ตอนนั้นมักจะไม่รู้ตัว จนกระทั่งเมื่อเวลา ผ่านไป พอได้มองย้อนกลับมาจึงจะเข้าใจว่า ทุกสิง่ ทุกอย่างล้วนเชือ่ มต่อกันในรายละเอียด เล็กๆ น้อยๆ เหมือนกับการเล่นเกมลากเส้น ต่อจุด เมื่อสัปดาห์ก่อนผมไปบรรยายให้กับ น้ อ งๆ ในมหาวิท ยาลัย เกี่ย วกับ โครงการ daypoets Society ที่เป็นการฝึกงานส�าหรับ นักศึกษาและบุคคลทั่วไปที่สนใจ มีน้องๆ เข้ามาร่วมฟังการบรรยายถามค�าถามขึ้นมา ว่ า การเรี ย นในมหาวิ ท ยาลั ย นั้ น เสี ย เวลา ไม่ค่อยได้วิชาความรู้อะไรเท่าไหร่ เมื่อจบ ออกไปแล้วก็น�าออกไปใช้ในการท�างานจริง ไม่ได้ ผมบอกว่าตอนเด็กๆ ก็เคยคิดแบบนัน้ เหมือนกัน จนกระทั่งตอนนี้อายุ 40 กว่า ท�างานมานานเกือบ 30 ปี ก็พบว่าแต่ละวิชา ความรู ้ นั้ น เมื่ อ น� า มาเรี ย งต่ อ จุ ด กั น แล้ ว มั น กลายเป็ น การท� า งานและการใช้ ชี วิ ต ของเราในทุกวันนี้ ถ้าใครอยากเป็นนักเขียน หรือคนท�าคอนเทนต์ลงนิตยสารหรือสือ่ ออนไลน์ ต่างๆ อย่างน้อยทีส่ ดุ วิชาความรูด้ า้ นเทคนิค ที่มักได้เรียนตอนชั้นปี 3 ปี 4 ก็จะใช้ช่วย ในการท�างานจริงได้ แต่สิ่งที่ส�าคัญกว่านั้น และคาดไม่ ถึ ง เลย ก็ คื อ พวกวิ ช าพื้ น ฐาน ที่เรียนตอนปี 1 ปี ที่มีเลขรหัส 101 ทั้งหลาย สมั ย เด็ ก ๆ ผมและเพื่ อ นร่ ว มชั้ น ปี โดดเรียนกันกระจาย ถ้าวิชาไหนมีการบังคับ เช็กชือ่ ก็แทบจะเหมือนเราเข้าไปนัง่ ตากแอร์ นอนหลั บ อยู ่ ห ลั ง ห้ อ ง เพราะวิ ช าพวกนี้ จัดสอนกันเซกชันใหญ่ เด็กเรียนกันทีเป็น ร้อยคน ตอนนั้นก็คิดว่าไม่มีความจ�าเป็น ต้องเข้าเรียนเลย จ�าพวกวิชาประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา ปรัชญา ฯลฯ จนกระทั่งเมื่อจบออกมาและท�างาน มาถึงระดับหนึง่ ก็พบว่าในการเขียนงานทุกชิน้ การสัมภาษณ์บุคคลทุกครั้ง ในการประชุม กับทีมงาน หัวหน้าหรือลูกน้อง เพื่อรวบรวม ประเด็น ระดมสมอง วิชาพื้นฐานที่เรียน ตอนปี 1 คื อ สิ่ ง ที่ ว างรากฐานความคิ ด และการมีชีวิตที่ดีอยู่ร่วมกับคนอื่น ยังจ�าได้ตอนที่ผมเริ่มต้นท�างานเป็น นักข่าวใหม่ๆ ได้ไปสัมภาษณ์นักโฆษณา ชั้นน�าของประเทศไทย เราคุยกันถึงเรื่อง เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ความรู้ทั่วไป ที่ อ ยู ่ ใ นวิ ช าพื้น ฐานชั้น ปี ห นึ่ง ล้ ว นถู ก ขุด กลับขึน้ มาใช้โดยทีเ่ ราไม่รตู้ วั ว่ามันมาจากไหน

มันเป็น Random Knowledge ที่ไม่มีวันรู้ ล่วงหน้าว่าจะได้ใช้เมื่อไหร่ จะได้ใช้ท�าอะไร ในสถานการณ์หรือโอกาสใด อย่างน้อยทีส่ ดุ ชีวิตตอนเป็นเฟรชชีในมหาวิทยาลัย ก็มอบ ให้เราได้แบบง่ายๆ สะดวกสบาย โดยไม่ตอ้ ง ไปขวนขวายซื้อหาอ่านเอง หลายครั้งที่ผมไปบรรยายเรื่องอิคิไก ในฐานะผู ้ แ ปลหนั ง สื อ เล่ ม นี้ ให้ กั บ น้ อ ง นักศึกษา มีทั้งตัวน้องๆ ผู้ปกครอง และ อาจารย์ เข้ า มาชวนคุย หลัง การบรรยาย เพื่ อ ขอค� า ปรึ ก ษา ว่ า ระบบการศึ ก ษา ทุ ก วั น นี้ ไ ม่ ต อบโจทย์ โ ลกของการท� า งาน ที่เปลี่ยนแปลงไป ผมมั ก จะบอกว่ า ชี วิ ต ข้ า งหน้ า นั้ น แท้จริงแล้วมันมีความยืดหยุ่นและมีความเป็ น ไปได้ ม ากมาย ชี วิ ต วั ย เริ่ ม ท� า งาน หลังจากเรียนจบออกมา มันอาจจะไม่เป็น ไปตามแกรนด์นาร์เรทีฟของยุคสมัย ทีเ่ ราจะ วาดแผนผังวงกลมสี่วงมาตัดกัน เสร็จแล้ว ก็ไปจับกลุ่มกับเพื่อนตั้งธุรกิจอะไรสักอย่าง แล้ ว ปุ บ ปั บ ประสบความส� า เร็ จ ยิ่ ง ใหญ่ ร�่ า รวยได้ แ บบไวๆ เกษี ย ณอายุ ไ ปตั้ ง แต่ สามสิ บ และมี ค วามสุ ข ความสบายอย่ า ง ล้นพ้นไปตลอดชีวิต นั่นแปลว่าชีวิตในห้องเรียนจึงไม่ใช่ จะสูญเปล่าไปเสียทั้งหมด มันอาจจะได้ น�ามาใช้แบบตรงๆ หรืออาจจะไม่ได้ใช้เลย ก็ได้ เป็นเรือ่ งทีไ่ ม่มใี ครรูอ้ นาคต แต่สงิ่ ส�าคัญ คือการท�างานและมีชีวิตอยู่ไปเรื่อยๆ จนถึง จุดที่เมื่อมองย้อนกลับมา แล้วสามารถเห็น รูปแบบของการเรียงต่อจุดเรื่องราวต่างๆ อาจจะแค่ ก ารวิ ด พื้ น ซิ ต อั พ หรื อ กวาดบ้าน เรื่อยมาถึงวันที่เรานั่งหลับๆ ตื่นๆ อยูห่ ลังห้องเรียนวิชาประวัตศิ าสตร์อารยธรรม ทุกอย่างจะมาบรรจบกันในวันที่เราก� าลัง นั่งเขียนคอนเทนต์อะไรสักชิ้น ด้วยร่างกาย ที่ยังแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย สมองและจิตใจ ยังแจ่มใส เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่มีครอบครัว ที่ต้องดูแล ผมเห็นชีวติ ของรุน่ พีร่ นุ่ น้องในโรงเรียน เก่า แต่ละคนมีเส้นทางทีแ่ ตกต่างหลากหลาย กันออกไป ถึงแม้เราจะมีจุดเริ่มต้นเดียวกัน แต่เส้นทางก็นา� พาเราแยกย้ายกันไป จุดประสงค์ ของการศึกษาและการเรียนรู้จึงไม่ได้เป็น เรือ่ งตรงไปตรงมา เหมือนกับชีวติ ทีไ่ ม่ได้เป็น สิ่งส�าเร็จรูปที่จะมาวาดแผนผังและคาดหวัง อะไรจากมัน

issue 585 08 APr 2019


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.