606 607 608
TODAY EXPRESS PRESENTS
09 SEP 2019
the neverending
CONTENTS 607
606 607 608
TODAY EXPRESS PRESENTS
09 SEP 2019
P08
THE CONVERSATION ภารกิจทีไ่ ม่มว ี น ั สิน ้ สุดลงของ อาจารย์ รตยา จันทรเทียร ผูร ้ ว ่ มก่อตัง ้ และอดีต ประธานมูลนิธส ิ บ ื นาคะเสถียรคนแรก
P18
HE SAID ่ ง ‘อัตลักษณ์’ ในฐานะ ร่วมตัง ้ ค�าถามเรือ คนท�างานศิลปะกับ ‘ป้อม’ - พุ ทธิพงษ์ อรุณเพ็ง
the neverending ครั้ ง แรกที่ เ ราโทรศั พ ท์ เ พื่ อ ขอติ ด ต่ อ สั ม ภาษณ์ อาจารย์รตยา จันเทียร ในวาระครบรอบ 29 ปี การก่อตัง ้ ่ ่ ่ มูลนิธส ิ บ ื นาคะเสถียร ซึงอาจารย์เป็นบุคคลหนึงทีเฝ้ามอง การเติบโตของมูลนิธิมาโดยตลอด ในฐานะประธานมูลนิธิ คนแรก พร้อมกับผ่านหลายภารกิจใหญ่ ที่ยืดหยัดรักษา สิ่งแวดล้อมของประเทศไทยมาจนถึงปัจจุบัน น�้ า เสี ย งของอาจารย์ จ ากปลายสายยั ง คงสดใส เต็ ม ไปด้ ว ยพลั ง งาน และตอบรั บ นั ด หมายของเราด้ ว ย ่ เรามารูภ ความยินดี ซึง ้ ายหลังว่า ในวัยจะก้าวเข้าสูป ่ ีท่ี 88 ของชี วิ ต อาจารย์ ยั ง คงเดิ น ทางไปท� า งานที่ มู ล นิ ธิ ฯ สั ป ดาห์ ล ะสองวั น พร้ อ มกั บ ค� า พู ดที่ บ อกว่ า เพราะงาน ท�าให้อาจารย์มีชีวิตอยู่ได้ วั น นั้ น เราเดิ น ทางไปพบอาจารย์ ท่ี บ้ า นย่ า นเอกมั ย นั่ ง คุ ย กั น ในบรรยากาศของสวนหลั ง บ้ า นที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ย ต้นไม้ใหญ่ไม่ต่างจากป่าขนาดย่อมๆ ซึ่งสร้างความรู้สึก แปลกใจให้เรา เพราะไม่คด ิ ว่าพื้นทีใ่ จกลางเมืองแบบเอกมัย จะมีความเขียวชอุ่มแบบนี้ และตลอดเวลากว่า 3 ชั่วโมง ที่เราได้พบอาจารย์ เราได้รับฟังเรื่องราวเส้นทางอนุรักษ์ ที่น่าสนใจ และบางเรื่องเราก็ไม่เคยรู้มาก่อน ซึ่งเราอยาก ให้คุณไปอ่านแบบเต็มๆ ในบทสัมภาษณ์ชิ้นนี้
P22
FEATURE ความจริ ง อั น น่ า เจ็ บ ปวดและวิ ก ฤต สิ่ ง แวดล้ อ มที่ พ ะยู น ในท้ อ งทะเลไทย ต้ อ งพบเจอ ผ่ า นชุ ด ภาพถ่ า ยโดย ทอม โพธิสท ิ ธิ์
P30
A THOUSAND WORDS RIGHTS | TYPE ภาพเหมื อ นคนดั ง ผ่ า น เ ค รื่ อ ง พิ ม พ์ ดี ด ส ะ ท้ อ น ก้ อ ง ความเห็ น ผ่ า นศิ ล ปะ
P31
SPACE & TIME Mustmeat ร้านเนื้อที่น�าส่วนต่างๆ ของวัวมาปรุงด้วยความสนุกจนได้เป็น อาหารจานอร่อย
P34
EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิ ก าร ทั ศ นคติ ต่ อ ชี วิ ต และสั ง คมผ่ า นสายตาของ วุ ฒิ ชั ย กฤษณะประกรกิจ
TEAM ที่ ป รึ ก ษา สุ ร พงษ์ เตรี ย มชาญชั ย บรรณาธิ ก ารที่ ป รึ ก ษา นิ ภ า เผ่ า ศรี เ จริ ญ บรรณาธิ ก ารผู้ พิ ม พ์ โ ฆษณา/บรรณาธิ ก ารบริ ห าร วุ ฒิ ชั ย กฤษณะประกรกิ จ รองบรรณาธิ ก ารบริ ห าร ฆนาธร ขาวสนิ ท บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัตก ิ ล ุ ชยพล ทองสวัสดิ์ นักเขียน/ผูป ้ ระสานงาน ตนุภท ั ร โลหะพงศธร หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกต ิ ติบต ุ ร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิม ิ ก ั ษณ์ ตะเภาหิรญ ั ศิลปกรรม ฐิตช ิ ญา อนันต์ศร ิ ภ ิ ณ ั ฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสจ ู น์อก ั ษร หัสยา ตัง ้ พิทยาเวทย์ ้ แย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิรล ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล กวิ น นาฏ หั ว เขา ที่ ป รึ ก ษาฝ่า ยโฆษณา ศรวณี ย์ ศิ ริ จ รรยากุ ล ผู้ จั ด การฝ่า ยโฆษณา มนั ส นั น ท์ รุ่ ง รั ต นสิ ท ธิ กุ ล 08-4491-9241 ผู้ ช่ ว ยผู้ จั ด การฝ่า ยโฆษณา ภรั ณ ภพ สุ ข อิ น ทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว ผูผ ้ ลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www. adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com 02 2
682
3
RD
651
SPAIN
2
ND GERMANY
1
ST NETHERLANDS
ผลส�ารวจจาก Microstartups.org เปิดเผยรายชือ ่ ประเทศทีน ่ ประเทศ ่ า่ ไปท�างานแบบ nomad ในกลุม สหภาพยุโรป โดยวิเคราะห์จากปัจจัย เช่น จ�านวน โคเวิรก ์ กิง ้ สเปซ ค่าครองชีพ ฯลฯ โดย 3 ล�าดับแรกคือ
619
วัฒนธรรมการท�างาน ‘ทางไกล’ แบบไม่ตอ ้ งเข้าออฟฟิศก�าลังเติบโตอย่างพุ ง ่ พรวดทัว ่ งมือและเทคโนโลยีทเี่ อือ ้ อ�านวย ่ โลก ด้วยการเข้ามาของเครือ ต่อการท�างานรูปแบบนี้ คนทีเ่ รียกตัวเองว่าชาว nomadic ก�าลังละทิง ออฟฟิ ศ มุ ง ่ สู อ ่ ส ิ รภาพและความยื ด หยุ น ่ ในการท� า งานตามที พ วกเขาใฝ่ ฝน ั ่ ้ แม้วา่ การท�างานตามขนบเดิมๆ ในออฟฟิศคงยังไม่ตายในเร็ววัน แต่ตวั เลขเหล่านีก ็ า� ลังบอกว่า วัฒนธรรมการท�างานของทัว่ โลกนัน ้ ก ่ นไปแล้ว ้ ก�าลังเปลีย
THE FUTURE OF NOMADS
เรือ ่ ง : ฆนาธร ขาวสนิท
DATABASE
TOP 3
ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ
1/3
1 ใน 3 ของคน ท�างานในปัจจุบันเป็ น ฟรีแลนซ์ รายงาน ของบริษัทลงทุน ออนไลน์อย่าง Betterment ระบุวา่ ขณะทีบ ่ ริษัทอย่าง Uber และ Fiverr เติบโตขึน ้ อย่าง ก้าวกระโดด และ จ�านวนผู้ท�างาน แนวนีก ้ ็มีแต่จะสูง ขึน ้ ภายในปี 2020 มีการคาดการณ์ว่า การประกอบอาชีพ แบบรับงานอิสระ จะพุ ่งสูงถึง 43% ในกลุ่มคนท�างาน
140% Global Workplace Analytics ชีว ้ ่า นับตัง ้ แต่ปี 2005 การท�างานจากระยะไกล แบบไม่เข้าออฟฟิศ นัน ้ เติบโตเกิน 140% ซึง ่ บริษัทมากถึง 40% ในโลกนีเ้ องก็ เริม ่ ปรับตัว อนุญาต ให้พนักงานท�างาน อย่างยืดหยุ่นได้
WOMEN
13%
$11,000
ผู้หญิงคือผู้น�าเทรนด์การท�างานแบบ nomadic ระหว่างช่วงปี 1980-2013 มีข้อมูลรายงานว่า หลังจากทีผ ่ ู้หญิง มีลูกคนแรก รายได้พวกเธอจะลดลง ถึง 30% แต่วัฒนธรรมแบบ Digital Nomads ได้เข้ามาเปลีย ่ นแปลงสิง ่ เหล่านี้ ผลวิจัยจาก Remote.com พบว่า เกือบ 30% ของบริษัททีม ่ ีรูปแบบ การท�างานจากระยะไกล ก่อตัง ้ โดย ผู้หญิง และมี CEO เป็ นเพศหญิง
ผลการศึกษาจาก มหาวิทยาลัย สแตนฟอร์ดทีเ่ ก็บ ข้อมูลยาวนานถึง 9 เดือน เปิ ดเผยว่า คนทีท ่ �างานแบบ ไม่เข้าออฟฟิศจะมี ประสิทธิภาพในการท�างานมากกว่าการเข้าออฟฟิศถึง 13%
การท�างานแบบ nomad ไม่ได้สง ่ ผลดี แค่คนท�างานทีจ ่ ะประหยัดเงินไปราวๆ 7,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อปี จากค่าเดินทางและอืน ่ ๆ เท่านัน ้ บริษัทเองก็ยังประหยัดเงินไปได้ ราวๆ 11,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อปี ต่อคนเช่นกัน จากค่าใช้จ่าย ในออฟฟิศต่างๆ เช่น ค่าน�้า ค่าไฟฟ ้า ค่าอุปกรณ์ และอืน ่ ๆ
20
ที่มา : www.microstartups.org, www.gsb.stanford.edu, www.remote.com, www.betterment.com, www.globalworkplaceanalytics.com
1/3
Ǘ˱˒ǗǥǛǝLjDŽ˒ǑǛ ɉDŽˢǐǏˠǒ Ǐːljǜ˒ǥƽǥǑlj˒ǥɊ
ǒǥLj EÒĸôĶÒôú ǩƮ˘ǫƮ˘ǝˣlj˦ǣǁLjǫdžǛ
ý,)D$Cý I5$$=,
)?,%Cp 602 ?$ =
ý@2? ýî2 $@QH 85=-($J&.-&.=-"C 2<$ 6$< %ï= H%=%ï= I0ï2I î5+=2; 8= =3I 0î ;2<$ I î IO "% ;L,î,2@ $< L6$H0-"@6P -= $U=Q = *ê= ;L,î.2î 60î$ 0 ,= .;"%)BQ$ ?$ 5+=)8= =3I%%$@Q8=2C# U=H&õ$"@P ï8 ) L2ïK$ .;H&ì= 08 H20=H)BP8 î85Dï <%6-= ($ O6$@L,î)ï$.î,$<P$0î; ;2î=L& O H6,B8$I*ý<P$8-î= 6$AP H6,B8$ <$$; .î,"C 2<$$@QH ñN 52-N "<Q $<Q$H0 ıĉŕİĒĨûĸ İøĖİğķčėŕĕċĩċĸ ĦĽ üĦõĐŖĦöĦěĕŖĦİďŝčøėĥûĹ ıėõ čġõüĦõüĤ čŕĦėĥõıęŖě ĖĥûĕĩİġõęĥõĝćřİýĒĦĤĉĥěĞĬĈĶ İęĖ İĈĨčõĦûėŕĕĴďċĦûĴğč õķĕıĩ ĉŕøčĕġû õķığĕ^^^ĈĪûĈĭĈöčĦĈčĩčĹ čĩĸ Ħ ıĊĕõĥčđčĴĈŖüėĨûĶ ĈŖěĖčĤ ĴĕŕijþŕıøŕčŕĦėĥõİýĖĶ ĉġčıėõİėĦċĽĦİďŝčėŕĕõĥčıĈĈøŕĤ ıĉŕęĭõøŖĦõķþġĎĊĦĕ İėĦěŕĦ õĥččĽĦĹ ĴĈŖĴğĕ õĥčđčĴĈŖĴğĕ İėĦİęĖİõĨĈøěĦĕøĨĈěŕĦ İėĦčŕĦüĤ ċĽĦċĩĸĕĥčõĥčıĈĈõĥčđčĴĈŖĈŖěĖy ĒĨĕĎĬā ğęěûüĨčĈĦ ıęĤ þĕĒĭčĬþ ıĞččĦĕ ĞġûĞĦěĒĩĸčŖġûİüŖĦöġûıĎėčĈř ĈĩüėĨû ėŕĕĐŖĦöĦěĕŖĦy ûĦč ū Ñ ūÑŲ İõŘĶ þŕěĖõĥčİęŕĦĊĪûüĬĈİėĨĸĕĉŖčĈŖěĖėġĖĖĨĹĕ ĈĩüėĨû ėŕĕĐŖĦöĦěĕŖĦ İďŝčĞĨčøŖĦ ','( üĦõüĥûğěĥĈďċĬĕČĦčĩ IJĈĖijčþŕěûıėõ ċĦûõęĬĕŕ þĬĕþčĴĈŖċĦĽ ĐęĨĉĔĥćąř ','( ďėĤİĔċıþĕĒĭıęĤøėĩĕčěĈĐĕ ĞĕĬčĴĒė ıĉŕĉŕġĕĦõķİõĨĈıčěøĨĈěŕĦġĖĦõġčĬėĥõĝřĐŖĦĴċĖ üĪûİďęĩĸĖčĕĦ ċĽĦİďŝčĐęĨĉĔĥćąřĐŖĦöĦěĕŖĦöĪĹčĕĦ İėĦĕġûěŕĦijčďśüüĬĎĥčĐŖĦĴċĖöġûİėĦøčİėĨĸĕęīĕĴďİėīĸġĖĶ õķİėĨĸĕøĨĈěŕĦĐŖĦĴċĖĞĦĕĦėĊċĽĦġĤĴėĴĈŖĎŖĦû İęĖċĽĦėŕĕġġõĕĦøŕĤ ÿĪĸû þŕěûıėõĶ õķüĤĕĩėŕĕċĩĸċĽĦüĦõĐŖĦďĦİĉŗĤ ĐŖĦęĦĖĴċĖ ĐŖĦöĦěĕŖĦ õķøīġ
čĽĦĐŖĦĴċĖĉŕĦûĶ ĕĦċĽĦİďŝčėŕĕčĥčĸ İġû ıĉŕĞěŕ čĕĦõõķüĤİďŝčėŕĕõĥčıĈĈ ċĩĸõĥčđčĴĕŕĴĈŖy õĦėĴĈŖİöŖĦėŕěĕõĨüõėėĕđŎõġĎėĕÿĪĸûüĥĈIJĈĖõėĕõĦėĒĥĆčĦ þĬĕþč õėĤċėěûĕğĦĈĴċĖ õęĦĖİďŝčĞŕěčĞĽĦøĥāċĩĸċĽĦijğŖėŕĕĐŖĦöĦěĕŖĦ ċĩĸĞĦĕĦėĊõĥčđčĴĈŖİõĨĈöĪĹč İėĦĴĈŖİėĩĖčėĭŖıęĤĜĪõĝĦěĨČĩõĦėĒĥĆčĦ ĐęĨĉĔĥćąř üĦõėŕĕõĥčıĈĈČėėĕĈĦõķĞĦĕĦėĊõĥčđčĴĈŖ ıęĤčĽĦĴď ĉŕġĖġĈĞĭŕĐęĨĉĔĥćąřġīĸčĶ ġĖŕĦûİĞīĹġıüķõİõķĉęĦĖĐŖĦöĦěĕŖĦċĩĸİďŝč İĞīĹġõĥčđčĴĈŖĈŖěĖ ıĊĕĖĥûĞĦĕĦėĊõęĥĎĈŖĦčijĞŕĴĈŖċĥĹûĞġûĈŖĦč ěĨČĩ õĦėċĽĦõķĖĦõĒġĞĕøěė ıĉŕĐęĉġĎėĥĎijčĉġččĩĹĈĩĕĦõ ċĥĹûċĩĸİĒĨĸûċĽĦ ġġõĕĦĴĈŖĴĕŕõİĩĸ Ĉīġč õķĕġĩ ġİĈġėřĕĦĉęġĈ ıęŖěĒġĴĈŖĕIJĩ ġõĦĞüĥĈıĞĈû ıęĤüĽĦğčŕĦĖĞĨčøŖĦijčûĦčĜĨęďĦþĩĒ ďėĤċĩďĴċĖ ','( õŖĦěĴõę ĈŖěĖĒėĤĎĦėĕĩ ďō 4784 õķĖûĨĸ ċĽĦijğŖĕĖĩ ġĈġġİĈġėřİöŖĦĕĦõöĪčĹ þŕěĖ ĞėŖĦûûĦč ĞėŖĦûġĦþĩĒ õėĤüĦĖėĦĖĴĈŖijğŖıõŕİėĦĴĈŖĕĦõöĪčĹ ġĩõĈŖěĖøŕĤy ijøėċĩġĸ ĖĦõĴĈŖėĕŕ İõŘĶ ęĦĖĐŖĦöĦěĕŖĦ ęĦĖĐŖĦĴċĖ ıĎĎĴĕŕÿĦĽĹ ijøė ĴďċŖĦĞĦĖđčęĤõķ čġõüĦõûĦčıĞĈûĞĨčøŖĦ ','( öġûõėĕõĦėĒĥĆčĦ þĬĕþčıęŖě õķİöŖĦĴďĈĭċ ĩĸ ūŭŲŬ ĈĩüėĨû ėŕĕĐŖĦöĦěĕŖĦ ū Ñ ūÑŲ ĴĈŖİęĖ
^ ūŭŲŬ ^ŭ a ŭÑÑ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč ĕĬŕûĕĥĸčİĞėĨĕĞėŖĦûİĜėĝĄõĨüĄĦčėĦõĕĥĸčøû İĒĨĸĕøěĦĕĞĬöĕěęėěĕijğŖďėĤþĦþč
จาก “ต้นกล้าศิริราช” เติบโตสู่ “ร้อยกิง ่ แสนก้าน ล้านใบ” ด้วยน�้าใจคนไทยจะช่วยเปลี่ยนชีวิตคนได้ในข้ามคืน ร่วมพู ดคุยกับ รศ.นพ. ธีระ กลลดาเรืองไกร ผู้อ�านวยการ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศร ิ ร ิ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ถึงการระดมทุนสร้างอาคารส่วนขยาย ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ระยะที่ 2 ร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ของความภูมิใจที่ศิริราชมอบให้ แผ่นดิน ในความร่วมมือระหว่าง โรงพยาบาลศิริราช และ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก จังหวัดนครปฐม เพื่อขยาย โอกาสในการรักษาให้เข้าถึง ประชาชน และเพิ่มโอกาส การฝึกฝนให้นักศึกษาแพทย์
แผ่กิ่ง ยิ่งใหญ่ ขยายโอกาสการรักษาไปสู่ พื้นที่ห่างไกลศิริราช
“ศู น ย์ ก ารแพทย์ ก าญจนาภิ เษก ก่ อ ตั้ ง ในปี พ.ศ. 2551 โดยมหาวิทยาลัยมหิดล ภายใต้สังกัด ส�านั กงานอธิการบดี ด้ วยจุดประสงค์ คือต้ องการ ให้เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทาง ต่อมาในปี พ.ศ. 2560 สภามหาวิทยาลั ยมหิดลได้มีมติให้ศูนย์การแพทย์ กาญจนาภิ เ ษก เข้ า มาเป็ น ส่ ว นหนึ่ งของคณะ แพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล การรวมกันของทัง้ สอง องค์ ก รจึ ง เป็ น การประสานเกื้ อ กู ล ซึ่ ง กั น และกั น เพราะโรงพยาบาลศิรริ าชมีการรักษาแบบตติยภูมิ หรือมุ่งเน้นผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงและซับซ้อน และ ยังมีพน ั ธกิจให้บริการต่อเนือ ่ ง ครอบคลุมพืน ้ ทีส ่ ข ุ ภาพ เขต 5 หรือภาคใต้ ตอนบน ได้แก่ จังหวัดนครปฐม ราชบุร ี กาญจนบุร ี สุพรรณบุร ี เพชรบุร ี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และประจวบคีรข ี ันธ์ “ในขณะที่ ศู น ย์ ก ารแพทย์ ก าญจนาภิ เษก เป็นโรงพยาบาลขนาดเล็กกว่า คอยให้บริการทาง การแพทย์ทว ่ั ไป รวมถึงการรักษาเฉพาะทางในระดับ ทุตย ิ ภูมิ หรือระดับต้นเท่านั้น เพราะยังไม่มเี ครือ ่ งมือ เทคโนโลยีการแพทย์ขั้นสูง ท�าให้เกิ ดข้อจ� ากั ดใน การดูแลคนไข้ ไม่สามารถให้การรักษาผูป ้ ว่ ยทีม ่ อ ี าการ ซับซ้อนได้ เมื่อศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกตั้งอยู่ ระหว่างโรงพยาบาลศิรริ าช และโรงพยาบาลในเขต ภาคใต้ ต อนบน การรวมกั น เช่ น นี้ จึ ง จะท� า ให้ เกิ ด การพัฒนาทัง้ ด้านการรักษาพยาบาลและการเชือ ่ มต่อ การให้บริการระบบสาธารณสุข เขต 5 ให้เป็นไปอย่าง ราบรืน ่ และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังช่วย เพิม ่ ศักยภาพด้านการเรียนการสอน การฝึกอบรม และ การวิจัยต่ อเนื่ องอี กด้ วย ถื อเป็นการพัฒนาระบบ การบริหารโรงพยาบาลแบบองค์รวมและครบวงจร”
แตกก้าน เร่งพัฒนา ศักยภาพในการดูแล ทุกชีวิต
“อี ก อย่ า งในเมื่ อ โรงพยาบาลนี้ ส ามารถ ตอบสนองในด้ า นการเรีย นการสอนแล้ ว ก็ ต้ อ ง ตอบสนองการดูแลคนไข้ในรู ปแบบใหม่ที่เรียกว่า การดู แ ลแบบสหสาขาหรือ สหวิ ช าชี พ เนื่ อ งจาก มหาวิทยาลัยมหิดลมีกลุ่มคณะสาธารณสุขค่อนข้าง เยอะ ประกอบกับคนไข้ทเี่ ข้าไปรักษาตัวในโรงพยาบาล
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. 0-2849-6799 หน่วยกิจกรรม พิเศษและสิทธิประโยชน์ งานสื่อสาร องค์กร ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล หรือ www. gj.mahidol.ac.th
ศิ ร ิร าชส่ ว นใหญ่ เป็ น คนไข้ ที่ ซั บ ซ้ อ นมาก ซึง่ อาจเกินระดับความรูส้ า� หรับนักศึกษาแพทย์ เราจึงมีความมุง่ หวังให้ทน ี่ เี่ ป็นสถานฝึกสอน และเรียนรูส้ า� หรับนักศึกษาแพทย์และนักศึกษา ด้านสาธารณสุขทัว ่ ประเทศ รวมทัง้ นักศึกษา คณะอื่นๆ เช่น พยาบาล เทคนิ คการแพทย์ กายภาพบ�าบัด และเภสัชศาสตร์ ให้ทุกคน ได้รูจ ้ ักลักษณะการท�างานร่วมกัน ก่อนจะ เรียนจบออกไปประจ�าโรงพยาบาลในชุมชน ตามเขตอ�าเภอ หรือจังหวัด การดูแลผู้ป่วย ที่ ไ ม่ ใช่ ชุ ม ชนเมื อ งหรือ เวชศาสตร์ชุ ม ชน จึ งมีประโยชน์ ต่อการเรียนการสอน ท�าให้ นักศึกษาเห็นภาพรวมของการดูแลชุมชนได้ ตั้งแต่ตอนฝึกปฏิบัติ “ปัจจุบน ั ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มีบค ุ ลากรทัง้ หมดประมาณ 800 คน ภายใน ปี พ.ศ. 2564 เราจะเพิม ่ เป็น 1,200 คน ให้ครบ ทุ ก สาขา เพราะในอนาคตจะเปิ ด แผนก ท�าคลอด และส่วนดูแลผูป ้ ว ่ ยเด็ก โดยเพิม ่ เติม การปรับปรุงบริการให้ชว ่ ยส่งเสริมการเรียน การสอนภายใต้การดูแลของอาจารย์แพทย์ ซึง่ ส่วนหนึง่ เป็นบุคลากรจากคณะแพทยศาสตร์ ศิรริ าชพยาบาล อีกส่วนหนึง่ เป็นอาจารย์แพทย์ ที่ประจ�าอยู่ที่นี่แล้ว “ประโยชน์ทป ี่ ระชาชนจะได้รบ ั จึงไม่ใช่ แค่การเพิ่มสถานที่ บุคลากร หรืออุปกรณ์ ในการรองรั บ ผู้ ป่ ว ย แต่ เราจะพั ฒ นา การบริหารจัดการทรัพยากรให้ผป ู้ ว ่ ยได้รบ ั ประโยชน์สูงสุด ประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง สามารถรับการรักษาทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพอย่าง เท่าเทียม โดยไม่ตอ ้ งไปถึงโรงพยาบาลศิรริ าช ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกก�าลังจะเป็น ต้นไม้ที่เจริญเติบโตขึ้น”
กาญจนาภิเษกมุง่ หวังเป็นโรงพยาบาลทัว ่ ไป จึงต้องขยายการบริการและโครงสร้างอื่นๆ ให้เสร็จภายในเดือนมกราคม พ.ศ. 2564 เพราะเราตั้งใจเปิดบริการอาคารผูป ้ ว ่ ยใหม่ ขยายเป็ น 200 เตี ย ง เพิ่ ม ห้ อ งผ่ า ตั ด ขึ้ น อีกหนึง่ เท่า จาก 8 ห้อง เป็น 16 ห้อง ทีผ ่ า่ นมา เราได้เตรียมพร้อมโดยเริม ่ เปิดบริการ 24 ชัว่ โมง คอยรับเคสอุ บัติเหตุและเคสฉุกเฉิ นทั่วไป ซึง ่ คนไข้ทก ุ สิทธิส ์ ามารถเข้ามาใช้บริการได้ และคอยประสานงานกับโรงพยาบาลรอบๆ ในเขตเพื่อท�างานร่วมกัน ยังมีการวางแผน ต่อไปอีกว่า ในปี พ.ศ. 2568 ศูนย์การแพทย์ กาญจนาภิเษกจะสร้างอาคารเพิม ่ อีกหนึง่ หลัง จะเพิม จ� า นวนเตี ย งเป็ น 400 เตี ยง ทัง้ หมดนี้ ่ ก็เพือ ่ การรองรับประชาชนและสังคมผูส ้ งู อายุ การดูแลด้านสาธารณสุขต้องเติบโตตามไป ด้วย “หลั ง มี ก ารเริ่ม ปรับ เปลี่ ย นรู ป แบบ บริการ เราได้สา� รวจความพึงพอใจของคนไข้ ที่เข้ามาใช้บริการและประชาชนที่อาศัยอยู่ บริเวณรอบๆ พบว่าได้รบ ั การตอบรับทีด ่ ม ี าก มีความพึงพอใจสูง เพราะการรักษาอาการ เจ็ บป่วยต้ องใช้ระยะเวลาที่ส้ันที่สุด และมี การส่ ง ต่ อ ที่ เหมาะสมหากเราไม่ ส ามารถ ให้การรักษาได้ การเข้าถึงการบริการอย่าง รวดเร็วจะท�าให้เกิดการรอดชีวต ิ ของผูป ้ ว ่ ย มากขึน ้ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกจะดูแล ในเบื้ อ งต้ น ให้ ค นไข้ อ ยู่ ในระยะปลอดภั ย เพื่ อ เตรีย มส่ ง ต่ อ ให้ เข้ า รับ การรัก ษาด้ ว ย เทคโนโลยีการแพทย์ขั้นสูงยังโรงพยาบาล ที่เหมาะสม “ดังนัน ิ ฉัย ่ ต้นถ้าวินจ ้ ช่วงเวลาระยะเริม หาสาเหตุอาการเจ็บป่วยได้เร็ว และได้รบ ั การดู แ ลฟื้ นคื น ชี พ ระยะต้ น และส่ ง ต่ อ ให้ เหมาะสม คนไข้ มี โ อกาสรอดชี วิ ต สู ง มาก แต่ ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ คนไข้ จ� า นวนมาก ไม่สามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกจึงมาเพิม ่ เติม และแก้ไขปัญหาตรงนี้ได้”
ผลิใบ มหาศาล สร้างร่มเงาแห่ง ความสุขให้คนไทย
“เดิมทีทน ี่ ี่มเี พียง 60 เตียง เพราะเป็น โรงพยาบาลเฉพาะทางด้ า นทั น ตกรรม ด้ า นกายภาพบ� า บั ด รวมถึ ง การแพทย์ แผนไทยและแผนจีน แต่เมือ ่ ศูนย์การแพทย์
ร่วมพัฒนาและสนับสนุน การสร้างอาคารส่วนขยาย ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก (ระยะที่ 2) ได้ 2 ช่องทาง
1
ต้นกล้าแห่งความภูมิใจที่ศิริราช มอบให้แผ่นดิน
“ ศู น ย์ ก า ร แพ ท ย์ ก า ญ จ น า ภิ เษ ก พร้อ มแล้ ว ที่ จ ะเติ บ โตเป็ น ต้ น ไม้ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ และแข็งแรง เพือ ่ ผลิดอกออกผลเป็นการสร้าง โอกาสให้ผค ู้ นอีกจ�านวนมากสามารถเข้าถึง บริการและการรักษาทางการแพทย์ได้อย่าง เท่ า เที ย มกั น เราตั้ ง ใจท� า ให้ ที่ แห่ ง นี้ ส ร้า ง ประโยชน์ให้กบ ั ประชาชนทุกคน รวมถึงพัฒนา ศักยภาพการช่วยชีวต ิ ผูป ้ ว่ ยด้วยการยกระดับ ก า ร จั ด ก า ร ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร แ ล ะ องค์ความรู ้ “ขณะนีศ ้ น ู ย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ได้เริม ่ พัฒนาและก่อสร้างอาคารส่วนขยาย ไปแล้ ว 30% เข้าระยะที่สอง จากทั้งหมด สามระยะ เพื่ อ ให้ ส ามารถรองรับ ผู้ ป่ ว ย โรคทั่ ว ไปและโรคเฉพาะทางที่ ไ ม่ ซั บ ซ้ อ น ในเขตพืน ้ ทีไ่ ด้มากขึน ้ กว่าเดิม รวมทัง้ เพิม ่ ส่วน ดูแลผู้ป่วยในและผู้ป่วยหนั กในห้ องไอซียู อย่างเต็มระบบ ทีผ ่ า่ นมามีผป ู้ ว่ ยเข้ารับบริการ ประมาณ 350,000 คนต่อปี แต่หลังจาก ก่อสร้างเสร็จจะสามารถรองรับผูป ้ ว่ ยเพิม ่ เป็น 700,000 คนต่ อ ปี ซึ่ ง ต้ อ งใช้ ง บประมาณ ใ น ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง แ ล ะ จั ด ห า เ ค รื่ อ ง มื อ การแพทย์ทง ั ้ั หมด 850 ล้านบาท โดยได้รบ งบสนับสนุนจากรัฐบาลมาแล้ว 500 ล้าน บาท ดังนั้น ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก จึงต้องระดมทุนอีก 350 ล้านบาท “จึ งขอเชิ ญ ชวนให้ ผู้ มี จิ ตศรั ท ธา ร่ว มกั น บริจ าคเพื่ อ พั ฒนาศู น ย์ ก ารแพทย์ กาญจนาภิเษก ให้ที่แห่งนี้เป็นสถานที่สร้าง โอกาสและประโยชน์ตอ ่ ประเทศชาติ คอยให้ บริการประชาชนทัว ่ ทัง้ ประเทศ รับใช้แผ่นดิน เพื่ อ ความสุ ข ของคนไทย และเป็ น อี ก หนึ่ ง ความภูมิใจที่ศิรริ าชมอบให้แก่แผ่นดิน”
ศิริราชมูลนิธิ กองทุนสร้างอาคารส่วนขยาย ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ธนาคารกรุงเทพ เลขทีบ ่ ัญชี 901-705611-1 ธนาคารไทยพาณิชย์ เลขทีบ ่ ัญชี 016-453695-1
2
งานการคลัง ศูนย์การแพทย์ กาญจนาภิเษก ธนาคารไทยพาณิชย์ เลขทีบ ่ ัญชี 316-304130-9
เรือ ่ ง : ปริญญา ก้อนรัมย์
ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร
THE CONVERSATION
08
the neverending เมื่อถึงอายุ 88 ปี คุณมองภาพชีวิตของ ตัวเองอย่างไร? เป็นคนวัยเกษียณที่ใช้ชีวิตสบายๆ อย่างที่ อยาก ออกท�าตามความฝัน หลังจากตรากตร�า งานหนักจนไม่เคยได้ท�าสิ่งที่คิด กลับกัน หรือ คุ ณ จะเป็ น คนแก่ ที่ ห มดไฟ ท้ อ แท้ กั บ ร่ า งกาย ที่รว ่ งโรย ใช้ชว ี ต ิ อยูต ่ ด ิ บ้าน นัง ่ หน้าจอโทรทัศน์ เลื่อนเปิ ดรายการทีวีท่แ ี สนน่าเบื่อ เหมือนตกอยู่ ในกรงขังที่เรียกว่าร่างกายของตัวเอง คุณคาดหวังชีวิตแบบไหน? ส�าหรับ อาจารย์รตยา จันทรเทียร ผู้ร่วม ก่อตัง ิ บ ื นาคะเสถียร ้ และเป็นอดีตประธานมูลนิธส คนแรก เธอตอบเราด้วยการกระท�าตรงหน้า ในวัยที่อายุเหยียบเลขเก้า เธอยังคงเป็ น คนเดิมเสมอมา สนุกกับการท�างานหนัก มุ่งมั่น ความเชื่อและสิ่งที่ตัวเองรักเช่นเดิม ทุกสัปดาห์ เธอยังคงเข้าไปท�างานที่มูลนิธิสืบฯ สัปดาห์ละ สองวัน คือวันจันทร์และพฤหัสบดี แม้วา่ เธอจะลง จากต� า แหน่ ง ประธานมู ล นิ ธิ และมี ต� า แหน่ ง ่ี รึกษาในวันนี้ แต่ชว เพียงแค่ทป ี ต ิ ของหญิงแกร่ง ยังคงแนบชิดและหวงแหนธรรมชาติอยู่เสมอ “เดือนธันวาคมปี น้จ ี ะอายุ 88 แล้ว แต่ยัง ไปไหนมาไหนคนเดียวได้นะ เป็นคุณนายนัง ่ Grab อยู่ (หัวเราะ) “อาจารย์ไม่ได้รู้สึกว่าตัวเองพิ เศษหรือว่า ่ า� เสียสละกว่าใคร ไม่ใช่เลย แต่ถา้ มองกลับไปสิง ่ ทีท ่ าจารย์ ตลอดมาเป็นสิง ู้ ิ ทีอ ่ ทีเ่ ราภูมใิ จทีไ่ ด้ทา� ไม่รส ยังแข็งแรงทุกวันนี้ อาจเป็นเพราะบุญทีเ่ ราท�างานนี้ มามัง ้ เข้าไปนอนกลางดินกินกลางทรายอยูใ่ นป่า” จากชีวต ิ ของเด็กทีเ่ รียนจบสถาปัตยกรรมศาสตร์ สูเ่ ส้นทางการเป็นนักอนุรก ั ษ์จนได้ฉายาว่า ่ งราวหลังสิน ‘นางสิงห์เฝ้าป่า’ เรือ ้ เสียงปืนในคืน ที่คุณสืบจบชีวิตตัวเอง การเกิดขึ้นของมูลนิธิ สืบนาคะเสถียร รวมทัง ี่ บ ื ต่อกันมา ้ เจตนารมณ์ทส ในฐานะนักอนุรักษ์กว่า 29 ปี คืออะไร เราจะพา คุณไปหาค�าตอบเหล่านั้น ผ่านเรื่องเล่าจากปาก ของผู้หญิงคนนี้ “งานอนุรก ั ษ์มน ั เป็นงานทีไ่ ม่มว ี น ั จบ เพราะว่า มนุษย์ไม่ว่าใครๆ ก็ต้องการอยากได้ แล้วคนที่ คิ ด ว่ า อยากได้ มั น มากกว่ า คนที่ คิ ด จะรั ก ษา งานอนุรก ั ษ์จง ึ ต้องด�าเนินไปไม่มว ี น ั จบไม่มว ี น ั สิน ้ ” issue 607
09 seP 2019
The Starting Point
“เมื่อสามสิบปี ที่แล้ว ตอนนั้น ยังไม่มก ี ารพู ดถึงเรือ ่ งไม่มป ี า่ ก็ไม่มน ี า้� ไม่มน ี า้� ก็ไม่มช ี ว ี ต ิ แล้วถามว่าคนมอง ทรัพยากรธรรมชาติยง ั ไง คนมอง ธรรมชาติเป็ นเหมือนสัตว์ที่ยืน อยู่กลางทุ่ง มือใครยาวสาวได้ สาวเอา สมัยนี้ก็ยังเป็ นแบบนั้น”
จุดเริ่มต้น เส้นทางอนุรักษ์ เรานั่งอยู่กับอาจารย์รตยาใต้ต้นชมพูพั น ธุ์ ทิ พ ย์ ข นาดใหญ่ ที่ แ ผ่ กิ่ ง ปกคลุ ม บ้ า น ของเธอในย่านเอกมัย ให้ความรู ส ้ ึกเหมือน เราก�าลังนั่ งอยู่ในผืนป่าขนาดย่อมๆ ร่มเงา ของต้นไม้ชว่ ยลดอุณหภูมิ ให้ระหว่างบทสนทนา
เดิ น ทางกลั บ มาอาศั ย อยู่ ที่ จั น ทบุ ร ีอี ก ครั้ง พร้อมกั บเริม ่ ต้ นชีวิตและค้ นพบสิ่งที่ตัวเอง อยากท�าว่าคืออะไร “ตอนเด็กๆ อาจารย์มบ ี า ้ งทีไ่ ปอาศัยอยู่ บ้านคุณป้า แล้วลูกสาวของคุณป้าเขาเรียน
100 บาท แถวนี้แต่ก่อนเป็นทุง่ นามีวว ั มีควาย เดิน ไม่ได้เป็นแบบทุกวันนี้” อาจารย์รตยา เล่ า ถึ ง ความหลั ง ที่ เราเองก็ นึ ก ภาพไม่ อ อก ว่าพืน ้ ทีท ่ ห ี่ อ ้ มล้อมไปด้วยตึกสูงไม่ตา ่ งไปจาก ป่าคอนกรีตอย่างเอกมัย จะมูลค่ าพื้นที่ต่อ ตารางวาถึงโดดสูงกว่าสมัยก่อนหลายร้อย เท่า รูปแบบการใช้ชว ี ต ิ ทีใ่ กล้ชด ิ กับธรรมชาติ ในกรุงเทพฯ เป็นอย่างไร “เด็กสมัยนี้ต้องอิจฉาแน่เลย” อาจารย์
ชอบเขี ย นอะไรต่ อ มิ อ ะไรมานานแล้ ว เป็ น คนทีใ่ นหนังสือเรียนจะมีรูปสารพัดเลย เป็น หนังสือเรียนที่สกปรกมาก (หัวเราะ) มองดู ในแง่หนึ่งก็เป็นเด็กที่ไม่มีระเบียบเลย แต่ถ้า มองอี ก มุ ม ก็ เป็ น เด็ ก ที่ ช อบบั น ทึ ก เรื่อ งราว ด้วยภาพ พอเวลาบันทึกด้วยภาพแล้วมาดูอก ี ที ก็จะนึกออกเลยว่าตอนนัน ู ว่าอะไร” ้ คุณครูพด จากการค้ นพบสิ่งที่ตัวเองชอบตั้ งแต่ เด็ก ท�าให้เส้นทางชีวิตของเธอออกเดินทาง
“สมัยอาจารย์เป็นเด็ก ยังมีธรรมชาติ มีป่ามีเขาสมบูรณ์ อาจารย์เป็นเด็กบ้านนอก ค่ะ โตมาในจังหวัดจันทบุร ี ตอนนั้นเป็นช่วง สงครามโลกครัง้ ทีส ่ อง มีญป ี่ น ุ่ บุก ท�าให้อาจารย์ ต้องย้ายตามคุณพ่อทีเ่ ป็นนายอ�าเภอไปอยูท ่ ี่ พระตะบอง แต่ ในภาวะสงครามแบบนั้ น ทางที่ง่ายที่สุดในการไปคือเดินทางผ่านป่า ซึ่งเป็นครัง้ แรกเลยที่อาจารย์ได้เห็นป่าจริงๆ ความรูส ้ ก ึ มันประทับใจมาก ทางเดินทีไ่ ปเป็น
ที่ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ก่ อ นจะได้ ทุ น ฟุ ล ไบรท์ ไปเรีย นต่ อ ด้ า นสถาปั ต ยกรรมที่ สหรัฐอเมริกา หลังเรียนจบ อาจารย์รตยาก็ เริม ่ รมประชาสงเคราะห์ ่ ต้นงานเป็นสถาปนิกทีก อยูส ่ องปี ก่อนจะลาออกไปเป็นอาจารย์แผนก ช่างก่อสร้างที่วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ และ ใช้ชีวิตในบทบาทครู อยู่เกื อบสิบปี เรียกว่า เป็ น ช่ ว งชี วิ ต ที่ ท้ั ง การงานและความชอบ เดินไปพร้อมกัน แต่จด ุ เปลี่ยนทีท ่ า � ให้เธอก้าว
ในเช้าวันนั้นไม่รอ ้ นเกินไปนัก “คุณเชือ ่ ไหม เมือ ่ ก่อนทีผ ่ น ื นีต ้ ารางวาละ
เอ่ยข�าๆ เมื่อเราถามต่อถึงช่วงชีวิตในวัยเด็ก ว่าความทรงจ�าที่มีต่อธรรมชาติของเธอ
ป่าโปร่งทอดยาวไปจนเป็นป่าดิบ พอไปถึง ล�าธาร เราเห็นน�าใส มีผีเสื้อสารพัดสีบินมา เป็นฝูงนับร้อยๆ ตัว เรียกว่าประทับใจมาก เลยที่ได้เห็นป่า ได้เห็นล�าธาร เห็นสิ่งมีชีวิต” นั่นเป็นครัง้ แรกที่อาจารย์รตยาได้เห็น ป่าด้วยตาของตัวเอง และหลังสงครามสงบ ในอี ก สามปี ต่ อ มา อาจารย์ ร ตยาถึ ง ได้
สถาปัตย์ ก็ท�าให้เรารู จ ้ ักอาชีพสถาปนิ กมา ตั้งแต่ตอนนั้น แล้วตอนเด็กๆ อาจารย์เป็นคน
ได้ อ ย่ า งชั ด เจน อาจารย์ ร ตยาเข้ า เรี ย น ปริ ญ ญาตรี ด้ านสถาปั ต ยกรรมศาสตร์
เข้ามาในวงการอนุรก ั ษ์ นั้นเกิดขึ้นเพราะว่า “เรียกว่าได้ครูดล ี ะมัง้ ตอนเรียนสถาปัตย์
ทีจ ่ ฬ ุ าฯ อาจารย์ได้เรียนกับ ดอกเตอร์วทัญญู ณ ถลาง ซึง่ ท่านเพิง่ กลับมาจากมหาวิทยาลัย คอร์แนล เรียกว่าเป็นอาจารย์ที่สอนหนังสือ เก่งมากๆ แล้วก็มอ ี ุดมการณ์ ท่านเป็นคนเริม ่ สอนให้อาจารย์ได้ แนวคิ ดเรือ ่ งสิ่งแวดล้ อม 09
“คุณสืบ นาคะเสถียร จากเราไปสี่ปี แล้ว เมื่อแรกตั้งมูลนิธิน้น ั มีค�าถาม ว่ า ‘หรื อ จะเป็ น เพี ยงไฟไหม้ ฟ าง’ สี่ปีที่ผ่านไปคงให้ค�าตอบต่อตัวเรา เองและทุกท่านว่า นีเ่ ป็นเรือ ่ งส�าคัญ ไม่ ใ ช่ แ ฟชั่ น และไม่ ใ ช่ ไ ฟไหม้ ฟ าง สิง ่ า� เป็นจิตส�านึกของงานอนุรก ั ษ์ ่ ทีท ที่ เ รายั ง คงมิ ท้ อ ถอยที่ จ ะท� า หน้ า ที่ สื บ ส า น ต า ม เ จ ต น า ร ม ณ์ ข อ ง คุณสืบ” (ส่ ว นหนึ่ ง ในจดหมายจากประธานมู ล นิ ธิ สื บ นาคะเสถียร เขียนโดย อาจารย์รตยา จันทรเทียร ตี พิ มพ์ ในวารสาร สาส์ น สื บ ฉบั บ ปฐมฤกษ์ ประจ�าเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2537)
มาตั้ ง แต่ ต อนนั้ น แล้ ว พออาจารย์ ท� า งาน ไปได้ประมาณสิบกว่าปี ดอกเตอร์วทัญญู ที่ ต อนนั้ นท� า งานอยู่ ที่ ส ถาบั น วิ จั ยและ พัฒนาการก่อสร้างแห่งชาติ ท่านก็มาชวน อาจารย์ ไปท� า งานด้ ว ย เราก็ ดี ใจมากเลย เพราะท่านเป็นครูทเี่ คารพนับถือและให้เกียรติ ชวนเรามาท�างาน ก็รบ ี รับค�าเลย” ในระหว่างเริม ่ ต้นท�างานกับ ดอกเตอร์ วทัญญู ณ ถลาง ในขณะนั้นท่านเป็นนายกสมาคมสถาปนิ ก สยามอยู่ ด้ ว ย ดอกเตอร์ วทั ญ ญู แ ละเพื่ อ นๆ กลุ่ ม สถาปนิ ก ได้ เริ่ม มีแนวคิดที่จะตั้งสมาคมอนุ รก ั ษ์ ศิลปกรรม และสิง่ แวดล้อม ซึง่ เป็นครัง้ แรกในประเทศไทย ที่มีองค์ กรหยิบจั บแนวคิ ดเรือ ่ งการพัฒนา และการอนุรก ั ษ์ มารวมกัน “อาจารย์ทา� หน้าทีเ่ ป็นเสมียน (หัวเราะ) เพราะในห้องประชุมแต่ละครัง้ มีบรรดาผู้รู ้ พูดแลกเปลี่ ยนแนวคิ ดเต็ มไปหมด ก็ ท�าให้ ต้ องมีผู้ไม่รูอ ้ ย่า งอาจารย์เป็นคนประมวล และจดบั น ทึ ก ช่ ว งเวลาตอนนั้ น ท� า ให้ ไ ด้ ความรู ้เรื่อ งการอนุ ร ัก ษ์ ม าเยอะมากเลย ซึ่งจะแปลกใจไหม เพราะเรือ ่ งที่อาจารย์ฟัง ในการประชุ ม มี เรื่ อ งหนึ่ ง มี ค นเอาภาพ เกีย ่ วกับน�าเสียมาให้ดู เป็นภาพแม่นา � ทีม ่ ข ี ยะ ลอยอยูเ่ ต็มไปหมด อาจารย์เห็นยังงงเลยว่า ประเทศไทยไม่ได้มอ ี ะไรแบบนั้นนี่ คือเราอยู่ ในอีกสิ่งแวดล้อมหนึ่งที่ปัญหามันยังไม่เกิด
แล้ ว ก็ ไ ม่ คิ ด ว่ า มั น จะเกิ ด แต่ เวลาผ่ า นมา อาจารย์ยังไม่ทันตายเลย ปัญหาเกี่ ยวกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มเกิ ด ขึ้ น สารพั ด เกิ น กว่ า ที่ เรา พูดคุยกันวันนั้นเสียอีก” ชี วิ ต ข อ ง อ า จ า ร ย์ ใน ช่ ว ง เว ล า นั้ น สมบู ร ณ์ พ อส� า หรั บ คนคนหนึ่ ง มี อ าชี พ หล่อเลี้ยงชีวิตซึ่งเป็นงานที่ตนสนใจ พร้อมๆ
กั บ ได้ ท� า ในส่ ว นของงานด้ า นการอนุ ร ัก ษ์ ควบกันไปด้วย “อาจารย์ คิ ด ว่ า ตั ว เองเป็ น คนโชคดี มาก อยู่มาป่านนี้ แล้วก็ได้ท�าสิ่งที่เราชอบ มาตลอดตั้งแต่สาวจนแก่ (หัวเราะ)”
The BIG Lesson บทเรียนครั้งใหญ่ ของนักอนุรักษ์ “ตอนทีเ่ ราเริม ่ ตัง้ สมาคม ความสนใจ ของผูค ้ นเกี่ยวกับการอนุรก ั ษ์ ปา ่ ยังน้อย อยู่ แต่ก็เริม ่ มีคนที่หันมาสนใจบ้างแต่ก็
เป็นเพียงกลุ่มคนกลุ่มหนึ่ง ไม่ใช่คนส่วน ใหญ่” ก่ อ น พ.ศ. 2500 แนวคิ ด เรื่อ ง การอนุ ร ั ก ษ์ สั ต ว์ ป่ า ยั ง ไม่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น ในสังคมไทย ช่วงที่สงครามโลกเพิ่งยุติ ในประเทศเริม ู้ นทีไ่ ด้โอกาสถือครอง ่ มีผค อาวุธปืนด้วยตัวเอง มีรถจี๊ปเป็นพาหนะ เพือ ่ เดินทางเข้าป่า ในบ้านผูด ้ ห ี รือคนรวย ก็จะมีเขาสัตว์งาช้างประดับเอาไว้เพือ ่ โชว์ ความน่าเกรงขาม เรียกว่าใครล่าได้กโ็ ชว์ กันอย่างโจ่งแจ้ง วัฒนธรรมการล่าสัตว์ เป็นเรือ ่ งการอวดบารมีของคนในสมัย นั้น จนแนวคิดเรือ ่ งการอนุรก ั ษ์เริม ่ ต้น ขึน ้ ครัง้ แรก เมือ ่ มีการออกกฎหมายอนุรก ั ษ์ สัตว์ปา ่ ในปี พ.ศ. 2503 จากการผลักดัน ของ นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล ที่คิดว่า ถ้าปล่อยทิง้ ไว้สต ั ว์คงถูกล่าหมดป่าแน่ๆ รวมทั้ ง ระบบนิ เวศทางธรรมชาติ ก็ จ ะ ค่อยๆ เสียสมดุลจนไม่อาจหวนกลับมา ได้ อี ก การผ่ า นร่า งกฎหมายครั้ง นั้ น ท� า ให้ ป ระเทศไทยมี อุ ท ยานแห่ ง ชาติ แห่งแรกในปี พ.ศ. 2505 ทีเ่ ขาใหญ่ และ ถัดมาก็มเี ขตรักษาพันธุส ์ ต ั ว์ปา ่ สลักพระ
ในปี พ.ศ. 2508 แม้ ปั ญ หาเชิ ง ประเด็ น จะเริ่ม ถู ก มองเห็น แต่ในระดับโครงสร้างของประเทศ ปัญหาเรือ ่ งการรุกล�าทรัพยากรป่าไม้นน ้ั แฝงตั ว มาพร้อ มกั บ โครงการพั ฒ นา ขนาดยั ก ษ์ ข องรัฐ ซึ่ ง บทเรีย นที่ ใหญ่
ที่ สุ ด ครั้ง หนึ่ ง ของประเทศไทย คื อ เหตุ ก ารณ์ อ พยพ สัตว์ปา่ ตกค้างในพืน ้ ทีอ ่ า่ งเก็บน�าโครงการเขือ ่ นเชีย ่ วหลาน
เมื่อปี พ.ศ. 2528 กินเวลากว่า 2 ปี 4 เดือน ซึง่ คุณสืบ นาคะเสถี ย ร เป็ น หั ว หน้ า โครงการอพยพในเวลานั้ น ผลกระทบจากการสร้างเขือ ่ นได้ทา � ลายแหล่งทีอ ่ ยูอ ่ าศัย และแหล่งอาหารของสัตว์ปา่ ซึง่ เป็นหัวใจของระบบนิเวศ ที่มนุษย์ไม่สามารถน�ากลับมาได้
“เมือ ่ สามสิบปีทแ ี่ ล้ว ตอนนัน ี ารพูดถึงเรือ ่ ง ้ ยังไม่มก ไม่มีป่าก็ไม่มีน�า ไม่มีน�าก็ไม่มีชีวิต แล้วถามว่าคนมอง ทรัพยากรธรรมชาติยังไง คนมองธรรมชาติเป็นเหมือน สัตว์ที่ยืนอยู่กลางทุ่ง มือใครยาวสาวได้สาวเอา สมัยนี้
ก็ยงั เป็นแบบนั้น นี่เพิง่ ฟังข่าวเมือ ่ สองวันทีแ ่ ล้ว พืน ้ ทีเ่ คย เป็นภูเขามีแต่ต้นไม้ พอมาเจออีกทีเป็นป่าแหว่งไปแล้ว” บทเรียนจากเขื่อนเชี่ยวหลานในวันนั้น มีการเก็บ ข้อมูลความเสียหายของชีวิตสัตว์ มูลค่าความเสียหาย ทางระบบนิเวศ รวมถึงภาพถ่ายการอพยพสัตว์ปา่ ตกค้าง ที่ อ่ า งเก็ บ น� า ซึ่ ง ได้ ส ร้า งความสะเทื อ นใจให้ กั บ ผู้ ค น ทีไ่ ด้เห็นจ�านวนมาก แต่นน ั่ ก็ยงั เป็นบทเรียนทีไ่ ม่เพียงพอ ของมนุษย์ อาจารย์รตยาเล่าให้ฟังว่า จุดตัดที่ท�าให้กระแส การอนุรก ั ษ์ เกิดขึ้นอย่างแพร่หลายจริงๆ ในสังคมไทย นั่ น คื อ การพยายามคั ด ค้ านการก่ อ สร้างเขื่อ นน� าโจน ในปี พ.ศ. 2531 “อาจารย์รจ ู้ ก ั คุณสืบครัง้ แรกก็ตอนเรือ ่ งเขือ ่ นน�าโจน นี่แหละ ซึง่ มี คุณสืบ นาคะเสถียร มี คุณวัชระ นาคสถิตย์ แล้วก็ อาจารย์นริศ ภูมภ ิ าคพันธ์ ทีเ่ ป็นคนน�าข้อมูลเรือ ่ ง การสร้างเขือ ่ นมาให้ ว่าถ้าท�าเขือ ่ นน�าโจนแล้วน�าจะท่วม ผืนป่าอย่างไร ความเสียหายจะไปถึงไหน เราจะสูญเสีย ทรัพยากรและระบบนิเวศอย่างไร แล้วอาจารย์รตยา กั บ เพื่ อ นที่ อ ยู่ ในสมาคมอนุ ร ัก ษ์ ก็ ร ่ว มกั น ท� า เอกสาร ขนาด A4 น� า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ม าเขี ย นให้ อ่ า นเข้ า ใจง่ า ย แล้วน�าออกมาเผยแพร่อาทิตย์ละครัง้ ซึง่ ตอนนัน ้ อาจารย์ ได้ยินชื่อคุณสืบแล้วนะ แต่ยังไม่เคยเจอหน้ากัน” ในช่วงเวลานั้ นผู้คนหลากหลายวงการในสังคม รวมทั้ง คุณสืบ นาคะเสถียร ได้เริม ่ รวบรวมข้อมูลทาง วิชาการ จัดแสดงนิทรรศการ และเผยแพร่ให้ความรูถ ้ ึง ผลกระทบจากการสร้า งเขื่ อ น ซึ่ ง ในช่ ว งแรกๆ ของ การรณรงค์ คุณสืบมักจะใช้ค�าพูดติดปากตอนเริม ่ ต้น ปราศรัยทุกครัง้ ว่า “ผมขอพูดในนามของสัตว์ป่า” ซึ่ง เป็นประโยคส�าคัญที่ฝังใจหลายๆ คนมาถึงวันนี้ อาจารย์รตยามีเล่าเรือ ่ งเล็กๆ ให้เราฟัง พร้อมกับ บอกว่า เป็นเรือ ่ งจะที่ฟังให้เป็นนิ ทานก็ ได้ ฟังให้เป็น เรือ ่ งจริงก็ได้ แต่นเี่ ป็นจุดเริม ่ นน�าโจน ่ ต้นให้การต่อต้านเขือ ส�าเร็จได้ “ฝั่งคนที่อยากให้สร้างเขื่อน ก็ บอกว่าพื้นที่ตรง ป่านเรศวรมันเป็นทุ่ง เกิดไฟไหม้จนต้นไม้หายไปหมด แล้ว แต่คนทีไ่ ม่อยากให้สร้างก็จะออกมายืนยันว่านี่คือ
มดลูกของป่าเลย มีพวกสัตว์กีบ พวกกวางจะมาออกลูก ออกหลานกินหญ้ากัน ทั้งสองฝั่งก็เถียงกันอยู่อย่างนั้น จนท้ายทีส ่ ด ุ มีทางสถานีโทรทัศน์เอาเฮลิคอปเตอร์ไปบิน และมี ก ระทิ ง ฝู ง หนึ่ ง 50 กว่ า ตั ว วิ่ ง ตะกุ ย กั น ฝุ่ น ฟุ้ ง ออกมาจากป่า คนก็ บอกกั นว่า เจ้ าพ่อทุ่งใหญ่ส่งมา (หั ว เราะ) แล้ ว ภาพนั้ น แหละค่ ะ ที่ ก ลายเป็ น ค� า ตอบ ชั ด เจนเลยว่ า ทุ่ ง ใหญ่ น เรศวรคื อ บ้ า นของสั ต ว์ ป่ า
โครงเขื่อนน�าโจนจึงถูกชะลอออกไป นี่เป็นจุดตัดแรก ที่ท�าให้พวกเราเห็นว่าการรักษาพื้นป่า การรักษาบ้าน ของสัตว์ป่าเป็นประโยชน์ส�าหรับชีวิตมนุษย์” 10
A Man to Remember สืบ นาคะเสถียร ในความทรงจ�า การหยุดยัง้ เขือ ่ นน�าโจนเป็นข่าวดี
และก้ า วส� า คั ญ ในวงการอนุ ร ก ั ษ์ แต่
ไม่นานข่าวร้ายก็มาถึงทุกคน พร้อมกับ เสียงปืนที่ดังก้องไปทัว ่ ป่าห้วยขาแข้ง
ในช่วงปลายปี 2532 คุณสืบได้เข้ารับ
ต�าแหน่งหัวหน้าเขตรักษาพันธุส ์ ัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง ที่จังหวัดอุทัยธานี บทบาท หน้ า ที่ ข องคุ ณ สื บ ในวั น นั้ น ท� า ให้ เขา ค้ น พบความจริ ง ที่ ย ากเกิ น รั บ ไหว ทั้ ง ปั ญ หาการลั ก ลอบล่ า สั ต ว์ ตั ด ไม้ รวมทั้งเบื้องหลังการท�าลายป่าที่มีผู้มี อิทธิพลมาเกี่ยวข้อง ยิ่งไปกว่านั้น สิ่งที่ ท�าร้ายจิตใจคุณสืบมากที่สุดคือการที่ ไม่วา่ คุณสืบจะเข้าหาข้าราชการชัน ้ ผูใ้ หญ่ เพื่อขอความช่วยเหลือแค่ไหน มีการน� าเสนอแนวคิ ดเรือ ่ งการท�าป่ากั นชน
แ ล ะ ป่ า ชุ ม ช น ที่ จ ะ ช่ ว ย แ ก้ ปั ญ ห า ประชาชนรุกป่า และได้กา � ลังในการช่วย เฝ้ า ระวั ง ป่ า ไปในตั ว ได้ อ ย่ า งไร แต่ ความพยายามของเขาไม่ เ คยได้ ร ับ การตอบรับจากใครเลย ในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2533 คุณสืบ นาคะเสถียร ได้ตด ั สินใจจบชีวต ิ ด้วยการท�าอัตวินิบาตกรรมในบ้านพัก ที่ เขตรัก ษาพั น ธุ์ สั ต ว์ ป่ า ห้ ว ยขาแข้ ง พร้อมทัง ้ ข้อความในจดหมายเอาไว้ ้ ทิง ว่ า “ผมมี เจตนาที่ จ ะฆ่ า ตั ว เอง โดย ไม่ มี ผู้ ใ ดเกี่ ย วข้ อ งในกรณี นี้ ท้ั ง สิ้ น ”
issue 607
มูลนิ ธิฯ ที่อาจารย์บริหาร ส�านั กงาน ของมู ล นิ ธิ ฯ นั้ น เล็ ก นิ ด เดี ย ว มี เพี ย ง พนักงานประจ�าเพียง 3-4 คน กลับกัน ในคณะกรรรมการผู้ ร ่ ว มก่ อ ตั้ ง นั้ น อุ ดมไปด้ วยบุ คลากรคุ ณ ภาพของ เมื อ งไทย ซึ่ ง แต่ ล ะคนก็ ช่ ว ยรับ งาน ส่วนทีต ่ ว ั เองถนัดไปท�า และการประกอบ
ไปด้วยผู้คนเก่งๆ จากหลากหลายที่มา นี่ เ องที่ ท� า ให้ มู ล นิ ธิ สื บ ฯ มี เ ครือ ข่ า ย การท� า งานที่ แข็ ง แรง และเดิ น หน้ า ปกป้องป่าตะวันตกได้มาถึงทุกวันนี้ “ภารกิจที่ทุกคนเห็นด้วยในวันที่
ก่อตัง ้ มูลนิธิ คือการสืบสานเจตนารมณ์ ของคุณสืบ งานแรกทีเ่ ริม ่ ท�าคือการตั้ง กองทุ น ผู้ พิ ทั ก ษ์ ป่ า เพราะว่ า คุ ณ สื บ เห็ น ใจผู้ พิ ทั ก ษ์ ป่ า มาก ผู้ พิ ทั ก ษ์ ป่ า เขาท�างานเต็มที่ เดินป่าดูแลป่าเพือ ่ เรา ซึ่งในนามมูลนิธเิ องถ้าไม่มีทีมผู้พิทักษ์ ป่า เราก็ไม่ตา ่ งกับคนทีด ่ แ ี ต่พด ู แต่ไม่มี มือไม้ที่จะเข้าไปท�างานจริง “สมัยคุณสืบเป็นหัวหน้าเขตรักษา พั น ธุ์ สั ต ว์ ป่ า ห้ ว ยขาแข้ ง ผู้ พิ ทั ก ษ์ ป่ า ได้ เงิ น เดื อ นคนละ 4,000 กว่ า บาท แต่ เ ดื อ นหนึ่ ง เขาต้ อ งออกไปเดิ น ป่ า ไม่ตา� กว่า 15 วัน เพราะว่าการจะรักษาป่า รักษาเสือได้ ต้องเดินเท้า ไม่ใช่ขับรถ เข้ า ไปเหมื อ นที่ เราดู ใ นหนั ง ซึ่ ง เรา พยายามท�าให้ดีขน ึ้ ปัจจุบน ั ผูพ ้ ท ิ ก ั ษ์ ปา ่ ได้ เงิ น เดื อ นคนละ 8,000 กว่ า บาท แ ล้ ว เ มื่ อ ส อ ง ปี ที่ แ ล้ ว ท า ง อุ ท ย า น ได้กอ ่ ตัง ิ พ ู้ ท ิ ก ั ษ์ปา ่ ขึน ้ มาได้แล้ว ้ มูลนิธผ ด้วย ถือว่าเป็นนิมิตหมายที่ดี”
09 seP 2019
ข้อความในจดหมายที่ สืบ นาคะเสถียร เขียนไว้ก่อนตาย
ซึ่ ง ความตายของคุ ณ สื บ ในวั น นั้ น ไ ด้ ส่ ง เ สี ย ง ดั ง ก้ อ ง ใ น หั ว ใ จ ข อ ง นักอนุรก ั ษ์ ท่ัวทั้งประเทศไทย “พอการคั ด ค้ า นเขื่ อ นน� าโจน จบไป หลายๆ คนที่ออกมาเคลื่อนไหว ตอนนั้นก็แตกฉานซ่านเซ็น ไม่ได้ติดต่อ กันอีกเลย มารูอ ้ ีกทีก็คือตอนที่คุณสืบ เสี ย สละชี วิ ต และเราก็ รู ้สึ ก ว่ า ตั ว เอง ผิ ด เน อ ะ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ติ ด ต า ม ข่ า ว เรื่ อ ง การอนุ ร ัก ษ์ อ ะไรเลย พอคุ ณ สื บ เสี ย อาจารย์กไ็ ปร่วมงานศพ และเห็นในงาน มีการตั้ งป้ายระดมทุนให้คุณสืบ แล้ ว ก่อนที่จะเผาศพคุณสืบ 7 วัน เพื่อนๆ ของคุณสืบคุยกันว่า ถ้าตั้งเป็นกองทุน อ า จ จ ะ ไ ม่ ยื ด ย า ว น่ า จ ะ ตั้ ง เป็ น มู ล นิ ธิดี ก ว่ า แล้ ว เขาก็ ป ระชุ ม กั น เลย บรรดาเพื่ อ นๆ หรือ คนที่ รู ้จั ก คุ ณ สื บ อย่าง อาจารย์ปริญญา นุตาลัย เป็น นั ก ธรณี วิ ท ยาคนส� า คั ญ ที่ ต่ อ สู้ เรื่อ ง เขือ ่ นน�าโจนกับคุณสืบ แล้วก็ ดอกเตอร์ สุรพล สุดารา ที่เป็นหัวหอกคนส�าคัญ ในการตั้งมูลนิธส ิ ืบนาคะเสถียรขึ้นมา “ แ ล้ ว ต อ น ที่ ป ร ะ ชุ มตั้ ง มู ล นิ ธิ อาจารย์ ป ริ ญ ญาก็ คุ ย กั นว่ า จะให้ อาจารย์รตยามาเป็นประธาน ส่วนหนึ่ง อาจเป็นเพราะรูจ ้ ักกันมาตั้งแต่ท�างาน
ที่ ส ม า ค ม อ นุ รั ก ษ์ ศิ ล ป ก ร ร ม แ ล ะ สิ่ ง แวดล้ อ ม แล้ ว อี ก แง่ ห นึ่ ง ก็ อ าจจะ คิดว่าให้ผู้หญิงเป็นก็ดี (หัวเราะ)” “ตอนนั้ นรู ้ สึ ก กดดั นไหมครั บ ต้องมาแบกรับภาระนี้?” “ก็ ไม่ได้ รูส ้ ึกกลั วหรือกดดั นนะ รู ส ้ ึกว่ามันเป็นเรือ ่ งที่ต้องท�ามากกว่า อาจารย์รตยาก็บอกกับอาจารย์ปริญญา ตอนนั้นว่าคุณสืบเสียสละได้แม้กระทัง ่ ชีวิต แล้วเราเป็นใครล่ะ งานแค่นี้ถึงท�า ไม่ได้ เรามีโอกาสทีจ ่ ะท�างานตรงนี้แล้ว ก็คิดแบบนั้นและสืบสานมาตลอด” อาจารย์รตยาเล่าให้ฟง ั ว่า มูลนิธิ สืบฯ นั้นใช้เวลาจดทะเบียนเพียง 18 วัน หลังจากที่คุณสืบเสียชีวิต ด้วยความช่วยเหลือจากผู้คนจ�านวนมาก ไม่เว้น แม้แต่หน่วยราชการ และในช่วงเริม ่ ต้น
ผมมีเจตนาทีจ ่ ะฆ่าตัวเอง โดยไม่มี ผู้ใดเกี่ยวข้องในกรณีนี้ท้ง ั สิ้น ลงชื่อ สืบ นาคะเสถียร ผู้ตาย (นายสืบ นาคะเสถียร) 31 ส.ค. 33 11
Heart of Conservation หัวใจของการอนุรักษ์ งานการอนุรก ั ษ์ น้ันปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย และ ไม่มีวิธก ี ารตายตัว ความเชื่อว่านักอนุรก ั ษ์ หรือ NGO นั้น จะต้องท�าเป็นแต่การค้านหัวชนฝา ก็เป็นความคิดที่ไม่ถูก ไปเสียหมด
ในปี พ.ศ. 2547 มูลนิธส ิ บ ื ฯ มีการปรับเปลีย ่ นการท�างาน ครั้ง ใหญ่ เปลี่ ย นความคิ ด ว่ า การอนุ ร ัก ษ์ ต้ อ งขั ด แย้ ง กับประชาชน เจ้าหน้าที่ต้องวิ่งไล่จับคนท�าผิดในป่า โดย มูลนิธส ิ บ ื ฯ เริม ่ สานการท�างานกับชุมชนทีอ ่ ยู่ ่ ต้นท�าหน้าทีผ ทัง้ ในป่าและพืน ้ ทีร่ อบๆ ซึง่ กลายเป็นโครงการจัดการพืน ้ ที่ คุ้ ม ครองอย่ า งมี ส่ ว นร่ว ม (Joint Management of Protected Area - JoMPA) หรือที่เรียกกันว่า ‘โครงการ จอมป่า’ โดยมีความเชือ ่ ว่า ‘คนอยูไ่ ด้ ป่าอยูไ่ ด้ เสือก็อยูไ่ ด้’ จนกลายเป็นโมเดลการท�างานอนุ รก ั ษ์ ให้ กับอี กหลายๆ พื้นที่มาถึงปัจจุบัน “ทุกๆ 4 ปี มูลนิธิสืบฯ จะวางแผนยุทธศาสตร์ใหม่ คนท�างานก็จะมาร่วมกันคิด แล้วเราก็ไปฟังเสียงประชาชน ภายนอก แล้วน�าแนวคิดทัง้ หมดมาวางแผนว่าก�าลังของเรา
มีเท่านีจ ้ ะสามารถท�างานอะไรได้บา้ ง จริงๆ งานหลายอย่าง ของเรา ไม่ได้ทา � หน้าที่แค่คอยค้านอย่างเดียว ส่วนส�าคัญ
ที่ท�าให้มูลนิ ธิสืบฯ สามารถเดินหน้ าท�างานด้านอนุ รก ั ษ์ ได้ ม าถึ ง ทุ ก วั น นี้ คื อ การเป็ น เหมื อ นแหล่ ง ที่ ร วบรวม ความร่วมมือจากหลายๆ ฝ่ายเอาไว้ด้วยกัน
“แล้วสิ่งที่เป็นหลักการของมูลนิธิฯ ตลอดมา ก็คือ ความพยายามจะรักษาผืนป่าใหญ่ ไม่ใช่แค่ป่าตะวันตก เท่ า นั้ น แต่ เป็ น ผื น ป่ า ของทั้ ง ประเทศไทยเอาไว้ ให้ ไ ด้ มาถึงตอนนี้ เราก็จะพยายามใช้สื่อโซเชียลมีเดีย หรือสื่อ
ในปัจจุบันในการเผยแพร่แนวคิด รวมไปถึงท�าหน้าที่เป็น หมาเฝ้าบ้าน เป็น watchdog อย่างน้อยเราก็ทา � หน้าทีเ่ ห่า (หัวเราะ)”
ย้อนกลับมามองถึงปัจจุบน ั ท�าให้เรานึกถึงค�าพูดหนึง่ ของ คุณสืบ นาคะเสถียร ที่เคยให้สัมภาษณ์ไว้ในนิตยสาร
สารคดี เมื่อเกือบ 30 ปีที่แล้ว (ฉบับที่ 64 เดือนกรกฎาคม 2533) “เราไม่ต้องมานั่งเถียงกันหรอกว่าเราจะใช้ป่าไม้ อย่างไร เพราะมันเหลือน้อยมากจนไม่ควรใช้ จึงควรจะ รักษาส่วนนี้เอาไว้ เพื่อให้เราได้ประโยชน์ท่ีเป็นประโยชน์ ทางอ้อม” ราวกั บ ว่ า เขาท� า นายได้ ว่ า เมื่ อ มนุ ษ ย์ เราบริโ ภค ทรัพยากรจนเกินจุดที่พอดี ธรรมชาติจะค่อยๆ น�าพาเรา มาเจอกับวิกฤตแบบวันนี้ อาจารย์รตยาได้เสริมในมุมมองของตัวเอง ว่าตั้งแต่ สมัยก่อนจนถึงสมัยนี้ การท�าลายสิง ้ ่ แวดล้อมยังคงเกิดขึน เพราะกิเลสมนุษย์ และทุกคนควรมีส่วนรับผิดชอบ เพราะ ถ้ ามองในเชิงการใช้ประโยชน์ คนจนก็ ใช้ประโยชน์ จาก สิง่ แวดล้อมอย่างหนึง่ คนรวยก็ใช้ประโยชน์จากสิง่ แวดล้อม
อย่ า งหนึ่ ง แต่ ผ ลสุ ด ท้ า ยหากทุ ก อย่ า งถู ก ใช้ จ นหมด คนที่ได้รบ ั ผลกระทบก็คือเราทุกคน “หัวใจของการนักอนุรก ั ษ์ จริงๆ คือการรักษาสิ่งที่ดี ของธรรมชาติเพื่อพวกเราทุกคน ทั้งชีวิตคนและชีวิตสัตว์ รักษาระบบนิเวศทีด ่ เี อาไว้ให้คงอยู่ อย่างเร็วๆ นีม ้ ก ี ารพูดถึง การตัดถนนคลองลาน-อุม ้ ผาง ในแง่หนึง่ มันก็สร้างประโยชน์ ได้จริง สามารถย่นระยะเวลาการเดินทางได้ 30 กว่ากิโล แต่สิ่งที่เสียไปคืออะไรรูไ้ หม ป่าใหญ่จะถูกตัดออกจากกัน เป็นสองส่วน สัตว์ป่าจะเชื่อมต่อถึงกันไม่ได้ ระบบนิเวศ ที่เคยมีก็จะค่ อยๆ เสื่อมสลายไป มันไม่เสื่อมวันนี้ หรอก แต่อีก 30-50 ปีมันก็หมด”
Now or Never เริ่มวันนี้… ตอนนี้ มีคนเคยกล่าวไว้วา ่ ความกลัวของคนเรามักจะเกิด เวลาทีเ่ ราไม่รจ ู้ ก ั สิง่ นัน ี่ า่ นมาเรือ ่ งสิง่ แวดล้อม ้ ดีพอ แต่ทผ และธรรมชาติ เราบริโภคและปฏิบัติต่อธรรมชาติโดย ไม่เคยคิดเกรงกลัว นั่นเป็นเพราะเราคิดไปเองว่ารู จ ้ ัก ธรรมชาติดแ ี ล้ว ไม่คด ิ ว่าสิง่ ทีม ่ ต ี รงหน้าจะมีวน ั หมดหรือ
“งานอนุรักษ์มันเป็ นงานที่ไม่มีวัน จบ เพราะว่ามนุษย์ไม่ว่าใครๆ ก็ต้องการอยากได้ แล้วคนที่ คิดว่าอยากได้มันมากกว่าคนที่ คิดจะรักษา งานอนุรักษจึงต้อง ด�าเนินไปไม่มีวันจบไม่มีวันสิ้น”
หายไป แต่ ม าถึ ง วั นนี้ ปัญ หาสิ่ง แวดล้ อ มย้ อ นกลั บ มา ท�าให้มนุษย์หวาดกลัวอีกครัง้ กลัวเพราะไม่รว ู ้ า่ จุดเริม ่ ต้น ในสิ่งที่ตนเองท�า จะพาชีวิตตัวเองไปจบที่จุดใด ซึง่ เวลาเห็นข่าวมลพิษจากระบบอุตสาหกรรมแบบ PM2.5 เห็นข่าวไฟไหม้ครัง้ ใหญ่ในป่าแอมะซอน เห็นข่าว
การตายของมาเรียมเพราะกินขยะพลาสติก ท�าให้เรา คิดทุกครัง้ ว่า มันช้าไปไหมทีพ ่ วกเราจะมาเริม ่ มาคิดดูแล
รักษาโลกกันวันนี้ “ส�าหรับอาจารย์ไม่ถือว่าช้าว่าเร็ว แต่ถือว่าเป็น สิ่ ง ที่ ต้ อ งท� า ท� า เท่ า ที่ เวลาและก� า ลั ง ของเราจะท� า ได้ คือไม่ใช่คด ิ ว่าช้าไปแล้ว มาเรียมตายไปแล้ว ก็เลยช่างหัวมัน ก็คงไม่ใช่ แต่หมายความว่าเราต้องพยายามท�าต่อไป ต้องไม่ท้อถอย เด็กหนุ่มๆ สาวๆ ยังมีก�าลังวังชา “เพราะอาจารย์คิดว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมทุกวันนี้
น่าเป็นห่วงทัง้ นั้นแหละ แต่มองกลับกัน เราไม่ควรไปคิด แต่ เรื่อ งที่ เ กิ น ก� า ลั ง ของเรา เช่ น เรื่อ งขยะในทะเล ทีเ่ ขาบอกกันว่าตอนนี้สะสมจนใหญ่เท่าประเทศไทยแล้ว มันเกินก�าลังส�าหรับคนตัวเล็กๆ อย่างเรา เอาก�าลังมาท�า อะไรทีเ่ ราท�าได้ดก ี ว่า ถ้าเรามัวไปจมและมองปัญหาแบบ หัวชนฝา มันเกินก�าลังไป เราต้องรูก ้ �าลังตัวเองก่อน” เราชวนอาจารย์คุยถึงกระแสหนึ่งในโลกปัจจุบัน
กับการทีเ่ ด็กรุน ่ ใหม่ลก ุ ออกมาเรียกร้องการแก้ไขปัญหา โลกร้อน หนึ่ งในคนที่เรายกมาคุยกั นคื อเรือ ่ งราวของ เกรตา ธันเบิรก ์ เด็กสาววัยเพียง 15 ปี ผูท ้ รงอิทธิพลทีส ่ ด ุ ในโลกจากการจั ด อั น ดั บ ของนิ ต ยสาร Time เวลานี้ จากการทีเ่ ธอลุกออกมาประท้วงหยุดเรียน เพือ ่ เรียกร้อง การแก้ปัญหาโลกร้อน และปฏิเสธมรดกที่แสนเน่าเฟะ ที่เด็กรุ น ่ เธอไม่ได้เป็นคนท�า ซึ่งล่าสุดเธอเดินทางด้วย
เรือใบเป็นเวลากว่า 2 สัปดาห์ จากอังกฤษถึงมหานคร นิวยอร์กแล้ว เพื่อร่วมการประชุมด้านสิ่งแวดล้อมของ สหประชาชาติ ในประเด็นปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อม “ดีมากเลยค่ะ เขาเก่งมากเลยที่จะเดินทางไปใน เรือใบแบบนั้น ไม่ใช่เรือ ่ งง่ายนะ
“เวลาเห็นใครท�าอะไรแบบนี้ อาจารย์ก็สนั บสนุ น เป็นก�าลังใจชืน ่ ชม และเราก็ตอ ้ งการคนแบบนี้ อาจารย์เชือ ่ อย่างหนึ่งว่าจุดเริม ่ ต้นของการเปลี่ยนแปลงหลายๆ ครัง้ ไม่ ไ ด้ ต้ อ งการคนจ� า นวนเยอะนะในการจะเริม ่ ท� า มั น ขอแค่ เอาจริง ท� า จริง เถอะ อี ก เดี๋ ย วก็ มี ค นมาช่ วยเอง อาจารย์เชื่อว่าความเปลี่ ยนแปลงมันอาจเกิ ดจากคน คนเดียว ขอแค่เริม ่ และท�าด้วยความตั้งใจจริง”
การที่ เราจะกลั บ ไปกลมกลื น กั บ ธรรมชาติ ไ ด้ อีกครัง้ บางครัง้ เราอาจจะต้องเปลีย ่ นบางอย่างในตัวเรา อย่างจริงจั ง ย้อนกลั บไปหาธรรมชาติ กลั บไปโดยที่ ไม่ได้ไปเอาเปรียบ และทิง ้ ปัญหาอะไรไว้ให้คนข้างหลัง ทีผ ่ า ่ นมาเราตั้งใจโฟกัสกับธรรมชาติน้อยเหลือเกิน และ จุดเริม ่ ต้นของทางแก้ไขก็ไม่ใช้การฉายไฟออกไปมองดู สภาพแวดล้อมที่ค่อยๆ พังทลายลงอย่างเดียวเท่านั้ น
แต่ เราต้ องเริม ่ ฉายไฟเข้ามาที่ตัวเอง และเริม ่ ท�าสิ่งที่ ท�าได้ ไม่ต้องเกินก�าลัง เพียงแต่ท�ามันด้วยความตั้งใจ และเอาจริง เหมือนที่ผู้หญิงคนนี้ท�ามาโดยตลอด 12
The Neverending Mission ภารกิจที่ไม่มีวันสิ้นสุด “อาจารย์คด ิ ว่าสิง่ ส�าคัญทีม ่ ล ู นิธส ิ บ ื ฯ ให้กบ ั คนไทยคืออะไรครับ?” เราเอ่ยถาม “พวกเราไม่ เ คยมานั่ ง คิ ด กั น เลยว่ า สิ่ ง ที่ มูลนิธส ิ ืบฯ ท�ามาตลอด 29 ปี มันเปลี่ยนวงการ อนุรก ั ษ์ ในประเทศไทยไปอย่างไร เราแค่ต้ังหน้า ตั้งตาท�า ไม่ได้มาดูว่าสิ่งที่ท�ามันไปเปลี่ยนใจคน ได้ ข นาดไหน แต่ คิ ด ว่ า สิ่ ง ที่ เกิ ด ขึ้ น คงพอช่ ว ย ให้คนเห็นความส�าคัญของผืนป่าที่มีต่อสิ่งมีชีวิต ทั้งหลาย ตั้งแต่คนไปจนถึงสัตว์ พูดง่ายๆ ว่าคุณ รักษาป่า คุณก็รก ั ษาน�า คุณก็รก ั ษาชีวิต”
ในโมงยามสุดท้ายของชีวิต เมื่อย้อนกลับ มามองเส้ น ทางที่ ผ่ า นมา ไม่ ว่ า ใครก็ ค งอยาก ตั้งค�าถามและหาค�าตอบให้กับตัวเอง ว่าสิง ่ ัน ่ ทีฉ ท� า ไป มั น เ สี ย เว ล า ห รื อ เป ล่ า ห รื อ สิ่ ง ที่ ท� า ได้ออกดอกผลเป็นรางวัลอะไรให้ใครบ้าง “อาจารย์ ไ ม่ เ คยคิ ด ว่ า เสี ย เวลาเปล่ า ใน การท�างานเลยนะ ทีผ ่ า ่ นมามันอาจเป็นงานทีย ่ าก
และเป็ น งานที่ ต้ อ งอาศั ย ความร่ ว มใจจริ ง ๆ แต่วันนี้ถ้ามองย้อนกลับไปก็น่าชื่นใจ เพราะมัน ชั ด เจนว่ า เป็ น สิ่ ง ที่ เ ราต้ อ งท� า และเป็ น สิ่ ง ที่ ไม่จ�าเป็นต้องได้รบ ั รางวัลเป็นอะไร แต่มันเป็น หน้าที่ของเราที่เป็นมนุษย์
“แล้วงานตรงนีก ้ ไ็ ม่ได้มอ ี ะไรพิเศษมากกว่า ใคร หรือ น้ อ ยกว่ า ใคร เราไม่ ไ ด้ รู ส ้ ึ ก ว่ า ตั ว เอง พิเศษหรือว่าเสียสละ ไม่ใช่เลย แต่ถ้ามองกลับไป ก็เป็นสิง่ ภูมใิ จทีไ่ ด้ทา � ไม่รูส ้ ิ ทีอ ่ าจารย์ยง ั แข็งแรง ทุกวันนี้ อาจเป็นเพราะบุ ญที่เราท�างานนี้ มามั้ง เข้ า ไปนอนกลางดิ น กิ น กลางทรายอยู่ ใ นป่ า อาจารย์มีความสุขดี กับชีวิต 29 ปีที่ผ่านมานะ ถื อ ว่ า เป็ น คนหนึ่ ง ที่ มี บุ ญ นะ ได้ ท� า ในสิ่ ง ที่ เรา ต้ อ งการท� า มาตลอด หลายคนจะชอบพู ด ว่ า
เกษี ยณแล้ วจะได้ ท�าสิ่งที่อยากท�า แต่ อาจารย์ ได้ท�าสิ่งนั้นมาตลอดจนถึงป่านนี้ ก็นับว่าโชคดี” ตลอดระยะเวลาในการเดินทางไกล นับตัง้ แต่ การเสี ย สละของ คุ ณ สื บ นาคะเสถี ย ร จนถึ ง การทุ่ ม เทชี วิ ต ให้ กั บ การดู แ ลป่ า ของนางสิ ง ห์ ตนนี้ ได้หว่านเมล็ดพันธุ์แห่งการอนุรก ั ษ์ เอาไว้ มากมาย มีคนรุน ่ ใหม่ๆ ทีม ่ ค ี วามสามารถ เดินเข้า
มาร่วมงานกันในมูลนิธส ิ บ ื ฯ และทุกคนต่างทุม ่ เท ชีวิตให้การดูแลรักษาป่ากัน และพร้อมจะส่งต่อ เจตนารมณ์ของคุณสืบต่อไป “งานอนุรก ั ษ์มน ั เป็นงานทีไ่ ม่มว ี น ั จบ เพราะ ว่ า มนุ ษ ย์ ไ ม่ ว่ า ใครๆ ก็ ต้ อ งการอยากได้ แล้ ว คนที่คิดว่าอยากได้มันมากกว่าคนที่คิดจะรักษา
งานอนุรก ั ษจึงต้องด�าเนินไปไม่มว ี น ั จบไม่มว ี น ั สิน ้ “ชีวต ิ ต่อจากนี้กไ็ ม่ได้คด ิ อะไร อยากจะตาย ง่ายๆ แต่กไ็ ม่มใี ครรูอ ้ ก ี แหละ ก็ไม่เป็นไร อะไรเกิดมา ก็รบ ั ได้ทงั้ นัน ้ เพราะว่ามันเกินก�าลังเราไป ไม่มใี คร รู ้ว่ า เราจะเป็ น อย่ า งไรในอนาคต ก็ ใช้ ทุ ก วั น นี้ ให้งา ่ ยๆ อย่าไปรบกวนสิง่ แวดล้อม อย่าไปรบกวน คนข้างเคียง ท�าสิ่งที่เราท�าได้ แล้วที่ส�าคัญคือ พอแก่แล้วอย่าขี้บ่น (หัวเราะ)” issue 607
09 seP 2019
13
A MUST EVENT BOOK EXPO THAILAND 2019 อี ก เพี ย งเดื อ นเดี ย วเท่ า นั้ น ที่คุณจะมีเวลาซ้อมเดินอย่างทรหด ยกเวตให้ แขนมี พ ลั ง และเตรี ย ม ร่างกายให้พร้อมกับการไปลุยงาน มหกรรมหนั ง สือ ระดั บ ชาติ ครั้งที่ 24 และ เทศกาลหนั ง สื อ เยาวชน ครัง้ ที่ 13 โดยในปีนม ี้ าในธีมหนังสือดี มีชวี ต ิ เต็มอิม ่ ไปกับหนังสือทรงคุณค่า ในราคาสุ ด พิ เ ศษจากส� า นั ก พิ ม พ์ ต่างๆ นวัตกรรมสือ ่ การศึกษารูปแบบ ใหม่ๆ และภายในงานยังคับคัง่ ไปด้วย กิ จกรรมที่เป็นสาระและบันเทิงอี ก เพียบ ที่ส�าคัญ ย้ายพิกัดไปจัดงาน ที่ อิ ม แพ็ ก เมื อ งทองธานี ในวั น ที่ 2-13 ตุ ล าคม 2562 ตั้ ง แต่ เ วลา 10.00-21.00 น. รายละเอียดเพิม ่ เติม www.facebook.com/bookthai
F E S T I VA L
BANGKOK’S 21ST INTERNATIONAL FESTIVAL OF DANCE & MUSIC มหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติ กรุงเทพฯ ครัง ้ ที่ 21 ทีร่ วมสุดยอดการแสดงไว้มากมาย ทีเ่ ด่นๆ ก็เช่น โอเปรา บั ล เลต์ ดนตรี การเต้ นร� า กายกรรม เป็ นต้ น ่ เขาจัดมาเป็นปีท่ี 21 แล้ว ถ้าใครยังไม่เคยแวะมาชมเรา ซึง ก็แนะน�าว่าควรลองมาดูสักครั้ง แล้วอาจจะติดใจต้องไป ทุกปี แบบเราก็ได้ โดยการแสดงนั้นจะมีข้ึนตั้งแต่วันนี้ถึง 23 ตุลาคม 2562 มีการโชว์ศล ิ ปะการแสดงทัง ้ แบบคลาสสิก ่ การแสดง และร่วมสมัยทัง ้ หมด 13 ชุด จ�านวน 19 รอบ ซึง ่ ่ ่ ทีน่าสนใจส่วนหนึงทีเราแนะน�าคือ
การแสดงโอเปราคลาสสิก เรือ ่ ง ตูรน ั โด (Turandot) ผลงานการประพั น ธ์ ข อง เกี ย โคโม ปุ ช ชิ นี จากคณะ เอคาเตอริน เบิ ร ์ก (Ekaterinburg Opera Theatre) คณะโอเปราชั้นน�าที่เก่าแก่ที่สุดของรัสเซีย การันตีด้วย 15 รางวัลหน้ากากทองค�า ซึง่ มีดก ี รีความทรงเกียรติเท่ากับ รางวัลออสการ์ของวงการภาพยนตร์เลย การแสดงบัลเลต์ทต ี่ ลกเสียดสีลอ ้ เลียน โดยคณะเลส์ บัลเลต์ ทร็อกคาเดโร เดอ มอนติ คาร์โล (Les Ballets Trockadero de Monte Carlo) หรือ เดอะ ทร็อ กส์ (The Trocks) จากนิวยอร์ก ซึ่งใครได้ดูก็ต้องข�าท้องคัด ท้องแข็งไปตามๆ กัน และการแสดงนีก ้ ช ็ มได้ทก ุ เพศทุกวัย การแสดงชุ ด 'หวัง จ้ า วจวิน ' (Lady Zhaojun)
การตี ค วามเรือ ่ งราวคลาสสิ ก ของหนึ่ ง ในต� า นานสตรี ผู้ เ ลอโฉมที่ สุ ด ในประวั ติ ศ าสตร์จี น ผ่ า นการน� า เสนอ แบบร่ว มสมั ย แต่ ยั ง คงความละเมี ย ดละไมของศิ ล ปะ การแสดงจากสาธารณรัฐประชาชนจีนไว้อย่างครบถ้วน ถ่ายทอดโดย หลี อวีก ้ งั ศิลปินรุน ่ ใหญ่ของจีนทีม ่ แ ี ฟนคลับ มากมาย และนี่เป็นการแสดงสุดยิง่ ใหญ่ของเธอครัง้ แรก นอกประเทศจีนด้วย บั ต รเข้ า ชมมหกรรมศิ ล ปะการแสดงและดนตรี นานาชาติ กรุงเทพฯ ครัง้ ที่ 21 ทุกรอบการแสดง จ�าหน่ายที่ www.thaiticketmajor.com รายละเอียดการแสดงเพิม ่ เติม ที่ www.bangkokfestivals.com
BOOK HE MOST HUMAN HUMAN จากการทดสอบวั ด ความสามารถของเครือ ่ งจักรว่าจะเลียนแบบ มนุ ษ ย์ ไ ด้ อ ย่ า งแนบเนี ย นแค่ ไหน น�ามาสูร่ างวัลมนุษย์ทเี่ ป็นมนุษย์ทส ี่ ด ุ โดยมอบให้กับคนที่สามารถท�าให้ คณะกรรมการเชื่ออย่างสนิทใจว่า ตนเองเป็นมนุษย์จริงๆ รางวัลนี้จึง ท�าให้ ไบรอัน คริสเตียน ซึง่ เคยเข้าร่วม การทดลองในปี 2009 ตัง้ ค�าถามถึง ค ว า ม เป็ น ม นุ ษ ย์ ผ่ า น ป รั ช ญ า ภาษาศาสตร์ และองค์ความรูอ ้ ื่นๆ เพือ ่ ค้นหาว่าสิง่ ใดกันแน่ทท ี่ า� ให้มนุษย์ เป็นมนุษย์ แล้วการที่คอมพิวเตอร์ หลอกให้คณะกรรมการเชือ ่ ว่ามันคือ มนุษย์ นัน ่ เป็นเพราะมันก�าลังเข้าใกล้ ความเป็นมนุษย์มากขึน ้ หรือมนุษย์ เราก�าลังเข้าใกล้ความเป็นเครือ ่ งจักร กั น แน่ หาค� าต อ บ ไ ด้ ใน หนั ง สื อ ปัญญา-มนุษย์-ประดิษฐ์ (ส�านักพิมพ์ ซอลท์ / ราคา 415 บาท)
14
MUSIC
LOVER : TAYLOR SWIFT ได้ ฤ กษ์ เ สี ย ที กั บ อั ล บั้ ม ใหม่ ข องนั ก ร้อ ง สาวดาวเด่ น ของวงการเพลงอเมริกั น อย่ า ง เทย์เลอร์ สวิฟต์ กับ Lover ซึ่งเป็นสตูดิโออัลบั้ม ที่ 7 ของเธอ แต่เป็นอัลบัม ้ ชุดแรกภายใต้ชายคา Republic Records และท�ายอดขาย Pre-sale เฉี ย ดล้ า นชุ ด ตั้ ง แต่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ว างขายด้ ว ยซ� า โดยล่าสุดเธอได้ปล่อยเอ็มวีในเพลงทีม ่ ช ี อ ื่ เดียว กับอัลบั้มออกมาให้แฟนๆ ได้ชมกันแล้ว พร้อม ท่วงท�านองและอารมณ์แสนหวาน เคล้าบรรยากาศ แห่ ง ความโรแมนติ ก ส� า หรับ คู่ ร ัก แน่ น อนว่ า เทย์เลอร์กย ็ งั คงเป็นเทย์เลอร์ทเี่ รารูจ ้ ก ั ทัง้ ซาวนด์ ดนตรี สไตล์การร้องทีม ่ เี อกลักษณ์ และน�าเสียง ทรงเสน่ห์ ที่ท�าให้โลกหลงรัก แถมการกลับมา รอบนี้ ยังสั่นสะเทือนวงการทั้งยอดจองอั ลบั้ม ที่ไปได้สวยตามที่คาด และข่าวการบันทึกเสียง ในอัลบัม ่ ทวงคืนผลงาน ้ เก่าๆ ของเธออีกครัง้ เพือ ของตัวเองกลับมา ต้องชูนิ้วโป้งให้เธอจริงๆ
PRODUCT
ANIMAL HUGS จนถึงเวลานี้เวลาผ่านไปเกือบหนึ่งเดือน ทีพ ่ ะยูนน้อยอย่างยามีลและมาเรียมได้จากเราไป รวมถึ งพะยู นและสัตว์น�าตั วอื่ นๆ ที่ทยอยตาย มาเกยตื้นให้เราเห็นจนใจสลาย โอบกอดความเศร้าโศกนี้ ไว้กับตุ๊กตา ocean wildlife งาน แฮนด์เมดทีว ่ างจ�าหน่ายในราคาตัวละ 380 บาท โดยรายได้ ห ลั ง หั ก ค่ า ใช้ จ่ า ยจะน� า ไปบริจ าค ให้กับองค์ กรช่วยเหลื อสัตว์ต่างๆ เพื่อบรรเทา ไม่ให้พวกมันต้ องเผชิญกั บความโหดร้ายจาก ความไร้ระเบียบและมักง่ายของมนุษย์จนเกินไป ส่งความปรารถนาดีดว้ ยอ้อมกอดแห่งความขอบคุณ ได้ที่ www.facebook.com/saltysoulsofficial
ISSUE 607
09 SEP 2019
CAFE
SHOW
FOREST BAKE CENTRAL WORLD
สูตรเสน่หา เดอะมิวสิคัล
หลั ง จากที่ Forest Bake ร้า นเบเกอรี กระท่อมน้ อยจากเชียงใหม่ ขยายความส�าเร็จ สูส ่ าขาทีส ่ องในซอยเล็กๆ อันเงียบสงบย่านสุขม ุ วิท เมื่อปีก่อน เดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ร้านเบเกอรี แสนอบอุน ่ ของสไตลิสต์สาว ‘ลิน’ - นลินนา ลี และสูตร ขนมปังของ คุณแม่ประณีต เชิดจารีวฒ ั นานันท์ ได้ ข ยั บ ขยายสู่ ส าขาที่ ส ามกลางกรุ ง ที่ ชั้ น 7 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ เป็นที่เรียบร้อย ตั้งอยู่ ระหว่ า งร้า นอาหารติ่ น ไท่ ฟ งและร้า นอาหาร ไทยนารา โดยสาขานีจ ้ ะเป็นเบเกอรีสไตล์ Artisan แบบสดใหม่ พร้อมคงคอนเซ็ปต์ Cabin in Capital กับการตกแต่งอันเป็นเอกลักษณ์เหมือนอยูก ่ ระท่อม กลางป่า ดอกไม้จริง และ Installation Art ฝีมอ ื คุณลินอย่างทีแ ่ ฟนๆ ร้าน Forest Bake คุ้นเคย เป็นอย่างดี ใครอยากทานขนมปังดีๆ ในบรรยากาศ แสนอบอุน ่ สามารถแวะมาเยีย ่ มเยือนกระท่อมน้อย หลั ง นี้ ไ ด้ ทุ ก วั น เวลา 10.30-22.00 น. หรือ ติดตามรายละเอียดที่ www.facebook.com/ forestbakebkk
“หากเปรี ย บความรั ก เป็ น เมนู อ าหาร ความรักทีแ ่ ต่ละคนปรารถนาก็คงเหมือนอาหาร ที่ ต่ า งรสชาติ แ ละหน้ า ตา” จากนวนิ ย ายและ บทโทรทัศน์ยอดฮิตถูกน�ามาตีความและปรุงใหม่ ให้ออกรสหวานขมผสมด้วยรัก พร้อมเสิรฟ ์ ให้ชม อีกครัง้ ในรูปแบบละครเพลง น�าแสดงโดย เชียร์ ฑิฆม ั พร กับบทบาทการแสดงละครเพลงครัง้ แรก ในชีวต ิ ทีท ่ ง้ั ร้องและเต้นแบบสุดพลังกับบทบาท อลิ น สาวโสดที่ มี ค วามมั่ น ใจสู ง อดี ต นางเอก เบอร์ 1 แห่งวงการบันเทิงที่ชีวิตก�าลังอยู่ในช่วง ขาลง มาร่วมเอาใจช่วยเธอและครูกก ุ๊ ทีจ ่ ะมาสอน อลินท�าอาหารเพื่อสานฝันให้เธอได้เข้าใกล้และ แต่ งงานกั บ ชายในอุ ด มคติ สูต รเสน่ หา เดอะ มิ ว สิ คั ล เปิ ด การแสดงทั้ง หมด 10 รอบ ตั้ ง แต่ วั น นี้ ถึ ง 6 ตุ ล าคม 2562 ณ โรงละครเอ็ ม เธียเตอร์ ซือ ้ บัตรได้ทไี่ ทยทิกเก็ตเมเจอร์ทก ุ สาขา รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม www.facebook.com/ bemusicalth
WORKSHOP
EXHIBITION
THE SPECIAL LETTER SEWING
ITALIAN RENAISSANCE WORLD PREMIERE
สายหวานงานปักจะต้องยิม ่ ทาง ้ แป้น เมือ Little Hands House ได้เปิดคอร์สสอนเทคนิค การปักผ้าต่างๆ ถึง 10 เทคนิค ที่สามารถน�าไป สร้างสรรค์เป็นตัวอักษรสวยๆ ได้หลากหลายรูปแบบ คอร์สนีเ้ หมาะทัง้ สาวช่างปักและคนทีไ่ ม่มพ ี น ื้ ฐาน งานปั ก มาก่ อ น ในราคาคอร์ส ละ 1,800 บาท แถมชุดอุปกรณ์ปักผ้าพื้นฐาน และเรายังรูม ้ าว่า ส� า หรับ นั ก เรีย นเก่ า ลดราคาเหลื อ 800 บาท เรียนวันเสาร์ที่ 28 กันยายน 2562 ตั้งแต่เวลา 12.00-17.30 น. ที่ 10ml. Cafe & Gallery ส อ บ ถ า ม ร า ย ล ะ เอี ย ด เพิ่ ม เ ติ ม ไ ด้ ที่ w w w. facebook.com/littlehandshouse
หลั งจากนิ ทรรศการ From Monet To Kandinsky ได้ ร ั บ การตอบรั บ เป็ น อย่ า งดี RCB Galleria จึ ง น� าเสนอนิ ท รรศการชุ ด ใหม่ ซึ่ ง จั ด ขึ้ น เป็ น ครั้ง แรกของโลกในชื่ อ Italian Renaissance World Premiere โดยจัดแสดง ผลงานของศิ ล ปิ น เอกชาวอิ ต าเลี ย นซึ่ ง ได้ ร ับ การยกย่องให้เป็นผู้ยิ่งใหญ่แห่งยุ คฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ และกลายเป็นแรงบันดาลใจให้ศล ิ ปิน คนอื่ น ๆ มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น ได้ แ ก่ ลี โ อนาร์โ ด ดาวินชี, ไมเคิลแองเจโล, ราฟาเอล และบอตติเชลลี ในรู ปแบบมัลติ มีเดี ยด้ วยการฉายภาพกราฟิก แอนิเมชันผ่านโปรเจ็กเตอร์พร้อมดนตรีประกอบ ตัง้ แต่วน ั นีถ ้ งึ 31 ตุลาคม 2562 ณ ชัน ้ 2 ริเวอร์ ซิตี้ แบงค็อก ซื้อบัตรได้ที่ www.zipeventapp.com รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.facebook.com/ RiverCityBangkok
15
CALENDAR M
T
W
TH
F
SA
S
09
10
11
12
13
14
15
A lAnd lost
tHE JAPAnEsE HoUsE
tUrAndot
WAlKInG WItH dInosAUrs
BAlAncE
JUrAssIc PlAstIc
tHE (Un) GovErnEd Body
ซาช่า ริคเทอร์ ช่างภาพ แนวสารคดีชว ี ต ิ และ สังคม จะมาถ่ายทอด เรื่ อ งราวชี วิ ต ของ ช า ติ พั น ธุ์ ม ล า บ รี หรือชนเผ่าตองเหลือง กลุม ่ ชาติพน ั ธุท ์ อ ี่ าศัย อยู่ในภาคเหนือของ ประเทศไทย ผ่ า น นิทรรศการ ‘A Land Lost: The Mlabri of Northern Thailand’ วันนี้ถึง 15 ตุลาคม 2562 ณ สถาบันเกอเธ่
เ ต รี ย ม ต ก อ ยู่ ใ ต้ ม น ต ร์ ส ะ ก ด ด้ ว ย บทเพลงอิ น ดี้ พ็ อ พ ของ The Japanese House โปรเจ็กต์ของ ศิ ล ปิ น เ ดี่ ย ว ห ญิ ง แอมเบอร์ เบน ใน ‘The Japanese House Live in Bangkok’ วันนี้ เวลา 20.30 น. ณ LIDO CONNECT จ� าหน่ ายบัตรที่ไทย ทิกเก็ตเมเจอร์
การแสดงอุ ป รากร ชุด ‘Turandot’ โดย Ekaterinburg คณะ อุ ป รากรแนวหน้ า เก่าแก่ทส ี่ ด ุ ของรัสเซีย วันนี้ เวลา 19.30 น. ณ หอประชุ ม ใหญ่ ศู น ย์ วั ฒ น ธ ร ร ม แห่ ง ป ร ะ เท ศ ไท ย จ� าหน่ ายบัตรที่ไทย ทิกเก็ตเมเจอร์
เหล่าไดโนเสาร์ขนาด มหึมาหลากสายพันธุ์ จะกลับมาทวงบัลลังก์ ค ว า ม ยิ่ ง ให ญ่ บ น โลกใบนี้อีกครัง้ กับ ‘Walking with Dinosaurs - The Arena Spectacular’ วันนี้ ถึง 15 กันยายน 2562 ณ อิ ม แพ็ ก อารีน า เมืองทองธานี ติดตาม รอบการแสดงและ จ� าหน่ ายบัตรที่ไทย ทิกเก็ตเมจอร์
นิทรรศการ ‘Balance’ โดย ทาคาโนบุ โคบายาชิ น�าเสนอความคิด เกี่ยวกับดุลยภาพใน พื้นที่ 2 มิติ สภาวะ คลุมเครือทีพ ่ บ ผ่าน ภาพวาดสีนา� มัน วันนี้ ถึ ง 3 พฤศจิ ก ายน 2562 ณ 100 ต้นสน แกลเลอรี ถ.เพลินจิต (เปิดเฉพาะวันพฤหัสบดีถงึ วันอาทิตย์)
พบกับประติมากรรม ไดโนเสาร์ขนาดใหญ่ และสัตว์ตา่ งๆ ทีส ่ ร้าง ขึ้ น จ า ก ข อ ง เ ล่ น ที่ ไม่เล่นแล้วจากประเทศ ญี่ ปุ่ น และประเทศไทย ผลงานศิ ล ปิ น ชาวญีป ่ น ุ่ นักสร้างสรรค์ ฮิโรชิ ฟูจิ ใน ‘จูราสสิก พลาสติ ก ’ วั น นี้ ถึ ง 14 ตุ ล าคม 2562 ณ ช่างชุย ่ (เว้นวันพุธ)
การแสดงชุ ด ‘The (Un)Governed Body’ ตั้ ง ค� า ถามเกี่ ย วกั บ ร่างกายที่ต้องเผชิญ ต่ อ รอง หรือ จั ด การ กับสิง่ หรืออัตลักษณ์ที่ แปลกปลอม วันนี้ถึง 22 กั น ยายน 2562 ณ ศูนย์ศลิ ปะวัฒนธรรม แสงอรุณ (เว้นวันจันทร์ และอังคาร) ติดตาม รอบการแสดงและ ส�ารองทีน ่ ง่ั ทีโ่ ทร. 082692-6228
WHERE TO FIND
Where the conversations begin. adaybulletin.com
หมอชิต
5
5
7 ร้าน DEAN & DELICA 7 สาขาทั่วกรุงเทพฯ
ร้านอินทนิล 5 สาขา สาขาทั่วกรุงเทพฯ
Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ
BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น.
หมอชิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ สยาม อโศก ศาลาแดง
Meet Up Every Monday!
2 0 0
ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ากว่า 100 จุดทั ่วประเทศ 20 ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน
นอกเหนือจากการออมแล้ว น้องบางคนเริม ่ ่ งหุน ่ ความส�าคัญของ สนใจเรือ ้ แล้วด้วยเช่นกัน ซึง วัยนีไ้ ม่ได้อยูท ่ ว ี่ า่ อยากจะลงทุนเงินจ�านวนเท่าไหร่ แต่ ต้ น ทุ น ที่ ส� า คั ญ ของพวกเขาซึ่ ง ได้ เ ปรี ย บ คนวัยอย่างพวกผมคือ ‘เวลา’ พวกเขาสามารถ วาดฝันของตัวเองเอาไว้ได้เลย แล้วก็คอ ่ ยๆ หาวิธี ่ เดินทางไปหาฝันทีวาดเอาไว้ จะช้าหรือเร็วก็แล้วแต่ ่ งมือในการจัดการและลงทุนที่น้องๆ เลือก เครือ
เรือ ่ ง : โอมศิริ วีระกุล ภาพ : พงศ์ธร ยิ้มแย้ม
การปฏิเสธเพื่อนมายืมเงินคือการรักษา ความฝันและความสัมพันธ์ระหว่างเรา ให้เติบโตต่อไป
ทว่ า สิ่ ง หนึ่ ง ที่ น้ อ งๆ จะต้ อ งพบเจอเมื่ อ โตขึน ้ นั้น คือการรักษาความฝันทีว ่ าดไว้บวกกับ ระยะทางของความฝันที่ไม่ให้มีระยะห่างมาก จนเกิ น ไป จุ ด นี้ ก ลายเป็ น ประเด็ น ส� า คั ญ ของ การบรรยายในการถ่ายทอดความรูแ ้ ละประสบการณ์สว่ นตัวของวิทยากร ซึง่ แบ่งประเด็นออกเป็น 2 เรือ ่ งใหญ่ คือ 1. เมื่อเราผิดพลาดจงหัดให้อภัยตัวเอง 2. ปฏิเสธคนอื่นให้เป็น วิทยากรบอกว่า ความฝันเราไม่สามารถ ถูกประกอบจากความตั้งใจและความส�าเร็จได้ ร้อยเปอร์เซ็นต์ เพราะถ้าเป็นเช่นนัน ้ ต้องพิจารณา ว่ามันอาจไม่เกิดจากความสามารถและความพยายามที่ เราฝ่ า ฟั น เรีย นรู จ ้ นได้ ร บ ั มั น มา ซึ่ ง เป้าหมายหรือความฝันทีว่ าดไว้มน ั อาจ เป็ น เป้ า ที่ เราเอื้ อ มมื อ หยิ บ มาง่ า ย จนเกินไป แล้วเราอาจหลอกตัวเองว่า เราท�าได้แล้ว นั่นอาจไม่ใช่สง ่ิ ทีเ่ กิดจาก ความภูมใิ จ รวมถึงบทเรียนเรือ ่ งการเงิน จะไม่เกิดขึ้น แท้จริงแล้ วความส�าเร็จต้ องมีองค์ ประกอบของความสิ้ น หวั ง และความล้ ม เหลว ปนอยูด ่ ว ้ ย นีค ่ อ ื เรือ ่ งราวทีจ ่ ะท�าให้มม ุ มองการใช้ เงินและใช้ชว ี ต ิ ของเราคมขึน ้ และสามารถน�ามา เป็นกรณีศก ึ ษาและเรือ ่ งเล่าทีเ่ ตือนสติต่อตัวเรา และคนอื่นๆ ที่ต้องการจะพิชิตเป้าหมายเหมือน เราในอดีตด้วย นีต ่ า ่ งหากคือต�าราจากการบรรลุ เป้าหมายที่แท้จริง การบรรลุเป้าหมาย ระหว่างทางต้องเจอ ช่วงผิดหวัง ท้อแท้ ค�าถามคือต้องท�าอย่างไร สิง ่ แรกเลยคือการให้โอกาสแก่ตัวเอง และ อย่าซ�าเติมตัวเอง ถึงแม้ว่าในบางสถานการณ์ จะมี บ้ า ง เช่ น ด่ า ทอตั ว เองอยู่ ในใจ แต่ อ ย่ า ให้ สภาวะนั้นอยู่นานเกินไป เพราะไม่เช่นนั้นเราจะ เกิดความรูส ้ ก ึ ภายในกดทับความกล้าในการเพิม ่ ความเชื่ อ มั่ น ให้ ตั ว เอง จนกลายเป็ น คนขาด ความเชื่อมั่นไปโดยปริยาย และไม่กล้าท�าตาม ความฝันใดๆ ทัง้ สิน ี ต ิ เรา ้ อีกต่อไป นั่นจะท�าให้ชว ปราศจากความสุขด้วยเช่นกัน ส่ ว นเรือ ่ งการหั ด ปฏิ เ สธให้ เป็ น นั้ น อยู่ ใน บริบทของการทีเ่ พือ ่ นเข้ามาขอยืมเงินๆ ทองๆ จาก คนรอบข้ า ง และหากเกิ ด เหตุ ก ารณ์ นี้ ในชี วิ ต ของเรา จงเตรียมใจไว้เลยว่าความสัมพันธ์ของเรา กับเพื่อนก�าลังจะเปลี่ยนไปอย่างแน่นอน เพราะ
สถานะจากเพือ ่ นกันได้เปลีย ่ นเป็นเจ้าหนีแ ้ ละลูกหนี้ เรียบร้อยแล้ว วิทยากรแนะน�าว่า ทางทีด ่ ค ี อ ื ปฏิเสธไปเลย โดยไม่ ต้ อ งกลั ว ว่ า จะท� า ร้า ยน� า จิ ต น� า ใจกั น ซึ่ ง ตรงนี้ มี เหตุ ผ ลในเชิ ง จิ ต วิ ท ยาในการเล่ า อยูเ่ หมือนกัน วิทยากรอธิบายว่า การขอยืมเงิน จากใครสักคน ในเบือ ้ งลึกของฝั่ งคนถูกให้ยม ื จะ เกิดจากความรูส ้ ก ึ เกรงกลัวต่อคนทีจ ่ ะขอยืมว่า กลั ว เขาไม่ ร ัก เรา กลั ว เขามองว่ า เราเป็ น คน แล้งน�าใจ เมือ ่ เกิดความไม่มัน ่ ใจและความกลัว ต่อตัวเอง เราจึงต้องให้เขายืมเงินไป ซึง่ เอาเข้าจริง เหตุ ผ ลนี้ ก็ ส ามารถอธิ บ ายได้ กั บ ทุ ก เรื่อ งนะ ไม่ใช่แค่เรือ ่ งเงินเพียงอย่างเดียว หากถามถึงทางออกก็มอ ี ยู่ 2 วิธี คือ วิธแ ี รก ก็ให้ยม ื เงินไปนัน ้ งให้ในจ�านวนทีเ่ รา ่ แหละ แต่ตอ ต้องคิดแล้วว่าไม่เจ็บตัว และคิดว่าจะไม่ได้เงิน คื น อี ก เลย เพราะโอกาสแบบนั้ น มี อ ยู่ สู ง มาก แถมยิ่งทวงมาก ความสัมพันธ์ฉันเพื่อนก็เสี่ยง ที่จะพังทลายลงไปอีก วิ ธี ที่ ส องคื อ ต้ อ งทบทวนต่ อ ตั ว เองถึ ง เป้าหมาย ถ้าในชีวต ิ เรามีเป้าหมายทีช ่ ด ั เจนและ ต้ องอาศัยเรือ ่ งเงิน ก็ ต้องแสดงเจตจ�านงและ บอกเหตุผลต่อคนทีข ่ อยืมไป หรือไม่กป ็ ฏิเสธ แบบดือ ้ ๆ ไปเลย เพราะเรารูอ ้ ยูแ ่ ก่ใจว่า เราไม่ให้เพราะเหตุใด เมื่อเป็นแบบนี้ บ่อยๆ คนที่จะเข้ามาขอยืมก็จะหาย ไปเอง เพราะเขารูแ ้ ล้วว่าเราไม่กลัว ความรูส ้ ก ึ ทีจ ่ ะไม่ถก ู รักหรือถูกมอง ว่าแล้งน�าใจ วิ ธี ป ฏิ เ สธแบบหลั ง นี้ ท� า ให้ นึกถึงเรือ ่ งราวในปี 1973 ของ จอห์น พอล เก็ตตี้ (J. Paul Getty) อภิ ม หาเศรษฐีช าวอเมริกั น เจ้ าของโรงกลั่ นน� ามันที่ปฏิ เสธการจ่ ายค่ าไถ่ เพื่อแลกตัวกับหลานชายของเขา ซึ่งถูกคนร้าย จับตัวไป เหตุผลของจอห์นนั้นน่าคิดพอสมควร เพราะเขาให้เหตุผลว่า หากเขาจ่ายเงินจ�านวน หลายล้านตามทีค ่ นร้ายเรียกขอไปนัน ้ เหตุการณ์ เหล่ า นี้ ก็ จ ะเกิ ด ขึ้ น กั บ หลานอี ก จ� า นวน 14 คน ของเขาซ�าแล้ วซ�าเล่ า เหตุการณ์ เหล่ านี้ ได้ ถูก น�ามาสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อ All the Money in the World ด้วยนะ เอาเป็นว่าเรือ ่ งเงินส� าคั ญมากๆ นะครับ ใครที่ยังไม่มีเป้าหมาย หรือมีเป้าหมายแต่ ยัง ไม่มแ ี ผนการ ก็ลองคิดลองท�าดูนะครับ อย่ามัว ท�างานไปเก็บเงินไป แล้วก็รอให้คนอื่นเข้ามาขอ หยิบยืม แถมปฏิเสธไม่เป็นอีกต่างหาก ทีส ่ า � คัญ กว่านั้นคือการปล่อยเวลาให้หายไปเรือ ่ ยๆ โดย ไม่มว ี ธ ิ จ ี ด ั การการเงินใดๆ เลยนั้น ก็ไม่ตา ่ งอะไร จากการถูกเรียกค่ าไถ่ แบบแนบเนี ยน ที่ท�าให้ เราสูญเสียทั้งเป้าหมาย การเงิน เวลา รวมถึง ความสัมพันธ์กบ ั ผองเพือ ่ นไปอย่างน่าเสียดาย
MONEY LIFE BALANCE
่ ง รั้งหนึ่งผมมีโอกาสไปนั่งฟังเรือ ค การจัดการความรูท ้ างการเงิน จากสถาบันการเงินแห่งหนึ่ง ที่จัดกิจกรรมมอบความรู้ เรื่องการออมเงินให้แก่น้องๆ ระดับมัธยมปลายที่สนใจเรื่อง การออมและการบริหารเงิน ซึ่งไม่น่าเชื่อว่าน้องๆเริ่มรู้จัก วางแผนการออมกันแล้ว แถมหลายคนก็มีเป้าหมายกัน ซะด้วยเล่นเอาผมแอบอิจฉาที่ ้ ้าง สมัยเราไม่มก ี จ ิ กรรมดีๆแบบนีบ
CONTRIBUTOR
โอมศิริวีระกุล บรรณาธิการ เว็บไซต์การเงิน aomMONEY
ISSUE 607
09 SEP 2019
17
เรือ ่ ง : ชยพล ทองสวัสดิ์
ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร
HE SAID
18
Love and IndIfference ่ งอัตลักษณ์ เราคิดว่าท�าไมงานศิลปะต้องเซ็นลายเซ็นไว้บนผลงาน “รูไ้ หมว่าตัง ้ แต่เราเรียนจบศิลปากร เราทิง ้ งานทุกอย่างของเราหมดเลย เพราะเราเริม ่ คิดถึงเรือ ท�าไมงานต้องโดนแปะอยูท ่ ผ ี่ นัง สรุปแล้วงานศิลปะคือวัตถุใช่ไหม ไม่ใช่คณ ุ ค่าทางจิตใจใช่ไหม” ่ ง ่ ทีเ่ ริม ย้อนกลับไปในช่วงทีย ั เป็นนักศึกษาคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ‘ป้อม’ – พุ ทธิพงษ์ อรุณเพ็ง เป็นวัยรุน ่ คนหนึง ้ ่ ตัง ่ เป็นเรือ ่ งปกติของคนท�างานศิลปะ ทีต ่ อ ้ อ ่ ขวนผนังไว้รอให้คนอืน ่ ๆ มาชืน ่ ชม ค�าถามกับค�าว่า ‘อัตลักษณ์’ ซึง ้ งมีลายเซ็นก�ากับว่าผลงานชิน ื ตัวตนของเราทีแ ้ นีค
ความคิดแบบนีเ้ องทีเ่ ป็นจุดเริม ่ ต้นให้เขาเบน ่ นไหว ด้วยความเชือ ่ ความสนใจมาสูง ่ านภาพเคลือ ว่าเป็นศิลปะเชิง ‘ความคิด’ มากกว่า ‘วัตถุ’ เริม ่ อาชีพ อาร์ตไดเร็กเตอร์ประจ�ากองถ่ายภาพยนตร์ จนได้โอกาส ่ ว ไปเรียนต่อด้าน Digital Filmmaking ทีน ิ ยอร์ก และท�าให้ความคิดหมกมุน ่ ต่อสิง ่ ทีเ่ รียกว่า ‘ตัวตน’ ้ ไปด้วย และ ‘อัตลักษณ์’ ยิง ่ เข้มข้นขึน ในวัย 40 ปี พุ ทธิพงษ์ อรุณเพ็ง ทีเ่ คยฝาก ผลงานกับภาพยนตร์ขนาดสัน ้ อย่าง ชิงช้าสวรรค์ (Ferris Wheel, 2015) กลับมาอีกครัง ้ กับภาพยนตร์ ่ ขนาดยาวเรือ งแรกในชี วิ ต อย่ า ง กระเบนราหู (Manta Ray, 2018) ที่ได้เดินทางไปฉายใน เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติมาแล้วทัว ่ โลก และคว้า รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยมในสาย Orizzonti ทีเ่ ทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเวนิส ครัง ้ ที่ 75 ตัวภาพยนตร์สะท้อนถึงปัญหาและทัศนคติตอ ่ ่ วข้องกับวิกฤต ความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ ทีเ่ กีย ผูอ ้ พยพชาวโรฮีนจาในประเทศไทย เพียงแต่สง ิ่ ทีเ่ ขา ่ ่ ้ ยกมาเล่าเป็นแค่ภาพหนึงจากความขัดแย้งทีเกิดขึน ่ งอัตลักษณ์ เท่านัน ี่ ต ี น ้ ตอจากเรือ ้ ยังมีเหตุการณ์ทม และสร้างบาดแผลให้กบ ั สังคมอีกมากมาย ้ ชาติ ศาสนา การเมือง อัตลักษณ์ของเชือ ่ เป็นเรือ ่ งละเอียดอ่อน เป็นปมปัญหาทีส ่ ร้าง ความเชือ ความขัดแย้ง หรือบางครัง ้ สร้างความหวาดกลัว ความเกลียดชังต่อฝ่ายตรงข้าม คงปฏิเสธไม่ได้วา่ ปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นส่วนหนึ่งมีสาเหตุ ่ ทีส ่ ามารถขีดเขียนให้บางสิง มาจากอิทธิพลของสือ ่ กลายเป็ นความดีหรือเลวได้ โดยเฉพาะในยุคนี้ ที่ ค นสาดความเกลี ย ดชั ง ใส่ กั น อย่ า งง่ า ยดาย โซเชี ย ลมี เ ดี ย จึ ง กลายเป็ น สถานที่ ส ร้ า งอคติ ้ ในคนคนหนึง ่ ความกลัว ความเกลียดชัง ให้กอ ่ ตัวขึน ่ าจไม่ได้รจ ได้ โดยทีอ ู้ ก ั สิง ่ ทีเ่ กลียดกลัวอย่างถ่องแท้ “ถ้าคุณ ไม่ไปอยู่ ตรงนั้ น ไม่ ไ ด้ ไ ปคลุ กคลี ไม่ได้มป ี ระสบการณ์รว่ ม คุณไม่มท ี างรูข้ อ้ เท็จจริงเลย ่ ่ สิง ุ รูก ้ จ ็ ะมาจากสือ จากเฟซบุก ๊ จากทวิตเตอร์ ่ ทีคณ เพราะว่าคุณชอบนั่งอยู่ในห้องแอร์แล้วดูชาวนา ่ วข้าวไง คุณสามารถสาดค�าด่าออกไปได้ทว เกีย ั่ โลก ่ ว โดยทีต ั คุณเองก�าลังนัง ่ เล่นโทรศัพท์อยู่ หรือไม่ ก็นง ั่ อยูห ่ น้าจอคอมพิวเตอร์” ความแตกต่างทางความคิดและความเชื่อ ่ งแสนปกติในสังคม เพียงแค่วา่ อาจจะดีกว่า เป็นเรือ ถ้าเราจะเริ่มตระหนักถึงผลของการก่อร่างสร้าง อคติ แ ละความกลั ว ขึ้ น มาโดยปราศจากการท� า ่ ก ความเข้าใจทีถ ู ต้อง แม้จะทีละนิดก็ตาม
“ถ้ า คุ ณ ไม่ ไ ปอยู่ ต รงนั้ น ไม่ ไ ด้ ไ ปคลุ ก คลี ไม่ ไ ด้ มี ประสบการณ์รว ่ ม คุณจะ ไ ม่ มี ท า ง รู้ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง เลย”
issue 607
09 seP 2019
ผูอ ้ พยพ “ต้ อ งบอกก่ อ นว่ า การมองอั ต ลั ก ษณ์ ข อง มนุษย์ในมุมมองของเราวัยนั้น เรามองเป็นด้านลบ เพราะเราเชื่ อ ว่ า ขนาดศิ ล ปิ น ยั ง หวงตั ว ตนของ ตั ว เองเลย แล้ ว ท� า ไมมนุ ษ ย์ ถึ ง หวงเผ่ า พั น ธุ์ ข อง ตัวเอง หวงความเป็ น ชาติ ความเป็ น ศาสนา ความเป็นพืน ้ ทีข ่ องตัวเองขนาดนี้ เราก็เลยพยายาม โฟกัสหาว่าอะไรทีส ่ ง่ เสริมความคิดด้านลบนัน ้ ของเรา อ๋ อ นี่ ไ ง การที่ ผู้ อ พยพเข้ า มาเมื อ งไทย แล้ ว เรา ผลักเขาออก นี่ไง มันคือด้านลบ คือผลลัพธ์ทม ี่ นุษย์ ไม่ควรจะสร้างอัตลักษณ์ขน ึ้ มา เราก็เลยเริม ่ ค้นคว้า จนมาเจอเรือ ่ งโรฮีนจาในช่วงปี 2009 ตอนนัน ้ คนก็ยงั ไม่ ค่ อ ยสนใจโรฮี น จา ทั้ ง ที่ มี ปั ญ หามานานมาก เลย เขาอพยพมาทีเ่ มืองไทย เขาโดนหลอกค้ามนุษย์ เยอะมาก เราก็เลยเริม ่ ตามเขามาตัง้ แต่ปี 2009” ้ ชาติ อคติทางเชือ “ตัง้ แต่สมัยเด็กๆ เราก็เริม ู เจ๊ก ่ เห็นว่าคนไทยดูถก ดู ถู ก ลาว ดู ถู ก เขมร รู ้ว่ า มั น รุ น แรงในระดั บ หนึ่ ง อาจไม่ใช่การรุนแรงทีถ ่ ึงขัน ั ้ หยิบมีดมาฆ่ากัน แต่มน คือการดูถก ู ทีเ่ กิดขึน ้ ซึง ่ ตอนนั้นเราไม่ค่อยตระหนัก เท่าไหร่ จนมีเรือ ่ งโรฮีนจาเกิดขึน ้ มา จึงเริม ่ มองกลับมา ว่า จริงๆ แล้วประเทศเรา หรือกลุม ่ คนทีอ ่ ยูร่ อบตัวเรา มีอคติ กับเชื้อชาติ อื่นมาก เราจึ งเริม ่ ตั้ งค� าถามกั บ ค�าว่า ‘ชาตินย ิ ม’ สิง่ ทีส ่ งั คมเราท�าคือพยายามไปกด ชาติอน ื่ เท่านัน ้ เราไม่เคยเห็นว่ามันเกิดการพัฒนาอะไร ในสั ง คมเลย เราเพิ่ ง ได้ อ่ า นข่ า วหนึ่ ง ที่ บ อกว่ า มีกลุ่มไทยพุทธที่พยายามต่อต้านพระราชบัญญัติ การบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม เราก็ไม่ได้คด ิ อะไร มาก แต่สง ิ่ ทีเ่ ราเห็นคือเพือ ่ นในเฟซบุก ๊ ของเราก�าลัง เริม ่ มีความเกลียดชัง จากการแชร์โพสต์แล้วเขียนว่า อิสลามคือศาสนากินชาติ เราถามว่า ในการที่เรา พยายามป้ อ งกั น ชาติ ป้ อ งกั น ศาสนาพุ ท ธของเรา ด้ วยการที่ไปเอาข้อแตกต่ างของเขามาด่ าจะช่วย สร้างความดีให้เราได้อย่างไร” คนชัน ้ กลางในกรุงเทพฯ “เวลาหนังของเราไปฉายต่างประเทศ ทุกคน ก็จะโฟกัสว่านี่คือหนังโรฮีนจา เพราะดันเป็นกระแส ตอนที่หนังได้เริม ่ ฉาย แต่อาจจะต้องผิดหวัง เพราะ ไม่ได้มป ี ระวัตเิ กีย ่ วกับโรฮีนจาในหนังเราเลย แม้กระทัง่ เวลามีคนมาบอกว่า ‘ผมไม่รูเ้ รือ ่ งโรฮี นจาเลย ผม คาดหวังว่ามานั่งดูหนังของคุณแล้วคุณจะเล่าเรือ ่ ง โรฮีนจาทีล ่ ะเอียดอ่อนกว่านี้เสียอีก’ เราจะชอบตอบ ไปว่า ทุกวันนีโ้ ลกมีขา่ วสารทีเ่ พียงพอแล้ว ไม่จา� เป็น ต้องเอาหนังความยาวหนึง่ ชัว ่ โมงครึง่ มาอธิบายอะไร ที่ ม ากกว่ า นั้ น หรอก ถ้ า เกิ ด คุ ณ อยากจะรู ้จ ริง ๆ คุณก็ ไปเจอของจริงเลย ไม่อย่างนั้ นการนั่ งดูหนั ง ก็ จะเป็นเพียงภาพคนชั้นกลางในกรุ งเทพฯ ที่ชอบ ชีวต ิ แบบชนบท นึกภาพคนนัง่ อยูใ่ นร้านกาแฟติดแอร์ และข้างนอกเป็นทุง่ นาทีม ่ ค ี นท�านาอยู่ แล้วมีความสุขมากทีจ ่ ะได้นง ี วาม่ั จิบกาแฟในขณะเดียวกันก็มค เอ็ น ดู ค นเหล่ า นั้ น เหมื อ นกั น กั บ การที่ เราท� า หนั ง ฉายในโรง คนทีน ่ ่ังในโรงหนังมีแอร์เย็น อยูใ่ นพืน ้ ที่ ปลอดภั ย นั่ ง ดู ส งครามอิ ร ัก ดู ซู ด าน ดู โรฮี น จา
ดูความทุกข์ระทมของคนเผ่าหนึ่งในโลก เกิดความรู ้สึ ก สงสาร แล้ ว ก็ ก ลั บ บ้ า นไป จบ คื อ ภาพยนตร์ อาจจะท�าให้คนดูมองเห็นหรือสนใจปัญหาได้ระดับหนึง่ แต่อย่าคาดหวังว่ามันจะช่วยให้เข้าใจลึกซึง้ ขนาดนัน ้ นอกจากว่าคุณสนใจแล้ วคุณก็ เข้าไปเจอของจริง คุณอยากเจอโรฮีนจาคุณก็ไปยะไข่ นั่นคือความคิด ของเรา” ่ อิทธิพลของสือ “ท� า ไมมนุ ษย์ เ ราอยากเห็ น ภาพผู้ อ พยพ ในการเดินแบกของพะรุงพะรังข้ามน�า แต่เราถามว่า ถ้าเกิดสมมติวา่ มีชา่ งภาพนักข่าวไป สิง่ ทีเ่ ขาพยายาม จะถ่ า ยให้ ไ ด้ ค งไม่ ใช่ ผู้ อ พยพก� า ลั ง นั่ ง เล่ น มื อ ถื อ แน่ น อน เขาก็ ต้ อ งพยายามเลื อ กโมเมนต์ ที่ ดู มี ความทุกข์ใช่ไหม แสดงว่ามันมีมม ุ มองทีโ่ ดนสืบทอด กันมานานมาก ประเด็นคือถ้าคุณไม่ไปอยู่ตรงนั้ น ไม่ ไ ด้ ไปคลุก คลี ไม่ได้ มีประสบการณ์ รว ่ ม คุณ จะ ไม่มีทางรู ข ้ ้อเท็จจริงเลย สิ่งที่คุณรู ก ้ ็ จะมาจากสื่อ จากเฟซบุก ๊ จากทวิตเตอร์ เพราะว่าคุณชอบนัง่ อยูใ่ น ห้องแอร์แล้วดูชาวนาเกี่ยวข้าวไง คุณสามารถสาด ค�าด่าออกไปได้ทว ั่ โลกโดยทีต ่ ัวคุณเองก�าลังนั่งเล่น โทรศัพท์อยู่ หรือไม่กน ็ ง่ั อยูห ่ น้าจอคอมพิวเตอร์” รูเ้ ท่าทัน “ตอนนี้มีสื่อเข้ามาในหัวได้ง่ายและเยอะมาก จริงหรือไม่จริงก็ไม่รู ้ ตัวเราเองพยายามตัดไม่รบ ั รู ้ เรือ ่ งพวกนัน เราโฟกั ส ในสิ ง ที เ ่ ราสนใจจริ ง ๆ ว่ า มั น คื อ ่ ้ อะไร ในชีวิตเราควรจะมีโฟกัสอะไรสักเรือ ่ งหนึ่งนะ ยกตัวอย่าง ตอนนีเ้ ราเริม ่ งประวัตศ ิ าสตร์ ่ โฟกัสไปทีเ่ รือ เราได้ ฟังคลิ ปของนั กเดิ นทางท่านหนึ่ ง เราก็ เริม ่ มี การเชื่ อ มโยงไปว่ า เออ เราได้ รู ้ว่ า ประวั ติ ศ าสตร์ ตรงนัน ้ น ึ้ มา เริม ่ มีความสัมพันธ์ ้ มันเลยเกิดเป็นแบบนีข ที่ น่ า สนุ ก ทีนี้พอมีเรือ ่ งอื่ นเข้า มา เราก็ จ ะไม่สนใจ ไม่ตาม ไม่อ่าน เพราะพออ่านไปก็จะอยากรูแ ้ ล้วว่า เกิ ด อะไร แล้ ว เกิ ด ความพยายามจะสร้า งข้ อ สรุ ป บางอย่าง เราจะโฟกัสในสิ่งที่น่าจะเป็นข้อเท็จจริง สิง่ ทีม ่ ป ี ระโยชน์ และมีความสุขกับชีวต ิ ของเราก็พอ” ความรัก “พูดแล้วเขินนะ แต่สง่ิ เดียวจริงๆ ทีช ่ ว ่ ยมนุษย์ได้ คื อ ความรัก ถ้ า เกิ ด เราเริม ้ ึ ก ว่ า โรฮี น จาน่ า กลั ว ่ รู ส เราลองให้ความรักเขาไป ลองคิดดีๆ ว่าท�าไมเราถึง มองว่าเขาน่ากลัว มนุษย์เกิดมาคงไม่น่ากลัวตั้งแต่ เกิดมั้ง เด็กเล็กๆ ตัวน้อยก็เป็นมนุษย์ เราเข้าใจเขา ก็เท่านัน ่ นเราคิดต่างกับเราในหลายๆ ้ เอง เหมือนเพือ เรือ ่ ง เราก็ให้อภัย มีเมตตาให้เขา แล้วก็ให้ความรักเขา มากๆ ไม่อย่า งนั้ นก็ จ ะสาดโคลนกั นไปมา ตั วเรา ก็ ยั ง ไม่ ไ ด้ ท� า ได้ ท้ั ง หมดนะ แต่ อ ย่ า งน้ อ ยเราจะมี หลั ก การให้ ตั ว เองท� า ตาม และบอกตั ว เองว่ า ถ้ า ไม่ ท� า ตามก็ จ ะผิ ด จากที่ ต้ั ง ใจไว้ ”
19
BULLETIN B Central | ZEN International Watch Fair 2019 มหกรรมนาฬิ ก าครั้ง ยิ่ ง ใหญ่ แห่ ง ภูมิภาคเอเชียประจ�าปี ครัง้ ที่ 21 ‘เซ็นทรัล | เซน อินเตอร์เนชั่นแนล วอทช์ แฟร์ 2019’ (Central | ZEN International Watch Fair 2019) ภายใต้คอนเซ็ปต์ ‘More Than Time Itself’ ชวนเปิดประสบการณ์สม ั ผัสนวัตกรรม เรือนเวลา ส่งตรงจากสองงานแสดงนาฬิกา ระดับโลก นั่นคือ บาเซิลเวิลด์ 2019 (Basel World 2019) และเอสไอเอชเอช (SIHH The Salon International de la Haute Horlogerie) จากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และยังครบครันด้วยสุดยอดแบรนด์นาฬิกา ระดับเวิลด์คลาส แบรนด์เอ็กซ์คลูซฟ ี เฉพาะ ห้างเซ็นทรัล รวมถึงคอลเลกชันใหม่ล่าสุด ลิมิเต็ดเอดิชัน รวมกว่า 180 แบรนด์ มาให้ อัพเดตพร้อมกันทีป ่ ระเทศไทยด้วย ‘ช่วงเวลา ทีด ่ ท ี ส ี่ ด ุ ’ และ ‘โปรโมชันทีด ่ ท ี ส ี่ ด ุ ’ ณ ดิ อีเวนต์ ฮอลล์ ชั้น 3 ห้างเซ็นทรัล ชิดลม ตั้งแต่วันนี้ ถึง 16 กันยายน 2562 และที่แผนกนาฬิกา ห้างเซ็นทรัลทุกสาขา และเซน จนถึ งวันที่ 8 ตุลาคม 2562
การบินไทยเปิดเส้นทางบินเซนได
Seoul Street Festival Thailand 2019
พช. จับมือป่อเต็กตึ้ง Kick Off แก้จน มอบอุปกรณ์ ประกอบอาชีพ
อู รา อิ (U RA I) จัดจ�าหน่ายโดยบริษัท ซีพี คอนซูเมอร์ โพรดักส์ จ�ากัด
บริษั ท การบิ น ไทย จ� า กั ด แนะน� า เส้นทางบินสูเ่ ซนได ประเทศญีป ่ น ุ่ ศูนย์กลาง ของภูมภ ิ าคโทโฮคุ จุดหมายปลายทางใหม่ ของนักท่องเทีย ่ ว ซึง่ จะเริม ่ ให้บริการในวันที่ 29 ตุลาคม 2562 กั บบริการเที่ยวบินไปกลั บ กรุ ง เทพฯ-เซนได บิ น ตรงสั ป ดาห์ ล ะ 3 เทีย ่ วบิน ด้วยเครือ ่ งบินแบบโบอิง้ 777-200 ที่ นั่ ง ชั้ น ธุ ร กิ จ 30 ที่ น่ั ง ชั้ น ประหยั ด 279 ที่นั่ง พร้อมสิ่งอ� านวยความสะดวกอย่าง ครบครัน พบกับโปรโมชันดีๆ และส�ารองทีน ่ งั่ ได้ที่เว็บไซต์ Thaiairways.com สอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ THAI Contact Center โทร. 0-2356-1111 (ตลอด 24 ชั่วโมง)
อรณิชา ชุมพล ณ อยุธยา CEO บริษัท พาโน อินดัสทรีส์ จ�ากัด จับมือกับทีม The Gravity Motion และพันธมิตรอีกมากมาย สร้างปรากฏการณ์ครัง้ ส�าคัญ กับงาน Seoul Street Festival Thailand 2019 ซึ่งเป็น เทศกาลเกาหลีแห่งแรกที่จัดอย่างยิ่งใหญ่ ณ ลานหน้ าห้างเซ็นทรัลเวิลด์ ในวันที่ 2122 กันยายน 2562 เป็นงานที่รวมกิจกรรม บันเทิง ‘ทุกด้าน’ จากประเทศเกาหลี ซึง่ เป็น กระแสยอดนิ ยม โดยงานนี้ เข้าชมฟรี และ รับสิทธิพิเศษมากมายภายในงาน อาทิ ตัว ๋ เครือ ่ งบินเกาหลี ส่วนลดสินค้า และโอกาส ใกล้ชด ิ กับศิลปินเกาหลี เพียงลงทะเบียนเข้างาน ที่ www.seoulstreetfestivalth.com
นิสิต จันทร์สมวงศ์ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ร่วมกับ วิเชียร เตชะไพบูลย์ ประธานกรรมการมูลนิธป ิ อ ่ เต็กตึง๊ มอบวัสดุ อุปกรณ์สนับสนุนการประกอบอาชีพครัวเรือน ยากจนเป้ า หมาย ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด นนทบุ ร ี จ�านวน 4 ครัวเรือน โดย ปรีชา กิตติสต ั ยกุล ผู้ตรวจราชการกรม (พช.), อุ ทัย ทองเดช ผูอ ้ �านวยการส�านักเสริมสร้างความเข้มแข็ง ชุ ม ชน (พช.) และ อ� า พล อั ง คอาภรณ์ กุ ล รองผูว ้ า ่ ราชการจังหวัดนนทบุร ี พร้อมด้วย พั ฒ นาการจั ง หวั ด นนทบุ ร ี เป็ น ตั ว แทน จังหวัดนนทบุร ี ร่วมมอบเครือ ่ งอุปโภคบริโภค แก่ครัวเรือนยากจนด้วย ทัง้ ยังมีคณะผูบ ้ ริหาร จากหน่วยงาน เข้าร่วมเป็นเกียรติฯ ณ ศาลา อเนกประสงค์ วัดบางอ้อยช้าง อ�าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุร ี
บริษัท ซีพี คอนซูเมอร์ โพรดักส์ จ�ากัด ซึง่ เป็นผูน ้ �าด้านผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเพือ ่ ชีวต ิ ทีด ่ ี น�าเสนอสินค้าใหม่ภายใต้แบรนด์ ‘อู รา อิ (U RA I)’ โดยมีความหมายมาจากความสดใส เปรียบเสมือนกระต่ายแสนซนทีจ ่ ะมาสร้าง ความสดใส บนใบหน้าของผูบ ้ ริโภคด้วย U RA I Bonny Brows ดินสอเขียนคิว ่ ก ี ารใช้งาน ้ ทีม แบบทูอน ิ วัน U RA I Fluffy Brows มีวต ิ ามินอี ช่วยบ�ารุงขนคิว ้ U RA I Sassy Liner ไลเนอร์ ชนิดปากกา กรีดง่าย คมชัด กันน�า กันเหงือ ่ U RA I Eye Catching Mascara สูตร Waterproof ติดทนนาน แห้งไว ไม่เลอะด้วยคุณสมบัติ พิเศษ สินค้ามีจา � หน่ายแล้วที่ EveandBoy, Beautrium, B2S, Tsuruha, ร้าน Beauty ชัน ้ ี่ 7-Eleven, ้ น�าทัว่ ประเทศ และพบกันเร็วๆ นีท Family Mart รายละเอี ยดเพิ่มเติ ม www. facebook.com/uraiofficial 20
BOARD
TALK OF THE TOWN
อัพเดตแวดวง ข่าวสังคม ที่น่าสนใจ ในรอบสัปดาห์ SCB M 1st Anniversary Celebration เดอะมอลล์ กรุ ๊ ป จั บ มื อ ธนาคาร ไทยพาณิชย์ ฉลองครบรอบ 1 ปี โครงการ ความร่วมมือ ‘SCB M’ จัดเอ็กซ์คลูซฟ ี ปาร์ตี้ ‘SCB M 1st Anniversary Celebration’ ปาร์ตี้ สุดพิเศษส�าหรับสมาชิกคนพิเศษ เชิญนักช้อป แถวหน้าของเมืองไทยร่วมดินเนอร์สด ุ หรูโดย เชฟมิชลินสตาร์ และสัมผัสไลฟ์สไตล์ลก ั ชัวรี สุดพิเศษอีกมากมาย พร้อมมอบโปรโมชัน สุดพิเศษแทนค�าขอบคุณแด่สมาชิกคนส�าคัญ ด้ ว ยแคมเปญ ‘SCB M 1 st Anniversary’ อัดโปรแรงลดทัง้ ห้างฯ สูงสุด 70% พิเศษ รับ สูงสุด 500,000 M Point หรือตัว ่ งบิน ๋ เครือ ชั้ น ธุ ร กิ จ ไป-กลั บ กรุ ง เทพฯ-ญี่ ปุ่ น โดย สายการบิ น คาเธย์ แปซิ ฟิ ก เมื่ อ ช้ อ ปครบ 500,000 บาทขึน ้ ไป พร้อมโปรโมชันสุดพิเศษ อีกมากมาย ตัง้ แต่วน ั นีถ ้ งึ 5 มกราคม 2563 ที่ เ ดอะมอลล์ ทุ ก สาขา, ดิ เอ็ ม โพเรี ย ม, ดิ เอ็มควอเทียร์, พารากอน ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์, บลูพอร์ต หัวหิน ดูรายละเอียดได้ที่ www. mcardmall.com, www.facebook.com/ mcardforall, M Card MobileApplication และเคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์
Luminox จัดกิจกรรมแรลลี เยือนถิน ่ ซีล (SEAL)
เว็บไซต์ ELECT จัดเสวนา หัวข้อประชาธิปไตยหลัง การเลือกตั้ง
Mono29 World Trip 2019 : Movie Destination Moscow Russia
บัตรเครดิตกรุงศรี ชวนสมาชิกลิม ้ รสราเมง ต้นต�ารับสุดพิเศษ ที่ร้านอิปปุโดะ เอ็กซ์คลูซีฟ
Luminox ประเทศไทย ผลิตนาฬิกา รุน ่ พิเศษ Thai Navy SEALs โดยผลิตเป็น ลิมิเต็ดเอดิชัน เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้ ประชาชนในทุกภาคส่วนหันมาสนใจและให้ ความส�าคัญกับการอุทิศตนของเจ้าหน้าที่ หน่วยซีลของประเทศไทยในการปฏิบต ั ภ ิ ารกิจ ต่างๆ โดยทาง Luminox ได้จด ั กิจกรรมแรลลี พากลุม ่ ลูกค้าไปท�ากิจกรรมในฐานต่างๆ เพือ ่ ให้ได้ซม ึ ซับประสบการณ์อน ั น่าทึง่ ของหน่วย ซีล โดยได้รบ ั ความสนุกสนานจากผูเ้ ข้าร่วม กิจกรรมเป็นอย่างดี เมือ ่ เสร็จภารกิจจากฐาน สุดท้าย ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมก็ได้เข้าร่วมฟังการบรรยายให้ความรูเ้ กีย ่ วกับภารกิจของหน่วยซีล พร้อมทั้งเข้าร่วมงานแถลงข่าวการจัดท� า นาฬิกาข้อมือลิมเิ ต็ดเอดิชน ั รุนพิ ่ เศษ Thai Navy SEALsณห้องประชุมหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ จังหวัดชลบุร ี
เว็บไซต์และสือ ่ ข้อมูลการเลือกตัง้ ไทย ELECT จัดเวทีเสวนาหัวข้อ ELECT after Election : เลือกแล้วได้อะไร? ประชาธิปไตยไทย หลังการเลือกตั้ง โดยมีผู้รว ่ มเสวนา ได้แก่ สฤณี อาชวานั น ทกุ ล นั ก วิ ช าการอิ ส ระ, พริษ ฐ์ วั ช รสิ น ธุ นั ก การเมื อ งรุ น ่ ใหม่ และ พงศ์ พิ พั ฒ น์ บั ญ ชานนท์ บรรณาธิ ก าร บริหารส�านักข่าวเว็บไซต์ The MATTER โดยมี ยิง่ ชีพ อัชฌานนท์ จากโครงการอินเทอร์เน็ต เพือ ่ กฎหมายประชาชน (iLaw) เป็นผูด ้ า � เนิน รายการ โดยในวงเสวนาได้รว่ มกันตัง้ ค�าถาม ถึงอนาคตของการเมืองไทย ภายหลังการเลือกตัง้ ทีผ ่ ลออกมาเป็นรัฐบาลเสียงปริม ่ น�า และสะท้อนถึงบทบาทของสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ทีเ่ ข้ามามีอท ิ ธิพลต่อการจัดตัง้ รัฐบาล ฟังการเสวนาย้อนหลังนีไ้ ด้ที่ www.facebook. com/electinth
‘ท็อป’ - ทศพล หมายสุข พิธก ี รรายการ Entertainment NOW และ ‘นีนา ่ ’ - นิชนารถ พรหมมาตร ศิลปินและนั กแสดงในสังกัด โมโน ทาเลนท์ สตู ดิ โอ ในเครือ โมโน กรุ ป ๊ พา 6 ผู้ โ ชคดี จ ากกิ จ กรรมเฉลิ ม ฉลอง ในโอกาสสถานี โทรทั ศ น์ ช่ อ ง MONO29 (โมโนทเวนตี้ไนน์) เข้าสู่ปีที่ 6 กับแคมเปญ ‘ M O N O 2 9 C E L E B R AT I O N แจ ก ลั่ น สนั่ นจั กรวาล’ กั บท่องเที่ยวทริปสุดพิเศษ ‘Exclusive MONO29 WORLD TRIP 2019 : Movie Destination แกะรอยเที่ ย ว ตามหนังดังระดับโลก’ ทีก ่ รุงมอสโก ประเทศ รัสเซีย
ชี วิ น ปราชญานุ พ ร ผู้ อ� า นวยการ อาวุ โ ส ฝ่ า ยกลยุ ท ธ์ ก ารตลาด บริ ษั ท บั ต รกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา จ� า กั ด ร่ ว มกั บ พี ร ์ สีอม ั พรโรจน์ กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ บริษัท ฟู้ดเอ็กซ์ไซท์ จ�ากัด จัดงานฉลองเปิดร้าน คอนเซ็ปต์ใหม่ ‘อิปปุโดะ เอ็กซ์คลูซฟ ี ’ ณ ชัน ้ 5 เซ็นทรัล เอ็ มบาสซี พร้อมทั้งจั ดโปรโมชัน เอาใจสมาชิกบัตรเครดิตกรุงศรี เพียงใช้จา ่ ย ครบ 800 บาทขึน ้ ไปต่อเซลล์สลิป รับบัตรก�านัล อิปปุโดะ 100 บาท ส�าหรับใช้ในครัง้ ถัดไป และ รับ เครดิ ต เงิ น คื น 150 บาท เมื่ อ ทานครบ 1,000 บาทขึ้นไปต่ อเซลล์ สลิ ป เพียงแลก คะแนน 1,000 คะแนน ผ่านแอพพลิเคชัน UCHOOSE ที่อิปปุโดะทุกสาขาทั่วไทย ถึง 30 กันยายน 2562 ข้อมูลเพิม ่ เติมที่ www. krungsricard.com/th/Promotion/ dining/Ippudo
ISSUE 607
09 SEP 2019
21
เรือ ่ ง : ทอม โพธิสิทธิ์
FEATURE Message From the Sea ทอม โพธิ สิ ท ธิ์ ช่ า งภาพมื อ อาชี พ ที่ ร่ ว มงานกั บ เรามาแล้ ว หลายครั้ ง งาน ของเขามี ห ลายรู ป แบบ ทั้ ง ภาพบุ ค คล ภาพแฟชั่ น และภาพเชิ ง สารคดี จนยาก ที่ จ ะจ� า แนกชายคนนี้ ไ ด้ ว่ า เป็ นช่ า งภาพ แนวไหน ซึ่ ง เขาก็ หั ว เราะกั บ เราเบาๆ แล้วบอกว่าตัวเองคงเป็ นผู้ซึ่งมีภาวะกลัว การบิน แต่เยียวยาตัวเองด้วยการถ่ายภาพ จากทางอากาศจนกลายมาเป็ น ช่ า งภาพ ถึ ง ทุ ก วั น นี้ ท อ ม เ ริ่ ม ท� า ค ว า ม รู้ จั ก ท ะ เ ล ไ ท ย แ ล ะ ค ร อ บ ค รั ว ข อ ง สั ต ว์ ท ะ เ ล ห า ย า ก หลากหลายชนิ ด ครั้ ง แรกเมื่ อ 12 ปี ก่ อ น จากการอาสาถ่ า ยภาพสั ต ว์ ท ะเลหายาก ทางอากาศเพื่อศึกษาจ�านวนประชากรของ พะยู น ในท้ อ งทะเลอั น ดามั น ในบริ เ วณ จังหวัดตรังและพื้ นที่ใกล้เคียง เขายังจ�า ความรู้ สึ ก แรกที่ เ ห็ น พะยู น แม่ ลู ก ว่ า ยน�้ า คู่กน ั ไม่ห่างจากเครือ ่ งบินเทคนัมขนาดเล็ก สองที่ นั่ ง ที่ ถู ก ถอดประตู อ อกเพื่ อ ความคล่ อ งตั ว ในการมองด้ ว ยตาเปล่ า บั น ทึ ก ด้วยภาพถ่าย เก็บสถิตจ ิ า� นวนและพฤติกรรม ที่ ต ามองเห็ น ด้ ว ยเสี ย งในเครื่ อ งบั น ทึ ก เสี ย ง และปั ก หมุ ด โลเกชั น จุ ด ที่ พ บสั ต ว์ ด้ ว ยเครื่ อ ง GPS สี่ สิ่ ง นี้ เ ป็ น หั ว ใจส� า คั ญ ของการเก็บข้อมูลด้วยภาพ เพื่ อน�าข้อมูล เหล่านี้ส่งต่อให้นักวิจัยเพื่อประเมินจ�านวน ประชากรพะยู น ในท้ อ งทะเลไทยอี ก ที
“การอนุ รั ก ษ์ จ ะต้ อ งท� า ไปพร้ อ มกั บ ให้ ค วามรู้ ด้ ว ย” ประโยคสั้นๆ ได้ใจความที่ ดอกเตอร์ กาญจนา อดุ ล ยานุ โ กศล เสาหลั ก ที่ ค อย ผลั ก ดั น การอนุ รั ก ษ์ แ ละวิ จั ย งานอนุ รั ก ษ์ แ ล ะ ศึ ก ษ า สั ต ว์ ท ะ เ ล ห า ย า ก ข อ ง ไ ท ย เคยสอนเขาก่ อ นที่ ท่ า นจะเสี ย ชี วิ ต และ เ ป็ น เ จ ต จ� า น ง ที่ ท� า ใ ห้ เ ข า น� า เ รื่ อ ง ร า ว และความรู้ ที่ ไ ด้ จ ากการออกไปคลุ ก คลี กั บ สั ต ว์ ท ะเลมาบอกกั บ เรา 22
ISSUE 607
09 SEP 2019
23
ภาพ : ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งทะเลอันดามัน
ประชากรของพะยู น ในท้ อ งทะเลไทย
01
ภาพ : ThaiWhales
หลายปีที่ผ่านมา จ� านวนประชากร สัตว์ทะเลในประเทศไทยมีทั้งเพิ่มขึ้นและ ลดลง ข้ อ มู ล ล่ า สุ ด ของกรมทรั พ ยากร ทางทะเลและชายฝั่ งระบุ ว่ า มี พ ะยู น ใน น่ า นน� า ไทยประมาณ 200-250 ตั ว แต่ อย่างไรก็ตาม พะยูนยังคงมีอัตราการตาย เฉลีย ่ ต่อปีสงู มาก โดยข้อมูลย้อนหลังพบว่า มีพะยูนตายไม่ตา � กว่า 12 ตัวต่อปี หรือเฉลีย ่ เดือนละหนึ่งตัว ซึง่ สาเหตุหลักของการตาย ส่วนใหญ่ของพะยูนเกิดจากการติดเครือ ่ งมือ ประมง หรือได้รบ ั บาดเจ็บจากเครือ ่ งมือประมง มาจนเกยตื้นที่ชายหาด ซึ่งจะพบว่าพะยูน มาติดและตายอยูท ่ เี่ ครือ ่ งมือประมงมากทีส ่ ด ุ ในประเทศไทย เราสามารถพบพะยูน ได้ ทั้ ง ในอ่ า วไทยและฝั่ งทะเลอั น ดามั น ส่วนทางฝั่งอันดามันมีพะยูนฝูงใหญ่ที่สุด
ภาพ : ทอม โพธิสิทธิ์
ภาพ : ทอม โพธิสิทธิ์
อยูบ ่ ริเวณเกาะลิบง จังหวัดตรัง และพะยูน กลุ่มเล็กๆ แพร่กระจายตั้งแต่ระนองลงไป ถึ งสตูล ส�า หรับฝั่งอ่ าวไทย ยังพบพะยู น กลุ่มเล็กๆ กระจัดกระจายในจังหวัดระยอง ตราด ชุมพร และสุราษฎร์ธานี แต่อย่างไร ก็ตาม จ�านวนประชากรพะยูนในประเทศไทย โดยรวมเหลืออยู่ไม่มากนัก ช่วงต้นทีผ ่ า่ นมาจากข้อมูลจากการบิน ส� า รวจของกรมทรัพ ยากรทางทะเลและ ชายฝั่ ง น� าโดย ดอกเตอร์ ก้ องเกี ยรติ กิตติวัฒนาวงศ์ พบว่ามีจ�านวนประชากร พะยู น ราว 185 ตั ว หรือ ร้อ ยละ 70 ของ พะยูนทั้งประเทศ และประชากรมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ องตลอดหกปีที่ผ่านมา หลังจากลดลงเหลือราว 125 ตัว เมือ ่ ปี พ.ศ. 2556 24
พะยูนยังคงมีอัตราการตายเฉลี่ยต่อปีสูงมาก โดยข้อมูลย้อนหลังพบว่ามีพะยูนตายไม่ต่า� กว่า 12 ตัว ต่อปีหรือเฉลี่ยเดือนละหนึ่งตัว
Search For The Sea Cows
่ ะยูนกินเป็นอาหาร ตรงนัน เรียกง่ายๆ ว่าตรงไหนมีหญ้าทะเลทีพ ั จะพบพะยูน ้ ก็มก
ภาพ : ThaiWhales
ภาพ : Wild Encounters Thailand
ภาพ : Eduardo Loigirri
Track and Find ร่ อ งรอยของถิ่ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย
02 ISSUE 607
09 SEP 2019
หลายคนคงสงสัยว่าทะเลไทยออกจะ กว้างใหญ่ รูไ้ ด้อย่างไรว่าพวกมันไปอยูต ่ รงไหน บ้าง แหล่งหญ้าทะเลคือสิง ่ ักวิจัยใช้เป็น ่ ทีน จุดเริม ่ ต้นในการวางแผนการส�ารวจประชากร พะยู น เรียกง่ายๆ ว่าตรงไหนมีหญ้าทะเล ทีพ ่ ะยูนกินเป็นอาหาร ตรงนัน ั จะพบพะยูน ้ ก็มก หญ้าทะเลในเมืองไทยทัง้ อ่าวไทยและอันดามัน มีทง้ั หมด 11 ชนิด แต่ชนิดทีพ ่ ะยูนเลือกกินนัน ้ จะมีลักษณะอ่อนนิ่ม เช่น หญ้าใบมะกรู ด หญ้าผมนาง หญ้าเต่า หญ้าชะเงาใบมน และ หญ้าชะเงาใบยาว เป็นต้น โดยเฉพาะในบริเวณ เกาะลิ บ ง และเกาะมุ ก จ.ตรัง เป็ น แหล่ ง หญ้าทะเลทีส ่ า � คัญของทะเลไทย เราจึงพบ
พะยูนอาศั ย เป็ น จ�านวนมากในบริเวณนี้ เมื่ อ เรารู ้ แ หล่ ง หญ้ า ทะเล นั กบิ น นักส�ารวจและนักวิจย ั จะวางแผนการบินร่วมกัน โดยปัจจัยหลักคือเรือ ่ งของสภาพอากาศและ สภาพน�า การบินด้วยเครือ ่ งบินเล็กทีค ่ วามสูง ประมาณ 150 เมตร ลมคือศัตรูทอ ี่ น ั ตรายทีส ่ ด ุ ส�าหรับนักบินและนักส�ารวจ การบินแต่ละครัง้ ใช้เวลาตัง้ แต่ 45 นาที ถึง 3 ชัว่ โมงครึง่ และช่ ว ง น�าทะเลสูงสุดเราจะพบพวกมันว่ายน�าเข้ามา กินหญ้าทะเลเป็นจ�านวนมาก ถ้าโชคดี น�าทะเล ใส พวกเราจะสามารถเก็บภาพพวกมันได้ ชั ด เจนขึ้ น และเป็ น ประโยชน์ ต่ อ นั ก วิ จั ย ในการศึกษาพฤติกรรมของพวกมันมากขึน ้ 25
ประเทศไทยมีสัตวแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลสัตว์ทะเลหายากจ�านวน 12 คน เท่ากับว่าสัตวแพทย์หนึ่งคนจะต้องดูแลสัตว์ทะเลในพื้นที่ 26,957.33 ตารางกิโลเมตร ภาพ : ทอม โพธิสิทธิ์
03
26
Saving Marine Life ต่ อ อายุ ใ ห้ สั ต ว์ ใ นทะเล
02 ISSUE 607
09 SEP 2019
ตลอด 12 ปีของการบินส�ารวจสัตว์ทะเล หายากในไทย เรามีนักบินอาสาสมัครหลัก เป็นชาวต่ างชาติ ชื่อ Captain Eduardo Loigorri จากประเทศอังกฤษ และ Captain Mike Wilson จากสหรัฐอเมริกา น�าเครือ ่ งบิน และความสามารถในการบินมาช่วยบินส�ารวจ มาถึ ง ตรงนี้ หลายคนคงจะสงสั ย ว่ า รู ้ได้ อย่างไรว่าพะยูนที่พบมันไม่ใช่ตัวเดียวกัน หรือเป็นตัวทีไ่ ด้นบ ั หรือท�าการส�ารวจไปแล้ว วิธก ี ารบินส�ารวจเราใช้การบินแบบ Transect คื อ การบิ น เป็ น เส้ น ตรงจากจุ ด หนึ่ ง ไปอี ก จุดหนึ่ง และบินเป็นลักษณะซิกแซ็กในพืน ้ ที่ ที่ ไ ด้ ว างแผนไว้ เมื่ อ ท� า แบบนี้ เป็ น เวลา หลายวัน การบินส�ารวจครัง้ หนึง่ ใช้เวลาตัง้ แต่ 7-10 วัน ดังนัน ้ นข้อมูลเพือ ่ น�ามา ้ เราจะได้กอ ประเมินผลหาค่าเฉลี่ยโดยทีมนักวิจัยจาก ศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นาทรัพ ยากรทางทะเล และชายฝั่งทะเลอันดามัน (ภูเก็ต) และข้อมูล ที่ ไ ด้ จ ากภาพถ่ า ยยั ง ช่ ว ยท� า ให้ นั ก วิ จั ย สามารถศึกษาพฤติกรรมต่างๆ ของพะยูน เพิม ่ ได้ เช่น การกินหญ้าทะเล การผสมพันธุ์ การเลี้ยงลูก ซึ่งเป็นข้อมูลที่เราไม่สามารถ มองเห็นได้จากการส�ารวจทางเรือ เป็นต้น ปัจจุบน ั มีการตืน ่ ตัวเรือ่ งของการอนุรก ั ษ์ และดูแลสัตว์ทะเลหายากในไทยเพิม ้ ่ สูงขึน ประเทศไทยมีอาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา ่ ด้วย
กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 มีพื้นที่ทางทะเล เท่ากับ 323,488.32 ตารางกิโลเมตร โดย ประเทศไทยมีสัตวแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้ าน การดูแลสัตว์ทะเลหายากอีกจ�านวน 12 คน เท่ า กั บ ว่ า สั ต วแพทย์ ห นึ่ ง คนจะต้ อ งดู แ ล สัตว์ทะเลในพืน ้ ที่ 26,957.33 ตารางกิโลเมตร โดยเฉลีย ่ ซึง่ เป็นความรับผิดชอบทีไ่ ม่นอ ้ ยเลย สัตว์ทะเลหายากในน่านน�าไทยประกอบด้วย กลุ่มสัตว์ทะเล 3 กลุ่ม ได้แก่ เต่าทะเล (พบ 5 ชนิด) โลมาและวาฬ (พบ 27 ชนิด) และพะยู น (พบ 1 ชนิด) ซึ่งสัตวแพทย์ทุกคนจะต้องมี ความรูค ้ วามเข้าใจสัตว์เหล่านี้ทุกชนิดด้วย เช่นเดียวกัน นับเป็นงานหนักหนาสาหัสมาก จากการได้เป็นอาสาสมัครช่วยเหลือ ทีมสัตวแพทย์ตามก�าลังและความสามารถ ที่ มี เราสั ม ผั ส ได้ ถึ ง ความตั้ ง ใจ เสี ย สละ และความพยายามของทีมหมอที่พยายาม ช่วยให้การรักษาสัตว์ทะเลเหล่ านี้ ให้อยู่คู่ ทะเลไทยได้ น านขึ้ น ปั ญ หาที่ สั ง เกตเห็ น และคิดว่าถ้าได้รบ ั การสนับสนุนอย่างตรงจุด น่าจะมีสว ่ นช่วยให้ทม ี หมอสามารถช่วยชีวต ิ สัตว์เหล่านี้ได้จ�านวนมากขึ้นกว่านี้ เพราะ งานอนุรก ั ษ์จะต้องใช้ทงั้ ความรู ้ ประสบการณ์ เทคโนโลยี และอุปกรณ์ช่วยชีวิตที่มีความพร้อม เพือ ่ ให้ทม ี สามารถช่วยชีวต ิ หรือขนย้าย สัตว์ที่เจ็บป่วยไปถึงมือหมอได้เร็วขึ้น และ จะช่วยเพิ่มอัตราการรอดชีวิตได้ 27
ภาพ : ทอม โพธิสิทธิ์
เป้าหมายหลักคือการรักษาเพื่อให้สัตว์เหล่านี้ได้กลับไปอาศัยอยู่ในธรรมชาติ ไม่ใช่ในศูนย์อนุรักษ์หรือบ่อพักที่ไม่ใช่บ้านของตัวเอง
04
Fill the Sea with Love เติ ม ความรั ก ให้ ท้ อ งทะเล
ประเทศไทยมีหลายองค์กรและกลุ่ม อาสาสมัครเพือ ่ การอนุรก ั ษ์สต ั ว์ทะเลหายาก หลายกลุ่ม ทีพ ่ ยายามใช้ความสามารถและ ก�าลังที่มีช่วยสนับสนุนทีมสัตวแพทย์ อาทิ กลุม ่ ThaiWhales ทีช ่ ว่ ยออกส�ารวจเก็บข้อมูล จ�าแนกชนิดวาฬบรูดาทั้งภาพนิ่งและภาพ เคลือ ่ นไหว ให้ขอ ้ มูลทีถ ่ ก ู ต้องเรือ ่ งวาฬ และ พะยูนในไทยผ่านสื่อรูปแบบต่างๆ ทั้งเป็น กลุม ่ ทีช ่ ว่ ยทีมสัตวแพทย์คด ั กรองอาสาสมัคร ไปช่วยดูแลมาเรียมและยามีลในช่วงหลายเดือน ที่ผ่านมา โดยพวกเขายังช่วยเก็บตัวอย่าง ลมหายใจของวาฬจากการบินโดรน กลุม ่ Mahasamut Patrols เป็นการรวมตัวของคนทีม ่ ค ี วามสนใจในเรือ ่ งสัตว์ทะเล จากหลากหลายศาสตร์ โดยแต่ละคนมีความเชี่ยวชาญ ช่วยสื่อสารประเด็ นด้ านทะเล
และพยายามระดมทุ น เพื่ อ จั ด หาเครื่อ ง Laser Therapy ทีส ่ ามารถช่วยย่นระยะเวลา การฟื้ นฟูให้พลังงานกับเซลล์ของกระดอง เต่าทะเลทีม ่ เี มตาบอลิซม ึ ต�าให้ฟน ื้ ฟูได้เร็วขึน ้ เครือ ่ งทีว ่ า ่ นีใ้ ช้ได้กบ ั เนือ ้ เยือ ่ ทุกส่วน รวมถึง ใช้รก ั ษาโลมาและวาฬได้ดว้ ย ซึง่ เป้าหมายหลัก คือการรักษาเพื่อให้สัตว์เหล่านี้ ได้กลับไป อาศัยอยู่ในธรรมชาติ ไม่ใช่ในศูนย์อนุรก ั ษ์ หรือบ่อพักที่ไม่ใช่บ้านของตัวเอง แม้แต่ผใู้ ห้บริการเรือชมวาฬในธรรมชาติ บ ริ เ ว ณ อ่ า ว ไท ย ต อ น บ น อ ย่ า ง W i l d Encounters Thailand ก็ช่วยให้ความรู ้ เรือ ่ งการอนุรก ั ษ์ และการชมสัตว์ป่าอย่าง ถูกต้องแก่ผใู้ ช้บริการ และยังช่วยเก็บข้อมูล ภาพถ่ า ยจ� า แนกวาฬทุ ก ครั้ ง ที่ อ อกเรื อ แก่นักวิจัยด้วย 28
พลั ง ของพวกเราจะช่ ว ย เปลี่ ย นวิ ก ฤตในทะเลได้
โอกาสในการพัฒนาศักยภาพของสัตวแพทย์ หรือการอบรมจากผูเ้ ชีย ่ วชาญจากต่างประเทศ ทีม ่ ป ี ระสบการณ์ในด้านต่างๆ ทีจ ่ ะสามารถ ช่วยเพิม ่ ขีดความสามารถของทีมสัตวแพทย์ และนักวิจัยทางทะเลของไทยให้ดีขน ึ้ น่าจะ เป็นทางเลือกที่ควรให้ความสนใจ ช่วงหลายปีทผ ี่ า่ นมา แนวโน้มการตาย ของสัตว์ทะเลมีจ�านวนสูงขึน ้ การให้ความรู ้ และอบรมชาวบ้ า นรวมถึ ง คนในพื้ น ที่ ใน การเข้าช่วยชีวิตสัตว์เกยตื้น หรือที่เรียกว่า First Response ช่วยเพิม ั ่ อัตราการรอดให้กบ สัตว์เกยตืน ้ ก่อนถึงมือทีมสัตวแพทย์ โลกวันนี้ ต้องการความร่วมมือจากทุกคนเพื่อสร้าง ความเปลี่ยนแปลง ความรูท ้ ท ี่ ม ี นักวิจัยและ สัตวแพทย์ได้สะสมมาจากการดูแลสัตว์ทะเล หายาก เป็ น แค่ ส่ ว นหนึ่ ง ในการช่ ว ยชี วิ ต สัตว์ทะเลเหล่านี้ สิ่งที่เล่ามาทั้งหมดเชื่อว่า คงมีบางอย่างทีค ่ ณ ุ คงคิดว่าตัวเองน่าจะท�าได้ อยูใ่ นใจ ถึงเวลาแล้วทีเ่ ราทุกคนต้องลงมือท�า เพือ ่ สร้างความเปลีย ่ นแปลงให้เกิดขึน ้ ได้
่ อกว่าตัวเองคงเป็นผูซ ชายหนุม ่ ทีบ ้ ง ึ่ มีภาวะกลัวการบิน แต่เยียวยาตนเองด้วย การถ่ายภาพจากทางอากาศ จนกลายมาเป็นช่างภาพถึงทุกวันนี้
05 ISSUE 607
การช่ ว ยเหลื อ ดู แ ลสั ต ว์ ท ะเลไทย จากคนธรรมดาที่ ต้ อ งการเห็ น สั ต ว์ ท ะเล ไทยมีโอกาสรอดเพิม ้ เหล่านี้ คือก�าลังใจ ่ ขึน ชั้นดี แก่ คนท�างานอนุ รก ั ษ์ ที่พวกเขาต้ อง พบเห็นการตายของสัตว์ทะเลรายวันจาก เครือ ่ งมือประมงและขยะพลาสติก โดยความรู ้ ความเข้าใจในการศึกษาเพือ ่ ช่วยหาวิธก ี าร แก้ไขวิกฤตการตายของสัตว์ทะเลจากทุก ภาคส่วนทัง้ ทางหน่วยงานราชการ ทีม ่ ก ี ารตืน ่ ตัว มากขึน ้ หรือแม้แต่องค์กรภาคเอกชนจะเป็น แรงขับเคลื่อนทีส ่ า � คัญทีจ ่ ะช่วยแก้ปญ ั หานี้ ความท้ า ทายของกลุ่ ม สั ต วแพทย์ นอกจากประเด็นต่างๆ ที่เราได้สังเกตเห็น ก็คอ ื เรือ ่ งสุขภาพ กลุม ่ สัตวแพทย์ทต ี่ อ ้ งท�างาน อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ ทัง้ การผ่าซากสัตว์ หรือการทีต ่ อ ้ งอยูด ่ แ ู ลสัตว์ ทีต ่ อ ้ งได้รบ ั การอนุบาลเป็นเวลานาน มีโอกาส เผชิญกับอาการ Zoonosis หรือโรคติดต่อ จากสัตว์สู่คน เช่น เชื้อรา ไวรัส พาราไซต์ แบคทีเรีย เป็นอี กหนึ่ งปัญหาทางสุขภาพ ทีท ่ ม ี หมอต้องเอาสุขภาพของตนเองเข้าแลก เพื่อการช่วยชีวิตสัตว์ป่วยหรือการวินิจฉัย สัตว์ตาย และเราก็คด ิ ว่าทีมแพทย์ควรได้รบ ั
ทอม โพธิสท ิ ธิ์ 09 SEP 2019
29
First Response ช่วยเพิ่มอัตราการรอดให้กับสัตว์เกยตื้นก่อนถึงมือทีมสัตวแพทย์
Unleash Our Power
เรือ ่ ง / ภาพ : ณัฐวุฒิสิริเดชชัย
A THOUSAND WORDS RIGHTS | TYPE CONTRIBUTOR
ณัฐวุฒิ สิริเดชชัย Website : www.nutthawutsiri.com
RIGHTS | TYPE TECHNIQUE : CHINE-COLLE
ิทรรศการศิลปะจากการพิมพ์ดีดโดยณัฐวุฒิสิริเดชชัยเป็นการน�าศิลปะเครื่องพิมพ์ดีดมาร่วมกับภาพพิมพ์เสมือนเป็น น ส ะพานระหว่างสองสิ่ง โดยการใช้เทคนิค Chine-Colle โดยน�างานพิ มพ์ ดีดพิ มพ์ ลงบนกระดาษญี่ปุน ่ หลากสีสันและรูปร่าง และน�าไปทากาวผ่านเครื่องPressผสมผสานกับภาพพิมพ์ลงไปบนกระดาษ บอกเล่าเรื่องราวผ่านตัวอักษรสู่รูปร่าง,รูปทรงและภาพเหมือนน�าพลังแห่งงานเขียนมาสู่การพิ มพ์ ดีดเป็ นรูปเหมือน ของ30ศิลปิ นและนักเคลื่อนไหวทางสังคมเช่นสุหฤทสยามวาลา,อรอรีย์,มาเรียมเกรย์,‘ครูเคท’-คทาวุธครั้งพิ บูลย์, ‘ไก่’-ณฐพลบุญประกอบ,ไพโรจน์พิเชฐเมธากุล(ศิลปินวาดภาพคนไร้บา้ น),ไมเคิลเชาวนาศัย,วรนาวรรลยางกูร,ณัฐดนัย ้ า่ “อะไรคือสิทธิพ้ืนฐานทีค ่ ณ บุณยรัตผลิน,ประทีปสุธาทองไทยโดยตัง ุ คิดว่าขาดหายไป ้ ค�าถามสะท้อนความเห็นกับบุคคลเหล่านีว จากสังคมในปัจจุบัน?”
ABOUT RIGHTS | TYPE
“ผมเป็ น ศิ ล ปิ น ไทยที่ ป ัจ จุ บั น ท� า งานศิ ล ปะอยู่ ท่ี นิ ว ยอร์ ก ผมใช้ เ ครื่ อ งพิ ม พ์ ดี ด มาเป็ น สื่ อ ในการท� า งานศิ ล ปะล่ า สุ ด ผมได้ จั ด นิ ท รรศการเดี่ ย ว ชื่อ ว่า ‘RIGHTS|TYPE’(จั ด แสดงที่ค าลวิ ท สตู ดิ โ อซ.ร่ ว มฤดี 2ถ.วิ ท ยุ ซึ่ง สิ้ น สุ ด ไปแล้ ว เมื่ อวั น ที่6กั นยายนที่ ผ่ า นมา)เป็ น นิ ทรรศการศิ ล ปะ ที่ใช้เทคนิคที่แตกต่างจากศิลปิ นท่านอื่นๆซึ่งผมจับประเด็นของสถานการณ์บ้านเมืองในปัจจุบันนี้ผ่านมุมมองของบุคคลต่างๆว่าเขามีความคิดเห็น ่ งราวเสียงเล็กๆของประชาชนทีต ่ อ กับประเด็นส�าคัญของสังคมกันอย่างไรผมอยากให้ผค ู้ นรูเ้ รือ ้ งการเรียกร้องให้เราเห็นความส�าคัญของสิทธิมนุษยชน” -ณัฐวุฒิสิริเดชชัย 30
‘ฟอย’ - อาริน กล้วยไม้
เรือ ่ ง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ
SPACE & TIME
่ อบทานเนือ ้ “คนทีช ้ วัว มักจะไม่นก ึ ถึงเนือ ของไทย เราก็อยาก ้ วัว น�าเสนอว่าเนือ ของบ้านเราก็อร่อย โดยเฉพาะกับ ชาวต่างชาติ อยากให้ เขาได้ลองชิม”
ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์
Baan Silom Arcade, Soi Silom 19, Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500 Open : 5 PM-11 PM Facebook: mustmeatbkk Tel. 06-2916-5155
ตัง ู้ ก ั วิธก ี ารจุดไฟ ้ แต่มนุษย์รจ ้ มา การปรุงอาหารก็เกิดตามขึน โดยเฉพาะในบริเวณพื้นทีเ่ ขต ห น า ว จั ด อ ย่ า ง ท วี ป ยุ โ ร ป เนื้ อ สั ต ว์ ที่ ไ ด้ ม าจากการล่ า ถูกเก็บไว้ใต้กองหิมะเพื่อเป็น การถนอมอาหาร และเนื้ อ เหล่ า นั้ น เย็ น และแข็ ง เกิ น ไป ้ ในการกินแบบดิบๆ การน�าเนือ เสียบเข้ากับไม้หรือเหล็กแหลม แล้วน�าไปย่างจึงเป็ นวิธีการ ่ นุษย์ ปรุงอาหารขัน ้ พื้นฐานทีม ่ ะเริม เริม ่ ใช้ ก่อนทีจ ่ มีการใช้เกลือ ่ งเทศ มาช่วย พริกไทย หรือเครือ ้ ย่าง ซึง ่ นัน เพิม ่ ่ รสชาติของเนือ อาจเรียกได้ว่าเป็นต้นก�าเนิด ของการท�าสเต๊ก ISSUE 607
Mustmeat จึงเป็นร้านอาหารที่ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อให้ท้ังคนท�าและคนชิมได้ลองสนุกกับเมนูเนื้อในแบบต่างๆ โดย ‘ฟอย’ - อาริน กล้วยไม้ หนึ่งในหุน ้ ส่วนของร้านเล่าให้เราฟังว่า พวกเขาอยากลองน�าเสนอเนื้อวัวไทยซึง่ มีรสชาติ อร่อยไม่แพ้เนือ ้ วัวจากต่างประเทศ โดยมีเนือ ้ ลูกครึง่ ไทย-ฝรัง่ เศส (เนือ ้ ชาโรเลส์) ไทย-ญีป ่ น ุ่ (วากิว) และไทย-อเมริกน ั (แองกัส) “คนมักจะคิ ดว่าวัวที่ถูกขุนเยอะๆ จะได้ เนื้ อที่ดี แต่ จริงๆ แล้ วไม่ใช่เลย ยิ่งขุนนานสิ่งที่ได้ เพิ่มมาคื อไขมัน ดังนั้น วัวทีเ่ ราเลือกจะไม่ใช่วว ั ขุนมีสด ั ส่วนของเนื้อกับไขมันทีพ ่ อดีกัน และใช้ทก ุ ส่วนของวัวมาเป็นวัตถุดิบในการท�า อาหาร” นั่นคือจุดเด่นของร้านนี้ที่เมนูไม่ได้มีแค่สเต๊กหรือใช้ส่วนของเนื้อที่นิยมกินกันเท่านั้น ทางร้านมีการน�าเนื้อใน ส่วนต่างๆ ออกจ�าหน่ายและให้ลองได้ชม ิ กัน โดยมีผเู้ ชีย ่ วชาญคอยแนะน�าว่าเนือ ้ ในแต่สว ่ นสามารถน�าไปปรุงเป็นอาหาร แบบใด และให้ความอร่อยได้ไม่แพ้เนื้อส่วนที่เป็นยอดนิยม “เนื้อส่วนที่เรียกว่า secondary cuts หลายคนอาจจะคิดว่าไม่นุ่ม เหนียว ไม่น่าจะอร่อย อย่าง rump (เนื้อ ช่วงเอว) หรือ flank (ต้นขาหลัง) ซึง่ เวลาเอามาย่างก็อร่อยไม่แพ้กน ั ” เราพยักหน้าเห็นด้วยหลังจากได้ชม ิ Mix Grilled เมนูทจ ี่ ะเลือกเนื้อส่วนต่างๆ มาให้เราแบบตามใจเชฟ ซึง ่ ถ้าไม่บอกก็จะไม่รูเ้ ลยว่านี่คือเนื้อส่วนทีเ่ ราเคยมองข้ามไป “หรือส่วนอื่นของวัว เช่น สมอง เราก็เอามาปรุงได้ เลือดวัวเราก็เอามาท�าเมนูค็อกเทล เพราะคอนเซ็ปต์ของร้านคือ butcher playground ร้านเนื้อที่น�าส่วนต่างๆ ของวัวมาปรุงด้วยความสนุกจนได้เป็นเมนูอาหารและเครือ ่ งดื่ม” เธอกล่าวเสริม นอกจากจะได้เปิดประสบการณ์ใหม่ของการกินเนื้อแล้ว ใครที่เมื่อยล้าและรูส ้ ึกหิวเพราะใช้พลังในการเดิน ช้อปปิ้ งที่อาคาร Jewelry Trade Center ซอยสีลม 19 แค่ เดิ นจากตึ กมาราวๆ ห้ านาทีก็จะได้ ทั้งที่นั่ งพักและ เติมความอร่อยให้เต็มกระเพาะอาหารได้ที่นี่เช่นกัน
09 SEP 2019
31
“มาสนุก อร่อย และท�าความรู้จักกับ ส่วนต่างๆ ของเนื้อวัวด้วยกัน”
MUSTMEAT
Recommended Menu
เรือ ่ ง : พชร สูงเด่น
BREATHE IN ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ
ดาต้าในเดตติ้ง CONTRIBUTOR
พชร สูงเด่น นักศึกษาทุน Erasmus Mundus ด้านการศึกษาเพือ ่ การพัฒนา เรียนรู้ นอกห้องเรียนด้วย การเดินทางไปยัง เมืองต่างๆ ในยุโรป
่ องช่างว่างเปล่า ความอ้างว้างมันเกิดจากลมหนาว หรือดาวทีม ่ องดูออ “เขาว่าฝนมันท�าให้คนเหงา หรือเพราะฟ ้าทีม ่ นแรง…” เพลงหน้าฝน ที่เปิ ดวนไปมา เนื้อหาไม่คิดถึงรอคอยแฟนเก่าให้กลับมา ก็เหงาร้องหาความรักใหม่ที่ยังมาไม่ถึง ปรากฏการณ์ฝนมันท�าให้คนเหงา ดูจะไม่ใช่เรื่องส่วนตัวเกิดที่ขึ้นกับเราไม่ก่ค ี น หากเป็นปรากฏการณ์สากล เมื่ อ แอพฯ จั บ คู่ เ จ้ า ใหญ่ อ ย่ า งทิ น เดอร์ ่ ไหร่ดี ออกมาให้สถิตเิ อาไว้ใช้เป็นทริกว่า ‘สไวพ์’ เมือ ถึงจะมีความน่าจะเป็นสูงสุดในการ ‘แมตช์’ ใคร สักคน เดากันได้ไหมว่าช่วงเวลาไหนคนจะมะรุมมะตุม ้ รุมเล่นทินเดอร์กน ั เยอะสุด? แน่นอน มันไม่ใช่ชว ่ ง ่ ก หน้าร้อนทีท ุ คนออกไปข้างนอก ไม่ใช่คน ื วันศุกร์ ่ ทีทุกคนมีนัด สังสรรค์ ออกไปพักผ่อน แต่มัน ่ ว เป็นช่วงเวลาทีช ี ต ิ วนไปมา เลิกงานแล้วมุง ่ ตรง ่ กลับบ้านต่างหากทีเราอยากมองหาอะไรมาท�าให้ จิตใจได้พอเต้น เลือดลมได้สูบฉีด ตามสถิติปี 2018 (จากบทความ This is What Happened on Tinder in 2018) ทินเดอร์ พบว่าผูค ้ น ‘แอ็กทีฟ’ ล็อกอินเข้ามาใช้งานสูงสุด ในวันจันทร์ ช่วงเวลาหลังเลิกงาน เพิ่งถึงบ้าน ขอ ‘สไวพ์’ สักคนสองคน (ซึ่งในความเป็นจริง ไถไปไถมาปาไปครึง่ ชัว ่ ทีค ่ นเล่น ่ โมง – เวลาเฉลีย ทินเดอร์ในแต่ละครัง้ ตามสถิติบอกไว้!) และ ทาด๊าา !! เดือนทีค ่ นเล่นทินเดอร์กน ั มากทีส ่ ด ุ คือ เดื อ นสิ ง หาคม ช่ ว งเวลากลางปี ไม่ มี แพลน ไปเที่ย วที่ไหน ท�า งาน กลั บบ้า น ว่างๆ มือก็ สไวพ์ไป เอมี เวบบ์ ผู้เขียนหนังสือรางวัลสามเล่ม ติดกัน หนึ่งในนั้นคือ ‘Data, A Love Story: How I Gamed Online Dating to Meet My Match’ และเท็ดทอล์ก ‘How I Hacked Online Dating’ มาเฉลยค� า ตอบต่ อ ค� า ถามในชี วิ ต ของเธอเอง หลั ง จากผิ ด หวั ง ในความรัก มา หลายครัง้ จนตั้งค�าถามที่เราอาจเคยถามกัน ในวันเหงาๆ ว่า รักแท้อยู่ไหน และเราจะเจอมัน ได้อย่างไร เอมีบอกกับเราในค�าน�าหนังสือว่า ฉั น เพิ่ ง พบว่ า เราตามหาคู่ ข องเราอย่ า ง ผิ ด ๆ มาตลอด ไม่ ว่ า จะในโลกออฟไลน์ ห รือ
ออนไลน์ เราหลงเชื่ อ ในเรื่อ งของพรหมลิ ขิ ต โชคชะตา ความบังเอิญ …หรือแม้กระทั่งปล่อย ให้ อั ล กอริทึ ม เป็ น คนก� า หนดสิ่ ง ที่ จ ะปรากฏ ต่อเรามากเกินไป เราไม่ปล่อยให้ตัวเองได้เป็น คนก� า หนดว่ า เราต้ อ งการจะเจอคนแบบไหน และเราจะท�าอย่างไรเมื่อพบกันแล้ว ถึงแม้วา่ การดาวน์โหลดแอพฯ สร้างโปรไฟล์ ขึ้ น มาอาจดู เป็ น ความพยายามก้ า วแรก แต่ หลั ง จากนั้ น แล้ ว เราดู จ ะปล่ อ ยตั ว ปล่ อ ยใจ ให้ อั ล กอริ ทึ ม เป็ น ตั ว จั ด การ ค� า นวณระยะ โลเคชั น ใกล้ ไ กล อายุ ที่ เ ลื อ กไว้ แล้ ว ‘หวั ง ’ ว่าเจ้าแอพพลิเคชันอะไรพวกนี้จะประมวลผล ส่งใครมารักฉันได้สักที จากการทดลองเก็ บ ข้ อ มู ล เชิ ง ปริม าณ ปฏิบัติการ ‘สร้าง’ (ไม่ใช่ ‘หา’) คู่ชีวิตของเธอ เอมีค้นพบความคล้ายกันในเรือ ่ งความสัมพันธ์ ไม่ ว่ า จะเกิ ด ขึ้ น ออฟไลน์ ห รือ ออนไลน์ ก็ ต าม ว่ า ถ้ า หากพรหมลิ ขิ ต คื อ ตั ว ช่ ว ยให้ ค นเราได้ พบกัน พอๆ กันกับทีแ ่ อพพลิเคชันช่วยแมตช์เรา กับใครสักคน แต่ทงั้ พรหมลิขต ิ และแอพพลิเคชัน ก็ช่วยเราได้เท่านั้น หากกฎของการท�าสิ่งไหน ได้สงิ่ นั้นก็ยงั ซือ ่ ตรงไม่แปรผันตามแพลตฟอร์ม เมือ ่ ใส่ใจแค่ไหนก็ได้ใจกลับมาเท่านัน ่ ข้อมูล ้ เมือ ที่เรากรอกส่งๆ ไป ก็ได้เพียงแค่เมสเสจพูดคุย ส่งๆ กลับมา จากการทดลอง เอมีพบว่า ยิ่งเราชัดเจน กับสิง่ ทีต ่ ้องการ และประกาศจุดยืนออกไปมาก เท่าไหร่ แม้จะถูก ‘แมตช์’ น้ อยลง แต่ น่ั นคื อ การกรองคนทีไ่ ม่ใช่ ในทางตรงกันข้าม คนทีถ ่ ก ู กรองผ่านเข้ามา คือคนที่มีความเป็นไปได้มาก ยิ่ ง กว่ า เคย – และมั น จะไม่ เป็ น อย่ า งนั้ น เลย ถ้ า เราละเลยขั้ น ตอนแรกในการบอกออกไป ให้ชัดเจนว่า ฉันมองหาอะไรจากความสัมพันธ์ ในทอล์ กและหนั งสือของเธอนั้ น เอมีให้
ค�าแนะน�าไว้ว่า จะใช้ดาต้าที่ดีมาเป็นจุดเริม ่ ต้น ที่ดีในการเริม ่ ต้นหาความสัมพันธ์ครัง้ ต่อไปนี้ อย่างไร เอมีให้ค�าแนะน�าง่ายๆ ว่า จะออฟไลน์ หรือออนไลน์ ก้าวแรกอยู่ที่การสร้างโปรไฟล์ ที่จริง – จริงแท้ และจริงใจ ใช้ค�าเรียบง่าย เลี่ยงค�าสวยหรู อย่าขย�า ข้ อ มู ล อะไรก็ ไ ด้ ล งไป เลื อ กข้ อ มู ล ที่ บ อกว่ า คุณเป็นคนเช่นไร ท�าอะไรในเวลาว่าง มีอารมณ์ขน ั บ้ า งก็ ไ ด้ ระลึ ก ว่ า นี่ ไ ม่ ใช่ เว็ บ ไซต์ ส มั ค รงาน ไม่ มี ใ ครต้ อ งการรู ้ว่ า คุ ณ ท� า งานมาแล้ ว กี่ ปี ได้ เกี ยรติ นิยมตอนปริญญาตรีหรือไม่ในสาม บรรทัดแรก… ใส่อะไรไปก็ได้อย่างนั้น ใส่ข้อมูลหลอกก็ได้คนหลอกๆ ไม่จริงจังตั้งใจกับข้อมูลที่กรอกไป ก็ได้ความไม่จริงจัง ไม่ต้ังใจกลับมา และเมื่อใส่ดาต้าที่มาจากตัวเราเองแล้ว ทีเ่ หลือจะใช้ดาต้าเป็นตัวช่วยบ้าง อย่างการรูว้ า ่ จะล็อกอินช่วงเวลาไหน เดือนอะไร ตามสถิติ ที่ เจ้ า ของแอพพลิ เ คชั น ได้ ช่ ว ยรวบรวมเก็ บ ข้อมูลไว้ ก็ไม่เสียหายอะไร ก่อนที่เดือนสิงหาคมจะหมดไป ก่อนที่ฝนจะซา ลมหนาวจะเข้ามาแทน แล้วยิ่งเหงาไปกว่าเคย
32
เรือ ่ ง : PatKlear ภาพ : อุษา นพประเสริฐ
BREATHE IN
และจะมี อี ก คนที่ ยั ง ต้ อ งอยู่ เ ผชิ ญ โลก ค น เ ดี ย ว ต่ อ ไ ป อี ก น า น เ ท่ า ไ ห ร่ ก็ ไ ม่ รู้ อ ย่ า ง โดดเดี่ยว ด้วยหัวใจที่เต็มไปด้วยความคิดถึง อยู่ทุกวันที่ต่น ื ลืมตา และเฝ้ารอวันที่จะได้เจอกัน อีกครั้ง เวลาที่ ร ัก ใครสั ก คนด้ ว ยหั ว ใจทั้ ง หมด ที่มี ความกลัวแบบนี้มักจะแอบซ่อนอยู่ลึกที่สุด บีบหัวใจที่สุด น่าสะพรึงที่สุด แม้ไม่ค่อยมีใคร อยากนึ ก ถึ ง แต่ ก็ ต้ อ งมี แวบคิ ด ขึ้ น บ้ า งจนได้ การจากลากั น ในความตายมั น เป็ น ความจริง ทีเ่ จ็บปวด ทีแ ่ ม้จะรักกันแค่ไหน สุดท้ายวันหนึ่ง คนใดคนหนึ่งก็ต้องจากโลกนี้ไปก่อน อาจเป็น เขาที่ ทิ้ ง เราไว้ หรื อ อาจจะเป็ น เราเสี ย เอง ที่ต้องหยุดลมหายใจไปก่อนแล้วทิ้งอีกคนหนึ่ง ไว้ เราเคยอ่านผลวิจัยเจอมาว่า ความกลัวนี้ มันมาคู่กันกับความรักอยู่แล้วเป็นปกติ ยิ่งเมื่อ เราเจอรักแท้ รักที่ดี รักที่ใช่ แบบ the love of my life หรือ soulmate รวมถึงความรักแบบ พ่ อ แม่ ร ัก ลู ก หรือ ลู ก รัก พ่ อ แม่ การที่ จ ะต้ อ ง เห็ น ภาพร่า งไร้ล มหายใจของคนที่ เรารัก นั้ น มั น เป็ น ความกลั ว ขั้ น สู ง สุ ด ของมนุ ษ ย์ ทุ ก คน ดั งนั้ น โดยปกติ แล้ วเราทุกคนก็ เลยเลื อกที่จะ ignore ความจริ ง นั้ น ใช้ ชี วิ ต เบลอๆ ไป มองข้ามมันไปด้วยความยุง ่ เหยิงของโลกแต่ละ วัน ก�าหนดความคิดหลอกตัวเองให้มันกลบๆ ลืมๆ ความจริงที่เป็นสิ่งแน่นอนพื้นฐานสิ่งเดียว บนโลกนี้ ไป ว่ า วั น หนึ่ ง เราทุ ก คนก็ ต้ อ งตาย ตั ว เองก็ ต้ อ งไป คนที่ เรารั ก ทุ ก คนก็ ต้ อ งไป ใครก่อนใครหลังเท่านั้นเอง ในความกลั วว่าวันหนึ่ งจะต้ องจากกั นนี้ ความรู ้ สึ ก ที่ ท� า ให้ ข นลุ ก น� า ตารื้ น ขึ้ น มาได้ ทุกครัง้ ทีค ่ ิดภาพนั้นขึน ้ มา ทีจ ่ ริงเราใช้ประโยชน์ issue 607
09 seP 2019
จากมั น ได้ ความรั ก ท� า ให้ เ ราอ่ อ นแอและ เปราะบางขนาดนี้ ก็ จ ริง แต่ ใ นความรู ้ตั ว นี้ ว่าเราอ่อนแอ หวาดกลัว และเปราะบางเหลือเกิน มั น ก็ ส ามารถท� า ให้ เ ราเข้ ม แข็ ง กล้ า หาญ และมี ส ติ ตื่ น ขึ้ น มาได้ เหมื อ นกั น พอคิ ด ขึ้ น มา แต่ ล ะที ก็ ใ ห้ มั น เตื อ นเราว่ า เราต้ อ งดี ใ จกั บ ทุกวินาทีทเี่ รายังมีกน ั นะ ขอบคุณทีเ่ รายังหายใจ ขอบคุ ณ ที่ โทร.หาเขาแล้ ว ยั ง ได้ ยิ น เสี ย งตอบ กลับมา ขอบคุณที่กอดแน่นๆ แล้วเขายังตัวอุ่น ตัวนิ่มเหมือนเดิม เสียงบ่น การงอน คือของขวัญ ทุกข้อความคือความพิเศษ ความกลัวนี้มันช่วย ท� า ให้ เราไม่ เ ผลอตั ว ท� า ร้า ยกั น โดยไม่ ต้ั ง ใจ และไม่ ลื ม ที่ จ ะบอกรัก กั น ทุ ก ครั้ง ที่ มี โ อกาส กอดกั น ให้ น านขึ้ น กว่ า เดิ ม ด้ ว ยความรู ้สึ ก ว่ า เรานี่ยังโชคดีจริงๆ บทความในครั้ง นี้ อ าจจะหนั ก หน่ ว งใจ ไปบ้าง เราไม่ได้อยากให้มันไปสร้างความกลัว หรือตืน ่ ตกใจกับใคร แล้วกลายเป็นใช้ชว ี ต ิ อยูบ ่ น ความกลั ว เราเขียนขึ้นจากประสบการณ์ ตรง ใน ชี วิ ต ที่ เ ค ย เกิ ด ขึ้ น กั บ ค ร อ บ ค รั ว เร า อ ยู่ หลายครั้ง มั น ให้ บ ทเรีย นไว้ ค รั้ง แล้ ว ครั้ง เล่ า จนตอนนี้ มั น ท� า ให้ เราไม่ ไ ด้ อ ยู่ กั บ ความกลั ว แบบเดิมอีกต่อไป ความกลัวนั้นกลับช่วยสร้าง สติ ที่ ท� า ให้ เราระมั ด ระวั ง กั บ ทุ ก สิ่ ง ที่ เราท� า มากขึ้ น และพยายามท� า ทุ ก วั น อย่ า งดี ที่ สุ ด เพื่อคนที่เรารัก และรักเรา เราหวังว่าจากความกลัว มันจะเปลีย ่ นเป็น สติ แ ละความกล้ า ได้ ในที่ สุ ด ให้ เรากล้ า ที่ จ ะ ใช้ชว ี ต ิ อยูก ่ ับคนรักและครอบครัวอย่างรูต ้ ัวเอง เสมอ ดู แ ลใส่ ใ จให้ คุ ณ ค่ า กั บ คนรั ก ที่ ยั ง อยู่ ข้ า งๆ กั น ตรงนี้ วั น นี้ ใ ห้ ดี ให้ มั น คุ้ ม กั บ ที่ ยั ง ได้ ห ายใจอยู่ ข้ า งๆ กั น และหากวั น นั้ น มาถึ ง จริง ๆ ซึ่ ง มั น มาแน่ ไ ม่ วั น ใดก็ วั น หนึ่ ง ไม่ ปี ใ ด ก็ ปีหนึ่ ง เราก็ แน่ ใจได้ เลยว่าเราท�าดี ที่สุดแล้ ว
จริง ๆ ไม่ มี น าที ที่ เ สี ย เปล่ า ไม่ มี อ ะไรค้ า งคา ไม่นึกเสียดายสิ่งที่ยังไม่ได้ท�า ไม่มีค�าบอกรัก ที่ไม่ได้บอก ไม่ลังเลที่จะเป็นคนลดทิฐล ิ งก่อน ไม่มีค�าขอโทษที่ไม่ได้พูดไป ให้มันคุ้มค่าที่สุด กั บ ทุ ก วั น ที่ เ ราได้ มี กั น อยู่ เมื่ อ มั น ถึ ง เวลา ก็ ข อบคุ ณ ฟ้ า ที่ ใ ห้ เวลามาครบตามก� า หนด และให้เราได้ใช้มน ั อย่างทีส ่ ด ุ แล้วจริงๆ ขอบคุณ ฟ้าที่ให้เราได้เกิดมารักกัน
ความรัก ความตาย และสติ
ภาพความฝันสูงสุดของคูร ่ ก ั ทุกคู่ น่าจะเป็นค�าว่า ‘ถือไม้เท้ายอดทอง กระบองยอดเพชร’ อยากจะอยูด ่ ว ้ ยกันไปจนแก่เฒ่า จินตนาการเห็นภาพ ่ รงนัน ้ งหลังฉากในฝันของคูต เป็นคนแก่สองคนเดินจูงมือกันเดินบนสนามหญ้า และ happy ending ส่วนมากก็ตด ั จบทีต ่ ายาย ้ ... แต่เบือ ่ งต่อเนือ ่ งไปในความจริงแล้ว ไม่วา่ ยังไงก็จะต้องมีใครคนหนึง ่ จากไปก่อนอย่างแน่นอน เดินจับมือกันแสนอบอุน ่ นี้ หากด�าเนินเรือ
CONTRIBUTOR
PatKlear นักร้องนักแต่งเพลง ช่างฝั น ที่หลงรัก การอ่ า นหนั ง สื อ โยคะ กาแฟ และ ฝันอยากเขียนหนังสือ ของตัวเองซักเล่ม ิ มาตัง ในชีวต ้ แต่เด็ก
33
เรือ ่ ง : วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ
EDITOR’S NOTE ภาพ : อุษา นพประเสริฐ
ถล่ม
โ ดยปกติแล้วผมเป็นคนใจเสาะไม่ค่อยชอบเผชิญหน้าหรือทะเลาะ กับใคร เวลามาอยู่ท่ามกลางคนเยอะๆก็มักจะสงบเสงี่ยมเจียมตัวไม่ค่อย มีปากมีเสียงอะไรทีนเี้ มือ ่ เวลาทีม ่ าอยูใ่ นโลกโซเชียลมีเดียแล้วเห็นใครสักคน ที่ท�าอะไรผิดพลาดแล้วเขาก�าลังโดนรุมถล่มลงโทษหนักๆแทนที่จะรูส ้ ึก สะใจสาแก่ใจสนุกสนานกลับจะเกิดความรูส ้ ก ึ สงสารและเห็นอกเห็นใจเขา ขึ้นมา ถึงแม้จะรูว ้ ่าเขาคนนั้นได้ท�าเรือ ่ งชั่วช้าสามานย์แค่ไหนหรือคนนั้น จะโง่เขลาเบาปัญญาแค่ไหนก็จะรูส ้ ก ึ สลดใจสะเทือนใจเมือ ่ เห็นผลกรรม ที่เขาได้ รบ ั โดยที่ไม่อยากเข้าไปร่วมวงซ�าเติ มไม่กล้ าไปช่วยวิเคราะห์ หรือวิพากษ์ วิจารณ์ อะไรให้ยืดยาวไม่ชอบแม้กระทั่งจะน� าเรือ ่ งนั้ นมา พูดถึงให้ลุกลามต่อไปอีก ยค ุ สมัยแห่งการสือ ่ สารทีร่ วดเร็วและท่วมท้นขนาดนี้ ได้สร้างคนกลุม ่ แบบใหม่ขน ึ้ มาเป็นกลุม ่ ใหญ่มากๆเสียด้วยเป็นคนกลุม ่ ทีเ่ กิดขึน ้ จากเฟซบุก ๊ และทวิ ต เตอร์โ ดยแท้ คื อ คนประเภทที่ ม ารวมกลุ่ ม กั น เพื่ อ เล่ น สนุ ก กั บ การรวมหมู่กันประจานคนอื่ นหัวเราะสะใจกั บความล้ มเหลวผิดพลาด ของคนอื่ น เป็ น คนแบบใหม่ ที่ จิ ต ใจแข็ ง กระด้ า งมากปฏิ บั ติ ต่ อ คนอื่ น โดยไม่มีความเมตตากรุณาใดๆ ถ้าไม่นับการโพสต์ด่าบนหน้าวอลล์ของตัวเองที่อาจจะถือว่าเป็น พืน ้ ทีส ่ ว่ นตัวของแต่ละคนทีเ่ ราใช้คย ุ กับเพือ ่ นสนิทเท่านัน ้ จะคุยอะไรจะหยาบ อย่างไรก็ได้นัน ก็ แ ล้ ว แต่ ค นไปแต่ ท เ ่ ี ห็ น เยอะกว่ า นั น มากๆคื อพวกทีเ่ ห็นได้ ่ ้ ตามเพจหรือบรรดาอิ นฟลูเอนเซอร์ที่ชอบแชร์ข่าวแห่งความเกลี ยดชัง ทั้ ง หลายโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง พวกข่ า วอาชญากรรมและข่ า วการเมื อ ง เราจะเห็นคนกลุ่มใหม่นี้เข้าไปรวมตัวกันจ�านวนมากจริงๆ พ วกเขาสามารถพู ด ค� า ด่ า ทอสาปแช่ ง ได้ น่ า สะอิ ด สะเอี ย นอย่ า ง ไม่น่าเชือ ่ เหมือนกับจะแข่งขันประชันกันด้วยซ�าบางคนเป็นแค่เด็กผูห ้ ญิง อายุนอ ้ ยๆเขียนคอมเมนต์ดว ้ ยอวัยวะเพศทุกค�าได้รบ ั ไลก์ในคอมเมนต์นัน ้ มากเป็นร้อยเป็นพันพอคลิกเข้าไปดูโปรไฟล์ก็เห็นเธอโฆษณาขายครีม ขายยาลดความอ้ วนบางคนเป็นคนแก่ คนเฒ่าแล้ วก็ ยังมาเล่ นเฟซบุ๊ก ด่าทอหยาบคายหนักยิง่ กว่าพอลองคลิกเข้าไปดูโปรไฟล์กเ็ ป็นรูปเขาก�าลัง อุม ้ ลูกอุม ้ หลานน่ารักดูเหมือนว่าครอบครัวมีความสุขไม่นา ่ เชือ ่ ว่าพอมาอยู่ ในโลกเสมือนอีกแห่งทีห ่ ่างกันเพียงแค่ลัดนิ้วมือลุงป้าพวกนี้จะกลายเป็น คนละคน มันไม่ใช่ว่าเราไม่ควรต�าหนิเราไม่ควรสั่งสอนคนผิดคนเลวผมว่า เราก็ควรลงโทษสัง ่ สอนพวกเขาให้สาสมกับความผิดแต่ถ้ามันมาถึงจุดที่
เรารูส ้ ก ึ สนุกสนานกับการลงโทษและมีอารมณ์รว่ มไปกับคนกลุม ่ ใหญ่มากๆ มายืนมุงกันเพื่อหัวเราะเยาะสะใจผมว่ามันไม่ใช่แล้วล่ะ ทก ุ วันนี้สง่ิ ทีผ ่ มพยายามท�าอยูโ่ ดยส่วนตัวคือการชะลอการติดตาม ข่าวลบๆพวกนี้ และคิดทบทวนตัวเองอยูเ่ สมอว่าเราเองก็ไม่ตา ่ งจากเหยือ ่ พวกนี้นักหรอก เราอาจจะหลงท�าผิดท�าชั่วแบบนั้ นก็ ได้ สักวันใครจะไปรู ้ เราเอง ก็โง่เขลาพอกันกับเขาเช่นกัน และเมื่อถึงคราวของเราถ้าเราต้องไปตกอยู่ในสภาพแบบนั้นบ้าง โดนแอบถ่ายคลิปโดนแคปหน้าจอไปประจานโดนรุมถล่มเละเทะแบบนั้น เราจะมีสภาพเป็นอย่างไรคิดแล้วก็สลดหดหูใ่ จจนรูส ้ ก ึ ว่าปรากฏการณ์นี้ มันท�าให้โลกทุกวันนี้น่ากลัวขึ้นเรือ ่ ยๆจริงๆ
34