a day BULLETIN 590

Page 1

TODAY EXPRESS PRESENTS

13 MAY 2019

591 590 589


F E AT U R E เรื่อง : กองบรรณาธิการ ภาพ : สยาม-ไทย ณ ห้วงกาล

02 ISSUE 590 13 MAY 2019


TH E C ORON ATION OF

K I NG R A M A X เมื่อวันที่ 4-6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ประเทศไทยมี เหตุ ก ารณ์สา� คัญทีส ่ ด ุ หน้าหนึง่ ใ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ นั่ น คื อ พระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ขึ้ น เป็ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว อย่ า งสมบู ร ณ์ ต าม โบราณราชประเพณี โ ด ย ต ล อ ด พ ร ะ ร า ช พิ ธี บรมราชาภิเษก a day BULLETIN ได้ร่วมงานกับทีมช่างภาพ ‘ ส ย า ม - ไ ท ย ณ ห้ ว ง ก า ล ’ (SiamThaiBetweenTimes) เพื่ อ น� า ภาพอั น น่ า ประทั บ ใจ มาเผยแพร่ เพื่ อ ให้ ป ระชาชน ชาวไทยเก็ บ ไว้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ใน ห้วงความทรงจ�าในหัวใจตลอดไป

03 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

ภาพโดย : กัมพล คุ้มวงษ์


วันแรกของพระราชพิธี โดยในช่วงเช้าเป็นพระราชพิธีสรงมุรธาภิเษก ณ ชาลาพระที่นั่ง จักรพรรดิพิมาน และทรง รับน�้าอภิเษก ณ พระที่นั่ง อัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ และทรงรับเครือ ่ งราชกกุธภัณฑ์ ขัตติยราชวราภรณ์ และพระแสง ณ พระที่นั่งภัทรบิฐ เสด็จออกมหาสมาคม รับการถวายพระพร ชัยมงคล ณ พระที่นั่ง อัมรินทรวินิจฉัย ในเวลา 14.00 น. เสด็จฯ โดย

1

ขบวนราบใหญ่ไปยัง

ในสมัยโบราณ การยิงสลุตคือการส่งสัญญาณให้ผู้คนและเจ้าหน้าที่ที่อยู่ไกลออกไปได้ยิน เพื่อเป็นการบอกว่า งานพระราชพิธีนั้นได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว และเจ้าหน้าที่ก็จะท�าการส่งสัญญาณต่อไปเป็นทอดๆ ไปยังหัวเมืองต่างๆ เพื่อรับรู้ถึงพิธีการนี้ ซึ่งเป็นการสื่อสารอีกรูปแบบหนึ่งในอดีตกาล

พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ปราสาท พระเทพบิดร และพระทีน ่ งั่ ดุสิตมหาปราสาท ในเวลา 16.00 น. ก่อนเจ้าพนักงาน เวียนเทียนสมโภช ณ หมู่พระมหามณเฑียร ในเวลา 18.00 น. ขณะมีการเฉลิม พระราชมณเฑียร เถลิง พระแท่นราชบรรจถรณ์ ณ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน ในช่วงเวลา 13.19-20.30 น.

2

เรือสุพรรณหงส์จอดเทียบท่าราชนาวีสโมสร โดยเรือสุพรรณหงส์นั้นถือเป็นเครื่องประกอบ พระบรมราชอิสริยยศตามโบราณราชประเพณี

5

3

การท�าพิธีบวงสรวงก่อนน�าเรือสุพรรณหงส์ออกจากกรมอู่ทหารเรือ

4

การแสดงนาฏศิลป์มโนราห์ตัวอ่อน โดยชมรมนาฏศิลป์ กรมประชาสัมพันธ์

04 ISSUE 590 13 MAY 2019


7

8

6

ภาพบรรยากาศของ ประชาชนที่มาเฝ้ารับเสด็จ ตัง้ แต่เช้าจรดเย็น โดยบางคน ก็แต่งชุดไทยเต็มยศมา เพื่อแสดงความจงรักภักดี และความผูกพันของเขา ที่มีต่อพระมหากษัตริย์ สมัยรัตนโกสินทร์

9

10

1

4

9

ภาพโดย : กัมพล คุ้มวงษ์

๔ ๐๕ ๖๒ 2

8

ภาพโดย : ชัชวาล ดาจันทร์

05 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

3

5

ภาพโดย : วรรนธนี อภิวัฒนเสวี

6

10

ภาพโดย : เกรียงไกร ไวยกิจ

7

ภาพโดย : อัครินทร์ อัศววารินทร์


1

วันที่สองของพระราชพิธี

2

ริว้ กระบวนฯ ได้ดา� เนินไปทีถ ่ นนพระสุเมรุ เลีย ้ วเข้าสูถ ่ นนราชด�าเนินกลาง ทีเ่ ต็มไปด้วยไฟประดับทีง ่ ดงาม ยิง ่ ใหญ่ และมุง ่ หน้าสูว่ ด ั ราชบพิธสถิตมหาสีมาราม

3

สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ในฉลองพระองค์เครื่องแบบเต็มยศนายทหารพิเศษมหาดเล็กรักษาพระองค์ เสด็จฯ เคียงพระราชยานในขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค

นั้น เป็นพระราชพิธี เฉลิมพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย และสถาปนา ฐานันดรศักดิ์พระบรมวงศานุวงศ์ เลี้ยงพระ เทศน์ ณ พระทีน ่ งั่ อัมรินทรวินิจฉัย ก่อนในเวลา 16.00 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จ พระราชด�าเนินเลียบ พระนครโดยขบวน พยุหยาตราทางสถลมารค เริม ่ จากพระทีน ่ ง ั่ อาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท วัดบวรนิเวศวิหาร วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร ไปยัง วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ตามล�าดับ

๕ ๐๕ ๖๒ 1

4

ภาพโดย : ณัฐสุดา จันทระ

2

ภาพโดย : ชัชวาล ดาจันทร์

3

ภาพโดย : ชฎาธาร ฉายปุริยานนท์

06 ISSUE 590 13 MAY 2019


4

07

ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN


1

2

ริ้วกระบวนพยุหยาตราทางสถลมารค ได้เดินกระบวนไปยังเส้นทางตามหมายก�าหนดการ โดยเหล่าประชาชนที่มาเฝ้าชมพระบารมีต่างเปล่งเสียง “ทรงพระเจริญ” อย่างกึกก้อง

08 ISSUE 590 13 MAY 2019


3

4

6

5

1

7

8

ภาพโดย : อัครินทร์ อัศววารินทร์ 7 2

ภาพโดย : ชัชวาล ดาจันทร์ 3

4

5

ภาพโดย : ชฎาธาร ฉายปุริยานนท์ 6

ภาพโดย : กัมพล คุ้มวงษ์

8

09 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

พระทีน ่ งั่ พุดตานกาญจนสิงหาสน์ หรืออีกชื่อหนึ่ง คือ พระราชยานพุดตาน ทอง เป็นพระที่นั่ง ส�าหรับพระมหากษัตริย์ ประทับห้อยพระบาท ท�าด้วยไม้สักแกะสลัก ลายหุ้มทองทั้งองค์ เหนือพระแท่นเป็นทีป ่ ระทับ มีพนักสามด้าน และมี กระดานพิงอยู่เบื้องหลัง ด้านนอกพนักมีใบปรือ ประกอบอยู่ด้านซ้ายและ ด้านขวา และประดับ กระจังใบเทศเล็กๆ เรียง เฉพาะด้านนอกใบปรือ จากนั้นจึงเป็นบัวคุ่ม ชั้นต�่าลงเป็นท้องไม้เว้า เข้าด้านใน ประดับด้วย เทพพนมและครุฑแบก 2 ชั้น แกะสลักปิดทอง โดยรอบ


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั เสด็จออก ณ สีหบัญชร พระทีน ่ งั่ สุทไธสวรรย์ปราสาท ให้ประชาชน เฝ้าฯ ถวายพระพร ชัยมงคล ในเวลา 16.30 น. ก่อนจะเสด็จออกพระที่นั่ง จักรีมหาปราสาท ให้ทูตานุทูต และกงสุล ต่างประเทศเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายพระพร ชัยมงคลในเวลา 17.30 น.

ข้าพเจ้าและพระราชินีรู้สึกยินดีและปลื้มใจมาก ทีไ่ ด้เห็นประชาชนทัง้ หลายมีไมตรีจต ิ พร้อมเพรียงกัน มาร่วมแสดงความปรารถนาดีในวาระบรมราชาภิเษก ของข้าพเจ้าครั้งนี้ ความพร้อมเพรียงของท่าน ทั้งหลายผู้มาประชุมพร้อมกัน ณ ที่นี้ เพื่ออวยชัย ให้พร แก่ข้าพเจ้าด้วยน�้าใจไมตรีและความปรารถนาดีอย่างจริงใจนั้น เป็นที่จับตา จับใจ และ ท�าให้ขา้ พเจ้าอิม ่ ใจอย่างยิง่ ขอให้ความพร้อมเพรียง ของท่านทั้งหลายในการแสดงไมตรีจิตแก่ข้าพเจ้า ครั้งนี้ จงเป็นนิมิตหมายอันดีที่ทุกคน ทุกฝ่าย จะพร้อมกันบ�าเพ็ญกรณียกิจเพื่อความเจริญ รุ่งเรืองของประเทศชาติของเราต่อไป ขอขอบใจ ในค�าอ�านวยพร ซึ่งนายกรัฐมนตรีได้กล่าวในนาม ของทุกคน และขอสนองพรให้ทก ุ ท่านมีความผาสุก สวัสดี พร้อมทั้งความส�าเร็จในสิ่งอันพึงปรารถนา จงทั่วกัน”

พระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการเสด็จออก ณ สีหบัญชร พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปราสาท วันที่ 6 พฤษภาคม 2562

1

2

1

ภาพโดย : เกรียงไกร ไวยกิจ 3

4

10 ISSUE 590 13 MAY 2019


2

4

ภาพโดย : ชัชวาล ดาจันทร์

๖ ๐๕ ๖๒

11 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

3

ภาพโดย : กัมพล คุ้มวงษ์


1

4

2

3

ประชาชนต่างพร้อมใจกันเปล่งเสียง “ทรงพระเจริญ” อย่างกึกก้อง เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออก ณ สีหบัญชร พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปราสาท ในเวลา 16.30 น.

1

ภาพโดย : เกรียงไกร ไวยกิจ

2

5

5

ภาพโดย : ชัชวาล ดาจันทร์

4

6

ภาพโดย : ชฎาธาร ฉายปุริยานนท์

3

7

ภาพโดย : อัครินทร์ อัศววารินทร์

6

12 ISSUE 590 13 MAY 2019


7

13

ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN


ช่วงเช้าของวันที่ 7 พฤษภาคม มูลนิธิ พระคชบาล, วังช้างอยุธยา แล เพนียด และกลุ่ม คชสารคู่แผ่นดิน ได้น�า ช้างคชลีลาจ�านวน 10 เชือก และช้างวัง ‘พลายสยาม’ ท�าการเชิญตราสัญลักษณ์ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 จ�านวน 1 เชือก มาตั้ง ขบวนเทิดพระเกียรติ เพื่อท�าการถวายพระพร ชัยมงคลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั ณ บริเวณ หน้าวัดพระศรีรต ั นศาสดาราม ด้านหน้าพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยการเดินขบวน เทิดพระเกียรติครั้งนี้ ช้างคชลักษณ์จ�านวน 10 เชือก ได้ท�าการแสดง คชลีลาก้าวท้าว จ�านวน 10 ก้าว และแสดงการแปรแถว รวมถึงเหล่า เจ้าหน้าที่จ�านวน 500 คน ได้ก้มกราบพื้น 1 ครั้ง

1

นาน 19 วินาที เพือ ่ ถวาย พระพรชัยมงคลพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นการแสดงออก ถึงความจงรักภักดี

๗ ๐๕ ๖๒ 2

3

14

ISSUE 590 13 MAY 2019


4

พลายเอกชัย ช้างเผือกประจ�ารัชกาลที่ 10 มีลักษณะตรง ตามคชลักษณ์ 7 ประการคือ ตาขาว, เพดานขาว, เล็บ ขาว, ขนขาว, พื้นหนังขาว, ขนหางขาว, อัณฑโกศขาว อายุ 33 ปี มีรูปร่างสวยงาม น�้าหนักตัวประมาณ 3 ตัน ความยาวของงามากกว่า 100 เซนติเมตร เส้นรอบวง บริเวณงา 28 เซนติเมตร

5

6

7

1

2

ภาพโดย : กัมพล คุ้มวงษ์

ภาพโดย : วรรนธนี อภิวัฒนเสวี

15 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

3

5

6

7

ภาพโดย : เกรียงไกร ไวยกิจ

4

ภาพโดย : อัครินทร์ อัศววารินทร์


ISSUE 590

FEATURE 1 ประมวลภาพงานพระราชพิธี บรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 591 590 589

TODAY EXPRESS PRESENTS

13 MAY 2019

FEATURE 2 ท�าความรู้จักประวัติศาสตร์ ของงานพระราชพิธีบรม ราชาภิเษกในอดีต

THE CONVERSATION พูดคุยกับ 7 ช่างภาพ สยาม-ไทย ณ ห้วงกาล ถึงภารกิจครัง้ ใหม่ ทีส ่ า� คัญในชีวต ิ ของพวกเขา

EDITOR’S NOTE ศิลปิน : ศักดิว ์ ุฒิ วิเศษมณี

พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์ ใน a day BULLETIN ฉบับ 590 นี้ เป็นผลงานของ จิตรกรนักวาดภาพ ศักดิ์วุฒิ วิเศษมณี

บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อชีวิตและสังคม ผ่านสายตา วุฒชิ ย ั กฤษณะประกรกิจ

ทีป ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการทีป ่ รึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ้ ม ิ พ์ผโู้ ฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒช ิ ย ั กฤษณะประกรกิจ รองบรรณาธิการบริหาร ฆนาธร ขาวสนิท บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นั ก เขี ย น/ผู้ ป ระสานงาน ตนุ ภั ท ร โลหะพงศธร หั ว หน้ า ช่ า งภาพ กฤตธกร สุ ท ธิ กิ ต ติ บุ ต ร ช่ า งภาพ ภาสกร ธวั ช ธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ิ สกุล ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิม ้ แย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิรล ิ ก ั ษณ์ ตะเภาหิรญ ั ศิลปกรรม ฐิตช ิ ญา อนันต์ศร ิ ภ ิ ณ ั ฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง กวินนาฏ หัวเขา ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ภรั ณ ภพ สุ ข อิ นทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจุฬ างกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อัง ศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐ วีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com

CONTENTS

16 ISSUE 590 13 MAY 2019


Dž˦ˑLjDžǥDž˦ˑLjǬǐƮˎǘ

ɉǩǗLjːǠ˚ǜ˒ǥǫdžǛɊ Nj ǪDŽLjǤˎǒƮǥǏˢ

'ï = L"-,@ 2=, =,"@P H &õ $ H8 0< 4 ò H )=; < 2 AP I î = < $ L&K$I î 0 ; "ï 8 !?P $ H5$î 6 ò 8 'ï = I î 0 ;'B $ L,î L ï ,@ H )@ - 2=, =,I6î 3? 0 &í H "î = $<Q $ I -î < I( L& ï2-+D,&? p ó p=)B$Q %ï=$ A P H&õ$3=5 .ò"5@P %B "8 <$,=8-î= -=2$=$

ĐĨěĞĥĕĐĥĞċĩĸıĉõĉŕĦû ęěĈęĦĖċĩĸğęĦõğęĦĖ õęĦĖİďŝčûĦčĜĨęďĤ ċĩĸčŕĦĉīĸčĉĦĉīĸčijü ıęĤİĕīĸġĐĞĦčİöŖĦõĥĎõĦėĈĩĴÿčřijčėĭďıĎĎijğĕŕĶ õķĖĨĸûöĥĎ øěĦĕûĦĕöġûĐŖĦijğŖIJĈĈİĈŕč üĪûĴĕŕčĦŕ ıďęõijüİęĖċĩõĸ ĦėıĞĈûĐęĨĉĔĥćąř İĞčŕğĐř ĦŖ ĴċĖĞĭĞŕ Ħõęy ÿĪĸûüĥĈöĪĹčėĤğěŕĦûěĥčċĩĸ 46N4; İĕĝĦĖč 4784 ć # ŭŲ

% Ų õėĬûĎĭĈĦİďĞĉř ĞĦČĦėćėĥĄĢĥûõĦėĩ üĤĴĈŖėĥĎõĦėĉġĎėĥĎġĖŕĦûûĈûĦĕ ċĥĹûüĦõ ĐĭŖİöŖĦėŕěĕþĕûĦčıęĤĔĦøČĬėõĨü IJøėûõĦėõĦėüĥĈıĞĈûĐęûĦč ','( İĞčŕğřĐŖĦĴċĖĞĭŕĞĦõęy İďŝč øěĦĕėŕěĕĕīġėĤğěŕĦû õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč õėĤċėěûĕğĦĈĴċĖ ĞĊĦčċĭĉĴċĖ ďėĤüĽĦĞĦČĦėćėĥĄĢĥûõĦėĩ ĞĽĦčĥõûĦčĞŕûİĞėĨĕõĦėøŖĦijčĉŕĦûďėĤİċĜ ć õėĬûĎĭĈĦİďĞĉř ĞĽĦčĥõûĦčõĦėċŕġûİċĩĸĖě ć õėĬûďėĦõ ĞĦČĦėćėĥĄİþø ĎėĨĝĥċõĦėĎĨčĴċĖ ďėĤüĽĦõėĬûİěĩĖččĦ ĞĦČĦėćėĥĄġġĞİĉėĩĖıęĤĖĬIJėďĉĤěĥčġġõ ıęĤĞĊĦĎĥč ĒĥĆčĦěĨĞĦğõĨüöčĦĈõęĦûıęĤöčĦĈĖŕġĕ O!+% P ċĩøĸ Ĉĥ İęīġõĐĭďŖ ėĤõġĎõĦė ','( ďėĤİĔċĐŖĦijčIJøėûõĦė /'/ N+ū üĽĦčěč 6 õęĬŕĕ : ėĦĖ ĴĈŖıõŕ ıĎėčĈř (ū ū ŲŲ ūŬ ŭ , ū ū Ñ Ų $ū %ŲŲ ıĎėčĈř # / &, ıĎėčĈř ū ūa Ų ū Ų ıęĤıĎėčĈř Ŭ *

ŲŲ ĴĈŖİĈĨčċĦûĴď İöŖĦėŕěĕIJøėûõĦėøėĥĹûčĩĹ

Ğĕğěĥû ĒŕěûĎĦûIJĒ ėġûġČĨĎĈĩõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč ÿĪĸûĴĈŖėĥĎ ĕġĎğĕĦĖüĦõ čĨĞĨĉ üĥčċėřĞĕěûĜř ġČĨĎĈĩõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč ijğŖİďŝč ğĥěğčŖĦøćĤčĽĦċĩĕėŕěĕûĦčøėĥĹûčĩĹ ĴĈŖİġŕĖĊĪûûĦčċĩĸİõĨĈöĪĹčěŕĦ ĕĩěĥĉĊĬďėĤĞûøř ĞĽĦøĥāøīġİĐĖıĒėŕĐĦŖ ĴċĖĞĭĞŕ Ħõę ėěĕĊĪûijğŖİďŝčİěċĩİüėüĦČĬėõĨüėĤğěŕĦûčĥõČĬėõĨü ĖĬIJėďĉĤěĥčġġõõĥĎĐĭďŖ ėĤõġĎõĦė ','( ĴċĖ ÿĪĸûIJøėûõĦėİõĨĈöĪĹčĔĦĖijĉŖûĦč Ų , ū Ñ ū Ñ ū y ċĩĸďėĤõġĎĈŖěĖ 6 õĨüõėėĕ øī ġ õĦėİĈĨ č ıĎĎĐŖ Ħ öġû /'/ N+ū ÑŲ Ų ĔĦĖijĉŖ ı ĎėčĈř , ū ū Ñy õĦėďėĤõěĈġġõıĎĎĐŖĦđőĦĖĴċĖ IJĈĖĞĊĦĎĥčõĦėĜĪõĝĦ ijčĢĥûõĦėĩ õĦėčĽĦİĞčġİĕčĭġĦğĦėĴċĖ ıęĤõĦėİüėüĦČĬėõĨü õĨüõėėĕĈĥûõęŕĦěİďŝčĴďĉĦĕčIJĖĎĦĖöġûġČĨĎĈĩõėĕõĦėĒĥĆčĦ þĬĕþčijčõĦėĞŕûİĞėĨĕĞĨčøŖĦ ','( ijğŖĕĩøĬćĔĦĒ ĕĦĉėĄĦč õŖĦěĞĭŕĞĦõę ċĥĹûčĩĹĕĩĐĭŖİöŖĦėŕěĕûĦčõěŕĦ 47< øč ĴĈŖėĥĎõĦėĉġĎėĥĎİďŝčġĖŕĦûĈĩüĦõ čĥ õ ČĬ ė õĨ ü ĉŕ Ħ ûďėĤİċĜ ıęĤĕĩ õ ĦėİüėüĦČĬ ė õĨ ü İõĩĸ Ė ěõĥ Ď õĦėĞŕ û ĐŖ Ħ ĖŖ ġ ĕ ĞĩČėėĕþĦĉĨüĦõďėĤİċĜĴċĖİĒīġĸ čĽĦĴďĐęĨĉĐŖĦğŕĕõėĤüĦĖĞĭĖŕ IJĬ ėďĉĤěĥčġġõ İĖġėĕčĩ ıęĤđėĥĸûİĜĞ ÿĪĸûõĽĦęĥûİďŝčċĩĸĉŖġûõĦėöġûþĦěĖĬIJėďy ėġûġČĨĎĈĩ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþčİĐĖĊĪûøěĦĕĞĽĦİėķüċĩĸčŕĦþīĸčþĕ İďŝčġĩõõŖĦěöġûĐŖĦĴċĖċĩĸİĐĖİĞčŕğřĞĭŕĞĦõę

^ ūŭŲŬ ^ŭ a ŭÑÑ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč ĕĬŕûĕĥĸčİĞėĨĕĞėŖĦûİĜėĝĄõĨüĄĦčėĦõĕĥĸčøû İĒĨĸĕøěĦĕĞĬöĕěęėěĕijğŖďėĤþĦþč


16

WHERE TO FIND

issue 589 06 may 2019

Where the conversations begin. adaybulletin.com

หมอชิต

Meet

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

Up

สยามสแควร์

Every อโศก

Monday!

ศาลาแดง

BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น. หมอชิต อโศก

13

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ศาลาแดง

M 14

Pink Park EtErnal lovE ConCErt

คอนเสิ ร ์ ต การกุ ศ ล ‘Pink Park Eternal Love Concert’ พบกับ ก้อง สหรัถ, กบ ทรงสิทธิ,์ ทอม อิศรา, ปุ๊ อัญชลี, ป๊อด โมเดิรน์ ด็อก, โต๋ ศักดิส์ ทิ ธิ,์ เอ๊ะ จิรากร และ ไอซ์ ศรัณยู รายได้จากการจ�าหน่ายบัตรโดยไม่หัก ค่าใช้จา่ ย มอบให้มลู นิธิ ศูนย์มะเร็งเต้านมเฉลิมพระเกียรติ วันนี้ เวลา 19.00 น. ณ รอยัล พารากอน ฮอลล์ จ�าหน่ายบัตรที่ ไทยทิกเก็ตเมเจอร์

T 15

ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ากว่า 100 จุดทั่วประเทศ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน

W 16

Mongkhol 108

laSt DinoSaUrS livE in Bangkok

นิทรรศการ ‘มงคล ๑o๘’ โดย วัชรพงษ์ ขุนอาจ น�าเสนอความเชื่อของ มนุษย์ทมี่ ตี ่อวัตถุมงคล การเซ่นไหว้และยึดมั่น ป ฏิ บั ติ ต า ม กั น โ ด ย อาศั ย ประสบการณ์ ที่ เชือ่ มโยงกับเนือ้ หาหรือ วัสดุ ช่างไทยและสือ่ ผสม เพื่ อ การมี ชี วิ ต อยู ่ แ ละ ไม่ สิ้ น ความมั่ น ใจใน ความเป็นจริง วันนี้ถึง 26 พฤษภาคม 2562 ณ People’s Gallery หอศิลป์กรุงเทพฯ (เว้น วันจันทร์)

พบกับ Last Dinosaurs วงอินดี้ร็อกสุดฮอตจาก ออสเตรเลี ย เจ้ า ของ เพลงโปรดของคนไทย หลายๆ คน เช่น Zoom, Honolulu ฯลฯ ใน ‘Last Dinosaurs Live in Bangkok’ วันนี้ ประตูเปิด 19.00 น. ณ Live RCA จ�าหน่าย บัตรที่ Ticketmelon.com (วงเปิด : Telex Telex)

CALENDAR

Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

สยาม

TH 17

JaPanESE BrEakfaSt livE in Bangkok 2019

การกลั บ มาเมื อ งไทย อีกครั้งของ Japanese Breakfast หรือ Michelle Zauner ศิ ล ปิ น สาว อเมริกนั -เกาหลี จากเมือง ฟิ ล าเดลเฟี ย สหรั ฐ อเมริกา ใน ‘Japanese Breakfast Live in Bangkok 2019’ วันนี้ ประตู เปิด 19.00 น. ณ Live RCA จ� า หน่ า ยบั ต รที่ Ticketmelon.com

F 18

SA 19

S

karMa kaStlE

SarM Par Yang

ESCaPE fESt

หลบหนีความวุน่ วายใน เมืองไปดื่มด�่ากับธรรมชาติ สูดอากาศบริสทุ ธิท์ ี่ เขาใหญ่ เคล้าคลอกับ เสียงดนตรีสไตล์อิเล็กทรอนิก โดยศิลปินทัง้ จาก ไทยและต่ า งประเทศ ใน ‘Karma Kastle’ พบกับ DJ Dustin, Sevensol, DJ Ground, Akirahawks ฯลฯ วันนีถ้ งึ 19 พฤษภาคม 2562 ณ MiraSierra เขาใหญ่ จ�าหน่ายบัตรที่ Ticketmelon.com

นิทรรศการ ‘สาม พยางค์’ โดย Worawutt Intorn ถอดความหมายแห่ ง ชี วิ ต นิ ย า ม แ ห ่ ง สาม พยางค์ ซึ่ ง เป็ น เพียงแค่ความเชื่อของ คนบางกลุม่ สัญลักษณ์ ที่ อุ ป โลกน์ ขึ้ น มาเพื่ อ ปลอบใจตนเอง สาม พยางค์ คือความพอดี ความสมบู ร ณ์ ความสมดุล หรือเป็น ความเหมาะสมลงตัว จริงๆ หรือเปล่า วันนี้ ถึง 4 มิถุนายน 2562 ณ 606 Arts Space ซ.ประดิพัทธ์ 21 (เว้น วันจันทร์)

เ ท ศ ก า ล ด น ต รี ริ ม ชายหาดที่ผนวกศิลปะ สไตล์ชนเผ่าและดนตรี หลากหลายแนวเข้าด้วย กัน ‘Escape Fest ตอน Mystery Island’ พบกับ ดา Endorphine, ออฟ ปองศักดิ,์ ทอม+ตู+่ ว่าน นอนบ้านเพือ่ น, DJ Bobby Siam Massup, DJ Kongkwan ฯลฯ วันนี้ เวลา 15.00 น. ณ หาดหน้าด่าน อ.ขนอม จ.นครศรี ฯ จ�าหน่ายบัตรทีไ่ ทยทิกเก็ต เมเจอร์

18 issue 590 13 MAY 2019


THE PERFEC T C O M B I N AT I O N OF COFFEE AND MILK กลิน ่ หอมๆ และรสชาติเข้มข้นของ กาแฟแก้วโปรด ท�าให้เริม ่ ต้นวันใหม่ อย่างสดใสได้เสมอ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ตอนนีท ้ ค ี่ อกาแฟอย่างเรา ไม่จา� เป็นต้องเดินออกไปซือ ้ กาแฟ ถึงร้านกันอีกต่อไป เพราะนวัตกรรม ‘กาแฟแคปซูล’ ได้เข้ามาตอบโจทย์ การดืม ่ กาแฟให้งา่ ย สะดวกสบาย ด้วยรสชาติพรีเมียม ราวกับมี บาริสตาฝีมอ ื ดีมาชงให้ถง ึ บ้าน

3 NEW

COFFEE CAPSULE F R O M B A R I S TA C R E AT I O N S

1

แ ต่ ส� า ห รั บ ค อ ฟ ฟี่ เ ลิ ฟ เ ว อ ร์ ที่ ชื่ น ชอบการดื่ ม กาแฟกั บ นม เราขอพาคุ ณ ไปรู้ จั ก กั บ กาแฟ แคปซู ล 3 รสชาติ ใ หม่ จ าก เนสเพรสโซ ผู้ น� า ด้ า นกาแฟ แคปซูลและเครือ ่ งชงกาแฟชือ ่ ดัง จากประเทศสวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ที่รังสรรค์กาแฟใหม่ Barista Creations ผสมผสานเทคนิคของ การคัว่ กาแฟและการผสมผสาน เมล็ดกาแฟ (Blending) ผ่าน การค้นคว้าศึกษาหารสชาติและ สัมผัสทีส ่ มบูรณ์แบบมานานถึง 6 ปี จากกาแฟคาปู ชิ โ นกว่ า 20,000 แก้ว พร้อมท�าการทดลอง กับกาแฟจาก 18 ประเทศต้นก�าเนิด ทัว่ โลก จนเกิดเป็นผลลัพธ์กาแฟ ทีส ่ ามารถดืม ่ คูก ่ บ ั นมได้อย่างลงตัว

18-19 พฤษภาคม

ร่วมชิมกาแฟ 3 รสชาติใหม่และ สัมผัสประสบการณ์จากเนสเพรสโซ ได้ในงานเปิดตัว Barista Creations วันที่ 18-19 พฤษภาคม ทีล ่ านพาร์ค พารากอน

สามารถสร้างสรรค์ออกมาเป็นกาแฟใส่นม สุดกลมกล่อม เพียงแค่เติมฟองนมก็จะได้คาปูชโิ น รสนุม ่ (Light Cappuccino) พร้อมกลิน ่ หอม อ่อนๆ และรสชาติทห ี่ วานดัง่ คาราเมลและบิสกิต Chiaro หมายถึง แสงสว่างได้รบ ั แรงบันดาลใจ จากบาริสตาในย่านบรูคลิน สหรัฐอเมริกา

ด้วยความขมของกาแฟ ผสมผสาน รสเปรีย ้ ว และความกลมกล่อมของ นม Barista Creations จึงกลายเป็น กลุ่ ม กาแฟที่ ดื่ ม ได้ ใ นทุ ก โอกาส แถมยั ง สามารถเติ ม นมได้ ต ามใจ ในหลากหลายรูปแบบ ทั้งการเติม นมอุน ่ ๆ ลงไปเพียงเล็กน้อยเพือ ่ ชง เป็นกาแฟกอร์ตาโดรสเข้ม ไปจนถึง การเติมฟองนมส�าหรับกาแฟคาปูชโิ น แก้วใหญ่ละมุนลิน ้ หรือถ้าใครไม่ดม ื่ นมวัว ก็สามารถเติมนมถั่วเหลือง หรือนมข้าวโอ๊ตลงไปแทนได้ รสชาติ เยีย ่ มไม่แพ้กน ั

กาแฟ 3 รสชาติใหม่ จาก Barista Creations จะเพิม ่ เข้ามาเป็นผลิตภัณฑ์ทม ี่ ี การจ�าหน่ายอย่างถาวรตัง้ แต่วน ั ที่ 15 พฤษภาคม 2562 เป็นต้นไป สามารถหาซือ ้ ได้ทเี่ นสเพรสโซ บูตค ิ ทุกสาขา Nespresso Boutique ศูนย์การค้าสยาม พารากอน ชัน ้ 1, Nespresso Pop-Up Boutique Emquartier Helix Quartier ชัน ้ G, Nespresso Central Embassy ชัน ้ 2, Nespresso Mega Bangna ชัน ้ 1, Nespresso Boutique ศูนย์การค้าไอคอนสยาม ชัน ้ 1 โทร. 1800-019090 เว็บไซต์ www.nespresso.com หรือแอพพลิเคชันมือถือ Nespresso สามารถติดตามข่าวสารรวมทัง้ กิจกรรม ของ Nespresso ได้ที่ Nespresso

@Nespresso.th #NespressoTH

2

หากเติมฟองนมลงจะได้เป็น Intense Cappuccino ส�าหรับผูท ้ ช ี่ อบดืม ่ กาแฟรสเข้มและฟองนมเนียนนุม ่ Scuro หมายถึงความมืด ได้รบ ั แรงบันดาลใจมาจาก บาริสตาในเมืองเมลเบิรน ์ ประเทศออสเตรเลีย

3

มีความเข้มข้นของกาแฟและรสชาติทห ี่ นักแน่น เมือ ่ เติมนมลงไปเพียงเล็กน้อยจะได้เมนูกาแฟ กอร์ตาโด ซึง่ เป็นเมนูกาแฟท้องถิน ่ จากประเทศสเปน Corto หมายถึง เล็ก ได้รบ ั แรงบันดาลใจมาจาก บาริสตาในประเทศสเปน


อั พ เ ด ต แ ว ด ว ง ข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจ ในรอบสัปดาห์

TA LK OF T HE T OW N

ตอกย�้าความมัน กล้า บ้าคลั่งแบบ สุดขีด ในงาน S2O Music Festival 2019 ​ต้องยอมรับว่าสาวก​EDM​ชาวไทยและเทศต่าง ตัง้ ตารอชมการแสดงสดของ​Steve​Aoki​ดีเจดังระดับโลก ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแบบไม่เหมือนใคร​ที่สร้าง ความจดจ�านอกจากความมันของเพลงแล้ว​การพูดถึง เรื่องปาเค้กก้อนยักษ์ของ​Steve​Aoki​ก็กลายเป็นสิ่งที่ หลายคนอยากเห็นด้วยตาตัวเอง​ถึงขัน้ อยากโดนปาเค้ก ใส่เลยก็ว่าได้​แค่เพียงได้ยินข่าวแว่วว่าจะมาเยือนไทย ในงาน​S20​Music​Festival​2019​เหล่าบรรดาแฟนคลับ ก็พร้อมมารับความมันกันแบบจัดเต็มสุดๆ​ส่วนใครทีย่ งั ติดใจความสนุกของ​Steve​Aoki​พบกันอีกครั้งได้ที่งาน​ S2O​Japan​ที่ จ ะจั ด ขึ้ น ในวั น ที่ ​13-14​กรกฎาคมนี้​ ทีร่ มิ หาดโอไดบะ​โตเกียว​ประเทศญีป่ ่นุ ​ติดตามข้อมูล เพิม่ เติมได้ท​ี่ www.s2ofestival.com​และ​www.facebook. com/s2ofestival​หรือ​www.s2ojapan.com​และ​www. facebook.com/S2OJAPAN

บริดจสโตนกับภารกิจการส�ารวจ อวกาศนานาชาติ กั บ JAXA และโตโยต้า

‘เพชรสมุย ลูกเจ้าพ่อโรงต้ม’ คว้าแชมป์ Isuzu Cup Super Fight 2019

ธนาคารออมสิน เผยความเ ชื่ อ มั่ น เศรษฐกิ จ ฐานราก ไตรมาส 1 ปี 2562 ส่งสัญญาณ ดี ขึ้ น

ธุรกิจพิชิตล้าน ชาร์กแท็งก์ ไทยแลนด์

​บริดจสโตน​คอร์ปอเรชัน่ ​ประกาศเข้าร่วม ในภารกิจการส�ารวจอวกาศนานาชาติรว่ มกับ องค์การส�ารวจอวกาศญี่ปุ่น​(JAXA)​และ โตโยต้า​มอเตอร์​คอร์ปอเรชั่น​(โตโยต้า)​ โดยเป้าหมายของภารกิจนีย้ งั รวมถึงการขยาย ขอบเขตภารกิจของมนุษย์และการพัฒนา ทรัพย์สินทางปัญญาในการส�ารวจอวกาศ​ รวมถึงการวิจยั ประสิทธิภาพของยางทีจ่ า� เป็น ส�าหรับใช้กบั รถส�ารวจดวงจันทร์ควบคุมโดย มนุษย์และการรักษาความดันบรรยากาศ ภายในรถส�ารวจ​เพือ่ ช่วยให้รถส�ารวจเหล่านี้ สัมผัสกับพืน้ ผิวของดวงจันทร์ได้ดขี นึ้

บริษทั ​ตรีเพชรอีซซู เุ ซลส์​จ�ากัด​ร่วมกับ ไทยไฟท์​และสมาคมกีฬามวยสากลแห่ง ประเทศไทย​จัดการแข่งขันมวยไทยระดับโลก​ ‘Thai​Fight​เกาะสมุย’​กิจกรรมสปอร์ตทัวริซมึ ​ ริม หาดพรุเฉวง​อ� า เภอเกาะสมุ ย ​จัง หวัด สุราษฎร์ธานี​โดย​เพชรสมุย​ลูกเจ้าพ่อโรงต้ม​ ฉายาเพชฌฆาตเมืองน�า้ ด�า​ทีอ่ าศัยความฟิต เอาชนะคะแนนไปอย่างขาดลอย​พร้อมรับ ต� า แหน่ ง ตั ว แทนนั ก ชกไทยเตรี ย มพร้ อ ม ฟิ ต นวมสู ่ เ วที เ กี ย รติ ย ศ​Thai​Fight​2019​ ปลายปีนี้

​ช าติ ช าย​พยุ ห นาวี ชั ย ​ผู ้ อ� า นวยการ ธนาคารออมสิน​เปิดเผยว่า​ผลการส�ารวจ ดัชนีความเชื่อมั่นเศรษฐกิจฐานราก​(GSI)​ ประจ�าไตรมาส​1​ปี​2562​ได้ดา� เนินการส�ารวจ จากกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งประชาชนที่ มี ร ายได้ ไม่ เ กิ น ​15,000​บาท​ทั่ ว ประเทศ​จ� า นวน​ 2,186​ตัวอย่าง​พบว่าดัชนี​GSI​ไตรมาส​1​ ปี​2562​อยู่ที่ระดับ​46.1​ปรับเพิ่มขึ้นจาก ไตรมาส​4​ปี​2561​ทีอ่ ยูร่ ะดับ​45.9​เนือ่ งจาก ประชาชนฐานรากมีความรูส้ กึ เชือ่ มัน่ เพิม่ ขึน้ จากการปรับขึน้ เงินเดือนของผูท้ มี่ รี ายได้ประจ�า ในช่วงต้นปี​และมีความคาดหวังด้านเศรษฐกิจ หลังการเลือกตัง้ ว่ารัฐบาลใหม่จะสร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุน​และมีมาตรการเข้ามา ช่วยเหลือ/สนับสนุนผู้มีรายได้น้อยใหม่ๆ​ เพิ่มขึ้น

​ร่วมสนุกกับกิจกรรม​‘แชะ​แชร์​ชาร์ก’​ กติก าง่ า ยๆ​เพีย งแค่ ถ ่ า ยเซลฟี ตัว เองกับ หน้าจอทีวีขณะรับชมรายการ​แล้วโพสต์รูป ใต้โพสต์แบนเนอร์กิจกรรมในเพจ​www. facebook.com/sharktankTH​พร้อมตอบค�าถาม​ “คุ ณ ชอบผู ้ ป ระกอบการรายใดมากที่ สุ ด​ เพราะอะไร?”​และใส่​#SharkTankThailand​ แล้ ว แชร์ โ พสต์ ข องคุ ณ เป็ น ​‘สาธารณะ’​ โพสต์ ที่ ไ ด้ รั บ การแชร์ แ ละเหตุ ผ ลถู ก ใจ กรรมการมากทีส่ ดุ ​1​ท่านต่อสัปดาห์​จะได้รบั รางวัลสร้อยคอทองค�าหนัก​1​บาท​ประกาศ รายชื่ อ ผู ้ โ ชคดี ป ระจ� า เดื อ นพฤษภาคม ท้ายรายการวันที่​2​มิถุนายน​2562​ติดตาม รายการ​‘ธุ ร กิ จ พิ ชิ ต ล้ า น​ชาร์ ก แท็ ง ก์​ ไทยแลนด์’​ได้ทุกวันอาทิตย์​เวลา​12.15​น.​ ทางช่อง​7HD

BULLETIN BOARD

20 ISSUE 590 13 MAY 2019



อั พ เ ด ตแวดวง ข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจ ในรอบสัปดาห์

TA LK OF T HE T OW N

เอสซีจี เดินหน้ากลยุทธ์เติบโตอย่าง แข็งแกร่ง โดยเน้นธุรกิจแพ็กเกจจิ้ง ครบวงจร เ​อสซีจีแถลงผลประกอบการไตรมาสที่​1​ปี​2562​ พร้อมประกาศเดินหน้ากลยุทธ์สร้างการเติบโตอย่าง แข็งแกร่ง​โดยเฉพาะธุรกิจแพ็กเกจจิ้งครบวงจร​และ การค้าปลีกของธุรกิจซีเมนต์และผลิตภัณฑ์กอ่ สร้างทีม่ ี แนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง​ส่วนผลประกอบการภาพรวม มีก�าไรเพิ่มขึ้นร้อยละ​11​จากไตรมาสก่อน​นอกจากนี้ ยังเน้นการร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจ​เพือ่ ขับเคลือ่ น แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน​เช่น​ร่วมกับซีพ​ี ออลล์​และ กลุ่มบริษัท​ดาว​ประเทศไทย​ในการน�าขยะพลาสติก จากส�านักงาน​ศูนย์กระจายสินค้า​และร้านเซเว่น​อีเลฟเว่น​ มาผสมกับยางมะตอย​เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพถนนในพืน้ ที่ บริเวณหน้าร้าน​และเอสซีจยี งั พัฒนาธุรกิจการค้าระหว่าง ประเทศ​หรือเอสซีจ​ี อินเตอร์เนชัน่ แนล​ด้วยการผนึกก�าลัง พันธมิตรเพือ่ ให้บริการลูกค้าในรูปแบบโซลูชนั ครบวงจร​ และการพั ฒ นาธุ ร กิ จ โลจิ ส ติ ก ส์ ใ ห้ ต อบโจทย์ ต ลาด ทั้งอาเซียนและจีนตอนใต้​ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย

Singing in the Rain 4 เทศกาลดนตรีกลางแจ้งทีใ่ หญ่ ที่สุดในหน้าฝน

‘เจนนิเฟอร์ คิม ้ ’ ร้องอัลเทอร์เนทีฟร็อกในเพลง ‘ล่า’ ประกอบ ซีรีส์ ‘รสริน ล่าแวมไพร์’

G.H. Mumm เปิดตัวแชมเปญ ใหม่ล่าสุด Mumm 6

‘คริสปี้ ครีม แมงโก้ ซัมเมอร์ ดีไลท์’ ความอร่อยทีแ ่ สนลงตัว ส�าหรับร้อนนี้

​ก ลั บ มาอี ก ครั้ ง กั บ เทศกาลดนตรี อารมณ์ดสี นุกได้ไม่กลัวฝน​โดยปีนจี้ ดั ขึน้ เป็น ปีที่​ 4​ กลับมาพร้อมกับความมันกว่าเดิม​ สนุกกว่าเดิม​เปียกกว่าเดิม​อยากชวนเพือ่ นๆ​ วัยรุน่ ทุกคนมาอยูใ่ ต้รม่ คันเดียวกันที​่ Umbrella​ City​สถานที่จัดงานแห่งใหม่ซึ่งขยายพื้นที่ ความสนุกรองรับเพื่อนๆ​ให้เพิ่มขึ้นมากกว่า​ 10,000​คน​พร้อมเปิดประสบการณ์การฟังเพลง กลางสายฝนที่คุณจะลืมไม่ลง​ในวันที่​27​ กรกฎาคม​2562​ณ​Umbrella​City​ถนน ธนะรั ช ต์ ​กม.​21​เขาใหญ่ ​นครราชสี ม า​ ซื้อบัตรได้ที่​www.singingintherainfest.com​ บั ต รราคา​1,300​บาท​สามารถติ ด ตาม รายละเอียดเพิม่ เติมได้ท​ี่ www.facebook.com/ singingintherainfest

​ถอื เป็นอีกหนึง่ ศิลปินคุณภาพแถวหน้า ของเมืองไทยเลยก็ว่าได้​ส�าหรับ​เจนนิเฟอร์​ คิ้ม​ที่ล่าสุดทางโมโนมิวสิคได้ชักชวนเธอ มาร่วมถ่ายทอดอารมณ์ผ่านบทเพลง​‘ล่า’​ ประกอบซีรสี แ์ นวแอ็กชันแฟนตาซีเรือ่ ง​‘รสริน​ ล่าแวมไพร์​(Bangkok​Vampire)’​ได้ออนแอร์ ให้ชมกันแบบรวดเดียวจบโดยไม่มโี ฆษณาคัน่ ​ ผ่า นทาง​MONOMAX​(โมโนแมกซ์ )​ผู ้ น�า ดูหนังออนไลน์แบบถูกลิขสิทธิ์​ ภายใต้การผลิตของโมโน​ออริจินอล​ในเครือโมโน​กรุ๊ป​ MONOMAX​สามารถรับชมพร้อมกันได้ถึง​ 5​อุปกรณ์​ เพียงราคา​250​บาทต่อเดือน​ ส�าหรับสมาชิกใหม่ได้รับสิทธิ์ดูฟรี​1​เดือน ดูรายละเอียดเพิม่ เติมที​่ www.monomax.me

​ม ร.​เควนติน​จ็อบ​กรรมการผู้จัดการ​ บริษทั ​เพอร์นอต​ริคาร์ด​(ประเทศไทย)​จ�ากัด​ เอาใจเหล่าแชมเปญเลิฟเวอร์จัดงานเปิดตัว แชมเปญใหม่ ล ่ า สุ ด ​Mumm​6​ที่ ​CRU​ Champagne​Bar​-​A​G.H.​Mumm​Bar​ บาร์ แ ชมเปญแห่ ง แรกและแห่ ง เดี ย ว ในประเทศไทยที่ น� า เสนอประสบการณ์ สุดเอ็ก ซ์ คลู ซีฟ แห่ ง การลิ้มลอง​Mumm​6​ แชมเปญแห่งการเฉลิมฉลองอย่างแท้จริง​ ณ​CRU​Champagne​Bar​-​A​G.H.​Mumm​ Bar​ชั้น​59​โรงแรมเซ็นทารา​แกรนด์​แอต​ เซ็นทรัลเวิลด์​เอ็กซ์คลูซีฟพาร์ตเนอร์อย่าง เป็นทางการแห่งเดียวในประเทศไทย

​ค ริ ส ปี ้ ​ครี ม ​โดนั ท สู ต รลิ ข สิ ท ธิ์ ชื่ อ ดั ง ที่ครองใจคนทั่วโลก​ให้คุณสดชื่นคลายร้อน ด้ ว ยโดนั ท แสนอร่ อ ย​3​หน้ า ​3​รส​กั บ คอลเลกชัน​‘คริสปี​้ ครีม​แมงโก้​ซัมเมอร์​ดีไลท์’​ ที่ จั ด เต็ ม ด้ ว ยรสชาติ ข องมะม่ ว งเข้ ม ข้ น​ เริม่ ด้วย​‘แมงโก้​แพชชัน่ ’​โดนัทสอดไส้มะม่วง เต็มๆ​ค�า​เคลือบเยลโลว์ชอ็ กโกแลต​ท็อปปิง้ ด้วยบิสกิตครัมบ์​ต่อด้วย​‘แมงโก้​ครีม​เค้ก’​ โดนัท เคลือ บครีม มะม่ ว งเนีย นนุ่ ม ​พร้ อ ม บิสกิตครัมบ์กรุบกรอบและเนือ้ มะม่วง​ตกแต่ง ลวดลายด้วยคัสตาร์ดแสนหวาน​และปิดท้าย ด้วยน้องใหม่ล่าสุด​เอาใจแฟนคลับฟิล​ริง​ กับ​‘แมงโก้​เกรซ​ฟิล​ริง’​โดนัทออริจินอล สอดไส้มะม่วง​และเคลือบเกรซมะม่วงสูตรพิเศษ​ ที่อร่อยแบบค�าเดียวไม่เคยพอ​

BULLETIN BOARD

22 ISSUE 590 13 MAY 2019



F E AT U R E

24 ISSUE 590 13 MAY 2019


THE CORONATION 0F THE THAI MONARCH เมือ ่ ครัง ้ ทีไ่ ด้อา่ นหนังสือเรือ ่ ง สีแ่ ผ่นดิน เราได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์และบรรยากาศ ของประเทศไทยในอดีตจากค�าบอกเล่าของ ‘แม่พลอย’ ซึ่งเล่าถึงการเปลี่ยนแปลงของ พระมหากษัตริยใ์ นแต่ละรัชสมัยทีเ่ ธอพบเห็น มาตลอดชีวิต ช่วงเวลานั้นช่างห่างไกลจาก คนทีเ่ กิดในยุคของเจนวาย (หรือแม้แต่เจนเอ็กซ์) ในปัจจุบน ั เหลือเกิน เนือ ่ งจากพวกเรานัน ้ เป็น ไพร่ ฟ้ า หน้ า ใสที่ ใ ช้ ชี วิ ต อย่ า งรื่ น เริ ง ภายใต้ พระมหากษัตริยพ ์ ระองค์เดียว นัน ่ คือพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชฯ หรือที่เรียกกันติดปากว่า ในหลวง รัชกาลที่ 9 พวกเราต่างคุน ้ ชินทีเ่ ห็น ท่านทรงงานให้เห็นมาตลอด จนถึงคืนแห่ง ความวิปโยค วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ประชาชนจ�านวนมากจึงได้เข้าถึงความรู้สึก ของแม่ พ ลอยที่ บ รรยายเอาไว้ ใ นนวนิ ย าย ถึงบรรยากาศความเศร้าโศกของประชาชนต่อ การสวรรคตของรัชกาลที่ 8 ซึ่งไม่ต่างอะไร กั บ เราในตอนนี้ เ ลย หั ว ใจผู้ ค นอ่ อ นระโหย ถูกความเศร้ากัดกินกันทัว ่ หน้า แม้อากาศยัง พลอยสลดหดหูไ่ ปด้วย เหมือนความโศกตรม เป็ น โรคระบาดที่ เ กิ ด ขึ้ น เฉี ย บพลั น ภายใน คืนเดียวแพร่กระจายไปทัง ้ แผ่นดิน พอรุง ่ สาง ของวันถัดไป พวกเราก็กลายเป็นคนสองแผ่นดิน ไปเสียแล้ว เวลาแห่งความเศร้าโศกเหลือแค่ รอยจางในความทรงจ�า เราจ�าใจต้องยอมรับ ว่าในหลวง รัชกาลที่ 9 ท่านกลับสู่แดนสรวง ไปแล้ว เมื่อระลึกถึงครั้งใดน�้าตาก็เอ่อคลอ และประชาชนอย่างเราใช้เวลาเป็นปีเพื่อที่จะ ยอมรับว่าเราได้ก้าวเข้าสู่รัชสมัยใหม่กันแล้ว วันนี้วาระมหามงคลของพระเจ้าอยู่หัว พระองค์ใหม่ได้เริ่มขึ้น พร้อมกับเป็นปีที่น่า จดจ�าของประวัติศาสตร์ประเทศไทยอีกครั้ง เมือ ่ พระราชประเพณีโบราณได้มาถึง เราได้เห็น งานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเถลิงราชย์ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ที่คนไทยทั้งปวง ตื่ น เต้ น คนทั้ ง โลกก็ ใ คร่ รู้ ใ คร่ เ ห็ น รวมถึ ง ค�าราชาศัพท์ทห ี่ ลากหลาย และชือ ่ พิธแี ปลกหู แปลกตาซึง ่ ล้วนแต่เป็นศัพท์เฉพาะทางทีเ่ รา ได้ ยิ น เป็ น จ� า นวนมาก นั่ น แสดงให้ เ ห็ น ว่ า พระราชประเพณี โ บราณยั ง คงมนตร์ ข ลั ง ต่อประชาชนชาวไทยเสมอ ดังนั้น เราจึงขอ พาคุณย้อนเวลากลับไปดูเรือ ่ งราวพระราชพิธี บรมราชาภิเษกทีส ่ บ ื ทอดต่อกันมาตัง ้ แต่สมัย โบราณ

25 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN


น�้ำมุรธำภิเษก

พระรำชพิธบ ี รมรำชำภิเษกเถลิงถวัลย์ ขึ้นครองรำชสมบั ติ ที่ มี ก ำรใช้ น�้ ำ มุรธำภิเษกตำมหลักฐำนทำงประวัต-ิ ศำสตร์ ซึ่งค�ำว่ำ ‘ภิเษก’ เรำมักจะ คุ้ น เคยกันในงำนพระรำชพิธีต่ำงๆ เช่น อภิเษกสมรส ‘อภิเษก’ ไม่ได้แปลว่ำ ยิง่ ใหญ่เป็นพิเศษ และค�ำว่ำ ‘ภิเษก’ ก็ได้แปลว่ำพิเศษเช่นกัน แต่มำจำก กำรสมำสของค�ำว่ำ ‘บรมรำชำภิเษก’ ที่มำจำกค�ำว่ำ บรม + รำชำ + อภิเษก โดยอภิเษก แปลว่ำ รดน�ำ้ ถ้ำเทียบกับ พระรำชพิธบ ี รมรำชำภิเษกของประเทศ ตะวั น ตก กำรขึ้ น ครองรำชย์ ข อง กษัตริยจ์ ะตรงกับค�ำว่ำ Coronation หมำยถึง มงกุฎแห่งชัยชนะ ก็คอ ื พิธี สวมมงกุฎรำชำนั่นเอง แต่ผิดกัน ตรงทีร่ ำชวงศ์ฝรัง่ นัน ้ ไม่มพ ี ธ ิ ล ี งสรง, พิธรี ดน�ำ้ อย่ำงทำงเอเชียอำคเนย์ ภำพ : กรมประชาสัมพันธ์

นอกจากตัวงานพระราชพิธแี ล้ว น�า้ อภิเษกก็นบั เป็นอีกหนึง่ บทบาทส�าคัญของงาน ซึ่งเรียกน�้าชนิดนี้ว่า ‘น�้ามุรธาภิเษก’ มุรธา หมายถึง หัว, ยอด โดยน�้ามุรธาภิเษกนี้จะใช้ส�าหรับรด พระเศียรพระเจ้าอยู่หัวพระองค์ใหม่ ดังนั้น น�้าที่ใช้ในการนี้ จะต้องเป็นน�้าที่น�ามาจากแหล่งน�้าส�าคัญทั่วประเทศ ทั้งจาก สระหลวง แม่นา�้ แหล่งน�า้ ในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ทัง้ ในและนอกประเทศ ซึ่งในบันทึกทางประวัติศาสตร์นั้น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ที่มีการใช้น�้ามุรธาภิเษกครั้งแรกบันทึกในประวัติศาสตร์ย่าน อุ ษ าคเนย์ นั้ น ถู ก บั น ทึ ก ไว้ ใ นศิ ล าจารึ ก เจ้ า ชายจิ ต รเสน (พระเจ้ามเหนทรวรมัน) กษัตริยแ์ ห่งอาณาจักรเจือนเลอ (เจนละ) ซึ่งศิลาจารึกนี้ถูกค้นพบที่จังหวัดอุบลราชธานี มีข้อความสลัก เป็นภาษาปัลลวะ โดยท�าการสลักขึน้ เมือ่ ศตวรรษที่ 12 ซึง่ เป็น ยุคที่ผู้คนบูชาพระศิวะเป็นใหญ่ เจ้าชายจิตรเสนทรงเป็นบุรุษ ทีป่ รีชาสามารถ ทัง้ เรือ่ งการศึก การค้า กว่าจะได้ขนึ้ ครองราชย์ ต้องผ่านวิถีการเมืองมาไม่น้อย เรื่องราวของพระองค์จึงเป็น ที่กล่าวขานถึงในฐานะมหาราชที่ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่ง ต่อมาในประวัตศิ าสตร์กษัตริยไ์ ทย ‘พ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์’ จากจารึกวัดศรีชุม เล่าถึงยุคสุโขทัยเป็นราชธานี แสดงให้เห็น ว่าเรารับวัฒนธรรมนี้มาจากขอมโบราณ รวมทั้งพิธีพราหมณ์ ฮินดูตา่ งๆ ด้วยการเสกสมรสเชือ่ มสัมพันธไมตรี พ่อขุนผาเมือง ได้เสกสมรสกับนางสิงขรเทวี พระราชธิดาของพระเจ้าชัยวรมัน ที่ 7 กษัตริย์ขอมแห่งเมืองศรีโสธรปุระ (นครธม) และได้รับ พระราชทานพระนามว่ากมรเตงอัญศรีอินทรบดินทราทิตย์ หรือเรียกแบบไทยๆ ว่า พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พระนามนี้เป็นการอวยยศให้ราชบุตรเขย ที่ต่อไปใน อนาคตจะทรงขึ้นครองเมืองสุโขทัยสืบต่อพ่อขุนศรีนาวน�าถุม พระราชบิดา แต่บ้านเมืองในยามนั้นเพิ่งจะรบปราบกบฏ

ขอมสบาดโขลญล�าพงส�าเร็จ พ่อขุนผาเมืองจึงตัดสินพระทัย ให้ ‘พ่อขุนบางกลางหาว’ เจ้าเมืองราด ซึ่งเป็นพระสหายและ เป็นพระขนิษฐภรรดา (น้องเขย) ขึ้นครองราชย์แทน โดยยก พระนามพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ให้เพื่อจะได้ไม่ผิดราชโองการ ที่ว่าพระนามนี้ส�าหรับกษัตริย์สุโขทัยเท่านั้น พร้อมกับยก พระขรรค์ชยั ศรีซงึ่ เป็นสัญลักษณ์แห่งอ�านาจทีไ่ ด้รบั ประทานมา โดยมีสงิ่ เดียวงดเว้นไม่พระราชทานให้คอื นางสิงขรเทวีพระชายา เท่านั้น จากนั้นจึงเสด็จไปปกครองเมืองราดแทน ด้วยเหตุนี้พ่อขุนบางกลางหาวซึ่งเพิ่งได้พระนามใหม่ ว่า พ่อขุนศรีอินทราทิต ย์ ต้องเข้า พิธีบ รมราชาภิเษก และ น�้ามุรธาภิเษกก็ได้ปรากฏขึ้นมา เริ่มจากสุโขทัยมาสู่อยุธยา ในจารึกวัดป่ามะม่วง มีศลิ าจารึกสองภาษาทัง้ ภาษาไทย และ ภาษาเขมรกล่าวถึงเครื่องราชกกุธภัณฑ์ในพิธีบรมราชาภิเษก พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) ว่ามีมกุฎ พระขรรค์ชัยศรีและ เศวตฉัตร และต่อมาในยุคกรุงธนบุรี ไม่มจี ารึกหรือบันทึกหลักฐาน ใดว่ามีการใช้น�้ามุรธาภิเษกในพิธีพระบรมราชาภิเษก แต่ท�า พระราชพิธขี นึ้ ครองราชสมบัตโิ ดยไม่เน้นเต็มพระยศ เนือ่ งจาก ยามนัน้ บ้านเมืองยังไม่สงบสุขจากสงคราม ยังมีศกึ อยูร่ อบด้าน จนมาถึงยุครัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็น ปฐมวงศ์ราชวงศ์จกั รี จึงได้ใช้ตา� ราหอหลวงว่าด้วยพระราชพิธี บรมราชาภิเษกทีล่ ขิ ติ ไว้โดยเจ้าฟ้าอุทมุ พร หรือขุนหลวงหาวัด (ขุนหลวงวัดประดู)่ ซึง่ ถือว่าเป็นต�ารับทีล่ ะเอียดทีส่ ดุ ทีเ่ หลือรอด มาในยุคปลายอยุธยา และใช้สบื ทอดตามต�ารานีเ้ ป็นมาจนถึง รัชกาลที่ 3 ทัง้ อัญเชิญน�้าจากเบญจสุทธคงคา แม่น�้าทีบ่ ริสทุ ธิ์ 5 สาย อนุโลมว่าเป็นแหล่งน�า้ ศักดิส์ ทิ ธิเ์ ช่นเดียวกับปัญจมหานที ในประเทศอินเดีย มาเป็นน�า้ มุรธาภิเษก โดยเป็นความเชือ่ จาก

ศาสนาพราหมณ์ที่จ�าลองมาจากการน�าน�้าจากปัญจมหานที ในอินเดีย โดยการรวมแม่น�้าที่บริสุทธิ์ 5 สาย ได้แก่ แม่น�้า บางปะกง แม่น�้าป่าสัก แม่น�้าเจ้าพระยา แม่นา�้ ราชบุรี และ แม่น�้าเพชรบุรี ในยุ ค ของพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รัชกาลที่ 4 เป็นช่วงเวลาแห่งการเริ่มต้นเปลี่ยนแปลง โดยมี นานาอารยะเข้ามาสู่สยาม งานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก จึงเปลี่ยนรูปแบบของการท�าพิธีหลายอย่าง ตั้งแต่เพิ่มค�าว่า ‘บรม’ ลงไปในพิธรี าชาภิเษก ทัง้ นี้ เพือ่ ให้แยกแยะพระราชพิธี ออกจากพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หวั และในการตั้ง พิธีแต่เดิมใช้เพียงแค่พราหมณ์หลวงเท่านั้น แต่เนื่องจาก พระองค์ทา่ นเคยผนวชเป็นพระถึง 27 พรรษา จึงเพิม่ พิธอี ย่างพุทธ เข้ามาร่วมด้วย โดยให้พระสงฆ์ซึ่งเป็นพระครูพระปริตรไทย 4 รู ป สวดท� า น�้ า พระพุ ท ธมนต์ ใ นพิ ธี ส รงพระมุ ร ธาภิ เ ษก จึงมีน�้าพระพุทธมนต์เพิ่มขึ้นมา ในแท่นบรมพิธมี กี ารระบุไว้วา่ อัญเชิญน�า้ ศักดิส์ ทิ ธิจ์ าก ชัยภูมิ คงคา ยมุนา สระแก้ว สระเกษ มาเพิม่ เติม และระหว่าง ที่ผนวชก็เสด็จจาริกบุญไปทั่วประเทศก็ได้พบสระ 4 สระ จึงทรงตักน�้าจากสระ 4 สระ และมีขวดจากการตักน�้าเหลืออยู่ โดยมีน�้ามันอีก 4 ขวด เหตุที่เพิ่มเติมเพราะในสาแหรกวงศ์นั้น ราชวงศ์จักรีสืบสายมาจากสองราชวงศ์ คือ วงศ์ละโว้ และ วงศ์สุพรรณภูมิ โดยวงศ์ละโว้นั้นอัญเชิญน�้ามาจากเขมร ส่วน วงศ์สุพรรณภูมินั้นสันนิษฐานว่าขุนหลวงพะงั่วน�าน�้ามาจาก สุวรรณเขต (ปัจจุบันคือ แขวงสะหวันนะเขต ประเทศลาว) โดยมีจารึกไว้ว่าเป็นน�้าจากสระเกษ และสระแก้ว

26 ISSUE 590 13 MAY 2019


เครื่องรำชกกุธภัณฑ์

ระหว่ำงที่พระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยูห ่ ว ั รัชกำลที่ 4 ผนวชอยู่ ทีว่ ด ั สมอรำย (ปัจจุบน ั คือวัดรำชำธิวำส รำชวรวิหำร) ซึง่ อยูใ่ กล้วด ั คอนเซ็ปชัญ (Conception Church โบสถ์คริสต์ นิกำยโรมันคำธอลิก) ท่ำนได้ทรง ศึกษำภำษำอังกฤษและมีรำชเลขำ อยู่ ต่ ำ งประเทศอี ก ด้ ว ย จึ ง รั บ เอำ พิธีบรมรำชำภิเษกของอังกฤษมำ ปรับแต่งเสริมเข้ำมำ เช่น พระรำชินี อั ง ก ฤ ษ ท ร ง ค ฑ ำ ก็ โ ป ร ด ใ ห้ น� ำ ธำรพระกรมำใช้ ใ นรำชพิ ธี โดย ธำรพระกรที่ว่ำนี้ชื่อ ‘ธำรพระกร ชัยพฤกษ์’ ซึ่งรัชกำลที่ 1 รับสั่งให้ สร้ำงขึ้น ตัวธำรพระกรนั้นท�ำด้วย ไม้ ชั ย พฤกษ์ ปิ ด ทอง หั ว และส้ น เป็นเหล็ก คร�ำ่ ลำยทอง ทีส ่ ด ุ ส้นเป็น ส้อมสำมง่ำม

ในพระราชพิธตี ามคติความเชือ่ ของอังกฤษนัน้ พระราชินี จะสวมพระธ�ามรงค์ 2 วง เรียกว่า Wedding England Grim เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพันธสัญญาว่าทรงอภิเษกสมรสกับ ประเทศอังกฤษแล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 จึงทรงพระธ�ามรงค์ 2 วงเช่นกัน ชื่อ ‘รัตนวราวุธ’ กับ ‘วิเชียรจินดา’ และทรงให้ทุกคนสวมเสื้อผ้าเมื่อเข้าเฝ้า ไม่ต้องเปลื้องท่อนบนออกเหมือนเช่นธรรมเนียมเดิม และ ชาวต่างชาติกไ็ ม่ต้องหมอบคลานมาเข้าเฝ้า สามารถยืนถวาย พระพรได้ ทัง้ นี้ เพือ่ ไม่ให้ชาวต่างประเทศมองว่าสยามป่าเถือ่ น เมื่อเข้าสู่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ขึน้ ครองราชย์ ท่านทรงเป็นพระองค์เดียว ในราชวงศ์จกั รีทมี่ พี ระราชพิธบี รมราชาภิเษกถึง 2 ครัง้ ครัง้ แรก เมือ่ เสด็จขึน้ ครองราชย์เพือ่ พระชนมายุ 15 พรรษา ในปี พ.ศ. 2411 ได้ใช้นา�้ ได้ใช้เบญจสุทธคงคา และน�า้ จากสระ 4 สระ แขวงเมือง สุพรรณบุรี เช่นเดียวกับรัชกาลก่อนๆ และครั้งที่ 2 เมื่อทรง เจริญพระชนมพรรษาครบ 20 พรรษา จึงผนวชตามธรรมเนียม ราชประเพณี หลังจากทรงลาสิกขาแล้วทรงเข้าพระราชพิธี

27 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

บรมราชาภิเษก ครั้งที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2416 โดยก่อนเข้าพิธี พระองค์ได้เสด็จประพาสอินเดียในปี พ.ศ. 2415 และทรงน�า น�า้ มาจากปัญจมหานทีของแท้กลับมา โดยเก็บไว้ทหี่ อศาสตราคม และน�ามาใช้รว่ มกับน�า้ เบญจสุทธคงคา เสกเป็นน�า้ มุรธาภิเษก ประกอบในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งที่ 2 ต่อมาโปรดให้พระปัญจวชิรสงครามมาท�าพิธีเสกน�้า ทุกวันอังคาร ซึ่งตรงกับวันประสูติ เพื่อถวายให้สรงและล้าง พระพักตร์ให้เกิดศุภมงคลแก่พระองค์ จึงโปรดให้ไปตักน�้าจาก ทัง้ 4 สระมาใช้ในพิธี แต่พบว่าสระทัง้ สีเ่ ต็มไปด้วยวัชพืชซ�้ายัง มีจระเข้อยูใ่ นสระเป็นจ�านวนมาก แสดงให้เห็นว่าไม่มกี ารดูแล รักษาหลังจากที่เสร็จพิธี จึงรับสั่งพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ (รัชกาลที่ 6) ดูแลแหล่งน�า้ ตลอดจนคูคลองให้สะอาด อย่าได้ปล่อยปละละเลย และทรงมีอุบายในการดูแลด้วย พระองค์เอง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระองค์เป็นพระมหากษัตริยท์ เี่ สด็จประพาสต้นเยีย่ มเยือนราษฎร ทั่วประเทศถึงในถิ่นทุรกันดาร ทรงเป็นมหาราชที่ปัดเป่าทุกข์

บ�ารุงสุขแก่ประชาชนอย่างแท้จริง และเสด็จทางชลมารคบ่อยๆ ดังนัน้ จึงพบข้าราชการทีล่ ะเลยดูแลคูคลอง ปล่อยให้แม่นา�้ สกปรก และตื้นเขิน จึงต้องวางอุบายเสด็จบ่อยๆ เพื่อให้ทุกภาคส่วน โดยเฉพาะข้าราชการ ช่วยกันดูแลทางสัญจรทางน�า้ รวมไปถึง ให้แน่ใจว่าราษฎรจะมีน�้าดื่ม น�้าใช้ และน�้าเพื่อท�าการเกษตร อย่างเพียงพอ ในจดหมายเหตุเล่าว่า หลายครั้งที่เรือติดหล่ม เพราะแม่น�้าตลอดจนล�าคลองนั้นตื้นเขินเกินไป ถึงขั้นต้อง ลงไปเข็นเรือด้วยพระองค์เอง ท�าให้ขา้ ราชการหวาดหวัน่ ราชภัย จากความไม่สะดวกนีม้ าก ดังนัน้ เมือ่ มีรบั สัง่ ว่าจะเสด็จประพาส ที่ใด คลองในบริเวณนั้นจะสะอาดปราศจากขยะและวัชพืช อีกทั้งมีการขุดลอกคลองให้สะดวกแก่การสัญจรเป็นอย่างดี เห็นได้ว่าการจะขึ้นครองราชย์ต้องเสด็จไปทอดพระเนตรดูน�้า เพือ่ ดูแลราษฎรนัน่ เอง น�า้ ทีใ่ ช้ในพิธจี ะถูกละเลยกันดูแลนัน้ มิได้ ช่างเป็นกุศโลบายที่มีความหมายและคุณประโยชน์มากจริงๆ


H I S T O RY O F T H ในรัชสมัยถัดมำ เมือ ่ พระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยูห ่ วั รัชกำลที่ 6 ทรงเข้ำพระรำชพิธบ ี รมรำชำภิเษก ใน พ.ศ. 2455 ท่ำนโปรดให้ทำ� พิธี และใช้นำ�้ มุรธำภิเษก เหมือนสมเด็จพระรำชบิดำเมื่อครั้งเข้ำพระรำชพิธี บรมรำชำภิเษกครัง้ ที่ 2 คือมีนำ�้ จำกปัญจมหำทีของ อินเดียร่วมด้วย และโปรดให้ทำ� พิธพ ี ลีกรรมและตักน�ำ้ จำกแหล่งน�ำ้ ส�ำคัญต่ำงๆ มำปลุกเสกน�ำ้ พระพุทธมนต์ ณ พระมหำเจดียส ์ ถำนทีม ่ ม ี ำแต่โบรำณ 7 แห่ง นัน ่ คือ

ขอบคุณข้อมูลจำก : • อาจารย์บห ุ ลง ศรีกนก นักอักษรศาสตร์ชา� นาญการพิเศษ ข้าราชการ บ�านาญ กรมศิลปากร และผู้เขียนบทรายการ จดหมายเหตุกรุงศรี • ภาพยนตร์พระราชพิธีบรมราชาภิเษก กระทรวงวัฒนธรรม

01

02

03

พระพุ ท ธบำท จั ง หวั ด สระบุรี ตักน�ำ้ จำกแม่นำ�้ ป่ำสัก ณ ต�ำบลท่ำรำบ รวมทั้งใช้น�้ำสรงรอยพระพุทธบำทด้วย

พระวิหำรพระพุทธชินรำช วั ด พ ร ะ ศ รี รั ต น ม ห ำ ธ ำ ตุ จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก น�้ ำ ตก จำกทะเลแก้ว สระแก้ว และ น�้ำจำกสระสองห้อง

วัดพระมหำธำตุ เมืองสวรรคโลก ตักน�ำ้ จำกตระพังทอง ตระพังเงิน ตระพังช้ำงเผือก ตระพังโพยสีโซกชมพู่ น�ำ้ บ่อแก้ว น�ำ้ บ่อทอง แขวงเมืองสวรรคโลก

28 ISSUE 590 13 MAY 2019


พระรำชพิธีบรมรำชำภิเษกในสมัย กรุงรัตนโกสินทร์

E R OYA L 04

05

06

07

พระปฐมเจดี ย์ จั ง หวั ด นครปฐม ตั ก น�้ ำ จ ำ ก แ ม่ น�้ ำ น ค ร ชั ย ศ รี ต� ำ บลบำงแก้ ว น�้ ำ กลำงหำวบน องค์ พ ระปฐมเจดี ย์ น�้ ำ สระพระปฐมเจดีย์ น�ำ้ สระน�ำ้ จันทร์

วั ด พระมหำธำตุ จั ง หวั ดนครศรี ธรรมรำช น�้ำที่บ่อวัดหน้ำพระลำน บ่ อ วั ด เสมำไชย บ่ อ วั ด เสมำเมื อ ง บ่ อ วั ด ประตู ข ำว ห้ ว ยเขำมหำชั ย และบ่อปำกนำครำช

ุ ไชย จังหวัดล�ำพูน วัดพระธำตุหริภญ ตักน�้ำที่บ่อทิพย์เมืองนครล�ำพูน

พระธำตุพนม เมืองนครพนม ใน มณฑลอุดรอันเป็นมหำเจดียสถำน อยูใ่ นประเทศไทย เป็นโบรำณรำชธำนี ศรีโคตรบูรณ์หลวง

จากรัชกาลที่ 6 มาสูร่ ชั สมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2468 น�้าสรงมุรธาภิเษกถูกตั้งพิธีท�าน�้าอภิเษกที่หัวเมือง มณฑลต่างๆ 18 แห่ง ซึง่ สถานทีใ่ นการประกอบพิธที า� น�า้ อภิเษก ในรัชกาลนี้ใช้สถานที่เดียวกับรัชกาลก่อน จะเปลี่ยนแค่จาก วัดมหาธาตุ เมืองเพชรบูรณ์ มาที่วัดพระธาตุช่อแฮ จังหวัดแพร่ แทน และเพิ่มอีกหนึ่งแห่งที่วัดบึงพระลานชัย จังหวัดร้อยเอ็ด เมื่อผลัดแผ่นดินมายังรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 พระมหากษั ต ริ ย ์ ที่ มี พ ระชนมายุ น ้ อ ยที่ สุ ด ในประวั ติ ศ าสตร์ เป็นพระมหากษัตรย์พระองค์เดียวทีไ่ ม่มพี ระราชพิธบี รมราชาภิเษก ตามราชประเพณีโบราณเช่นเดียวกับรัชกาลอืน่ ๆ ด้วยเหตุการณ์ ต่างๆ ในบ้านเมือง ท�าให้มีการเลื่อนงานพระราชพิธีถึง 3 ครั้ง โดยสองครัง้ แรกติดปัญหาพระพลานามัยไม่สมบูรณ์ (พ.ศ. 24772478) ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2479 เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง อีกครั้ง เมื่อเปลี่ยนรัฐบาลใหม่จึงเลื่อนพระราชพิธีออกไปอย่าง ไม่มีก�าหนด จนเมื่อทรงบรรลุนิติภาวะครบ 21 พรรษา ท่านทรง ปกครองประเทศได้เองโดยไม่ต้องมีผู้ส� าเร็จราชการแผ่นดิน แต่ยังมิทันได้ผนวชหรือมีพระราชพิธีหลวงใดๆ ทั้งสิ้น ก็เสด็จ สวรรคต เมื่อผลัดแผ่นดินอีกครั้ง มาสู่แผ่นดินทองของมหาราช ผูเ้ สมือนเทวาจุตลิ งมาจากแดนสรวง ยุคแห่งความร่มเย็นเป็นสุข ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราชฯ รัชกาลที่ 9 น�า้ ทีท่ รงใช้ประกอบพระราชพิธบี รมราชาภิเษก เมือ่ พ.ศ. 2493 มีการท�าพิธที มี่ หาเจดียสถาน 18 แห่ง เช่นเดียวกับ รัชกาลที่ 7 แต่มีการเปลี่ยนสถานที่ท�าพิธีจากวัดพระธาตุช่อแฮ จังหวัดแพร่ เป็นวัดพระธาตุแช่แห้ง จังหวัดน่าน แทน และไม่ได้ใช้ น�า้ จากสระสองห้อง เมืองพิษณุโลก เนือ่ งจากปีนนั้ แล้งน�า้ แห้งผาก ทั้งหมดนี้คือเรื่องราวของงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในกษัตราธิราช พระราชพิธีในยุคโบราณ ที่เราเพียงแค่รับทราบ แต่ไม่มีโอกาสได้เห็นงานพระราชพิธีเลยด้วยซ�า้ ด้วยข้อจ�ากัด ต่างๆ ทั้งกฎเกณฑ์หรือธรรมเนียมโบราณ และเทคโนโลยีที่ใช้ เป็นสื่อในการถ่ายทอดสดยังไม่เกิดขึ้น ส�าหรับวันนี้นับว่าเป็น โอกาสที่ดี และเป็นความโชคดีอย่างยิ่งที่ได้เห็นงานพระราชพิธี บรมราชาภิเษก ซึง่ ในชัว่ ชีวติ ของคนคนหนึง่ อาจไม่มโี อกาสได้เห็น เลยด้วยซ�้า ครั้งนี้จึงนับเป็นศุภมงคลยิ่งนักแก่ปวงชนชาวไทย และชาวโลกอย่างแท้จริง

29 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN


BeTween Times เ ร ำ เ ค ย ท� ำ ค ว ำ ม รู้ จั ก กั บ ช่ำงภำพทัง้ เจ็ดจำกกลุม ่ ‘สยำม-ไทย ณ ห้วงกำล’ ที่ร่วมถ่ำยทอดงำน พระรำชพิธีถวำยพระเพลิงพระบรมศพฯ อั น ยิ่ ง ใหญ่ ต ระกำรตำ มำแล้ว ได้แก่ อาจารย์เกรียงไกร ไวยกิจ, กัมพล คุ้มวงษ์, ชฎาธาร ฉายปุรย ิ านนท์, ชัชวาล ดาจันทร์, ณั ฐ สุ ด า จั น ทระ, แพทย์ ห ญิ ง วรรนธนี อภิวฒ ั นเสวี และ อัครินทร์ อั ศ ววาริ น ทร์ ซึ่ ง พวกเขำยั ง คง หลงใหลในกำรถ่ ำ ยภำพบั น ทึ ก ป ร ะ วั ติ ศ ำ ส ต ร์ ด้ ว ย หั ว ใ จ โ ด ย ไม่หวังผลในเชิงธุรกิจ เมื่ อ มำถึ ง วั น ที่ ค นไทยทั้ ง ประเทศได้ พ บกั บ ควำมปี ติ ยิ น ดี อี ก ค รั้ ง จ ำ ก ง ำ น พ ร ะ ร ำ ช พิ ธี บรมรำชำภิเษก ในหลวง รัชกำลที่ 10 เรำก็อดตืน ่ เต้นไปพร้อมๆ กับพวกเขำ ด้ ว ยไม่ ไ ด้ พวกเรำจึ ง คุ ย กั น ว่ ำ จะ ร่ ว มมื อ กั น ถ่ ำ ยทอดภำพควำมประทับใจทีเ่ กิดขึน ้ ในงำนพระรำชพิธี ทั้ ง สำมวั น นี้ ใ ห้ อ อกมำยิ่ ง ใหญ่ สมพระเกียรติ และเป็นกำรถ่ำยทอด ควำมงดงำมของริ้ ว ขบวนเสด็ จ รวมถึ ง งำนพระรำชพิ ธี ที่ ส� ำ คั ญ ต่อประวัตศ ิ ำสตร์ชำติไทยให้กบ ั คนที่ ไม่ มี โ อกำสได้ เ ข้ ำ ไปอยู่ ใ นสถำนที่ รับเสด็จ เพือ ่ รับชมควำมประทับใจ เป็นครัง้ แรกในชีวต ิ ของเรำไปด้วยกัน เมื่ อ ได้ ช มภำพที่ ถ่ ำ ยด้ ว ย ควำมรัก ควำมเคำรพ และควำมจงรักภักดีตอ ่ พระมหำกษัตริยพ ์ ระองค์ใหม่ ของปร ะเท ศ ไท ยจำกฝี มื อ ของ พวกเขำแล้ว ตอนนีเ้ รำจึงชวนคุณไป พบกับควำมคิด แรงบันดำลใจ และ ควำมมุ่ ง มั่ น ในกำรถ่ ำ ยรู ป งำน พระรำชพิธีบรมรำชำภิเษกครั้งนี้ ซึ่ ง เต็ ม ไปด้ ว ยควำมงดงำมในมุ ม ควำมคิดไม่แพ้ฝม ี อ ื กำรถ่ำยรูปของ พวกเขำเลย

เกรียงไกร ไวยกิจ | ช่างภาพอิสระ

เกรียงไกร ไวยกิจ ถิน ่ ก�ำเนิดรำชบุรี จบกำรศึกษำจำกวิทยำลัยช่ำงศิลป์ กรมศิลปำกร ด้วยควำมหลงใหล ในองค์ประกอบแสงสีผำ่ นมุมมองในอีกมิติ ท�ำให้เขำปล่อยผืนผ้ำใบว่ำงเปล่ำลงชัว่ ขณะ มุง่ สร้ำงสรรค์ภำพ ผ่ำนกล้องและเลนส์ ภำพถ่ำยของเขำได้รบ ั กำรยอมรับอย่ำงสูง มีมม ุ มองทีเ่ ป็นเอกลักษณ์เด่นชัด

C O N V E R SAT I O N เรื่อง : ทรรศน หำญเรืองเกียรติ ภาพ : ภำสกร ธวัชธำตรี, ธนดิษ ศรียำนงค์

“ทุกคนยึดหลักของความรู้สึกที่อยู่บนความรักต่อพระมหากษัตริย์อันสูงที่สุด ดังนั้น เราก็พอจะรู้แล้วว่าจะถ่ายทอดความรักและความเคารพอย่างดีที่สุดออกมา อย่างไร” พญ. วรรนธนี อภิวัฒนเสวี

siam-Thai

The Royal Coronation Ceremony พระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษกครั้ ง นี้ เ ป็ น พิ ธี ก าร ส�าคัญในประวัติศาสตร์ของประเทศไทย และเรา อยากรู้ว่างานพระราชพิธียังมีความส�า คัญกับ พวกคุณในแง่ไหนอีกบ้าง นอกเหนือจากการได้ เข้าไปถ่ายรูปในวันงาน

ณัฐสุดา : เราจะได้เห็นในหลวง รัชกาลที่ 10 อยู่ ท่ามกลางประชาชน ซึ่งเป็นภาพที่เราจะเห็นได้ไม่ง่ายนัก ในชีวิตนี้ แม้ว่าที่ผ่านมาเราจะเห็นภาพการขึ้นครองราชย์ ของพระมหากษัตริย์ที่มีการบันทึกไว้ก่อนหน้านี้แล้วก็ตาม แต่ประสบการณ์กไ็ ม่เหมือนกัน ความรูส้ กึ ก็ไม่เหมือนกัน และ งานพระราชพิธีเป็นสิ่งที่ท�าให้เราได้รู้จักประเทศไทยมากขึ้น ทั้งในแง่ของความเป็นมา อย่างเช่นกระบวนการเกี่ยวกับน�า้ เราเองก็เพิง่ รูว้ า่ ล้วนแต่มคี วามหมายทีบ่ อกกับเราว่าประเทศไทย มีความเป็นมาอย่างไร งานพระราชพิธไี ม่ได้จดั ขึน้ มาเพียงเพือ่ เรื่องของความศักดิ์สิทธิ์เท่านั้น เมื่อเข้าไปดูในรายละเอียด ลึกๆ แล้วเราจะเห็นถึงภูมปิ ญ ั ญา เห็นถึงกุศโลบายหลายๆ อย่าง ทีค่ นรุน่ บรรพบุรษุ เขาใส่ไว้ในแต่ละช่วงพิธกี าร มีทงั้ ความหมาย เชิงสัญลักษณ์ต่างๆ คนอาจจะมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องไกลตัว แต่ทจี่ ริงแล้วไม่ใช่ ในอดีต การทีม่ พี ธิ กี รรมเกีย่ วกับน�า้ ช่วยให้ เห็นว่าพระมหากษัตริย์และข้าราชบริพารในยุคนั้นได้ออกไป ส�ารวจทัว่ ทุกอาณาเขตของแผ่นดินเพือ่ ส�ารวจแหล่งน�า้ ว่าเป็น อย่างไร มีคุณภาพมากน้อยแค่ไหน ประชาชนอยู่ดีกินดีไหม อย่างในหลวง รัชกาลที่ 5 ท่านจะทรงถ่ายรูปไว้เลยว่าแหล่งน�า้ ตรงนีท้ รุดโทรมแค่ไหน นีค่ อื ความหมายอันลึกซึง้ ทีแ่ สดงให้เห็น ถึงความเอาใจใส่ของพระมหากษัตริย์ที่มีต่อประชาชน และ ข้าราชบริพารต้องออกไปอัพเดตแหล่งน�้ าในสถานการณ์ บ้านเมืองตอนนั้นว่าเป็นอย่างไร ท�าให้เรารู้ว่าสิ่งที่ในหลวง รัชกาลที่ 10 ได้ทรงเริม่ ท�าโครงการจิตอาสาด้านแหล่งน�า้ ก็ตรง กับสิ่งที่เกิดขึ้นในโบราณราชประเพณี เราคิดว่าเป็นโอกาส ทีด่ ที ที่ กุ คนจะได้เรียนรูแ้ ละเข้าใจความเป็นมาของประเทศไทย ได้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น เกรียงไกร : เราเคยเห็นแต่ภาพถ่ายงานพระราชพิธี ไม่วา่ จะเป็นของรัชกาลทีเ่ ท่าไหร่กต็ าม ส่วนตัวผมก็ไม่คดิ ไม่ฝนั ว่าในชีวติ ของคนถ่ายรูปคนหนึง่ จะมีโอกาสได้ถา่ ยงานครัง้ ส�าคัญ ในชีวติ และเป็นสิง่ ทีย่ า�้ เตือนผมเสมอว่าแผ่นดินทีม่ พี ระมหากษัตริย์ เป็นประมุขเป็นเรื่องส�าคัญส�าหรับจิตวิญญาณของคนไทย อย่างยิง่ มีแค่ไม่กปี่ ระเทศในโลกทีเ่ รารูส้ กึ ว่ามีสว่ นในการยึดมัน่ วิธีของการด�ารงชีวิต ท�าให้ตระหนักว่าพระราชพิธีที่ส�าคัญ ในครั้งนี้ เราต้องท�าหน้าที่ของเราให้ดีที่สุดในแนวทางที่เรา ถนัด นัน่ คือการถ่ายรูป ผมไม่อยากจะคาดหวังว่าตัวเองจะได้รปู ทีด่ มี ากน้อยแค่ไหน แต่ผมอยากให้วนั นัน้ เป็นวันทีร่ วมทุกอย่าง ของความตื่นตาตื่นใจที่จะได้เห็นในงานพระราชพิธี อยากให้ เกิดความประทับใจกับสิง่ ทีม่ กั เกิดขึน้ ณ เวลานัน้ ได้เห็นขบวน พระราชพิธี นี่คือสิ่งที่มีค่าที่สุดที่เราจะจับภาพความทรงจ�า ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย สิ่งเหล่านี้มันต้องมาจากความรู้สึก ของเราอย่ า งแท้ จ ริ ง ผมเชื่ อ ว่ า ภาพที่ ดี ต ้ อ งออกมาจาก ความรู ้ สึ ก เมื่ อ เรากดชั ต เตอร์ บ นพื้ น ฐานของความรู ้ สึ ก ที่ดี ก็จะเกิดสิ่งดีๆ ตามมา ผมอาจจะไม่ได้รูปที่ดีที่สุดในชีวิต ก็ได้ แต่ผมหวังว่าการได้มโี อกาสไปถ่ายงานพระราชพิธคี รัง้ นี้

ณัฐสุดา จันทระ | ช่างภาพอิสระ

อดีตนักสือ ่ สำรกำรตลำดทีผ ่ ำ่ นประสบกำรณ์กำรท�ำงำนในแวดวงสือ ่ สำรมวลชน มีควำมสนใจในกำรเรียนรู้ วิถชี วี ต ิ ผูค ้ นผ่ำนกำรเดินทำงโดยมีกล้องเป็นสือ ่ กลำงในบทสนทนำ เกือบ 20 ปีทแี่ ล้วเริม ่ ถ่ำยภำพจำกใจรัก ต่อมำได้เป็นส่วนหนึง ่ ของกำรเดินทำงเพือ ่ ถ่ำยทอดเรือ ่ งรำวของผืนดินอันเป็นทีร ่ ก ั ในนำมกลุม ่ สยำม-ไทย ณ ห้วงกำล ทีย ่ งั คงด�ำเนินอยูอ ่ ย่ำงต่อเนือ ่ ง


พวกคุ ณ ได้ เ ตรี ย มตั ว หาข้ อ มู ล เรื่ อ งงาน พระราชพิธีบรมราชาภิเษกกันมาพอสมควร อยากรูว้ า่ คุณเตรียมตัวเล่าเรือ ่ งงานพระราชพิธี ที่ ส� า คั ญ ในครั้ ง นี้ ผ่ า นภาพถ่ า ยของตั ว เอง อย่างไร

ณัฐสุดา : ส�าหรับเรา งานพระราชพิธีแต่ละครั้ง เป็นการส่งผ่านข้อมูลบางอย่างไปถึงคนรุน่ ถัดไป สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกท�าให้เรารู้ว่า แผ่นดินนี้ เป็นแผ่นดินของพระมหากษัตริย์ เป็นศูนย์รวม เป็นราก ทีส่ า� คัญของประเทศเรา และสิง่ ทีจ่ ะได้เห็นคือความร่วมมือ ร่ ว มใจ ความแข็ง แกร่ ง ความเป็ น น�้า หนึ่ ง ใจเดี ย วกั น

“ผมไม่อยากจะคาดหวังว่าตัวเองจะได้รูปที่ดีมากน้อยแค่ไหน แต่ผมอยากให้วันนั้นเป็นวันที่รวมทุกอย่างของความตื่นตาตื่นใจที่จะได้เห็นในงานพระราชพิธี อยากให้เกิดความประทับใจกับสิง่ ทีม ่ ก ั เกิดขึน ้ ณ เวลานัน ้ ได้เห็นขบวนพระราชพิธก ี า� ลังเสด็จ นีค ่ อ ื สิง่ ทีม ่ ค ี า่ ทีส ่ ด ุ ทีเ่ ราจะจับภาพความทรงจ�าทีเ่ กิดขึน ้ ในประเทศไทย” เกรียงไกร ไวยกิจ

จะเป็นประสบการณ์ทดี่ ที สี่ ดุ ในชีวติ ซึง่ อาจจะเป็นครัง้ เดียว ในชีวติ ของผมก็ได้ทจี่ ะได้ถา่ ยงานพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ดังนั้น การถ่ายภาพครั้งนี้จะเป็นการบันทึกความทรงจ�า ที่ จ ะส่ ง ต่ อ ให้ ป ระชาชนให้ ไ ด้ เ ห็ น ผลงานของพวกเรา ทั้งเจ็ดคนในแง่มุมที่แตกต่างกันไป วรรนธนี : ในฐานะของการเป็นคนไทยคนหนึ่ง แน่นอนว่าในชีวติ เรา งานพระราชพิธคี รัง้ นีอ้ าจจะเป็นครัง้ แรก และครัง้ เดียวทีจ่ ะได้เห็นสิง่ ส�าคัญทีจ่ ะเกิดขึน้ ในฐานะช่างภาพ เราจะพยายามท�าหน้าที่ของเราให้ดีที่สุด แน่นอนว่าเรา อาจจะไม่ได้ภาพที่ดีมากหรือได้แค่ภาพที่เป็นเพียงการเล่าเรื่องบางอย่างในรูปแบบของเรา แต่เชื่อว่าการได้น�า หัวใจหรือดวงตาของเรามาเห็นมาอยูร่ ว่ มกับพิธกี ารส�าคัญนี้ จะแสดงถึ ง ความตั้ ง ใจที่ เ รามี ซึ่ ง ในทุ ก ครั้ ง ที่ เ ราได้ ไ ป ถ่ายงานส�าคัญช่วงก่อนหน้านี้ เราพบว่างานแต่ละครัง้ ผูค้ น ทีมงานฝ่ายต่างๆ เต็มไปด้วยความรู้สึกของความรักใน องค์พระมหากษัตริย์ และความทุ่มเทในการจัดงานเพือ่ ให้ ออกมาสมบูรณ์แบบที่สุด นี่คือสิ่งส�าคัญที่ไม่ว่าเราจะได้ รูปทีด่ หี รือไม่กต็ าม แต่การได้ไปถ่ายภาพในงานพระราชพิธี คือความประทับใจ และความตั้งใจที่เราอยากส่งต่อไป ให้กับคนดูทุกคน ชฎาธาร : ส�าหรับผมนั้นเป็นความรู้สึกยินดีที่ได้ ร่วมงานพระราชพิธีครั้งนี้ การได้เห็นพิธีการส�าคัญนี้เป็น ครั้งแรกของพวกเราทั้งเจ็ดคน ในชีวิตนี้เราไม่เคยเห็น พิธีการแบบนี้มาก่อนเลย ทั้งขั้นตอนต่างๆ ของโบราณ ราชประเพณีก็ไม่เคยรู้ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งนี้ ท�าให้มีโอกาสศึกษา ได้รู้ได้เห็น ดังนั้น ก็ต้องท�าออกมา ให้ดที สี่ ดุ และพยายามหามุมมองทีส่ วยงามสมพระเกียรติ จริงอยู่ที่งานพระราชพิธีที่เคยมีมานั้นก็ถือเป็นงานส�าคัญ แต่สา� หรับงานพระราชพิธบี รมราชาภิเษกถือเป็นงานทีเ่ ต็ม ไปด้วยความปีติยินดีของคนไทยทั้งประเทศ กัมพล : เป็นเรื่องยากมากที่เราจะได้อยู่ในช่วง รอยต่อของพระมหากษัตริย์ งานพระราชพิธีอื่นๆ อาจจะ จัดซ�า้ ๆ ได้ แค่เปลีย่ นรูปแบบเปลีย่ นวิธกี ารกันไป แต่การขึน้ ครองราชย์ของพระมหากษัตริยน์ นั้ เป็นโอกาสทีน่ อ้ ยครัง้ มาก ทีใ่ ครสักคนจะได้เข้ามาอยูใ่ นช่วงของรอยต่อนี้ ได้มโี อกาส เข้าไปมีส่วนร่วมของประวัติศาสตร์ และได้บันทึกภาพ เอาไว้ ซึ่งเป็นโอกาสที่ยากมาก และเป็นความภูมิใจของ พวกเรามากด้วย ชัชวาล : พระราชพิธีบรมราชาภิเษกไม่ได้มีความส�าคัญกับพวกเราเท่านั้น เพราะประชาชนชาวไทยอยู่ใน ภาวะเศร้าโศกมากว่าสองปีแล้ว งานพระราชพิธีครั้งนี้ จึงถือว่าเป็นการเฉลิมฉลองรัชกาลใหม่ ซึง่ ก็จะสร้างความสุข ให้กับประชาชนอีกครั้ง อัครินทร์ : จึงเป็นเรือ่ งส�าคัญของเราในการเตรียม ความพร้อมทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของเลนส์ แบตเตอรี่ กล้อง อุปกรณ์ถ่ายภาพอื่นๆ รวมถึงร่างกายด้วย เพราะ ตลอดระยะเวลางานพระราชพิธที งั้ สามวันนัน้ เราจะต้องท�า หน้าที่ให้ดีที่สุด ณ เวลานั้น ขณะนั้น เพราะเป็นครั้งแรก ทีม่ โี อกาสได้อยูใ่ นงานพระราชพิธที สี่ า� คัญของประเทศไทย

ชัชวาล ดาจันทร์ | ช่างเขียนแบบอาวุโส และช่างภาพอิสระ

ผลงำนภำพถ่ำยของชัชวำลมีทงั้ ทีป ่ รำกฏอยูใ่ นนิตยสำร Phuket Bulletin ตลอดปี 2552 และได้รว่ มแสดงนิทรรศกำรอย่ำง สม�ำ่ เสมอ โดยเขำเองก็ได้รบ ั รำงวัลส�ำคัญจำกกำรถ่ำยภำพมำกมำย เช่น รำงวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 โครงกำรภำพถ่ำย แห่งแผ่นดิน ครัง้ ที่ 2 (2552) หัวข้อ ‘คุณค่ำแห่งแผ่นดินไทย’ หรือกำรแสดงนิทรรศกำร ‘ทัศนำอุษำคเนย์ : ร้อยเรือ ่ งรำว ชำวอำเซียน’ ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหำนคร (2553)

ของทุกคนที่เกิดขึ้น จะได้เห็นเบื้องหลังของคนที่ ท�างานในหลายภาคส่วน จะเห็นทั้งทูตานุทูต เห็น แขกของราชวงศ์ แขกของรัฐบาล และประชาชน ที่มารวมอยู่ในที่เดียวกัน คนทุกเชื้อชาติทุกศาสนา จะมารวมอยู่ด้วยกัน แสดงถึงความเป็นน�้าหนึ่ง ใจเดียวกัน และแสดงให้เห็นว่าแผ่นดินนีค้ อื แผ่นดิน ที่มีเรื่องราว มีความเป็นมา ได้เห็นแล้วก็รู้สึกภูมิใจ เหมือนอย่างตอนทีเ่ ราเห็นภาพของในหลวงองค์กอ่ นๆ ขึ้นครองราชย์ ถึงแม้จะเป็นภาพนิ่ง แต่เราก็รู้สึกได้ ว่าในภาพนัน้ มีทงั้ ความงดงาม มีรายละเอียดให้เห็น ถึงความประณีตบางอย่างที่ไม่เคยเห็น และเราก็ ไม่เคยรับรูว้ า่ ในพระราชพิธนี มี้ เี รือ่ งราวความเป็นมา อย่างไร เพราะจะเห็นแค่ข้อมูลที่อยู่ในบันทึกของ คนรุ่นเก่าที่เคยบันทึกไว้ เกรียงไกร : ย้อนกลับไปในอดีต เอาแค่สมัย อยุธยา ประชาชนก็ไม่เคยรูม้ าก่อนว่าพระมหากษัตริย์ นั้นมีพระพักตร์อย่างไร เพราะขนาดข้าราชการ ชั้นผู้ใหญ่เวลาเข้าเฝ้าฯ ก็ต้องก้มกราบหน้าจรดพื้น ดังนั้น การเสด็จเลียบพระนครในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งนี้ ประชาชนจะมีโอกาสได้ใกล้ชิด พระองค์ และพวกเขาจะรู้ว่านี่คือพระมหากษัตริย์ ของประชากรในประเทศนี้ ความรู้สึกแบบนี้จะ ติดแน่นตราตรึงในหัวใจของพสกนิกร เพราะสมัย อยุธยาเราได้แต่จินตนาการว่าพระมหากษัตริย์ มีพระพักตร์เป็นอย่างไร แม้แต่สมัยรัชกาลที่ 5 ประชากรส่วนใหญ่ก็ไม่รู้ว่าพระพักตร์ของท่านเป็น อย่างไร เวลาท่านเสด็จประพาสต้นจึงไม่มีใครรู้ สิ่ ง เหล่ า นี้ น อกจากจะส่ ง เสริ ม ให้ ช นในชาติ ไ ด้ มี ความรั ก ในสถาบั น มากขึ้ น ยั ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความใกล้ชิดที่จะสกัดกั้นเส้นพรมแดนความเป็น พระมหากษัตริย์กับประชาชนให้น้อยลง กัมพล : เหตุการณ์ครัง้ นีท้ า� ให้เราเห็นตัวตน ชัดเจนขึน้ ด้วย เพราะผมมองว่าระบอบพระมหากษัตริย์ จ�าเป็นกับประเทศไทย ทุกคนต่างเฝ้ารอว่าเมื่อไหร่ จะถึงพิธพี ระบรมราชาภิเษก เมือ่ ไหร่เราจะมีกษัตริย์ องค์ใหม่ขึ้นมาสักที หลังจากพิธีการจบเราก็จะอยู่ ในยุคของการเปลี่ยนถ่าย ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เรา ต้องยอมรับ และประเทศไทยก็พิสูจน์แล้วว่าเรา ไม่ ส ามารถอยู ่ ไ ด้ โ ดยไม่ มี พ ระมหากษั ต ริ ย ์ งานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเป็นเหมือนการดึง หัวใจของประชาชนกลับมาใหม่ เพื่อให้พวกเรา ได้กลับเข้าไปสู่สถาบันพระมหากษัตริย์อีกครั้ง อัครินทร์ : เราเป็นประชาชนคนไทยที่เป็น ส่ ว นเล็ ก ๆ คนหนึ่ ง ที่ ไ ด้ บั น ทึ ก ภาพและแสดง ความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ของเรา ชัชวาล : เราทุกคนไม่ว่าจะเป็นช่างภาพ หรื อ ประชาชนทุ ก คนไปด้ ว ยใจ เมื่ อ ไปถึ ง ตรง งานพระราชพิ ธีเ ราก็ ท� า หน้ า ที่ ต รงนั้ น ให้ ดี ที่ สุ ด ซึ่งความจงรักภักดีและความสามัคคีที่เกิดขึ้นจาก งานพระราชพิธีก็เป็นเหมือนก�าลังใจที่ส่งมาให้เรา อยากท�างานนี้ให้ดีที่สุดด้วย กั ม พล : แต่ ล ะคนคนอาจจะเข้ า ไปมี ส่วนร่วมในพิธีการนี้แตกต่างกัน ส�าหรับพวกเรา ทั้งเจ็ดคนก็ถนัดในเรื่องของการถ่ายภาพ และเมื่อ มีโอกาสมาถึง พวกเราจึงเลือกการถ่ายภาพเพื่อใช้ โอกาสนี้อย่างเต็มที่ แม้จะต้องใช้ระยะเวลาใน การเดินทางนาน พอไปถึงจุดถ่ายรูปก็ต้องใช้เวลา ในการเฝ้ารอ แต่ทั้งหมดนี้คือจุดมุ่งหมายของเรา เป็นจุดประสงค์ของพวกเราที่จะใช้สิ่งที่ตัวเองถนัด เพื่อประเทศชาติ

พญ. วรรนธนี อภิวฒ ั นเสวี | แพทย์ผเู้ ชีย ่ วชาญด้านโสต ศอ นาสิก และช่างภาพอิสระ ผลงำนของหมอเนยแสดงถึงเอกลักษณ์แห่งตัวตนแฝงไว้ซงึ่ แนวคิดและจินตนำกำร ที่บรรจงถ่ำยทอดด้วยใจรักสู่สำธำรณชนสม�่ำเสมอ ทั้งสิ่งพิมพ์ สื่อออนไลน์ นิทรรศกำรภำพถ่ำย รวมถึงรำงวัลจำกเวทีกำรประกวดในระดับประเทศ


การถ่ า ยภาพงานพระราชพิ ธี ที่ ส� า คั ญ แบบนี้ ในฐานะช่างภาพรู้สึกกดดันบ้างไหม เพราะมีคน นับล้านรอดูรูปของพวกคุณอยู่

วรรนธนี : เชื่อว่าทุกอย่างนั้นตอบโจทย์ความรู้สึก ของตัวเราเองเป็นอันดับแรก ช่างภาพแต่ละคนก็มีมุมมอง ทีไ่ ม่เหมือนกัน แต่ทกุ คนยึดหลักของความรูส้ กึ ทีอ่ ยูบ่ นความรัก ต่อพระมหากษัตริย์อันสูงที่สุด ดังนั้น เราก็พอจะรู้แล้วว่าจะ ถ่ายทอดความรักและความเคารพอย่างดีทสี่ ดุ ออกมาอย่างไร เพียงแต่อาจจะมีเรื่องของต�า แหน่งการยืนของช่างภาพใน แต่ละจุดที่เขาประจ�าอยู่ การใช้เลนส์ระยะต่างๆ หรือเทคนิค ต่างๆ ในการถ่ายรูป ในส่วนคนดูยังไงเขาก็ต้องเห็นรูปที่เรา ถ่ายอยู่แล้ว และเขาจะชอบหรือไม่ชอบก็อยู่บนความรู้สึก พืน้ ฐานของจิตใจทีแ่ ตกต่างกับเรา ดังนัน้ เราคิดว่าท�าให้ดที สี่ ดุ ให้ได้ก่อน กัมพล : ผมไม่รู้หรอกว่าปลายทางจะออกมาเป็น อย่างไร แต่สิ่งที่ผมท�าคือ การมองผ่านช่องมองภาพซึ่งก็มอง ได้ไม่เต็มตาเหมือนกับมองด้วยตาเปล่า เรามองผ่านกล้อง มองผ่านตัวเลนส์ แต่ผมเชื่อว่าทุกคนพยายามจะถ่ายทอด สิง่ ทีต่ วั เองคิดออกมาให้สวยงามทีส่ ดุ สมบูรณ์ทสี่ ดุ ซึง่ อาจจะ ไม่ตอบโจทย์ใครหลายๆ คน แต่ก็เข้าใจได้ว่าในตอนนั้นเรา ได้ท�าดีที่สุดแล้ว ผมก็แค่คาดหวังเพียงแค่ว่าผลงานของเรา จะไปตรงใจผู้ชมหรือประชาชนได้เท่านั้นเอง ชัชวาล : ผมไม่ได้คิดไปก่อนว่าภาพจะออกมาเป็น อย่างไรหรือต้องตอบโจทย์ใคร ผมจะถ่ายในสิ่งที่ตัวผมเห็น ซึง่ เป็นเหตุการณ์จริง ณ ตอนนัน้ บางทีกไ็ ม่รหู้ รอกว่าเหตุการณ์ ข้างหน้าจะเกิดอะไรขึ้น แม้กระทั่งคนที่อยู่ในงานพระราชพิธี จนเช้าเขาก็นึกไม่ออกหรอกว่าจะมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น ต่อจากนั้น เราจึงไม่คาดหวังว่ารูปจะเป็นอย่างไร ไม่ได้คิด ด้วยซ�้าว่าคนอื่นเห็นแล้วจะรู้สึกดีหรือเปล่า แต่เราแค่บันทึก ภาพเหตุการณ์ส�าคัญในตอนนั้นที่บางคนอาจจะไม่มีโอกาส ได้เห็นเพื่อพวกเขา เกรียงไกร : ผมขอยกเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับวัฒนธรรมไทย มาเล่าหน่อย นัน่ คือภาษาหรือตัวเลขไทยทีเ่ ป็นแบบฉบับเฉพาะ ของประเทศไทย แน่นอนว่าตัวเลขไทยในปัจจุบนั ก็มกี ารประยุกต์ ปรับเปลีย่ นจากภาษารอบข้างมาใช้ แต่การทีส่ ามารถประยุกต์ จนกลายมาเป็ น บุ ค ลิ ก ของเราได้ ก็ เ ป็ น เรื่ อ งที่ ส�า คั ญ มาก แต่เป็นเรือ่ งน่าเศร้าทีค่ นใช้ตวั เลขไทยน้อยมาก ทัง้ ทีต่ วั เลขไทย นั้นมีความเป็นศิลปะมากๆ มีไม่กี่ประเทศที่มีตัวเลขเป็น เอกลักษณ์ของตัวเอง สิ่งเหล่านี้ทา� ให้โยงมาถึงความเป็นชาติ เป็นขนบธรรมเนียมประเพณี และเรื่องเหล่านี้ก็มีเหตุผลใน การเกิดขึ้น ไม่ได้ถูกสร้างขึ้นมาด้วยความฟุ้งเฟ้อ ไม่ได้ท�า เพื่อที่จะประกาศศักดา แต่เป็นการบอกว่าเรามีอารยธรรม วัฒนธรรมไม่ใช่แค่การใช้มอื เปิบอาหาร ในขณะทีช่ าติตะวันตก ใช้ช้อนส้อม ซึ่งการใช้มือเปิบหรือใช้ช้อนส้อมก็ไม่ได้เป็น การบอกว่าเราต่างกันอย่างไร เพราะจริงๆ การใช้ช้อนส้อม อาจจะมองได้ว่าเป็นการใช้อาวุธเสียด้วยซ�้า ดังนั้น สิ่งเหล่านี้ จึงเสริมความรู้สึกว่า อารยธรรมที่เรามีอยู่เป็นอารยธรรม ทีค่ อ่ ยๆ บ่มเพาะจนเราคาดไม่ถงึ เมือ่ เราภาคภูมใิ จในความเป็น ไทย ค�าว่า ‘สยาม’ จึงมีความหมายมากกว่าค�าว่าประเทศไทย ในความรู้สึกของผม ความรู้สึกเหล่านี้จะถูกส่งต่อไปในเด็ก รุ่นหลังในวันข้างหน้าว่ารากเหง้าของความเป็นไทยคืออะไร รากเหง้ า เหล่ า นี้ มี ส ่ ว นผสมผสานเยอะแยะเต็ ม ไปหมด ทัง้ ตัวเลขไทย ภาษาไทย รวมถึงงานพระราชพิธสี า� คัญทีเ่ กิดขึน้ ในงานพระราชพิธคี รัง้ นีส้ า� หรับเด็กรุน่ ใหม่ทกี่ า� ลังจะเกิดตามมา และได้มาอ่านบันทึกเหล่านี้ แม้ว่าเขาเองจะมีโอกาสได้เห็น งานพระราชพิธอี กี หลายๆ ครัง้ เมือ่ พวกเขาเติบโต แต่ผมเชือ่ ว่า ระบอบพระมหากษัตริย์จะอยู่ไปจนชั่วนิรันดร์ไม่มีที่สิ้นสุด หน้าที่ของพวกเราคือการส่งต่อความเป็นนิรันดร์ที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต

กัมพล คุม ้ วงษ์ | ครูผส ู้ อนงานของบริษท ั เอกชนและช่างภาพอิสระ

พนักงำนบริษท ั เอกชนทีห ่ ลงใหลกำรถ่ำยภำพ กว่ำ 20 ปีของกำรถ่ำยภำพ กัมพลมีผลงำนเป็นทีป ่ รำกฏ ในสื่อสำธำรณะ ได้รับรำงวัลจำกกำรประกวดมำกมำย และเป็นช่ำงภำพที่มีผลงำนตีพิมพ์เป็นระยะ เช่น หนังสือ รอยเวลำกลำโหม (2556), หนังสือ A Portrait of Samutprakarn (2556), หนังสือ

ไทย-เมียนมำร์ ภรำดรภำพ ครบรอบ 64 ปี ไทย-เมียนมำร์ (2557) และมีนท ิ รรศกำรภำพถ่ำยอย่ำง ต่อเนือ ่ ง หนึง่ ในนัน ้ คือนิทรรศกำรภำพถ่ำย ‘ครบรอบ 60 ปี ควำมสัมพันธ์ ไทย-ลำว’

The Great Responsibility อยากรูว้ า่ การเป็นช่างภาพทีด ่ น ี น ั้ กฎ ระเบียบ และวินัยที่พวกคุณยึดถือเอาไว้มีเรื่องอะไร บ้าง

กัมพล : การถ่ายรูปทุกประเภทมีกฎพื้นฐานแค่ ไม่กี่อย่าง ประเด็นหลักๆ คือ เราต้องไม่ไปบิดเบือน โดยเฉพาะกับงานที่เป็นภาพประวัติศาสตร์ เราไม่ควร ไปบิดเบือนความเป็นจริง ทุกสิ่งที่เราเห็น เราถ่ายทอด อะไรลงไป คือการส่งต่อไปให้คนรุ่นหลัง ไม่ไปปรับแต่ง จนผิดเพี้ยนจากสิ่งที่เราเห็น เพราะถ้าบิดเบือนภาพ ก็เท่ากับว่าเราก�าลังบิดเบือนประวัติศาสตร์ อัครินทร์ : ภาพถ่ายนั้นสามารถปรับแต่งได้ ไม่ถึงขนาดว่าต้องเป็นภาพเพียวๆ ออกมาจากกล้อง ขนาดนั้น แต่ไม่ใช่การปรับแต่งต่อเติมจนเกิดความผิดเพี้ยน การรีทัชที่ท�าได้คือการลบฝุ่นหรือปรับแต่ง แสงสีบ้างนิดหน่อย ชัชวาล : ช่างภาพบางคนถ่ายบรรยากาศแล้ว ไปลบเสาไฟออก อย่างนี้คือการบิดเบือน เพราะเสาไฟ หรือต้นไม้ที่อยู่ตามสถานที่ต่างๆ มีประวัติความเป็นมา ไม่ควรจะไปบิดเบือนตรงนี้ แม้ว่าภาพจะมีสายไฟที่รก รุงรังก็หา้ มลบ เราต้องแยกให้ออกว่างานทีเ่ ราถ่ายเป็นงาน ประเภทไหน ถ้ า เป็ น การบั น ทึ ก ประวั ติ ศ าสตร์ กั บ สถาปัตยกรรมก็ต้องเก็บไว้ เพราะสักวันหนึ่งเสาไฟฟ้า ตรงนั้นอาจจะไม่มีแล้ว เขาจะได้รู้ว่ายุคนี้เป็นยุคที่ยังมี สายไฟใช้กนั อยู่ แต่ถา้ เป็นงานแฟชัน่ หรืองานโปรดักชัน ที่ต้องการความเนี้ยบ ถ้าจ�าเป็นต้องลบออกก็ต้องลบ เกรียงไกร : ช่างภาพทุกคนมีกิเลส อยากได้รูป ที่ดีที่สุดในชีวิตของตัวเอง แต่กิเลสตรงนี้มีเรื่องของ จริยธรรม คุณธรรม สิ่งที่เราต้องเคารพต่อธรรมชาติ เคารพต่อผู้คนที่เราจะถ่าย ประเด็นที่มักจะเกิดขึ้นเสมอ คือ มีช่างภาพบางส่วนที่เทียบสัดส่วนแล้วก็น้อยมาก ทีพ่ ยายามจะท�าทุกวิถที างเพือ่ ให้ได้ภาพมา ซึง่ ทุกวิถที าง นั้นมีทุกอย่าง ทั้งการหักกิ่งไม้ ท�านั่นท�านี่ เรื่องนี้มี รายละเอียดเยอะเพราะความเป็นช่างภาพไม่ได้บริสุทธิ์ ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ผมเชื่อว่าช่างภาพกลุ่มสยามไทยฯ ทัง้ เจ็ดคนนี้ รวมถึงช่างภาพท่านอืน่ ๆ อีกเป็นจ�านวนมาก ไม่ได้มีวิธีคิดแบบนั้น เราเคารพในวิชาชีพของตัวเราเอง เราหวังว่าจะได้รปู ทีด่ ที สี่ ดุ ทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานของจริยธรรม และคุณธรรม เราอาจจะได้ขา่ วมาบ้างว่าช่างภาพรางวัล พูลิตเซอร์ที่ถ่ายรูปบางรูปมา เบื้องหลังที่แท้จริงนั้น เป็นอย่างไร แล้วผลที่ตามมาคืออะไร ส�าหรับบางคน ท้ายที่สุดก็จะอยู่กับความรู้สึกผิดไปตลอดชีวิตในสิ่งที่ ตัวเองท�า พวกเราทั้งเจ็ดคนเริ่มต้นถ่ายรูปจากความรัก เมื่อพื้นฐานอยู่ที่ความรัก ไม่ได้มาจากกิเลส เราจึงหวัง ว่าจะได้รูปที่ดีที่สุดโดยค�านึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว พวกเราจึงเคารพในธรรมชาติ เคารพในความเป็นมนุษยชาติ จริงๆ แล้วแค่เราเคารพธรรมชาติ เคารพในความเป็น มนุษยชาติ ก็ครอบคลุมทุกอย่างอยู่แล้ว ผมเชื่อว่าเรา

ชฎาธาร ฉายปุรย ิ านนท์ | วิทยากร และช่างภาพอิสระ

นอกจำกจะมีผลงำนตีพม ิ พ์ในนิตยสำรและสือ ่ สิง่ พิมพ์อย่ำงสม�ำ่ เสมอแล้ว ชฎำธำรยังเป็นหนึง่ ในผูไ้ ด้รบ ั รำงวัล ประกวดถ่ำยภำพอยู่ต่อเนื่อง อำทิ รำงวัลชนะเลิศถ้วยประทำนพระเจ้ำวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำโสมสวลี พระวรรำชำทินด ั ดำมำตุ จำกกำรประกวดภำพถ่ำย ‘มหัศจรรย์ควำมรักฉันกับแม่’ (2553), รำงวัลชนะเลิศ กำรประกวดภำพถ่ำยศิลปวัฒนธรรมไทย (วันนริศ) พ.ศ. 2550 จัดโดยมหำวิทยำลัยศิลปำกร, รำงวัลชนะเลิศ กำรประกวดภำพถ่ำย ‘มอเตอร์ไซค์ปลอดภัย ใส่ใจกำรขับขี’่ และเป็นตัวแทนประเทศไทยน�ำภำพถ่ำยทีไ่ ด้รำงวัล ร่วมประกวดภำพถ่ำยระดับอำเซียน ณ ประเทศญีป ่ น ุ่ (2555) จัดโดยสมำคมผูป ้ ระกอบกำรรถจักรยำนยนต์ไทย


“การขึน ้ ครองราชย์ของพระมหากษัตริยน ์ น ั้ เป็นโอกาสทีน ่ อ ้ ยครัง้ มากทีใ่ ครสักคนจะได้เข้ามาอยูใ่ นช่วงของรอยต่อนี้ ได้มโี อกาสเข้าไปมีสว่ นร่วมของประวัตศ ิ าสตร์ และได้บันทึกภาพเอาไว้ ซึ่งเป็นโอกาสที่ยากมาก และเป็นความภูมิใจของพวกเรามากด้วย” กัมพล คุ้มวงษ์

Keep Your Love On เมื่อจบงานพระราชพิธีครั้งนี้แล้ว พวกคุณวางเป้าหมายในการเป็น ช่างภาพของตัวเองต่อไปอย่างไร รู้ถึงเป้าหมายในชีวิตตัวเองหรือยัง หรื อ คิ ด ว่ า นี่ เ ป็ น เพี ย งแค่ จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ อ ยากถ่ า ยภาพส� า คั ญ ๆ ต่ อ ไป ในภายภาคหน้า

จะได้ รู ป ซึ่ ง มั น อาจจะไม่ ไ ด้ ดี ที่ สุ ด แต่ เ ป็ น ความภาคภู มิ ใ จที่ อ ย่ า งน้ อ ยเราไม่ ไ ด้ ไ ป เบี ย ดเบี ย นหรื อ ว่ า ไปเปลี่ ย นแปลงสิ่ ง ที่ เ รา จะถ่าย ผมเชื่ออย่างร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า ในเมื่อ เรามีทุนที่ส�าคัญมากๆ อยู่ในใจแล้ว ภาพที่ ออกมาคงจะส่งผ่านถึงผูค้ นทีจ่ ะได้รบั ชมต่อไป ในอนาคต ในงานส�าคัญที่มีผู้คนไปรวมตัวกัน เป็นจ�านวนมาก และอากาศในบ้านเรา ก็รอ ้ นจนทนไม่ไหว หลายคนก็เป็นลม ล้มลงไป แม้แต่ทหารทีร่ บ ั เสด็จบางคน ที่เหน็ดเหนื่อยมาทั้งวันก็อ่อนล้าจน ร่างกายทรุดลงไป ภาพเหล่านี้ควร ถ่ายไว้หรือไม่ เพราะถ้าพูดกันตรงๆ เ ป็ น ภ า พ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ที่ ห ล า ย ค น หิวกระหายอยากถ่ายมาอวดมาแชร์ กันเหลือเกิน

กัมพล : การบันทึกภาพนัน้ มีทางเลือก ของการบั น ทึ ก ภาพทั้ ง เชิ ง บวกและเชิ ง ลบ ถ้าเป็นรูปของทหารทีเ่ รียงแถวยืนตรงสวยงาม แล้ ว เราบั น ทึ ก นี่ คื อ เหตุ ก ารณ์ จ ริ ง แต่ ใ น เหตุ ก ารณ์ ที่ ท หารก� า ลั ง เข้ า แถวอยู ่ แ ล้ ว ทน ไม่ไหวเพราะอากาศร้อนมากจนเป็นลม นัน่ คือ เหตุการณ์จริงด้วยหรือเปล่า มันคือการบันทึก ประวัติศาสตร์หรือเปล่า สุดท้ายเราก็ต้องดูว่า เหมาะสมหรื อ ไม่ เ หมาะสมในการเผยแพร่ เพราะผมมองว่าทุกภาพทีเ่ ราถ่ายคือการบันทึก เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ แต่ ณ เวลานั้น ต้องมองด้วยความเหมาะสมด้วยว่า ภาพในบาง เหตุการณ์ไม่ได้ถูกน�ามาใช้งาน แต่เมื่อเวลา เปลี่ยนไป ภาพเหล่านั้นอาจจะสะท้อนอะไร บางอย่างกลับมาในยุคสมัยทีม่ นั เปลีย่ นแปลง ก็ได้ ผมมองว่าเราควรจะบันทึก แต่จะใช้ หรือไม่ใช้อยู่ที่ว่ามันเหมาะสมหรือเปล่า อยู่ที่

จรรยาบรรณ และอยู่ที่จริยธรรมในใจของเรา วรรนธนี : ทุกวิชาชีพจะมีบรรทัดฐาน ของการปฏิบัติงาน อยู่ที่ว่าเราควรหรือไม่ควร ท� า ในสิ่ ง ไหน นั่ น คื อ สิ่ ง ที่ เ ราต้ อ งตั ด สิ น ใจ ด้วยตัวเอง ชัชวาล : เหมือนกับที่ เควิน คาร์เตอร์ ถ่ายรูปเด็กที่มีแร้งยืนมองอยู่ข้างๆ ในซูดาน ซึง่ ตัวช่างภาพเองเมือ่ เขากดชัตเตอร์อย่างพอใจ แล้ว เขาก็สามารถเข้าไปช่วยเด็กคนนั้นได้ แต่เขาก็ไม่เข้าไปช่วย ซึง่ เราก็ไม่รวู้ า่ เขาคิดอะไร อยู่ แต่สุดท้ายในเวลาต่อมาเขาก็รู้สึกผิดกับ เหตุการณ์นั้นจนฆ่าตัวตาย เกรียงไกร : เป็นเรื่องสามัญส�านึก ของคนเป็นช่างภาพข่าวที่มีแต่ความต้องการ อยากได้รูปจนอยู่เหนือค�าว่าคุณธรรม ณัฐสุดา : แต่ประเด็นของรูปนั้นก็มี ข้อมูลออกมาบอกว่า เด็กคนนั้นอยู่ในค่าย ผู้อพยพซึ่งมีอาหารให้กิน เพียงแต่ว่าประเด็น ที่ เ ขาฆ่ า ตั ว ตายอาจจะเป็ น เพราะไม่ ใ ช่ แ ค่ ความรู้สึกผิดตรงนั้น แต่เป็นความรู้สึกที่เขา เหมือนไปบิดเบือนเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ โดยสร้าง เรื่องว่าเด็กก�าลังใกล้จะตาย แต่ความจริง เด็กคนนี้อยู่ในแคมป์ที่มีกองก�าลังที่สนับสนุน ช่ ว ยดู แ ลอยู ่ ซึ่ ง ข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วถู ก เปิ ด เผย ในภายหลัง วรรนธนี : เป็นข้อคิดจากการที่เรา ได้ดูประวัติศาสตร์ย้อนหลังว่า การที่พยายาม บิดเบือนอะไรบางอย่าง สุดท้ายจะได้รบั ผลนัน้ กลับมาด้วย

ณัฐสุดา : เรารูส้ กึ ว่าทุกครัง้ ทีม่ โี อกาสถ่ายภาพ เราจะท�าให้ดที สี่ ดุ อย่างตอนทีไ่ ด้ไป อยูใ่ นงานพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพในหลวง รัชกาลที่ 9 เราไม่ได้รสู้ กึ ว่าการทีไ่ ปอยู่ ตรงนั้นเป็นรางวัลหรือเป็นเกียรติยศส่วนตัว แต่เป็นโอกาสที่ดีที่ได้อยู่ตรงนั้น และร่วม ถ่ายทอดความส�าคัญของงาน ตอนที่ไปเหมือนตัวตนของเราหายไปเลย รู้สึกแค่ว่าเราจะ ถ่ายทอดสิง่ ทีเ่ ห็นตรงหน้าให้ตรงกับความรูส้ กึ ของเรามากทีส่ ดุ เมือ่ ก่อนเราอาจจะเป็นเหมือน คนธรรมดาทีร่ สู้ กึ ดีจงั ทีไ่ ด้ไปอยูต่ รงนัน้ แต่ตอนทีไ่ ด้อยูต่ รงนัน้ จริงๆ ก็รสู้ กึ ว่าขอแค่ได้ทา� ให้ดี ทีส่ ดุ แม้จะไม่ได้อยูใ่ นฐานะหรือต�าแหน่งอะไรก็ตาม แค่ได้บนั ทึกและมีโอกาสส่งผ่านความรูส้ กึ นัน้ แม้วา่ จะมีชา่ งภาพมากมายทีไ่ ปถ่ายรูปด้วยกัน มีภาพออกมาเยอะแยะมากมายให้ทกุ คน ได้ดู แต่เราก็แน่ใจว่าช่างภาพทุกคนไม่ได้คิดจะมาแข่งกันว่าใครได้ภาพที่ดีกว่ากัน ทุกคน น่าจะรู้สึกแบบเดียวกับเรา ยิ่งได้ถ่ายภาพทุกๆ วัน ยิ่งท�าให้รู้สึกว่าตัวตนที่อาจจะส�าคัญ ส�าหรับช่างภาพคนอื่น แต่ส�าหรับเรากลับเห็นหัวใจของช่างภาพของคนอื่นในแบบที่เรา คิดว่าเขาน่าจะรู้สึกแบบเดียวกับเรา ที่เป็นประชาชนคนไทยที่รักในหลวงเหมือนกัน ชัชวาล : เราได้โอกาสดีๆ ทั้งในครั้งที่แล้ว ทั้งครั้งนี้ ท�าให้รู้สึกว่าเรารักประเทศไทย มากขึน้ เป้าหมายต่อไปคืออยากเก็บภาพของความเป็นไทย ความสวยงาม ประวัตศิ าสตร์ เรื่องราวต่างๆ ซึ่งยังมีอยู่อีกเยอะ การตามหาว่ามีรายละเอียดอะไรที่น่าสนใจบ้างไหม งานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกท�าให้เราอยากจะท�าสิ่งนี้มากขึ้น จากที่เมื่อก่อนก็ถ่ายรูป เพราะเราไปเที่ยว เราเดินทาง เราเห็นอะไรสวยๆ ก็ถ่าย แต่พอได้คลุกคลีกับงานเหล่านี้ มากขึ้ น ท� า ให้ หั ว ใจของเราอยากจะท� า อะไรดี ๆ อยากถ่ า ยภาพให้ มี คุ ณ ค่ า มากขึ้ น และอยากส่งต่อรูปไปให้กับคนอื่น ชฎาธาร : ทุกคนย่อมมีความมุง่ มัน่ ในตัวเองกันอยูแ่ ล้ว ผมเคยบอกน้องๆ ว่าท�าอะไร ก็แล้วแต่ ต้องมองหาจุดทีจ่ ะไปต่อไว้ดว้ ย คุณอยากจะไปเป็นช่างภาพแฟชัน่ อาชีพ ก็พยายาม ท�าแล้วไปให้ถงึ เมือ่ เราไปถึงจุดนัน้ แล้วก็มองจุดหมายต่อไปอีก แต่ตอนนีผ้ มมองไปทีจ่ ดุ ไหน ตอบตามตรงว่ายังไม่ได้มองอะไรไปไกลมาก เพราะอยากท�าหน้าทีข่ องตัวเองให้ดที สี่ ดุ ก่อน โดยทีย่ งั ไม่คดิ ถึงอะไร เหมือนเวลาทีส่ ร้างงานศิลปะขึน้ มาสักชิน้ หนึง่ ถ้าคุณสร้างเพือ่ จะขาย ให้ได้ ก็จะถูกอะไรต่อมิอะไรมาบังคับ มีขอ้ แม้เยอะ แต่ถา้ ท�าโดยทีไ่ ม่ได้หวังว่าจะต้องขายได้ สิ่งที่เราท�านั้นจะออกมาด้วยความบริสุทธิ์ใจกว่า ณัฐสุดา : มีหลายครัง้ ทีถ่ ่ายรูปแล้วเจอปัญหาเฉพาะหน้า ท�าให้ไม่สามารถถ่ายรูป ได้ เราก็ได้เรียนรูจ้ ากพีค่ นหนึง่ ทีเ่ ขาบอกมาว่า คุณคิดในหัวใจอย่างเดียวพอว่าคุณท�าเพือ่ ใคร คุณท�าเพื่อประเทศชาติ ถ้าคุณคิดว่ามันใช่ คุณก็ท�า พอได้ยินอย่างนั้นเราก็รู้สึกโอเคทันที มีกา� ลังใจกลับมา เพราะเวลาเราโดนจิม้ หรือโดนว่า ใจเราจะเสียไปนิดหนึง่ พอเราได้ความรูส้ กึ แบบนั้นกลับมาอีกครั้ง เราก็แค่พยายามที่จะให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสมที่เป็นไปได้ใน การถ่ายรูป ซึง่ ก็เป็นเรือ่ งปกติของการถ่ายรูป หรือแม้กระทัง่ การท�างานทัว่ ไปทีจ่ ะมีบางสภาวะ ต้องไปอยู่ในสถานการณ์ที่ล�าบากใจ ซึ่งสุดท้ายก็กลับมาที่เรื่องของการเคารพสิ่งที่อยู่ ตรงหน้า เคารพสิ่งแวดล้อม เคารพคนที่ถือกล้องอยู่ด้วยกัน การเป็นคนทีถ ่ า่ ยรูปมาตลอด วันนีค ้ ณ ุ กลับถูก a day BULLETIN ถ่ายบ้าง ห้วงเวลาที่เกิดขึ้นในครั้งนี้สร้างแรงบันดาลใจอะไรให้เกิดขึ้นมาได้ไหม

เกรียงไกร : ส�าหรับผม ประสบการณ์นี้ก็ผ่านมาหลายครั้ง แต่ไม่มีครั้งไหนที่เรา ไม่ตนื่ เต้น พอตืน่ เต้น สิง่ ทีเ่ ราเรียนรูอ้ ย่างหนึง่ ทีจ่ ะเป็นประโยชน์ในการไปเป็นคนหลังกล้อง นัน่ คือเวลาทีช่ า่ งภาพบอกให้เรายิม้ การยิม้ อย่างจริงใจและมาจากใจทีส่ ดุ จะออกมาในแวบแรก ของวินาทีแรกเท่านัน้ เอง ถ้าเราสามารถน�าความรูส้ กึ นีไ้ ปกดชัตเตอร์ในฐานะของคนถ่ายภาพ ได้ เราก็จะได้อะไรที่จริงใจออกมา เพราะหลังจากที่ยิ้มแรกออกมาแค่ไม่กี่วินาที รอยยิ้ม ของเราก็ไม่เป็นธรรมชาติ แล้วในฐานะที่เราไม่ได้เป็นนักแสดงนี่คือส่วนหนึ่งของประโยชน์ และเป็นสิ่งที่เรียนรู้ในฐานะที่เป็นคนให้คนอื่นถ่ายรูปตัวเองครั้งนี้

อัครินทร์ อัศววารินทร์ | ช่างภาพอิสระ

ผลงำนของอัครินทร์มอ ี ต ั ลักษณ์และมุมมองเฉพำะ โดยแต่ละภำพทีเ่ ขำเลือกบันทึก แม้ผำ่ นกำรกลัน ่ กรองอย่ำงฉับไว แต่คงควำมงดงำมในมุมมอง และแฝงด้วยควำมหมำยทีย ่ ำกจะหำใครเสมือน โดยมีรำงวัลยืนยันในควำมสำมำรถ อำทิ รำงวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 เหรียญทองเกียรติยศ และรำงวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 เหรียญเงินเกียรติยศ กำรประกวดภำพถ่ำยแห่งแผ่นดิน พ.ศ. 2556, รำงวัลชนะเลิศประกวดภำพถ่ำย ททท. ‘คืนรอยยิม ้ ให้รำชประสงค์’, รำงวัลชนะเลิศ ประกวดภำพถ่ำยนิตยสำร สำรคดี Photo Rally ครัง้ ที่ 2 และรำงวัลชมเชย ประกวดภำพถ่ำย ช้ำง ไฟน์อำร์ต โฟโต้ คอนเทสต์ ครัง้ ที่ 4 เป็นต้น


จิตอาสา (2)

หมายเหตุ - เรียบเรียงจากตอนหนึ่งในหนังสือ นี่นั่นโน่น โดยแพรวส�านักพิมพ์

ปกติแล้วผมเป็นคนเดินเร็วมาก พวกเพือ่ นๆ เวลาไปไหนมาไหนด้วย เมือ่ เห็นผมเดินจ�า้ พรวดๆ มุ่งตรงไปข้างหน้าอย่างเดียว โดยไม่สนใจอะไร รอบข้ า งเลย พวกเขามั ก จะทั ก ว่ า ก�า ลั ง เดิ น ตามควายเหรอ ผมไม่รตู้ วั หรอกว่านิสยั เดินเร็วนี่ มีที่มาจากไหน แต่มันกลายเป็นส่วนหนึ่งของ กิจวัตรประจ�าวันไปแล้ว นิสัยและความคิดชอบเร่งรีบแบบนี้เคย ติดตัวมาแน่นหนามาก ทั้งที่จริงๆ แล้วผมเองก็ ไม่มธี รุ ะอะไรรีบร้อน เวลาไปเดินซือ้ ข้าวของหรือ เสื้อผ้าในห้าง ผมมักจะคิดไว้แล้วว่าจะซื้ออะไร ตรงร้านไหน แล้วก็เดินจ�้าๆ พรวดๆ ไปให้ถงึ ร้าน เลย แล้วก็ใช้เวลาไปกับการเลือก การลอง และ ต่อรองในร้าน แทนทีจ่ ะเดินเอือ่ ยเฉือ่ ย ทอดน่อง ใช้เวลาเนิ่นนานกว่าจะไปถึงจุดหมาย มีวันหนึ่งผมไปเดินแถวสยามฯ ผมลง รถไฟฟ้าสถานีสยาม แล้วก็เดินจ�า้ ๆ ไปหาซือ้ ของ ที่มาบุญครอง ระหว่างทางก็เจอแต่อุปสรรคบน ฟุตพาทตลอดทางอีกแล้ว พวกเด็กวัยรุ่นเดิน ทอดน่อง รถยนต์กจ็ อดกันเกะกะจนแทบไม่เหลือ ทางเท้าให้เดิน ใจลอยไปถึงทีร่ า้ นขายของในห้าง แล้ว แต่ตวั ยังติดอยูต่ รงบันไดทางขึน้ สะพานลอย ฝั่งตรงข้ามอยู่เลย ท� า ไมคนข้ า งหน้ า เดิ น กั น ช้ า จั ง เลย!? ผมหงุดหงิดร�าคาญ เงยหน้ามองขึ้นไปก็เห็น คนตาบอดคนหนึ่ ง ก� า ลั ง ยั ก แย่ ยั ก ยั น อยู ่ ต รง บันไดขั้นบนสุด เมื่อผมเดินขึ้นไปถึง ก็เห็นเขา ก�าลังจะเดินไปชนราวทางเลื่อนบนสะพานลอย ดีไม่ดเี ขาอาจจะหกล้มก็ได้ ทางเดินในกรุงเทพฯ นี่ไม่ได้ถูกออกแบบมาให้เหมาะกับคนพิการเลย จริงๆ ผมเดินเข้าไปจับแขนเขา แล้วดึงออกมา จากราวทางเลื่อนนั่น แล้วถามเขาว่าก�าลังจะไป ไหน เขาบอกว่าก�าลังจะไปที่ท็อปส์ ผมก็ถามว่า ท็อปส์ไหนครับ เขาบอกว่าท็อปส์ซูเปอร์มาร์เกต ช่วยพาไปหน่อยได้ไหม... ท�าไมจะไม่ได้ล่ะครับ แล้วผมให้เขาจับแขนแล้วเดินไปท็อปส์พร้อมกัน เราค่อยๆ เดินผ่านทางเชื่อมสะพานลอย ชัน้ สองเข้าสูศ่ นู ย์การค้า ช่วงเย็นวันเสาร์นคี่ นแน่น มาก และทางเดินในศูนย์ฯ ก็แคบมาก เขากัน พืน้ ทีท่ างเดินครึง่ หนึง่ เอาไว้ให้คนเช่าตัง้ แผงลอย ด้ ว ย ถ้ า เป็ น ผมมาคนเดี ย ว ตอนนี้ ค งเดิ น เบี่ยงซ้ายเบี่ยงขวาเหมือนกายกรรม จ�้าพรวดๆ แป๊บเดียวก็ไปถึงจุดหมายที่ต้องการ แต่ผมเพิ่งรู้ว่าการจูงคนตาบอดฝ่าฝูงชน เป็นอะไรทีท่ ลุ กั ทุเลและยุ่งยากเกินคาด พวกเรา ค่อยๆ เดินกันช้าๆ ผมชะลอฝีเท้าลง เพราะกลัว ว่าเขาจะเดินตามไม่ทัน โดยเฉพาะในช่วงที่มี คนอื่นก�าลังเดินจ�้าพรวดๆ สวนทางมาอย่าง รีบร้อน ผมห่วงว่าจะชนกับชายตาบอดที่เกาะ แขนอยู่ล้มไป ระหว่างการเดินระยะทางสั้นๆ แค่จาก สะพานลอยทางเชื่อมกับศูนย์การค้า ผมรู้สึกว่า ท� า ไมมั น ถึ ง กิ น เวลายาวนานแบบนี้ เพื่ อ แก้ ความเบื่อและเพื่อสะกดอารมณ์ร้อนรุ่ม ผมเอ่ย ถามเขาว่ามาจากไหนครับ เขาบอกว่ามาจาก พัทยา เขาท�างานอยูท่ โี่ รงเรียนคนพิการแห่งหนึง่ ผมถามเขาว่าจะมาซื้ออะไร เขาบอกว่ามาซื้อ ลูกอมกลับไปฝากเพื่อนๆ ที่โรงเรียน แค่ซื้อลูกอม ที่ไหนก็มีขาย ท�าไมต้องมา ซือ้ ถึงทีน่ ดี่ ว้ ย? ผมถามเขา แต่เขาไม่ได้ตอบอะไร กลั บ มา พวกเรามาถึ ง หน้ า ซู เ ปอร์ ม าร์ เ กต

ผมพยายามกวาดตามองหาพนักงานประจ�าร้าน สักคน เพื่อจะได้มารับช่วงดูแลชายตาบอดคนนี้ ต่อ แต่กลับไม่เจอเลยสักคน มากันถึงขัน้ นีแ้ ล้ว ผมเลยพาชายตาบอด เดินเข้าไปที่ชั้นวางสินค้าขนมหวานทั้งหลาย เขาวานให้ ช ่ ว ยหยิ บ ลู ก อมรสมิ น ต์ ถุ ง ใหญ่ ผมหยิ บ มาส่ ง ให้ เ ขา เขาถามราคาว่ า ถุ ง ละ เท่าไหร่ ผมบอกไปว่าถุงละ 19 บาท เขาบอกว่า ขอให้ช่วยหยิบออกมาห้าถุง ผมถามว่าจะเอาอย่างอืน่ อีกไหม เขาบอก ว่าพอแล้ว ช่วยพาไปจ่ายเงินด้วยได้ไหม ผมก็ให้ เขาเกาะแขนแล้ ว เดิ น ไปต่ อ คิ ว เพื่ อ จ่ า ยเงิ น ที่ เคาน์เตอร์แคชเชียร์ คิวข้างหน้าเรายืนต่อแถวกัน ยาวเหยียด ใจผมลอยไปร้านค้าที่เป็นจุดหมาย ของตัวเอง ผมชะโงกไปดูแถวข้างหน้าว่าท�าไม จ่ายเงินกันชักช้าเหลือเกิน นานแสนนานกว่ า จะถึ ง คิ ว ของเรา

เข้าทาง ก่อนทีจ่ ะปิดกระเป๋าสะพาย เป็นอันเสร็จสิน้ พิ ธีก ารส� า หรั บ ซื้ อ ลู ก อมห้ า ถุ ง กระบวนการ ทัง้ หมดนีก้ นิ เวลายาวนานเหมือนผ่านไปหนึง่ กัป ลู ก ค้ า คนอื่ น ที่ ก� า ลั ง ต่ อ คิ ว หลั ง จาก พวกเรา พวกเขาคงชะเง้ อ ชะแง้ ดู เ ราอยู ่ ตลอดเวลา และก็คงคิดเหมือนกับผมนั่นแหละ ว่านี่ท�าอะไรกันนานจัง ผมรีบจูงมือชายตาบอด ออกมาจากคิ ว และคว้ า ถุ ง ใส่ ลู ก อมมาด้ ว ย เขาบอกว่ า ช่ ว ยยั ด ถุ ง ลู ก อมใส่ ใ นกระเป๋ า ให้ หน่อยได้ไหม เขาหยิบกระเป๋าสะพายใบเดิม ขึ้นมา เปิดมันช้าๆ แล้วผมก็ยัดถุงลูกอมลงไป เฮ้อ! เสร็จเสียที ชายตาบอดบอกว่ า สุ ด ท้ า ยแล้ ว ครั บ ช่วยพาไปส่งที่ร้านขายซีดีเพลงแม่ไม้เพลงไทย ได้ไหม สบายมากอยู่แล้ว ช่วยทั้งทีก็ต้องช่วย ให้ ถึ ง ที่ สุ ด เราเลยพากั น เดิ น มุ ่ ง หน้ า ไปร้ า น แม่ไม้เพลงไทยที่อยู่ชั้นล่างเหมือนกัน

ชายตาบอดวางลู ก อมรสมิ น ต์ ห ้ า ถุ ง ลงบน เคาน์เตอร์แคชเชียร์ พนักงานเอาถุงไปส่องไฟ สแกนบาร์โค้ด รวมเป็นเงินทั้งหมด 95 บาท ชายตาบอดเปิดกระเป๋าสะพายสีด�าของเขา เอา มือล้วงเข้าไปคุ้ยข้าวของข้างใน แล้วเขาก็รูดซิป ช่องลับข้างในกระเป๋า หยิบเอากระเป๋าเงินออกมา เขาเปิดกระเป๋าเงินออก แล้วรูดซิปช่องลับใน กระเป๋าเงิน ผมแอบเหลือบดูข้างใน ก็เห็นแบงก์ หลายใบพับๆ เรียงเอาไว้ข้างในนั้น เขาหยิบ แบงก์ ขึ้น มาใบหนึ่ง เอามือ ลู บ คล� า แบงก์ นั้น สักอึดใจ แล้วก็คลี่มันออกมาวาง คนตาบอดอย่างเขาแยกแยะมูลค่าแบงก์ แต่ ล ะใบได้ ด ้ ว ยลั ก ษณะการพั บ ที่ เ ขาพั บ เตรียมเอาไว้ และจัดเรียงไว้อย่างเป็นระเบียบ ให้ง่ายต่อการหยิบใช้ ชายตาบอดส่งแบงก์ร้อย ให้พนักงานแคชเชียร์ พนักงานแคชเชียร์กดปุ่ม คิดเงินกรุ๊งกริ๊ง ลิ้นชักเครื่องเปิดออก เขาหยิบ เหรียญบาท 5 เหรียญ ออกมาเทใส่มือชาย ตาบอด ชายตาบอดหยิบเหรียญขึ้นมานับด้วย สองมือ แล้วเขาก็หย่อนเหรียญลงในกระเป๋าเงิน อีกช่องหนึ่งซึ่งไว้ใส่เหรียญ เขารูดซิปปิดช่องลับใส่แบงก์ แล้วเอา กระเป๋าเงินหย่อนลงไปในช่องลับในกระเป๋า สะพายสีด�า เขารูดซิปปิดช่องลับในกระเป๋า สะพายสีด�า แล้วจัดข้าวของในกระเป๋าให้เข้าที่

ผมถามชายตาบอดว่านัดเพื่อนไว้ที่ร้าน แม่ไม้เพลงไทยเหรอ เขาบอกว่าเปล่า เขาจะไป ซื้อซีดีเพลงเพื่อไปเปิดให้นักเรียนที่โรงเรียนฟัง ผมถามเขาว่า แล้วเดี๋ยวคุณจะกลับบ้านยังไง? เขาบอกว่าจะไปขึ้นแท็กซี่ที่หน้าห้าง แล้วไปต่อ รถตูก้ ลับพัทยา เขาเดินทางมาซือ้ ของแบบนีบ้ อ่ ย จนชินแล้ว เมื่อมาถึงหน้าร้านแม่ไม้เพลงไทย เรา กล่าวค�าล�า่ ลากันนิดหน่อย ผมส่งเขาไว้ตรงหน้า ร้านนัน้ เห็นเขาเอามือเอือ้ มไปสัมผัสกับแผงวาง ขายซีดี คงจะก�าลังท�าความคุ้นเคยกับสถานที่ ทิ้งเขาไว้เบื้องหลัง แล้วก็รีบเดินจ�้าพรวดๆ ไปที่ จุดหมายของตัวเอง เรื่องราวเกี่ยวกับชายตาบอดคนนี้ยังคง วนเวียนอยูใ่ นหัว เขาเข้ากรุงเทพฯ มาเพือ่ ซือ้ ของ นิดๆ หน่อยๆ ดูไม่คอ่ ยคุม้ ค่าเหนือ่ ยและเสียเวลา ยังไงก็ไม่รู้ กว่าจะออกจากบ้าน กว่าจะทุลักทุเล ขึน้ รถหลายต่อ กว่าจะเดินไปถึงร้านค้าทีต่ อ้ งการ กว่าจะต้องฝ่าการจราจรขากลับบ้านอีก จุดหมายคืออะไร ระหว่างทางคืออะไร และความคุ้มค่าคืออะไร? ผมเคยมีวิธีคิดว่า คนเราควรจะมองหา จุ ด หมายข้ า งหน้ า ที่ ชั ด เจน หาวิ ธีไ ปให้ ถึ ง จุดหมายแบบรวบรัดที่สุด สั้นง่ายที่สุด และก็รีบ ทุม่ พลังทัง้ หมดไปให้ถงึ ท�าภารกิจให้สา� เร็จๆ ไป

, EDITOR S NOTE เรื่อง : วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ ภาพ : อุษา นพประเสริฐ

อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เพื่อจะได้ไป ท�าอะไรอย่างอื่นต่อไป เหมือนการเดินออกจาก บ้านไปป้ายรถเมล์ หรือการเดินทางไปออฟฟิศ ในแต่ละวันๆ คือรีบเดินไปให้มันถึงๆ เสียที แล้วจะได้ไปท�าอะไรอย่างอื่นต่อ ประเด็นคือ แล้วหลังจากไปถึงที่หมาย แล้ว ต่อจากนั้นชีวิตคืออะไร? ที่สุดแล้วมันก็คือ การส่งใจไปข้างหน้าเรื่อยๆ โดยที่เราไม่เคย มีวันถึงจุดหมายที่แท้จริงเสียที ในยามเย็ น ที่ ส ยามสแควร์ กั บ การได้ ช่วยเหลือชายตาบอดคนหนึ่ง ท�าให้ผมเปลี่ยน มุมมองที่มีต่อการเดินทางไปตลอดกาล ผมไม่รู้หรอกว่าชายตาบอดคนนั้นเขามี วิธคี ดิ อย่างไร ท�าไมเขาไม่เอาเวลาเดินทางไกลๆ และยากล�าบากนี้ไปท�าอะไรอย่างอื่น ผมแค่ รูส้ กึ ว่ามันแปลกประหลาดมากๆ ในขณะเดียวกัน มันก็ไร้แก่นสารมากๆ ด้วย ผมอยากน�าเรื่องนี้ กลับมาเล่าให้ฟัง เพื่อนคนหนึ่งรับฟังเรื่องราวนี้ แล้วเขาก็ ถามขึ้นมาว่า ชายตาบอดคนนี้ชื่ออะไร ไม่รู้สิ! ผมลืมถาม อืม... ผมลืมถาม

34 issue 590 13 MAY 2019


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.