a day BULLETIN 587

Page 1

588 587 586

TODAY EXPRESS PRESENTS

22 APR 2019

C HIA N G M A I N OWA DAYS


02

CONTENTS

ISSUE 587 22 APR 2019

PRESENTS

22 APR 2019

ISSUE 587

588 587 586

TODAY EXPRESS

DATABASE ท่ามกลางไอแดดร้อนระอุ เดือนเมษายน ร่างกายมนุษย์ ทนความร้อนได้แค่ไหน

THE CONVERSA TION วิถีสโลว์ไลฟ์อยู่ไม่ไกลเกิน เอือ้ ม มุมมองความคิดเกีย ่ วกับ วิถชี วี ต ิ อันเรียบง่ายทีอ่ อกข�าขืน ่ เล็กน้อย ของ โจน จันใด

CH I ANG MAI N OWADAYS

LIFE ดืม ่ ด�า่ กับความเนิบช้าของชีวต ิ

ช่วงวันหยุดเทศกาลสงกรานต์ เป็นฤดูกาลแห่ง การเดินทางท่องเทีย ่ วส�าหรับคนเมืองหลวงอย่างเราๆ อั น ดั บ แรกสุ ด เรามั ก จะนึ ก ถึ ง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ จะได้ไปเล่นสาดน�า้ รอบคูเมือง แล้วก็เดินหาร้านกาแฟ ตามแหล่งท่องเที่ยวชิคๆ แต่ในปีนี้ เนื่องจากปัญหา ฝุน ่ PM 2.5 รอบบริเวณตัวเมือง และไฟไหม้ปา่ ครัง้ ใหญ่ ที่ดอยหลวงเชียงดาว ท� าให้บรรยากาศรื่นเริงของ เชียงใหม่คลายเสน่ห์ดึงดูดลงไป เราจึงไปพบปะกับผองเพือ ่ นนักเขียนและช่างภาพ ท้องถิน ่ ทีน ่ น ั่ พูดคุยปรึกษาประเด็นทีน ่ า่ สนใจเกีย ่ วกับ จังหวัดเชียงใหม่ตามความเป็นจริงในตอนนี้ เพือ ่ นๆ เรา ก็เลยช่วยกันคนละไม้คนละมือ จัดท�า a day BULLETIN ฉบับพิเศษสุด Chiang Mai Nowadays ถ่ายทอด วิถีชีวิตผู้คนเชียงใหม่ที่หลากหลายในแง่มุมต่างๆ รวมถึงชุดภาพถ่ายแนวสตรีท สะท้อนปัญหา ฝุ่ น ควั น พิ ษ ในตั ว เมื อ ง โดย ชาคริ ต ทองวั ฒ นา ช่างภาพอิสระทีอ ่ าศัยอยูใ่ นจังหวัดเชียงใหม่ ผูเ้ ฝ้าติดตาม ปัญหานีม ้ าตัง ้ แต่ตน ้ เขาช่วยเราตระเวนถ่ายภาพรอบ ตัวเมืองอยู่หลายวัน ภาพที่เลือกใช้เป็นปก a day BULLETIN ฉบับนี้ ถ่ายจากจุดชมวิวของเชียงใหม่ใน ยามเช้า มองเห็นเครือ ่ งบินอยูไ่ กลลิบลับเพียงเลือนราง เพราะว่าทั้งเมืองก�าลังถูกปกคลุมด้วยละอองฝุ่น

คน 5 คนทีอ่ าศัยอยูใ่ นจังหวัด เชียงใหม่

A THOUSAND WORDS ภาพที่แสนอึดอัดจาก มลพิษฝุ่น PM 2.5 ที่เกิดขึ้น ในจังหวัดเชียงใหม่

SPACE AND TIME MEGA Smart Kids พืน ้ ทีแ่ ห่งการเรียนรูส ้ า� หรับ ครอบครัวยุคใหม่ใน MEGA Bangna

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อชีวิตและสังคม ผ่านสายตา วุฒช ิ ย ั กฤษณะประกรกิจ

INTERNS

ทีป ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการทีป ่ รึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ้ ม ิ พ์ผโู้ ฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒช ิ ย ั กฤษณะประกรกิจ รองบรรณาธิการบริหาร ฆนาธร ขาวสนิท บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นั ก เขี ย น/ผู้ ป ระสานงาน ตนุ ภั ท ร โลหะพงศธร หั ว หน้ า ช่ า งภาพ กฤตธกร สุ ท ธิ กิ ต ติ บุ ต ร ช่ า งภาพ ภาสกร ธวั ช ธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ิ สกุล ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิม ้ แย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิรล ิ ก ั ษณ์ ตะเภาหิรญ ั ศิลปกรรม ฐิตชิ ญา อนันต์ศร ิ ภ ิ ณ ั ฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง กวินนาฏ หัวเขา ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ภรั ณ ภพ สุ ข อิ น ทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจุฬ างกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อัง ศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศัก ดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว นักศึกษาฝึกงาน ณัชพล เนตรมหากุล ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com



04 เรื่อง

พัทธมน วงษ์รัตนะ กองบรรณาธิการ IG : itspattamai

DATA BA S E

ภาพ

สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรมอาวุโส IG : Ponyo_thesea

ISSUE 587 22 APR 2019

B A B Y, I T ’ S HOT OUTSIDE ‘ร้อนเหมือนซ้อมลงนรก’ วลีติดตลกบนโลกออนไลน์ ที่ ห ลายคนใช้ บ รรยายสภาพอากาศกลางเดื อ น เมษายนของประเทศไทย ทีบ ่ างจังหวะก็อณ ุ หภูมพ ิ งุ่ สูง ขึ้นไปถึง 40 องศาเซลเซียส แต่เคยนึกสงสัยไหมว่า จริงๆ แล้วความร้อนระดับไหนถึงจะจัดว่าอันตราย ส�าหรับการอยู่อาศัยของมนุษย์ แล้วร่างกายของเรา ทนความร้อนได้แค่ไหนกันแน่

30

sun

องค์ ก รอนามั ย โลกและธนาคารโลก จั ด ความร้ อ นให้ เ ป็ น วิ ก ฤตฉุ ก เฉิ น ด้ า น สาธารณสุขที่คนทั่วโลกกว่า 30% ยังคง ต้ อ งอาศั ย อยู่ ใ นพื้ น ที่ ไ ม่ เ หมาะสมต่ อ การอยู่ อ าศั ย และอาจเสี ย ชี วิ ต จาก อากาศร้ อ นจั ด

ร่ า งกายมนุ ษ ย์ ท นร้ อ นได้ แ ค่ ไ หน?

1 8- 2 4

ค่าความชืน ้ สัมพัทธ์

อุณหภูมิ

อันตรายถึงชีวต ิ

60 � 10%

อ ง ค์ ก ร อ น า มั ย โ ล ก ร า ย ง า น ว่ า อุ ณ ห ภู มิ ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ร่ า ง ก า ย มนุ ษ ย์ ที่ สุ ด อยู่ ที่ 18-24 องศาเซลเซี ย ส

50 �

25% 50%

38 �

100%

27 � 16 �

ภาวะปกติ

5� 0�

50

10 minutes

ร่ า งกายมนุ ษ ย์ ส ามารถ รั บ มื อ กั บ ความร้ อ นที่ สู ง ได้ ถึ ง 50 องศาเซลเซี ย ส หากยั ง เหงื่ อ ออกได้ อ ย่ า ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ แต่ ห าก ค่าความชื้นสัมพัทธ์มีมาก เ กิ น ไ ป ( ม า ก ก ว่ า 7 0 % ) จะท� า ให้ เ หงื่ อ ไม่ ส ามารถ ระเหยออกไปได้ และเป็ น อั น ตรายถึ ง ชี วิ ต

3

1 hour

10 hrs

1 day

10 days

100 days

1 year

ระยะเวลา

ระดั บ อาการผิ ด ปกติ ที่ ม าจากความร้ อ น

42 ํ c ขึ้ น ไป

38-41 ํ c

6 มีการสันนิษฐานว่า มนุษย์ พอจะมี ชี วิ ต รอดในระยะ เวลา 6 ชั่ ว โมง หากต้ อ ง อยู่ ใ นที่ ที่ อุ ณ หภู มิ สู ง กว่ า 40 องศาเซลเซี ย ส และมี ค่ า ความชื้ น สั ม พั ท ธ์ 75% อย่างไรก็ตาม ตอนนีย ้ งั ไม่มี พื้นที่ใดบนโลกที่มีอุณหภูมิ แ ล ะ ค ว า ม ชื้ น สั ม พั ท ธ์ ดังกล่าว

35-37 ํ c 38-41 ํ c 41 ํ c ขึ้ น ไป เป็นตะคริวที่ขา น่อง ท้อง เกิดได้ ทั้งจากอากาศร้อน และจากการออกก�าลังกาย ท�าให้ เสียเหงื่อมากและ ขาดเกลือแร่ จนอุณหภูมิภายใน ร่างกายร้อน ผิดปกติ

อุณหภูมิ 60 50 38 27

5 0

ติ ปก วะ ภา

16

เพลียแดด ตัวเย็น มือเย็นเพราะเหงื่อ รู้สึกอ่อนเพลีย ปวดหัว หน้ามืด คลื่นไส้ อาเจียน

เกิดอาการโรค ลมแดด (Heat Stroke) ขั้นรุนแรง อวัยวะ ภายในท�างาน ผิดปกติ อาจมี อาการหมดสติ ไตวาย ตับวาย และหัวใจวาย

ที่มา : www.nib.com.au, www.socratic.org, www.thairath.co.th

35-37 ํ c


)ý .C 6$< 8@ 8,H,?.ò H&å <2

²·²³¦ËÌÄÑÊÐÄÌ ÆÒÐ = =.5U=.2 0î=5C 8 H2O%L ò ÐÄÕÎÈ×ÌÑÊÒÒÓÖ )%2î= &ó C%<$,D0 î= #C. ? 8@ 8,H,?.ò È ÆÒÐÐÈÕÆÈ K$&.;H"3L"-8-D"î @P 2î= 0ï=$%=" J -8< .= =.H %? J J -H 0@-P 8-D"î @P 8î &æ H6O$ 2< H0 I0ï2L,î&.;60= K H0- H).=;H".$ ò)/ ? ..,'Dï%.?J+ 8$$@Q %8 L ï U=H @-2H0-2î= !$$"C 5=-,Cî 5Dîýï8&&å÷ 88$L0$ò $L"-$?-,ýï8& 'î=$ È °ÄÕÎÈ×ÓÏÄÆÈ ýî8 "= 88$L0$ò 8 I%.$ ò5?$ ï= %.? =. I0; ¶ÒÆÌÄÏ ¦ÒÐÐÈÕÆÈ î= N L,î ï8 L&)D !A K .L 0H0- $= H.=H8 -< î=-H ?$ BQ8 8 .; =- "<Q "@PL,îL ï ï=2H"ï=88 = %ï=$L&H0-I,ïI î ï=2H @-2

õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč õėĤċėěûĕğĦĈĴċĖ ĴĈŖİęķûİğķčĊĪûøěĦĕĞĽĦøĥā öġûČĬėõĨüġĩNøġĕİĕĨėřÿ üĪûĴĈŖĈĽĦİčĨčõĦėęĬĖċĬõıĒęĉēġėřĕġġčĴęčřþŕġûċĦûĉŕĦûĶ İĒīĸġĕĬŕûğěĥûijğŖĐĭŖĎėĨIJĔøğėīġıēčĒĥčČĬřıċŖ ','( ĴĈŖþŖġďĞĨčøŖĦ ','( ĴĈŖġĖŕĦû ĞĤĈěõėěĈİėķě IJĈĖęŕĦĞĬĈõķİġĦijüöĦþŖġďĈŖěĖõĦėİďŌĈĉĥě ','( ū ū ^ŭ ÿĪûĸ İďŝčþŕġûċĦûþŖġďďŌûş ġġčĴęčřĞčĨ øŖĦ ','( üĥûğěĥĈİþĩĖûijğĕŕIJĈĖĉėû ıĎĎĴĕŕĉġŖ û ĐŕĦčıĒęĉēġėřĕõęĦûġīĸčĶ ġĖŕĦûċĩĸĐŕĦčĕĦ čĨĞĨĉ üĥčċėřĞĕěûĜř ġČĨĎĈĩõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč õęŕĦěĈŖěĖėġĖĖĨĹĕijč ěĥčİďŌĈĉĥě ','( ū ū ^ŭ ěŕĦ ĞĨûĸ ċĩİĸ õĨĈöĪčĹ ijčěĥččĩ Ĺ øīġİċėčĈřõĦėøŖĦijčIJęõ ďśüüĬĎĥč ċĩĸĕĩõĦėıöŕûöĥčĞĭû ĐĭŖøčĞĦĕĦėĊİþīĸġĕĉŕġċĥĸěIJęõĴĈŖijčİěęĦİĒĩĖûþĥĸěĒėĨĎĉĦ õĦėĉęĦĈġġčĴęčřüûĪ İďŝčþŕġûċĦûĞĽĦøĥāijčõĦėIJúĝćĦ ďėĤþĦĞĥĕĒĥčČř ıęĤĞŕûİĞėĨĕ õĦėöĦĖĞĨčøŖĦċĩĸİğĕĦĤõĥĎĖĬøĞĕĥĖ ıęĤěĨĊĩþĩěĨĉöġûøčėĬŕčijğĕŕ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč ĉĥĹûİďőĦğĕĦĖõĦėüĽĦğčŕĦĖĞĨčøŖĦ ','( ďėĤüĽĦ ďōûĎďėĤĕĦć Ē^Ĝ^ 4784 ĴěŖċĩĸĞġûıĞčęŖĦčĎĦċ ĈĥûčĥĹč õĦėĞŕûİĞėĨĕþŕġûċĦûõĦė ĉęĦĈijğŖıõŕĐĐŖĭ ęĨĉ ĐĭďŖ ėĤõġĎõĦė ','( üĪûİďŝčĞĨûĸ ĞĽĦøĥāġĖŕĦûĖĨûĸ ÿĪûĸ ijčĖĬøďśüüĬĎčĥ ċĩĸİċøIJčIJęĖĩĈĨüĨċĥęĕĩġĨċČĨĒęĉŕġĞĥûøĕ İĜėĝĄõĨü ıęĤěĥĆčČėėĕ üĦõĞĊĨĉĨĒĎěŕĦ ċĥěĸ IJęõĕĩĐijŖĭ þŖġčĨ İċġėřİčķĉĕĦõõěŕĦĞĩĒĸ čĥ ęŖĦčøč ıęĤĒĘĉĨõėėĕöġûĐĭĎŖ ėĨIJĔøĞŕěčijğāŕ ijčďśüüĬĎĥččĨĖĕÿīĹġĞĨčøŖĦĐŕĦčėĤĎĎġĨčİċġėřİčķĉ üĥûğěĥĈİþĩĖûijğĕŕİďŝčüĥûğěĥĈċĩĸĕĩ ĞĨčøŖĦ ','( ĕĦĉėĄĦčøĬćĔĦĒÿĪĸûöĦĖĈĩġĥčĈĥĎĉŖčĶ öġûďėĤİċĜ İğĕĦĤĕĦõ ċĩĸüĤċĽĦČĬėõĨüijčėĭďıĎĎġĩNøġĕİĕĨėřÿİĒīĸġĉġĎĞčġûøěĦĕĉŖġûõĦėöġûĐĭŖĎėĨIJĔøijč ĖĬøĈĨüĨċĥęĈŖěĖĉĥěİġû IJĈĖĴĕŕĉŖġûĴďđĦõöĦĖijğŖĕĩøŕĦijþŖüŕĦĖİĒĨĸĕijčıĒęĉēġėřĕġīĸčĶ ÿĪĸûüĤþŕěĖęĈĉŖčċĬčijğŖõĥĎĐĭŖďėĤõġĎõĦė ıęĤĞġĈøęŖġûõĥĎěĨĊĩþĩěĨĉöġûøčėĬŕčijğĕŕ ÿĪĸûõķğěĥûěŕĦüĥûğěĥĈġīĸčĶ üĤčĽĦĴďİďŝčĉŖčıĎĎİĒīĸġďėĥĎijþŖĉŕġĴďy

čġõüĦõüĤĕĩĞĨčøŖĦ ','( øĬćĔĦĒėĤĈĥĎĕĦĉėĄĦčıęŖě ijčõĦėċĽĦ ČĬėõĨüġĩNøġĕİĕĨėřÿijğŖďėĤĞĎøěĦĕĞĽĦİėķü ĖĥûĉŖġûĕĩėĤĎĎČĬėõėėĕõĦėİûĨčċĩĸĴěŖijüĴĈŖ õĦėöčĞŕûIJęüĨĞĉĨõċĩĸİĞĊĩĖė ĕĩõĦėėĥĎďėĤõĥčĞĨčøŖĦ İĒīĸġĞėŖĦûøěĦĕčŕĦİþīĸġĊīġijğŖõĥĎ ČĬėõĨüġĩNøġĕİĕĨėřÿ ıęĤčĥĸčøīġĞĨĸûċĩĸĐĭŖĎėĨIJĔøüĤĴĈŖėĥĎ İĕīĸġİöŖĦĴďþŖġďďŌşûġġčĴęčřijč ^ ŭ ū ū ^ŭ ĉŕġĴďčĩĹİěęĦġĖĦõĴĈŖĐŖĦċġĒīĹčİĕīġûĴďĉĥĈþĬĈĞěĖĶ õĦıēøĥĸěĎĈüĦõ ĈġĖĞĤİõķĈ İøėīĸġûöčĕüĩččĽĹĦİûĩĹĖě ğėīġöġûijþŖöġûđĦõĞĦėĒĥĈüĦõİþĩĖûijğĕŕ ęĤõķ ĴĕŕĉŖġûÿīĹġĉĥĻěİøėīĸġûĎĨčİĈĨčċĦûĴďĊĪûċĩĸ İĒĩĖûıøŕøĬćøęĨõİöŖĦĞĭŕİěķĎĴÿĉř ^ ŭ ū ū ^ŭ õķĞĦĕĦėĊİęīġõþŖġďĞĨčøŖĦ ','( ĴĈŖċčĥ ċĩ ĞĤĈěõ ċĬõċĩĸċĬõİěęĦ

^ ūŭŲŬ ^ŭ a ŭÑÑ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč ĕĬŕûĕĥĸčİĞėĨĕĞėŖĦûİĜėĝĄõĨüĄĦčėĦõĕĥĸčøû İĒĨĸĕøěĦĕĞĬöĕěęėěĕijğŖďėĤþĦþč


HE SAID

เรื่อง

8

ดวงกมล จันทร์เนตร์ คอนเทนต์ครีเอเตอร์อิสระ ผู้สนใจเรื่อง การเงิน ชีวิต และการงานที่สมดุล amjunnet@gmail.com

ภาพ

06

ภาสกร ธวัชธาตรี ช่างภาพ passakorn.sunt@gmail.com

issue 587 22 aPr 2019

th

AnniversAry Airp ort rAil link แอร์พอร์ต เรล ลิงก์ 8 ปี ที่ไม่เคยหยุดพัฒนา เพื่อความสุขระดับมาตรฐานสากล

จากจุดเริม ่ ต้นเมือ ่ 8 ปีกอ ่ น จนถึงปัจจุบน ั กล่าวได้วา่ ตลอดระยะเวลาทีผ ่ า่ นมา แอร์พอร์ต เรล ลิงก์ได้กา้ วข้าม ความท้าทายมาอย่างสง่างาม จ�านวนผูใ้ ช้บริการพุง ่ สูงอย่างรวดเร็วจนถึงหลักแสนคนต่อวันแล้ว สุเทพ พันธุ์เพ็ง กรรมการผู้อ�านวยการใหญ่ บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จ�ากัด หรือแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ ให้สัมภาษณ์สุดเอ็กซ์คลูซีฟกับ a day BULLETIN ถ่ายทอดเรื่องราวประสบการณ์ตลอดเส้นทางการท�างาน เพือ ่ ยกระดับความสุขของคนไทย และวางแผนรับมือกับความท้าทายทีร ่ ออยูใ่ นอนาคต 8 ปีผ่านมา แอร์พอร์ต เรล ลิงก์มีอะไร เปลี่ยนแปลงบ้าง

“แอร์พอร์ต เรล ลิงก์เปิดให้บริการเมื่อ 8 ปีที่แล้ว ในปีแรกเรามีผู้โดยสารเฉลี่ยต่อวัน 30,000 คน เพราะตอนนัน้ สิง่ อ�านวยความสะดวก และจุดเชือ่ มต่อกับบริการขนส่งสาธารณะสายอื่นๆ ยังไม่พร้อม ส่วนที่เชื่อมต่อก็มีแค่สถานีพญาไท ที่เชื่อมกับ BTS ส่วนที่มักกะสันยังไม่มี เมื่อก่อน ต้องเดินข้ามถนน ข้ามทางรถไฟ พอฝนตกก็เปียก” สุเทพ พันธุ์เพ็ง กรรมการผู้อ�านวยการใหญ่ ย้อนร�าลึกความหลังไปถึงจุดเริ่มต้น เขาเล่าถึงก้าวต่อๆ มาที่มีพัฒนาการ รุด หน้ า ขึ้น ตามล� า ดับ ในปี ที่ 2 มี ก ารสร้ า ง Skywalk ระหว่างสถานีมักกะสันเชื่อมต่อสถานี รถไฟฟ้า MRT เพชรบุรี ท�าให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ครัง้ ส�าคัญ สถานีมกั กะสันจากช่วงแรกมีผโู้ ดยสาร ประมาณ 2,000 คนต่อวันซึ่งถือว่าเงียบมาก ปัจจุบนั จ�านวนผูโ้ ดยสารอยูท่ ปี่ ระมาณ 10,000 คน เรื่อยมาถึงปีที่ 3 และปีที่ 4 ผู้โดยสารเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว จากสมัยทีเ่ คยมีบริการสาย City Line ให้บริการ 5 ขบวน และ Express Line ให้บริการ 4 ขบวน “เมือ่ เราท�าวิจยั การตลาด ท�าให้ทราบว่า ผูโ้ ดยสารต้องการการเดินทางทีเ่ ชือ่ มต่อกับ BTS ท�าให้เราขยายเส้นทาง Express Line ไปยังสถานี พญาไท พอมีการวิง่ เชือ่ มต่อกับ BTS มีผโู้ ดยสาร มากขึ้น 3,000 คน แต่อัตราการเติบโตของ

ผู้โดยสาร City Line สูงมาก เราจึงหันมาเน้น ให้บริการเป็น City Line ในปีที่ 5 ปรับปรุงการให้บริการเป็น City Line ทัง้ 9 ขบวน ท�าให้ทกุ ขบวน สามารถจุผู้โดยสารได้ 700 คน จนถึงปัจจุบันนี้ จะเห็ น ว่ า แอร์ พ อร์ ต เรล ลิ ง ก์ มี ก ารปรั บ ตั ว อย่างต่อเนื่องตามความจ�าเป็นของผู้โดยสาร และตามทรัพยากรที่เรามี” จ�านวนผู้โดยสารในปัจจุบัน

ตัวเลขผูโ้ ดยสารเมือ่ วันที่ 29 มีนาคม 2562 จ�านวนผูโ้ ดยสารอยูท่ ี่ 95,771 คน นับเป็นตัวเลข สูงสุดนับตัง้ แต่เปิดให้บริการมาตลอด 8 ปีทผี่ า่ นมา รวมถึงค่าเฉลีย่ รายเดือนของเดือนมีนาคมในปีนี้ ถือว่ามีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ 2,300,000 คน ซึ่งเป็น การเก็ บ สถิ ติ ทุ ก วั น ส่ ง ข้ อ มู ล ไปที่ ส ่ ว นกลาง ท�าให้ทราบว่าแต่ละสถานีมีผู้โดยสารมากน้อย แค่ไหน ช่วงเวลาใดที่มากและน้อย ทางแอร์พอร์ต เรล ลิงก์สามารถน�าตัวเลข มาวางแผนการจัดขบวนรถให้เหมาะสม เช่น ช่วงเช้ากี่โมง ตอนเย็นกี่โมง ควรจัดรถเสริม ตอนไหนเพือ่ ให้ตรงกับความต้องการของผูโ้ ดยสาร การปรับ Headway ให้เร็วขึ้น

“ตอนแรกทีใ่ ห้บริการ ชัว่ โมงเร่งด่วนหรือ Peak Hour จะออกทุกๆ 15 นาที ส่วนชัว่ โมงปกติ หรือ Off Peak จะออกทุกๆ 20 นาที ต่อมาก็ปรับ เป็น 12 นาที และ 15 นาที เปลี่ยนมาเป็นออก

“ทางแอร์พอร์ต เรล ลิงก์สามารถน�าตัวเลข มาวางแผนการจั ด ขบวนรถให้เหมาะสม เช่ น ช่ ว งเช้ า กี่ โ มง ตอนเย็นกีโ่ มง ควรจัด ร ถ เ ส ริ ม ต อ น ไ ห น เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผูโ้ ดยสาร”


07

adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin

“เราค่อนข้างใส่ใจเป็นพิเศษ ไม่เพียงแค่ผู้โดยสาร แต่ดูแลชุมชนโดยรอบด้วย มีรับเรื่องร้องเรียนผ่านคอลเซ็นเตอร์ 1690 รวมทั้งใน ทวิตเตอร์และเฟซบุ๊ก ทุกเรื่องที่เราได้รับค�าร้องเรียน เราน�ามาปรับปรุงทั้งหมด หรือความเห็นของชาวต่างชาติใน TripAdvisor ซึ่งส่วนใหญ่พึงพอใจ เราก็รับฟังด้วยความยินดี”


08 issue 587 22 APr 2019

แอร์พอร์ต เรล ลิงก์กับโครงการ EEC

โครงการพั ฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ภาคตะวันออก หรือ EEC (Eastern Economic Corridor) เป็นแผนยุทธศาสตร์ภายใต้ยุทธศาสตร์ไทยแลนด์ 4.0 ด้วยการพัฒนาเชิงพื้นที่ที่ต่อยอดความส�าเร็จ มาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออก หรือ Eastern Seaboard ซึ่งด�าเนินมาตลอดกว่า 30 ปี ทีผ่ า่ นมา มีจงั หวัดในพืน้ ที่ ได้แก่ ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง และสมุทรปราการ โดยแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ ไปเกี่ ย วข้ อ งในโครงการเชื่ อ มต่ อ สามสนามบิ น ได้แก่ สนามบินอู่ตะเภา สนามบินสุวรรณภูมิ และ สนามบินดอนเมือง ถือว่าเป็นแผนการส�าคัญของ ประเทศชาติ หากการคมนาคมไม่สะดวกสบาย โครงการพัฒนาต่างๆ ต่อจากนี้ก็เกิดขึ้นได้ยาก เนื่องจากนักลงทุนเมื่อมาถึงก็ต้องการที่จะออก เดินทางไปยังพื้นที่เขตเศรษฐกิจทันที “เราท�าหน้าทีเ่ ชือ่ มกรุงเทพฯ กับเมืองเศรษฐกิจ EEC ให้กลายเป็นเมืองเดียวกัน โดยโครงการนี้ เป็นการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน หรือ PPP (Public Private Partnership) เป็นโครงการทีม่ อบ สัมปทานให้เอกชนไปด�าเนินการ ก�าลังอยู่ระหว่าง ประกวดราคา ซึ่งหากได้บริษัทผู้ด�าเนินการแล้ว แอร์พอร์ต เรล ลิงก์จะท�าหน้าที่หลังจากลงนาม ในสัญญาต่ออีก 2 ปี เพือ่ ส่งมอบงานให้ผรู้ บั สัมปทาน สามารถด�าเนินการต่อไปได้ หลังจากนั้นภารกิจ ของเราคื อ การไปเดิ น รถไฟฟ้ า สายสี แ ดงซึ่ ง จะ เชือ่ มต่อกันทัง้ เมืองฝัง่ ตะวันออก ตะวันตก เหนือ ใต้” ดูแลสังคมและคุณภาพชีวต ิ ให้คนกรุงเทพฯ

ทุก 10 นาที และทุก 12 นาที กระทัง่ เมือ่ ช่วงต้นปี 2562 นี้ เราได้ปรับให้รถออกทุกๆ 10 นาทีทงั้ สองช่วงเวลา โดย ช่วงพีกจะมีรถเสริม 2 ขบวนทีห่ วั หมากกับลาดกระบัง” แผนการส�าหรับโอกาสครบรอบ 8 ปี กรรมการผู้อ�านวยการใหญ่บอกว่า นับตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน เป็ น ต้ นไป จะมีก ารปรับ ความถี่ของขบวนรถเป็ น ช่วง Peak Hour จะมีรถทุกๆ 8 นาทีครึ่ง และทุก 10 นาทีส�าหรับช่วง Off Peak ซึ่ง ณ ตอนนี้ก็ถือว่า เกือบจะเป็นความถี่ที่เหมาะสมที่สุดแล้ว ความพร้อมของขบวนรถส�าคัญที่สุด

กรรมการผู้อ�านวยการใหญ่ให้ความมั่นใจกับ

นอกจากดู แ ลลู ก ค้ า ผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารรถไฟฟ้ า แอร์พอร์ต เรล ลิงก์ให้ได้รบั ความสะดวกสบายและ ปลอดภัยแล้ว ก็ยงั ดูแลสังคมด้วย อย่างเช่นสัปดาห์ ที่ผ่านมามีการตรวจสุขภาพฟรี ทั้งโรคเบาหวาน และโรคหัวใจ นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมดูแลชุมชน ใกล้เคียง บริจาคเงินให้กบั โรงเรียน บริจาคอุปกรณ์กฬี า ให้โรงเรียนส�าหรับชุมชนโดยรอบสถานีแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ รวมไปถึงการดูแลความสะอาด ความปลอดภัย “เราค่อนข้างใส่ใจเป็นพิเศษ ไม่เพียงแค่ ผู้โดยสาร แต่ดูแลชุมชนโดยรอบด้วย มีรับเรื่อง ร้องเรียนผ่านคอลเซ็นเตอร์ 1690 รวมทัง้ ในทวิตเตอร์ และเฟซบุก๊ ทุกเรือ่ งทีเ่ ราได้รบั ค�าร้องเรียน เราน�ามา ปรับปรุงทั้งหมด หรือความเห็นของชาวต่างชาติ ใน TripAdvisor ซึง่ ส่วนใหญ่พงึ พอใจ เราก็รบั ฟังด้วย ความยินดี โดยพวกเขาให้เหตุผลทีช่ อบว่า ราคาถูก สะอาด และคุมเวลาได้ และเรายังได้รับการโหวต โดยผูใ้ ช้งานใน TripAdvisor ติด 1 ใน 10 ของ Things to do in Bangkok อีกด้วย” ประการหนึ่งที่แอร์พอร์ต เรล ลิงก์ให้ความส�าคัญ คือเรื่องความเท่าเทียมกันของคนทุกเพศ ทุกวัย ไม่วา่ จะเป็นผูส้ งู อายุ เด็ก ผูพ้ กิ าร โดยมีการจัดลิฟต์ บันไดเลื่อน ให้บริการครบทุกสถานี “เมือ่ ก่อนมีลฟิ ต์และบันไดเลือ่ นรวมประมาณ

“ความท้าทายทีย ่ ากมากคือ ระหว่างทีเ่ ราเดินรถแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ปจั จุบน ั ต้องดูแลเรือ ่ งการติดตัง้ โครงการรถไฟฟ้าไฮสปีดส�าหรับโครงการ EEC ด้วย ซึง่ ต้องปฏิบต ั งิ านด้วยความรอบคอบเพราะต้องค�านึงถึงความปลอดภัยสูงสุด”

ผู้โดยสารว่า ช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา ถือว่าการให้ บริ ก ารค่ อ นข้ า งเสถี ย ร ถ้ า มี ข บวนรถขั ด ข้ อ ง จะสามารถซ่ อ มแซมให้ บ ริ ก ารได้ ค รบทุ ก ขบวน อย่างรวดเร็ว งานซ่อมบ�ารุงเป็นส่วนทีส่ า� คัญมาก และทาง แอร์พอร์ต เรล ลิงก์กภ็ าคภูมใิ จมาก ล่าสุดเมือ่ ต้นปี ทีผ่ า่ นมา รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ ได้รบั การรับรอง ISO 9001 : 2015 ขอบเขต : วิศวกรรมและซ่อมบ�ารุง ทั้ ง หมดในโครงการระบบขนส่ ง ทางรถไฟเชื่ อ ม ท่าอากาศยานสุวรรณภูมแิ ละสถานีรบั ส่งผูโ้ ดยสาร อากาศยานในเมือง จาก BV (Bureau Veritas Certififfiication) ซึ่ง ISO นี้จะช่วยยกระดับมาตรฐาน การบริ ก ารให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานสากลตาม วิสัยทัศน์บริษัทต่อไป นับเป็นความท้าทายส�าหรับ พนักงานทุกคน

90 ตัว ปัจจุบันเราเพิ่มเป็น 149 ตัว และก�าลังจะ ติ ด ตั้ ง บั น ไดเลื่ อ นลงอี ก หนึ่ ง ตั ว ที่ พ ญาไทเพื่ อ เชื่อมต่อ BTS หรือในกรณีที่มีผู้พิการด้านสายตา ก็จะมีพนักงานรักษาความปลอดภัยเดินรับส่ง เป็นภาพที่ค่อนข้างน่ารัก รวมทั้งบริการฟรี Wi-Fi และทีช่ าร์จแบตเตอรีส่ า� หรับอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ทุกประเภทฟรี” อนาคตของรถไฟฟ้า รฟท.

“ภารกิจส�าคัญหลังจากนี้ คือการไปดูแล และท�าหน้าทีเ่ ดินรถไฟฟ้าสายสีแดง และท�าหน้าที่ เดินรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์สายปัจจุบนั ให้ได้ ตามมาตรฐานสากล ความท้ า ทายคื อ หนึ่ ง เราต้องไปเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ของญี่ปุ่น สอง ต้องถ่ายทอดความรู้ให้แก่โอเปอเรเตอร์รายใหม่ ด้วย และสาม ซึ่งเป็นความท้าทายที่ยากมากคือ ระหว่างที่เราเดินรถแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ปัจจุบัน ต้องดูแลเรื่องการติดตั้งโครงการรถไฟฟ้าไฮสปีด ส�าหรับโครงการ EEC ด้วย ซึ่งต้องปฏิบัติงานด้วย ความรอบคอบเพราะต้องค�านึงถึงความปลอดภัย สูงสุด” สุเทพ พันธุเ์ พ็ง กรรมการผูอ้ า� นวยการใหญ่ กล่าว เฉลิมฉลองครบรอบ 8 ปี

“ทุ ก ๆ ปี ที่ เ ราครบรอบ จะมี โ ปรโมชั น ขอบคุณลูกค้าที่ให้การสนับสนุน โดย 20% เป็น นักท่องเที่ยว แต่อีก 80% เป็นผู้โดยสารชาว กรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออก ซึ่งจริงๆ แล้วเรียกได้ว่า เป็นลูกค้าประจ�า เพราะต้องโดยสารเข้ามาท�างาน ตอนเช้าและกลับบ้านในตอนเย็น ดังนั้น เราเลย มีแคมเปญต่างๆ เพื่อตอบแทนทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย เช่น ผู้ถือบัตรผู้สูงอายุจะได้รับสิทธิพิเศษ ส่วนลด 50% ทุกการเดินทาง ผู้ถือบัตรนักเรียน/ นักศึกษา ก็จะได้รับสิทธิพิเศษเป็นส่วนลด 20% ผู้โดยสารที่ถือบัตรโดยสารรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ สมาร์ทพาส ประเภทเติมเงินทุกประเภท รั บ ส่ ว นลดร้ า นค้ า และบริ ก ารต่ า งๆ ที่ ส ถานี รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ ทั้ง 8 สถานี เดินทาง ฟรีในวันเกิด ไม่จ�ากัดจ�านวนเที่ยวตั้งแต่เวลา 06.00-24.00 น. ในเดือนเกิด รับฟรีบัตรก�านัล Starbucks บัตรชมภาพยนตร์ในเครือ SF Cinema หรือของขวัญสุดเอ็กซ์คลูซฟี ถือว่าเป็นการขอบคุณ ลูกค้า และต้องขอบคุณสังคมด้วย ผ่านโครงการ ถุงผ้า DIY 888 ใบ จ�าหน่ายใบละ 8 บาท ให้ผโู้ ดยสาร เพนต์ลวดลายที่ต้องการด้วยตนเอง โดยรายได้ ทั้งหมดสมทบทุนมูลนิธิสายใจไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ “บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จ�ากัด ต้องขอ ขอบคุณผู้ใช้บริการแอร์พอร์ต เรล ลิงก์มาตลอด ระยะเวลา 8 ปี และใช้บริการอย่างต่อเนื่อง เพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ ทุกวัน เราจะพยายามปรับปรุง บริ ก ารให้ ดี ที่ สุ ด ภายใต้ ท รั พ ยากรที่ มี ใ ห้ เ กิ ด ประสิทธิภาพสูงสุด และต้องขอบคุณเสียงติชม และฟีดแบ็กต่างๆ ด้วย เพราะเราถือว่าเป็นเรื่อง ส�าคัญในการยกระดับการให้บริการของเราให้ดี ทีส่ ดุ ” สุเทพ พันธุเ์ พ็ง กรรมการผูอ้ �านวยการใหญ่ กล่าวเพื่อให้ความมั่นใจกับผู้โดยสารทุกคน

Airport Rail Link Call Center 1690 Website : www.srtet.co.th Facebook : www.facebook.com/AirportRailLink Twitter : Airport Rail Link



10

T H E C O N V E R SAT I O N

ภาพ

เรื่อง

The SimpliciTy of life

ขณะที่ คุ ณ ก� ำ ลั ง สงสั ย ว่ ำ ใน ชีวิตนี้มีอะไรที่ได้มำง่ำยๆ ด้วยหรือ วลีเด็ด “ชีวิตต้องง่ำย ถ้ำมันยำก แสดงว่ำมันผิด” ของ โจน จันใด ก็พุ่งเข้ำมำกระแทกต่อมควำมคิด อย่ำงจัง คุณพยำยำมตีควำมหลำย ตลบ ค้ น หำบทควำมประกอบ กำรวิเครำะห์ ย้อนดูรำยกำรชวน วิพำกษ์ คุณสนใจมันด้วยรู้สึกว่ำ ชีวต ิ นัน ้ แสนยุง ่ ยำก และไม่เคยรูส ้ ก ึ ง่ ำ ยสั ก นิ ด ที่ ต่ อ ให้ ตื่ น เช้ ำ ก็ แ ล้ ว แต่ ยั ง ต้ อ งมำเสี ย เวลำยื น คอย รถไฟฟ้ ำ ซึ่ ง แทบจะไม่ มี พื้ น ที่ ว่ ำ ง ให้ได้แทรกตัว เอำเถอะน่ำ อย่ำงน้อย เช้ำนีค ้ ณ ุ ก็รอบคอบทีจ่ ะคว้ำนิตยสำร มำอ่ำนแก้เซ็งระหว่ำงรอ นีไ่ ง คุณพบแล้วว่ำชำยผูห ้ ล่น ว ลี ย่ อ ย ย ำ ก นั้ น เ ป็ น ลู ก ช ำ ว น ำ จังหวัดยโสธร ก่อนจะเข้ำเมืองกรุง มำเป็นยำม เด็กเสิรฟ ์ ในร้ำนอำหำร พนักงำนโรงแรม แล้วจึงกลับบ้ำน ไปท� ำ นำเพรำะรำยได้ ไ ม่ พ อกิ น ทว่ำชีวต ิ ช่วงหลังของเขำช่ำงน่ำอิจฉำ เสี ย จริ ง ตอนย้ ำ ยรกรำกขึ้ น ไปอยู่ อ� ำ เภอแม่ แ ตง จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เขำดั ง เป็ น พลุ แ ตกในด้ ำ นกำรท� ำ บ้ำนดิน ท�ำโปรเจ็กต์แปลกๆ เกีย ่ วกับ กำรเก็บรักษำเมล็ดพันธุ์ มีท้องนำ และแปลงผั ก ออร์ แ กนิ ก แถมยั ง เปิดศูนย์เรียนรูท ้ ชี่ อ ื่ ว่ำ ‘พันพรรณ’ อะไรนั่นอีก ใช่! คุณชักสนใจมำกขึน ้ เพรำะ เขำมี ชี วิ ต สโลว์ ไ ลฟ์ ใ นแบบที่ คุ ณ ใฝ่ฝน ั ไว้ไม่มผ ี ด ิ คุณยิม ้ กริม ่ เมือ ่ พลิก หน้ ำ กระดำษชื่ น ชมภำพประกอบ บทควำมทีม ่ ด ี น ิ มีหญ้ำ มีบรรยำกำศ สดชืน ่ รืน ่ รมย์ จนเริม ่ อินขึน ้ มำบ้ำง แล้วว่ำวลีนน ั้ น่ำจะเป็นเรือ ่ งทีถ ่ ก ู ต้อง ที่ สุ ด แต่ ก่ อ นจะได้ ท� ำ ควำมเข้ ำ ใจ คุ ณ เร่ ง รี บ สำวเท้ ำ ขึ้ น รถไฟฟ้ ำ คั น ใหม่ รั้ น กำงนิ ต ยสำรในซอก แคบๆ ริ ม ประตู แล้ ว ก้ ม ลงอ่ ำ น บทสั ม ภำษณ์ มุ ม มองควำมคิ ด เกี่ ย วกั บ วิ ถี ชี วิ ต อั น เรี ย บง่ ำ ยของ เขำ มันออกข�ำขืน ่ เล็กน้อย แต่กช ็ ว่ ย จุดประกำยให้เห็นว่ำวิถีสโลว์ไลฟ์ อยู่ไม่ไกลเกินเอื้อมเสียทีเดียว

คุณากร นักเขียนอิสระ

กรินทร์ มงคลพันธ์ ช่างภาพอิสระ

issue 587 22 APr 2019


11 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin


12 issue 587 22 APr 2019

When SloW life fo olS you สโลว์ ไ ลฟ์ ใ นมุ ม มองของคุ ณ คื อ วิถช ี ว ี ต ิ แบบไหน

ส�ำหรับผม คือกำรที่เรำท�ำอะไร ด้วยตัวเองมำกขึน้ เช่น ไปเก็บผักมำท�ำ อำหำรแทนซือ้ อำหำรปรุงส�ำเร็จ หรือถ้ำ ไม่ท�ำเองแต่เรียนรู้ที่จะท�ำควำมเข้ำใจ กระบวนกำรของอำหำรก่ อ นจะป้ อ น เข้ำปำก รูว้ ำ่ ใครเป็นคนปลูก ปลูกทีไ่ หน ปลูกอย่ำงไร และน�ำมำปรุงเป็นอำหำรได้ อย่ำงไร แบบนีก้ ถ็ อื เป็นสโลว์ไลฟ์ ซึง่ คุณค่ำ ของมั น คื อ ท� ำ ให้ ชี วิ ต ของเรำทุ ก ขณะ เกิดกำรเรียนรู้ในสิ่งรอบตัวเพิ่มมำกขึ้น รวมถึงบริโภคทุกอย่ำงด้วยควำมเข้ำใจ ไม่ใช่อยำกได้อะไรก็ใช้เงินซือ้ หมด แบบนี้ เป็นวิถีชีวิตที่เร่งรีบนะ เร่งรีบแทบตำย กว่ำจะได้เงินมำซือ้ ใช่ไหม ท�าไมคนเราต้องเร่งรีบแทบตายเพือ ่ หาเงินมาใช้จา่ ยกับการได้มช ี วี ต ิ ช้าๆ

มันเป็นมำยำ เป็นกำรหลอกลวง ที่ยำวนำนของระบบทุนนิยมที่บอกว่ำ ถ้ำคุณมีเงินแล้วคุณจะมีอสิ รภำพ มีชวี ติ สุขสบำย หำกไม่มีเงินคือจนและยำก ล�ำบำก ฉะนัน้ ชีวติ สบำยในแบบทีท่ นุ นิยม พยำยำมสอนให้ ทุ ก คนเชื่ อ คื อ ชี วิ ต ที่ ไม่ตอ้ งท�ำอะไร สัง่ อย่ำงเดียว ซือ้ อย่ำงเดียว ซึง่ ในควำมเป็นจริงมันตรงกันข้ำม เพรำะ กำรใช้เงินซือ้ อำจได้สงิ่ ทีต่ อ้ งกำรรวดเร็ว แต่เรำต้องสูญเสียชีวิตขณะขวนขวำย เพื่อเงินไปเยอะมำก ชีวิตเร่งรีบจึงเป็น ชีวิตที่เชื่องช้ำและยำวนำน เพรำะกว่ำ บำงคนจะได้เงิน 50 บำท มำสัง่ อำหำร จำนหนึง่ กินแค่ 15 นำที เขำต้องท�ำงำน แลกถึ ง ครึ่ ง วั น บ้ ำ งสู ญ เสี ย ชี วิ ต ไป หนึง่ เดือนกว่ำจะได้เงินสัก 10,000 บำท มำใช้จ่ำยเพียงไม่กี่นำที เวลำที่เสียไป ตรงนั้ น ท� ำ ให้ เ ขำขำดโอกำสที่ จ ะได้ เพลิด เพลิน กับ ชีวิต อยู ่ กับ ครอบครัว หรือเรียนรูเ้ กีย่ วกับตัวเอง นีค่ อื ภำพลวงตำ ทีท่ นุ นิยมล้ำงสมองเรำมำตลอด มันท�ำให้ คนเข้ำใจว่ำถ้ำอยำกใช้ชีวิตผ่อนคลำย สบำยๆ ช้ำๆ คุณต้องมีเงินก่อนนะ ส�าหรับคุณ เชียงใหม่เป็นเมืองทีม ่ ี วิถช ี ว ี ต ิ เนิบช้าแบบทีเ่ ขาว่าจริงไหม

ไม่ใช่เลย เชียงใหม่เป็นเมืองที่ คนท�ำงำนหนักมำก ยกตัวอย่ำงเกษตรกร ทำงภำคอีสำนเนีย่ ท�ำกำรเกษตรแค่ปลี ะ ครัง้ แต่เกษตรกรเชียงใหม่ทำ� มำกกว่ำ 3 ครัง้ เพรำะทีน่ มี่ รี ะบบชลประทำนสะดวกสบำย ปลูกข้ำวเสร็จก็ปลูกกระเทียม ปลูกหอม จำกนั้นลงข้ำวโพด พอพ้นฤดูเก็บเกี่ยว ก็เวียนปลูกข้ำวต่อ แทบไม่มเี วลำได้พกั นี่คือวิถีชีวิตของเกษตรกรส่วนมำกใน เชียงใหม่ เพรำะถ้ำพวกเขำไม่ทำ� อย่ำงนี้ ก็ต้องไปประกอบอำชีพรับจ้ำงในเมือง ดังนัน้ มันจึงเป็นชีวติ ทีเ่ ร่งรีบมำก เช่นเดียว กับภำพทีค่ นภำยนอกมองมำแล้วเห็นว่ำ

เชียงใหม่เป็นเมืองชิลๆ ผ่ำนกิจวัตรของ ชำวเขำทีส่ ะพำยกระบุงเด็ดใบชำยำมเช้ำ หรือเก็บเมล็ดกำแฟบนยอดดอยอำกำศดี นัน้ ก็ไม่ได้สโลว์ไลฟ์อย่ำงทีค่ ดิ เนือ่ งจำก ชีวิตเหล่ำนั้นต้องดิ้นรนมำกเพื่อท�ำงำน ตำมออร์เดอร์ แสดงว่าการมีชวี ต ิ เรียบง่ายไม่ได้ขน ึ้ อยู่ กับว่าจะต้องอาศัยในชนบท

สโลว์ไลฟ์เกิดได้ทกุ ที่ คนในเมือง ก็ใช้ชวี ติ สโลว์ไลฟ์ได้โดยกำรเริม่ เชือ่ มต่อ กับคนชนบท อำจจะรวมตัวกันติดต่อกับ กลุม่ เกษตรอินทรียใ์ ห้เขำส่งวัตถุดบิ อำทิ ข้ำว พืชผักผลไม้ หรือไข่ไก่ ซึง่ ก็จะได้รบั ทัง้ ของทีส่ ดใหม่และรูถ้ งึ ทีม่ ำของอำหำร จำกนั้นก็น�ำมำปรุงกินแทนกำรใช้เงิน ไปซื้ออำหำรจำนด่วน นอกจำกนี้เขำ สำมำรถใช้เวลำแค่ปลี ะ 2 ชัว่ โมง เพือ่ ท�ำ สบู่หรือแชมพูใช้เอง 2 ปี ซึ่งช่วยลด กำรใช้ ข วดพลำสติ ก ลดค่ ำ ใช้ จ ่ ำ ย ที่ไม่จ�ำเป็น รวมถึงท�ำให้เข้ำใจว่ำแชมพู ของเขำมำจำกไหน มะกรูด ประค�ำดีควำย หรืออัญชัน มันท�ำให้เกิดควำมเข้ำใจว่ำ สิง่ ทีเ่ ขำใช้นนั้ ปลอดภัยและดีตอ่ สุขภำพ ของตัวเอง คนในเมื อ งส่ ว นใหญ่ เ ป็ น มนุ ษ ย์ เงินเดือน บ้างหาเช้ากินค�า่ ท�างาน อย่ า งต�่ า 8 ชั่ ว โมงต่ อ วั น ถ้ า ต้ อ ง ท� า ตามแบบที่ คุ ณ ว่ า มานั้ น ชี วิ ต ของเขาจะหนักหนาเกินไปไหม

หนักมำกขึน้

แล้วจะเป็นไปได้อย่างไร

มันขึ้นอยู่กับกำรออกแบบเวลำ ของแต่ละคน เพรำะว่ำทุกวันนีแ้ ม้คนจะ ท�ำงำนหนัก ทว่ำเขำใช้เวลำกับโทรศัพท์ มือถือมำกกว่ำท�ำงำนด้วยซ�ำ้ ไป ใช่ไหม ฉะนั้น ถ้ำเรำแบ่งเวลำจำกสื่อโซเชียลฯ มำสักชั่วโมง เรำจะสำมำรถท�ำอะไรได้ อีกหลำยอย่ำง หรือสำมำรถท�ำอำหำร กินเองได้เลย เพรำะถ้ำเรำเข้ำใจมันจริงๆ ใช้เวลำไม่ถงึ ครึง่ ชัว่ โมงก็ได้กนิ อำหำรทีด่ ี ดังนั้น ทุกคนจึงมีเวลำเหลือเฟือแต่แค่ ไม่รจู้ กั กำรจัดล�ำดับควำมส�ำคัญของเวลำ คุณเคยกล่าวท�านองว่า ‘ชีวิตยาก แสดงว่ามันผิด’ แล้วคิดอย่างไรกับ คนสู ญ เสี ย โอกาสต่ า งๆ ในชี วิ ต ไปกั บ การเร่ ง รี บ ท� า งาน เก็ บ เงิ น เพื่ อ ย้ า ยมาตั้ ง รกรากใหม่ แ ละ ใช้ชวี ต ิ อย่างเรียบง่ายในต่างจังหวัด

จริงๆ แล้วมันมีทำงออกหลำยทำง มำกในกำรเริ่ ม ต้ น ชี วิ ต ตำมที่ ตั ว เอง ต้องกำร ซึ่งสิ่งส�ำคัญที่สุดคือต้องถำม ตัวเองให้ชดั เจนก่อนว่ำชอบอะไร ถ้ำเจอ และมัน่ ใจก็ทำ� สิง่ นัน้ แหละ สิง่ ทีเ่ รำชอบ คือหัวใจหลัก เพียงหลำยคนอำจจะมอง ไม่เห็นจึงกลับไปท�ำงำนในระบบตำมเดิม


13 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin

Tough life iS Wrong

ส่ ว นใครที่ ยื น ยั น ชั ด เจนว่ ำ ชอบ กำรเกษตรและพร้อมทีจ่ ะมำอยูแ่ บบนีจ้ ริงๆ ก็มำเลย ไม่ตอ้ งกังวล เพรำะกำรทีเ่ รำชอบ จะท�ำให้เรำสนุกเพลิดเพลินกับกำรท�ำงำน และทุม่ เวลำกับมันได้อย่ำงเต็มที่ แค่มำหำ ที่ทำงตรงไหนก็ได้สักครึ่งไร่แล้วเริ่มลงมือ จำกตรงนั้น อย่ำงน้อยๆ เมื่อได้ผลผลิต เรำก็ไม่จ�ำเป็นต้องซื้ออำหำร ครึ่งไร่เนี่ย ถ้ำเรำออกแบบให้ดกี นิ ยังไงก็ไม่หมด ยังไง ก็ต้องขำย พอขำยปุ๊บทุกบำทคือเงินเก็บ เพรำะเรำไม่ได้ลงทุน เรำลงแรงเป็นหลัก ได้วนั ละ 200-300 บำท เป็นเงินเก็บก็ยงั ดี กว่ำได้เงินเดือน เดือนละ 20,000 บำท แต่ไม่มเี งินเก็บเลย ถูกไหม แล้วค่อยสะสม เงินจำกตรงนัน้ แหละมำหำท�ำเลใหม่ในแบบ ทีเ่ รำวำงเป้ำหมำยกำรใช้ชวี ติ นอกจากความชอบแล้ว ยังมีปัจจัย ส�าคัญอืน ่ ๆ อีกไหมทีต ่ อ ้ งค�านึง

ควำมเข้ำใจในสิ่งที่เรำก�ำลังจะท�ำ อย่ำงถ้ำเรำจะมำท�ำเกษตร เรำควรรูจ้ กั เรือ่ ง ดิน น�้ำ พืช และสัตว์ ถ้ำเรำเรียนรู้เรื่อง เหล่ำนี้ชัดเจน ไปอยู่ที่ไหนก็สำมำรถท�ำ กำรเกษตรและสร้ำงอำหำรได้ทกุ ที่ แต่ถำ้ เรำไม่มคี วำมเข้ำใจเลย มำเริม่ นับหนึง่ ใหม่ ก็อำจช้ำในกำรเริม่ ต้น ฉะนัน้ จึงอยำกให้ ลองไปเรียนรู้ดูก่อน อำจขออำสำไปช่วย ชำวบ้ำนท�ำสวนท�ำไร่เพื่อดูว่ำเรำไหวไหม แต่สงิ่ ทีอ่ ยำกเตือนก็คอื อย่ำคิดว่ำจะเอำเงิน มำท�ำกำรเกษตร เพรำะกำรเกษตรถ้ำเริม่ จำกเงิน จบทุกรำย

“มันเป็นมายา เป็นการหลอกลวงทีย ่ าวนานของระบบทุนนิยมทีบ ่ อกว่า ถ้าคุณมีเงินแล้วคุณจะมีอส ิ รภาพ มีชวี ต ิ สุขสบาย หากไม่มเี งินคือจนและยากล�าบาก ฉะนัน ้ ชีวต ิ สบายในแบบทีท ่ น ุ นิยมพยายามสอนให้ทก ุ คนเชือ ่ คือชีวต ิ ทีไ่ ม่ตอ ้ งท�าอะไร สั่งอย่างเดียว ซื้ออย่างเดียว ซึ่งในความเป็นจริงมันตรงกันข้าม”

เกษตรกรรมคือรากของชีวต ิ ทีม ่ น ั่ คงและสุขสบาย เราจึง มีอิสรภาพที่จะท�าอะไรก็ได้ หลังจากนัน ้ ซึง่ มันไม่เหมือนกับ การมีเงินมาก เพราะการมี เงินมากท�าให้เราขาดอิสรภาพ โดยรู้สึกว่ามีอิสรภาพ

อะไรคือ เหตุที่ท�าให้การเกษตรที่เ ริ่ม ต้น ด้วยเงินไม่ประสบผลส�าเร็จ

เมื่อไหร่ก็ตำมที่ลงทุนด้ำนกำรเกษตร มันจะได้ไม่คมุ้ เลย เนือ่ งจำกทุกอย่ำงรำคำแพงขึน้ ได้ ห มดตำมอั ต รำเงิ น เฟ้ อ ยกเว้ น ผลผลิ ต ทำงเกษตรที่รำคำถูกยังไงก็ถูกอย่ำงนั้นเหมือน เมือ่ 30 ปีทแี่ ล้ว เหตุนคี้ นทีเ่ คยท�ำธุรกิจค้ำขำยมำ เขำจะรู้เลยว่ำกำรเกษตรคือสิ่งที่ไม่ควรลงทุน แล้ ว การเกษตรยั ง จะเวิ ร์ ก อยู่ ไ หมในยุ ค ทีอ ่ ะไรๆ ก็ปรับตัวแพงขึน ้

มั น เวิ ร ์ ก ทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย ตรำบใดที่ เ รำ ไม่ใช้ควำมคิดแบบทุนนิยม ถ้ำเรำไม่คดิ ว่ำกำรเกษตรคือธุรกิจหรืออำชีพ แต่คิดว่ำคือวิถีชีวิต มันเวิรก์ ตลอดเวลำ เกษตรคือกำรใช้ชวี ติ ตำมปกติ ตืน่ ก่อนพระอำทิตย์ขนึ้ มำท�ำงำน ร้อนก็หยุดไป หำอย่ำงอื่นท�ำ ค�่ำลงเย็นย�่ำก็มำลุยกันต่อ เรำ ก็จะมีพืชพันธุ์ธัญญำหำรโผล่ขึ้นมำหล่อเลี้ยง ชี วิ ต ให้ มี กิ น มี อ ยู ่ กิ น ไม่ ห มดก็ แ จกจ่ ำ ยให้ คนอื่นบ้ำง เหลือแล้วค่อยขำย ซึ่งกำรขำยคือ ผลพลอยได้ ไม่ใช่เป้ำหมำย ฉะนั้น กำรเกษตร จะต้องคิดให้ต่ำงจำกวิธีคิดแบบปัจจุบันที่มอง ว่ำกำรเกษตรต้องท�ำก�ำไรสูงสุด ถ้ำเรำคิดแบบนี้ อยู่ได้ทุกที่ครับ เหมำะกับทุกสถำนกำรณ์เลย การเกษตรที่ ม องข้ า มเรื่ อ งการลงทุ น หมายความว่าการเกษตรในวิถีของคุณ คือการพึง่ เงินน้อยทีส ่ ด ุ

ใช่ๆ พึ่งระบบเงินให้น้อยลง พึ่งตนเอง ให้มำกขึ้น แต่ไม่ได้หมำยควำมว่ำไม่ใช้เลย เรำต้องเข้ำใจเงินอีกแบบหนึง่ เงินในควำมหมำย ของคนทัว่ ไปคือควำมมัน่ คง แต่เงินในควำมหมำย

ของกำรพึ่ ง ตนเองเป็ น แค่ เ ครื่ อ งมื อ ในกำรแลกเปลี่ ย นเพื่ อ ให้ เ กิ ด ควำมสะดวกสบำย และท�ำให้ชีวิตง่ำยขึ้น ฉะนั้น เรำก็ท�ำงำนหำเงิน ใช้ เ หมื อ นคนทั่ ว ไป แต่ เ รำไม่ ส ะสมเงิ น เพื่ อ ควำมมั่ น คง นี่ คื อ ควำมแตกต่ ำ ง เพรำะเรำ มองว่ำเงินไม่ได้มีควำมมั่นคง เปรียบเป็นเพียง เครื่องมือจ�ำเป็นเช่นจอบและเสียมที่ใช้ขุดดิน แต่ไม่ใช่ต้นกล้ำของชีวิต จึงไม่ได้มีควำมกังวล เรื่องเงินเลย แต่ยงั มีเกษตรกรรายย่อยซึง่ เป็นส่วนใหญ่ ในสั ง คมที่ ยั ง ต้ อ งเร่ ง ท� า ผลผลิ ต ด้ ว ยมี หนีส ้ น ิ และภาระใช้จา่ ยจ�านวนมาก คุณมองว่า ทางเลือกหรือทางรอดของพวกเขาคืออะไร

มันเป็นกับดักทำงควำมคิดทีว่ ำ่ ถ้ำเรำจะ หำเงินไปใช้หนี้ เรำต้องมีเงินลงทุนเยอะๆ เพื่อ จะได้ผลผลิตจ�ำนวนมำกและรำยได้สูง ฉะนั้น เกษตรกรที่ ท� ำ กำรเกษตรโดยมุ ่ ง ลงทุ น เช่ น นี้ เขำจะติดอยูใ่ นวงจรควำมคิดว่ำ ถ้ำไม่มเี งินก็ทำ� อะไรไม่ได้ แล้วก็กลัวกำรเปลีย่ นแปลง ทัง้ ๆ ทีม่ นั เสี่ ย งและมี โ อกำสขำดทุ น สู ง มำกไม่ ต ่ ำ งจำก กำรซื้อหวย เพรำะว่ำปลูกข้ำวสองสำมปีอำจได้ รำคำดีสักหนหนึ่ง หลังจำกนั้นรำคำก็ตกลงไป ลงอีกสองสำมปี วนเวียนซ�้ำๆ ชำวนำจึงเป็นหนี้ ตลอด ยิ่งลงทุนหนี้สินก็ยิ่งพอกพูน ทำงออก ของวงจรนี้คือควรเลิก ปล่อยเลยไม่ต้องสน แล้ว ลองมำท�ำเกษตรแบบพึ่งตนเองดู อำจท�ำใน พืน้ ทีเ่ ล็กๆ ก่อนก็ได้ อย่ำงน้อยก็ไม่ตอ้ งซือ้ อำหำร


14 issue 587 22 APr 2019

culTivaTing our garden

เริม ่ ต้นในพืน ้ ทีเ่ ล็กๆ ของเราก่อน

ใช่ เล็กที่สุด กำรเกษตรไม่ควรท�ำมำก เพรำะมันจะ เหนือ่ ยมำกและลงทุนสูง แต่ถำ้ ท�ำเล็กๆ มันจะได้ผลผลิตมำก ‘ท�ำน้อยได้มำก ท�ำมำกได้น้อย’ อันนี้คือสูตรที่ต้องจ�ำหำกจะ ท�ำกำรเกษตร ให้เน้นลงแรงเป็นหลักแล้วผลผลิตมันจะสูง อย่ำงผมปีแรกท�ำแค่ครึ่งไร่ พอปีต่อมำเริ่มมีสระน�้ำและ ขยำยแปลงผักก็ประมำณไร่กว่ำ ท�ำอยู่ 3 ปี ผมมีเงินเก็บ 4 แสนบำท เป็นกำรเก็บเงินที่ง่ำยมำก แต่มีข้อแม้ว่ำต้องเป็น เกษตรอินทรีย์ ต้องปลูกหลำกหลำย และต้องขำยในพื้นถิ่น ห้ำมผลิตเพือ่ ส่งขำย ซึง่ สิง่ นีเ้ องทีท่ ำ� ให้ผมค้นพบว่ำกำรเกษตร ท�ำให้เรำก�ำหนดรำยได้ของตัวเองได้ชัดเจนและง่ำยที่สุด อีกทั้งรู้สึกถึงอิสรภำพแท้จริง รู้สึกถึงควำมมั่นคงภำยใน เพรำะเมื่อมันเลี้ยงเรำให้มีอยู่มีกินแล้วก็มีเงินใช้ เรำจะไร้ ซึ่งควำมกลัว อยำกท�ำอะไรก็สำมำรถท�ำได้ตำมต้องกำร ด้วยควำมเพลิดเพลินโดยไม่กลัวว่ำจะขำดทุนหรือล้มเหลว เกษตรกรรมอุม ้ ชูชว ี ต ิ ให้มท ี างเลือกมากขึน ้

เกษตรกรรมคือ รำกของชี วิ ต ที่ มั่ น คงและสุ ข สบำย เรำจึงมีอสิ รภำพทีจ่ ะท�ำอะไรก็ได้หลังจำกนัน้ ซึง่ มันไม่เหมือน กับกำรมีเงินมำก เพรำะกำรมีเงินมำกท�ำให้เรำขำดอิสรภำพ โดยรูส้ กึ ว่ำมีอสิ รภำพ แน่นอน เรำสำมำรถไปไหนก็ได้ ซือ้ อะไร ก็ได้ แต่มันไม่ใช่อิสรภำพของเรำ มันเป็นอิสรภำพของเงิน ซึ่งเงินนั้นจะเฟ้อ จะฝืด หรือจะจำกเรำไปเมื่อไหร่ก็ได้ ดังนั้น อิสรภำพที่แท้จริงต้องเกิดจำกตัวเรำไม่ใช่สิ่งภำยนอก ไม่ว่ำ อยูท่ ไี่ หนเรำก็ยงั ช่วยเหลือตัวเองได้เสมอ นัน่ แหละคืออิสรภำพ และถ้ำเรำเข้ำใจประเด็นนี้ก็จะท�ำให้เข้ำใจค�ำว่ำชีวิตแบบ สโลว์ไลฟ์ ถ้าคนที่ไม่ชอบเกษตรกรรมล่ะ เขาพอมีทางเลือกอื่น บ้างไหม

สิ่งที่เรำชอบคือหัวใจส�ำคัญนะ ไม่จ�ำเป็นต้องเป็น เกษตรกรก็ได้ ชอบศิลปะก็ท�ำงำนศิลปะ แต่อย่ำงที่บอกว่ำ ต้องเชื่อมต่อกับกลุ่มเกษตรกรเพื่อพึ่งพำอำศัยซึ่งกันและกัน กำรพึ่งตนเองนั้นไม่ได้หมำยควำมว่ำเรำจะต้องท�ำทุกอย่ำง เองทั้งหมด ทว่ำยังหมำยถึงกำรพึ่งกันเองด้วย เพียงแต่ไม่พึ่ง ระบบที่ใหญ่โตเกินไป อำจเลือกเอำเฉพำะในชุมชนหรือใน

การเกษตรไม่ ค วรท� า มาก เพราะมั น จะเหนื่ อ ยมาก และลงทุนสูง แต่ถา้ ท�าเล็กๆ มันจะได้ผลผลิตมาก ‘ท�าน้อย ได้มาก ท�ามากได้นอ้ ย’


15 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin

พืน้ ทีข่ องเรำ ฉะนัน้ เรำไม่จำ� เป็นต้องปลูกข้ำวเอง ท�ำซอสเอง ท�ำอะไรเองทัง้ หมด แค่ทำ� สิง่ ทีเ่ รำชอบแล้วก็อดุ หนุนแลกเปลีย่ น ซึ่งกันและกัน เพรำะมนุ ษ ย์ เ ป็ น สั ต ว์ สั ง คม เรำจะอยู ่ โ ดดเดี่ ย ว ตำมทีท่ นุ นิยมต้องกำรให้เรำเป็นมันเป็นไปไม่ได้ ระบบทุนนิยม ต้องกำรแยกคนออกจำกกันและออกจำกทุกสิ่งทุกอย่ำง ทุกวันนี้คนก็เลยรู้สึกเหงำ รู้สึกโดดเดี่ยว รู้สึกว่ำไม่จ�ำเป็น ต้องอยู่กับคนอื่น เนื่องจำกเรำถูกสอนมำให้อยู่คนเดียว ดังนั้น กำรกลับไปเชื่อมต่อกันอีกครั้งจะท�ำให้มนุษย์กลับมำ เป็นสัตว์ที่สมบูรณ์แล้วชีวิตมันก็จะง่ำยขึ้น ในฐานะเกษตรกร คุณมีความคิดเห็นอย่างไรต่อกรณี การผ่านมติให้ใช้สารเคมีพาราควอตต่อไปได้อก ี 2 ปี

นี่ก็เป็นเป้ำหมำยหลักของระบบทุนนิยม เพรำะทุน ต้องกำรจะท�ำให้คนอ่อนแอทีส่ ดุ ทรุดโทรมทีส่ ดุ มีครอบครัว ที่แตกสลำยมำกที่สุด ซึ่งสิ่งที่ทุนกลัวที่สุดคือ ควำมสุข ควำมรัก และอิสรภำพ ฉะนัน้ ระบบนีจ้ งึ ไม่ได้สนใจว่ำจะเกิด อะไรขึ้นกับคุณ มันคอยบงกำรให้ท�ำงำนหนักจนไม่มีเวลำ ได้เรียนรู้ ให้เจ็บป่วยเพือ่ จะได้ไม่มเี วลำลืมตำอ้ำปำก กำรทีย่ งั ไม่แบนพำรำควอตท�ำให้เกิดควำมเสียหำยสูงมำก ทัง้ ในระดับ สังคม สุขภำพ หรือสิง่ แวดล้อม มีเกษตรกรเจ็บป่วยและเสียชีวติ เพิ่มขึ้นจำกสำรเคมีอันตรำยชนิดนี้ แต่ทุนสนแค่ว่ำจะท�ำ อย่ำงไรให้เกิดก�ำไรสูงสุด ส่วนรัฐบำลที่มีอยู่ก็ไม่ใช่รัฐบำล ของประชำชน เป็นเพียงตัวแทนของภำคทุนนิยม รับใช้ระบบ ทุนนิยมเป็นหลัก ฉะนั้น กฎหมำยที่ออกมำจึงไม่ได้เอื้อต่อ กำรด�ำรงอยู่ของคนตัวเล็กตัวน้อย เกษตรกรเป็นหนึ่งใน คนเหล่ำนัน้ พวกเขำไม่มที ำงออก และรัฐก็ไม่เคยมองเห็นว่ำ คนที่ก�ำลังถูกบั่นทอนชีวิตลงช้ำๆ เขำต้องกำรทำงออกไหม

“ ทุ น เ นี่ ย ต้ อ ง ก า ร จะท� า ให้ ค นอ่ อ นแอ ที่สุด ทรุดโทรมที่สุด มี ค รอบครั ว ที่ แ ตกสลายมากที่ สุ ด ซึ่ ง สิ่งที่ทุนกลัวที่สุดคือ ความสุ ข ความรั ก และอิสรภาพ ฉะนั้น ระบบนี้จึงไม่ได้สนใจ ว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับ คุณ มันคอยบงการ ใ ห้ ท� า ง า น ห นั ก จ น ไม่มีเวลาได้เรียนรู้”

การบริโภคน้อยใช้น้อยหมายความว่าเราพึ่งตัวเอง ได้มากขึน ้

ถูกต้อง คนที่บริโภคน้อยใช้น้อย ใช้ของเท่ำที่จ�ำเป็น และท�ำเองเป็นส่วนมำก คือคนที่อยู่อย่ำงพึ่งตนเอง ซึ่งมี อิสรภำพและควำมสุข ตรงกันข้ำมกับคนทีไ่ ม่มอี สิ รภำพและ ไม่มีควำมสุข เขำจะรู้สึกว่ำตัวเองด้อยจึงต้องขวนขวำย บริโภค ใช้เงินเพื่อแสวงหำควำมภำคภูมิใจด้วยกำรหำอะไร มำหลอกตัวเองว่ำถ้ำมีอนั นีแ้ ล้วจะดูดขี น้ึ จะมีควำมสุขมำกขึน้ คุ ณ คิ ด ว่ า อะไรคื อ แรงจู ง ใจที่ ท� า ให้ ค นรุ่ น ใหม่ ทั้ ง ชาวไทยและชาวต่างชาติ ซึง่ บางคนก็ถอ ื ได้วา่ ประสบ ความส� า เร็ จ ในชี วิ ต แล้ ว สนใจมาเข้ า คอร์ ส เรี ย นรู้ การใช้ชว ี ต ิ แบบพึง่ ตัวเองทีส ่ วนพันพรรณ

พวกเขาศึกษาเรียนรูอ ้ ะไรบ้าง

ที่นี่มีคอร์สหลักๆ อยู่ 3 คอร์ส คือ ‘คอร์สพึ่งตนเอง’ เป็นกำรปูพื้นฐำนให้ได้ สัมผัสและท�ำควำมเข้ำใจในกำรใช้ชวี ติ แบบ พึ่งตนเอง ‘คอร์สปักหลัก’ จะเป็นเรื่องของ กำรออกแบบจัดสรรพื้นที่ให้เรำมีอยู่มีกิน และเลี้ยงตัวเองได้อย่ำงมั่นคง สุดท้ำยคือ ‘คอร์สเอำจริง’ ทีจ่ ะเป็นกำรลงมือท�ำส�ำหรับ คนที่อยำกจะกลับไปท�ำจริงๆ มีทั้งสร้ำง บ้ำนดิน ท�ำปุ๋ยหมัก ปลูกพืชผัก ท�ำอำหำร ท�ำซอส ท�ำสบู่ แชมพู และของใช้เองต่ำงๆ นำนำ มี อ ะไรเปลี่ ย นแปลงไหม มี ทิ ศ ทาง ในอนาคตอย่างไร ส�าหรับพันพรรณ ในวั น นี้ ที่ ก ลายเป็ น ที่ รู้ จั ก ในวงกว้ า ง มากขึน ้

ท�าไมความสุข ความรัก และอิสรภาพ จึงเป็นสิ่งที่ ทุนนิยมกลัว

เพรำะมันอยูค่ นละฝัง่ และเป็นอุปสรรคมำก เนือ่ งจำก พอคนรักกันก็จะช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ประกันชีวิตจะขำย ไม่ได้ หรือโรงพยำบำลก็อำจหดหูล่ งเพรำะทุกคนห่วงใยดูแล เอำใจใส่กันมำกขึ้น ส่วนควำมสุขนั้นมีผลให้คนบริโภคน้อย ใช้น้อย ซึ่งท�ำให้เศรษฐกิจไม่โต GDP ไม่พุ่ง ดังนัน้ จะเห็นว่ำนักเศรษฐศำสตร์ทงั้ หลำยจึงพยำยำม ที่จะเปลี่ยนวิธีคิดของคนใหม่ ด้วยกำรบอกว่ำถ้ำคนบริโภค น้อยแสดงว่ำคนไม่มีควำมสุข แต่ถ้ำคนใช้จ่ำยกันเยอะ นั่นหมำยควำมว่ำคนส่วนใหญ่ก�ำลังมีควำมสุข ซึ่งในควำมเป็นจริงแล้วมันตรงกันข้ำม ใช่ไหม เพรำะถ้ำคนจ่ำยเงินมำก มันสะท้อนให้เห็นว่ำจะต้องมีควำมทุกข์มำกขึ้น ท�ำงำน หนักขึน้ เครียดมำกขึน้ ส่งผลให้สขุ ภำพแย่ลง หรือแม้กระทัง่ ครอบครัวอำจแตกสลำยเพิ่มขึ้น

สิ่งนี้มัน สะท้ อ นถึง ภำวะของคนที่ ไปถึงจุดสูงสุดในระบบทุนแล้วรู้สึกว่ำมัน ไม่มีทำงไปต่ออีกแล้ว เนื่องจำกจุดสูงสุด ของทุนนิยมนั้นได้น�ำพำพวกเขำให้หนีห่ำง ออกจำกธรรมชำติไปไกลสุดกู่ จนรูส้ กึ โดดเดีย่ ว ไม่มั่นคง เหนื่อยหน่ำยและโหยหำอยำกจะ กลับมำมีชวี ติ จึงมองหำอะไรทีม่ นั เป็นพืน้ ฐำน อย่ำงธรรมชำติ มำเพื่อเรียนรู้ชีวิตอีกด้ำน มำมีเพื่อนมำกขึ้น โดยเพื่อนในที่นี้ไม่ใช่แค่ เฉพำะกับคน แต่ยังหมำยถึงจุลินทรีย์ มด แมลง นก หนู รวมถึงพืชพันธุธ์ ญ ั ญำหำรด้วย เหล่ ำ นี้ ช ่ ว ยเปิ ด มุ ม มองให้ เ ห็ น ถึ ง ควำมหลำกหลำยอันอุดมสมบูรณ์ ซึง่ ในชีวติ ของ คนทีป่ ระสบควำมส�ำเร็จทัว่ ๆ ไป แทบไม่เคย ได้ สั ม ผั ส เพรำะหยิ บ จั บ แต่ สิ่ ง ที่ แ ปรรู ป มำแล้ว เลยท�ำให้มีคนหลำยหลำกอำชีพ อำทิ ผู้พิพำกษำ แอร์โฮสเตส หมอ หรือ วิศวกร มำที่นี่เยอะมำก รวมถึงเด็กน้อย อำยุเพียง 11 ขวบ และคนพิกำรนั่งวีลแชร์ ข้ ำ มน�้ ำ ข้ ำ มทะเลมำจำกต่ ำ งประเทศ ซึง่ ท�ำให้เห็นว่ำผูค้ นบนโลกนีพ้ บเจอทำงตัน ในชีวิตเยอะมำก

“โมเมนต์ทด ี่ ท ี ส ี่ ด ุ คือ ช่วงทีเ่ ราไม่แคร์แล้ว ว่าคนเข้าใจในสิง่ ทีเ่ รา ร้องออกไปหรือเปล่า อาจจะสือ ่ สารไม่เข้าใจ ผ่านภาษา แต่มีการเชื่ อ มต่ อ ในการเป็ น มนุษย์คนหนึ่งกับอีก คนหนึ่ ง ที่ ก� า ลั ง ส่ ง พลังงานดีๆ ให้กัน”

ไม่ ค ่ อ ยเปลี่ ย นแปลงเท่ ำ ไหร่ น ะ เพรำะพันพรรณเป็นกลุม่ ทีต่ งั้ ขึน้ มำเฉพำะกิจ โดยเป้ำหมำยหลักก็คือกำรเก็บเมล็ดพันธุ์ เป้ ำ หมำยรองคื อ เป็ น สถำนที่ เ รี ย นรู ้ เ พื่ อ กำรพึ่ ง ตนเอง ฉะนั้ น มั น ก็ ท� ำ หน้ ำ ที่ ไ ป ตำมปกติของมัน มีทั้งคนมำแล้วจำกไป และคนที่อยู่ยำว ใครมั่นใจแล้วก็ออกไปท�ำ ของตั ว เอง ส่ ว นใครยั ง ไม่ มั่น ใจก็อ ยู ่ ต ่ อ จนคิดว่ำตนเองพร้อม ที่นี่ก็เลยกลำยเป็น เหมือนวัด เหมือนโรงเรียน หรืออะไรสักอย่ำง ซึ่ ง มั น ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งเติ บ โต เพรำะเรำ ไม่ต้องกำรเห็นพื้นที่เติบโต แต่ต้องกำรเห็น คนที่มำแล้วเติบโตและได้ออกไปใช้ชีวิต ของตัวเองมำกขึ้นๆ นอกจากบ่ ม เพาะการใช้ ชี วิ ต แบบ พึง่ ตนเองและเก็บรักษาเมล็ดพันธุพ ์ ช ื พื้ น บ้ า น คุ ณ มี โ ปรเจ็ ก ต์ อื่ น อี ก ไหม ทีก ่ า� ลังวางแผนจะท�าในอนาคต

ตอนนี้งำนเก็บเมล็ดพันธุ์มันใหญ่ มำก ถือว่ำเป็นงำนสุดท้ำยที่ผมจะท�ำใน ชีวติ เลยทีเดียว ฉะนัน้ ในกำรเก็บเมล็ดพันธุ์ จึงเชือ่ มโยงไปถึงกำรสร้ำงกลุม่ สร้ำงเครือข่ำย กำรฝึ ก อบรม ไปจนถึ ง กำรตั้ ง บริ ษั ท ‘ธรรมะธุรกิจ’ ขึ้นมำ ซึ่งบริษัทนี้ก่อตั้งมำ เพื่อสนับสนุนงำนเก็บเมล็ดพันธุ์เป็นหลัก ผ่ำนกำรสร้ำงวงจรใหม่ของชีวิตที่ให้ผู้ผลิต เชื่อมต่อกับผู้บริโภคได้โดยตรง พร้อมให้ คนในวงจรอำหำรมำเป็นครอบครัวเดียวกัน

ใช้เมล็ดพันธุพ์ นื้ บ้ำนเรำเองในกำรเพำะปลูก โดยปรำศจำกสำรเคมี ส่ ง เสริม คนปลู ก ให้มีอยู่มีกินเหลือแล้วค่อยน�ำมำขำยแก่ บริษัท ก่อนที่ทำงบริษัทจะน�ำไปจ�ำหน่ำย สู่ผู้บริโภคในรำคำที่เป็นธรรม งานเก็ บ เมล็ ด พั น ธุ์ เ ป็ น งานใหญ่ อย่างไร

เมล็ดพันธุค์ อื อำหำร อำหำรคือชีวติ แต่ในปัจจุบนั มีเมล็ดพันธุไ์ ด้สญ ู หำยไปจำก โลกนับไม่ถ้วนและพืชผักที่หลงเหลือให้เรำ ทำนกันอยู่ทุกวันนี้เป็นเพียง 6% เท่ำนั้น จำกที่มนุษย์เคยทำนมำ มันจึงเป็นเรื่อง ที่ยิ่งใหญ่มำกที่อำหำรได้สูญหำยไปเกือบ ร้อยเปอร์เซ็นต์ เป็นวิกฤตใหญ่ที่สุดบนโลก ใบนี้ ทว่ำคนส่วนมำกไม่ค่อยตระหนักถึง เพรำะล้วนถูกตัดขำดจำกอำหำร ถูกฝึกให้ กิ น ไก่ ส ำยพั น ธุ ์ เ ดี ย ว หมู ส ำยพั น ธุ ์ เ ดี ย ว กินผักไม่เกิน 5 ชนิด ซึ่งมันผิดจำกอดีต ที่ผ่ำนมำ ฉะนั้น กำรที่จะฟื้นเมล็ดพันธุ์ให้ มั น กลั บ มำอยู ่ ใ นวิ ถี ชี วิ ต ของคนได้ อี ก จึงไม่ใช่งำนง่ำย เป็นเรื่องที่จะต้องมุ่งมั่น อย่ำงหนักและเชือ่ มกับคนจ�ำนวนมหำศำล มำก จึงนับว่ำเป็นงำนใหญ่ที่สุดที่ผมจะ คิดได้ ปั จ จุ บั น นี้ เ มื่ อ คุ ณ มี ชื่ อ เสี ย งมากขึ้ น ดูเหมือนคุณจะยุง่ ขึน ้ และท�างานเยอะขึน ้ มันท�าให้ชว ี ต ิ ของคุณยากขึน ้ ด้วยไหม

ทุกวันนีช้ วี ติ ผมวุ่นมำก แต่ควำมวุ่น เหล่ำนี้ต่ำงจำกทั่วไปเพรำะมันไม่ใช่งำน กำรที่ผมได้รับเชิญให้ไปบรรยำยหรือร่วม วงเสวนำต่ำงๆ นั้นไม่มีใครจ้ำง กลับกัน ผมยินดีมำกและมองว่ำมันเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ เนือ่ งจำกผมมีเป้ำหมำยหลักคือกำรเก็บรักษำ เมล็ดพันธุพ์ ชื พืน้ บ้ำน ดังนัน้ กำรทีจ่ ะท�ำให้ เมล็ดพันธุ์มันเพิ่มปริมำณและหลำกหลำย ขึน้ ได้มนั ต้องอำศัยคนจ�ำนวนมำก ไม่ใช่แค่ ปลูกผักที่นี่แล้วแช่เก็บไว้ในตู้เย็น เรำต้อง เก็ บ เมล็ ด พั น ธุ ์ ไ ว้ ใ นใจคนด้ ว ย ผมเลย ต้องเดินทำงเพื่อไปปลูกฝังกระบวนกำรนี้ ซึ่งอำจจะดูเหมือนวุ่นวำยสับสน แต่จริงๆ แล้ ว มั น เป็ น ควำมเพลิ ด เพลิ น ของผม เพลิดเพลินจำกกำรได้เห็นก็คนเริม่ เก็บและ แบ่งปันเมล็ดพันธุ์กันมำกขึ้น ถือเป็นความสุขอีกรูปแบบหนึง่ ของคุณ

จริงๆ แล้วผมเป็นคนที่ไม่มีมุมมอง ต่อควำมสุข ไม่สนใจทั้งสุขและทุกข์ เพรำะ มั น คื อ สิ่ ง เดี ย วกั น เพี ย งแต่ ค นละด้ ำ น เหมือนเหรียญ ด้ำนหนึง่ เป็นสุข อีกด้ำนหนึง่ จึงเป็นทุกข์ ต้องกำรหรือไม่ตอ้ งกำรมันก็มำ เดี๋ยวเดียวก็สุข อีกสักพักทุกข์ม ำๆ ไปๆ อยู่อย่ำงนี้ ผมจึงไม่เคยแสวงหำควำมสุข เลย แต่แสวงหำควำมเข้ำใจเป็นหลัก โดย เฉพำะเข้ำใจอำรมณ์ควำมรู้สึกของตัวเอง นี่คือสิ่งส�ำคัญสูงสุดที่ผมทุ่มเท


16 ISSUE 587 22 APR 2019

A MUST E X H I B I T ION

T WI L I GHT Z ONE II BY CHUANG MOOLPIN I T

“แดนสนธยา ทีแรกนึกว่าจะมืดแล้ว พอมันยังสว่างก็แสดงอีกที" ค�ากล่าวถึงงานนิทรรศการ แดนสนธยา 2 โดย อาจารย์ช่วง มูลพินิจ ที่กล่าวถึงงานแสดง ภาพวาดของตัวเองครัง้ นี้ และยังเล่าถึงคอนเซ็ปต์ ของงาน ‘แดนสนธยา’ ไว้น่าสนใจด้วยว่า ตัวเขา ก� า ห น ด เ นื้ อ ห า ข อ ง ง า น ไ ว้ 3 เ รื่ อ ง นั่ น คื อ อริยะกษัตริย์ ศิลปะ และสัจธรรม

"สัจธรรมคือความจริงของธรรมชาติ ความจริง ในการเกิดดับ น�าเสนอผ่านศิลปะ ศิลปะคือการสร้างสรรค์ อริยะกษัตริย์ ผมชอบค�านี้ อริยะคือผู้ทรงบุญชั้นสูง น�าสันติภาพมาสู่โลก” -อาจารย์ช่วง มูลพินิจ อาจารย์ช่วง มูลพินิจ ได้รับเลือกให้เป็นศิลปิน แห่ ง ชาติ สาขาทั ศ นศิ ล ป์ (จิ ต รกรรม) ประจ� า ปี พ.ศ. 2556 ผลงานในช่วงแรกจะเป็นภาพลายเส้น ประยุกต์ลายไทย และพัฒนาเป็นการใช้เทคนิคสีน�้า และสี น�้ า มั น งานส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น ภาพวาดของ ดอกไม้ แมลง สั ต ว์ มนุ ษ ย์ เรื่ อ งราวในวรรณคดี และการผสมผสานแนวคิดทางอุดมคติกับความงาม ของธรรมชาติ ผลงานทีโ่ ดดเด่นทีเ่ ราอาจคุน้ ตากันดีกค็ อื งาน วาดภาพโปสเตอร์ภาพยนตร์ไทยอย่าง เพื่อน-แพง, ไกรทอง, กากี ซึ่งโปสเตอร์หนังเรื่อง เพื่อน-แพง นั้น ได้รบั เลือกให้เป็นหนึง่ ในโปสเตอร์ทงี่ ดงามทีส่ ดุ ในโลก

จากสถาบัน โรงภาพยนตร์ แห่ งชาติ กรุงลอนดอน เมื่อปี พ.ศ. 2526 นิทรรศการ ‘แดนสนธยา 2’ จัดแสดงห่างจาก นิทรรศการ ‘แดนสนธยา’ ครัง้ แรกถึง 6 ปี โดยในครัง้ นี้ ได้ ร วบรวมผลงานของอาจารย์ ช ่ วงราว 120 ภาพ เป็นผลงานทีส่ ร้างสรรค์ขนึ้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2530-ปัจจุบนั ทัง้ ภาพจิตรกรรมสีนา�้ มัน และภาพดรอว์องิ้ ในสมุดบันทึก ศิลปินได้สเกตช์ไว้เมือ่ สัมผัสได้ถงึ ความงามทีพ่ วยพุง่ ออกมาจากความนึกคิดทีถ่ กู ขัดกล่อมด้วยประสบการณ์ ของชีวิต จัดแสดงตั้งแต่วันนี้ถึง 28 เมษายน 2562 ณ ห้องสตูดิโอ ชั้น 4 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร



26 18 issue 586 issue 587 15 APR 2019 22 APR 2019

CA AL LE EN ND DA AR C R

15 22

M 16 M 23

T T 17 24

W W 18 25

TH TH 19 26

FF 20 27

SA SA 21 28

Hello Kitty AT HOMES Go Around!!

SonGKrAn FeSt. OUT OF PLACE 2019

Wild notHinG TOUkEn RAnbU live in BAnGKoK

CirCle And ราคะหนอ SilenCe

SonGKrAnzoniC SUMMER bREEzE 2019

tHe 5tH HUMAniMAL tHAilAnd 420

แรกในกรุ‘Atงเทพฯ กับ นิครัทง้ รรศการ Homes’ การมาเยื อนของ ศิ‘Hello โดย อร ทองไทย ลปิน Kiผู ้tหtyลงรั Go Around!!’ พบกั ก การเดิ น ทางบ สิและมั นค้า กกิจอยูกรรมเวิ ่ ไ ม่ ติ ดรก์ บ้ช็าอปน บูธเล่ นเกม้ งบูค�ธาถ่ถามกั ายภาพบ กลั บ มาตั และอื ่ น ๆ อี ก มากมาย ตั ว เองอี ก ครั้ ง ว่ า บ้ า น วั น นี้ ถึ ง 2 มิ ถุ น ายน จริ ง ๆ แล้ ว คื อ อะไร 2562 ณ @ทองหล่ อ ส� า หรั บ เธอ บ้ า นอาจ ฮอลล์ (ชั้น 5 ห้างดองกิ เป็ น สถานที่ สิ่ ง ของ ซ.เอกมัย 5) จ�าหน่ายตัว๋ ความคิ ด ความรู ้ สึ ก แบบออนไลน์ ที่ Thaiช่ ว งเวลาที่ ท� า ให้ รู ้ สึ ก ticketmajor.com และ สบายใจเหมื อนได้พกั ผ่อน หน้างาน อยูบ่ า้ น วันนีถ้ งึ 28 เมษายน 2562 ณ โซนแกลเลอรี Yelo House

เตรี ย มชุ ่ ม ฉ�่ ‘Out า ไปกัofบ นิ ท รรศการ เทศกาลสงกรานต์ Place’ โดยศิลปินชาวไทยที่ เปี ย กและมัใต้น ทีน�่ สาเสนอ ุ ด บน และเกาหลี ถ.ศรี น คริ น ทร์ สมุ ท รผลลัพธ์จากการสังเกต ปราการ ปรากฏการณ์‘Songkran การโยกย้าย Fest. 2019’ เต็มอิม่ ไปกับ ปรับตัว หรือการแลกศิ ล ปิ น และดี เ จชั้ น น� า เปลีย่ นทีเ่ กิดขึน้ บนโลกนี้ ที่จะมาสร้างความมัน วั น นี้ ถึ ง 28 เมษายน แบบไร้ขีดจ�ากัด วันนี้ 2562 ณ ศุภโชค ดิ อาร์ต วันสุดท้าย พบกับ Urเซ็นเตอร์ ซ.สุขุมวิท 39 boyTJ ณ ร้าน BRONX รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม www.facebook.com/ Bronx

พบกั บ Wild อนิ เ มะมิ ว สิ คั ลNothing ที่ ไ ด้ รั บ หรื อ JackยTatum เจ้าของ ความนิ มในประเทศ ท่ญีว่ปงท�ุ่น า‘Touken นองซินธิRanbu ไซเซอร์: ในเพลงอิ น ดี้ พ็ อKashuu พแสน The Musical คุKiyomitsu น้ เคย ใน ‘Wild Solo Nothing PerforLive in Bangkok’ วันนี้ mance Asia Tour’ การเวลา 21.00 น. ณ Live แสดงโชว์ทสี่ าวกหนุม่ ดาบ Arena RCA จ� า หน่ า ย Touken Ranbu จะพลาด บัตรที่ Ticketmelon.com ไม่ได้ดว้ ยประการทัง้ ปวง วันนี้ เวลา 19.30 น. ณ โรงละครเคแบงก์ สยามพิฆเณศ จ�าหน่าย บัตรที่ Ticketmelon.com

นินิททรรศการ รรศการ ‘วงกลมและ ‘ราคะหนอ’ ความเงี ยบ’ โดย ส�าราญ โดย วรพล นวลละออง เชืจากความปรารถนาในเรื อ้ พันธ์ วงกลมปรากฏอ่ ง ตันิวพขึพานของศิ ้น ท่ า มกลางพื ที่ ลปิน สูก่้นารว่ปฏิ างบความไม่ มอี าะไรของ ัติธรรมอย่ งจริงจัง มัและเฝ้ นจึงาก่ดูอจเกิติ ตัดวเป็ นการเองอยู เ่ ป็น ขูดขีดเสียดสี เสียดทาน นิจ เพือ่ ให้เข้าถึงธรรมะของ ของการหมุน ความเงียบ พระพุทธเจ้า อันก่อให้เกิด และเสียงก็เช่นกัน วันนี้ ผลงานจิตรกรรมชุดนีท้ นี่ า� ถึง 30 เมษายน 2562 ภาพในปรากฏขึน้ จากจิต ณ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ศิ ล ปะ มาถ่ายทอดให้เป็นผลงาน ไทยร่วมสมัย MOCA จิตรกรรมในลักษณะที่มี (เว้นวันจันทร์) ความเฉพาะตัว วันนีถ้ งึ 30 เมษายน 2562 ณ ChangChui Gallery

ถ้ระเริ าสงกรานต์ ่านมา งใจในนิทที่ผรรศการ ยั‘ระเริ งไม่หงน�รมณ์ าใจ ต่’ อชมงาน วันไหล กัศินลเลยไหม กั บ ปะซึ่งศิลปิน ‘Song8 คน kranzonic เสิรอ์ฟง, อาทิ อรรถสิ2019’ ทธิ์ ปกป้ ความมั ไหล, เอกสิทธิ์ นจิในวั รตั ติกนานนท์ แบบทีค่ ณ ุ ไม่เคยสัมผัส จิรศักดิ์ อนุจร ฯลฯ มาร่วม มาก่อน ให้เป็นหน้าร้อน สร้างความงามในความที่ คุ ณ ลื ม ไม่ ล ง! วั น นี้ ต่าง… อย่างไม่ธรรมดา และ 20 เมษายน 2562 วันนีถ้ งึ 30 เมษายน 2562 ณ Cartoon Network ณ สาทร 11 อาร์ต สเปซ Amazone จ.ชลบุ รี ซ.สาทร 11 (เว้นวันจันทร์) จ�าหน่ายบัตรที่ Eventpop.me (สงวนสิ ท ธิ์ เฉพาะผู้มีอายุ 18 ปี ขึ้นไป)

ห้การแสดงชุ าปี กัญชาชน ด ‘สัต‘Thailand ว์มนุษย์’ 420’ จ กรรม ก�ากับพบกั และเขีบยกินบทโดย ต่ดุาจงๆ อาทิ ดาว ในงาน วัฒนปกรณ์ จะ นิพาผู ท รรศการให้ ค วามรู ช้ มไปพบกับความ-้ เรืเป็อ่ งสายพั ั นตัชาวของ ยา นสัตว์ทนอี่ ธุยูก์ ่ใญ กัญชา, งานเสวนาเพือ่ ศิลปินที่เชิญมาในรอบ การศึกษาโดยผู้เชี่ยวการแสดงแต่ละวัน เพือ่ ชาญระดับโลก, อภิปราย สะท้อนให้ผช้ ู มได้เดินทาง โร้ดแม็ปกัญชาทางการส�ารวจความเป็นสัตว์ที่ แพทย์, กิจกรรมเวิรก์ ช็อป, หลบซ่อนอยู่ในตัวของ ผ่อนคลายไปกับปาร์ตี้ พวกเขาอย่ า งเงี ย บๆ จากวงดนตรีนอกกระแส วันนี้ถึง 28 เมษายน และกิจกรรมอื่นๆ อีก 2562 ณ วั100 นสน มากมาย นนี้ ต้เวลา แกลเลอรี บั ต รราคา 14.00 น. เป็ น ต้ น ไป บาทปรายละเอี ยด ณ650ตลาดยิ ซีฟลามิงโก เพิ่มเติมโทร. 09-8792เลค 2954

SS

noiSe MArKet Ed SHEERAn dividE WORLd TOUR 2019

มาเสพงานศิ และ เอ็ด ชีแรน กลัลบป์มามอบ จัความสุ บจ่ายกัขให้ นแบบ แฟนๆzero ชาว waste ลดการใช้ ว ส ั ดุ ไทยอี ก ครั้ ง อย่ า งยิท่ งี่ ใช้ใหญ่ ครั้งเดี วทิ้งSheeran ใช้สิ่ง ในย‘Ed ต่Divide างๆ ให้คWorld ุ้มค่า ทัTour ้งใน การผลิ ต และบริ โ ภค 2019 Bangkok’ โดยมี ใน ‘Noise Market 8 x One OK Rock วงร็อก Yip In Tsoi Less Waste ชื่ อ ดั ง จากประเทศ P r o j e c t ’ วั น นี้ วั น ญี่ปุ่น มาเล่นเป็นวง สุดท้าย เวลา 15.30 น. เปิด วันนี้ ณ ราชมังคลาเป็นต้นไป ณ มิวเซียม กีฬาสถาน หัวหมาก สยาม ติ ด ตามรายจ�าหน่ยาดเพิ ยบัต่มรที ละเอี เติไ่ มทยทิ ได้ ทกี่ เก็ตเมเจอร์ www.facebook.com/ noisemarketfest

WHERE TW OHFEI R NED TO FIND

Where the conversations begin. Where the conversations begin. adaybulletin.com adaybulletin.com

หมอชิต

หมอชิต

Meet Meet Up Up

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

สยามสแควร์

สยามสแควร์

Every Every Monday! Monday!

อโศก

อโศก

ศาลาแดง

ศาลาแดง

BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น. BTS: เวลา 17.30-20.00 น. หมอชิ5ต สถานีอนุ สาวรีย ์ชัยสมรภูมิ สยาม หมอชิ อโศก ต อโศก

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ศาลาแดง ศาลาแดง

สยาม

Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

200่ชั้นสาขาทั ่วกรุ เทพฯ ร้านกาแฟ ร้านอาหารStarbucks ศูนย์การค้า และสถานที น�ากว่า 100 จุดทัง ่วประเทศ ร้านกาแฟ ร้ า นอาหาร ศู น ย์ ก ารค้ า และสถานที ช ่ น ้ ั น� า กว่ า 100 จุ ด ทั ว ่ ประเทศ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหั วหิน ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน


19 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

พงศ์ธร ยิ้มแย้ม บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ IG : ptyyward

ภาพ

โอมศิริ วีระกุล บรรณาธิการเว็บไซต์การเงิน aomMONEY ohmsiri.veerakul@gmail.com

เรื่อง

M O N E Y. L I F E . B A L A N C E .

LATTE FACTOR กลยุทธ์การออมที่ท�าให้ชีวิตสนุกขึ้น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของค� ำ ว่ ำ ‘Latte Factor’ มำจำกค� ำ ถำมของหญิ ง ชำวอเมริกันคนหนึ่งที่โยนค�ำถำมในลักษณะที่ผมได้ตั้งไว้ว่ำ ‘เงินเดือน เพียงน้อยนิดจะหำเงินที่ไหนมำเริ่มลงทุน เพรำะแค่ออมยังล�ำบำกเลย’ แน่นอนว่ำคนธรรมดำอย่ำงผมคงคิดไม่ออกและคงหำค�ำตอบให้แก่คน ตั้งค�ำถำมนี้ไม่ได้ แต่ไม่ใช่กับ เดวิด บำค (David Bach) ผู้เขียนหนังสือ อันโด่งดังอย่ำง The Automatic Millionaire

บาคได้ขอให้หญิงชาวอเมริกนั เล่าถึงชีวติ ประจ�าวันให้เขาฟัง ว่าตัง้ แต่ตนื่ นอน จนเข้านอนเธอได้ทา� อะไรบ้าง แน่นอนว่าเธอเล่าอย่างละเอียด และในรายละเอียด นั้น บาคสนใจกาแฟที่เธอต้องดื่มในทุกๆ เช้า และแนวคิดของ Latte Factor จึงเริ่มขึ้น บาคแนะน�าว่า สิง่ เล็กๆ น้อยๆ ทีเ่ ราจ่ายออกไปในแต่ละวันนัน้ ถ้ามองดูแล้ว อาจเป็นเงินจ�านวนไม่เยอะ แต่ถา้ เราเปลีย่ นหน่วยจากวันเป็นเดือนให้กลายเป็น ปี เราจะพบว่ากาแฟลาเต้ทเี่ ธอจ่ายไปนัน้ จะกลายเป็นเงินก้อนทีม่ มี ลู ค่ามหาศาล มากทีเดียว เช่น ถ้ากาแฟแก้วนัน้ ราคา 50 บาท และเธอต้องดืม่ ทุกวัน เท่ากับว่า ปีหนึง่ ๆ เธอจะเสียเงินให้แก่กาแฟไปทัง้ สิน้ 18,250 บาท ซึง่ หากเธอไม่ได้ดมื่ กาแฟ ทุกวัน เงินจ�านวนเหล่านั้นสามารถเป็นเงินออมเพื่อน�าไปลงทุนได้นั่นเอง บาคพยายามชี้ให้เห็นว่า จุดเล็กๆ น้อยๆ ที่อยู่ในค่าใช้จ่ายประจ�าวัน สามารถเป็นจุดเริ่มต้นในการออมเพื่อการลงทุนได้ ถึงแม้จ�านวนจะไม่ได้มาก แต่ก็ส�าคัญต่อก้าวที่ยิ่งใหญ่ในการเริ่มต้นออมให้ต่อเนื่องอย่างมีวินัย เขียนมาถึงขนาดนีผ้ มก็คาดการณ์วา่ จะมีดราม่าถึงเรือ่ งเงินกับกาแฟแน่ๆ แต่บอกก่อนว่านี่เป็นเพียงแนวคิดที่มีตัวอย่างเป็นกาแฟครับ เพราะจริงๆ แล้ว เราสามารถน�าแนวคิดนีไ้ ปประยุกต์กบั ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ในชีวติ ประจ�าวันได้หมดเลย

ไม่จา� เป็นต้องเป็นกาแฟอย่างเดียว เพราะเอาเข้าจริง ส�าหรับบางคน กาแฟถือเป็นส่วนหนึ่งที่ส�าคัญต่อ การท�างานในแต่ละวัน ส�าหรับบางคน การดืม่ กาแฟเป็นเรือ่ งทีจ่ า� เป็น ในการท�างานมาก แน่นอนว่าการห้ามใครไม่ให้ดื่ม กาแฟคงเป็นเรื่องยาก ท่านเลยเล่าถึงแนวคิดเรื่อง Latte Day ให้ฟงั ซึง่ เรือ่ งมันมีอยูว่ า่ กาแฟเป็นเครือ่ งดืม่ ทีม่ เี สน่หแ์ ละหอมมาก โดยเฉพาะครัง้ แรกทีเ่ ราได้กลิน่ และรสสัมผัสของมันหลังจากชงมาใหม่ๆ นีค่ อื ความสุขทีค่ นดืม่ กาแฟปรารถนาเป็นอันมาก แต่สงั เกตไหม ว่านานวันเข้า ความตืน่ เต้นหรือความสุขกับกลิน่ กาแฟ

แบบวันแรกๆ ทีเ่ คยได้รบั นัน้ หายไปโดยปริยาย เพราะ ถูกความเคยชินขโมยช่วงเวลาแห่งความสุขไป ค�าถามคือ เราจะท�าอย่างไรถึงจะเรียกความสุข เช่นนั้นกลับคืนมาไปพร้อมกับการออมเงินได้ด้วย นีค่ อื ทีม่ าของ ‘Latte Day’ นัน่ คือการรอคอยวันพิเศษ ที่เราจะได้ดื่มกาแฟจากร้านที่ชื่นชอบจริงๆ อาจจะ หนึ่ ง ครั้ ง ต่ อ สั ป ดาห์ ก็ ไ ด้ แล้ ว วั น ที่ เ หลื อ เราอาจ ชงกาแฟธรรมดาๆ ที่บ้านหรือที่ออฟฟิศแทน


20

LIFE

ภาพ

เรื่อง จิรัฏฐ์ ประเสริฐทรัพย์ นักเขียนอิสระ

กรินทร์ มงคลพันธ์ ช่างภาพอิสระ

ชัยวัฒน์ ทาสุรินทร์ ช่างภาพอิสระ

ISSUE 587 22 APR 2019


21 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

LIVING SLOWLY , L I V I N G SIMPLE LIFE: CHIANG MAI DIARY ห ลั ง จ า ก ที่ พ บ ว่ า ชี วิ ต ต้ อ งถู ก ขั ง อยู่ บ นถนนกลาง กรุงเทพฯ ระหว่างไปและกลับ จากที่ ท� า งานเกื อ บ 4 ชั่ ว โมง ต่อวัน และเมื่อพบว่าเชียงใหม่ ยั ง พอมี แ หล่ ง งานที่ ผ มถนั ด และท�าได้อย่างมีความสุขอยูบ ่ า้ ง ผมก็ไม่ลง ั เลทีจ่ ะย้ายจากเมืองหลวงไปปักหลักอยู่เชียงใหม่ น่าเศร้าอยูน ่ ด ิ เพราะถึงแม้ เป็ น เมื อ งที่ รุ่ ม รวยด้ ว ยศิ ล ปวัฒนธรรม หากนักธุรกิจส่วนใหญ่ ในเชียงใหม่กไ็ ม่ได้ให้คณ ุ ค่าหรือ ยอมลงทุนกับการท�างานด้าน ความคิ ด สร้ า งสรรค์ เ ท่ า ไหร่ แ ล ะ แ ม้ เ งิ น เ ดื อ น ข อ ง ก อ ง บรรณาธิการนิตยสารท้องถิ่น ที่นี่ไม่มากพอให้ธนาคารเชื่อว่า คุณจะเป็นหนี้เพื่อปลูกบ้าน แต่ เมือ่ ท�างานไปได้สก ั พัก มีเครือข่าย คนรู้ จั กและเป็ น ที่ ไ ว้ ใจมากพอ ผมก็ลาออกมาท�างานเขียนและ งานแปลแบบอิสระอยู่ที่บ้านได้ ปีนี้ผมอยู่เชียงใหม่ครบ 10 ปี ไม่ได้มเี งินเก็บมากเท่าไหร่ แต่ใน ชีวิตก็ไม่คิดว่าตัวเองขาดอะไร หากคุณเป็นคนขับรถเร็ว คุ ณ อาจจะร� า คาญการขั บ รถ แบบไร้ คั น เร่ ง ของบางคนใน เชียงใหม่ไปบ้าง หรือหากคุณ เ ป็ น ค น เ ถ ร ต ร ง กั บ ร ะ บ บ ความอะลุ่ ม อล่ ว ยบางอย่ า ง ของทั้ ง ภาครั ฐ และคนเมื อ ง อาจท�าให้คณ ุ หงุดหงิดใจ แต่นน ั่ ล ะ เ ว้ น ก็ แ ต่ เ ดื อ น มี น า ค ม ที่ ฝุน ่ ละอองสุมเมืองราวกับอยูใ่ น น ร ก เ ชี ย ง ใ ห ม่ ใ น เ ดื อ น อื่ น ค่อนข้างรื่นรมย์


22 ISSUE 587 22 APR 2019

01 ชีวิตที่ขึ้นอยู่กับ การนัดหมายทางโทรศัพท์ ‘ก้อย’ - กนิษฐา ลิมังกูร เจ้าของบ้านบอกผมว่า ถึงเธอจะเลี้ยงชีพด้วยการท�าและเสิร์ฟ อาหารทีบ ่ า้ น แต่เธอก็ไม่ใช่ ‘เชฟ’ เช่นนัน ้ แล้ว การนิยามธุรกิจปัจจุบน ั ของเธอว่า Chef’s Table จึงไม่เชิงถูก ในชุมชนทีร ่ ม ่ รืน ่ ด้วยต้นไม้นอ ้ ยใหญ่และทุง่ นาเชิงเขาของต�าบล หนองควาย อ�าเภอหางดง ชายขอบทิศใต้ของเมืองเชียงใหม่ บ้านของ ‘ก้อย’ - กนิษฐา ลิมังกูร วางตัวขนานไปกับล�าเหมืองของหมู่บ้าน ด้านหลังของรั้วที่เกิดจากทิวต้นชาดัด คือสนามหญ้าและชานบ้าน โปร่งโล่ง ทีซ ่ งึ่ มีเพียงกระจกใสกัน ้ พืน ้ ทีภ ่ ายใน-ภายนอก โซฟาอยูห ่ น้า โทรทัศน์ ถัดมาคือโต๊ะกินข้าว 8 ที่นั่ง ที่มีฉากหลังเป็นชั้นหนังสือ มี พื้ น ที่ เ ว้ น พอให้ อ อกแรงก้ า วอี ก เล็ ก น้ อ ย ตู้ เ ก็ บ จานชาม ตู้ เ ย็ น เตาอบ เคาน์เตอร์ครัวและเครื่องดูดควัน -- นั่นคือที่ท�างานของ เจ้าของบ้าน บ้านที่มีชื่อว่า ‘อันจะกินวิลล่า’

อาชี พ ของก้ อ ยคื อ การเปิ ด บ้ า น รับลูกค้า (ที่ต้องโทรศัพท์จองล่วงหน้า) มากินข้าว ซึ่งเธอจะรับลูกค้าเพียงวันละ กลุ่ม หรือวันละโต๊ะ ไม่มากไป แต่ก็อาจ น้อยไปกว่านั้น เพราะบางวันเธอก็ไม่รับ ดูตัวเลขตามจริง เธอเฉลี่ยรับลูกค้าเพียง 3-4 ครั้งต่อสัปดาห์เท่านั้น หากวันไหน มีคนโทร.จองเป็นมื้อกลางวัน วันนั้นเธอ ก็จะไม่รับมื้อเย็น กลับกัน ถ้ามีโทร.จอง มื้อเย็น มื้อกลางวันของวันนั้น และมื้อ กลางวันวันถัดไป ก็จะไม่มีใครได้กินข้าว ฝีมือเธอ ไม่ ไ ด้ ถื อ ตั ว ว่ า เป็ น คนมี ฝ ี มื อ หรืออยากวางตัวเองเป็น niche แต่ความที่ เธอทัง้ จัดตารางนัด เตรียมสถานที่ จ่ายตลาด และท�าอาหารด้วยตัวเอง โดยมีผชู้ ว่ ยในครัว อีกหนึ่งคน เธอจึงพอใจจะท�างานแค่นั้น “เราอยากให้ลูกค้ามาและใช้เวลา ให้เต็มที่ กินอาหารและพูดคุยกัน เลย ไม่เคยรับนัดซ้อนกัน บางกลุ่มเขามากิน มื้อกลางวัน เขาก็นั่งคุยกับเพื่อนเขายาว ไปถึงสี่ถึงห้าโมงเย็นเลย ถ้าเรารับนัดซ้อน มื้ อ เย็ น อี ก เราก็ เ ริ่ ม กระวนกระวายละ ต้ อ งเตรี ย มอาหาร เตรี ย มโต๊ ะ ใหม่ คนทีม่ านัง่ ก่อนเขาก็จะดูออกว่าไม่สบายใจ เลยวางแผนไว้ ว ่ า ในหนึ่ ง วั น รั บ ลู ก ค้ า

โต๊ะเดียวกลุ่มเดียว ให้เวลากับเขาไปให้ เต็มที่เลยดีกว่า” เจ้าของอันจะกินวิลล่ากล่าวสรุป ชีวิตประจ�าวันในด้านการท�างานของเธอ ว่าทั้งหมดขึ้นอยู่กับการโทรศัพท์นัดหมาย และความสบายใจของทั้ ง เธอเองและ ลูกค้า เกิดและโตทีก่ รุงเทพฯ ใช้เวลาเกือบ 20 ปี กั บ งานในต� า แหน่ ง ระดั บ สู ง ของ บริษทั พลังงานเจ้าดังระดับโลก บริษทั ทีจ่ ะ เลีย้ งเธอไปอย่างมัน่ คงและมัง่ คัง่ ได้ทงั้ ชีวติ กระนั้ น เธอก็ ก ลั บ เลื อ กลาออกมาในวั ย 44 ปี น�าแพสชันในการท�าอาหารมาเปิดร้าน ที่เขาใหญ่ (นครราชสีมา) และในย่านสีลม หากไม่มเี มืองไหนทีเ่ ธออยากใช้ชวี ติ ทีเ่ หลือ เท่ากับเชียงใหม่ นั่นเป็นเหตุผลที่เธอย้าย มาอยูท่ นี่ ี่ ไม่ได้มาท�างาน แค่อยากมาใช้ชวี ติ แต่อยู่เฉยๆ แล้วจะเอาอะไรกิน (เธอว่า อย่ า งนั้ น ) นั่ น เป็ น ที่ ม าของธุ ร กิ จ ที่ เ ธอ เรียกว่า ‘วันละโต๊ะ’ ซึ่งท�ามาได้ 3 ปีแล้ว ถึงเจ้าตัวจะยืนกรานปฏิเสธ แต่นี่ คือหนึ่งในธุรกิจ Chef’s Table รายแรก ของเมืองเชียงใหม่


23 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

02 กวีผู้สร้างสมดุลชีวิตและมิตรสหาย ‘ชวด’ - ชัยวัฒน์ มัตถิตะเตา ‘ชวด’ - ชัยวัฒน์ มัตถิตะเตา เป็นทั้งนักดนตรีกลางคืนและกวี (นามปากกา : ผการัมย์ งามธันวา) เกิดที่นครราชสีมา ฟอร์มวงกับเพื่อน และเข้ากรุงเทพฯ มาเล่นดนตรีตามผับ นั่นคือเรื่องเมื่อยี่สิบกว่าปีที่แล้ว ที่ซึ่งเมื่อสมาชิกในวงแยกย้าย เขากับเพื่อนสนิท ‘ฮวก’ - อรุณรุ่ง สัตย์สวี จึงเดินทางมาเชียงใหม่ เล่นดนตรีเปิดหมวกตามที่ต่างๆ ได้สักพัก ฮวกก็เริ่มต้นธุรกิจร้านกวยจั๊บกึ่งบาร์เล็กๆ ที่ชวดไปร่วมเล่นดนตรี ขับกล่อมลูกค้าในยามค�่าคืนให้ นั่นคือที่มาของร้าน ‘สุดสายแนน’ ร้านเหล้าที่หากคุณเป็นศิลปิน กวี นักเขียน หรือท�างานเอ็นจีโอในเชียงใหม่ แล้วไม่รู้จัก ก็อาจต้องทบทวนโลกทัศน์ของตัวเองใหม่

ขณะที่ วิ ถี ข องเพื่ อ นราบรื่ น ไปกั บ ร้านเหล้า ชวดก็สร้างครอบครัวกับคนรัก ในบ้านไม้หลังน้อยภายในซอยวัดอุโมงค์ ความที่ มี ลู ก เขาจึ ง เริ่ ม มองหารายได้ ทีม่ ากกว่าการเล่นดนตรีกลางคืน นัน่ ท�าให้ เขาเปิดร้าน ‘ร�า่ เปิงกาแฟ’ ร้านกาแฟเล็กๆ ในยุ ค สมั ย ที่ ซ อยวั ด อุ โ มงค์ - วั ด ร�่ า เปิ ง (หลังมหาวิทยาลัยเชียงใหม่) ยังไม่คึกคัก ด้วยคาเฟ่และร้านเก๋ๆ เช่นทุกวันนี้ “ผมขายกาแฟให้พอมีรายได้เสริม เข้ามาบ้าง พออยู่ได้ แต่ไม่ได้ฟู่ฟ่า ผมเล่น ดนตรี อ่านหนังสือ และเขียนบทกวี พอเปิด

ร้ า นก็ อ ยากให้ เ ป็ น ที่ พ บปะแลกเปลี่ ย น ของคนท�างานสร้างสรรค์กัน ร้านผมไม่ได้ ท�าการตลาด ไม่ใช่รา้ นทีว่ ยั รุน่ จะมาถ่ายรูป เช็กอิน แต่ถ้ามองในแง่ว่ามันสร้างชุมชน แบบที่ผมอยากให้เป็นไหม มันก็ประสบ ความส�าเร็จนะ” เป็นอย่างที่ชวดบอก เราอาจนิยาม ทีน่ ไี่ ด้ว่าเป็นสุดสายแนนในภาคปลอดสุรา และเปิดให้บริการในเวลากลางวัน ความที่ ย่านนีเ้ ป็นทีพ่ า� นักของทัง้ นักเขียนและศิลปิน อยู่มาก ร้านกาแฟของชวดจึงเป็นศาลาการเปรียญของอาร์ทิสต์ไปโดยปริยาย

ปัจจุบันร�่าเปิงกาแฟเข้าสู่ปีที่ 12 โดยเมือ่ สีป่ ที แี่ ล้ว ชวดและภรรยายังต่อเติม พืน้ ทีใ่ นบ้าน สร้างบ้านต้นไม้หลังน้อยทีเ่ ปิด ให้ บ ริ ก ารในรู ป แบบแอร์ บี เ อ็ น บี ร องรั บ นักท่องเที่ยว ซึ่งเขาบอกว่าเป็นธุรกิจที่ท�า รายได้แบบไม่ต้องพะวงกับยอดขายของ กาแฟ หรื อ ไม่ ต ้ อ งห่ ว งว่ า นิ ต ยสารหรื อ ส�านักพิมพ์จะจ่ายค่าต้นฉบับบทกวีหรือ เรื่องสั้นล่าช้า “ไม่มีความทะเยอทะยานในการหาเงินเท่าไหร่ คือขอให้พอมีเลี้ยงชีพได้ และท�าให้มีเวลาให้ผมไปทุ่มเทกับดนตรี

และงานเขียน ซึ่งสองสิ่งนี้คือสิ่งที่ผมจะ ไม่มีวันทิ้งมันไปเด็ดขาด ผมมองว่าศิลปะ คือการสร้างสมดุลแก่ชวี ติ คุณอาจไม่จา� เป็น ต้องเป็นศิลปินก็ได้ เพียงเอาสิ่งที่คุณชอบ มาอยู ่ ใ นกิ จ วั ต ร ยิ่ ง ถ้ า มี ก ารงานที่ รั ก และสามารถหารายได้จากตรงนั้นได้ยิ่งดี แล้วก็มีครอบครัว คนรัก และมิตรสหาย แค่นี้นับเป็นชีวิตที่เรียบง่ายและพอดีแล้ว”


24 ISSUE 587 22 APR 2019

03 หัวหน้าแก้งค์ถิ่นนิยม ‘มล’ - จิราวรรณ ค�าซาว เป็นคนเชียงดาว อ�าเภอทางตอนบนที่ตั้งของ ป่าต้นน�้าแม่ปิง แม้ครอบครัวจะเปิดร้านขายของช�า หากชีวิตประจ�าวันก็ผูกพันกับธรรมชาติตั้งแต่เด็ก เมื่อเข้าเรียนระดับอุดมศึกษา ‘มล’ - จิราวรรณ ค�าซาว จึงเข้าเรียนทางด้านจุลชีววิทยา ก่อนจะ ต่อปริญญาโททางเทคโนโลยีชีวภาพ เธอเคยท�า ฟาร์ ม เห็ ด โคนเพื่ อ ตั ด ดอกออกขาย เป็ น นั ก วิ จั ย ให้ ส� า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) และเป็นแม่ค้าคนกลางรับซื้อ ผลิ ต ผลทางการเกษตรจากเชี ย งใหม่ ไ ปขายใน กรุงเทพฯ

นั่ น คื อ ปี 2554 ที่ เ ธอท� า งานอยู ่ ใ นแล็ บ ที่ สวทช. กรุงเทพมหานครเกือบทั้งเมือง รวมทั้งส�านักงานของเธอ เกิดน�้าท่วมหนัก มลจึงกลับมาใช้ชีวิตอยู่ที่บ้าน การกลับบ้าน ครัง้ นัน้ มีสว่ นในการเปลีย่ นมุมมองในด้านการงานและใช้ชวี ติ ของเธอไม่น้อย “ถ้าเทียบกับกรุงเทพฯ เชียงดาวก็สโลว์ไลฟ์เลยล่ะ เพราะการกินข้าวแต่ละมื้อนี่แทบไม่เสียเงินสักบาท หมู่บ้าน มีแปลงผัก มีฟาร์มปศุสัตว์เป็นของตัวเอง นั่นท�าให้เราพบว่า การใช้ชวี ติ จริงๆ แล้วมันไม่ใช่เงิน แต่มนั คืออาหาร แต่ทคี่ นเรา ต้องการเงิน เพราะคนส่วนใหญ่ไม่มีพื้นที่ในการผลิตอาหาร” แม้เปรียบเทียบเช่นนั้น และถึงเชียงดาวจะรุ่มรวยใน ทรัพยากร แต่มลก็ตระหนักดีว่าไม่ว่าจะอยู่ที่ใด ผู้คนก็ยังต้อง ใช้ เ งิ น เพื่ อ ยั ง ชี พ อยู ่ ดี นั่ น ท� า ให้ เ ธอค้ น หาสมดุ ล ระหว่ า ง การท�าธุรกิจและการกินอยู่ที่ปลอดภัยและยั่งยืน ควบคู่ไปกับการพัฒนาเห็ดถั่งเช่าออร์แกนิกให้เป็น ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารติดแบรนด์ขายในช่องทางออนไลน์ มลยังใช้ความรู้มาคิดค้นและพัฒนาปุ๋ยชีวภาพจากเชื้อรา เพือ่ สนับสนุนเครือข่ายเกษตรกรในบ้านเกิด ให้ทา� เกษตรอินทรีย์ เพือ่ ความยัง่ ยืนต่อทัง้ สิง่ แวดล้อม สุขภาพ และเปิดตลาดใหม่ ที่ซึ่งดูเหมือนเหมาะเจาะกับช่วงเวลาที่คนเชียงใหม่เริ่มหันมา ใส่ใจ (และลงทุน) กับการกินอาหารปลอดภัยมากขึ้น ปัจจุบนั มลด�ารงต�าแหน่งซีอโี อของบริษทั CNX Healthy Products Co., Ltd. ผู้ผลิตและจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารเสริม จากพืชและสัตว์ปลอดสารเคมี นอกจากนี้เธอยังเป็นผู้ก่อตั้ง กลุ่ม ‘ม่วนใจ๋’ กลุ่มเกษตรอินทรีย์วิถีธรรมชาติเชียงดาว กลุม่ ทีส่ นับสนุนชาวบ้านท�าเกษตรอินทรีย์ ด้วยการหาผูร้ บั ซือ้ ในราคาที่สมเหตุผลและท�าให้เกษตรกรสามารถยังชีพอยู่ได้ โดยไม่ตอ้ งพึง่ พาเคมี รวมถึง ‘แก้งค์ถนิ่ นิยม’ กลุม่ เยาวชนเชียงดาว ที่คอยสร้างสรรค์กิจกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติและส่งเสริมวิถี เกษตรอินทรีย์ แน่นอน จากหน้าที่การงานแต่ละวัน (รวมไปถึงศึกษา ปริญญาเอกในด้านเทคโนโลยีการเกษตรทีม่ หาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด้วย) ชีวิตของเธอไม่ใกล้เคียงกับนิยามของค�าว่าสโลว์ไลฟ์ แม้ แ ต่ น ้ อ ย แต่ นั่น ละ สิ่ ง ที่ เ ธอท�า ในทุ ก วั น นี้ ก็ เ พื่ อ พิ สู จ น์ ให้เห็นว่าวิถีเนิบช้าอย่างเกษตรอินทรีย์ก็เป็นหนทางในการสร้างเศรษฐกิจที่มั่นคงได้


25 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

04 น�้าปั่นรักษ์โลก และพ่อค้าที่ท�างานสัปดาห์ละสองวัน ‘จิม’ - ภูดิท ทาสุคนธ์ ตอนเป็ น วั ย รุ่ น ‘จิ ม ’ - ภู ดิ ท ทาสุ ค นธ์ เคยเป็ น นายพราน... ไม่ ใ ช่ น ายพรานแบบในนิ ย าย ล่ อ งไพร แต่ เ คยเข้ า ป่ า และล่ า สั ต ว์ น่ ะ ใช่ เป็ น เรื่ อ งตลกร้ า ยที่ เ ขาเลิ ก งานอดิ เ รกนี้ อ ย่ า งเด็ ด ขาด เนื่ อ งจากเขาเลิ ก กั บ คนรั ก สมั ย เรี ย นมหาวิ ท ยาลั ย “ช่ ว งนั้ น ผมอกหั ก และผมเข้ า ป่ า ก� า ลั ง จะเล็ ง ยิ ง นก ผมเห็ น นกอยู่ ส องตั ว ตั ว ผู้ แ ละตั ว เมี ย เดาได้ ว่ า มั น เป็ น คู่ กั น ผมจึ ง ชะงั ก และเลิ ก ล่ า สั ต ว์ ตั้ ง แต่ ต อนนั้ น ” จิ ม กล่ า ว ไม่ เ พี ย งเลิ ก ล่ า หากเขายั ง เห็ น แง่ ง ามที่ น่ า หวงแหน ของธรรมชาติ - ชี วิ ต และมุ ม มองของเขาเปลี่ ย นไปนั บ แต่ นั้ น

ช่ ว งมหาวิ ท ยาลั ย จิ ม จึ ง เข้ า ค่ า ย สิ่งแวดล้อมบ่อยครั้ง กระทั่งจบมาเขาก็ หาเวลาเข้ า ป่ า เพื่ อ ท� า กิ จ กรรมอนุ รั ก ษ์ จิมเข้ารีตมังสวิรัติ ด้วยเชื่อว่าเป็นหนึ่งใน หนทางปฏิเสธการสนับสนุนบรรษัทปศุสตั ว์ ยักษ์ใหญ่ที่มีส่วนส�าคัญในการท�าลายป่า ในประเทศ เขาเคยท� า ทั้ ง งานออฟฟิ ศ ท�าสารคดีโทรทัศน์ และเปิดร้านขายของ ในห้างสรรพสินค้าโดยท�ารายได้เกือบแสน ต่อวัน หากล่าสุดจิมกลับพบหนทางด�ารง ชีวิตที่รื่นรมย์และเรียบง่าย ด้วยการขาย น�้าผลไม้ปั่นออร์แกนิก ที่ซึ่งเขาขายมัน เพียง 2 วันต่อสัปดาห์ หากคุณ เคยมาเยือ นจริงใจฟาร์เมอร์มาร์เกต (Jing Jai Farmer Market -

หนึ่งในตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ใหญ่ ที่ สุ ด ในเชี ย งใหม่ ) หรื อ ตลาดขนมปั ง ยามเช้าสุดฮิตอย่างนานาจังเกิล (Nana Jungle) คุณอาจเคยเห็นชายหนุ่มคนนี้ และร้านของเขามาบ้างแล้ว ร้าน Twister Bike Blender ของจิม ไม่ได้ใหญ่โตหรือโดดเด่นใดๆ แต่ใครเห็น ก็ จ� า ได้ เพราะทั้ ง ร้ า นมี จั ก รยานทั ว ริ ง แค่คันเดียว เครื่องปั่นน�้าผลไม้ติดตั้งอยู่ บริเวณตะแกรงด้านหลัง ลูกค้าจะต้องขึ้น ไปปั่นจักรยานเพื่อให้เครื่องปั่นบดน�า้ แข็ง คลุกเคล้ากับผลไม้ทลี่ กู ค้าต้องการ แน่นอน ความรวดเร็วต่อการขายน�้าต่อหนึ่งแก้ว ขึ้นอยู่กับความเร็วของการปั่นจักรยาน ของลูกค้า ไม่นับว่าจิมขายน�้าผลไม้เพียง

สัปดาห์ละ 2 วันเท่านั้น (โดยอีก 5 วัน ที่เหลือเขาไปใช้ชีวิตกับภรรยาผู้เป็นครูใน โรงเรียนชนบททีจ่ งั หวัดล�าปาง) หากคิดว่า การดริ ป กาแฟตามคาเฟ่ ส โลว์ บ าร์ คื อ สัญลักษณ์ของสโลว์ไลฟ์แล้ว ธุรกิจจิม ดูท่าจะสโลว์กว่ามาก “คนชอบมองว่าท�าธุรกิจนี้เป็นงาน อดิเรกสนุกๆ ผมไม่ปฏิเสธ แต่ก็ยืนยันว่า นี่เป็นธุรกิจที่ท�ารายได้จริงๆ ถึงจะท�าแค่ สองวันและต้องเดินทางจากล�าปางทุกสัปดาห์ ก็เถอะ หนึง่ มันเป็นอาชีพทีต่ อบชีวติ ผมนะ ได้พบเจอผู้คน สอง คือได้มีส่วนในการสนับสนุนเกษตรอินทรีย์ และเป็นตัวอย่าง ของธุ ร กิ จ ที่ แ สดงความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สิ่ง แวดล้ อ มด้ ว ย” (จิม ใช้ แ ก้ ว กระดาษ

ไม่ใช้หลอดและหูหวิ้ พลาสติก และพยายาม สนับสนุนให้คนปั่นจักรยาน – ผู้เขียน) นอกเหนือไปจากน�้าปั่น จิมยังเปิด ทีพ่ กั ฟาร์มสเตย์ ‘ติดกระท่อม ฟาร์มสเตย์’ ให้ผู้สนใจได้มาสัมผัสวิถีชีวิตของชนเผ่า ปกาเกอะญอในหมู่บ้านของเขาที่ล�าปาง ควบคูก่ บั การปลุกปัน้ โครงการ ‘ปัน่ เพือ่ น้อง’ ชวนอาสาสมั ค รปั ่ น จั ก รยานระดมทุ น มาจ้างครูประจ�าโรงเรียนในชุมชนให้ครบ ทุกชั้นเรียน และส่งเสริมการท�าวนเกษตร ให้กับชาวบ้านเพื่อทดแทนการปลูกพืชไร่ เลื่อนลอย


26 ISSUE 587 22 APR 2019

05 เมืองของนักเขียนเรื่องสั้น ภู่ ม ณี ศิ ริ พ รไพบู ล ย์

แม้ ห ลายคนจะชื่ น ชอบงานเขี ย นเรื่ อ งสั้ น ของ ภู่ ม ณี ศิ ริ พ รไพบู ล ย์ แต่ อ ย่ า งที่ ท ราบกั น การเป็ น นั ก เขี ย นวรรณกรรมร่ ว มสมั ย ในประเทศนี้ เป็นอาชีพไม่ได้ ภู่มณีตระหนักดีในข้อนี้ แต่ครั้นจะให้กลับไปเป็นอาจารย์ (เขาเคยเป็นอาจารย์ประจ�าคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรัฐแห่งหนึ่ง ในเชียงใหม่ หากลาออกมาดูแลลูก) ที่มีวิถีชีวิตเป็นรูทีน เขาก็พบว่าวิถีเช่นนั้นเผาผลาญพลังงานเขามากไปจนไม่อาจเขียนหนังสือได้

กระนั้นภู่มณีก็บอกผมว่าเขาโชคดี ที่ ภ รรยาของเขาเคยท� า งานในบริ ษั ท อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ ห่ ง หนึ่ ง นั่ น ท� า ให้ เ ขา และภรรยาพบช่องทางอาชีพใหม่ที่ยั่งยืน คื อ การเป็ น คนดู แ ลห้ อ งพั ก ที่ เ ปิ ด เป็ น แอร์บีเอ็นบี รู ป แบบเป็ น เช่ น นี้ ใครสั ก คนจาก ที่อื่นซื้อห้องในคอนโดมิเนียมแถวใจกลาง เมื อ งเชี ย งใหม่ ไ ว้ พวกเขาต้ อ งการสร้ า ง มู ล ค่ า จากการเปิ ด ห้ อ งว่ า งให้ เ ช่ า เป็ น แอร์ บี เ อ็ น บี แต่ ใ ครล่ ะ จะเป็ น คนบริ ห าร จัดการเรื่องการจองห้อง ต้อนรับและมอบ

กุ ญ แจให้ ลู ก ค้ า ดู แ ลความเรี ย บร้ อ ย และหาแม่บ้านมาท�าความสะอาดห้องให้ ในเมื่อเจ้าของห้องไม่อยู่ ภู่มณีท�าหน้าที่ที่ว่าโดยได้เปอร์เซ็นต์ จากค่าเช่าพัก ซึ่งปัจจุบันเขาดูแลมากถึง 10 ห้อง (โดย 2 ห้องในจ�านวนนั้นเป็นของ เขาเอง) และมี ร ายได้ ม ากกว่ า สมั ย เป็ น อาจารย์มหาวิทยาลัยหลายเท่า เขาบอกว่า ถ้าไม่ใช่เชียงใหม่ก็คงประกอบอาชีพนี้ไม่ได้ “เชีย งใหม่ มัน มีค วามเป็ น เมือ งอยู ่ คือเป็นทั้งเมืองท่องเที่ยว และเมืองแบบที่ เป็นมหานคร แต่ความทีม่ นั เล็กกว่ากรุงเทพฯ

ก็เลยขับรถไปท�าธุระได้มากในเวลาอันสั้น นัน่ หมายความว่าวันหนึง่ ผมสามารถเดินทาง ไปดูแลห้องพักลูกค้าต่อกันได้หลายห้อง ซึ่ง กรุงเทพฯ ท�าไม่ได้ หรือถ้าท�าได้กค็ งเป็นอาชีพ ที่เหนื่อยมาก” ตื่นแต่เช้าเพื่อแปลหนังสือไปจนถึง เที่ ย ง (เขาก� า ลั ง แปลนิ ย ายของ ชาร์ ล ส์ บูคาวสกี้ อยู่) จากนั้นขับรถออกจากที่พัก เพื่อไปตรวจดูความเรียบร้อยของห้องพัก และประสานงานกั บ ลู ก ค้ า ในแต่ ล ะห้ อ ง ในกรณีฉุกเฉิน งานของภู่มณีจะแล้วเสร็จ ก่อนห้าโมงเย็น ที่ซึ่งช่วงเย็นถึงหัวค�่าหาก

ไม่อ่านหนังสือ ก็จะดูหนังหรือเขียนเรื่องสั้น ไปจนถึงดึก นอกจากรายได้ ภู่มณีบอกว่า การที่ เขาได้พบเจอและพูดคุยกับผูม้ าเยือนต่างชาติ ก็ ท� า ให้ เ ขามี วั ต ถุ ดิ บ ไปต่ อ ยอดงานเขี ย น ของเขา เพราะหากจะอยู่บ้านเพื่อมุ่งมั่นใน การเขียนหนังสืออย่างเดียวโดยไม่ได้ใช้ชีวิต เขาก็พบว่าตัวเองไม่มีเรื่องอะไรไปเขียน – งานเลี้ยงชีพ วิถีชีวิต งานเขียน และเมือง เชียงใหม่ของภู่มณี จึงพึ่งพิงและหลอมรวม เข้าด้วยกัน


27 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

อ า จ จ ะ เ พ ร า ะ ที่ ที่ ไ ป ประจ�าหรืองานที่ท�า แปลกดี เหมือนกัน ผูค ้ นทีผ ่ มรูจ้ ก ั และ พ บ เ จ อ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ� า วั น นอกจากห้าคนข้างต้นที่เล่า มา คนอื่นๆ ก็มีวิถีชีวิตคล้าย กั น หมด – ถ้ า ไม่ มี ธุ ร กิ จ (ทั้ ง เล็ ก และใหญ่ ) เป็ น ของ ตัวเอง ก็เป็นคนท�างานอิสระ หรื อ คนท� า งานสร้ า งสรรค์ แทบไม่มีใครท�างานออฟฟิศ ผมรู้ จั ก รุ่ น พี่ ผู้ ห ญิ ง นักกิจกรรมทีเ่ ปิดร้านบราวนี ที่บ้านและเป็นผู้ประสานงาน ระหว่างกลุ่มเกษตรอินทรีย์ กั บ ร้ า นอาหาร, ชายหนุ่ ม ที่ เ อาดี กั บ การพั ฒ นาสุ ร า พื้ น บ้ า นจนสร้ า งแบรนด์ ไ ด้ ก่ อ นจะท� า คราฟต์ เ บี ย ร์ จ น สามารถท� า ร้ า นขยายสาขา ทัว่ เชียงใหม่, มิตรสหายทีเ่ ปิด graphic house เล็กๆ และ เลื อ กรั บ เฉพาะงานที่ พึ ง ใจ ยั ง ไ ม่ นั บ ร ว ม ส ถ า ป นิ ก นักออกแบบ คนท�างานไอที และสตาร์ทอัพ นักเขียน ฯลฯ ที่เลือกนั่งท�างานที่บ้านหรือ ไม่ ก็ โ คเวิ ร์ ก กิ้ ง สเปซและใช้ ร้านกาแฟเจ้าประจ�าเป็นทีป ่ ระชุม เวลาพูดถึงวิถส ี โลว์ไลฟ์ ในเชียงใหม่ เรามักจะนึกถึง คาเฟ่ ส ไตล์ มิ นิ ม อลขาวและ โล่ง กับภาพถ่าย soft focus ของกาแฟร้อนในถ้วยเซรามิก คู่กับนิตยสารอย่าง Kinfolk หรือ Cereal (ที่ซึ่งทุกวันนี้ก็ ยังมีร้านกาแฟหลายร้านใช้ เป็ น พร็ อ พและนิ ย มถ่ า ยรู ป กันอยู)่ แต่นน ั่ ละ ผูค ้ นข้างต้น ที่ผมพบเจอในชีวิตประจ�าวัน กลับดูเหมือนอยูค ่ นละโลกกับ ความมินิมอลเหล่านั้น และ หากไม่ใช่เชียงใหม่ ก็ยากจะ จิ น ตนาการเหมื อ นกั น ว่ า วิ ถี ก ารท� า งานของพวกเขา เหล่านั้นจะสามารถหยัดยืน และฝังรากจนเกิดเป็นวิชาชีพ ได้ไหม และถึงไม่อาจเหมารวม ได้วา่ นีค ่ อ ื เครือข่ายวัฒนธรรม Slow แต่ สิ่ ง หนึ่ ง ที่ พ อจะ ยืนยันได้ก็คือ พวกเขายังคง ยั่ ง ยื น อยู่ กั บ จั ง หวะที่ เ นิ บ ช้ า กว่าคนส่วนใหญ่ได้ดี (หลายคน ก็ มั่ ง คั่ ง เลยละ) แถมยั ง มี ความสุ ข กั บ สิ่ ง ที่ ไ ด้ เ ลื อ ก และได้ท�ามากเป็นพิเศษ


28 ISSUE 587 22 APR 2019

BULLETIN BOARD

TA L K O F T H E T O W N เมืองไทยประกันชีวต ิ ปรับโฉมองค์กร สูโ่ ลกยุคใหม่ ชูสโลแกน Happiness Means Everything เพราะความสุข คือทุกอย่าง สาระ ล�่าซ�า กรรมการผู้จัดการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จ�ากัด (มหาชน) น�าทีมผูบ้ ริหารปรับภาพลักษณ์องค์กรครัง้ ใหญ่ (Brightening the Brand) ในรอบ 15 ปีที่ผ่านมา ให้มี ความสดใส ทันสมัย และเป็นสากลมากยิง่ ขึน้ กว่าเดิม ภายใต้สโลแกน Happiness Means Everything เพราะ ความสุขคือทุกอย่าง โดยมุง่ เน้นเรือ่ งของการส่งมอบ ความสุขในทุกด้านให้กับลูกค้า พนักงาน พันธมิตร และผูเ้ กีย่ วข้อง อย่างยัง่ ยืน พร้อมตอกย�า้ จุดยืนนโยบาย ‘MTL Everyday Life Partner’ ที่พร้อมเดินเคียงข้าง ในทุกช่วงของชีวติ แต่ยงั คงความเป็นผูน้ า� ด้านนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ (Products) กระบวนการท�างาน (Process) และการให้บริการ (Services) ที่สามารถตอบโจทย์ ความต้องการของลูกค้าได้หลากหลายในรูปแบบ เฉพาะบุคคล (Personalize) มากขึ้น ยกระดับองค์กร สู ่ ค วามสากลและทั น สมั ย สามารถรั บ มื อ กั บ โลก ยุคดิจิตอลได้อย่างเต็มตัว

มหิ ดลอินเตอร์ จัดกิจกรรม THM - Alumni Talk

GMM Grammy School Road Tour 2019

กสทช. จุดไอเดียสร้างสรรค์ ในโครงการ ‘อัปคลิปพิชต ิ แสน ซีซั่น 5’

‘เอสโคล่า’ เดินหน้าแจกโชค ‘เอส เสิรฟ ์ โชคทุกมือ้ ให้ทก ุ วัน สุดซี้ด’

รศ. นพ. สรายุ ท ธ สุ ภ าพรรณชาติ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นประธานเปิดงาน แถลงผลการรับรองคุณภาพการศึกษาและ กิ จ กรรม THM - Alumni Talk โดยมี รศ. พญ. จุฬธิดา โฉมฉาย คณบดีวทิ ยาลัยนานาชาติ กล่าวแถลงผลการรับรองคุณภาพ การศึกษาของหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการบริการนานาชาติ หรือ International Hospitality Management) ที่ได้รับ การรับรองจาก Ted-Qual โดยองค์กรการท่องเทีย่ วโลกแห่งสหประชาชาติ หรือ UNWTO และมาตรฐานการศึกษาสากลตามเกณฑ์ จาก AUN-QA ซึ่งเป็นหลักสูตรการจัดการ บริ ก ารนานาชาติ เ ป็ น หลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาตรี แ ห่ ง แรกในประเทศไทย ณ ห้องจรินทร์ยารัศมิ์ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

ไ ด ้ รั บ ค ว า ม สุ ข ส นุ ก สุ ด ฟ ิ น จากคอนเสิรต์ ‘GMM Grammy School Road Tour 2019’ กันไปทัว่ หน้า กับน้องๆ ชาวมัธยม ทัง้ 10 โรงเรียน และศิลปินทัง้ รุน่ พีแ่ ละรุน่ เล็ก ทีต่ า่ งพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า อิม่ ใจกับรอยยิม้ และบรรยากาศ ถ้าเป็นไปได้อยากกลับมา สนุกกับน้องๆ อีกครัง้ และเตรียมพบกับ GMM Factory Road Tour 2019 ทีจ่ ะดึงศิลปินลูกทุง่ ฮอตฮิตติดลมบน อาทิ ต่าย อรทัย, ศิริพร อ�าไพพงษ์, เปาวลี และศิลปินคุณภาพอีก มากมายจากค่ายแกรมมี่ โกลด์ ไปสร้าง ความสุขให้กบั หนุม่ สาวชาวโรงงาน 10 แห่ง ทัว่ กรุงเทพฯ ปริมณฑล และจังหวัดใกล้เคียง ให้ ไ ด้ ม ่ ว นอกม่ ว นใจกั น อย่ า งแน่ น อน ติดตามความเคลือ่ นไหวทีจ่ ะเริม่ ขึน้ ในเดือน พฤษภาคมนีไ้ ด้ที่ Facebook : GMM Grammy Offiffiicial และ GMM Grammy Road Tour

‘อั ป คลิ ป พิ ชิ ต แสน’ โครงการดี ๆ ที่จัดขึ้นต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 แล้ว ซึ่งในปีนี้ เว็บไซต์เอ็มไทยดอทคอม ในเครือโมโน กรุป๊ ร่วมกับส�านักงานคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) จัดท�าโครงการ ‘อัปคลิปพิชิตแสน ซีซั่น 5’ ภายใต้หัวข้อ ‘สร้างสรรค์ หรือท�าลาย อยู่ที่ปลายนิ้ว’ ผู้ที่สนใจสามารถส่งหนังสั้นเข้าประกวด ต้องมีอายุไม่เกิน 25 ปี ก�าลังศึกษาในระดับ มั ธ ยมศึ ก ษา, ระดั บ เตรี ย มอุ ด มศึ ก ษา หรือบุคคลทัว่ ไปก็ได้ สอบถามรายละเอียด เ พิ่มเติมและส่งผลงานอัปโหลดคลิปได้ที่ http://video.mthai.com/upclip/ss5 ได้ตั้งแต่ วันนี้ถึง 20 มิถุนายนนี้ และจะประกาศผล วันที่ 10 กรกฎาคม 2562 ณ สตูดิโอโมโน ทเวนตี้ไนน์ ถนนชัยพฤกษ์

‘เกรท’ - วริ น ทร ปั ญ หกาญจน์ น�าทัพเอสโคล่า เดินหน้าเสิร์ฟความซ่า โปรโมตโชคสุดซี้ดอย่างต่อเนื่อง เพราะ หน้าร้อนนี้ ‘เอส’ แจกหนัก แจกจริง แบบ ไม่มียั้ง โดยเมื่อวันที่ 22 มีนาคมที่ผ่านมา ได้แจกเมอร์เซเดส-เบนซ์ จีแอลเอ คันแรก ให้กบั ผูโ้ ชคดีไปแล้ว คันต่อไปจะแจกในวันที่ 17 พฤษภาคมนี้ เพียงส่งรหัสใต้ฝาเอสโคล่า หรือ เอสเพลย์ รสใด ขนาดใดก็ไ ด้ ผ่ า น 2 ช่องทาง โดยทางโทรศัพท์มือถือพิมพ์ *759* ตามด้วยรหัสใต้ฝา # แล้วกดโทร.ออก หรือส่งผ่านเว็บไซต์ www.estcolathai.com


29 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

อั พ เ ด ต แ ว ด ว ง ข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจ ในรอบสัปดาห์

kate spade New York ฉลอง ฤดูกาลสปริง 2019 เปิดตัวคอลเลกชัน ‘Unlock Your Heart’ kate spade New York เปิดตัวคอลเลกชันสปริง 2019 ภายใต้การออกแบบคอลเลกชันของครีเอทีฟ ไดเรกเตอร์คนล่าสุด นิโคลา กลาส โดยหัวใจหลักของ คอลเลกชันถูกถ่ายทอดผ่านคอนเซ็ปต์ ‘Unlock Your Heart’ ที่ได้แรงบันดาลใจจากทวิสต์ล็อกสเปดหัวใจแสนเก๋ ทีก่ ลายเป็นอีกหนึง่ ไอคอนนิกดีไซน์ตลอดทัง้ คอลเลกชัน อันรวมถึงซิลลูเอตและการใช้สสี นั อันได้แรงบันดาลใจ จากยุค 40s และ 70s ด้วยเทคนิคการมิกซ์สสี ดุ โมเดิรน์ , ลายวินเทจจีโอเมตริก ไปจนถึงลายพรินต์อันเป็น เอกลักษณ์ เพือ่ เป็นไอเดียน�าไปสูก่ ารใช้ชวี ติ ประจ�าวัน อย่างหรูหราและทันสมัยได้ในทุกวัน

Billie Eilish ศิ ล ปิ น ที่ คนทั่ ว โลกพู ด ถึ ง

ที เ อ็ ม บี รั บ รางวั ล Green Bond Pioneer Awards

‘เนสกาแฟ อเมริกาโน่ ซีโร่ ชูการ์’ เครื่องดื่มอเมริกาโน่ สุ ด คู ล รั บ ซั ม เมอร์

Flamenco Bangkok แฮงเอาต์สไตล์ละตินใจกลาง กรุงที่ดิ เอ็มควอเทียร์

Billie Eilish ได้ ป รากฏตั ว พร้ อ ม ให้สัมภาษณ์ในรายการ The Ellen Show รายการทอล์กโชว์สดุ ฮิตจากสหรัฐอเมริกา ซึ่งบรรยากาศภายในรายการ Billie Eilish ถูก พิธีกรและทีมงานแกล้งจนท�าให้เธอ หลุ ด หั ว เราะและอมยิ้ ม ด้ ว ยความเขิ น สร้างความประทับใจให้พิธีกรและทีมงาน เป็นอย่างมาก เพราะเรียกได้ว่าพวกเรา ไม่ค่อยได้เห็นเธอยิ้มสักเท่าไหร่ ถ้าคุณ อยากรูว้ า่ สาวน้อยคนนีม้ เี สน่หท์ นี่ า่ หลงใหล แค่ไหน ลองเสิรช์ คลิปรายการช่วงนีข้ องเธอ ทางยูทบู ได้ดว้ ยค�าว่า Billie Eilish Gets a Scare from ‘Justin Bieber’ ดูจบแล้วคุณอาจจะ ไปหาอัลบั้ม When We All Fall Asleep, Where Do We Go? ของน้องสาวคนนีม้ าฟัง ทันที

มร. แอนดรูว์ เคนท์ ชาน หัวหน้า เจ้าหน้าที่บริหารการจัดการงบดุล ทีเอ็มบี หรือธนาคารทหารไทย จ�ากัด (มหาชน) พร้อมด้วย นางสาวฉลองรัตน์ เพชรภักดี เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร Executive Project Management ทีเอ็มบี และ นางกาญจนา โรจวทัญญู หัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสือ่ สาร และภาพลั ก ษณ์ อ งค์ ก ร ที เ อ็ ม บี ฉลอง เนื่ อ งในโอกาสที่ ที เ อ็ ม บี ไ ด้ รั บ รางวั ล ‘ผู้บุกเบิกพันธบัตรสีเขียว’ (Green Bond Pioneer Awards) ในสาขา ‘ประเทศใหม่ ทีน่ า� พันธบัตรสีเขียวออกสูต่ ลาดโลก’ (New Countries Taking Green Bonds Global) จาก The 4th Green Bond Pioneer Awards ซึง่ จัดขึน้ พร้อมกับการประชุมเรือ่ งพันธบัตร ด้านภูมิอากาศ ประจ�าปี 2562 ที่ลอนดอน สหราชอาณาจักร

เนสกาแฟ แบรนด์กาแฟอันดับ 1 ของไทย เปิดตัว ‘เนสกาแฟ อเมริกาโน่ ซีโ ร่ ชู ก าร์ ’ ใหม่ กาแฟอเมริก าโน่ สุดคู ล สูตรไม่มีน�้าตาล ไม่หวาน เพื่อตอบโจทย์ เทรนด์ผู้บริโภครุ่นใหม่ที่ชื่นชอบการดื่ม กาแฟด� า โดยนั บ เป็ น กาแฟอเมริ ก าโน่ สไตล์คาเฟ่ปรุงส�าเร็จ น�า้ ตาล 0% ครัง้ แรก ของเมืองไทย มีจดุ เด่นทีน่ า�้ ตาล 0% ความเข้ม เต็มร้อย ผสานกาแฟอาราบิกาคัว่ บดละเอียด ละลายได้ในน�้าเย็น ให้พลังงานเพียงแค่ 5 กิโลแคลอรีตอ่ แก้ว และยังเป็นผลิตภัณฑ์ ทีไ่ ด้รบั สัญลักษณ์ ‘ทางเลือกสุขภาพ’ พร้อม เปิดตัวพระเอกหนุ่มสุดคูล ‘ต่อ’ - ธนภพ ลีรัตนขจร นั่งแท่นแบรนด์แอมบาสเดอร์ ของเนสกาแฟ อเมริ ก าโน่ เพื่ อ ตอกย�้ า การเป็นเครื่องดื่มอเมริกาโน่สุดคูลมัดใจ คนรุ่นใหม่

Flamenco Bangkok สกายบาร์สุด โมเดิร์นกลิ่นอายละติน แหล่งแฮงเอาต์ แห่งใหม่ล่าสุดใจกลางกรุงเทพมหานคร กับ บรรยากาศการตกแต่ ง อย่ า งมีส ไตล์ พร้ อ มเสน่ ห ์ วั ฒ นธรรมมุ ม มองใหม่ ข อง กลิ่ น อายละติ น จากทั่ ว ทุ ก มุ ม โลกที่ เ ต็ ม ไปด้วยสีสัน สัมผัสประสบการณ์ความสนุกสนานอย่างมีระดับ ภายใต้คอนเซ็ปต์ Without Passion Life is Nothing ความสนุกสนานกับดนตรีสไตล์ละตินและแซมบ้า เปิดให้บริการแล้ว ณ ชัน้ 9 อาคารเดอะฮีลกิ ซ์ ศูนย์การค้าดิ เอ็มควอเทียร์


30 เรื่อง

A THOUSAND WORDS

ทรรศน หาญเรืองเกียรติ บรรณาธิการบทความ IG : Matt_Doraemon

ภาพ

ชาคริต ทองวัฒนา อดีตนักธนูทีมชาติไทย ปัจจุบันประกอบ อาชีพช่างภาพอิสระและพ่อบ้าน beachboy_x@hotmail.com

ISSUE 587 22 APR 2019

CHIANG MAI IN THE DUST เชียงใหม่ในม่านฝุ่น ความอึดอัดของคนเมือง ในวันที่ PM 2.5 กลับมาปกคลุมอีกครั้ง

“หน้ า กากป้ อ งกั น ฝุ่ น ละออง PM 2.5 ส� า หรั บ เด็ ก หาซื้ อ ได้ ย ากมาก โดยเฉพาะรุน ่ ทีก ่ ระชับใบหน้าของเด็กวัย 2-3 ขวบ ท�าให้เด็กบางคนต้องใส่ หน้ากากแบบที่ไม่รองรับรูปหน้าของเขา ใส่ไปก็หลุดหรือหลวมจนมีช่อง ให้ฝุ่นเข้าไป”

“หอค�าหลวงในอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ด้านหลังเป็นวัดพระธาตุดอยค�า ซึง ่ มีฝน ุ่ และควันปกคลุมอยู่ โดยจะเห็นว่าไกลออกไปคือดอยสุเทพ แต่เราเริม ่ จะมองไม่เห็น แล้ว ส่วนนักท่องเที่ยวที่เดินอยู่ในรูปก็ไม่ได้ใส่หน้ากากป้องกันฝุ่น”

“รู ป ถ่ า ยจากหน้ า ต่ า งเครื่ อ งบิ น โดยฝี มื อ เพื่ อ นของผมที่ ก� า ลั ง บิ น ไปกรุ ง เทพฯ ด้ า นล่ า ง เป็ น ถนนเลี ย บคลองชลประทาน ด้ า นหลั ง เป็ น ดอยสุ เ ทพ ฝุ่ น ที่ ค รอบเมื อ งเชี ย งใหม่ อ ยู่ ท�าให้มองอะไรแทบไม่เห็น”


31 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

​คนกรุงเทพฯ​เพิ่งจะหายใจหายคอได้ดีขึ้น​(นิดหน่อย)​จาก มลพิษของฝุน ่ ระดับ​PM​2.5​ไม่นาน​แต่ในส่วนของภาคเหนืออย่าง จังหวัดเชียงใหม่​กลับก�าลังเผชิญกับวิกฤตจากฝุน ่ ร้ายครัง้ นีอ้ ย่างหนัก ​ความน่าวิตกนีถ ้ ก ู ถ่ายทอดผ่านภาพของ​ ชาคริต​ ทองวัฒนา​ ช่างภาพอิสระทีอ ่ าศัยอยูใ่ นจังหวัดเชียงใหม่​ผูต ้ ามเฝ้าสังเกตสภาพ ทีไ่ ม่ปกตินม ี้ าตัง้ แต่ตน ้ ​และพบว่าในหลายๆ​จุดทีเ่ ขาไปส�ารวจนัน ้ ไม่มี หน่วยงานไหนมาช่วยประชาสัมพันธ์ให้คนในพืน ้ ทีร่ บ ั รูแ ้ ละป้องกันตัว จากอันตรายที่แฝงอยู่ในอากาศที่พวกเขาก�าลังสูดมันเข้าไปเลย

“บริเวณลานจอดรถของย่านสวนดอก อยากให้เห็นสภาพของเมืองเชียงใหม่โดยรวมที่มีต้นไม้ อยู่เยอะ แต่ก็ไม่สามารถต้านทานฝุ่นควันที่ลอยอยู่ในอากาศได้”

“ก�าแพงเมืองเชียงใหม่ และรถสองแถวสีแดง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเมืองเชียงใหม่ ในภาพ จะเห็นว่าคนขับมอเตอร์ไซค์นน ั้ ใส่หน้ากากอนามัย อยู่ แต่หน้ากากแบบนี้ไม่สามารถกรองฝุ่นที่เล็ก ระดับ PM 2.5 ได้ ซึง่ ผมคิดว่าเขายังไม่ได้รบ ั การประชาสัมพันธ์อย่างเข้าใจในเรือ ่ งนี้ และทีเ่ ห็นมา ก็ คื อ คนเชี ย งใหม่ ใ ส่ ห น้ า กากกั น ฝุ่ น น้ อ ยมาก จนน่าตกใจ”

“ถ้ า ดู ใ ห้ ดี จ ะเห็ น ว่ า หน้ า กากที่ เ ด็ ก ใส่ นั้ น จะไม่ ค รอบที่ จ มู ก ของเด็ ก ซึง่ นีเ่ ป็นข้อจ�ากัดของหน้ากากส�าหรับเด็ก คือใส่แล้วปิดไม่สนิท จะมีชอ ่ ง ออกมาเหนือบริเวณดัง้ จมูก ดังนัน ้ ความปลอดภัยของเด็กจึงน่าเป็นห่วง มาก”

ABOUT CHAKRIT THONGWATTANA

“นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะใส่หน้ากากป้องกันฝุ่นละออง แต่คนเชียงใหม่กลับไม่ค่อยสนใจ จะป้องกันตัวเอง”

​ าคริต​ทองวัฒนา​หรือ​‘ครูบ’ี๋ ​เป็นนักกีฬาและผูฝ ช ้ ก ึ สอนกีฬา ยิงธนูทจี่ ง ั หวัดเชียงใหม่​เขาศึกษาจบด้านปรัชญา​จากมหาวิทยาลัย เชี ย งใหม่ ​เคยเป็ น ตั ว แทนนั ก กี ฬ ายิ ง ธนู ข องจั ง หวั ด เชี ย งใหม่​ และเคยติดทีมชาติไทยเข้าร่วมแข่งขันในซีเกมส์หลายสมัย​เขารัก การถ่ายภาพ​และมีงานอดิเรกเป็นช่างภาพอิสระ​น�าเสนอภาพถ่าย เชิงสารคดีและการท่องเที่ยวของเชียงใหม่เป็นหลัก​


32 เรื่อง

S PA C E & T I M E

ทรรศน หาญเรืองเกียรติ บรรณาธิการบทความ IG: @matt_doraemon

ภาพ

ธนดิษ ศรียานงค์ ช่างภาพ thanadis@gmail.com

ISSUE 587 22 APR 2018

PLAY AND LEARN ON A FUN DAY OUT สถานทีส ่ า� หรับครอบครัวทีใ่ ห้เด็กๆ ได้สนุกเรียน สนุกเล่น อย่างสร้างสรรค์

โซน Mega Smart Kids ภายในศูนย์การค้าเมกาบางนา

ย้อนวันกลับไปสมัยทีเ่ ราเป็นเด็ก ถึงแม้ชว ี ต ิ จะไม่หมุนเร็วแบบในวันนี้ แต่กม ็ ค ี วามยุง ่ เหยิงในการใช้ชว ี ต ิ อยูไ่ ม่นอ ้ ยพอกัน โดยเฉพาะช่วงวันหยุด เสาร์-อาทิตย์ แน่นอนว่าเราเองก็เป็นคนหนึง ่ ทีต ่ อ ้ งตระเวนใช้ชว ี ต ิ อยูข ่ า้ งนอกบ้านเกือบครึง ่ ค่อนวัน วันเสาร์กต ็ อ ้ งตืน ่ แต่เช้าเพือ ่ ไปเรียนพิเศษ ที่โรงเรียนสอนพิเศษ พ่อแม่ก็ต้องมานั่งรอเราหลายชั่วโมง พอเลิกเรียนจะแวะไปซูเปอร์มาร์เกตเพื่อซื้อของใช้เข้าบ้านบางทีก็เกิดความขี้เกียจ เพราะจะเดินทางไปไหนก็ต้องไปหลายที่ ไหนจะวันอาทิตย์ที่ต้องไปเรียนดนตรีที่โรงเรียนตั้งอยู่อีกที่ แล้วชีวิตก็วนเข้าลูปเดิมๆ จนอดคิดไม่ได้ว่า ท�าไมไม่มใี ครรวมสถานทีเ่ หล่านีไ้ ว้ทเี่ ดียวให้ครบๆ เด็กจะได้ไม่ตอ ้ งเปลีย ่ นทีไ่ ปมา พ่อแม่เองก็มอ ี ะไรให้ทา� ให้เดินเล่นแก้เบือ ่ ครอบครัวจะได้ใช้ชว ี ต ิ ร่วมกันได้ตามความต้องการของตัวเอง วันนีส้ งิ่ ทีเ่ ราคิดไว้กเ็ ป็นจริงสักทีเมือ่ ศูนย์การค้าเมกาบางนา เปิดโซนส�าหรับครอบครัวขึน้ มา ในชื่อ Mega Smart Kids ที่รวบรวมโรงเรียนเสริมทักษะในด้านต่างๆ ให้กับเด็กๆ ไว้ในพื้นที่แห่งนี้ ตัง้ แต่สถาบันสอนภาษาจีนจาก Bao Bao, โปรแกรมสอนการอ่านอย่างเข้าใจไม่ใช่แค่การท่องจ�าที่ I Can Read หรือจะสนุกไปกับหลักสูตรเทควันโดและบัลเลต์ที่ Dance Space & The Kick School รวม ถึงเรียนรูห้ ลักสูตรการท�าขนมสนุกๆ กับคุณแม่ที่ Chefu Town (คุณพ่อก็เข้ามาจอยได้) “การเรียนรูส้ า� หรับเด็กต้องพัฒนาทัง้ สมองซีกขวาและซีกซ้าย” ‘เชฟฟิน’ - สุภรดี ศิวพรพิทกั ษ์ หัวเรือใหญ่แห่ง Chefu Town บอกเราถึงหลักสูตรการท�าอาหารส�าหรับเด็ก “สมองซีกขวาคือ การพัฒนาด้านศิลปะ ส่วนสมองซีกซ้ายคือการพัฒนาเรือ่ งตรรกะ ตัวเลข ซึง่ การเรียนท�าอาหารนัน้ ถูกวิเคราะห์มาแล้วว่าสามารถพัฒนาสมองทั้งสองฝั่งได้พร้อมๆ กัน”

ยุคสมัยทีเ่ ปลีย่ นไป ท�าให้คณ ุ แม่รนุ่ ใหม่ตอนนีม้ เี วลาน้อยลง และเป็นกังวลว่าเด็กๆ จะใช้ เวลาในการท�ากิจกรรมเพือ่ เสริมสร้างความรูไ้ ด้ไม่ดี เพราะตัวเองก็ไม่มนั่ ใจว่าทักษะทีม่ นี นั้ จะสอน ลูกน้อยได้ดแี ค่ไหน ซึง่ ที่ Chefu Town จะมีหลักสูตรให้คณ ุ แม่และลูกได้ทา� อาหารร่วมกัน “เรามีเวิรก์ ช็อปชือ่ Mommy and Me ทีร่ บั น้องๆ ตัง้ แต่อายุสองขวบขึน้ ไปมาร่วมท�าอาหาร กับคุณแม่ ซึง่ ข้อดีคอื ถ้าท�ากิจกรรมนีท้ บี่ า้ น คุณแม่อาจจะเสียเวลาในการเตรียมของและเก็บกวาด ถ้ามาทีน่ กี่ จ็ ะมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ให้ครบ คุณแม่สามารถท�าอาหารไปพร้อมๆ กับลูกได้ เด็กก็จะ มีความมัน่ ใจเพราะแม่เข้ามาช่วยเขาท�าอาหาร ส่วนผูใ้ หญ่กจ็ ะได้เรียนรูแ้ ละรูส้ กึ สนุกทีไ่ ด้ชว่ ยเหลือ เด็กๆ ในการท�าอาหาร” ส�าหรับใครทีส่ งสัยว่า การทีเ่ ด็กเล็กๆ จะท�าอาหารนัน้ จะเป็นไปได้แค่ไหน เพราะกลัวว่าน้องๆ


33 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

โรงเรียนพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ I Can Read

ศูนย์เรียนรู้ทักษะวิศวกรรมผ่านหุ่นยนต์ส�าหรับเด็ก Robot’s Child สถาบันสอนภาษาจีน Bao Bao

ฟาร์มสนุก MEGA HarborLand หลักสูตรของ Robot’s Child ที่ครอบคลุมตั้งแต่เด็กเล็กจนถึงเด็กโต

‘เชฟฟิน’ - สุภรดี ศิวพรพิทักษ์

MEGA SMART KIDS โซนแห่งการเรียนรู้และเล่นสนุกของครอบครัว ยุคใหม่ ภายในศูนย์การค้าเมกาบางนา เวลาเปิดท�าการ : 10.00 - 22.00 น.

The Movement Playground

ทีย่ งั ไม่โตเต็มทีอ่ าจจะไม่รปู้ ระสีประสาและอาจจะเกิด ความผิดพลาดจนเป็นอันตรายแก่ตัวเด็กได้ “เรามีเมนูที่ท�าได้จริงและเหมาะสมกับเด็ก ใช้เวลาเรียนประมาณ 1.30 ชม. โดยให้เรียนตั้งแต่ ขั้นตอนการเลือกวัตถุดิบ การเลือกสี การท�าอาหาร อย่างเป็นล�าดับขัน้ ตอนในการชัง่ ตวง วัด เพือ่ การฝึก สมาธิ และในระหว่างที่ท�าเราก็จะมีการสอดแทรก เรื่องค�าศัพท์ภาษาอังกฤษให้กับน้องๆ ด้วย” ภายในพืน้ ทีข่ อง Mega Smart Kids ยังมีโรงเรียน ชื่อดังที่เราคุ้นเคยกันดีมาตั้งให้เด็กๆ ได้เลือกเรียนใน สิง่ ทีต่ วั เองสนใจอย่าง Clay Works, KPN, Math Talent, Wall Street School, Yamaha Music School รวมถึง คลาสเรียนอีกหลายรูปแบบกระจายอยู่ทั้งสองชั้น ในพืน้ ทีแ่ ห่งนี้ และหนึง่ ในไฮไลต์ทนี่ า่ จับตาอีกโรงเรียน คือ Robot’s Child ที่เปิดหลักสูตรให้เด็กๆ ได้สร้าง หุ่นยนต์ของตัวเองขึ้นมา “เราตัง้ ใจสอนเรือ่ งนวัตกรรมให้เด็กๆ ได้เรียนรู้ เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ไม่มีในหลักสูตรการเรียนการสอน ปกติในโรงเรียน โดยใช้ชุดตัวต่อหุ่นยนต์ของเลโก้

ซึ่งเป็นหลักสูตรเดียวกับที่ต่างประเทศใช้” ‘ครูม้อ’ ณรงค์เดช เธียรศิรพิ พิ ฒ ั น์ บอกขณะทีเ่ ราหยิบชิน้ ส่วน ของหุน่ ยนต์มาลองประกอบไปมาหลายครัง้ ซึง่ ครูมอ้ ก็เหมือนจะรู้ในสิ่งที่เราก�าลังตั้งค�าถามในใจ “โปรแกรมสัง่ ให้หนุ่ ยนต์ทา� งานนัน้ เรามีให้เรียนรู้ ตั้งแต่ส�าหรับเด็กสามขวบไปจนถึงเด็กมัธยมปลาย ดังนั้น การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นไม่ใช่เรื่องยากเลย เพราะพื้นฐานของโปรแกรมจะเป็นการลากค�าสั่งมา วางต่อๆ กันในแท็บเล็ตแล้วส่งค�าสัง่ นัน้ ผ่านบลูทธู ไป ที่หุ่นยนต์ จากนั้นก็ค่อยๆ พัฒนาความซับซ้อนขึ้น ตามวัยของน้องๆ” หลังจากใช้เวลาเพลิดเพลินกับโซนแห่งความคิด สร้างสรรค์นจี้ นบ่ายคล้อย เราก็เดินออกมาโซนต่อขยาย ด้านนอก ซึ่งจะผ่านร้าน B2S เมื่อทอดสายตายาว ออกไปตามทางเดินเชื่อมสีขาวก็มองเห็นพื้นที่สีเขียว Mega Park อยูด่ า้ นหน้า มีหลายๆ ครอบครัวก�าลังจูงมือ เด็กๆ เดินเล่นอยู่ตรงสนามหญ้า บางคนก็นงั่ พักผ่อน หย่อนใจสูดอากาศสดชืน่ อยูต่ รงอัฒจันทร์ ซึง่ เราก็บอก กับตัวเองว่า คราวหน้าต้องพาคนทีบ่ า้ นมาทีน่ ใี่ ห้ได้

หลักสูตร Mommy and Me จาก Chefu Town

Mega Park


34

, EDITOR S NOTE

เรื่อง

วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบริหาร FB : theaestheticsofloneliness

ภาพ

อุษา นพประเสริฐ ศิลปกรรม IG : aadayy

issue 587 22 APr 2019

เพราะสงครามคือสิ่งที่ให้ความหมายกับชีวิตของเรา

บทความเนื่องในวันครบรอบเหตุการณ์ล้อมปราบผู้ชุมนุมทางการเมือง ปี 2553 เผยแพร่ครั้งแรกในงานแสดงศิลปะ Politics of Me - POM Article ปี 2555

วั น นี้ เ มื่ อ หลายปี ก ่ อ น ผมนั่ ง อยู ่ ห น้ า จอ คอมพิวเตอร์ ภายในนั้นมีแต่ภาพคนบาดเจ็บล้มตาย ตึกอาคารพังพินาศวอดวาย ความรุนแรงเกลื่อนเต็ม ท้องถนนกรุงเทพฯ ถ้อยค�าดูถูก ด่าทอ เหน็บแนม เหยียดหยามฝ่ายตรงข้าม เกลื่อนเต็มโซเชียลมีเดีย ข้อมูลข่าวสารส่วนใหญ่ตลอดช่วงหลายปี ที่ผ่านมาเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าเราทะเลาะกันได้ ทุกเรื่อง ทุกประเด็น ทุกที่ ทุกเวลา และกับทุกคน แม้กระทัง่ คนทีเ่ ราไม่รจู้ กั มาก่อนหรือคนทีเ่ ป็นเพือ่ นฝูง กันมา และแม้กระทั่งรวมถึงคนในครอบครัวเราเอง มีเพือ่ นหลายคนเล่าถึงประสบการณ์ทคี่ ล้ายๆ กันว่าเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองในปี 2553 เป็นจุดเปลี่ยนส�าคัญที่ท�าให้เขาเริ่มฉุกคิดขึ้นมาว่า เทคโนโลยีการสือ่ สารได้เปลีย่ นแปลงตัวเขาไปจากเดิม จนเมือ่ ได้กลับมารูส้ กึ ตัวอีกครัง้ ก็พบว่าเขาได้กลายไปเป็น คนทีเ่ ขาไม่อยากเป็นไปเสียแล้ว พวกเขาจึงเริม่ ระมัดระวัง การใช้งาน ย้อนกลับมาวิพากษ์วจิ ารณ์ความคิดความเชือ่ ของตัวเองมากขึน้ และต้องหยุดคิด พิจารณาให้มาก ก่อนจะกระโจนเข้าไปร่วมวงความขัดแย้งใดๆ แต่จนถึงวันนี้ เวลาผ่านมาเนิน่ นาน คงยังมีผคู้ น อีกมากมายทีย่ งั เดินทางมาไม่ถงึ จุดเปลีย่ นนี้ หน้านิวส์ฟดี ในเฟซบุ๊ก หน้าไทม์ไลน์ในทวิตเตอร์ รวมถึงเว็บบอร์ด ต่างๆ จึงยังคงเต็มไปด้วยความรุนแรง ผูใ้ ช้อกี นับแสน นับล้าน ยังคงอุทศิ ตัวเองไปกับกิจกรรมการดูถกู ด่าทอ เหน็บแนม เหยียดหยามฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง “You know why I’m the way I am?” ในฉากท้ายๆ ของหนังเรื่อง The Hurt Locker ตัวละครหนึง่ เอ่ยถามค�าถามนีก้ บั เพือ่ น เพราะเขาไม่เข้าใจ ตัวเองว่าท�าไมถึงได้มาสมัครเป็นทหารในหน่วยกูร้ ะเบิด ทัง้ ๆ ทีม่ นั เป็นอาชีพทีน่ า่ เขย่าขวัญสัน่ ประสาทเป็นทีส่ ดุ เพือ่ นทหารก็ดเู หมือนว่าจะงงๆ กับค�าถามนีเ้ ช่นเดียวกัน ว่าท�าไมพวกเขาจึงยังมาเป็นทหารกันอยูอ่ กี ? ท�าไมโลกนี้ ยังเต็มไปด้วยความรุนแรง? ทัง้ ทีเ่ ราผ่านบทเรียนมาแล้ว มากมาย ตลอดประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ทุกคน บอกว่ารักสิ่งนั้น รักสิ่งนี้ ทุกคนบอกว่าโลกนี้ต้องการ ความรั ก ทุ ก คนเชื่ อ ว่ า เราเป็ น สั ต ว์ ที่ รู ้ เ หตุ ผ ล มีเทคโนโลยีลา�้ หน้า รูส้ รรพวิชามากมาย ฯลฯ แต่ตลกดี ทีส่ ดุ ท้ายเรายังคงมาแชร์ขา่ วหรือโพสต์ความเห็นลอยๆ เพื่อด่ากันไปด่ากันมา ค�าถามคือท�าไม? ค�าตอบไม่ได้ลอยอยู่ในสายลม ค�าตอบนี้รอ อยู่ในใจของเราทุกคน มันขึ้นอยู่กับว่าเราจะยอมรับ ความน่าขยะแขยงของค�าตอบนีไ้ ด้หรือเปล่า ถ้าตัดใจ ลุกออกมาจากสมรภูมติ รงหน้าให้ได้เสียก่อน แล้วค่อย มองย้อนกลับไปพิจารณาตนเองอย่างถีถ่ ว้ น เราจะเข้าใจ ตนเองได้ดีขึ้นว่าจริงๆ แล้วเราทะเลาะกันเพราะเรา ชอบทะเลาะกัน เหตุผลมันก็แค่นี้เองจริงๆ “The rush of battle is often a potent and

lethal addiction, for war is a drug.” - Chris Hedges ในหนัง The Hurt Locker เปิดเรือ่ งด้วยการอ้างอิง ประโยคของ คริส เฮดเจส นักข่าวสงคราม ทีเ่ คยเดินทาง ไปท�าข่าวสงครามมาแล้วเกือบทั่วโลก เขาได้พบเห็น ภาพและเรือ่ งราวมากมาย จนท้ายทีส่ ดุ เขาพบค�าตอบ ให้กับตัวเองว่าท�าไมเรายังคงเป็นอย่างที่เป็นอยู่? เขาพบว่าสงครามคือยาเสพติด ธรรมชาติ ที่แท้จริงของมนุษย์ คือเราถูกชักจูงให้เข้าสู่วังวน ของสงครามได้อย่างง่ายดาย เราชอบมัน ชอบถึงขั้น เสพติดเลยทีเดียว เพราะสงครามคือสิง่ ทีใ่ ห้ความหมาย กับชีวิตของเรา เขาสารภาพว่ า ตนเองเคยเสพติ ด สงคราม เพราะเวิรก์ สไตล์และไลฟ์สไตล์ทงั้ หมดของเขาเกีย่ วพัน กับการเดินทางไปท�าข่าวสงครามทัว่ โลก ถ้าเลิกท�าข่าว สงคราม หรือถ้าไม่มสี งครามเหลืออยูท่ ใี่ ดๆ บนโลกให้เขา ไปท�าข่าวได้อีก ตัวตนของเขาก็จะล้มครืนลง เขาพบ ว่าเพื่อนนักข่าวและเพื่อนที่เป็นทหารอีกหลายคน ก็มอี าการเสพติดแบบนีเ้ หมือนกัน ทุกคนรูว้ า่ สงครามนัน้ ไร้เหตุผล น่าเศร้า น่าขยะแขยง แต่ทกุ คนกลับเว้าวอน ปรารถนาที่จะกระโจนเข้าไปร่วม ผมคิดว่าในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา โซเชียลมีเดีย ได้กลายเป็น The Hurt Locker ของเราทุกคน เราก�าลัง เสพติดสงครามบนหน้านิวส์ฟดี มันน่าลุม่ หลง ดึงดูดใจ และเป็นยาเสพติดได้อย่างงอมแงม ไม่ต่างไปจาก สงครามจริงๆ เราสร้างภาพลวงตาตัวเองว่ามีอดุ มคติให้มงุ่ ไป มีศัตรูให้ต่อสู้ มีเพื่อนร่วมรบแบบเคียงบ่าเคียงไหล่ ...จากความว่ า งเปล่ า อั น น่ า เบื่ อ หน่ า ยในชี วิ ต จากความเปลี่ ย วเหงาแปลกแยกจากกั น ในสั ง คม ชีวติ เราฉับพลันกลับมีความหมายอย่างแจ่มชัดขึน้ มา แต่ละวันๆ เราด�าเนินชีวิตไปอย่างมีวัตถุประสงค์ มันเข้าใกล้ความเป็นศาสนาหรือกลุ่มลัทธิ ความเชือ่ เข้าไปทุกที ไม่แปลกใจเลยทีจ่ ะเห็นหลายคน ฉวยโอกาสนีต้ งั้ ตนขึน้ มาเป็นเจ้าลัทธิ หรือถ้าจะใช้ศพั ท์ ทีท่ นั สมัยให้เข้ากับยุคสมัย ก็คอื พวกทีเ่ ป็นอินฟลูเอนเซอร์ ในโลกโซเชียลมีเดีย หรือพวกแฟนเพจทีเ่ น้นความขัดแย้ง คนพวกนี้ได้รับความนิยมพุ่งขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะมันมีรากฐานตั้งอยู่บนความเกลียดชัง มันเป็น ศูนย์รวมของกลุม่ คนทีม่ อี ปุ าทานหมูร่ ว่ มกัน คิดและเชือ่ ไปในทางเดียวกัน มาอยูร่ ว่ มกันเพราะต่างคนต่างก็หนี มาจากสมรภูมอิ นื่ รักกันเพราะมีศตั รูรว่ มกัน เป็นมิตรภาพ ทีเ่ กิดจากความหวาดกลัว เหมือนเป็นสหายในสงคราม มันไม่ใช่มติ รภาพทีแ่ ท้จริง คริส เฮดเจส อธิบาย ความแตกต่างระหว่าง friendship และ comradeship ไว้อย่างน่าสนใจ ว่า friendship มีรากก�าเนิดเกิดจาก ความรัก ส่วน comradeship นั้นเกิดจากความกลัว มันจึงแตกต่างกันอย่างสุดขัว้ แต่คนส่วนใหญ่กลับสับสน และไม่เข้าใจ

Comradeship เป็ น อุ ป าทานหมู ่ ที่ ท� า ลาย ความเป็นปัจเจก บิดเบือนเหตุผล และปั่นหัวให้เรา เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของสงคราม ให้ยอมสละแขนขา ยอมเสีย่ งชีวติ และยอมลงมือฆ่าคนอืน่ หรืออย่างน้อย ที่สุดก็ไปสนับสนุนให้มีการฆ่ากันโดยเราไม่รู้สึกผิด แต่กลับรู้สึกว่ามันคือวีรกรรม จนกระทัง่ เมือ่ สงครามจบลง เมือ่ ความรูส้ กึ กลัว จางหายไปแล้ว ทหารผ่านศึกจ�านวนมากทีบ่ าดเจ็บ พิการ หรือเคยลงมือพรากชีวิตคนอื่น จึงกลับผิดหวัง เสียใจ และคิดว่าตนเองถูกหักหลัง หลอกให้ไปสูร้ บอย่างไร้เหตุผล เหมือนตอนหลังจากการล้อมปราบผู้ชุมนุม ปี 2553 หรือหลังม็อบนกหวีดที่น�าไปสู่การรัฐประหาร ปี 2557 ลึกๆ ในใจของทั้งสองฝ่ายรู้สึกว่าโดนหักหลัง และผิดหวังพอกัน เพราะก่อนหน้านัน้ เหล่าอินฟลูเอนเซอร์ ของแต่ละฝ่ายต่างก็เพิง่ จะพาสาวกของตนเองออกมา ห�้าหั่นกันมาหยกๆ วิธกี ารก็คอื การแปลงความเกลียดชัง การใส่รา้ ย ป้ายสี และข่าวปลอมทั้งหลาย ให้กลายเป็นสเตตัส ทวีต ค�าคม แก๊กตลก บทความ ข่าว ภาพถ่าย ภาพการ์ตนู คลิปวิดโี อ แอพฯ จดหมายเปิดผนึก ฯลฯ หรือในรูปแบบ อืน่ ๆ เท่าทีเ่ ทคโนโลยีดจิ ติ อลจะอ�านวย เพือ่ เปิดให้เรา ในฐานะสาวกแชร์ รีทวีต หรือส่งมันต่อๆ ไป หลังจากทีเ่ ราเป็นฝ่ายเปิดรับข่าวสารมาตลอด ชีวติ พอมีโซเชียลมีเดียมาช่วยเปิดช่องให้สามารถเป็น ฝ่ายส่งข่าวสารบ้าง เราก็รบี รับบทบาทนีด้ ว้ ยความเห่อเหิม เราเลียนแบบพิธีกรคุยข่าว คอลัมนิสต์ การ์ตนู นิสต์ การเมือง หรือแม้กระทัง่ นักข่าวภาคสนาม เรารีบกระโจน เข้าสู่ทุกๆ สมรภูมิอย่างทันทีทันใด เมื่อเห็นอะไรโผล่ ขึน้ มาใหม่บนนิวส์ฟดี รีบเห็นด้วย-ไม่เห็นด้วย รีบแสดง ท่าที จุดยืน ความเห็น แล้วก็แชร์ต่อออกไป เพือ่ ระดม พวกพ้องออกไปเปิดศึกกับฝ่ายตรงข้าม แล้วท่าที ที่ แ สดงออกไปเหล่ า นั้ น จะผู ก มั ด เราตลอดไปด้ ว ย ความยึดมั่นถือมั่นในอัตตาของเราเอง พวกอินฟลูเอนเซอร์รจู้ ดุ อ่อนพวกนี้ เขาจึงส่งเสริม อัตตาเราด้วยการอัดฉีดอุดมการณ์สูงส่งให้อัตตาเรา โป่ ง พอง ในขณะที่ เ ราก็ ส ่ ง เสริ ม อั ต ตาของพวก อินฟลูเอนเซอร์ด้วยการกดไลก์ รีทวีต และคอมเมนต์ สรรเสริญเยินยอ ให้กลับไปเป็นการตอบแทน ในหน้าจอจึงฝุ่นตลบและคละคลุ้งคาวเลือด พวกเราคิดว่าตัวเองเป็นทหารหาญที่ก�าลังกุมเมาส์ และคียบ์ อร์ดในมือไว้มนั่ เพ้อฝันว่าก�าลังต่อสูเ้ พือ่ เหตุผล ทีส่ งู ส่งมากๆ แสดงวีรกรรมอยูห่ น้าจอของเรา หลอกตัวเอง ว่ า ไม่ ไ ด้ ท ะเลาะกั น ด้ ว ยเหตุ ผ ลกระจอกงอกง่ อ ย เพียงแค่เพราะว่าเราเสพติดมัน เราก�าลังเสพติดความรุนแรง เราทะเลาะกัน เพราะเราชอบทะเลาะกัน ไม่มีอะไรมากกว่านั้น อัตตาของเรา - ก่อสร้างขึ้นมาจากอุดมการณ์ อันสูงส่ง ซึ่งส่วนใหญ่มุ่งสร้างคู่ตรงข้ามแบบด�าขาว

เราเห็นว่าตัวเองขาว เพราะการชีน้ วิ้ ใส่คนอืน่ ว่าเขาด�า ไลฟ์สไตล์ของเรา - คือการเว้าวอนหาเรื่อง ทะเลาะกั บ คนอื่ น ทั้ ง ที่ รู ้ จั ก และไม่ รู ้ จั ก โดยรู ้ ตั ว หรือไม่รู้ตัวก็ตาม แต่มันเป็นไปโดยอัตโนมัติไปแล้ว ที่ตื่นขึน้ มาทุกเช้า เราจะกวาดตามองหาประเด็นความขัดแย้ง หรือใครสักคนมาเป็นเป้าหมายของการทะเลาะ เพือ่ นฝูงรอบตัวเรา - ล้วนมีอปุ าทานหมูร่ ว่ มกัน ต่างมาช่วยกันรีทวีตหรือกดไลก์แลกเปลี่ยนกันไปมา เพือ่ แสดงให้เห็นว่าเราร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของกลุม่ เดียวกัน ภายในกลุม่ ของแต่ละฝ่าย ทุกคนต้องเร่งพิสจู น์ ตัวเองว่ามีความจริงแท้ มัน่ คงในอุดมการณ์ ทุกคนก็ยงิ่ ต้องแสดงความสุดโต่งโดยการเร่งแชร์และรีทวีตให้มากขึน้ เรื่อยๆ ไม่มีใครอยากหยุด ลึกๆ ในใจทุกคนรู้ดีว่า ถ้าความรุนแรงที่ด�าเนินอยู่ในตอนนี้หยุดลงเมื่อใด หรือถ้าเราลด ละ เลิกไลฟ์สไตล์ที่สุดแสนจะไฮเทค แบบในตอนนี้ คือการติดตามข่าวสารและแชร์ความเห็นได้ แบบทุกที่ ทุกเวลา ตัวตนของเราก็จะล้มครืนลงในพริบตา และแล้วเราแต่ละคนกลายเป็นเหมือนเม่น มีหนามแหลมรอบตัวเรา เรามุง่ ท�าร้ายกันและกัน และ เราต่างก็ไม่กล้าเข้าใกล้กันอีกแล้ว ในขณะทีม่ หี ลายคนเริม่ รูส้ กึ ขยะแขยงพฤติกรรม เช่นนีข้ องตัวเอง เขาพบว่าตัวเองได้เปลีย่ นแปลงไปจน กลายเป็นคนที่เราไม่อยากเป็น ผมคิดว่านั่นคือวินาที ทีเ่ ราได้เริม่ ฉุกคิด เราต่างเป็นแรงปฏิกริ ยิ าของกันและกัน เราต่างก็ถูกก�าหนดโดยแรงกระท�าที่มีมาก่อนหน้า และตอนนี้เราต่างก็ก�าลังสะท้อนแรงนั้นไปมาอย่าง ไร้เดียงสา ในทุกครัง้ ทีม่ กี ารสะท้อน เราก็ได้เพิม่ แรงส่ง ของเราเองเข้าไปอีก สภาพทีเ่ ห็นและเป็นอยูใ่ นทุกวันนี้ รวมถึงสิง่ ที่ ผ่านมาแล้ว ความสูญเสีย บาดเจ็บ ล้มตาย พังพินาศ และความบาดหมางกับเพื่อนฝูง หรือแม้กระทั่งคน ในครอบครัวเราเอง จึงล้วนเป็นผลรวมของแรงจากเรา ทุกคนที่กระท�าต่อกัน มันจึงไม่ใช่เรือ่ งว่าใครถูกใครผิด ใครดีใครเลว ใครมีเหตุผลหรือใครไร้เหตุผล เพราะในยุคสมัยทีม่ นุษย์ ได้ข้ามพ้นจากเหตุผลไปตั้งนานแล้ว เราสามารถ หาเหตุ ผ ลที่ ถู ก ต้ อ ง ที่ ดี ง าม ที่ ส มเหตุ ส มผลที่ สุ ด มาอวดอ้างเพื่อท�าสิ่งที่ไร้เหตุผลได้เสมอ ค�าตอบทีน่ า่ ขยะแขยงจนไม่มใี ครอยากยอมรับ ว่าเราเพียงแค่ชอบมัน เราเสพติดมัน ผมยกฝ่ามือทั้ง สองข้างของตนเองทีก่ า� ลังวางอยูบ่ นเมาส์และคียบ์ อร์ด ขึ้นมาแบดูให้เห็นชัดๆ กับตา และนึกสงสัยขึ้นมาว่า นี่พวกเราก�าลังท�าอะไรกันอยู่? เพียงแค่กรอบสี่เหลี่ยมเล็กๆ ขนาดไม่กี่นิ้ว ภาพคนบาดเจ็บล้มตาย ตึกอาคารพังพินาศวอดวาย ความรุนแรงเกลือ่ นเต็มท้องถนน ถ้อยค�าด่าทอ เหน็บแนม การดูถูกเหยียดหยามกันไปมา ...เราสามารถยุติได้ ถ้าเราต้องการเช่นนั้นจริงๆ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.