604 605 606
TODAY EXPRESS PRESENTS
26 AUG 2019
FOR A BETTER
TOMORROW
CONTENTS 605
P04
DATABASE ประมวลค่าใช้จา่ ยทัง ้ หมดขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
604 605 606
TODAY EXPRESS PRESENTS
26 AUG 2019
P08
THE CONVERSATION พู ดคุยกับ นริศ เชยกลิ่น ประธาน่ ริหาร บริษท เจ้าหน้าทีบ ั สิงห์ เอสเตท จ� า กั ด ( ม ห า ช น ) ถึ ง ค ว า ม ส� า คั ญ ของทะเลในวันพรุง ่ นี้
P24
LIFE เยี่ยมเยือนอินเดียประเทศที่ไปกี่ครั้ง ก็มีแต่เรื่องราวประทับใจ
FOR A BETTER
TOMORROW ภาพของผูบ ้ ริหารในความคิดของหลายๆ คนมักจะเป็น คนที่ ดู เ คร่ ง ขรึ ม จริ ง จั ง และแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความเป็ น ผู้ น� า ซึ่งก็ไม่ปฏิเสธว่า นริศ เชยกลิ่น ก็มีลุกส์ของความเป็ นผู้น�าที่ สมบูรณ์แบบอยู่อย่างครบถ้วน แต่ส่ิงหนึ่งที่เราพบหลังจากได้ ท� า การพู ดคุ ย กั น นั่ น คื อ เขามี ค วามเป็ น ผู้ บ ริ ห ารรุ่ น ใหม่ ที่ ใ น ่ า่ สนใจ และมีความห่วงใย หลายๆ ทัศนคติมค ี วามคิดนอกกรอบทีน ต่อทุกอย่างที่ อ ยู่ ร อบตั ว เราจึ ง ลองถ่ า ยรู ป เขาในอิ ริ ย าบถ ที่ ผ่ อ นคลายไว้ อี ก เซต และปรากฏว่ า ในบรรยากาศสบายๆ ่ เราพบว่า เป็นกันเอง แต่กลับรูส ้ ก ึ ได้ถง ึ ความมุง ่ มัน ่ ในอีกแบบ ซึง ่ ่ นีคือลักษณะเฉพาะตัวของผู้บริหารรุ่นใหม่ซง ึ ไม่เหมือนใคร
P32
BREATHE IN 1 ‘หมดไฟ’ แต่ จ ะไปต่ อ ข้ อ คิ ด เติ ม ไฟ ในกลางปี
P33
BREATHE IN 2 เรียกเงินเดือนเท่าไหร่ดี? งั้นมาลอง ถาม 3 เรื่องนี้ก่อน
P34
EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิ ก าร ทั ศ นคติ ต่ อ ชี วิ ต และสั ง คมผ่ า นสายตาของ วุ ฒิ ชั ย กฤษณะประกรกิจ
TEAM ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการทีป ่ รึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ทีป ้ ม ิ พ์โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒช ิ ย ั กฤษณะประกรกิจ รองบรรณาธิการบริหาร ฆนาธร ขาวสนิท บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัตก ิ ล ุ พัทธมน วงษ์รต ั นะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นักเขียน/ผูป ้ ระสานงาน ตนุภท ั ร โลหะพงศธร หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกต ิ ติบต ุ ร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิม ิ ก ั ษณ์ ตะเภาหิรญ ั ศิลปกรรม ฐิตช ิ ญา อนันต์ศร ิ ภ ิ ณ ั ฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสจ ู น์อก ั ษร หัสยา ตัง ้ พิทยาเวทย์ ้ แย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิรล ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล ่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจ กวินนาฏ หัวเขา ทีป ิ รรยากุล ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุง ่ รัตนสิทธิกล ุ 08-4491-9241 ผูช ้ ว ่ ยผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจฬ ุ างกูล 08-1639-1929, พงศ์ธด ิ า อังศุวฒ ั นากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว ผูผ ้ ลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www. adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com 02 2
ค่าโดยสาร รถเมล์ปัจจุบัน
118,183,234,000
หลังจากองค์การขนส่งมวลชน กรุงเทพ (ขสมก.) ประสบปัญหา ขาดทุนมาอย่างต่อเนือ ่ ง จนมี หนีส ิ คงค้างรวมกันอยูม ่ ากถึง ้ น 118,183 ล้ า นบาท ล่ า สุ ด คณะรัฐมนตรีได้ไฟเขียวอนุมต ั ิ แผนฟื้ นฟู กิ จ การ เพื่ อ เพิ่ ม ความสามารถในการหารายได้ จั ด การหนี้ สิ น และปรั บ ปรุ ง ก ารท�างานให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้ น แผนฟื้ นฟู นี้ มี ร ายละเอียดอย่างไร ไปดูกันเลย
เรือ ่ ง : พัทธมน วงษ์รัตนะ
DATABASE
ปั จจุบัน ขสมก. มีหนีส ้ ินทัง ้ สิน ้ กว่า
REFORMING BANGKOK’S BUS
บาท มาจากไหนบ้าง?
1
ล้านบาท
7,130.971 เงินลงทุนซือ ้ รถโดยสาร 1,672 คัน
2
ล้านบาท
39,341.404
ค่าซ่อมแซม และบ�ารุงรักษา รถโดยสาร
3
4
ล้านบาท
59,840.932
ค่าน�้ามัน เชือ ้ เพลิง
ล้านบาท
8,447.062
รถโดยสาร ธรรมดา (ครีม-แดง)
หนีภ ้ าระผูกพัน
8
รถโดยสาร ปรับอากาศ (ครีม-น�้าเงิน)
2588
12-20
บาท
รถโดยสาร ปรับอากาศยูโรทู (สีส้ม)
11-23
บาท
รถโดยสาร ปรับอากาศ รุ่นใหม่ (สีฟ ้า)
15-25
ปั จจุบันมีจ�านวนรถเมล์ให้บริการทัง ้ หมด 2,645 คัน แต่มีจ�านวนมากทีช ่ �ารุด ทรุดโทรม ต้องใช้ค่าซ่อมบ�ารุงในอัตราสูง เนือ ่ งจาก รถมีอายุใช้งานมากกว่า 20 ปี
3,000 ภายในปี 2565 ขสมก. ต้องการจัดหารถเมล์ ใหม่ 3,000 คั น เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพ ของรถเมล์ ประกอบด้ ว ย
13,599 อีกปั ญหาส�าคัญคือ ขสมก. เป็ นองค์กรขนาดใหญ่ มีพนักงานมากถึง 13,599 คน แบ่งเป็ น
พนักงานขับรถ
5,509 คน
พนักงานเก็บค่าโดยสาร
5,532
บาท
คน
คิดเป็ นสัดส่วนต่อรถ 1 คัน ต้องรับภาระ ค่าใช้จ่ายของพนักงานถึง 5.14 คน ซึง ่ สูง กว่าประเทศอืน ่ ๆ
พนักงานส�านักงาน
2,530
คน
7,949
ขสมก. ต้องปรับโครงสร้างองค์กร ให้กระชับโดยลดพนักงานให้เหลือ 7,949 คน ภายในปี 2565 หรือ คิดเป็ นสัดส่วนพนักงาน 2.75 คน ต่อรถ 1 คัน
พนักงานส�านักงาน สัญญาว่าจ้าง
1
จัดซือ ้ รถเมล์เอ็นจีวี
2
จัดซือ ้ รถเมล์พลังงาน ไฟฟ ้า (EV Bus)
812 35
คั น คั น
3 เช่ารถโดยสารใหม่
700
คั น
4 จัดซือ้ รถโดยสาร
1,453
คั น
ไฮบริด
28 คน
2000 1500 1000
1
3
500
4
2
100 0 รถเมล์เอ็นจีวี
EV Bus
เช่ารถโดยสารใหม่
จัดซือ ้ รถโดยสารไฮบริด
20
ที่มา : www.bmta.co.th, www.bltbangkok.com
ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ
ขสมก. จ�าเป็ นจะต้องปรับค่าโดยสารให้ สอดคล้องกับต้นทุน เพื่อช�าระหนีใ้ ห้หมด ภายในปี 2588 โดยเมือ ่ เดือนเมษายน ทีผ ึ้ ค่าโดยสารไปแล้ว 1 ครัง ่ ่านมาได้ขน ้ และจะปรับขึน ้ อีกในปี 2567
2,645
บาทตลอดสาย
Ǐǣǒǩdž˒ǥƮǥǒǩƮǒǛˢLj
“Kai-Chon Original”
ǪǙǏǛˢLjǗ˱ːǏǣǒǩdž˒ǥǪǤLjDŽ˚ǩljDŽǗ˯DŽƿˠǁ = H -@$H î=N H&õ$6$AP K$2< !C ?%"@P,< !D $U = L&I&..D & H&õ $ 5? $ ï = I*ý<P $ 5=.)< I%% 8="? .;H&ì = 5;)=- .;H&ì = 5 = ò 6.B 8 I,ïI î6,2 H ñN I î6$AP K$5?P "@PH.=H6O$H&õ$ .<Q I. B 8 .8 H"ï = "U = = = H -@ $ 8$H6O$$@P!A <%2ï=2 H0-"@H @-2 H).=;,<$ H ñ,= ý? ,= K5îH ?$L&L6$L,î,@ UQ=K .8-î= I$î$8$ .< $= . H.B8 U=
.8 H"ï="U= = = H -@$ ®ÄÌ ¦ËÒÑ ²ÕÌÊÌÑÄÏ
ėĥĉčĦõė İėīġûøĽĦ İüŖĦöġûĐęĨĉĔĥćąř ėġûİċŖĦ ċĽĦüĦõõĦûİõûĖĩč #ū N ' ū y İęŕĦijğŖēśû ĈŖěĖċŕĦċĦûĞĈijĞěŕ Ħ üėĨ ûĶ ıęŖ ě õŕ ġ čğčŖ Ħ čĩĹ İ Čġõķ ĐęĨĉėġûİċŖĦġĖĭŕıęŖě ıĉŕİďŝčėġûİċŖĦğčĥûıĎĎċĥĸěĶ Ĵď ÿĪĸûčġõüĦõěĥĉĊĬĈĨĎüĤėĦøĦıĒûıęŖě õķĖĥûĴĕŕĕĩøěĦĕ ıĉõĉŕ Ħ ûüĦõėĦĖġīĸ č Ķ ijčĉęĦĈ ěĥ č ğčĪĸ û İęĖİõĨ Ĉ ĴġİĈĩ Ė ęġûĉĥ Ĉ öĦõĦûİõûĖĩ č ĕĦęġûċĽ Ħ ėġûİċŖ Ħ Ĉĭ ÿĪĸûĖĥûĴĕŕİøĖĕĩĕĦõŕġčijčĉęĦĈėġûİċŖĦĴċĖ ęġûċĽĦġġõĕĦ 3 øĭŕ ıęŖěĴďěĦûöĦĖĈĭ üĽĦ ĴĈŖİęĖěŕĦøčıėõċĩĸĕĦÿīĹġøīġþŕĦûĴē İęĖĉĥĈĞĨčijüİġĦ õĦûİõûijčĎŖĦčĉĥěġīĸčĕĦċĽĦġĩõ øčõķÿīĹġİĖġĤĕĦõ øûİğķčěŕĦĕĥčıďęõĈĩ İėĦİęĖĴďğĦÿīĹġõĦûİõûĖĩč ĉĦĕĉęĦĈĕĦċĩęĤ 4N5 ĉĥě ıęĤċĽĦöĦĖİėīĸġĖĶ üč ĊĪûěĥččĩĹy
^ ūŭŲŬ ^ŭ a ŭÑÑ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč ĕĬŕûĕĥĸčİĞėĨĕĞėŖĦûİĜėĝĄõĨüĄĦčėĦõĕĥĸčøû İĒĨĸĕøěĦĕĞĬöĕěęėěĕijğŖďėĤþĦþč
ėĥ ĉ čĦõėĎġõěŕ Ħ üĦõěĥ č ıėõĊĪ û ďś ü üĬ Ďĥ č İČġijþŖ İ ěęĦ ďėĤĕĦć 3< ďō ĉŕġĖġĈõĦėċĽĦûĦčİėīĸġĖĶ ĈŖěĖõĦėİėĩĖčėĭŖøěĦĕ ĉŖġûõĦėöġûĉęĦĈ ıęĤøěĦĕþġĎöġûęĭõøŖĦ İėĨĸĕıėõġĦüİďŝč õĦėęġûĐĨĈęġûĊĭõ õŕġčüĤĒĥĆčĦĕĦİėīĸġĖĶ üčĊĪûěĥččĩĹ İėĦijþŖõĦûİõûĖĩčİõŕĦĕĦċĽĦ ĊŖĦĖĩčĉĥěĴğčöĦĈĶ ėĬŕĖĶ ęĭõøŖĦõķüĤþġĎĕĦõ ĊŖĦİġĦöġûijğĕŕĕĦĞĩĕčĥ õķüĤİöŖĕ õķüĤİğĕīġč õĥčğĕĈ ıĉŕøěĦĕİõŕĦõķüĤİõŕĦĴĕŕİğĕīġčõĥč ęěĈęĦĖöġûĐŖĦ õķüĤĴĕŕİğĕīġčõĥč õĦûİõûĖĩčĎĦûĉĥěİüŖĦöġûÿīĹġĕĦĈŖěĖėĦøĦ ċĩĸıĒûĕĦõ ıĉŕěĥčğčĪĸûijĞŕĴĕŕĴĈŖıęŖěõķİęĖİõķĎĴěŖ ĒġİöĦİğķčěŕĦ İėĦčĽĦĕĦċĽĦİďŝčėġûİċŖĦĴĈŖ õķčĽĦõĦûİõûĉĥěİġûĕĦijğŖİėĦċĽĦİďŝč ėġûİċŖĦİĖġĤİğĕīġčõĥč ďőĦĖöġûõĦûİõûõķĖĥûġĖĭŕijčėġûİċŖĦ ċĬõøĭŕċĩĸİėĦċĽĦijğŖ õķęġûĐĨĈęġûĊĭõüčõěŕĦüĤĴĈŖıĉŕęĤþĨĹč ıęĤ õķİėĨĸĕĒĥĆčĦĕĦİėīĸġĖĶ ęĭõøŖĦõķĖĥûĉġĎėĥĎĈĩİğĕīġčİĈĨĕ İĒėĦĤ ěŕĦİďŝčûĦč ū Ñ ūÑŲ İėĦİĖķĎėġûİċŖĦĈŖěĖĕīġċĬõøĭŕ ĖĨĸûęĭõøŖĦ þĦěĉŕĦûþĦĉĨİğķčıęŖěĖĨĸûþġĎ ÿīĹġıĎĎĴĕŕĉŕġėĦøĦİęĖy õęĬ ŕ ĕ ęĭ õ øŖ Ħ öġûėġûİċŖ Ħ ċĽ Ħ üĦõõĦûİõûĖĩ č #ū N ' ū ĕĩġĖĭŕċĬõõęĬŕĕ ġĖŕĦûijčûĦčĜĨęďĦþĩĒ ďėĤċĩďĴċĖ ','( õŖĦěĴõę ĈŖěĖĒėĤĎĦėĕĩ 4784 ċĩĸİĒĨĸûüĎĴď ĕĩęĭõøŖĦijğĕŕċĩĸÿīĹġ øčİĈĩĖě 5 øĭŕ İĒėĦĤęěĈęĦĖıĉŕęĤøĭŕĴĕŕĕĩÿĽĹĦõĥč ċĬõęĦĖüĤĕĩİĒĩĖûøĭŕİĈĩĖěijčIJęõ õĽĦęĥûĐęĨĉijčıĉŕęĤ İĈīġčöġûİėĦüĤġĖĭŕċĩĸďėĤĕĦć 7< øĭŕöĪĹčĴďøŕĤ İĒėĦĤİďŝčûĦč ū Ñ ūÑŲ ċĩĸİėĦċĽĦĈŖěĖĕīġ øĭŕğčĪĸûijþŖİěęĦċĽĦ 4 ěĥč ĴĕŕěŕĦüĤ İďŝč 7 øĭŕ 3< øĭŕ õķijþŖİěęĦċĽĦ 4 ěĥč İĒėĦĤěŕĦõěŕĦİėĦüĤİöŖĦėĭď İöŖĦċėûĴĈŖĉġŖ ûijþŖİěęĦ ıęĤıüõüŕĦĖûĦčijğŖøčijčþĬĕþčþŕěĖİĖķĎ İďŝ č ėĦĖĴĈŖ İ ĒĨĸ ĕ ijğŖ õĥ Ď øčijčþĬ ĕ þčĈŖ ě Ė ċĩĸ Ğ ŕ ě čijğāŕ õķ ü ĤijþŖ İěęĦěŕĦûüĦõûĦčğęĥõijčõĦėċĽĦy ĉġččĩĹčġõüĦõėġûİċŖĦċĽĦüĦõõĦûİõûĖĩč #ū N ' ū üĤĕĩüĽĦğčŕĦĖċĩĸĉęĦĈčĥĈüĉĬüĥõėıęĤþŕġûċĦûġġčĴęčř ıęŖěčĥĹč ĖĥûİďŝčĞĨčøŖĦ ','( ĞĬĈþĨøijčûĦčıĞĈûĞĨčøŖĦĉŕĦûĶ ċĩĸüĥĈöĪĹčIJĈĖõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč õėĤċėěûĕğĦĈĴċĖ ĈŖěĖ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč õėĤċėěûĕğĦĈĴċĖ ĕĩĞěŕ čþŕěĖ ĞčĥĎĞčĬčĞŕûİĞėĨĕijğŖİėĦĴĈŖĕIJĩ ġõĦĞİöŖĦėĥĎõĦėġĎėĕğęĥõĞĭĉėĉŕĦûĶ ċĩİĸ ďŝčďėĤIJĖþčřijčİėīġĸ ûöġûõĦėĉŕġĖġĈ õĦėĒĥĆčĦõĦėġġõıĎĎ
ĈĩĴÿčřĉĥěĐęĨĉĔĥćąř ĉęġĈüčõĦėijğŖøěĦĕėĭŖİėīĸġûþŕġûċĦûõĦėĉęĦĈ ÿĪĸûİďŝčďėĤIJĖþčřıõŕİėĦĕĦõĶ øŕĤy
ĞčijüęġûøęĨõİöŖĦĴďĈĭċĩĸ ^ ūŭŲŬ ^ŭ a #ū ŭ ' ū ĴĈŖİęĖ ġĦüĴĈŖėġûİċŖĦ ū Ñ ūÑŲ İõŘĶ øĭŕİĈĩĖěijčIJęõĴďijĞŕġěĈijøėĶ õķĴĈŖ
เรือ ่ ง : ศิวะภาค เจียรวนาลี, ชยพล ทองสวัสดิ์
ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตรกิตติบุตร
THE CONVERSATION
08
FOR A BETTER TOMORROW ทีมงานของ Singha Estate บอกพวกเรา ว่าวันนี้ นริศ เชยกลิน ่ ไม่สบายนิดหน่อย ระหว่างรอเขามาให้สม ั ภาษณ์ ณ ชัน ้ 40 ของตึก Suntowers ทีม a day BULLETIN รูส ้ ก ึ กังวลใจเล็กน้อย จนกระทัง ่ นริศปรากฏตัว เข้ามาในห้องประชุมพร้อมรอยยิ้ม และท่าทาง กระฉับกระเฉง กล่าวทักทายทุกคนอย่างเป็ น กันเอง ตัง ้ แต่บรรณาธิการยันช่างภาพ ้ อ เขาบ่นกับเราว่าช่วงนีต ้ งเดินทางบ่อยมาก แม้จะพยายามรักษาสุขภาพด้วยการออกก�าลังกาย และวิง ็ ง ั ไม่วายป่วยไข้ ่ เป็นประจ�า แต่กย ้ บ สถานะของ Singha Estate ตอนนีน ั ว่า ่ ริษท รุดไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว นับจากวันแรกทีบ ั ่ Singha Estate ในปี 2014 ท�างานด้วยชือ ไม่ น านนั ก บริ ษั ท ก็ เ ข้ า ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ละมี สถานะเป็นโฮลดิง ั ทัศน์ของ ้ คอมพานี ด้วยวิสย ่ นริศทีอยากให้ Singha Estate เป็น The Premium Lifestyle ชูจด ุ เด่นว่าเป็นนักพัฒนา ที่เอื้อต่อการใช้ชีวิตแบบพรีเมี่ยม เขาพั ฒนา ้ี า่ นโครงการมากมาย อย่างทีเ่ ห็นชัด วิสย ั ทัศน์นผ ล่าสุดคือ SINGHA COMPLEX โครงการ Mixed-Use ที่ตอบโจทย์คนเมืองตรงหัวมุม อโศก-เพชรบุรี ่ ทีค ่ นยังไม่คอ อีกด้านหนึง ่ ยรู้ คือนริศท�างาน ด้านความยัง ่ ยืนมานานมาก ก่อนทีเ่ ราจะเห็นค�าว่า CSR หรือ Sustainable Goal ในภาคเอกชน ่ วชาญอย่าง ผศ. ดร. หลายแห่ง เขาร่วมกับผูเ้ ชีย ธรณ์ ธ�ารงนาวาสวัสดิ์ และพาร์ตเนอร์เก่งๆ อีกหลายองค์กร ช่วยพลิกฟื้นพื้ นที่ทางทะเล ในหมูเ่ กาะพีพี จังหวัดกระบี่ สร้างศูนย์การเรียนรู้ ทางทะเลของเอกชนครั้งแรกที่นั่น นอกจากนี้ ยังลงทุนครัง ้ ใหญ่สร้างโครงการ CROSSROADS หมู่เกาะรีสอร์ทที่แม้จะดูหรูหราแต่สร้างโดยน�า องค์ความรูท ้ างทะเลมาใช้ในการพัฒนาควบคูก ่ น ั อย่างไม่ประนีประนอม ่ โครงการเพือ ่ ปลายปีนี้ เราจะได้เห็นอีกหนึง สิ่งแวดล้อมภายใต้ชื่อ #SeaYouTomorrow นัน ่ นี้ ่ คือ #SeaYouTomorrowRun ทะเลวันพรุง ่ ก ทีด ี ว่าเดิม คุณคือผูร ้ ว ่ มสร้างคุณค่าคืนสูท ่ ะเล งานวิ่ ง ที่ ท� า ด้ ว ยความตั้ ง ใจว่ า กิ จ กรรมกี ฬ า สุดฮิตนี้ก็สามารถท�าอย่างยั่งยืนและเป็ นมิตร กั บ สิ่ ง แวดล้ อ มได้ รายได้ ส่ ว นหนึ่ ง ยั ง น� า ไป มอบให้ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล กองทัพเรือ อ�าเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เรานัง ่ พู ดคุยกับเขาในบ่ายวันนัน ้ น�า้ เสียง ของเขาก็ยง ั หนักแน่น แนวคิดแม่นย�า วาดภาพ ให้เห็นความเป็นไปได้มากมายในอนาคตข้างหน้า วันที่โลกของเราได้คืนฟื้นตัวจากอาการป่วยไข้ เผยปรัชญาในการท�าธุรกิจทีไ่ ม่ได้เน้นแค่ตว ั เลข ่ ี ก�าไรระยะสัน ั มองไปยังอนาคตทีด ้ ในวันนี้ แต่ยง กว่าเดิมด้วย
issue 603
12 AuG 2019
09
10
HOW dO sEA susTAin liFE?
ทุ ก วั น นี้ เ ร า เ ห็ น เ ท ร น ด์ ที่ อ ง ค์ ก ร ธุรกิจหันมาสนใจเรือ ่ ง Sustainable Development กันมากขึ้น ในฐานะ ทีค ่ ณ ุ ท�างานธุรกิจมาอย่างเชีย ่ วชาญ มาก คุ ณ มองเห็ น ปรากฏการณ์ นี้ อย่ า งไร ผมมี ค วามเชื่ อ เรื่ อ งนี้ ม านาน ก ว่ า ยี่ สิ บ ปี แ ล้ ว แ ล ะ ก็ พ ย า ย า ม ผลักดันสู่ธุรกิจที่ตนเองท�า เพราะผม มีค วามเชื่อว่าธุ รกิ จต้ องไม่ค�านึ งถึ ง เพี ย ง แ ค่ ก� า ไร ร ะ ย ะ สั้ น แ ต่ ต้ อ ง มองความยั่งยืนในระยะยาว การจะ ท� า แบบนั้ น ได้ ต้ อ งไม่ ใช่ เป็ น องค์ ก ร ที่ ท� า ธุ ร กิ จ ที่ เ น้ น เ ฉ พ า ะ ก� า ไ ร อย่างเดียว ต้องมีการเสียสละบางสิ่ง ไป จะเรียกว่านี่คือการลงทุนก็ไม่เชิง เพราะว่าการท�า SD บางทีก็ไม่ต้อง มีการลงทุน แต่เป็นการทีเ่ รามี margin ที่ น่ า พึ ง พอใจถึ ง ในระดั บ หนึ่ ง และ margin ตัวนี้สามารถไปสร้างมูลค่า เพิ่ ม ในแง่ ข องแบรนด์ และในแง่ Customer Loyalty ระยะยาวได้ สมั ย ก่ อ นผมมั ก พู ด กั บ ที ม เสมอว่ า คุณต้องมองว่า SD หรือที่เรามักจะ ใช้ ค� า ว่ า CSR กั น ในตอนนั้ น มั น ก็ ไม่กป ี่ ท ี ผ ี่ า่ นมา แท้จริงต้องไม่เป็นในเชิง ของการตลาด ไม่ใช่เป็นการโฆษณา ชวนเชือ ่ แต่เป็นการท�าให้ลก ู ค้าได้ตระหนัก ถึงปัญหา มีความรูใ้ นเรือ ่ งนัน ้ และค่อย น�ามาสู่การมีความรูส ้ ึกถึงแบรนด์เรา ที่ไปอยู่ในใจเขา เราจะแยกการท� า ธุ ร กิ จ เพื่ อความยั่ ง ยื น แ ล ะ ก า ร โ ฆ ษ ณ า ช ว น เ ชื่ อ ออกจากกั น ได้ อ ย่ า งไร และคุ ณ คิ ด ว่ า ส อ ง สิ่ ง นี้ มี ค ว า ม ต่ า ง กั น อย่ า งไร ต่างกันมาก เพราะบางครัง้ เรา อาจจะต้องการเพียงแค่ความฉาบฉวย เร า มั ก ช อ บ เห็ น ก า ร โฆ ษ ณ า เห็ น การประชาสัมพันธ์สวยๆ เห็นแค่นั้น แล้ ว ชอบ โดยไม่ ไ ด้ ส นใจว่ า เนื้ อ หา แก่ น แท้ คื อ อะไร แต่ ผ มเชื่ อ ว่ า มี ค น จ� า นวนไม่ น้ อ ยที่ จ ะคอยดู ห รือ คอย ติดตามว่าบริษัทนั้นๆ จะท�าอะไรเป็น ประโยชน์ ต่ อ สั ง คม ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม บ้าง แล้ วเขาก็ ยินดี ที่จะเป็นแฟนกั บ แบรนด์ ไม่ ว่ า บางครั้ง ราคาอาจจะ แพงกว่ า หรื อ ต้ อ งมี ค วามยุ่ ง ยาก ล� า บ า ก ใน ก า ร ใช้ บ ริ ก า ร ห รื อ ใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อ ง แ บ ร น ด์ นี้ แ ต่ เ ข า กลั บ รู ้สึ ก ยิ น ดี ยิ่ ง กว่ า เพราะเชื่ อ มั่ น ว่ า การที่ เขาต้ อ งใช้ ค วามพยายาม มากขึ้น เพื่อมาร่วมกับเราตรงจุดนั้น จะได้ ร ั บ สิ่ ง ตอบแทนคื น มาอย่ า ง แท้จริง ในแง่ของการเข้าไปร่วมสร้าง บางสิ่ ง บางอย่ า ง หรื อ ช่ ว ยให้ เ กิ ด ความยั่งยืน ความสมดุลให้กับโลก
issue 605
26 AuG 2019
อยากให้เล่าถึงโครงการทีเ่ กาะพี พี ซึง ่ เป็นโครงการแรกๆ ของสิงห์ เอสเตท ท�า ท�าไมถึงเลือกทีน ่ ่น ั โรงแรมพีพี ไอส์แลนด์ วิลเลจ บีช รีสอร์ท (Phi Phi Island Village Beach Resort) เป็นโรงแรมแห่งทีส ่ องของเรา และตั้ ง อยู่ ในท� า เลที่ ต้ อ งการได้ ร ับ ความดูแลเป็นพิเศษจริงๆ เพราะว่า ในช่วง 5 ปีทแ ี่ ล้วทีเ่ ราตัง้ บริษัทนีข ้ น ึ้ มา พีพีประสบกั บปัญหา Overtourism หรือการท่องเทีย ่ วทีม ่ ากเกินไป ส่งผลให้ มีการเข้าไปเบียดเบียน เข้าไปสร้างปัญหา เป็นภาระหนักหนากับธรรมชาติ เราก็เลย มองกันว่าการที่เราเข้าไปลงทุนที่พีพี เราควรจะเข้าไปช่วยสนับสนุนภาครัฐ และชุมชน เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน ้ เพือ ่ ปกป้อง พิทก ั ษ์ดแ ู ล ทะเล ปะการัง ชายหาดทีส ่ า � คัญๆ อย่างอ่าว มาหยา รวมถึงการเข้าไปสร้างให้เกิด ก า ร ต ร ะ ห นั ก รู ้ โ ด ย นั ก ท่ อ ง เที่ ย ว ทีเ่ ข้ามาเทีย ่ ว สือ ่ สารให้เขารูถ ้ ง ึ ปัญหา ที่เกิ ดขึ้น ให้ความรู ว ้ ่าเขาควรจะท�า อะไร และไม่ควรจะท�าอะไร ทะเลพี พีในวันที่เข้าไปเริ่มท�างานกัน ตอนนั้ น เป็ น อย่ า งไรบ้ า ง ยกตัวอย่างชัดๆ อย่างตรงอ่าว มาหยา แทบจะไม่มค ี วามเป็นหาดเหลือ อยู่เลย ตื่นมาเช้ามืดก็เห็นแล้วว่ามั น เต็มไปด้วยนักท่องเทีย ่ วทุกตารางเมตร บางทีกม ็ น ี ก ั ท่องเทีย ่ วไปให้อาหารปลา บ้าง ไปเหยียบย�าบนปะการังจนมันตาย บ้าง แม้กระทัง ่ มีบางคนไปจับปลากิน ด้ ว ยซ้� า ไป ซ้ึ่ ง เราก็ ไ ด้ เห็ น ถึ ง ปั ญ หา ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน ้ เราจึงเสนอตัวเข้าไปช่วย สนับสนุนการท�างานของเจ้าหน้าทีอ ่ ท ุ ยาน ให้ เขาท� า งานได้ เ ต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ มากยิง่ ขึน ้ โดยเริม ่ จาก ‘โครงการพีพี ก�าลังจะเปลี่ยนไป’ ที่เราได้สนับสนุน การวางเขตป้องกันแนวปะการังด้วย การมอบทุน ่ และมอบเรือตรวจการณ์ ขนาดเล็กให้เจ้าหน้าทีอ ่ ท ุ ยานแห่งชาติ ใช้ตรวจตราคอยระมัดระวังป้องกั น จากนัน ่ งมาจัดท�า ้ มีการขยายผลต่อเนือ ‘โครงการโตไวไว’ โดยเราได้รว ่ มกับ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ห าดนพรัต น์ ธ าราหมู่เกาะพีพี ในการปลูกต้ นพีพีหรือ ต้นแสมขาว ปลูกปะการัง และปล่อย ปลาการ์ตน ู สีสม ้ ขาว บริเวณพืน ้ ทีเ่ กาะ บิดะใน จนล่าสุดพัฒนาเป็นโครงการ ชื่อว่า #SeaYouTomorrow ซ้ึ่งเป็น สิ่งที่เราคิดว่าเราจะพัฒนาเป็นต่อไป กระจายเป้ า หมายออกไปอี ก คื อ น อ ก เห นื อ จ า ก นั ก ท่ อ ง เที่ ย ว แ ล้ ว เราต้องกระจายความรูไ้ ปสูผ ่ ค ู้ นทัว ่ ไป สังคม ชาวบ้าน พ่อค้าแม่คา้ เราพยายาม ใช้ถุงผ้า งดใช้ถุงพลาสติก ในบริเวณ ที่เราสามารถท�าได้เลย
‘พี พีก�าลังจะเปลี่ยนไป’ เป็ นโครงการที่บริษัทฯ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในปี 2559 เพื่อสนับสนุน ‘พีพี โมเดล’ ซึง ่ เป็นต้นแบบโครงการ อ นุ รั ก ษ์ ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ท า ง ท ะ เ ล ของอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ห า ด น พ รั ต น์ ธ า ร า หมู่ เ กาะพี พี ที่ ร่ ว มกั บ ดร. ธรณ์ ธ�ารงนาวาสวัสดิ์ โ ด ย มี จุ ด มุ่ ง ห ม า ย เพื่อฟื้นฟูปะการังฟอกขาว รวมถึงการจัดระเบีย บ การท่องเที่ยวทางทะเล บ ริ เ ว ณ เ ก า ะ ยู ง แ ล ะ อ่าวมาหยา
11
โดยส่วนตัว คุณมีความผูกพั นอะไรกับทะเล เป็ นพิ เศษไหม เพราะว่าการท�างาน SD ของ สิ ง ห์ เอสเตท ดู เ หมื อ นว่ า เน้ น เรื่ อ งทะเล เพราะว่าทะเลเป็นแหล่งก�าเนิดของทุกชีวต ิ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งที่ เกิ ด ขึ้ น ในโลกมาจากทะเล แล้ ว ในตอนจบของทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า ง เราก็ จ ะ กลั บ ลงไปอยู่ ในทะเลอี ก เป็ น แหล่ ง ที่ ผ ลิ ต ออกซ้ิเจนกั บโอโซ้นให้กับโลกมากที่สุดด้ วย ซ้�าไป เพราะฉะนั้น มีความจ�าเป็นที่พวกเรา จะต้องดูแลรักษาเขา ถ้าเขามีปัญหา มันก็จะ ส่ ง ผลกระทบมาหาทุ ก คน สุ ด ท้ า ยก็ จ ะเป็ น ปัญหาต่อเนื่อง วนเวียนเป็นวัฏจักร ทะเลเป็น ทั้ ง ต้ น ก� า เนิ ด และจุ ด จบของชี วิ ต ทะเลจึ ง มี ความส�าคัญมาก
KnOWlEdgEPlATFORM
สงสั ย ว่ า จริ ง ๆ โครงการโดยน�้ า มื อ ของ มนุ ษ ย์ แ ละธรรมชาติ มั น เป็ น สองสิ่ ง ที่ ต้ อ ง ส่ ง ผลกระทบต่ อ กั น แน่ น อนอยู่ แ ล้ ว เราจะ ท� า อย่ า งไรให้ ส องสิ่ ง นี้ อ ยู่ ร่ ว มกั น อย่ า ง ยั่ ง ยื น ได้ นี่ คื อ สิ่ ง ที่ ผ มท� า มาโดยตลอด ไม่ ว่ า จะ ท�างานทีไ่ หนก็ตาม ทุกๆ ทีท ่ เี่ ราไปอยู่ เริม ่ ต้นจาก การให้ ค วามรู ้ โดยเราจะต้ อ งให้ ค วามรู ก ้ ับ พนักงานทุกระดับ เราให้ความรูก ้ บ ั นักท่องเทีย ่ ว กั บ ชุ ม ชนที่ โ รงแรมเราอยู่ ร ่ ว มด้ ว ย ว่ า ท� า อย่างไรเราทุกคนจะช่วยกันรักษาทะเลเอาไว้ให้ สมบูรณ์ งานของเราต้องไม่ก่อให้เกิดปัญหา กั บทะเล นี่ ถือเป็นความตั้ งใจ เป็นนโยบาย ที่เราให้ไปกับผู้บริหาร ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ของเราเอง หรือว่าผู้บริหารของ chain ที่เขา บริหารโรงแรมให้เรา ทุกที่ก็จะมี statement ทีเ่ หมือนกันหมด ถ้าไปท�าธุรกิจทีไ่ หน ก็ตอ ้ งดูแล สิง่ แวดล้อมทีน ่ น ่ั ถือเป็นใจความทีเ่ ราพยายาม ยึดถือ และเป็นยุทธศาสตร์หลักของเรา ภาคธุ ร กิ จ น� า ความรู้ เ ข้ า ไปแชร์ กั บ ท้ อ งถิ่ น ได้ อ ย่ า งไร คนเรามักจะใช้ชวี ต ิ ไปโดยใช้สญ ั ชาตญาณ หลายครัง้ ก็ถก ู แต่มน ั มีบางครัง้ ทีส ่ ญ ั ชาตญาณ ของเราผิด ยกตัวอย่างเช่น เรารักสัตว์ รักปลา เราจึงเอาอาหารให้ปลา มันสนุกมากเลยนะ โยนแตงโม โยนสับปะรดให้ปลากิน แต่สด ุ ท้าย ระบบนิเวศก็เสือ ่ มลงและพังในทีส ่ ด ุ เพราะฉะนัน ้ ความรู จ ้ ึ งส�าคั ญ วิธีการเผยแพร่ความรู น ้ ั้ น ยิ่งส�าคัญ เมื่อความรูไ้ ด้แพร่กระจายออกไป มันจะส่งผลได้ดีกว่า เร็วกว่าการที่เราไปนั่ ง ท�าเองเสียอีก เพราะความรูท ้ ี่กระจายออกไป แล้ ว นั้ น สามารถต่ อ ยอดออกไปได้ ไ ม่ รู ้จ บ ยกตั ว อย่ า ง เราเคยท� า คลิ ป วิ ดี โ อเรื่อ งขยะ ที่ ไปสู่ ท ะเล แล้ ว เมื่ อ มั น กระจายออกไปใน โลกออนไลน์ เมื่อคนเป็นแสนเป็นล้านได้ชม ก็สร้างแรงกระตุ้นได้ คนที่ได้ดูไป เขาจดจ� า เชือ ่ ถือ แล้วน�าไปปฏิบต ั ิ ขอแค่มค ี นได้ทา � ตาม สักสิบเปอร์เซ้็นต์ก็ถือเป็นจ�านวนเยอะ ฉะนั้น ใน แง่ ข อ ง ก า ร ท� า ง า น ด้ า น ค ว า ม ยั่ ง ยื น การลงมือปฏิบัติเอง และการสร้างความรับรู ้ เผยแพร่ใ นสิ่ ง ที่ เราเชื่ อ มั่ น ออกไป จึ ง เป็ น สองสิ่ ง ที่ เราต้ อ งท� า คู่ กั น เพื่ อ ให้ ก ระจาย ออกไปกว้างที่สุด โดยเฉพาะผู้ที่ใช้ประโยชน์ จากทะเล และผู้ที่อาศัยอยู่ที่ทะเล
โครงการที่ใหญ่มากอย่าง CROSSROADS มี ก ารลงทุ น ไปกั บ งาน SD เยอะมาก เช่ น ปรั บ เปลี่ ย นแผนงานเพื่ อรั ก ษาชี วิ ต เต่ า ตั ว เ ดี ย ว ท� า ไ ม คุ ณ ต้ อ ง ล ง ทุ น ข น า ด นี้ มั น ไม่ ม ากเกิ น ไปส� า หรั บ ภาคธุ ร กิ จ หรื อ นี่ก็เช่นกัน คือตัวอย่างการลงมือท�าและ การกระจายความรู ้ เรามองว่าเต่าเป็นตัวแทน ของสภาพความเป็นจริงทีก ่ �าลังเกิดขึน ้ ถ้าเรา ท�าผิดกับธรรมชาติ เราประเมินไม่ได้หรอกว่า ผลกระทบจะเกิดกับสัตว์ทะเลอืน ่ ๆ อีกมากมาย สักเท่าไหร่ เพราะฉะนัน ้ ถึงแม้วา่ จะมีการลงทุน มีค่าใช้จ่าย แต่ยังนับเป็นค่าใช้จ่ายที่ต�ามาก เมื่ อ เที ย บกั บ ผลกระทบที่ เ มื่ อ เราท� า ไปแล้ ว มันตามไปแก้ไม่ได้ และยังมีผลกระทบมหาศาล ไปยังระบบนิ เวศของที่นั่น การที่เราปรับตั ว เปลีย ่ นฐาน ท�าใหม่ เราคิดว่าเดินมาถูกทางแล้ว แทนที่จะถูกกระทบด้วยสิ่งก่อสร้าง ปัจจุบัน เราก็ เ ห็ น ความสมบู ร ณ์ ข องที่ นั่ น กลั บ มา เกิดการเจริญเติบโตขึ้นส�าหรับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่อยู่ที่น่ั น แล้ วเรามั่นใจว่าถ้ าได้ ด�าเนิ นงาน ตรงนี้ ต่ อ ไปเรื่อ ยๆ ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ก็ จ ะ ยิ่งคืนกลับมา โครงการ CROSSROADS มี ค วามหมาย กั บ คุ ณ อย่ า งไร ถ้าพูดกันตอนนีอ ้ าจจะยังเห็นผลไม่ชด ั เจน เสียทีเดียว แต่ผมเชื่อว่าในอนาคตเราน่ าจะ มี ค วามชั ด เจนมากขึ้ น CROSSROADS เป็นการพัฒนาที่เราเน้ นและให้ความส� าคัญ กั บ การลดผลกระทบทางด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ให้มากที่สุด และสร้างความยัง ่ ยืนให้กับพื้นที่ และชุมชนอีกด้วย นี่คือสิ่งที่เราตั้งใจ แล้วเรา มี ก ารจั ด จ้ า งผู้ ที่ มี ค วามรู ้ มี ป ระสบการณ์ เข้ า ร่ว มด้ ว ย ในเวลาเดี ย วกั น ก็ ช่ ว ยสร้า ง หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตร์ท างทะเล ที่ จ ะไปใช้ ในมหาวิทยาลั ยของภาครัฐที่น่ั น เพราะเขา อยู่กับทะเล เขาควรจะต้องมีการศึกษาด้านนี้ ให้กับเยาวชน ให้กับคนที่จะเติ บโตเป็นผู้น�า ในอนาคตได้มีความรูค ้ วามเข้าใจมากขึ้น ดู เ หมื อ นว่ า ความรู้ คื อ จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ แ ท้ จ ริ ง ของงานด้ า น SD มั น ต่ อ ยอดต่ อ ไป และ ท� า ให้ สิ่ ง แวดล้ อ มอยู่ ไ ด้ ด้ ว ยตั ว มั น เอง ใช่ เรามองว่าการท�างานด้านความรู น ้ ี้ ต้องตอกย�าไปเรือ ่ ยๆ ในครัง้ แรกผู้คนอาจจะ ยังไม่สนใจ เราก็ท�าครัง้ ที่สอง สาม สี่ พอเรา เริม ่ ท�าไป ก็ จะมีผู้คนเข้าร่วม ความคิ ดก็ จะ ค่อยๆ เกิดขึน ้ เหมือนบางทีผมไปวิง ่ แล้วเห็นมี นักท่องเที่ยวบางคนทานอาหารแล้วเหลือทิ้ง ผมก็บอกเขาว่าเสียดายนะ ไม่ใช่แค่เรือ ่ งเงินทอง แต่มน ั เป็นเรือ ่ งขยะด้วย เป็นมลภาวะของเกาะ พอบอกไปบางคนอาจจะยังไม่คอ ่ ยเข้าใจหรอก แต่ ผ มเชื่ อ ว่ า ต่ อ ไปเขาน่ า จะเข้ า ใจมากขึ้ น เพราะฉะนั้น การที่เราท�าอะไรสักอย่าง แล้ว ท�าต่อเนื่อง ท�าย�าๆ จนสร้างจิตส�านึก ก็จะช่วย ปลู ก ถ่ า ยความคิ ด เพิ่ ม มุ ม มองให้ กั บ คนที่ เขามีโอกาสได้เข้ามาเรียนรู ้ และรับรูข ้ ้อมูล
ความจริงผมก็ไม่ได้มีอะไร ที่พิเศษไปกว่านี้ เพราะสิงห์ เอสเตท มีพื้นฐานในการท�า ธุรกิจที่ดีอยู่แล้ว แต่ต่อไป ในการจะสร้ า งโครงการ ใหม่ สิ่ ง ส� า คั ญ คื อ ต้ อ งมี พาร์ ต เนอร์ ที่ ดี มี ค วามรู้ ความเข้ า ใจเรื่ อ งความยั่งยืน 12
sEA YOu TOMORROW Run คุ ณ วิ่ ง จริ ง จั ง มานานหรื อ ยั ง สองปีแล้วนะ ท� า ไมคุ ณ ถึ ง มาเริ่ ม วิ่ ง ได้ เพราะหมอสัง่ (หัวเราะ) ตัง ้ แต่ วิ่งมา ตอนนี้ไขมันพอกตับหายไป หัวใจก็ดข ี น ึ้ สุขภาพร่างกายผมรูส ้ ก ึ เป็นปกติมากขึ้น แต่เดิมผมอาจจะ ท�างานเยอะเกินไป บางวันพักผ่อน น้ อ ย รู ้ สึ ก การเต้ น หั ว ใจไม่ ป กติ ผมไปตรวจร่างกาย บอกหมอว่า ต้ อ งท� า ซ้ี ที ส แกน หมอบอกว่ า ไม่ตอ ้ งท�า คุณโอเคอยู่ เพียงแค่ตอ ้ ง ออกก� า ลั ง กายแล้ ว หมอบอกว่ า สาเหตุ ก็ คื อ น� า หนั ก มากเกิ น ไป พักผ่อนน้ อยไป เข้าสูตรผู้บริหาร ที่ ไ ม่ ดี เ ลย (หั ว เราะ) ตอนนี้ ก็ เ ลย ต้องแบกรับผลไว้ อยากให้คุณเล่าถึงการจัดงานวิ่ง ของสิ ง ห์ เอสเตท มี เพื่ อ นหลายคนบอกผมว่ า การวิ่ ง ในหลายประเทศ อย่ า ง Tokyo Run, New York Run หรื อ Boston กว่ า จะเข้ า ไปวิ่ ง ได้ ย ากมากนะ แต่ ก็ เป็ น สิ่ ง ที่ ค น รุน ่ ใหม่ชอบ คนให้ความส�าคัญกับ สุ ข ภาพมากขึ้ น ผมเชื่ อ ว่ า อาจจะ เป็ น เรื่อ งของการที่ ค นกิ น ดี อ ยู่ ดี ม า ก ขึ้ น มี ค ว า ม มั่ ง คั่ ง ม า ก ขึ้ น ไม่เหมือนกับคนที่มีปัญหาสุขภาพ มาแล้ ว ค่ อ ยเริ่ ม ท� า คนเหล่ า นั้ น อ า จ จ ะ ยั ง ไ ม่ มี ปั ญ ห า สุ ข ภ า พ เหมื อ นผม เพี ย งแค่ พ อพวกเขา มี โ อกาสได้ อ อกก� า ลั ง กาย ได้ ว่ิ ง แล้ วก็ ชอบ ก็ เกิ ดเป็นแฟชั่น ขณะ เดี ย วกั น สิ ง ห์ เอสเตท ก็ ม องว่ า การที่เราเข้าไปจัดงานวิ่ง จะท�าให้ คนเกิ ด การรับ รู ้ในสิ่ ง ที่ เราจะท� า เราไม่ ไ ด้ ไปวิ่ ง เฉยๆ หรือ วิ่ ง เพื่ อ สุ ข ภาพ หรื อ แค่ จั ด แข่ ง เท่ า นั้ น แต่เราวิง่ เพือ ่ ส่งต่อความรูบ ้ างอย่าง เข้าไปด้วย เราอยากให้มค ี วามเข้าใจ ถึงการมีชีวิตร่วมกับทะเล โดยเรา มี วิ ธี ก า ร ที่ จ ะ เ ผ ย แพ ร่ ค ว า ม รู ้ เกี่ ยวกั บทะเลให้เขาได้ ทราบ เช่น จัดนิทรรศการ นั่นก็เป็นแผนต่างๆ เราก็ ต้ั ง ใจจะจั ด ในที่ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ ทะเลอย่ า งสั ต หี บ ไม่ ไ ด้ อ ยู่ ใน กรุงเทพฯ issue 605
26 AuG 2019
งานมหกรรมวิ่งที่ผ่านๆ มา ก็เกิด ปั ญ หาเรื่ อ งขยะ เรื่ อ งผลกระทบ ต่อชุม ชนและสิ่งแวดล้อม คุณมี ความคิดเห็นกับเรื่องนี้อย่างไร รายละเอียดในงานวิ่งของเรา ผ่ า น ก า ร คิ ด กั น ล ะ เ อี ย ด ม า ก ท� า อย่ า งไรให้ ยั่ ง ยื น ที่ สุ ด ที ม งาน เต็ ม ที่ ม าก ท� า อย่ า งไรให้ วิ่ ง แล้ ว ไม่ก่อให้เกิดขวดพลาสติก วิ่งแล้ว ให้คนได้รบ ั รูแ ้ ละเข้าใจ หรือว่าพอ วิ่ ง จบแล้ ว จะมี กิ ม มิ ก มี กิ จ กรรม อะไรที่ ช่ ว ยให้ ก ารดู แ ลทะเลดี ขึ้ น นีก ่ เ็ ป็นส่วนหนึง่ ทีท ่ ม ี คิดกัน เราอยาก ให้คนทีม ่ างานวิง่ ได้อะไรกลับไปด้วย เขาจะมีความรูค ้ วามเข้าใจเกีย ่ วกับ ความยัง่ ยืน เพราะตอนนีม ้ ค ี นเยอะ มากทีใ่ ช้สญ ั ชาตญาณ ใช้ความรูส ้ ก ึ แต่ไม่ใช่ความรูจ ้ ริงๆ ซ้ึง่ ถ้าเป็นไปได้ ก็ อยากให้ ค นกลั บไปพร้ อ มกั บ ความรู ว ้ ่า ต่ อไปถ้ ามาเที่ยวทะเล ต้องท�าอะไร และไม่ควรท�าอะไร สิ ง ห์ เอสเตท เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ เ ติ บ โต ก้ า วกระโดดมากในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ่ า นมา มี วิ ธี ท� า ธุ ร กิ จ อย่ า งไร ถึ ง สามารถมาถึ ง จุ ด นี้ ไ ด้ ความจริง ผมก็ ไ ม่ ไ ด้ มี อ ะไร ทีพ ่ เิ ศษไปกว่านี้ เพราะสิงห์ เอสเตท มีพน ื้ ฐานการในท�าธุรกิจทีด ่ อ ี ยูแ ่ ล้ว แต่ตอ ่ ไปในการจะสร้างโครงการใหม่ สิ่งส�าคั ญคื อต้ องมีพาร์ตเนอร์ที่ดี มีความรูค ้ วามเข้าใจเรือ ่ งความยัง่ ยืน นอกจากนี้ เราพยายามสร้างทีมงาน ใ น อ ง ค์ ก ร ใ ห้ เ ข า มี ค ว า ม เ ป็ น หุ้นส่วน เรามีการจัดวิธก ี ารท�างาน จัดผลตอบแทน จั ด กระบวนการ การท�างาน รวมถึงจัดสร้างวัฒนธรรม องค์กรทีช่ ว่ ยสร้างความเป็นพาร์ตเนอร์ ซ้ึ่งกันและกัน จะเห็นว่าเราท�าอะไร แต่ ล ะที ก็ จ ะมี พ าร์ต เนอร์ เพราะ พาร์ตเนอร์มันมากกว่าการเป็นแค่ หุน ้ ส่วนกัน มันไม่ได้เป็นแค่ผถ ู้ อ ื หุน ้ แต่คือสถาบันการเงินที่รว่ มกัน คือ ลูกค้าทีเ่ ข้ามาร่วมกับเรา รวมไปถึง พันธมิตรทางธุรกิจที่เป็นจริงๆ เรา คิดว่าถ้าเรามีตรงนี้ ก็จะต่อยอดและ สามารถท� า ให้ เ ราเติ บ โตได้ เ ร็ ว ในการอาศัยความรู ้ ความสามารถ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ข อ ง พ า ร์ ต เน อ ร์ ของเรา 13
เรือ ่ ง : ศิวะภาค เจียรวนาลี
SPECIAL INTERVIEW ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์
THON THAMRONGNAWASAWAT,Ph.D. เปิดแนวคิด CROSSROADS เมกะโปรเจ็กต์ ที่ทําให้เราเห็นว่า เส้นทางธุรกิจ และอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม เกิดพร้อมกันได้
่ า� ให้นก หัวใจส�าคัญทีท ั พัฒนาและนักอนุรก ั ษ์ไม่สามารถนัง ่ ร่วมโต๊ะ ่ องต่างมุม ทีไ่ ม่สามารถมองหา กันได้ นัน ่ คือรูปแบบการจัดสรรทรัพยากรทีม จุดตัดที่เหมาะสมว่าควรอยู่ตรงไหน นั่นท�าให้เส้นทางของการท�าธุรกิจ และดูแลสิ่งแวดล้อมไม่เคยเดินอยู่บนถนนเส้นเดียวกัน แต่เราชวนคุณมาพู ดคุยกับ ดร. ธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์ นักวิชาการ ด้ า นทะเล ผู้ ที่ ร่ ว มผลั ก ดั น ปัญ หาทางทะเลจนกลายเป็ น ประเด็ น หลั ก ทางสังคมมากมาย ไม่ว่าจะเป็ นการปฏิรูปอุทยานทางทะเลพี พีโมเดล (Phi Phi Model) การฟื้ นฟู ทะเลและปะการังทีเ่ กาะตาชัยและอ่าวมาหยา และล่ า สุ ด เขาได้ เ ข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาเมกะโปรเจ็ ก ต์ ข อง สิงห์ เอสเตท ในโครงการ ‘ครอสโร้ดส์’ (CROSSROADS) พั ฒนา แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วพั ก ผ่ อ นครบวงจร มู ล ค่ า กว่ า 22,000 ล้ า นบาท ที่มัลดีฟส์
่ า� คัญส�าหรับ ดร. ธรณ์ คือการเปลีย ่ นความเชือ ่ โดยความท้าทายทีส เดิมๆ ว่าการพัฒนาธุรกิจและการอนุรก ั ษ์ดแู ลสิง ่ แวดล้อมเดินไปพร้อมกัน ่ เขาบอกกับเราไว้วา่ เส้นทางการอนุรก ไม่ได้ โดยมีชว ่ งหนึง ั ษ์ไม่ได้มเี ส้นเดียว หรอก “การพัฒนาอย่างยัง ่ ค่ 2 ประโยค ่ ยืน ในความหมายจริงๆ มีอยูแ คือ Maximize the profit, minimize the impact ซึ่งปัญหาคือ สองอย่างนี้จะไปตัดกันในจุดที่เหมาะสมกันตรงไหน” ่ งราวการท�างานของเขากับทีมงานสิงห์ เอสเตท ว่าท�าไม ไปดูเรือ พวกเขาถึงยอมพลิกแบบแปลนเกาะทัง ้ เกาะ เพียงเพื่อแนวปะการังไม่กไ่ี ร่ และชีวิตของเต่าทะเลเพียงตัวเดียว
14
จุดเริม ่ ต้นที่มาร่วมงานกับสิงห์ เอสเตท
จริงๆ ผมรูจ ้ ก ั กับทางสิงห์มานานแล้ว และน้องสาว ก็ทา � งานอยูท ่ น ี่ ี่ และพอดีคย ุ กับ คุณนริศ เชยกลิ่น (ซีอีโอ สิงห์ เอสเตท) และเราเห็นตรงกันว่าโฟกัสหนึ่งของสิงห์ เอสเตท คือเรือ ่ งของทะเล และมีบางโปรเจ็กต์ของสิงห์ เอสเตท ทีผ ่ มรูส ้ ก ึ ว่าท้าทาย โดยโปรเจ็กต์ CROSSROADS ที่มัลดีฟส์เป็นโปรเจ็กต์ที่ท�าให้ผมตัดสินใจร่วมงานกับ สิงห์ เอสเตท เพราะส�าหรับชีวต ิ ของนักวิทยาศาสตร์ทางทะเล คนหนึ่งที่ท�างานด้านนี้มาตลอด ไม่มีสักครัง้ ที่เราจะได้ ทดสอบฝีมอ ื ของเราอย่างเต็มที่ ในความฝันเรือ ่ งงานผมก็ ไปได้สักครึง่ หนึ่งของความฝัน ผมอาจจะเคยช่วยต่อสู้ เรือ ่ งทะเลจนสามารถปิดอ่าวมาหยา ฟื้ นฟูเกาะตาชัยได้ แต่ความฝันทีม ่ ากทีส ่ ด ุ ของผม คือการได้พฒ ั นาแนวปะการัง สักแห่งหนึ่ง และใช้ความรูค ้ วามสามารถในการจัดการ อย่างเต็ มรู ปแบบ โดยที่ฝ่ายพัฒนาที่เข้ามาเกี่ ยวข้อง ให้อา� นาจในการตัดสินใจ ให้อา� นาจในการปรึกษาแนะแนว และที่ส�าคัญที่สุดคือเขาเชื่อเรา Maximize the profit, minimize the impact
Sustainability หรือ ว่ า การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ในความหมายจริงๆ มีอยูแ ่ ค่ 2 ประโยค คือ Maximize the profit, minimize the impact ซึ่งปัญหาคือสองอย่างนี้ จะไปตั ดกั นในจุดที่เหมาะสมกั นตรงไหน ในโปรเจ็ กต์ CROSSROADS เราท�างานร่วมกันด้วยความเชื่อตั้งแต่ วันแรก ผมไปส�ารวจที่ CROSSROADS ตัง้ แต่ยงั ไม่มท ี ราย สักเม็ด ทัว่ บริเวณมีแต่นา� ผมไปส�ารวจทีน ่ น ั่ กับทีมงานของ สิงห์ เอสเตท ว่ายน�าวนอยู่ 3-4 วัน จนเราไปเจอเต่าทีช ่ อ ื่ ว่า เอ็ ม ม่ า พอเจอเต่ า ตั วนั้ น ผมก็ บอกกั บที มงานสิ ง ห์ ว่า ถ้าสร้างเกาะในผังเดิม มันจะทับแนวปะการัง ซึง่ ขนาดจริงๆ ก็ไม่กี่ไร่หรอกนะ แต่ว่าแนวปะการังนั้นมีเต่าอาศัยอยู่ ผมก็ถ่ายคลิปเต่าตัวนั้น และก็ส่งไปพร้อมกับค�าแนะน�า ซึ่งผมก็ ไม่ได้ คาดหวังว่าเต่ าหนึ่ งตั วจะสามารถ เปลีย ่ นแปลงอะไรได้ เพียงแต่วา่ พอคลิปนัน ้ ไปถึง คุณสันติ ภิรมย์ภก ั ดี (กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ บริษท ั บุญรอดบริวเวอรี่ จ� ากั ด) ซึ่งคุณสันติ เห็นแล้ วก็ พูดว่า อย่างงั้นพลิ กเกาะ กลับด้านละกัน เรากลับผังเกาะทั้งเกาะเพื่อเต่าหนึ่งตัว เพือ ่ ให้เอ็มม่าได้มท ี อ ี่ ยู่ ไม่ให้เป็นการสร้างทีอ ่ ยูอ ่ าศัยพักผ่อน ของมนุษย์ โดยทีไ่ ปทับบ้านของสัตว์อื่นๆ ผมก็เลยคิดว่า ถ้ามีใครสักคนบ้าพอที่จะเปลี่ยนผังเกาะจนคนท�างาน วุ่นกันไปหมดเพื่อเต่าหนึ่ งตัว ผมก็อยากร่วมงานด้วย หลังจากนัน ้ เราก็รว่ มพัฒนาโปรเจ็กต์มาด้วยกัน และเข้าใจ ร่วมกันว่า สิง่ ทีท ่ า � นั้นเพือ ่ ทีจ ่ ะลดผลกระทบต่อธรรมชาติ ในขณะทีผ ่ ลประโยชน์กบ ั ผูล ้ งทุนมันก็ตอ ้ งได้แบบเหมาะสม
“
เชื่อมต่อองค์ความรู้เพื่อทะเล
“ เ รา ก ลั บ ผั งเก าะทั้ ง เก าะเพื่ อเต่ า หนึ่ ง ตั ว
เ พื่ อ ใ ห้ เ อ็ มม่ า ได้ มี ท่ี อยู่ ไม่ ใ ห้ เ ป็ น ก าร สร้ า ง
ที่ อ ยู่ อ า ศั ยพั กผ่ อ น ของ ม นุ ษ ย์ โด ยที่ ไป ทั บ บ้ า น ของ สั ต ว์ อ่ื น ๆ”
ISSUE 605
26 AUG 2019
ตอนที่พวกเราเข้าไปที่ CROSSROADS ครัง้ แรก ตอนนั้ น เป็ น ช่ วงที่ มีป ะการัง ฟอกขาวหมาดๆ ซึ่ ง เราก็ พยายามเลือกจุดบางจุดให้เป็นจุดฟื้ นตัวของปะการัง เราคิดเรือ ่ งจะฟื้ นฟูปะการังตัง้ แต่กอ ่ นจะสร้างเกาะด้วยซ�า แต่ ถ้ า เราเข้ า ไปสร้า งก่ อ นหน้ า นั้ น สองสามปี รู ป แบบ ของเกาะ CROSSROADS ก็อาจจะเปลีย ่ นไป เพราะก่อน หน้านัน ี ะการังฟอกขาว คอนเซ็ปต์ในการท�างาน ้ ยังไม่มป ครัง้ นี้คือเราเริม ่ ช่วยเหลือธรรมชาติและสร้างธุรกิจไป พร้อมๆ กัน ความแตกต่างคือเราไม่ได้เริมจากการสร้างตึ กก่อน ่ แล้วค่อยมาคิดดูแลธรรมชาติ แต่เราท�าไปพร้อมๆ กัน เรามี ก ารเชื่ อ มต่ อ การเรีย นรู เ้ ข้ า มาด้ วยกั น จาก เมืองไทยสู่มัลดีฟส์ เพราะทั้งสองแห่งก็อยู่ในมหาสมุทร 15
16
อินเดียเหมือนกัน ยกตัวอย่าง เราน�าโมเดลของศูนย์ Marine Discovery Centre: MDC (ศูนย์การเรียนรู ้ ทางทะเล) ที่ เกาะพี พี ซึ่ ง ถื อ เป็ น ศู น ย์ ก ารเรีย นรู ้ แห่งแรกของประเทศไทยทีต ่ ง้ั อยูบ ่ นทีด ่ น ิ ของเอกชน ขนาดเป็นร้อยๆ ตารางเมตร มีแหล่งความรูเ้ กีย ่ วกับ ทะเลเต็มไปหมด มีเด็กมีประชาชนมาใช้งาน ซึ่งเรา ก�าลังจะขยายโมเดลดังกล่าวไปที่ CROSSROADS ด้วยขนาดทีใ่ หญ่กว่าเดิมหลายเท่า แล้วเวลาทีเ่ ราคุยกับ รัฐบาลของมัลดีฟส์ เขาจะถามถึงศูนย์การเรียนรูน ้ น ั้ ก่อนเลย เขาไม่ได้ถามว่าวิลล่าสร้างไปกี่ห้องแล้ว แต่ถา้ เป็น 20 ปีกอ ่ นเขาคงถามแค่วา่ ยูให้เงินไอเท่าไหร่ ก็จบ แต่ปจ ั จุบน ั มันไม่ใช่ ค่าสัมปทานก็สว ่ นสัมปทาน แต่ประชาชนเขาอยากได้อะไรมากกว่านั้น เราถึงท�า ศูนย์การเรียนรู ใ้ ห้ประชาชนได้ใช้ด้วย ไม่ได้ท�าให้ แค่ นักท่องเทีย ่ วอย่างเดียว ล่าสุดเราก�าลังจะไปท�า เรือ ่ งไมโครพลาสติกทีม ่ ล ั ดีฟส์ ทุกๆ อย่างจะเชือ ่ มต่อ กั น และสิ่ ง ที่ เ ราไม่ ทิ้ ง คื อเราไม่ ได้ ปล่ อย ให้ CROSSROADS เดิ นไปเดี่ ยวๆ จะมีก ารเชื่อมต่ อ กับทีป ่ ระเทศไทยตลอด จนเป็นสิง่ ทีเ่ ราเรียกว่า Two island, one ocean ซึง่ องค์ความรูเ้ รือ ่ งวิทยาศาสตร์ ทางทะเลของไทย จะไปช่วยให้มัลดีฟส์ขยับตัวได้ เร็วขึน ้ นีเ่ ป็นสิง่ ทีค ่ ณ ุ นริศพูดกับผมตลอด ว่าเราไม่ได้ ไปสร้างแค่บังกะโล แต่เรามาสร้างองค์ความรูเ้ พื่อ พัฒนาธรรมชาติควบคู่ไปกับธุรกิจทุกที่ที่เราไป สถานการณ์เต่าทะเลไทย
สถานการณ์ของเต่าทะเลไทยก็เหมือนๆ กับ ทุกอย่างเกี่ยวกับทะเลไทย เรามีงานวิจัยที่น�าหน้า เรามีการบริหารจัดการหลายๆ อย่างที่น�าหน้า แต่ ในขณะเดียวกันเราก็มก ี ารใช้ประโยชน์และเราสร้าง ผลกระทบต่อทะเลมากกว่าทีม ่ ล ั ดีฟส์เป็นจ�านวนมาก เหมือนกัน ปัจจุบน ั เต่าในประเทศไทยตายเฉลีย ่ วันละ 1 ตัว เต่าทะเลพวกนี้จะติดอวน กินพลาสติก โดนเรือ ชน และที่น่าเป็นห่วงมากที่สุดคือเครือ ่ งมือประมง ที่ ส ร้า งผลกระทบมาหลายปี แ ล้ ว และอั น ดั บ สอง ที่พุ่งขึ้นมาเรือ ่ ยๆ คือขยะทางทะเล จนถึงปัจจุบัน เต่าทะเลทีต ่ าย 1 ใน 3 เราพบว่ามีพลาสติกอยูใ่ นท้อง ของเต่า เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วเราพบพลาสติกในเต่า เพี ย ง 1 ใน 5 เมื่ อ ห้ า ปี ที่ แ ล้ ว เรามี เ ต่ า ทะเลตาย 200 กว่าตัว แต่มาปีทแ ี่ ล้วเรามีเต่าตายถึง 300 ตัว และในปีนี้เรากลัวว่าตัวเลขจะไปถึง 400-500 ตัว หรือเปล่า ในขณะที่ เรารณรงค์ เรื่อ งการใช้ พ ลาสติ ก ไม่สร้างขยะในทะเล เราก็ควรตระหนักว่าสิง่ ทีเ่ ราท�า กันอยู่คือการลดสิ่งที่สะสมอยู่ ถุงพลาสติกที่ลงไป ในทะเลก่อนหน้านี้ ย้อนไปจนถึงปี 27-28 ทีค ่ นไทย เริม ่ ใช้ถงุ พลาสติกกันครัง้ แรก ขยะพวกนัน ้ มันกองอยู่ ในทะเล ถุงพลาสติกใบแรกที่เราทิ้งลงไปก็ยังอยู่ใน ทะเล ค�าถามว่าเต่าทะเลจะตายน้อยลงไหม ค�าตอบ คือผมมองไม่เห็นในรอบสิบปีต่อจากนี้ไป มันก็ต้อง ตายในระดั บ 300 กว่ า ตั ว อาจจะเพิ่ ม เป็ น 400500 ตั ว แต่ ถ้าเราท�าดีมากพอ ก็อาจจะคงอยู่ใน ปริมาณนี้ แต่ถา ้ เกิดปริมาณการตายเพิม ้ ไปเรือ ่ ยๆ ่ ขึน ก็เตรียมใจไว้ได้วา่ สิง่ มีชวี ต ิ ทีว่ วิ ฒ ั นาการมาหลายร้อย ล้านปีก่อน อาจจะจบในรุน ่ เรา เต่าทะเลคือดัชนีชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของมหาสมุทร
เต่ าทะเลเป็นสัตว์มหัศจรรย์ในมุมมองของ คนที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ทะเลทุ ก คน เต่ า เป็ น สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ วิวฒ ั นาการมาไม่รูก ้ รี่ อ ้ ยล้านปีแล้ว ความมหัศจรรย์ ของเขาคือ เต่าตัวเมียจะขึน ้ มาวางไข่บนแผ่นดินปีละ ครัง้ เดียว และถ้าเป็นตัวผูเ้ ขาจะแตะแผ่นดินครัง้ เดียว คือตอนทีเ่ ขาเกิด และเขาจะไม่กลับมาบนบกอีกเลย เพราะฉะนั้ น ชี วิ ต ของเต่ า ทะเลจะเกี่ ย วข้ อ งกั บ มหาสมุทร ถ้าเป็นเต่ามะเฟืองก็จะเกีย ่ วข้องโดยตรง กับแมงกะพรุน เพราะเขาจะกินแมงกะพรุนเป็นอาหาร ISSUE 605
26 AUG 2019
ในขณะที่เต่าบางชนิดก็จะเข้ามาอาศัยอยู่ตามแนว ปะการัง เต่าคือดัชนีชี้วัดว่าทะเลไหนอุดมสมบูรณ์ หรือไม่อุดมสมบูรณ์ ทะเลไหนที่คนไม่หาประโยชน์ จากทะเลมากเกินไป หรือทะเลไหนไม่มพ ี ลาสติกลอย อยูเ่ กลื่อน ซึง ่ ถ้าทะเลไหนมีแต่พลาสติกลอยเกลื่อน ไ ม่สามารถจะดูแ ลการประมง มีการท่อ งเที่ยวที่ ไม่สามารถควบคุมได้ คุณก็จะได้เจอซากเต่าทีต ่ าย โดยมีพลาสติกอยู่ในท้อง หรือเจอเต่าที่เกยตื้นตาย โดยมีรอยกระดองถูกฟัน เต่าจึงเป็นดัชนีชว ี้ ด ั การใช้ ประโยชน์ทางทะเลของพื้นที่นั้นๆ คลื่น Disruption ทางสิ่งแวดล้อม
พอพูดถึงเรือ ่ งการ Disruption เรามักจะคิด ว่ า เป็ น เรื่อ งของเทคโนโลยี อ ย่ า งเดี ย ว แต่ ไ ม่ ใช่ Disruption ที่เห็ นชัดพอๆ กั บเทคโนโลยีคือเรือ ่ ง สิง่ แวดล้อม เราจะเห็นว่าข่าวโลกร้อนมีออกมาทุกวัน ผลกระทบจากสิง ่ แวดล้อมทีเ่ ห็นชัด คลื่นความร้อน ในยุโรป แม่นา� โขงแห้งตลิง่ สูง 11 เมตร ไฟป่าในอเมริกา เรือ ่ งโลกร้อนไม่ได้เป็นแค่คา � พูดอย่างเดียวอีกต่อไป แล้ว มันส่งผลถึงรัฐสภาอังกฤษ ซึง ่ ออกมาประกาศ ภาวะฉุ ก เฉิ น เรื่อ งโลกร้อ น ปั ญ หาเรื่อ งโลกร้อ น เข้ า ไปมี อิ ท ธิ พ ลในกฎหมาย และการมี ส่ ว นร่ว ม ของสังคม บริษัทหรือภาคเอกชนไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน ก็จะต้องอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์พวกนี้ ปัจจัยส�าคัญส�าหรับองค์กรใหญ่ๆ ได้กลายเป็น เรื่อ ง Sustainability ไปแล้ ว แต่ เ ดิ ม คอนเซ็ ป ต์ ของบริษัทส่วนใหญ่ คือ From good to great ท�า อย่างไรให้บริษัทใหญ่โตขึน ้ แต่มาถึงวันนี้คอนเซ็ปต์ คื อ From great to good แต่ good ในที่ นี้ ก็ คื อ ความดี คือเมือ ่ ก่อนเราแข่งกันสร้างตึกสูงทีส ่ ด ุ ในโลก แต่ตอนนี้คนสนใจบริษัทที่ท�าดี ยกตัวอย่างบริษัท Tesla ของ อีลอน มัสก์ ในแง่ตว ั เลขบริษัทนีเ้ จ๋งจะตาย แต่เวลาคนมองเข้าไปคิดว่า เฮ้ย Tesla มันเจ๋ง มันดี เพราะว่า อีลอน มัสก์ ท�านวัตกรรมที่ช่วยโลก คนก็ ประทับใจทัง้ ทีผ ่ ลประกอบการห่วย แต่คนประทับใจ และบริษัทเหล่านี้ก็หวังผลในระยะยาว หรือถ้าพูด ประเด็ น เรื่อ งการลดต้ น ทุ น ตามคอนเซ็ ป ต์ เ ดิ ม บริษัทจะคิดว่าลดต้นทุนให้ถก ู ทีส ่ ด ุ ในขณะเดียวกัน ก็เอาเงินไปสร้างแบรนด์ดิ้ง ไปสร้างการพีอาร์ แต่ ปัจจุบันถ้าคุณเพิ่มต้นทุนเข้าไปอีกนิดหนึ่ง มันก็จะ เกิดแบรนดิ้งในองค์กรโดยอัตโนมัติ ไม่จ�าเป็นต้อง ลดให้ต�าสุด แต่ลดให้เหมาะสม เพื่อที่จะได้ส่ง ิ ที่ค้ม ุ กว่า เพราะจริงๆ แบรนด์ด้ิงไม่ใช่ส่ิงที่แผนกพีอาร์ หรือ แผนกมาร์เกตติ้ งต้ อ งท�า แต่ คนที่ต้อ งท�าคื อ ทุกคนในบริษัท คนท�าพีอาร์แค่เป็นคนฉายไฟทีส ่ อ ่ ง ให้เห็นสิ่งที่ท�าอยู่เท่านั้น เส้นทางการอนุรักษ์ไม่ได้มีเส้นเดียว
เส้นทางของการอนุรก ั ษ์ไม่ได้มเี ส้นเดียวหรอก บางคนก็อาจจะมองกันคนละเส้นทาง แต่จุดหมาย คือจุดหมายเดียวกัน คือท�าให้โลกน่าอยูข ่ น ึ้ ท�าให้โลก มีความสุขไม่เฉพาะแค่กับมนุษย์ แต่มีความสุขกับ ทุกชีวต ิ เพียงแต่วา ่ บางเส้นทางอาจจะเป็นเรือ ่ งของ ความขัดแย้ง บางเส้นทางอาจจะเป็นเรือ ่ งของการคัดค้าน แต่เส้นทางทีผ ่ มคิดว่าเป็นเส้นทางทีเ่ หมาะสม ทีส ่ ด ุ คือเส้นทางของการเข้าใจกันและกัน ไปด้วยกัน นั่ นคือเหตุผลที่ผมเข้ามาร่วมงานกับสิงห์ เอสเตท การมี ส่ ว นร่ ว ม ลดตรงนั้ น นิ ด เพิ่ ม ตรงนี้ ห น่ อ ย มันมีความหมายมากกับธรรมชาติ ผมไม่ได้เป็นนักอนุรก ั ษ์ ทรี่ อให้เขาสร้างเสร็จ และออกมาคัดค้านว่าอย่างนั้นผิดอย่างนี้ถก ู อันนั้น ผมไม่ได้ประโยชน์อะไรเลย นอกจากว่าผมอาจจะเป็น คนดังขึ้นมาชั่วข้ามคืนเพราะเป็นคนกล้าลุกขึ้นมา ขัดขวางนายทุน แล้วไง ในเมือ ่ มันสร้างไปแล้ว มันเจ๊ง และถล่มไปหมดแล้ว ถ้าเกิดเราท�าความเข้าใจกัน มาท�างานร่วมกัน ว่ากันตั้งแต่ต้น ผมจะไม่รว่ มงาน
กับใครเด็ดขาด ถ้าอยูด ่ ๆ ี เขามาโยนเงินให้ แล้วบอกว่า ไปท� า มา ผมไม่ ท� า เด็ ด ขาด แต่ สิ่ ง ที่ ผ มเห็ น คื อ ผม เห็นคุณนริศไปลอยน�าส�ารวจพื้นที่กับผมไม่รูก ้ ี่ครัง้ ผมได้เห็น คุณชญานิน เทพาค�า (ประธานกรรมการ บริหาร และกรรมการบรรษั ทภิบาลและการพัฒนา อย่างยั่งยืน บริษัท สิงห์ เอสเตท จ�ากั ด (มหาชน)) ด�าน�าผุดขึ้นผุดลงอยู่กับผมที่น่ัน ผมเห็นการลงทุน อย่างโรงบ�าบัดน�าเสียที่ดีที่สุดเท่าที่ผมเคยเห็นมา ในมัลดีฟส์ เห็นเรือ ่ งการจัดการขยะแบบ Zero waste เห็ น การวางระบบไฟฟ้ า หมุ น เวี ย นเพื่ อ ช่ ว ยโลก ซึง่ ไอ้เครือ ่ งนีม ้ น ั ราคาร้อยล้านนะเว้ยแต่เขากล้าซือ ้ มา อย่างนีเ้ ราได้เห็น คือมาด้วยใจมันต้องมาด้วยตัวเอง ไม่ใช่มาด้วยใจแล้วอยู่แต่ในห้องประชุม อย่างนั้น ผมไม่ชอบ ความหวังในทะเลไทย
ผมยังคงเห็นความหวังในทะเลไทย เวลามีคน ถามว่า อาจารย์ไม่ทอ ้ บ้างเหรอ ท�ามาตัง้ นาน เจอเรือ ่ ง นู่ น นี่ แต่ มั น มี สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ท� า ให้ ผ มไม่ ท้ อ เลย นั่ น คื อ คนไทยรักทะเล ผมยืนยันค�านีต ้ ลอด ผมเขียนหนังสือ ท�างานมาสามสิบปี ผมพูดค� านี้ ทุกครัง้ ผมเชื่อว่า ความรักความเข้าใจในทะเลจะพาพวกเราออกจาก ปั ญ หาทางทะเลที่ มี อ ยู่ ท� า ให้ เราท� า ร้า ยทะเลกั น น้อยลง และผมเชือ ่ ว่าเราผ่านจุดวิกฤตทีส ่ ด ุ กันไปแล้ว จุดวิกฤตที่สุดก็คือแนวปะการังถูกรุกราน โดยนักท่องเที่ยวจ� านวนมหาศาล ทุกคนทิ้งสมอลงทะเล ไม่มใี ครสนใจ อ่าวมาหยามีเรือนักท่องเทีย ่ ววิง่ ผ่านแนว ปะการังเป็นร้อยๆ ล�า แต่ปจ ั จุบน ั ทุกอย่างเปลี่ยนไป เมือ ่ ห้าปีทแ ี่ ล้วผมเคยท�าแบบส�ารวจว่าเราจะ สามารถช่ ว ยลดขยะทะเลอย่ า งไร คนก็ ต อบว่ า จัดนิทรรศการรณรงค์ หรือวิธก ี ารอื่นๆ แต่มข ี อ ้ หนึ่ง เขี ย นว่ า ถ้ า ขายถุ ง พลาสติ ก คุ ณ จะเห็ น ด้ ว ยไหม มีคนเห็นด้วยเป็นศูนย์ แต่เมือ ่ ปีทแ ี่ ล้วผมท�าแบบส�ารวจ อีกครัง้ คนก็ตอบคล้ายๆ เดิม รณรงค์เรือ ่ งสิง่ แวดล้อม สิ มาถึงหัวข้อทีถ ่ ามเรือ ่ งการขายถุงพลาสติก คุณรูไ้ หม มีคนเห็นด้วยถึง 26% เพราะเขาคิดว่านั่นคือความรับผิดชอบของเขาที่จะดูแลสิ่งแวดล้อม ผมเชื่อว่า ถ้าท�าวันนีต ้ ว ั เลขก็จะเพิม ้ อีก สิง่ ทีผ ่ มต้องการทีส ่ ด ุ ่ ขึน ในการจัดการเรือ ่ งสิง่ แวดล้อมคือความกล้า กล้าทีจ ่ ะ ท�า บางครัง้ เรายึดติดกับความคิดในอดีต ต้องรอให้ คนยอมรับก่อนค่อยท�า แต่ไม่ใช่วน ั นี้ วันนีค ้ อ ื วันทีเ่ รา จะกล้าท�าเพื่อทะเลโดยไม่ต้องให้ใครบอก ขอเพียง ให้ใจเราบอกแค่นั้นพอ
“
“เส้ น ทางของการอนุ รั ก ษ์
ไม่ ไ ด้ มี เ ส้ น เดี ย วหรอก บางคน ก็ อ าจจะมองกั น คนละเส้ น ทาง แต่ จุ ด หมายคื อ จุ ด หมาย เดี ย วกั น คื อ ทํ า ให้ โ ลกน่ า อยู่ ข้ึ น ทํ า ให้ โ ลกมี ค วามสุ ข ไม่ เ ฉพาะแค่ กั บ มนุ ษ ย์ แต่ มี ค วามสุ ข กั บ ทุ ก ชี วิ ต ” 17
CALENDAR M
T
W
TH
F
SA
S
26
27
28
29
30
31
01
PHI:PIM
Snow Patrol
l’atElIEr
nIl’S VISIon
SErEnata ItalIana
rIFtS
ผ่านดวงตา และสีสัน
นิทรรศการ ‘พิ:พิมพ์’ โดย ชญตว์ อินทร์ชา น�าเสนอผลงานภาพ พิ ม พ์ ซึ่ ง ใช้ แ ม่ พิ ม พ์ จากใบไม้ แ ละวั ส ดุ รอบตัว ดึงลวดลาย ให้เป็นจุดสนใจ พร้อม ทัง้ ความงดงามของ แม่พิมพ์ที่ปรากฏให้ เห็นอย่างเด่นชัด วันนี้ ถึง 5 กันยายน 2562 ณ หอศิ ล ป์ จ ามจุ ร ี จุฬาฯ
พบกั บ วงบริ ต ร็ อ ก ชัน ้ น�าของโลก Snow Patrol เจ้าของเพลง ในต�านานอย่าง Run, You’re all I have, Chasing Cars ฯลฯ ใน ‘Snow Patrol Acoustic Live in Bangkok’ วันนี ้ ประตู เปิดเวลา 19.00 น. ณ มูนสตาร์สตูดิโอ จ� า ห น่ า ย บั ต ร ที ่ Ticketmelon.com
ภ า พ ย น ต ร์ เ รื่ อ ง ‘L’Atelier’ อองตวน เข้าร่วมกลุม ่ นักเขียน ฝึกหัด สมาชิกกลุ่ม ทุกคนได้รบ ั แบบฝึกหัดให้เขียนนวนิยาย แนวสืบสวนสอบสวน โดยมีโอลิเวีย นักเขียน ชื่ อ ดั ง เป็ น ผู้ ค อยให้ ค�าแนะน�า วันนี ้ เวลา 18.30 น. ณ สมาคม ฝ รั่ ง เ ศ ส ก รุ ง เท พ ( บั ต ร ร า ค า 1 2 0 บาท)
การแสดงชุด ‘ภาพที่ นิลเห็น’ เล่าเรือ ่ งชีวต ิ ของนิล ทีม ่ ท ี งั้ ความสุข ความเศร้า ความเหงา ทีเ่ จ้าตัวเป็นผูเ้ ล่า เอง ประกอบดนตรี ประพันธ์ใหม่ วิดีโอ ภาพการมองเห็นของ นิลในวัยเยาว์ กับระบบ เสียงสะท้อนรอบทิศทาง วันนีถ ้ งึ 1 กันยายน 2562 ณ หอศิ ล ป์ กรุงเทพฯ ส�ารองทีน ่ ง่ั โทร. 06-3817-5888
ก า ร แ ส ด ง ด น ต รี ‘Serenata Italiana’ โดย CU String Orchestra รายการแสดง เช่ น แข ก บู ช า ยั ญ (หลวงประดิษฐไพเราะ) Adagio for Strings in G minor (Tomaso Albinoni) ฯลฯ ชมฟรี วันนี้ เวลา 19.00 น. ณ หอแสดงดนตรี อาคารศิลปวัฒนธรรม จุฬาฯ ส�ารองที่น่ังที่ Ticketmelon.com
นิทรรศการ ‘รอยแยก’ โ ด ย ห ล า ก ศิ ล ปิ น น�าเสนอปรากฏการณ์ ท า ง ศิ ล ป ะ ข อ ง ศิ ล ปิ นไทย ในช่ ว ง ป ล า ย ท ศ ว ร ร ษ 1 9 8 0 - 2 0 0 0 อั น เป็ น ช่ ว งเวลาแห่ ง การเปลีย ่ นแปลงของ โลกศิลปะไทย วันนี้ ถึง 24 พฤศจิกายน 2562 ณ หอศิ ล ป์ กรุ ง เทพฯ (เว้ น วั น จันทร์)
นิทรรศการ ‘ผ่านดวงตาและสี สั น ’ ตี แ ผ่ เรื่อ งราวความจริง ของชีวิตและความเป็นไปในสังคมมนุษย์ โดย เอกรัตน์ อรุณรัตน์ และผลงานการใช้สท ี ี่ โดดเด่นด้วยเทคนิค พิ เ ศษที่ ค วบคุ ม ได้ ยาก โดย ปัญจรัตน์ พลพลึ ก วันนี้ ถึง 6 พฤศจิ กายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์
WHERE TO FIND
Where the conversations begin. adaybulletin.com
หมอชิต
5
5
7 ร้าน DEAN & DELICA 7 สาขาทั่วกรุงเทพฯ
ร้านอินทนิล 5 สาขา สาขาทั่วกรุงเทพฯ
Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ
BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น.
หมอชิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ สยาม อโศก ศาลาแดง
Meet Up Every Monday!
2 0 0
ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ากว่า 100 จุดทั ่วประเทศ 20 ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน
ภาพ : พงศ์ธร ยิ้มแย้ม
THE DREAM GIVER
ผมถามค�าถามกับเจ้ากล่องเหล่านี้ ตามไปอีกมากมาย มก ิ เิ ล่าให้ฟงั ว่าการก�าจัดขยะ แต่ละประเภทมีค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ ยกเว้นขยะประเภททีส ่ ามารถน�ามา รีไซเคิลได้แต่เรือ ่ งกล่องเธอไม่แน่ใจ ว่าต้นความคิดมาจากไหนเพียงแต่ หลั ง จากญี่ ปุ่ น เป็ น ประเทศที่ ค น อยากมาเที่ ย วมากขึ้ น แล้ ว สิ น ค้ า จ�าพวกอาหารและของทีร่ ะลึกก็ได้รบ ั ความนิ ย มที่ จ ะถู ก น� า กลั บ ไปยั ง ประเทศของนักท่องเทีย ่ วด้วยเช่นกัน และที่ส�าคัญพวกเขาจ�าเป็นต้องใช้ กล่องบรรจุเพื่อโหลดขึ้นเครือ ่ งบิน กล่องมือสองทีย ่ ง ั มีสภาพทีใ่ ช้ได้จึง ไม่จา� เป็นต้องถูกก�าจัดและยังประหยัด งบประมาณได้ด้วยการน�ามาใช้ต่อ กับนักท่องเที่ยวนี่แหละ นั่นหมายความว่ า นั ก ท่ อ งเที่ ย วน� า เงิ น เข้ า ประเทศไม่พอยังช่วยน�ากล่องมือสอง กลับประเทศของพวกเขาไปด้วย นี่เป็นเรือ ่ งราวเล็กๆ แต่แฝง ไปด้วยกลยุทธ์การก�าจัดทีป ่ ระหยัดงบ ไปได้เยอะมากๆเป็นอีกหนึง่ เรือ ่ งราว ทีผ ่ มประทับใจเอามากๆในการเดินทางไปประเทศญีป ่ น ุ่ หากจะบอกว่า ค่าตั๋วเครือ ่ งบินในครัง้ นี้คือการไป สั ม ผั ส บรรยากาศทั้ ง วั ฒ นธรรม อาหารการกินและเรือ ่ งกล่องความคิด นี้ก็นับว่าเป็นประสบการณ์ทค ี่ ้ม ุ ค่า ในการลงทุนมากๆครับ
เรือ ่ ง : โอมศิริ วีระกุล
นอกเหนือจากจะหมดความกังวลเรือ ่ งของหายแล้วอาหารการกิน ก็เป็นอีกอย่างหนึง่ ทีผ ่ มใฝ่ฝน ั ทุกครัง้ ที่ ไปและเมื่ อ กิ น อาหารญี่ ปุ่ น ที ไร เสียงพากย์รายการโทรทัศน์ในอดีต อย่ า งที วี แ ชมเปี้ ยน ก็ ดั งอยู่ ใ น จินตนาการทุกครัง้ จึงไม่แปลกใจว่า ท�าไมญีป ่ น ุ่ ถึงอยูใ่ กล้ชด ิ กับชีวต ิ ของเรา มานานจนส่งผลต่อการลงทุนในการเดิ น ทางเพื่ อ ไปเยี่ยมเยียน หากให้เขียนถึงความประทับใจ สั ก เรื่อ งเกี่ ย วกั บ การเดิ น ทางใน ประเทศญี่ปุ่นผมมักจะนึกถึงเรือ ่ ง ‘กล่อง’เป็นเรือ ่ งแรกเลยครับหลายคน อาจสงสั ย ว่ า เรื่อ งกล่ อ งนี้ มี ดี ก ว่ า แหล่งท่องเทีย ่ วหรือร้านอาหารอย่างไร จริ ง ๆอยากบอกว่ า ไม่ ไ ด้ ดี ก ว่ า เพียงแต่เป็นความประทับใจส่วนตัว ทีอ ่ ยากเอามาแชร์เพราะผมเชือ ่ ว่ามัน ส่งผลต่อการประยุกต์ในการจัดสรร ทรัพยากรในชีวต ิ ได้เหมือนกันครับ ต อ น นั้ น ผ ม เ ดิ น ท า ง ไ ป ฮอกไกโดในฤดูหนาวภูเขาโดยรอบ
จึงเป็นสีขาวสะอาดตาผมเดินตาม ผู้น�าทัวร์คนหนึ่งไปในร้านขายของ เห็ น นั ก ท่ อ งเที่ ย วจ� า นวนมากเดิ น เข้าคิวเพือ ่ ช�าระสินค้าบางคนซือ ้ น้อย ก็ใส่ถุงบางคนซื้อมากเพื่อน� ากลับ ประเทศก็ ต้ อ งใส่ ก ล่ อ งซึ่ ง ภายใน ร้านค้าจะมีจด ุ บรรจุภณ ั ฑ์เพือ ่ ให้ลก ู ค้า บริการห่อและแพ็กสินค้าลงกล่อง ด้วยตัวเอง ผมจึงเดินส�ารวจและพบว่ามี ลูกค้าหลายคนก�าลังมุง่ มัน ่ ในการบรรจุ สินค้าที่ซื้อมาลงไปในกล่องบ้างก็ บอกว่าเอาไปฝากพ่อแม่พน ี่ ้องและ เพือ ่ นพ้องทีท ่ า� งานจุดบริการตรงนัน ้ มีอป ุ กรณ์หลักๆคือกล่องลังสีนา� ตาล ตามด้ ว ยเทปกาวกรรไกรเชื อ ก ปากกากระดาษและเทปใส บางคนบรรจุอย่างมืออาชีพ อั น เป็ น การบ่ ง บอกว่ า ท� า มาแล้ ว หลายครัง้ บางคนก็เห็นได้ชด ั ว่าเป็น มือใหม่ดา้ นการบรรจุของแต่สง่ิ หนึง่ ซึ่ ง เป็ น ที่ น่ า สั ง เกตส� า หรับ ผมคื อ กล่ อ งแต่ ล ะใบไม่ ใช่ ก ล่ อ งใบใหม่ เหมื อ นที่ แ ม่ ค้ า ออนไลน์ ใช้ น� า ส่ ง ไปรษณียท ์ ว ่ั ไปผมจึงย่างก้าวเข้าไป สอบถามกับผูน ้ า � ทัวร์ทค ี่ าดว่าน่าจะ ไขข้อสงสัยของผมได้ “มันคือกลยุทธ์การก�าจัดขยะ ของประเทศญี่ปุ่นค่ะ” มิกิ ไกด์ ทัวร์สาวผู้น่ารักให้ ค�าตอบพอผมรูว้ า่ เป็นเรือ ่ งทีว่ างแผน มาแล้วความอยากรูอ ้ ยากฟังก็ทา� ให้
MONEY LIFE BALANCE
ลู ก พี่ ลู ก น้ อ งของผม ที่ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ เ ป็ น พนั ก งานต้ อ นรั บ บนสายการบิ น เล่าให้ฟง ั ว่า เขาเคยลืมของส�าคัญ ไว้บนรถไฟขบวนหนึ่งที่ญ่ีปุน ่ หาก เหตุ ก ารณ์ น้ี เ กิ ด ขึ้ น ในประเทศอื่ น คาดว่าโอกาสที่จะได้คืนคงเป็ นศูนย์ แต่ไม่ใช่ส�าหรับประเทศญี่ปน ุ่
‘กล่อง’ ความคิดจากฮอกไกโด บรรจุภณ ั ฑ์ ่ ระหยัดต้นทุนแถมยังได้กา� ไร มือสองทีป
‘การเดินทางคือการลงทุน อย่างหนึ่ง’ นี่คือประโยคปลอบใจตัวเอง ทุกครั้งที่จ่ายเงินซื้อตั๋ว เดินทางไปต่างประเทศ และประเทศญี่ปุน ่ คือหนึ่ง ในประเทศที่ผมชื่นชอบ เชื่อว่า หลายคนที่อ่านอยู่คงชอบ เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นเหตุผล ทางด้านผู้คน วัฒนธรรม อาหาร แหล่งท่องเที่ยว หรืออุตสาหกรรมบันเทิง ต้องยอมรับว่าญี่ปุน ่ เป็นชาติ ที่มีความละเอียดในความคิด เป็นอย่างมาก
CONTRIBUTOR
โอมศิริ วีระกุล บรรณาธิการ เว็บไซต์การเงิน aomMONEY
ค�ำแนะน�ำ #GuideToYourDreamLife จำก ‘เกตุวดี’ - กฤตินี พงษ์ธนเลิศ “การให้ เป็น #GuideToYourDreamLife ที่เกตุพิสูจน์มาแล้วด้วยตัวเอง ว่าถ้า เรา ‘ให้’ โดยไม่หวังผล การให้นน ั้ มักจะน�า สิง ่ ดีๆ ที่เราคาดไม่ถึงกลับมาเสมอ” “เมือ ่ เจอสิง ่ ทีต ่ อ ้ งการแล้ว อย่ากลัว ทีจ่ ะลงมือท�า ไม่ตอ ้ งกังวลว่าคนอืน ่ จะชอบ หรือไม่ เพราะเมื่อไหร่ที่เราใส่ใจเสียงจาก รอบข้างมากจนเกินไป บางทีอาจท�าให้เรา สูญเสียความเป็นตัวเองไปได้ แต่ก็อย่าลืม ตรวจสอบและปรั บ ปรุ ง สิ่ ง ที่ เ ราท� า ด้ ว ย เช่นกัน เพราะจะช่วยให้เราพัฒนาขึน ้ เรือ ่ ยๆ ไม่ ห ยุ ด อยู่ กั บ ที่ และที่ ส� า คั ญ ต้ อ งไม่ ลื ม ที่จะมอบสิ่งดีๆ แก่ผู้อื่น”
หลายๆ ครัง้ ความฝันทีก่ า� ลังทุ่มเทท�าอยู่ต้อง สะดุด เมื่อเกิดค�าถามขึ้นในใจว่า สุดท้ายแล้วที่ทุ่มเท ไปเพื่ อ ใครกั น แต่ ‘เกตุ ว ดี ’ - กฤติ นี พงษ์ ธ นเลิ ศ นักเขียนทีม่ หี นังสือขายดีมากมาย และเป็นเจ้าของเพจ ‘เกตุวดี Marumura’ ที่มอบความอบอุ่นทางใจด้วย เรื่องราวแห่งแรงบันดาลใจให้กับผู้คน กลับค้นพบว่า ความฝันของเธอคือ ‘การให้’ แม้ผทู้ ไี่ ด้รบั อาจเป็นเพียง แค่คนแปลกหน้าคนหนึ่ง แต่ก็สร้างความสุขให้เธอ ได้อย่างไม่น่าเชื่อ
ฝันของฉัน...ฉันให้เธอ
เธอเชื่อว่า ที่มีทุกวันนี้ได้ เป็นเพราะการ ‘ให้’ ที่ ผ ลั ก ดั น ให้ เ ธอท� า สิ่ ง ต่ า งๆ ได้ อ ย่ า งไม่ ห ยุ ด ยั้ ง คุณเกตุวดีจะมีค�าแนะน�า #GuideToYourDreamLife อะไรทีน่ า่ สนใจและเป็นประโยชน์ให้กบั พวกเราได้บา้ ง ติดตามเรื่องราวกันได้ที่ Facebook UOB
ISSUE 605
2 6 A U G 2 0 #UOB 19
#UOBXadayBULLETIN #GuideToYourDreamLife
19
สแกน QR CODE เพือ ่ อ่ำนบทสัมภำษณ์ ฉบับเต็ม
A MUST MAGAZINE NATIONAL GEOGRAPHIC THAILAND ส่ ง ท้ า ยเดื อ นสิ ง หาคมด้ ว ย นิ ต ยสารส� า รวจโลกที่ ขึ้ น สู่ ปี ที่ 19 อย่ า งแข็ ง แกร่ ง โดย National Geographic Thailand เล่ มนี้ เป็น ฉบับพิเศษ ทีพ ่ าคุณไปพบกับเรือ ่ งราว ของโลกทีไ่ ม่เคยหยุดนิ่ง ปัญหาของ ภูมอ ิ ากาศทีเ่ ปลีย ่ นแปลงอย่างต่อเนือ ่ ง ระดั บ น� า ทะเลที่ เพิ่ ม สู ง ขึ้ น เรื่อ ยๆ สงครามที่ยังคงมีอยู่ และเศรษฐกิจ ทีล ่ ม ่ สลาย การเดินทางเพือ ่ เอาชีวต ิ รอด ของมนุ ษ ยชาติ รวมถึ ง การค้ น พบ ใหม่ๆ ทีจ ่ ะล้างความเชือ ่ เดิมในคนที่ มี ส ายเลื อ ดบริสุ ท ธิ์ ข องชาวยุ โรป และพลั ง แห่ ง ความหวั ง ขององค์ ทะไลลามะ ภิ กษุ พลั ดถิ่ นที่ยังคงมี ความศรัทธาในตัวของมนุษย์อย่าง เต็มเปี่ ยม
SWEET
LETAO @ CENTRAL WORLD ่ อ ชีสเค้กทีล ื ลัน ่ ในด้านความหอม อร่อย และสดจากฮอกไกโด ประเทศญี่ปน ุ ่ และน�าเข้ามาจ�าหน่ายในบ้านเราอย่างเป็น ทางการ ด้วยการเก็บรักษาอย่างเข้มงวดเพื่อให้คุณได้ ลิ้มรสเหมือนกับว่ายืนกินอยู่หน้าร้านที่เมืองโอตารุ และ ้ ไ็ ด้เปิดเป็นคาเฟ ่ขนาดก�าลังดี ให้เราได้นง ตอนนีก ั่ กินชิลๆ ในจ�านวนที่พอดี เพราะหลายคนอาจจะติดปัญหาที่ว่า การซื้ อ ชี ส เค้ ก มาหม�่ า เป็ น ก้ อ นนั้ น บางที ก็ กิ น ไม่ ห มด หากจะเก็ บ ไว้ วั น หลั ง รสชาติ ท่ี อ ร่ อ ยนั้ น ก็ จ ะจื ด จาง หรื อ อาจจะเสียไป ตัวร้านตัง้ อยูก ่ ลางเซ็นทรัลเวิลด์ ชัน ้ 7 ในลักษณะ ของคาเฟ่ที่เปิดโล่งแต่อบอุ่น นอกจากจะมีเมนู อย่าง ชีสเค้ กที่ตัดแบ่งให้ เลื อกชิมแล้ ว ยังมีความพิเศษอยู่ นั่ นคื อ LeTAO Original Pancake แพนเค้ กที่ฟูหนา ท�ากันสดๆ โดยใช้สต ู รต้นต�ารับ กินคูก ่ บ ั ไอศกรีมวานิลลา และช็อกโกแลต (ราคา 295 บาท) ซึง่ ในจานจะมีแพนเค้ก ให้ทงั้ หมดสามชิน ้ แต่บอกเลยว่าแม้แต่คนร่างหมีอย่าง เรายังกินคนเดียวไม่หมด แนะน�าว่าควรชวนเพือ ่ นมากิน ด้วยสองคนจะอิ่ มก�าลังดี ส่วนอี กหนึ่ งเมนู ที่อยากให้ ลองชิมคือ French Toast ขนมปังฝรัง่ เศสอบร้อนที่ดู เหมือนจะธรรมดา แต่เมือ ่ ตักเข้าปากปุบ ๊ ขนมปังทีห ่ นานุม ่ ก็ แทบจะละลายในปากทันที และส่วนผสมเด็ ดอย่าง ชีสมาสคาโปนไซรัปทีไ่ ม่เน้นหวาน และไอศกรีมวานิลลา ก็ท�าให้เราลืม French Toast ที่เคยกินมาก่อนหน้านี้ ไปเลย
BOOK
มีอะไรในสวนหลังบ้าน เมือ ่ ชีวต ิ คูข ่ นานระหว่างผูห ้ ญิง 2 คน กลับต้องมาเกี่ยวข้องกันอย่าง ไม่ควรจะเป็น คนหนึ่ งเป็นแม่บ้าน มีสามีเป็นแพทย์ ส่วนลูกชายก็ ท้ัง หน้าตาดีและฉลาด ชีวต ิ ของเธอช่าง เพียบพร้อมและดูเหมือนจะสมบูรณ์แบบไปเสียทุกเรือ ่ ง ในขณะที่อีกคน มีชีวิตที่โชคร้ายและก� าลั งหลบหนี จากบางอย่าง แต่สงิ่ ทีท ่ า� ให้ทงั้ คูไ่ ด้มา เจอกันคือกลิน ่ ทีโ่ ชยมาจากสวนสวย หลังบ้าน และกลิน � พาเธอ ่ นัน ้ เองก็นา ทั้งสองคนไปพบกั บจุดเริม ่ ต้ นของ โศกนาฏกรรม นี่ คื อ นิ ย ายขายดี อันดับหนึ่งของประเทศเกาหลีที่จะ ชวนผู้ อ่ า นไปขุ ด ค้ น ความลั บ และ ตี แ ผ่ ค ว า ม เป็ น ม นุ ษ ย์ ที่ ผู้ ห ญิ ง ธรรมดาสองคนถือครองและเก็บซ่อน เบื้ อ งหลั ง ชี วิ ต ซึ่ ง เต็ ม ไปด้ ว ยปม ขั ด แย้ ง ในใจ (แพรวส� า นั ก พิ ม พ์ / ราคา 255 บาท)
20 12
MUSIC
CLAIRO - IMMUNITY อัลบั้มเดบิวต์ของศิลปินสาวน้อยผู้สร้าง ปรากฏการณ์ โ ด่ ง ดั ง ไปทั่ ว โซเชี ย ลฯ ก็ เ ตรีย ม ออกมาให้แฟนๆ ได้ฟงั เสียที Clairo เริม ่ ต้นฐานะ ศิลปินจากการท�าดนตรีแนว DIY สไตล์ lo-fi และ อิเล็กทรอนิกพ็อพ ลงในโลกออนไลน์จนกลายเป็น กระแสไวรัล ท�าให้คนหลงรักความน่ารัก และดนตรี นุ่มละมุนของเธอ ซึง่ ในประเทศไทยเธอก็เพิง่ ขึน ้ เวทีคอนเสิรต ์ ไปเมื่อช่วงต้นปีที่ผ่านมา ส�าหรับ อัลบัม ่ อายดนตรีฟงั สบาย ้ Immunity ยังคงกลิน ตามสไตล์ ข อง Clairo น� า เสี ย งที่ ช วนฝั น ก็ ยิ่ ง ท�าให้รูส ้ ึกล่ องลอยไปกั บโลกดนตรีของเธอได้ ง่ายดาย ทัง้ เพลง Bags, I Wouldn't Ask You, Sofia หรือ Closer To You ใครอยากจับจองอัลบัม ้ เดบิวต์ของ Clairo สามารถเข้าไปพรีออร์เดอร์ ได้ที่ http://clairo.lnk.to/immunity
PRODUCT
SAMSUNG SPACE MONITOR การมีจอมอนิเตอร์ใหญ่ๆ ก็สง่ ผลถึงความสะดวกสบายในการท�างาน เพราะเราจะได้พน ื้ ทีจ ่ อ ของวินโดวส์หรือแมคส�าหรับเปิดโปรแกรมต่างๆ ได้เต็มตา แต่นน ้ ทีข ่ องโต๊ะท�างาน ่ั ก็แลกมาด้วยพืน ทีส ่ ญ ู เสียไปจนแทบไม่เหลือให้วางอะไรได้นอกจาก เมาส์กับคีย์บอร์ด Samsung Space Monitor จึงออกแบบให้จอมอนิเตอร์รุน ่ นี้ทม ี่ ข ี นาด 27 นิ้ว และ 32 นิ้ว มีขาตั้งแบบใหม่ทใี่ ช้การหนีบตัวขา ตั้งไว้กับขอบโต๊ะ และยกจอให้ลอยขึน ้ จนท�าให้ เรามีพื้นที่ว่างใต้จอที่สามารถใช้งานเพิ่มขึ้นได้ และตัวขาตั้งเองก็มีฟังก์ชันในการปรับเอนและ ยกจอไปมาให้รองรับความต้องการในระดับต่างๆ นัน ้ ย ราคาเริม ่ ต้น ่ หมายถึงการดึงเข้าหาตัวได้ดว ก็แค่ 13,900 บาทเท่านั้น
ISSUE 605
26 AUG 2019
MOVIE
SHOW
BRIGHTBURN
น�้าเงินแท้ เดอะ มิวสิคัล
ถ้าพูดถึงเรือ ่ งราวของซูเปอร์แมน เราคงจะ รูจ้ ก ั ต้นก�าเนิดของเขากันดี โดยชายร่างกายเหล็กไหล คนนี้ เป็นมนุ ษย์ต่างดาวที่ถูกพ่อแม่จับใส่ยานอวกาศตั้งแต่ตอนเป็นทารก และยานก็ตกลงมา ทีโ่ ลกมนุษย์ แล้วครอบครัวชาวโลกน�าไปเลี้ยงดู อย่างอบอุน ่ เติบโตเป็นซูเปอร์ฮโี ร่ผเู้ ป็นความหวัง ของมวลมนุ ษย์ แต่ ในมุมกลั บกั นหากเด็ กคนนี้ ไม่ได้มีจิตใจที่ดีงามอย่างนั้นล่ะ แล้วเราจะเป็น อย่างไร ภัยคุกคามนี้ใครจะต้านทานไว้ได้ นี่คือ ค� า ถามที่ เกิ ด ขึ้ น จนกลายเป็ น พล็ อ ตเรื่อ งของ Brightburn ซึ่งทั้งน่าสนใจอยู่เหมือนกัน และ อยากรู ว ้ ่ า ในโลกที่ ค นมี พ ลั ง คล้ า ยซู เปอร์แ มน แต่ไม่ได้เป็นมิตรนั้นจะเป็นอย่างไร ค�าตอบนั้น รอเราอยู่ในโรงภาพยนตร์ตอนนี้แล้ว
เพียงเพราะปากกาด้ามเดียวที่บังเอิญไป ตกอยูใ่ นทีเ่ กิดเหตุทางการเมือง ท�าให้ชะตาชีวต ิ ของนักเขียนคนหนึง่ ต้องเปลีย ่ นแปลงไปตลอดกาล เรือ ่ งราวจากวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์เรือ ่ ง น้�ำเงิน้แท้ ของ วินทร์ เลียววาริณ นักเขียนรางวัล ซี ไ รต์ และศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ สาขาวรรณศิ ล ป์ สู่ ก ารสร้า งสรรค์ เป็ น ละครเพลง ซึ่ ง ประพั น ธ์ ดนตรีขน ึ้ ใหม่ถึง 40 เพลง เพือ ่ ถ่ายทอดความรัก อุดมการณ์ และมิตรภาพทีส ่ ญ ู สลายไปเพียงเพราะ ทัศนคติ ที่แตกต่ างกั น เปิดรอบการแสดงวันนี้ ถึง 8 กันยายน 2562 ณ โรงละครเอ็มเธียเตอร์ ดูรายละเอียดและซือ ้ บัตรได้ที่ www.facebook. com/dreamboxtheatre.bkk
PRODUCT
EVENT
NEED A NEW NEEDLE
SUKHOTHAI ART CRAFT & BEYOND #1
ความน่ารักทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของกระเป๋าถือ แสนมุ้ งมิ้ งจากแบรนด์ Need a New Needle ที่ส่งไอเดียให้กระเป๋าถือทรงสี่เหลี่ยมธรรมดาๆ กลายเป็นกระเป๋าที่มีที่คล้องข้อมือหรือถือด้วย ส่วนที่เป็นคอเป็ด! ตกแต่งด้านล่างกระเป๋าด้วย ขาน้ อ ยๆ ทั้ ง สองข้ า ง ตั ว เป็ ด ท� า จากผ้ า ลิ นิ น ร้อยเปอร์เซ็นต์ ติดซิปทองเหลือง ขนาด 6 X 8 นิ้ว ราคา 850 บาท และความเมดอิ นไทยแลนด์ นี้ ก็ก�าลังไปได้ดีที่ไต้หวันด้วย สนใจกระเป๋าน่ารัก และงานปักแฮนด์เมดอืน ่ ๆ ลองเข้าไปดูได้ที่ www. facebook.com/needanewneedle
ว่ากันว่าจังหวัดสุโขทัยน่ าเที่ยวและยังมี ความอาร์ตทีค ่ าดไม่ถงึ รออยู่ งานนีเ้ ราจะไม่มท ี างรู ้ หากไม่ได้ไปลองสัมผัสด้วยตัวเองทีง่ าน Sukhothai Art Craft & Beyond ซึ่งจัดขึ้นเป็นครัง้ แรกที่ได้ รวบรวมความสนุกไปกับกิจกรรม workshop DIY ที่หลากหลาย และเลือกช้อปงานคราฟต์ที่สาย แฮนด์เมดต้องชอบจุใจไปกับของกินของดีเมืองสุโขทัย ที่ยกโขยงกันมาอย่างคับคั่ง แถมยังได้อินไปกับ กระแสรักษ์โลกด้วยจานใบตองจากบ้านคลองกระจง ที่จะน�ามาใช้ในงานนี้ งานจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 2022 กั น ยายน 2562 ที่ ล านสนามกี ฬ าเด็ ก เล่ น จ.สุโขทัย รายละเอียดเพิม ่ เติม www.facebook. com/SukhothaiArtCraft
A C C E S S O RY
LUMINOX LIMITED EDITION THAI NAVY SEALS Luminox แบรนด์นาฬิกาแห่งความทนทาน และได้รบ ั ความไว้วางใจจากหน่วยซีล (SEALs) ในสหรัฐอเมริกามาเป็นเวลานาน ทีม ่ จ ี ด ุ เด่นคือ สามารถสว่างในทีม ่ ด ื ได้นานถึง 25 ปี ล่าสุดได้ออกรุน ่ Thai Navy SEALs ลิมเิ ต็ด เอดิชน ั เพือ ่ ให้เราได้รบ ั รูถ ้ งึ การอุทศ ิ ตัวของ เจ้าหน้าทีห ่ น่วยซีลของประเทศไทยในการปฏิบต ั ภ ิ ารกิจต่างๆ และฝาหลังมีประโยคสลักไว้วา่ 'No Space for the Weak' (ไม่มท ี วี่ า่ งส�าหรับคนอ่อนแอ) ไว้สร้างความฮึกเหิม โดยท�าการผลิต เพียงแค่ 999 เรือนเท่านั้น ราคาเรือนละ 19,500 บาท รายได้ส่วนหนึ่งมอบให้กับมูลนิธิ นักท�าลายใต้นา � จูโ่ จม เพือ ่ ใช้ประโยชน์ตอ ่ ไป วางจ�าหน่ายแล้วทีห ่ า้ งสรรพสินค้าชัน ้ น�า
13 21
BULLETIN B SINGING BIRD แฟนอิม ่ สุข ฟิน และน�้าตาซึม พลิ ก โฉมสร้างปรากฏการณ์ความสุข ให้แฟน้ครัง้ ใหม่ใน้รูปแบบคอน้เสิรต ์ เพลงฟัง ที่ แฟ น้ ทุกคน้อิ่มความสุขไปแบบสุดฟิน้กับ ความสนุ้ก ซึง้ จน้น้�าตาซึมกัน้ไปแล้ว ส�าหรับ ครังแรกใน้คอน้เสิ ร ์ตรูปแบบใหม่ของซูเปอร์สตาร์ ้ เมืองไทย ‘เบิรด ์ ’ - ธงไชย แมคอิน้ไตย์ ศิลปิน้ ค่ายแกรมมี่ ใน้คอน้เสิรต ์ SINGING BIRD (ซิงกิ้ง เบิรด ์ ) ครัง้ ที่ 1 ตอน้ ‘เพลงตามค�าขอ’ ทีจ ่ ด ั เต็มตามค�าขอจากบทเพลงแฟน้ๆ ทีโ่ หวต กัน้ เข้ ามาพร้อมน้�าบทเพลงที่ทุกคน้คิดถึง กลั บ มาสร้า งความสุ ข ให้ แฟน้เพลงเกื อ บ 2 หมื่ น้คน้จาก 3 รอบการแสดง ณ รอยัล พารากอน้ ฮอลล์ สยามพารากอน้ ได้ฟงั เพลง แบบใกล้ชด ิ สุดๆ เต็มอิ่มเกือบ 3 ชัว ่ โมง และ ผูท ้ ม ี่ าชมคอน้เสิรต ์ ยังได้รบ ั ความรูค ้ วามเข้าใจ เกีย ่ วกับพลังงาน้ไฟฟ้า ทีม ่ าจากพลังงาน้สะอาด ผ่ า น้น้ิ ท รรศการ ‘ไฟ จาก ฟ้ า ’ ซึ่ ง จั ด โดย คณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน้ (กกพ.) ร่ว มกั บ แกรมมี่ และหน้่ ว ยงาน้ภาคี โดย น้ิทรรศการดังกล่าวจัดขึ้น้บริเวณหน้้างาน้ คอน้เสิรต ์ ซึง่ ได้รบ ั ความสน้ใจจากประชาชน้ ทั่วไป และผู้เข้าชมงาน้มากมาย
M&M’S® Block เติมความสนุกให้ชีวิต ด้วยความคิดสร้างสรรค์
่ ด�า่ รสของกาแฟด�ารสนุม ดืม ่ จาก ‘เนสกาแฟ โกลด์ เครมมา สมูท แอนด์ ไฟน์เนสท์’
นกแอร์ สยายปีกสู่อินเดีย ครั้งแรกของการบินตรง กรุงเทพฯ (ดอนเมือง)กูวาฮาติ
ฟิตเนส เฟิรส์ท จัดโปรเด็ด! คลับที่ดีท่ส ี ุดย่านอารีย์ แพลตติน่ม ั เพิร์ล แบงค็อก
M&M’S ® Block ใหม่ ทั้ ง 4 รสชาติ เกิ ดจากการจั บคู่ ส่ ว น้ผสมแสน้อร่ อ ย เข้าด้วยกัน้อย่างลงตัว สะท้อน้แน้วคิดการต่อยอดความคิดสร้างสรรค์สป ู่ ระสบการณ์ แห่งความสนุ้กใน้ชีวต ิ ทีท ่ ก ุ คน้สามารถท�าได้ ใน้รู ป แบบช็ อ กโกแลตบล็ อ กที่ ผ สมผสาน้ ช็อกโกแลตน้มเน้ียน้นุ้ม ่ และ M&M’S® Minis เม็ดจิว ๋ อย่างเป็น้เอกลักษณ์ โดยมีให้เลือกถึง 4 รสชาติ ได้ แก่ Milk Chocolate ส�าหรับ คน้รัก ช็ อ กโกแลตเน้้ น้ ๆ, Crispy ห่ อ สี ฟ้ า ส�าหรับแฟน้ข้าวพองเคี้ยวกรุบ, Hazelnut ห่ อ สี น้� า ตาลอ่ อ น้ ส� า หรับ คน้ชอบถั่ ว และ Cookies ห่อสีมว ่ ง ลิมเิ ต็ดอิดช ิ น้ ั ส�าหรับผูท ้ ี่ ชอบทาน้คุกกีเ้ น้ือ ้ กรอบและช็อกโกแลตคูก ่ น้ ั วางจ�าหน้่ายทีร่ า้ น้สะดวกซือ ้ ซูเปอร์มาร์เกต และไฮเปอร์มาร์เกตชั้น้น้�าทั่วประเทศ
เน้สกาแฟ โกลด์ ผูเ้ ชีย ่ วชาญด้าน้กาแฟ ชั้ น้ น้� า ระดั บ โลกเปิ ด ตั ว ‘เน้สกาแฟ โกลด์ เครมมา สมูท แอน้ด์ ไฟน้์ เน้สท์’ เพื่อสร้าง มาตรฐาน้ใหม่ ข องกาแฟด� า รสนุ้่ ม ระดั บ พรีเมียม ด้วยกาแฟคราฟต์ที่ใส่ใจทุกรายละเอียด ผสาน้อาราบิกา ้ ชัน้ ั่ บดละเอียด ้ ดีคว ถึง 10 เท่า พร้อมฟองเครมมาสีทองสุดละมุน้ รวมทัง ้ เน้รมิตคราฟท์ คาเฟ่ บาย เน้สกาแฟ โกลด์ เครมมา เพือ ่ เสิรฟ ์ 12 เมนู้กาแฟด�ารสนุ้ม ่ เหน้ือระดับทีร่ งั สรรค์ขน้ ึ้ จากเน้สกาแฟโกลด์ เครมมา สมูท แอน้ด์ ไฟน้์เน้สท์ ให้คน้รักกาแฟ ได้คน้ ้ พบ สัมผัส และดืม ่ ด�าความแตกต่างของ กาแฟด�าระดับพรีเมียม ณ ลาน้เอเทรียม 3 โซน้เอ ชั้น้ 3 ศูน้ย์การค้าเซ็น้ทรัลเวิลด์
สายการบิน้น้กแอร์เดิน้หน้้าสยายปีก ครั้ง แรกสู่ อิ น้ เดี ย พร้อ มเปิ ด บิ น้ ตรงจาก กรุ งเทพฯ (ดอน้เมือง) ไปยังเมืองกูวาฮาติ ประเทศอิน้เดีย รวมแล้ว 2 เทีย ่ วบิน้ต่อสัปดาห์ ใน้ราคาเริม ่ ต้น้เพียง 2,300 บาท ซึง่ การเปิด เส้ น้ ทางดอน้เมื อ ง-กู ว าฮาติ ของน้กแอร์ ใน้ครัง้ น้ี้ น้ับเป็น้เส้น้ทางแรกทีเ่ ปิดให้บริการ ใน้น้ามของน้กแอร์ใน้การเปิดเที่ยวบิน้ตรง ไปยังประเทศอิน้เดีย ทัง้ น้ี้ อัตราค่าโดยสาร ดังกล่าวได้รวมค่าภาษีสน้ามบิน้ ค่าธรรมเน้ียม ต่ า งๆ รวมไปถึ ง น้� า หน้ั ก สั ม ภาระโหลด 20 กิ โลกรัม และมื้ออาหารร้อน้บน้เครือ ่ ง ส�ารองทีน้ ่ ง่ั เส้น้ทาง ดอน้เมือง-กูวาฮาติ และ กูวาฮาติ-ดอน้เมือง ได้ที่ www.nokair.com
ฟิ ตเน้ส เฟิรส์ท เดิน้หน้้าปักหมุดรุก ขยายสาขาอย่ า งต่ อ เน้ื่ อ ง หลั ง จากสร้า ง ความฮื อ ฮากั บ ‘คลั บ ICON’ คลั บ สุ ด หรู แลน้ด์มาร์กแห่งใหม่ยา่ น้ฝั่งธน้ฯ คราวน้ีเ้ ป็น้ คิวของชาวอารีย์ กับคลับใหม่บน้ตึกดีไซน้์ สุดล�ารูปทรงไข่มก ุ ฟิตเน้ส เฟิรส์ท แพลตติน้ม ั่ เพิรล ์ แบงค็อก ตอบโจทย์เทรน้ด์การออกก�าลังกายของคน้รุน้ ่ ใหม่อก ี ด้วย และโอกาส สุดท้ายส�าหรับโปรโมชัน้พรีเซลทีพ ่ เิ ศษสุดๆ แค่สมัครวัน้น้ีเ้ ล่น้ฟรี 30 วัน้ พร้อมรับกระเป๋า tote bag ฟรี รับ สิ ท ธิ โปรโมชั น้ สุ ด พิ เ ศษ ได้ ที่ www.fitnessfirst.co.th/presale/ platinum-pearl-bangkok
22
BOARD
TALK OF THE TOWN
อัพเดตแวดวง ข่าวสังคม ที่น่าสนใจ ในรอบสัปดาห์ ต้องมนตร์ไปกับ 2 สาว BOL4 ในคอนเสิรต ์ ครัง ้ แรกในเมืองไทย ที่ อ บอวลไปด้วยความประทับใจ กว่า 2 ชั่วโมง 2 สาวดู โ อ้ เกาหลี Bol4 จี ย อง และ อู จียุน้ ได้เน้รมิตคอน้เสิรต ์ แบบเต็มรูปแบบ ของพวกเขาเป็น้ครัง้ แรกใน้เมืองไทยใน้ 2019 BOL4 Asia Tour <BLOSSOM> in Bangkok ณ มูน้สตาร์ สตูดโิ อ 8 โดยบรรยากาศของงาน้ เริ่ม ด้ ว ยการเล่ า เรือ ่ งราวการเปลี่ ย น้ผ่ า น้ จากฤดูหน้าวสูฤ ่ ดูใบไม้ผลิ ซึง่ เข้ากับชือ ่ ทัวร์ ของพวกเขา Blossom จากน้ั้ น้ สองสาว ก็ออกมาด้วยบทเพลง Picnic ซึง่ เป็น้ซิงเกิล ใหม่จากอัลบัม ้ ล่าสุด ตามด้วยเพลงดังอย่าง Tell me you love me ทีเ่ หล่าแฟน้เพลงต่าง ร้องตามกัน้สน้ั่น้ฮอลล์ น้อกจากน้ี้สองสาว ได้ เ ตรีย มเพลงพิ เ ศษ และเพลงเพราะๆ มากมายมาเซอร์ไพรส์ loBoly ชาวไทยอีกด้วย จากน้ัน้ ่ ไ็ ม่ปล่อยให้แฟน้เพลงเสียเวลา ้ ทัง้ คูก จัดเมดเลย์ให้เต็มๆ 3 เพลง ได้แก่ Freesia, Fight Day และ Ring ตามมาด้ วย Mean เพล ง จั งหวะสบายๆ น้่ารักสไตล์อะคูสติก จากอัลบั้ม Red Planet
เครื่องดื่มใส ‘กู๊ดมู้ด’ ส่งรสชาติใหม่กลิ่นมะนาวน�้าผึ้ง เสริมความสดชื่น เพื่อเติมเต็มวันดีๆ
่ งดืม ่ ปั่น สตาร์บค ั ส์ กับเมนูเครือ ่ งดืม ่ หอมกลิน ใหม่ และเครือ ่ ผลไม้ใหม่สา� หรับเทศกาล ไหว้พระจันทร์
Krispy Kreme Ube Doughnut
LINE ประเทศไทย เปิดตัว LINE Melody บริการเสียงรอสาย และเสียงเรียกเข้า ของการโทร.ออนไลน์
ดับกระหายพร้อมรสอร่อย เติมเต็ม อารมณ์ดๆ ี ด้วย goodmood Lemon Honey น้�าดืม ่ แต่งกลิน้ ้ ว ่ และรสทีร่ วมเอาความเปรีย ของมะน้าวผสาน้ความหอมกลมกล่อมของ น้�าผึง้ ไว้อย่างลงตัว มีน้า� ตาลน้้อยกว่า 6 กรัม ต่อ 100 มิลลิลต ิ ร ให้คณ ุ เติมเต็มความสดชืน้ ่ ได้ตลอดวัน้แบบไม่ตอ ้ งรูส ้ ก ึ ผิด เพราะได้รบ ั การการัน้ตีด้วยตราสัญลักษณ์โภชน้าการ ทางเลือกสุขภาพ เป็น้เครือ ่ งดืม ่ ทีต ่ อบโจทย์ ความต้ อ งการของผู้ บ ริโ ภคอย่ า งแท้ จ ริง สร้างรอยยิม ้ ก ึ ดีๆ ให้ทก ุ คน้ ้ และมอบความรูส ใน้ทุกๆ วัน้ วางจ�าหน้่ายแล้วทีร่ า้ น้สะดวกซือ ้ ซูเปอร์มาร์เกต ไฮเปอร์มาร์เกต และร้าน้ค้า ทั่ ว ประเทศ ติ ด ตามข่ า วสารได้ ที่ www. goodmoodth.com
สตาร์ บั ค ส์ คอฟฟี่ (ประเทศไทย) ส่ ง ท้ า ยซั ม เมอร์ ด้ ว ยเมนู้ ใหม่ สุ ด อย่ า ง ดับเบิล ้ ริสเทรตโต้ เบลน้เดด ครีม แฟรบปูชโิ น้่ ทีม ่ ส ี ว ่ น้ผสมของช็อตเอสเพรสโซ่ ริสเทรตโต้ ถึง 2 ช็อต มัทฉะ เบลน้เดด ครีม แฟรปปูชโิ น้่ เครือ ่ งดื่มมัทฉะแท้เกรดพรีเมียมไร้น้�าตาล จากญี่ ปุ่ น้ และ ที ว าน้่ า โฟรเซ่ น้ แมงโก้ ฮิบส ิ คัส ที วิธ ปอมเมเกรเน้ต เพิรล ์ ส์ พร้อม ปอมเมเกรเน้ต เพิรล ์ ส์ เคีย ้ วแล้วแตกใน้ปาก เพิม ่ ความสนุ้กและความเข้มข้น้ด้วยน้�าทับทิม น้อกจากน้ี้ ยั ง มี เ ครื่อ งดื่ ม หอมกลิ่ น้ ผลไม้ ฉลองเทศกาลไหว้พระจัน้ทร์อย่างทีวาน้่า ไอซ์ เชคเก้น้ โพเมโล คาโมมายล์ ที และ โคลด์ บรูว์ วิ ธ โพเมโล เจลลี่ เพิ่ ม เน้ื้ อ สั ม ผั ส และมอบ ความสดชืน้ ่ ด้วยเจลลีส ่ ม ้ โอ วางจ�าหน้่ายแล้ว วัน้น้ี้ ที่รา้ น้สตาร์บัคส์ ทุกสาขาทั่วประเทศ
Krispy Kreme โดน้ั ท สู ต รลิ ข สิ ท ธิ์ อัน้ดับ 1 ที่ครองใจคน้ทั่วโลก เอาใจมัน้ม่วง เลิฟเวอร์ด้วยการจับคู่ความอร่อยระหว่าง โดน้ั ทเน้ื้ อนุ้่ มสูตรลิ ขสิทธิ์ที่ใครๆ ก็ หลงรัก กั บ มั น้ม่ วงแสน้ละมุ น้ จน้กลายเป็ น้ โดน้ั ท 3 หน้้าใหม่สด ุ ว้าว เริม ่ สุด ่ ต้น้ด้วยน้้องใหม่ลา จากตระกู ล ฟิ ล ริง สั ม ผั ส ความพิ เ ศษจาก รสชาติ แสน้อร่อยของมัน้ม่วงกั บ Krispy Kreme Ube Doughnut ใน้ราคาชิ้ น้ ละ 35 บาท หรือ แบบเซตใน้ราคา 296 บาท และอีกหน้ึ่งเมนู้ที่คน้รักมัน้ม่วงห้ามพลาด กับ Ube Ice Latte เครือ ่ งดืม ่ สุดคิวต์ รสชาติ แสน้ละมุน้ทีผ ่ สมอย่างลงตัวระหว่างมัน้ม่วง และน้มสด พร้อ มด้ ว ยวิ ป ครีม แสน้อร่อ ย ใน้ราคา 95 บาท ถึง 15 กัน้ยายน้น้ี้
LINE ประเทศไทย และจี เ อ็ ม เอ็ ม แกรมมี่ ร่วมเปิดตั ว LINE Melody (LINE เมโลดี้ ) กั บบริการเสียงเรียกเข้าและเสียง รอสายใน้การโทร.ผ่าน้ระบบอิ น้เทอร์เน้็ ต ครั้ง แรกของเมื อ งไทย ภายใต้ ค อน้เซ็ ป ต์ Express Your Own Groove (เพลงของคุณ ความรูส้ ก ึ ของคุณ) ด้วยค่าบริการเพียง 60 บาท ต่อเพลง สามารถใช้งาน้ได้ทั้งเสียงรอสาย และเสียงเรียกเข้าน้าน้ตลอดชีพ เป็น้การต่อยอดความส�าเร็จให้แก่ฟงั ก์ชน้ ั โทร.ออน้ไลน้์ ซึ่ งประเทศไทยมีผู้ใช้งาน้การโทร.ผ่าน้ไลน้์ มากที่สุดเป็น้อัน้ดับ 1 เมื่อเทียบกับประเทศ อื่น้ๆ ทั่วโลก ตอกย�าความมุ่งมั่น้ของ LINE ใน้การเชื่ อ มต่ อ ผู้ ใ ช้ ข้ อ มู ล และบริ ก าร เข้าด้วยกัน้
ISSUE 605
26 AUG 2019
23
เรือ ่ ง : พัทธมน วงษ์รัตนะ
ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล
FEATURE
24
INDIA, A LAND OF THOUSAND STORIES เราไม่เคยเห็นด้วยกับค�าพู ดที่ว่า “มาอิ น เดี ย ถ้ า ไม่ รั ก ไปเลย ก็ เ กลี ย ด ไปเลย” เพราะในระยะเวลา 6 วันในการมา เยือนประเทศนี้ แม้วา่ จะเจอกับเหตุการณ์ ไม่คุ้นเคย เสียงรถบีบแตรจอแจ กลิ่น เครื่ อ งเทศลอยฟุ ง ้ ในทุ ก อณู อ ากาศ แต่คา� ว่า ‘เกลียด’ น่าจะรุนแรงไปหน่อย กับเรื่องเล็กน้อยแค่นัน ้ ในทางกลับกัน ค�าว่า ‘รัก’ คงจะ หุนหันไปนิด ส�าหรับช่วงเวลาเพียงสัน ้ ๆ ที่เราได้เข้าไปสัมผัสกับสถาปัตยกรรม สวยงามสไตล์ภารตะ ลองชิมอาหาร พื้นเมือง เรียนรู้วัฒนธรรม ความเชื่อ และวิ ถี ชี วิ ต ชาวอิ น เดี ย โดยไม่ ทั น ได้ รู้จักตัวตนของประเทศนี้อย่างลึกซึ้ง ่ ห่งนีอ ้ ย่างจริงจัง ผ่านการใช้ชว ี ต ิ ในทีแ ้ การเดินทางครัง ึ เป็นการออก ้ นีจง ส� า รวจและท� า ความรู้ จั ก กั บ อิ น เดี ย อย่างค่อยเป็นค่อยไป ในสองเมืองใหญ่ ที่ มี ค วามส� า คั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร์ อย่างยาวนาน คือ ชัยปุระ หรือจัยปูร์ (Jaipur) มหานครสีชมพู ในรัฐราชสถาน และอัครา (Agra) เมืองเก่าแก่ทต ี่ ง ้ั ของ ทัชมาฮาลในรัฐอุตตรประเทศ ผ่านการสังเกต เก็บรวบรวมความรูส ้ ก ึ และพู ดคุย กับผู้คนท้องถิ่นที่ผ่านพบระหว่างทาง ่ ตัดสินว่า ‘รัก’ หรือ ‘เกลียด’ ไม่ใช่เพือ แต่เป็นการ ‘ท�าความรูจ ้ ก ั ’ ดินแดนแห่งนี้ ด้วยความเข้าใจมากที่สุด
ISSUE 605
26 AUG 2019
25
จั ย ปู ร์ ให้ มั น เป็ น สี ช มพู ร์
หากใครมีหมุดหมายมาชมความอลังการ ของสถาปั ต ยกรรมและเรี ย นรู้ เ รื่ อ งราว ประวัตศ ิ าสตร์ของอินเดีย จัยปูร์ หรือชัยปุระ ต้ อ งติ ด โผเป็ น เมื อ งแรกๆ ในนั้ น แน่ น อน เพราะสิ่งที่น่าทึ่งมากๆ คือ แม้ว่าเมืองนี้จะ ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1727 แต่กลับมีการวาง ผังเมืองเป็นระเบียบเรียบร้อย แบ่งออกเป็น 9 ส่วนเท่าๆ กันแบบตารางหมากรุก แถม ผูก ้ อ ่ ตัง ้ เมืองอย่าง มหาราชาสวาอี ชัยสิงห์ ที่ 2 ยั ง เป็ น ผู้ ที่ รั ก ทางด้ า นดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ และฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ท�าให้ องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของเมืองนี้ ดูน่าหลงใหลและเป็ นสมัยใหม่ ทั้งๆ ที่เมือง มีอายุต้ง ั 300 ปี มาแล้ว
เราเดิ น ทางจากเดลี เข้ าสู่ ชั ย ปุ ร ะใน ตอนเย็นท�าให้ได้เห็นแสงแดดตกกระทบ บนตึกรามสีชมพูอมส้มบริเวณจัตรุ สั กลางเมือง พอดีเราและเพื่อนร่วมทริปเกือบทุกคนลง ความเห็นพ้องกันว่าจริงๆแล้วเมืองนี้ไม่ได้ เป็น‘สีชมพู’หวานจ๋อยอย่างทีใ่ ครเขาว่ากัน แต่ มั น ออกส้ ม อิ ฐ ๆแบบสี LivingCoral ที่ ไ ด้ รางวั ล ColoroftheYearจาก Pantoneไปในปีนี้มากกว่าเราจึงเอ่ยปาก ถามความคิดเห็นของShailenderSingh Rajawatไกด์ท้องถิ่นชาวจัยปูรแ ์ ต่ก�าเนิด “ จริง เหรอผมว่ า มั น เป็ น สี ช มพู น ะ ค นอินเดียยังเรียกมันว่า Pink City เลย” เขารี บ ตอบทั น ที แถมเน้ น ค� า ว่ า ‘Pink’ เ สี ย หนั ก แน่ น จนเรารู ้สึ ก ผิ ด ที่ ตั้ ง ค� า ถาม ไปเลยโอเค…สงสั ย นี่ เป็ น สี ช มพู ส� า หรับ คนอินเดียสินะงั้นpinkก็pink! “แล้ วท�าไมต้ องเป็นชมพูล่ะ”เราตั้ ง ค�าถามใหม่คราวนี้เน้นที่ค�าว่า‘Pink’บ้าง ท�าเอาไกด์หัวเราะลั่นก่อนจะเล่าต่อว่า “ตอนสร้างเมืองแรกๆตึกต่างๆก็เป็น สีขาวสีน�าตาลแตกต่างกันไปตามปกติแต่ ในปีค.ศ.1876มหาราชาทีป ่ กครองเมืองนี้ ชื่ อ ว่ า สวาอี รามสิ ง ห์ ที่ 2(SawaiRam SinghII)ได้มพ ี ระบัญชาให้เปลีย ่ นสีอาคาร บ้านเรือนต่างๆในเมืองให้เป็นสีชมพูทงั้ หมด ด้วยการขูดเอาผงอิฐแดงผสมลงไปในปูน เพื่ อ เป็ น การต้ อ นรั บ เจ้ า ชายเอ็ ด เวิ ร ์ ด เจ้ าชายแห่งเวลส์ ที่จะเสด็ จเยือนชัยปุ ระ อย่างเป็นทางการ โดยว่ากันว่าสีชมพูเป็น สี โปรดของเจ้ า ชาย และเป็ น สี ที่ แ สดงถึ ง เครือ ่ งนุ่งห่มของนักบวชทีห ่ มายถึงความสงบ” เราพยักหน้าตามหงึกหงักแต่กย ็ งั อด สงสัยไม่ได้วา ่ เจ้าชายเอ็ดเวิรด ์ ผูโ้ ปรดปราน สีชมพูเป็นชีวิตจิตใจจะมองว่าเมืองนี้ เป็น สีPinkหรือLivingCoral…
SAVE WATER FOR RAJASTHAN เนื่ องจากเดิ นทางมาทั้งวัน และสภาพอากาศทีร่ อ ้ นอบอ้าวถึง 40 องศา สิ่งแรกที่เราท�าเมื่อถึง โรงแรมจึ ง เป็ น การพุ่ ง ตั ว ไปเปิ ด ฝักบัวอาบน�าแบบหมุนเต็มแมกซ์ เพื่อให้สายน� าจากราชสถานไหล ผ่ า นร่ า งกายอยู่ ห ลายสิ บ นาที แต่ ในวั น รุ ง่ ขึ้ น เราก็ ค้ น พบว่ า นั่ น เป็นสิ่งที่ไม่สมควรท�าอย่างแรง! เรานั่ ง รถออกจากโรงแรม ตรงไปที่ป้อมแอมเบอร์(Amber F ort) ป้อมปราการที่ตั้งโดดเด่น อยูบ ่ นผาหินเหนือทะเลสาบเมาตา (Maota)แม้จะขึน ้ ชือ ่ ว่าเป็นทะเลสาบ แต่มองลงไปกลับเหือดแห้งไม่มน ี า � สักหยดไกด์ของเราจึงเริม ่ ง ่ เล่าเรือ ปัญหาการขาดแคลนน�าในราชสถาน ให้ฟังด้วยน�าเสียงจริงจัง “ ราชสถานเป็ น รัฐ ที่ มี ภู มิ ป ระเทศส่วนใหญ่เป็นทะเลทราย
โดยพืน ้ เพจึงเป็นรัฐทีแ ่ ห้งแล้งมากๆ อยู่ แ ล้ ว ยิ่ ง ตอนนี้ เราเจอภาวะ ข าดแคลนน�ากันหนักมากเพราะ ฝนไม่ตกมาหลายปีน�าในทะเลสาบ ก็ เหื อ ดแห้ ง ทางการของจั ย ปู ร ์ จึงต้องใช้นา� ทีม ่ าจากเขือ ่ นทีต ่ ง้ั ห่าง ออกไปถึง140กิโลเมตรเพือ ่ แจกจ่าย ใ ห้ชาวบ้าน ซึ่งทุกวันเราจะใช้น�า ได้แค่6-7โมงเช้าเท่านั้น” “วั น ละ1ชั่ ว โมงเองเหรอ!” เร า แ ล ะ เพื่ อ น ร่ ว ม ท ริ ป พู ด ขึ้ น เสียงดัง ไกด์ยืนยันว่าเขาเองก็ได้ใช้ น�าแค่วน ั ละ1ชัว ่ โมงโดยจะต้องมี ถังกักเก็บน�าในบ้านเอาไว้ส�ารอง ใช้ ต ลอดทั้ ง วั น แถ มยั งพู ดว่ า ชาวจัยปูรโ์ ชคดีแล้วทีอ ่ ย่างน้อยก็มี น�าใช้ทุกวันวันละ1ชั่วโมงเพราะ หากอยูใ่ นเมืองเล็กๆของราชสถาน ชาวบ้านจะไม่มีน�าประปาใช้เลย
ต้ อ งออกไปตั ก น� า กั น เองเท่ า นั้ น แถมยังมีปริมาณน้ อยและปะปน ด้วยสิ่งสกปรกเช่นอะลูมิเนียม ส่ ว นในโรงแรมที่ เราอยู่ น้ั น มีน�าใช้ตลอดเวลาเนื่องจากเจาะ น�าบาดาลใช้เอง ซึ่งจะต้องขุดลึก และใช้คา ่ ใช้จา ่ ยสูงมากๆแม้แต่ใน ราชสถานเองก็ มี ส ถานที่ เ พี ย ง ไม่กี่แห่งเท่านั้นที่มีความสามารถ ในการขุดน�าบาดาลได้ ฟังแล้ วรู ส ้ ึกผิดขึ้นมาจั บใจ ที่เราใช้น�าในโรงแรมไปอย่างไม่รู ้ คุณค่าสัญญาเลยว่าคืนนี้จะกลับ ไปอาบน�าแค่5นาทีพอ
26
AMBER FORT ก็ถงึ เวลาทีเ่ ราจะได้ขน ึ้ ไปชมป้อมแอมเบอร์ ป้ อ มปราการส� า คั ญ ของเมื อ งบนผาหิ น สู ง การเดินทางขึน ้ ไปมีทงั้ หมด3วิธี นัน ่ า้ ง ่ คือ1.ขีช ซึ่งจะมีค่าใช้จ่าย1,100รูปีต่อ2คนแต่จะได้ ชมวิ ว ชิ ล ๆทั้ ง ภู เขาบ้ า นคนและทะเลสาบ (ที่ไม่มีน�า)2.นั่งรถจี๊ปของชาวบ้านโดยต้อง ไปเข้าทางด้านหลังของป้อมแอมเบอร์ราคา ขึน ้ อยูก ่ บ ั ความสามารถในการต่อรองสุดท้าย คือการเดินซึง่ เป็นทางเดียวกับทางทีช ่ า ้ งเดิน ขึ้ น ไปใช้ เวลาค่ อ นข้ า งนานและต้ อ งมี ส กิ ล ในการหลบอึน้องช้างพอสมควรเราทุกคนจึง ตกลงกันว่าจะขี่ช้างขึ้นไป เมื่อไปถึงประตูทางเข้าด้านบน เราได้ พบกับความโอ่อ่าของตัวโครงสร้างอาคารที่ ผสมผสานระหว่างศิลปะฮินดูและศิลปะราชปุต มีการแกะสลักและวาดลวดลายบนผนังทีป ่ ระณีต และอ่อนช้อยตรงกลางพระราชวังมีสวนสีเขียว ชอุ่ ม ตั ด แต่ ง พุ่ ม ไม้ เป็ น ทรงอย่ า งสวยงาม เรียกว่าจะไปเดินเล่นชิลๆก็ได้ซม ึ ซับเรือ ่ งราว ทางประวัติศาสตร์ของอิ นเดี ยที่ซุกซ่อนอยู่ มากมายหรือจะถ่ ายรู ปก็ สวยทุกมุม(ซึ่งรู ป จ ากที่นี่เราก็อัพขึ้นเป็นรูปในโปรไฟล์เฟซบุ๊ก ตั้งแต่วันแรก)
HAWAL MAHAL พระราชวังสายลมหรือHawalMahal หนึ่งในแลนด์มาร์กห้ามพลาดของจัยปูร์ เป็น อาคาร5ชั้นสร้างด้วยหินทรายสีชมพูและมี ช่ อ งหน้ า ต่ า งมากถึ ง 152ช่ อ งไกด์ ข องเรา เล่าว่าเหตุผลทีส ่ ร้างหน้าต่างเยอะขนาดนีค ้ อ ื นอกจากจะใช้เป็นช่องแดดและช่องลมส�าหรับ พระราชวังแล้วยังเป็นที่ที่สร้างให้นางสนม ใ นวังแอบดูชีวิตความเป็นอยู่ของสามัญชน ทั่ ว ไปด้ ว ยโดยพวกเธอจะสามารถนั่ ง มอง ออกไปข้างนอกได้อย่างเป็นส่วนตัวมีหน้าต่าง มิดชิดต่างจากคนภายนอกทีม ่ องเข้ามาจะไม่เห็น พวกเธอนั่นเอง หากอยากได้รป ู พระราชวังสายลมสวยๆ เราแนะน� า ให้ ข้ า มถนนไปฝั่ งตรงข้ า มและ เข้าไปที่รา้ นTattoosCafeเพราะจะมีพื้นที่ ดาดฟ้าให้นงั่ จิบชาและกาแฟโดยมีววิ สุดอลังการ เป็นพระราชวังสายลมแบบเต็มตาไม่มีอะไร มาบดบังยิง่ ถ้าสัง่ ชามาซาลามาจิบคูก ่ บ ั บิสกิต ในตอนเย็นๆก็จะยิง่ ได้ประสบการณ์ทเี่ สียดาย แทนคนอินเดียที่ไม่เคยได้มาสัมผัส
วัฒนธรรมรวมทัง้ ริเริม ่ ขนบธรรมเนียมต่างๆ ไว้มากมายในระหว่างทีค ่ ด ิ เรือ่ งอดีตไปเรือ่ ยเปื่ อย เราจึงถือโอกาสชวนไกด์เรือ ่ งการเปลี่ยนผ่าน ของการปกครองในอินเดียซึง่ ท�าให้เราได้คน ้ พบ เรือ ่ งราวอันตกใจของไกด์วย ั กลางคนทีพ ่ าเรา เที่ยวเต็มๆในช่วง2วันนี้ “ครอบครัวของผมมาจากชนชัน ้ ปกครอง (Warrior)เนือ ่ งจากเราสืบเชือ ้ สายมาจากราชา ManSinghที่1ผู้สร้างป้อมแอมเบอร์ที่เรา ไปเที่ยวกันมาเมื่อเช้า” เราเบิกตาโพลงเพราะแทบไม่เชือ ่ ค�าพูด ทีเ่ พิง่ หลุดออกมา“จริงหรือเปล่าเนี่ยแล้วคุณ มาเป็นไกด์ได้อย่างไร” เขาเล่าให้เราฟังต่อว่าราชาผู้ปกครอง พระราชวังแอมเบอร์มรี าชินีหลายคนโดยจะ มีแค่ลก ู ของราชินค ี นโปรดเท่านัน ื เชือ ้ สาย ้ ทีไ่ ด้สบ เป็นกษั ตริย์ที่ปกครองพระราชวังต่ อไปแต่ บรรพบุรุษของเขาเป็นลูกชายของราชินล ี า � ดับ ท้ายๆจึงได้ครอบครองเพียงปราสาทนอกเมือง เท่านั้นแถมเขายังพูดให้เราฟังหน้าตาเฉยว่า “ตอนนี้ผมก็อาศัยกับลูกๆในปราสาทหลังนั้น นั่นแหละ” ตั้งแต่ที่อังกฤษเข้ามายึดครองอินเดีย ราชวงศ์ก็เสือ ่ มอ�านาจทางการเมืองและไม่มี รายได้ จากการเรียกเก็ บภาษี ท�าให้ต้องอยู่ โดยใช้ทรัพย์สมบัติเดิ มแต่ เมื่อเวลาผ่านไป พวกเขาก็จ�าเป็นต้องหาเลี้ยงชีพด้วยวิธต ี ่างๆ ไม่วา ่ จะท�างานในอาคารของรัฐบาลท�าธุรกิจ ค้ าขายเป็นอาจารย์หรือเป็นไกด์ อย่างเช่น Shailender “ผมเป็นไกด์มาเกิน20ปีและภูมิใจกับ อาชีพนีม ้ ากเพราะผมได้โชว์เมืองทีผ ่ มรักให้กบ ั คนทัว ้ ก ั อีกอย่างผมไม่เคยยึดติดว่า ่ โลกได้รูจ เรามีเชือ ้ สายแล้วจะไม่ต้องท�างานเฮ้ยถ้าไม่ ท�างานจะเอาเงินทีไ่ หนเลีย ้ งลูกล่ะสุดท้ายแล้ว เราก็เป็นแค่คนธรรมดานีแ ่ หละแต่คนทีน ่ ถ ี่ า้ ได้ยน ิ นามสกุลของผมเขาก็จะรับรูไ้ ด้ว่าต้นตระกูล ของผมมาจากไหนซึง่ เราก็ยงั ได้รบ ั ความเคารพ นับถือในสังคมอยู่” เขายิม ้ บางๆก่อนจะพาเราเดินออกจาก CityPalaceและเอ่ยค� าลาแถมยังทิ้งท้าย ด้วยว่าครัง้ หน้าถ้ามีเวลาคงได้ไปเยีย ่ มปราสาท หลังเล็กๆของเขาที่ชานเมืองด้วยกัน
CITY PALACE ถานทีส ส ่ ด ุ ท้ายในจัยปูรข ์ องเราคือCity Palaceหรือพระราชวังหลวงประจ�าเมือง แค่เดินเข้ามาก็สวยจะขาดใจ... พระราชวังนีม ้ ช ี อ ื่ เสียงเรือ ่ งงานจิตรกรรม ฝาผนั ง ที่ ง ดงามมากทุ ก อย่ า งแฝงไปด้ ว ย รายละเอียดของประวัติศาสตร์และกาลเวลา ตัง้ แต่กา� แพงกระเบือ ้ งภาพวาดรวมไปถึงข้าวของ เครือ ่ งใช้ตา่ งๆของมหาราชาและเหล่าราชวงศ์ โดยด้านนอกยังมีพพ ิ ธ ิ ภัณฑ์จด ั แสดงเครือ ่ งใช้ และเครือ ่ งแต่งกายของราชาในหลายยุคสมัย
Shailender Singh Rajawat ไกด์ท้องถิ่นเมืองจัยปูร์
ISSUE 605
26 AUG 2019
แม้ว่าปัจจุบันราชวงศ์อินเดี ยจะไม่ได้ มีอ�านาจด้านการเมืองการปกครองอีกแล้ว แต่พด ู ได้อย่างเต็มปากเลยว่าในอดีตพวกเขา ได้รงั สรรค์สิ่งปลูกสร้างอันยิ่งใหญ่บ่มเพาะ 27
จ ากจั ย ปู ร ์เรานั่ ง รถต่ อ อี ก ราวๆ 5ชัว ่ งั้ ของ ่ โมงไปถึงเมืองอัครา(Agra)ทีต ทัชมาฮาลและป้อมแดง(RedFort)อัครา เคยเป็นเมืองหลวงเก่าของอินเดียในสมัย ที่ยังเรียกว่า ‘ฮินดูสถาน’ (Hindustan) ก่อนจะถูกย้ายไปเดลีในปีค.ศ.1877 ต ล อ ด ท า ง จ า ก จั ย ปู ร์ ม า อั ค ร า เรียกได้ว่าเป็น5ชั่วโมงบนถนนที่บันเทิง สุดๆเพราะชาวอินเดียดูจะรักการบีบแตร แ ละขับแซงกันเป็นชีวิตจิตใจ โดยแม้ว่า บางช่วงเราจะวิ่งอยู่บนทางด่วนแต่ก็ยัง มีคนเดิ น มีวัวเดิ น มีอูฐ แล้ วก็ มีคนปั่น จักรยานด้วย(ใช่ เดินและปั่นจักรยานบน ทางด่วนเนี่ยแหละ!) “เดีย ๋ วพรุง่ นีเ้ รามาเจอกันสักตีสค ี่ รึง่ เ ลยนะ จะได้เข้าไปในทัชมาฮาลตอนคน ยัง ไม่ เ ยอะมาก”ไกด์ ท้ อ งถิ่ น ของอั ค รา พูดขึ้นเห็นทีคืนนี้ต้องนอนตั้งแต่สามทุ่ม ซะแล้ว
TAJ MAHAL เราไปถึ งทางเข้าทัชมาฮาลตั้ งแต่ พระอาทิตย์ยงั ไม่ขน ึ้ โดยยังคุยเล่นกันว่า พวกเราต้องเป็นกลุ่มแรกๆที่ไปถึงแน่ๆ แต่เปล่าเลย! เพราะตั้งแต่ตีห้าก็มี คนมารอเข้าชมความงามของสิง่ มหัศจรรย์ ข อ ง โ ล ก แห่ ง นี้ กั น อ ย่ า ง คั บ คั่ ง แ ล้ ว โดยด้านหน้าจะมีระบบการรักษาความปลอดภัยทีร ่ ด ั กุมต้องใช้พาสปอร์ตไปซือ ้ ตัว ๋ (ถ้าเป็นพาสฟอร์ตคนไทยจะลดเหลือแค่ 540รูปี จาก1,100รูปี เพราะประเทศไทย เป็นสมาชิกของกลุม ่ บิมสเตก(BIMSTEC) ห รือ กลุ่ ม ความริเริ่ม แห่ ง อ่ า วเบงกอล ที่จะได้ส่วนลดหรืองดเว้นค่าใช้จ่ายตาม สถานทีต ่ ่างๆ)แต่ทก ุ อย่างมีการจัดการที่ เป็นระเบียบมากท�าให้พวกเราผ่านประตู เข้าไปในทัชมาฮาลแบบไม่ตอ ้ งรอนานนัก แล้ วเราก็ ก้ าวเข้ามาในทัชมาฮาล จนได้ ! เป็น ความรู ส ้ ึกที่ บรรยายได้ ยาก ม ากๆ เมือ ่ ภาพอนุสรณ์แห่งความรักทีเ่ รา เรียนมาตั้งแต่ประถมได้ปรากฏขึ้นอย่าง ชัดเจนต่อหน้าตลอดทางทีเ่ ดินเข้าไปเรา ผ่านสวนเล็กๆ จนไปถึงสระน�าที่สะท้อน ภ าพของทั ช มาฮาลออกมาได้ อย่ า ง น่าตืน ่ ตาตืน ่ ใจด้วยรูปทรงทีส ่ มมาตรเป๊ะๆ ท�าให้เราสัมผัสได้ถึงความโอ่อ่าอลังการ และทึ่งไปกับความรักของของจักรพรรดิ ชาห์ ชหานที่ มี ให้ กั บ หญิ ง ที่ ต นเองรัก จนถึงวันสุดท้าย อาจจะด้วยบรรยากาศด้านในอาคาร ที่มีความสงบกว่าด้านนอก ท�าให้ความตื่ น เต้ น ในช่ ว งแรกๆเริ่ ม แปรเปลี่ ย น ค วามประทับใจ เมื่อไกด์ของเราเริม ่ เล่า เรื่ อ งราวความรั ก ที่ ท้ั ง หวานทั้ ง เศร้ า ของจักรพรรดิชาห์ชะฮันและมเหสีรป ู งาม ผู้ล่วงลั บของเขา อรชุมันท์ พานุ เพคุม หรือที่เขามักเรียกนางว่า‘มุมตัซมาฮาล’ แปลว่า‘อัญมณีแห่งราชวัง’ “ พระเจ้ า ชาห์ ชะฮั น จั ก รพรรดิ
ทีย ่ งิ่ ใหญ่ของอินเดียหลงรักอรชุมน ั ท์พานุ เพคุมลูกสาวของรัฐมนตรีตั้งแต่แรกพบ 5ปีให้หลังทั้งสองอภิเษกสมรสกั น และ ไม่เคยอยูห ่ า ่ งกันเลยส�าหรับพระเจ้าชาห์ ชะฮันพระมเหสีมม ุ ตัชมาฮาลเป็นทัง้ ภรรยา ผู้ ใ ห้ ค� า ปรึก ษาคอยช่ ว ยงานราชการ และติดตามไปออกรบ “หลังจากครองคู่กันมา18ปีมุมตัช มาฮาลได้ ใ ห้ ก� า เนิ ด ทายาทองค์ ที่ 14 แ ต่พระนางตกเลือดมากจนสิ้นพระชนม์ ก ารสูญเสียครัง้ นี้ท�าให้กษั ตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ ต้องโศกเศร้าเสียใจอยู่เกิน20ปีทั้งยังมี รับสั่งให้สร้างอนุ สรณ์ แห่งความรักของ พ ระองค์ กั บ พระมเหสี บ นท� า เลที่ ดี ที่ สุ ด บริเวณริมโค้งแม่นา� ยมุนาหลังจากกินเวลา นานถึ ง22ปีใช้ราชสมบัติและแรงงาน ผู้คนมากมายกว่า20,000คนอนุสรณ์ แ ห่งความรักอั นยิ่งใหญ่ก็เสร็จสมบู รณ์ อย่างงดงามและพระองค์ก็ทรงให้ชื่อว่า ทั ช มาฮาล ซึ่ ง มาจากชื่ อ ของพระมเหสี นั่นเอง”
AGRA FORT ส ถานที่ สุ ด ท้ า ยของการเดิ น ทาง
ในอิ น เดี ย ของเราคื อ Agra Fort หรือ ป้อมอั คราอนุ สรณ์ สถานส�าคั ญที่ได้ รบ ั ย กย่ อ งให้ เป็ น มรดกโลกโดยยู เนสโก ตัง้ อยูห ่ า ่ งจากทัชมาฮาลเพียง2กิโลเมตร ครึง่ เท่านั้น ส�าหรับเราป้อมอัคราไม่ได้เป็นแค่ ที่ พั ก อาศั ย ของเหล่ า ราชวงศ์ ใ นอดี ต แต่ นั บ ได้ ว่ า เป็ น เมื อ งเมื อ งหนึ่ ง เพราะ ด้านในมีทง้ั ส่วนทีเ่ ป็นทีพ ่ ก ั ห้องท้องพระโรง มั ส ยิ ด สุ เหร่า พระต� า หนั ก สวนดอกไม้ สวนองุน ่ สระน�าและห้องหับอีกมากกว่า ร้อยห้องเรียกว่าต่อให้เดินทัง้ วันก็คงดูไม่ หมดเราเดินส�ารวจกันสักพักก่อนไกด์จะ พ า เราตรงไปที่อาคารหินทรายสีแดง ที่ ส ร้ างขึ้ น เพื่ อ คุ ม ขั ง พระเจ้ า ชาห์ ชะฮั น หลังจากทีพ ่ ระองค์โศกเศร้ากับการสูญเสีย พระมเหสีจนควบคุมตนเองไม่ได้ ้ อ งนอนของพระเจ้ า ชาห์ ชะฮั น ห ถูกสร้างอยูร่ ม ิ ฝั่งแม่นา � ยมุนาและสามารถ มองเห็นทัชมาฮาลได้ว่ากันว่าในช่วงเวลา สุดท้ายของชีวต ิ พระเจ้าชาห์ชะฮันได้นอน ถื อ กระจกที่ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ภาพของ ทั ช มาฮาลจากหน้ าต่ างห้อง เพื่อระลึ ก ถึ งหญิงผู้เป็นที่รก ั จนถึงวินาทีที่จากโลก ใบนี้ไป
SEE YOU AGAIN, INDIA ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และเรือ ่ งราวน่าสนใจทางประวัติศาสตร์ ท� า ให้ ก า ร เ ดิ น ท า ง ม า อิ น เ ดี ย ค รั้ ง นี้ น่ าประทับใจสนุ กสนานและหลายครัง้ ก็บบ ี หัวใจชาวต่างชาติอย่างเราเหลือเกิน นีค ่ งเป็นเอกลักษณ์ทท ี่ า� ให้ดน ิ แดนแห่งนีม ้ ี คาแรกเตอร์แตกต่าง เต็มไปด้วยเรือ ่ งราว และประสบการณ์ให้เรียนรูม ้ ากมาย 28
Fun Facts about my India Trip
คนอินเดียชื่นชอบผู้หญิงเอเชีย ผิวขาวๆ หมวยๆ มาก เพราะฉะนั้น ไม่ต้องแปลกใจถ้าเขามาขอเซลฟี กับคุณ จากประสบการณ์ท่เี ราเจอ มา ชาวอินเดียจะมาขอถ่ายรูป ด้วยเพื่อความบันเทิงเท่านั้น ไม่ได้คิดเงินหรือเป็นมิจฉาชีพ ห้องน�้าอินเดียไม่ได้สกปรกไปเสีย ทุกที่ แต่ทางที่ดีให้เลือกเข้าตาม พิพธ ิ ภัณฑ์ โรงแรม หรือร้านอาหาร ที่มีเครื่องปรับอากาศจะดีกว่า เพื่อที่จะไม่ต้องลุ้นมากตอนเปิด ประตูเข้าไป ผู้ชายอินเดียที่เป็นเพื่อนกันจะเดิน จูงมือกันเป็นเรื่องปกติ โดยถือ เป็นการแสดงออกซึ่งมิตรภาพ ฉันเพื่อน ไม่ใช่รักโรแมนติก หรือคู่จ้น ิ แต่อย่างใด คนอินเดียข้ามถนนกันโหดมาก แม้จะก�าลังมีรถก�าลังขับมา เขาก็จะเดินข้ามด้วยจิตใจแน่วแน่ แล้วรถจะหยุดให้คุณเอง (แต่เราว่าอย่าท�าตามเลย) การพกพาสปอร์ตไทยไปสถานที่ ท่องเที่ยวเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง เพราะมักได้ส่วนลด หรือบางครัง ้ ก็ได้ยกเว้นค่าเข้าชมด้วย
You made my day งานนี้ต้องขอขอบคุณสายการบิน NokScoot ที่ช่วยให้เราเดินทาง ้ ด้วยเส้นทางการบินใหม่ สะดวกขึน บินตรงจากกรุงเทพฯ (ดอนเมือง) สู่เดลี 4 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ แถมยังมีบริการที่นั่งกว้างๆ แบบ ScootBiz ให้ตลอดระยะเวลา 5 ชั่วโมงในการบิน ถ้าใครอยาก มาท�าความรู้จักอินเดียในแบบ ฉบับของคุณเองด้วยการเดินทาง ที่สะดวกสบาย สามารถสอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมได้ท่ี www. nokscoot.com
ISSUE 605
26 AUG 2019
29
เรือ ่ ง :ปริญญาก้อนรัมย์,ณิชกานต์กาเผือก ภาพ : ชาญพิชิตพงศ์ทองส�าราญ
A THOUSAND WORDS THE MARK OF CULTURE CONTRIBUTOR
ก่อนหมดสิ้น‘สับขาลาย’
INFRARED PHOTOGRAPHY
่ บ ้ มาจนถึงบริเวณเอวเหนือสะดือ ก ส ั ขาลาย(หรือสับขาลาย)เป็นการสักทีส ื ทอดกันมาอย่างยาวนานโดยสักจากใต้หว ั เข่าขึน โดยมีกรอบวงกลมหรือสี่เหลี่ยมล้อมรอบรูปสัตว์ต่างๆเป็นลวดลายทึบเต็มขาเหลือช่องว่างให้เห็นผิวหนังมังสาเพียงบางส่วน และเป็นที่เล่าต่อกันมาว่าทุกการลงเข็มนั้นเจ็บปวดจนท�าให้มีคนหลายคนต้องดับชีวิตให้แก่การสักขาลาย “สิ่งที่หดหู่คือมันมีค�าพู ดที่บอกว่าทุกการสักขาลาย10คนจะมี3คนที่เสียชีวิตอาจเป็นเพราะว่าเขาทนไม่ไหวท�าให้เรา ่ งความเจ็บปวดบางทีอาจเป็นเรือ ่ งของความแข็งแรงของแต่ละคนด้วยแต่คนเราก็ยอมแลก รูส ้ ก ึ ว่ามันมีหลายเหตุผลไม่ใช่แค่เรือ ความเจ็บปวดกับอะไรแบบนั้น” แม้ผลงานของชาญพิชต ิ พงศ์ทองส�าราญจะได้รบ ั รางวัลรองชนะเลิศอันดับ2กับรางวัลpopularvoteจากการประกวด 10ภาพเล่าเรื่องของนิตยสารNationalGeographicแต่ความส�าเร็จที่เขายินดีท่ีสุดคือการที่ได้เห็นรอยยิ้มของเหล่าบรรดา พ่ ออุ๊ยแม่อุ๊ยและการได้บอกเล่าถึงเรื่องราวอัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์ความสวยงามและความทรงจ�าดีๆผ่านการกดชัตเตอร์ หลายหมื่นครั้ง ABOUT THE MARK OF CULTURE
ชาญพิชิต พงศ์ทองส�าราญ Facebook : ชาญพิชิต พงศ์ทองส�าราญ Instagram : charnpichit_bw
นิทรรศการแสดงผลงานภาพถ่าย‘รอยเเห่งวัฒนธรรม’โดยชาญพิ ชิตพงศ์ทองส�าราญน�าเสนอลายสักยันต์สักขาลาย(สักเตี่ยวก้อมใน ภาษาล้ า นนาวั น นี้ถึ ง 29กั น ยายน2562เวลา08.30-16.30น.(หยุ ด วั น จั น ทร์ ) ณห้องนิทรรศการหมุนเวียนหอภาพถ่ายล้านนาถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิอ.เมืองจ.เชียงใหม่ รายละเอียดเพิ่มเติมที่ChiangMaiHouseofPhotography 30
SPACE & TIME
“เราเรียนกาแฟ จากหลายที่ แล้วก็ดง ึ ความรู้ ทัง ้ หมดมาผสมๆ กันเพื่อท�าร้านนี”้ ‘อีฟ’ – อนุสรา สิงห์คา�
ร้านกาแฟสไตล์อินดัสเตรียลที่ตั้งใจเสิร์ฟ เมนูกาแฟที่ทุกคนดื่มได้
KRAFT KAFE
Soi Lat Phrao 71, Khwaeng Lat Phrao, Khet Lat Phrao, BKK 10230 Open: Daily 09.00-17.00 Facebook: Kraft Kafe Tel.: 09-9078-4078
่ นาดกว้าง ณ ซอยนาคนิวาส 30 ก่อน จนกลายเป็นจุดเริ่มต้น ด้วยความตั้งใจที่จะเปิดร้านกาแฟที่เชียงใหม่ แต่ไปๆ มาๆ กลับได้พ้ืนทีข ของร้านกาแฟ Kraft Kafe สาขาแรก ที่มีหัวใจส�าคัญคือเสิร์ฟเมนูกาแฟที่ทุกคนสามารถดื่มได้ เรามีโอกาสได้คย ุ กับเจ้าของร้าน ‘อีฟ’ - อนุสรา สิงห์คา � ทีช ่ น ื่ ชอบกาแฟมาก เสียจนหาโอกาสไปเรียนท�ากาแฟหลายคลาส โดยเน้ นที่คลาส Cupping ซึ่งคือ การชิมกาแฟ เธอใช้ความรูต ้ รงนั้นเสาะหาเมล็ดกาแฟทัว ่ เลือกสิง ่ ีทส ี่ ด ุ ่ ทีด ่ ไทย เพือ มาเสิรฟ ์ ที่รา้ นนี้ “ที่ นี่ เราค� า นึ ง ถึ ง รสชาติ ก าแฟมาก ซึ่ ง ส่ ว นมากคนไทยจะชอบกาแฟนม เราก็พยายามหากาแฟทีจ ่ ะมีรสชาติเข้ากับนมได้ดีทส ี่ ด ุ กินกับนมแล้วอร่อย ซึง่ ก็ได้ เมล็ดจากเชียงราย อีกอย่างทีเ่ ราชอบคือบรรยากาศในร้านกาแฟ เลยสร้างบรรยากาศ เหล่านั้นไว้ที่นี่ด้วย” ก้าวแรกทีเ่ ราเดินเข้ามาก็เห็นความโปร่งโล่ง ปูนเปลือยแบบอินดัสเตรียลและ เต็มไปด้วยต้นไม้ มีโต๊ะทีน ่ งั่ หลากหลาย และทุกทีน ่ งั่ มีปลัก ๊ เหมาะมากส�าหรับฟรีแลนซ์
ISSUE 605
26 AUG 2019
หรือคนที่อยากมานั่งท�างานเปลี่ยนบรรยากาศ โดยเฉพาะด้านหลังร้านที่ตกแต่ง เหมือนเป็นป่าย่อมๆ เลยทีเดียว เมนู แนะน� า คื อ Kraft Koffee Tonic ที่ มิ ก ซ์ กั น ระหว่ า งช็ อ ตเอสเปรสโซ และความซ่าของ Sparkling Lemon เหมาะมากส�าหรับคนทีอ ่ ยากได้เครือ ่ งดืม ่ เฟรชๆ ปลุกให้ตื่นในวันอากาศร้อน หรือจะลอง Black Cocoa ที่ผสมผสานความหวาน และความขมของนม โกโก้ และช็อตเอสเปรสโซ นัง่ ท�างานจนท้องหิวต้องลองเมนูขนมซิกเนเจอร์ Hot Cake แพนเค้กหนานุม ่ ที่ ท� า สดใหม่ ต ลอด มี ท็ อ ปปิ้ งเป็ น ผลไม้ ต ระกู ล เบอรี และไอศกรีม ที่ ช่ ว ยให้ เ ย็ น สดชื่น
31
เรือ ่ ง : พชร สูงเด่น
BREATHE IN ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ
‘หมดไฟ’ แต่จะไปต่อ ข้อคิดเติมไฟในกลางปี CONTRIBUTOR
พชร สูงเด่น นักศึกษำทุน Erasmus Mundus ด้ำนกำรศึกษำเพือ ่ กำรพัฒนำ เรียนรู้ นอกห้องเรียนด้วย กำรเดินทำงไปยัง เมืองต่ำงๆ ในยุโรป
่ ยไหม สิง ่ น ้ บ “เหนือ ั ได้คอยเฝ้าดู ยิง ้ ง ิ่ ห่วงใย…” พี่เบิรด ์ หรือคนรุน ่ พ่อแม่เราอาจอยากถามค�าถามนีก ั ชาวมิลเลนเนียล ่ ทีเ่ ธอท�าอยู่ สิง ่ ทีฉ ่ รูย วั ย รุ่ น ตอนปลาย วั ย ท� า งานกลางคน มนุ ษ ย์ รุ่ น ที่ ถู ก กล่ า วขานว่ า เป็ น ยุ ค สมั ย ที่ ห มดไฟ (burnout) ง่ า ย แม้ ตั ว ช่ ว ยในการท� า งาน ในการใช้ชีวิตจะมีมากมาย แต่ดูเหมือนยิ่งโลกมีวิวัฒนาการไปมากเท่าไหร่ ความกดดันว่าเราต้องพัฒนาตัวเองให้เก่งขึ้นดีขึ้นก็ทวีคูณ เพิ่มขึ้นตามกัน ในยุคสมัยที่งานต้องท�า ชีวิตต้องใช้ จะไม่หมดไฟได้อย่างไรกัน ล่าสุด The Guardian ได้ตง ั้ ข้อสังเกตว่า ้ อกจากจะเกิดขึน ้ กับคนยุคสมัยนี้ อาการหมดไฟนีน ง่ายกว่ายุคก่อนๆ แล้ว ยังมีทีท่าว่าจะเกิดขึ้น ่ ด ่ ก ในช่วงเวลากลางปีมากทีส ุ ข้อสังเกตทีถ ู ยืนยัน ด้วยแบบสอบถาม ‘Could you be suffering ่ า� ตอบออกมา from mid-year burnout?’ ทีค ้ ว ่ วข้อง คล้ายกันว่า อาการหมดไฟนีส ่ นมากมักเกีย ่ งงาน ครัน กับเรือ ี่ า่ นความรูส ้ ก ึ ้ ช่วงเวลากลางปีทผ กระตือรือร้นพร้อมเริม ใหม่ ใ นต้ น ปี ม าค่ อ นปี กว่ า จะ ่ ่ ง ได้เฉลิมฉลองอีกรอบก็ดอ ู ก ี ไกล เป้าหมายทีต ั้ ไว้ ก็ไม่คอ ่ ยจะไปถึงไหน… (และอีกสมมติฐานว่าเป็น ผลจากอากาศหน้ า ร้ อ นในอั ง กฤษที่ ท� า ให้ ผู้ ค น ่ ยง่ายเป็นพิเศษ อากาศหม่นๆ ชืน ้ แฉะในหน้าฝน เหนือ ก็ท�าเอาเราหมกตัวในห้อง ไม่ต่างกับชาวบริติช) หากคุณก�าลังก่นด่าโทษว่าเป็นความขีเ้ กียจ ของตัวเองก็อาจสบายใจได้บ้าง เมื่อองค์การ อนามัยโลก (WHO) ได้ชใี้ ห้เห็นว่านีไ่ ม่ใช่เรือ ่ งของ ปัจเจกบุคคล แต่เป็น ‘ปรากฏการณ์วัยท�างาน’ (Occupational Phenomenon) ทีเ่ ราล้วนต่าง เคยเผชิญ WHO ชี้แจงให้ผู้คนแยกแยะอาการหมด ไฟออกจากอาการซึมเศร้า โดยได้อธิบายไว้ว่า อาการหมดไฟมีลก ั ษณะอาการคือรูส ้ ก ึ หมดแรง ไม่ มี ค วามสุ ข กั บ งานที่ ท� า และประสิ ท ธิ ภ าพ ในการท�างานลดลง ทัง้ หมดนี้ไม่ใช่อาการทีต ่ อ ้ ง ได้ รบ ั การรักษาทางการแพทย์ แต่ เป็นเรือ ่ งที่ ทุกคนสามารถจัดการให้ดีขึ้นได้โดยตนเอง อาการหมดไฟกลายเป็นวาระระดับโลก จน WHO ถึงขัน ้ ต้องออกมาป่าวประกาศจ�าแนก ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ร ะ ห ว่ า ง โร ค ซึ ม เ ศ ร้ า แ ล ะ ปรากฏการณ์หมดไฟ เพื่อป้องกันไม่ให้มนุษย์ ทีม ่ จ ี ริตชอบเหมารวม เพลียกับสิง่ หนึ่งแล้วพาล เหมารวมว่าสิ่งที่เหลือนั้นแย่ไปหมดด้วยเสมอ จนเดี๋ ย วจะเผลอลาออก วิ่ ง หนี จ ากมั น ไปซะ
ทางหนีทีไล่ที่ง่ายที่สุดเวลาเกิดปัญหา แต่หาก เราแก้ปญ ั หาด้วยการวิง่ หนี เราจะต้องวิง่ หนีไป อี ก ไกลเท่ า ไหร่กั น ท้ า ยสุ ด การวิ่ ง หนี น้ั น อาจ กลายเป็ น ความเหนื่ อ ยล้ า ยิ่ ง กว่ า เดิ ม จนอาจ กลายเป็นซึมเศร้าขึ้นมาจริงๆ ด้วยซ�าไป เบน แฟนนิง (Ben Fanning) ผู้เขียน The Quite Alternative ได้ เ ล่ า ประสบการณ์ ไว้ ในหนังสือว่า เขาเองวนเวียนอยูก ่ บ ั อาการหมดไฟ ในที่ท�างานมาโดยตลอด อาการที่เหมือนจะดี ขึน ้ หน่อยเมือ ่ ได้เปลี่ยนงาน แต่สด ุ ท้ายอาการนี้ ก็ วนกลั บมาเล่ นงานเขาอยู่ ซ� า แล้ วซ� า เล่ า เมื่ อ เริ่ม เห็ น วงโคจรอั น ไม่ มี ที่ สิ้ น สุ ด เบนจึ ง ตัดสินใจที่จะหยุดวิ่งหนี และเผชิญหน้ ากับมัน จนค้ น พบว่ า การวิ่ ง หนี นั้ น ง่ า ยในระยะสั้ น แต่ทางทีด ่ ก ี ว่าในระยะยาวคือเผชิญกับสิง่ ทีเ่ ป็น ให้ได้ แต่ไม่ใช่เผชิญแบบจ�านนยินยอม หากพร้อม ที่ จ ะปรับ ตั ว หาวิ ธี ก ารใหม่ ๆ ในการเดิ น บน เส้นทางนั้น แล้ ว เราจะเดิ น ใหม่ บนเส้ น ทางเก่ า ได้ อย่างไรกัน? ตั้ งค� าถามว่ า งานที่ ท� า อยู่ นั้ นต้ องท� า แบบนั้นจริงๆ เหรอ แค่เพียงเพราะมีใครเคยท�า แบบนั้น ไม่ได้หมายความว่าเราต้องท�าเช่นนั้น ลองตั้งค�าถามกับงานที่ท�าซ�าๆ อยู่ทุกวันด้วย ความเคยชิน เพียงเพราะในวันแรกที่เราเข้ามา มีคนท�าไว้แบบนั้ น แล้ วเราก็ เดิ นๆ ตามกั นไป โดยลื ม มองว่ า จริง ๆ แล้ ว เราท� า แบบอื่ น ก็ ไ ด้ เช่น ไม่ต้องท�ารายงานกระดาษ แต่เข้าไปสรุป ให้ทีมฟังได้ เลยหรือเปล่ า การประชุมไม่ต้อง เคร่งขรึมยาวนานแบบนัน ้ ได้ไหม ฯลฯ ตัง้ ค�าถาม ว่าอะไรกันทีจ ่ ริงๆ แล้วเป็นเรือ ่ งส�าคัญทีต ่ ้องท�า ค้นหาว่างานอะไรที่ท�าให้เราสนุ ก อะไรท�าให้ เฉื่อยชา แล้วผสานมันเข้าด้วยกัน รู ้จั ก ตั ว เองให้ ดี ก่ อ นที่ จ ะกระโจนเข้ า ไป ท�างาน ถามตัวเองว่าอะไรกันที่เป็นความสนใจ
ของเรา โดยไม่ยึดติดกับรู ปแบบของงานนั้นๆ เช่น หากเป็นคนชอบสอน ชอบแชร์ เราสามารถ เอาความชอบนีไ้ ปผสานกับงานทีท ่ า� ได้หรือเปล่า จัด session ถอดบทเรียนสนุกๆ ให้เพือ ่ นร่วมงาน ได้ เรีย นรู ร้ ว ่ มกั น ได้ ไหม ผสานสิ่ ง ที่ ท� า เพราะ ‘อยากท�า’ เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของสิง่ ที่ ‘ต้องท�า’ โดยไม่ต้องรอให้ใครสั่งการ ฉันคิด ฉันจึงหมดไฟ งานวิ จั ย ด้ า นประสาทวิ ท ยาได้ ยื น ยั น ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดมากและการหมดไฟ เพราะสมองใช้พลังงานเปลือง เมือ ่ เทียบกับอวัยวะ ที่ ม วลเท่ า กั น ในร่า งกาย และเมื่ อ ยิ่ ง เครีย ด เลือดก็ยิ่งข้น ยิ่งท�าให้สมองท�างานหนักเข้าไป ใหญ่ จึงไม่แปลกอะไรหากคนคิดมากจะเหนื่อย ง่ายกว่าคนปกติ ข้อยืนยันทางวิทยาศาสตร์ถงึ การเผาผลาญ พลังงานของสมองทีส ่ อดคล้องกับหลักจิตวิทยา ที่เชื่อว่าว่า ‘ทัศนคติน้ันคือทุกสิ่ง’ (attitude is everything) หากคิดว่าแย่ มันก็จะแย่ ยิ่งคิด ว่ า ยาก มั น ก็ ย่ิ ง ยาก ราวกั บ ว่ า สมองต้ อ งใช้ พลังงานส่วนหนึง ่ ในการจัดการกับความเหนือ ่ ย ทีค ่ ด ิ ไปล่วงหน้า ทางทีด ่ ท ี ส ี่ ด ุ อาจเพียงแค่ลงมือ ท�าไปเลย ให้สมองได้ผ่อนคลาย ให้หายใจได้ ช้าลง เผาผลาญพลังงานน้อยลง ปรับทัศนคติ ที่ส่งผลตรงกับการหมดไฟ “เหนื่อยไหม สิ่งที่เธอท�ำอยู่…” ครัง้ ต่อไป หากเริม ้ ึกหมดไฟ อาจเพียง ่ รูส แค่ พั ก บ้ า ง เปิ ด เพลงพี่ เบิ ร ์ด ช้ า ๆ แต่ ไ ม่ ต้ อ ง ถอนหายใจแล้ ว ตอบว่ า เหนื่ อ ย อาจเพี ย งแค่ ร้ อ งเพลงคลอ ตอบพี่ เ บิ ร ์ ด หรื อ คนข้ า งๆ ว่าเหนื่ อยบ้าง เพลียบ้าง เป็นธรรมดา แต่ จะ เดินหน้าต่อไป
32
เรือ ่ ง : สีตลา ขาญวิเศษ
BREATHE IN ภาพ : อุษา นพประเสริฐ
การย้ายไปแบบธรรมดา เช่น ปรับต�าแหน่ง ้ มาหนึง ่ สเต็ป สูตรการเรียกเงินทีท ่ า� โดยทัว ขึน ่ ไป คือ ขอขึ้นมาประมาณ 20% เช่น ถ้าเคยได้ 25,000 บาท ก็ขอมาเป็น 30,000 บาท เป็นต้น แต่ ก ารย้ า ยไปเป็ น ‘คนเปลี่ ย นเกม’ (Game Changer) การขึ้ น เงิ น เดื อ นไม่ ไ ด้ พู ดกั น เป็ น เปอร์เซ็นต์ แต่วา่ กันเป็นกีเ่ ท่าตัว เช่น เงินเดือน ้ มาเป็น 300,000 บาท 100,000 บาท ขึน ซึ่ ง ใน บทค วามนี้ จะขอพู ด ถึ งการขึ้ น เงินเดือนแบบทีส ่ อง เพราะแบบแรกเป็นการเดิน ตามเกมที่คนอื่ นก� าหนด แต่ แบบที่สองคื อเรา เป็นคนก�าหนดราคาเอง และแน่นอนว่าพอเป็น คนก� า หนดราคาก็ ย่ อ มได้ ร าคาดี ก ว่ า ตลาด โดยการเรี ย กเงิ น เดื อ นแบบที่ ส องนั้ น ต้ อ ง ประเมินจากปัจจัยอย่างน้อย 3 ด้าน ได้แก่ 1. ขนาดของบริษัท ตรรกะง่ า ยๆ ถ้ า บริ ษั ทมี ร ายได้ น้ อ ย การเรี ย กเงิ น เดื อ นสู ง ๆ ย่ อ มเป็ น ไปได้ ย าก แต่ ถ้ า เป็ น บริษั ท มี ร ายได้ ม หึ ม า การจะเรีย ก เงินเดือนสูงไม่ใช่เรือ ่ งแปลก เช่น ถ้าบริษัทมีรายได้ต่อปี 30 ล้านบาท เราจะไปขอเงิ น เดื อ นปี ล ะแสน หรือ ตกปี ล ะ ล้านกว่าๆ การขอเงินเดือนแบบนีถ ้ อ ื เป็นเรือ ่ งใหญ่ ของบริษัท ถ้าไม่ใช่วา ่ เราคือตัวเปลี่ยนเกมจริงๆ แบบที่ ว่ า บริษั ท ก� า ลั ง จะขาดทุ น แล้ ว เราคื อ คนทีพ ่ ลิกให้มาเป็นก�าไร การขอเงินเดือนเป็นแสน ก็เป็นเรือ ่ งลมๆ แล้งๆ แน่นอน ทว่า ถ้าบริษัทขนาดหมืน ่ ล้านบาท การขอ เงินเดือนปีละล้านกว่าบาท ย่อมไม่ใช่เรือ ่ งใหญ่ เหมือนคุณมีเงินหมืน ่ เสียไปบาทหนึ่งยังไม่รูส ้ ก ึ อะไร แต่ถา้ คุณมี 30 บาท เสียไปบาทหนึง่ ก็มรี ส ู้ ก ึ บ้างเหมือนกัน ฉะนัน ้ ถ้าคิดอยากได้เงินเดือนสูง ต้องประเมินก่อนว่าขนาดบริษัทใหญ่พอจะพร้อม issue 605
26 AuG 2019
จ่ายเราไหม 2. บริษัทก�าลังขยายขนาดใหญ่ข้น ึ แค่ไหน ถัดมาก็ต้องดูประกอบด้วยว่าบริษัทก�าลัง ขยายขนาดใหญ่ขน ึ้ แค่ไหน บางทีบริษัททีจ ่ ะเข้าไป ท� า อาจยั ง กลางๆ แต่ ถ้ า เกิ ด เป็ น บริษั ท ที่ คิ ด จะขยายใหญ่ โอกาสทีจ ่ ะเข้าไปขอเงินเดือนสูงๆ ก็ ย่ อ มเป็ น ไปได้ ถ้ า ต� า แหน่ ง ที่ เราเข้ า ไปมี ผ ล โดยตรงกับการขยายขนาดของบริษัท นี่จึงเป็นเหตุผลทีค ่ นอยากเร่งไต่เงินเดือน จะไม่เข้าไปท�าในบริษัทไซซ์มหึมาในทันที แต่ มาสร้างเวทีที่บริษัท ‘ก�าลังโต’ ก่อน เพราะมอง ว่านีเ่ ป็นเวทีทพ ี่ วกเขาจะปล่อยของ พอวันทีผ ่ ลงาน พวกเขาฉายแววจนเตะตาบริษัทใหญ่คอ ่ ยไปเร่ง ขึ้นเงินอย่างก้าวกระโดดอีกรอบแทน ในทางกลับกัน เรือ ่ งการขยายขนาดบริษัท ก็ยงั ให้มม ุ มองกับคนทีค ่ ด ิ อยากเติบโตได้อก ี ด้วย ว่าควรอยู่ต่อหรือออกไปลุยที่อื่นแทน กล่าวคือ โดยทัว ้ กว่า ่ ไป ทุกบริษัทจะต้องตัง้ เป้าก�าไรสูงขึน ปีกอ ่ น อย่างน้อย 5-10% เหตุผลใหญ่ๆ เลย เพราะ พนักงานต้องปรับเงินเดือนทุกปี ถ้าบริษัทไม่โตขึน ้ แล้วจะเอาเงินที่ไหนไปปรับเงินเดือนพนักงาน ฉะนัน ่ อฟฟิศทีโ่ ตขึน ้ ปีละ 5-10% ้ ถ้าเราท�างานอยูอ ก็พนันได้เลยว่าเราจะขอขึ้นเงินเดือนตัวเองได้ ไม่เกินนี้ ดังนัน ั ว่าอยากได้เงินเดือนขึน ้ ติดจรวด ้ ถ้ามีฝน ก็ ต้ อ งหั น กลั บ มาประเมิ น ด้ ว ยว่ า ออฟฟิ ศ นั้ น ก�าลังโตแบบไหน โตแบบเล็กหรือโตแบบยิง่ ใหญ่ เพราะถ้าโตแบบใหญ่ นัน ่ แปลว่ามันมีโอกาสทีเ่ รา จะเข้าไปเป็นกุญแจให้บริษัท ซึง่ ก็เป็นโอกาสทีเ่ รา จะต่อรองขึ้นเงินเดือนแบบติดจรวดในอนาคต 3. มูลค่าที่เราจะสร้างให้บริษัท ทั้ ง หมดทั้ ง มวลไม่ ว่ า บริษั ท จะไซซ์ เป็ น อย่างไร หรือโตมากน้อยแค่ไหน สุดท้ายก็ต้อง
มาวัดที่ฝีมือของเราว่าเราคื อกุญแจดอกนั้นที่ เขาตามหาจริงๆ ถ้าเราเข้าไปเป็น ‘คนสร้างเงิน’ หรือ ‘คน ประหยัดเงิน’ ให้บริษัทได้อย่างมหาศาล แบบนี้ ก็ มีอ�านาจต่ อรองที่จะเรียกเงินเดื อนสูงๆ เช่น จะเข้าไปท�างานด้านการตลาด เราบอกบริษัท ว่าสามารถท�าเงินให้เขาได้มากกว่า 15 เท่าของ เงินเดือนทีเ่ ราขอ แบบนี้ก็ยอ ่ มเป็นไปได้ทเี่ ขาจะ รับดีล เพราะแปลว่าเขาลงทุนแล้วคุม ้ ค่า คือยอม จ่ายเยอะหน่อย แต่ก็ได้เงินเยอะขึ้น หรือบางทีเข้าท�างานด้านไอที แล้วบอก บริษั ท ว่ า เราจะเอาเทคโนโลยีและระบบใหม่ เข้ามาใช้ ทีจ ่ ะช่วยประหยัดต้นทุนบริษัทลงเกือบ 80 ล้ า นบาทต่ อ ปี แบบนี้ จ ะเรีย กเงิ น เดื อ น เป็นแสนๆ ก็ไม่ใช่เรือ ่ งยาก เพราะเขาจ่ายเรา 1 แต่เราช่วยเขาประหยัดได้เกือบ 40 โดยสรุปแล้ว ก่อนจะเรียกเงินเดือน สิง่ แรก ที่ต้องคิ ดก่ อนคื อเราเข้าไปเป็นฟันเฟือง หรือ เข้ า ไปเป็ น กุ ญ แจให้ บ ริษั ท ถ้ า เป็ น แบบแรก การเรียกเงินก็คด ิ แบบง่ายๆ คือคิดจากราคากลาง ในตลาด เช่ น จะไปเป็ น ผู้ จั ด การ ราคาอยู่ ที่ 35,000-45,000 บาท ก็เรียกไปสุดเพดานแล้ว รอให้บริษัทต่อลงมาอีกที หรือคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ เช่น ขอขึ้น 20% กล่าวคือสูงกว่าเรตเงินเดือน ที่ เก่ า ที่ ป รับ ขึ้ น ทุ ก ปี 5-10% ขึ้ น มาอี ก หน่ อ ย จาก 30,000 ก็มาเป็น 36,000 บาท แต่ ถ้าจะเข้าไปเป็นกุญแจ การเรียกเงิน ไม่ได้ ใช้สูตรทั่วไป แต่ ดูกันที่มูลค่ าที่เราจะไป ท�าให้เขา ถ้าเราท�าให้เขาได้เยอะ เราก็เรียกได้เยอะ พูดอีกอย่างคือการขึ้นเงินเดือนแบบแรก ใช้ราคากลางตลาดเป็นตัวตัง้ แต่ถา้ เป็นแบบทีส ่ อง อยูท ่ ถ ี่ า้ เราก�าหนดได้วา่ เรามีศก ั ยภาพท�าประโยชน์ ให้บริษัทนั้นได้เท่าไหร่ เราก็มส ี ท ิ ธิก ์ �าหนดราคา ค่าตัวเราด้วยเช่นกัน
33
เรียกเงินเดือนเท่าไหร่ดี? งั้นมาลองถาม 3 เรื่องนี้ก่อน
การเรียกเงินเดือนก็เหมือนการตั้งราคาสินค้า (Pricing) ซึ่งมีทั้งคนที่ตั้งแล้วได้ราคาดีและได้ราคาไม่ดี แต่เหนือสิ่งอื่นใด ต้องดูด้วยว่า ตั ว เรานั้ น ก� า ลั ง ขายตั ว เองแบบไหน ขายแบบสิ น ค้ า ทั่ว ไป? หรื อ สิ น ค้ า พรี เ มี ย ม? พู ดอี ก อย่ า งคื อ ก่ อ นจะคิ ด เรื่อ งเรี ย กเงิ น เดื อ น อาจต้องคิดก่อนว่าเราก�าลังจะย้ายไปท�างานแบบธรรมดา หรือแบบไม่ธรรมดา กล่าวคือย้ายไปรับต�าแหน่งเดิมหรือสูงขึ้นกว่านิดหน่อย หรือก�าลังย้ายไปเป็น ‘กุญแจ’ ให้กับบริษัท เพราะการย้ายงานแบบหนึ่งกับแบบสองมีวิธีคิดการเรียกเงินที่แตกต่างกัน
CONTRIBUTOR
สีตลา ชาญวิเศษ นักเขียน คนท�ำงำน ด้ำนวำงแผนคอนเทนต์ นักบรรยำย ด้ำนกำรตลำด สร้ำงสรรค์และ กำรเล่ำเรือ ่ ง
เรือ ่ ง : วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ
EDITOR’S NOTE ภาพ : อุษา นพประเสริฐ
BIRDMAN
ฟาร์ราห์ ฟอว์เซ็ตต์ ตายวันเดี ยวกั บ ไมเคิล แจ็กสัน แต่ไม่ค่อยมีใครจดจ�า ชี วิ ต จะมี ค วามหมายอะไร ถ้ า เรา อยูอ ่ ย่างไม่มต ี ัวตน และตายไปโดยไม่มใี คร จดจ�า?? ผมคิดว่า Birdman และ Whiplash บอกเล่าในประเด็นเดียวกันเลย ตัวเอกของ ทัง้ สองเรือ ่ งหมกมุน ่ อยูก ่ บ ั ตัวเอง โดยคาดหวัง การยอมรับจากภายนอก คนหนึง ่ หวดกลอง จนมือแตก เลื อดหยดแหมะบนหนั งกลอง อี กคนหนึ่ งอยากกลั บมามีชื่อเสียงอี กครัง้ กระเสือกกระสนดิ้นรนยอมท�าได้ทุกอย่าง แม้กระทั่งการฆ่าตัวตาย นักวิจารณ์ใน Birdman เหมือนกันกับ คุณครูเฟลตเชอร์ใน Whiplash เธอและเขา คือสิ่งที่เป็น deep dark fear ในใจของเรา ทุกคน คนทีเ่ รากลัวสุดขีด เรากลัวเพราะว่า ตั วตนของเราขึ้นอยู่กับการตั ดสินของเขา เขาตัดสินเราได้ เพราะเรายึดถือว่าเขาคือ social approval ลู ก สาวเถี ย งกั บ พ่ อ ที่ เป็ น ดาราตกกระป๋ อ ง... พ่ อ ต้ อ งยอมรับ นะ ว่ า ไอ้ ที่ พ่ อ ก� า ลั งท� า อยู่นี่มันไม่ใช่เพื่อ ศิลปะอะไรเลย พ่อท�าเพราะต้องการจะกลับมาเป็นทีส ่ นใจ อีกครัง้ หนึ่ง ซึง่ โลกข้างนอกนั่นก็เต็มไปด้วย ผู้ ค นที่ ต่ อ สู้ ดิ้ น รนเพื่ อ ให้ ค นอื่ น มาสนใจ เหมือนกัน พ่อเองก็ทา� อย่างกับว่ามันไม่มอ ี ยู่ จริง เรือ ่ งราวมากมายเกิดขึ้นในที่ที่พ่อเมิน ใส่มัน และมันก็เมินใส่พ่อเช่นกัน I mean... Who are you? ค�าถามคือ แท้จริงแล้วเราคือใคร? ค� าตอบคื อ แท้จริงแล้ วเราว่างเปล่ า ไม่ได้ เป็นอะไรเลย เราไม่ได้ เป็นอะไรเลย จนกว่าจะมีคนอื่นมายืนยันตัวตนของเรา ความเป็นตั วของตั วเองเป็นแค่ ภาพ เพ้อฝัน เป็นคอนเซ็ปต์ทางการตลาดทีค ่ นขาย เขาเอาใส่ ไว้ ในสิ น ค้ า อะไรก็ ต าม แฟชั่ น แกดเจ็ ต น� า อั ด ลม รถยนต์ ฯลฯ เพื่ อ ที่ เรา จะได้ ซื้ อ ไปด้ ว ยความหลงผิ ด คิ ด ว่ า นี่ คื อ การตัดสินใจเลือกด้วยตัวเราเอง แท้จริงแล้ว เราไม่ได้ เลื อก ไม่ได้ มีความต้ องการ ไม่มี ความหมายใดๆ และไม่มีจุดประสงค์ ใดๆ จนกระทั่งมีคนอื่นมาก�าหนด ตั วละครซูเปอร์ฮีโร่ Birdman ที่เคย โด่งดัง คือตัวแทนสังคมทีค ่ อยตามหลอกหลอน เมื่อดาราตกกระป๋องคนหนึ่ งถอดตัวตนนี้ ออกไป ภายในนัน ้ จึงกลวงเปล่า และเขาก�าลัง โหยหาอะไรอย่างอื่นจากภายนอกมาถมใส่ เข้าไปอีกครัง้ เขาไปหาเอาจากความเห็ นของนั กวิจารณ์ผช ู้ วั่ ร้าย จากนักข่าวทีถ ่ ามแต่เรือ ่ งราว กอสสิป หรือจากนักวิชาการทีอ ่ วดภูมริ ป ู ้ รัชญา วรรณกรรม จากเพือ ่ นนักแสดง จากลูกและ เมี ย และจากคนที่ ม าดู ล ะครเวที ข องเขา ทัง้ หมดทัง้ ปวงมาถมใส่รวมกันแล้วก็ยงั ใหญ่ ไม่เท่าตัวตนเก่า ลู ก สาวของเขาพู ด ต่ อ ... พ่ อ เกลี ย ด บล็อกเกอร์ พ่อเยาะเย้ยทวิตเตอร์ พ่อไม่มี แม้กระทัง่ เพจเฟซบุก ๊ พ่อเองนั่นแหละทีไ่ ม่มี ตัวตน!! ในขณะที่ แ ต่ ล ะวั น ๆ เราได้ เห็ น ข่ า ว ดาราและคนดังระดับโลกล้มหายตายจากไป คนแล้วคนเล่า เราคอยโพสต์ขอ ้ ความไว้อาลัย แก่ พวกเขา แต่ ผมไม่แน่ ใจว่าจะมีสักกี่ คน ที่รูส ้ ึกผูกพันกับเขาจริงๆ โซเชียลมีเดี ยท�าให้ ความตายแบบนี้
มี ค วามส� า คั ญ ขึ้ น มา เพราะมั น เป็ น viral เป็น meme เป็น media sensation ใน Birdman ก็เช่นกัน หลังจากทีพ ่ ระเอก เดินแก้ผา ้ ไปบนท้องถนนรอบโรงละคร และ ถูกผู้คนมากมายถ่ายภาพ ถ่ายคลิป แชร์ใส่ โซเชียลมีเดีย เรือ ่ งน่าละอายของเขากลายเป็น viral ในทั น ที พอกลั บ เข้ า ไปในโรงละคร ลูกสาวดูกระตือรือร้นขึ้นมา เปิดทวิตเตอร์ ให้เขาดูวา่ มีคนแชร์คลิปนีไ้ ปแล้วหลายล้านคน โซเชียลมีเดียจึงได้กลายเป็น social approval แบบใหม่ และมันก็จะเป็น deep dark fear ในใจของเราด้วย เราไม่ได้ ตีกลองเพื่อศิลปะ เราไม่ได้ แสดงละครเวทีเพื่อศิลปะ เราแค่ ต้องการ social approval ต่อสูด ้ น ิ้ รนเพือ ่ การยอมรับ จากสังคม โซเชียลมีเดียจึงกลายเป็นครูเฟลตเชอร์ และนั กวิจารณ์ ผู้ชั่วร้าย ที่เราจะต้ องคอย เอาอกเอาใจ ด้วยความรูส ้ ก ึ deep dark fear อยู่ภายใน ค�าถามคือ เราคือใคร?? ค�าตอบคือ เราไม่ได้เป็นใครเลย เราแค่ โพสต์ในสิง่ ทีค ่ ด ิ ว่าเพือ ่ นเราจะชอบไปเรือ ่ ยๆ เพราะเราอยากได้ ก ารยอมรับ เพราะเรา ไม่อยากถูกลืม
34