TODAY EXPRESS PRESENTS
16 SEP 2019
607 608 609
i n C h a o S
Serenity
TODAY EXPRESS PRESENTS
16 SEP 2019
607 608 609
i n C h a o S
Serenity
CONTENTS 608
P04
Database ่ ‘แอมะซอน’ ป่าดิบชืน ้ แห่งอเมริกาใต้ เมือ ่ ข ่ี ด ทีม ี นาดใหญ่ทส ุ ในโลกก�าลังไฟไหม้
P08
The Conversation ชี วิ ต ไ ม่ ไ ร้ ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ คุ ณ ค่ า ความสงบสุ ข ที่ เ ก็ บ ง� า ไว้ ใ นใจของ ‘สิงห์’ - วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล
P20
FEATURE เติ ม ช่ อ งว่ า งในใจกั บ การเดิ น ทาง 8,000 กิ โ ลเมตร ผ่ า น 13 ปรเทศ ด้ ว ยสองน่ อ ง
P28
ถ้ า พู ดถึ ง ‘สิ ง ห์ ’ - วรรณสิ ง ห์ ประเสริ ฐ กุ ล ภาพจ� า ที่ชั ด เจนที่สุด ของเขา ณ เวลานี้ คือนักเดิน ทาง จากภาพถ่ า ยทั้ ง หมด บรรณาธิ ก ารศิ ล ปกรรมก� า ลั ง ตั ด สิ น ใจว่ า ส� า หรั บ ภาพปกควรจะเป็ นภาพที่ เ ขาจั บ กระเป๋ า เป้ อ ย่ า งมั่ น คงเพื่ อออกเดิ น ทาง หรื อ จะเป็ น ภาพที่ เ ห็ น ดวงตาอั น ทรงพลั ง แต่ เ มื่ อ คิ ด ทบทวนถึ ง เรื่ อ งราวและประสบการณ์ เดินทางตลอด 10 กว่าปีทผ ี่ า่ นมาของเขา พบว่าวรรณสิงห์ ในวั น นี้ เ ติ บ โตทั้ ง ภายนอกและภายในใจจากการออก เดิ น ทาง ซึ่ ง ถื อ เป็ นจุ ด ส� า คั ญ จุ ด หนึ่ ง ในช่ ว งชี วิ ต ข อ ง เ ข า ดั ง นั้ น ภ า พ ที่ สื่ อ ตั ว ต น ข อ ง ว ร ร ณ สิ ง ห์ ได้ ดี ที่ สุ ด จึ ง เป็ นภาพที่ ป รากฏอยู่ บ นปก a day BULLETIN ฉบั บ นี้
BREATHE IN 1 ่ บ เรามีหน้าทีร ั ผิดชอบต่อความสัมพันธ์ ของเราเอง
P29
BREATHE IN 2 ความหมายที่ แ ท้ จ ริ ง ของการเติ บ โต ่ ารงาน ในหน้าทีก
P30
EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิ ก าร ทั ศ นคติ ต่ อ ชี วิ ต และสั ง คมผ่ า นสายตาของ วุ ฒิ ชั ย กฤษณะประกรกิจ
TEAM ที่ ป รึ ก ษา สุ ร พงษ์ เตรี ย มชาญชั ย บรรณาธิ ก ารที่ ป รึ ก ษา นิ ภ า เผ่ า ศรี เ จริ ญ บรรณาธิ ก ารผู้ พิ ม พ์ โ ฆษณา/บรรณาธิ ก ารบริ ห าร วุ ฒิ ชั ย กฤษณะประกรกิ จ รองบรรณาธิ ก ารบริ ห าร ฆนาธร ขาวสนิ ท บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล ชยพล ทองสวัสดิ์ กฤตนัย จงไกรจักร นักเขียน/ผู้ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิ สูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิ ทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิ สูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจ ฝ่ายสร้างสรรค์วด ิ โี อ วงศกร ยีด ิ สกุล กวินนาฏ หัวเขา ทีป ิ รรยากุล ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุง ่ รัตนสิทธิกล ุ 08-4491-9241 ผูช ้ ว ่ ยผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา ่ วง รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว ผูผ ้ ลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www. adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com 02 2
ชนิด
30,000
ชนิด
2,500,000
ชนิด
1,500
เผ่า
420
ชนิด
ชนิด
2,500
550
นก
2,000,000,000
คน
ป่าแอมะซอนท�าหน้าที่ เสมือนปอดทีฟ ่ อกอากาศ ให้โลก เพราะช่วยดูดซับ คาร์บอนไดออกไซด์จาก ชัน ้ บรรยากาศได้มากถึง 2,000 ล้านตันต่อปี มีสว ่ นส�าคัญต่อการป้องกัน ภาวะโลกร้อนและการเปลีย ่ นแปลงสภาพ ภูมิอากาศโลก เมือ ่ จ�านวน ผืนป่าแอมะซอนลดลง หมายความว่า ประสิทธิภาพในการดูด คาร์บอนไดออกไซด์ของ ป่าผืนนีก ้ ็ลดลงไปด้วย
ชนิด
34,000,0000
500
สัตว์เลีย ้ งลูก ด้วยน�้านม
มนุษย์
พืช
ชนพื้นเมือง
แมลง
สัตว์เลือ ้ ยคลาน
ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ
THE AMAZON IS ON FIRE
คงไม่มใี ครคาดคิดว่า ‘แอมะซอน’ หรือป่าดิบชืน ้ แห่งอเมริกาใต้ ทีม ี นาดใหญ่ทส ี่ ด ุ ในโลก ด้วยพืน ่ ข ้ ทีป ่ า่ อันอุดมสมบูรณ์มากกว่า 5.5 ล้านตารางกิโลเมตร ครอบคลุมทัง ั ้ หมด 9 ประเทศ จะได้รบ ความเสียหายอย่างรุนแรงเป็นประวัตก ิ ารณ์จากไฟป่าทีล ุ ไหม้ ่ ก ติดต่อกันหลายสัปดาห์ ยิง เปลวไฟสามารถแผดเผาสรรพสั ตว์ ่ พรรณไม้ และทุกชีวต ิ ให้สญ ู สิน ็ ง ้ ไปได้มากเท่าไหร่ มนุษย์กย ่ิ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ วิ ก ฤตการณ์ ท างธรรมชาติ ม ากเท่ า นั้ น ซึ่งทั้งหมดนี้คือบทเรียนแสนเจ็บปวดแห่งมวลมนุษยชาติ
ปลา
84%
10
ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมดีเตอร์ (DETER) ของสถาบันวิจย ั ด้านอวกาศแห่งชาติบราซิล
องค์ ก ารกองทุ น สั ต ว์ ป ่า โลกสากล หรื อ
หรือ INPE แสดงให้เห็นว่าปริมาณการเกิด
WWF คาดการณ์ ไ ว้ ว่ า หากป่า แอมะซอน
ไฟป่า ในแอมะซอนเพิ่ ม ขึ้ น มากถึ ง 84% นอกจากนีพ ั ไม้ทา� ลายป่าก็ยง ั เพิ่มขึน ้ ื้นทีต ่ ด ้
ถูกท�าลายลงไปเรื่อยๆ ทั้งจากผลกระทบ ทางธรรมชาติเองและการกระท�าของมนุษย์
ถึ ง 88% เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ช่ ว งเวลา
นับจากนีไ้ ปเพียง 10 ปี พื้นทีป ่ า่ แอมะซอน
เดียวกันของปี ทแ ี่ ล้ว
ประมาณ 1 ใน 4 จะกลายเป็ นทีว ่ ่างเปล่า
การตรวจพบการเกิดขึน ้ ของไฟป่า ในแอมะซอนบริเวณประเทศบราซิล
2017
2018
20
80,626
2016
45,086
2015
57,870
2014
76,185
57,545
2013
62,691
หลังจากเกิดวิกฤตไฟป่า ลุกลามเผาไหม้ตด ิ ต่อกัน Earth Alliance หรือ องค์กรด้านสิง ่ แวดล้อม ซึง ่ มี ลีโอนาร์โด ดิคาปริโอ เป็ นผู้ร่วมก่อตัง ้ ได้ มอบเงิน 5 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ หรือประมาณ 151 ล้านบาท ให้กับ องค์กรระดับพื้นที่ และกลุ่มชนพื้นเมือง เพื่อใช้ในการปกป้อง และฟื้ นฟู ปา่ แอมะซอน ต่อไป
39,584
นอกเหนือจากไฟป่าแล้ว ป่าแอมะซอนยังต้อง เผชิญกับการบุกรุก อย่างผิดกฎหมายจาก มนุษย์ เพราะต้องการ ใช้ประโยชน์จากพื้นทีป ่ า่ เหล่านัน ้ ในอุตสาหกรรม เกษตรและเหมืองแร่ โดยทุกๆ 1 นาที พื้นทีป ่ า่ แอมะซอนขนาด ประมาณ 5 สนามฟุตบอล มาตรฐานจะถูกท�าลาย ลง
5,000,000
1
ระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนสิงหาคมของทุกปี (หน่วย: จุด)
2019
ที่มา : www.bbc.com, www.apnews.com, www.aljazeera.com, www.theguardian.com, www.express.co.uk, Amazon Cooperation Treaty Organization: ACTO, National Institute for Space Research: INPE
เรือ ่ ง : ตนุภัทร โลหะพงศธร
DATABASE
ชีวิตในแอมะซอน
เอไอเอส ร่วมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ชวนลูกค้าเซเรเนดใส่ชุดผ้าไทย เยือนถิน ่ เมืองเก่า ชมงานหัตถศิลป์ ชัน ้ สูง ณ พิพิธภัณฑ์ศิลป์แผ่นดิน
เอไอเอส ร่วมเปิดประสบการณ์ครัง ้ ใหม่ ให้ลูกค้าเซเรเนดได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์และ ร่วมสืบสานมรดกทางศิลปวัฒนธรรมอันวิจต ิ ร งดงาม ผ่านผลงาน ‘ศิลป์แผ่นดิน’ ซึ่งเป็ น ่ าชมยาก โดยช่างฝีมอ งานหัตถศิลป์ชน ื ้ั สูงทีห คนไทยจากสถาบันสิรก ิ ต ิ ิ์ สวนจิตรลดา มูลนิธิ ส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิรก ิ ต ิ ิ์ ่ กิจกรรมสุดพิเศษครัง พระบรมราชินน ี าถ ซึง ้ นี้
ได้รับเกียรติจาก อาจารย์เผ่าทอง ทองเจือ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นประวั ติ ศ าสตร์ ไ ทย มาเป็ น วิ ท ยากรกิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ บอกเล่ า ประวั ติ แ ละ ความเป็ นมาของผลงานชิ้น เอกที่จั ด แสดง อยู่ ภ ายในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ศิ ล ป์แ ผ่ น ดิ น ต� า บล เกาะเกิด จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
อ.เผ่าทอง ทองเจือ / คุณบุษยา สถิรพิพัฒน์กุล / คุณลิตา ภัทรภากรกุล 06
นางบุษยา สถิรพิพัฒน์กุล หัวหน้าหน่วยธุรกิจบริหาร
ลูกค้ าและการบริการ บริษัท แอดวานซ์ อิ นโฟร์ เซอร์วิส
จึ ง ข อ ร่ ว ม ส่ ง ต่ อ ค ว า ม ภ า ค ภู มิ ใจ ผ่ า น ก า ร ร่ ว ม เปิ ด
พระมหากรุ ณาธิคุ ณ สมเด็ จพระนางเจ้ าสิ ร ก ิ ิ ต์ิ พระบรม-
และเรีย นรู ้ง านศิ ล ป์ ชั้ น สู ง ภายในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ศิ ล ป์ แ ผ่ น ดิ น
จ�ากัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส กล่าวว่า “ด้วยน้อมส�านึกใน
ราชินน ี าถ พระบรมราชชนนีพน ั ปีหลวง เอไอเอส มีความภูมใิ จ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ไ ด้ จั ด กิ จ กรรมชวนคนไทยมาร่ว มสื บ สาน มรดกทางศิ ล ปวั ฒ นธรรมของไทยอั น เป็ น เอกลั ก ษณ์
ประจ� า ชาติ ซึ่ ง นอกจากความงดงามและประณี ตใน
รายละเอี ย ดเชิ ง ศิ ล ปะแล้ ว ผลงานต่ างๆ ยั ง บอกเล่ า เรื่ อ งราวและประวั ติ ค วามเป็ น มาของประเทศไทยได้ อาจารย์เผ่าทอง ทองเจือ
อย่ า งดี เยี่ ย ม จนได้ รั บ การยกย่ อ งอย่ า งสู ง ในระดั บ นานาชาติ
พิพิธภัณฑ์ศิลป์แผ่นดิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เปิดให้ผู้ท่ี สนใจเข้าชมได้ทุกวันอังคารถึง วันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 10.00-15.30 น. จ�าหน่ายบัตร เข้าชมราคา 150 บาท นักเรียน นักศึกษา และผู้สูงอายุ 75 บาท (แสดงบัตรประจ�าตัว) ส�าหรับ ลูกค้าเอไอเอสที่สนใจเข้าเยี่ยมชม งาน ‘ศิลป์แผ่นดิน’ สามารถรับ สิทธิพิเศษส่วนลดค่าเข้าชม มูลค่า 50 บาท เพียงกดรหัส ณ จุดจ�าหน่ายบัตร (1 หมายเลข ต่อ 1 สิทธิ์ต่อเดือน) ตั้งแต่วันนี้ ถึง 31 ธันวาคม 2562
ISSUE 608
“กิจกรรมในครัง้ นี้ เอไอเอส ในฐานะพสกนิกรชาวไทย
16 SEP 2019
ขันถมทองลายมงคล
ประสบการณ์ให้กับคนไทย ได้เข้ามาร่วมสัมผัสบรรยากาศ
ซึ่ ง ล้ ว นเกิ ด จากพระวิสัยทัศน์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิรก ิ ิติ์
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง ทรงอุ ทิศ พระองค์ ทรงงานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ด้ ว ยพระราชปณิ ธ าน ที่ จ ะท� า ให้ พ สกนิ ก รของพระองค์พ้นจากความยากจน และ
สามารถพึ่ ง ตนเองได้ อ ย่ า งยั่ง ยื น พร้อ มทั้ ง สื บ สานมรดก ทางศิลปวัฒนธรรมฝีมือของช่างไทยให้ยั่งยืนคู่แผ่นดินไทย ตลอดไป”
สัปคับพระคชาธาร
สีวิกากาญจน์
07
เรือ ่ ง : ตนุภัทร โลหะพงศธร
THE CONVERSATION
S e r e n i t y i n
C h a o s
ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร
เหตุ ผ ลกลใดมนุ ษ ย์ ถึ ง ต้ อ งออกเดิ น ทางไปยั ง พื้ นที่แห่งใหม่อยู่เสมอ? หากมองไปไกลกว่าเรือ ่ งความรืน ่ รมย์ หนึง ่ ในเหตุผล ทีข ั เคลือ ่ บ ่ นให้คนจ�านวนหนึง ่ ออกเดินทาง คือความต้องการ แสวงหาบางสิ่งบางอย่างมาเติมเต็มสิ่งที่ขาดหายไปจาก ก้นบึ้งของหัวใจ ‘สิงห์’ - วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล เป็ นหนึ่งในคน เหล่านั้นที่เริ่มออกเดินทางด้วยเหตุผลนี้ มองย้อนกลับไป จุดเปลีย ่ นส�าคัญหรืออาจเรียกได้วา่ เป็นหมุดหมายในเส้นทางชีวต ิ ของเขา เกิดขึน ้ ในวัย 25 ปี เ ข า เ ริ่ ม ต้ น จ า ก ก า ร เ ป็ น พิ ธี ก ร ร า ย ก า ร พื้ น ที่ ชี วิ ต ซึ่ ง ท� า ให้ เขาออกเดิ น ทางไปในประเทศต่ างๆ ทั่ ว ทุ กมุ ม ของโลกเฉลี่ยปี ละมากกว่าสิบทริป เพื่ อแสวงหา ศึกษา และเรี ย นรู้ ป ระสบการณ์ น� า มาซึ่ ง ความเข้ า ใจถึ ง ความหลากหลายของชีวิตในมิติต่างๆ จากนั้นมาเขาผัน ตัวเองเป็ นนักเดินทางและท�างานสารคดีอย่างจริงจัง จนกระทั่งผลงานสร้างสรรค์รายการสารคดี เถื่อน travel ออกอากาศครั้ ง แรก ด้ ว ยวิ ธี ก ารน� า เสนอ จากคอนเซ็ ป ต์ ก ารเดิ น ทางไปในที่ ที่ ค นปกติ ไ ม่ ไ ปกั น โดยเฉพาะแถบประเทศที่ อ ยู่ ใ นภาวะสงคราม ซึ่ ง เต็ ม ไปด้ ว ยความขั ด แย้ ง ระดั บ รุ น แรง และสุ่ ม เสี่ ย งต่ อ ความปลอดภัยในชีวิต รวมถึงวิธก ี ารท�างานแบบ One Man Production โดยเขาเลือกออกเดินทางตามล�าพั ง พร้อมรับหน้าที่เป็ น ทัง ี ร เขียนสคริปต์ และถ่ายท�าเองตลอดการเดินทาง ้ พิธก ทั้งหมดนี้ท�าให้รายการได้รับความสนใจและเสียงตอบรับ จากผู้ชมเป็ นอย่างดี จนท�าให้เกิดซีซันที่สองตามมา แต่ทก ุ อย่างย่อมมีวาระของมัน เวลาผันผ่านมา 10 ปี เมือ ิ ทีเ่ คยวิน ่ ก้นบึง ้ หัวใจทีเ่ คยว่างเปล่า ส่วนของชีวต ่ แหว่ง ได้รับการเติมเต็มจนปริ่ม ณ จุดนั้นถือเป็ นจุดเปลี่ยน ครั้ ง ใหม่ เ ลยก็ ว่ า ได้ มั น คื อ ช่ ว งเวลาที่ เ ขาต้ อ งกลั บ มา ทบทวนถึงชีวิตที่ผ่านมาทั้งหมด ถึงแม้ว่าจะต้องเผชิญกับอุปสรรคและความวุ่นวาย นานัปการตลอดการเดินทาง จนบางครัง ้ เกิดเป็นความทุกข์ ทั้งทางร่างกายและในความรู้สึก แต่เมื่อฟันฝ่าความยาก ล�าบากเหล่านั้นมาได้ ประสบการณ์และสิ่งที่ได้พบเจอมา ทั้ ง หมด ก� า ลั ง บอกเขาให้ ต ระหนั ก ว่ า ท้ า ยที่ สุ ด แล้ ว สิ่งใดกันแน่ที่สร้างความหมายของการมีชีวิต และเป็ น สิ่งเดียวกันกับที่เขาตรากตร�าออกเดินทางเพื่ อแสวงหา หรือเปล่า หรือจุดมุ่งหมายสูงสุดของการมีชีวิตอาจเป็ นเพียง ความสงบสุขภายในใจ ถ้าเป็ นเช่นนั้นจริง แล้วการออก เดินทางไปไกลแสนไกลนั้นสลักส�าคัญมากขนาดไหน ทั้งหมดนี้คือค�าตอบของเขาในวัย 35 ปี ในฐานะ ผู้ ที่ อ อกเดิ น ทางไปสั ม ผั ส กั บ รายละเอี ย ดของชี วิ ต และ สรรพสิง ่ ที่ประกอบสร้างและหลอมรวมเป็ นโลก รวมถึง เขา และเราทุกคน
08
issue 608
16 seP 2019
09
tHrOUGH tHe eyeS OF CUriOSity
คุณเติบโตมาในบรรยากาศปัญญาชน คนทางบ้ า นเป็ น นั ก คิ ด นั ก วิ ช าการ เรื่ อ งประวั ติ ศ าสตร์ สั ง คม และ การเมือง น่าจะเป็นสิ่งที่คุณคุ้นชินมา ตั้งแต่เด็กๆ อะไรคือสิ่งส�าคัญที่คุณ ไ ด้ เ รี ย น รู้ ห รื อ ไ ด้ รั บ ก า ร ป ลู ก ฝั ง จากพื้ นฐานครอบครัว เมือ ่ ก่อนเคยคิดว่าพ่อแม่เขาพยายาม
ปลู ก ฝั ง เราเรื่อ งความอยากรู ้อ ยากเห็ น จนเมื่ อ โตขึ้ น เราพบสิ่ ง ที่ ลึ ก ซึ้ ง กว่ า นั้ น การที่พ่อแม่เราเคยพยายามเปลี่ยนแปลง สังคมมาก่ อน ถ้ าพูดด้ วยภาษาข�าๆ คื อ มั่นใจกันเบอร์ไหน (หัวเราะ) สิ่งนี้ เองจึง ส่งผ่านมาถึงลูกด้วย คือคิดจะเปลีย ่ นแปลง อะไรบางอย่ า งในโลก หลายครั้ง ที่ เห็ น ประเด็นต่างๆ ในโลกแล้วรูส ้ ึกว่ามันใหญ่
มากๆ เช่น สงคราม สิง่ แวดล้อม หรือความเหลื่ อ มล� า ค� า ถามแรกที่ ผุ ด ขึ้ น มาในหั ว โดยอัตโนมัตค ิ อ ื เราท�าอะไรได้บา ้ ง ฟังแล้ว
เหมือนเป็นการโอ้อวด แต่เราไม่ได้อยาก โอ้อวดว่าท�าได้ แค่บอกว่าค�าถามแรกคือ ถามตั ว เองก่ อ นว่ า ท� า อะไรได้ บ้ า ง เป็ น ความรูส ้ ก ึ ทีว ่ า่ เรามีสว ่ นร่วมกับความเป็นไป
ของโลกใบนี้ได้ นี่อาจเป็นสิ่งส�าคัญมากๆ ที่ส่งผ่านมาจากพ่อแม่ เริม ่ ต้นจากความ-
อยากรูอ ้ ยากเห็น ความสงสัย ความอยาก เอาตัวเองไปเข้าใจโลก และเชื่อมโยงกับ โลกมากกว่านี้ จริงๆ พ่อแม่ไม่ค่อยเล่าเรือ ่ งตัวเอง ในเหตุการณ์ 14 ตุลาฯ หรือช่วงวัยรุน ่ ให้ฟงั เท่าไหร่ ถ้าถามก็เล่านะ แต่คนส่วนมาก จดจ� า พวกเขาในช่ ว งเวลาหนึ่ ง ว่ า เข้ า ป่ า ต่ อสู้กับรัฐบาล ออกมาเป็นนั กเขียน แต่ ส� า หรับ พ่ อ แม่ เ อง เวลาไม่ ไ ด้ ห ยุ ด อยู่ ที่ จุดนั้น มันด�าเนินต่อมาเรือ ่ ยๆ ผ่านการเป็น นักปฏิวัติ สู่การเป็นอาจารย์ เป็นนักเขียน เป็นพ่อเป็นแม่คน มีครอบครัว จากคนหนุม ่ ค น ส า ว สู่ วั ย ก ล า ง ค น แ ล ะ วั ย สู ง อ า ยุ เพราะฉะนั้น ความสัมพันธ์ระหว่างผมกับ พ่อแม่จึงไม่ได้อิงกับเหตุการณ์ 14 ตุลาฯ แต่ อิ ง จากตั ว ตนของพวกเขาที่ ส ะท้ อ น ออกมาผ่ า นวิ ธีการเลี้ ย งดู แล้ ว สิ่ง ที่ เห็ น ได้ชัดเจนคือเรือ ่ งอิสรภาพ เรามีอิสรภาพ เยอะมากตั้ ง แต่ เ ด็ ก ส่ ว นประเด็ น สั ง คม แ ล ะ วิ ช า ก า ร ก็ เป็ น สิ่ ง ที่ ก ล ม ก ลื น กั บ บทสนทนาตลอดอยูแ ่ ล้ว ไม่ใช่การยัดเยียด แต่เป็นความอยากรูม ้ ากกว่า เพราะพวกเรา รู ้สึ ก ว่ า ทุ ก อย่ า งในโลกมี แง่ มุ ม น่ า สนใจ ไปหมด น� า มาซึ่ ง การงานของแต่ ล ะคน
แม่ เป็ น สายประวั ติ ศ าสตร์ พ่ อ เป็ น สาย สังคมการเมือง พีช ่ ายเป็นสายวิทยาศาสตร์ ส่วนผมก็เป็นการเดินทางและวัฒนธรรม
แต่ วั ย รุ่ น เป็ น วั ย อยากรู้ อ ยากลอง ไปหมด เป็ นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ เมื่อ ชี วิ ต มี อิ ส รภาพมาก คุ ณ ในตอนนั้ น ค้ น หาตั ว ตน หรื อ เติ บ โตขึ้ น มาใน
วิถีทางใด เหมือนหรือแตกต่างจาก คุณพ่ อและคุณแม่ในช่วงวัยหนุม ่ สาว
เหมื อ นหรื อ ต่ า งจากพ่ อ แม่ น่ า จะ
ตอบได้ชด ั เจนกว่า เพราะกว่าเราจะโตขึน ้ มา รูเ้ รือ ่ ง พ่อแม่กเ็ ป็นผูใ้ หญ่หมดแล้ว (หัวเราะ) แต่ ต อนอายุ สิ บ สี่ สิ บ ห้ า นี่ เป็ น วั ย ที่ ส นใจ แต่ตัวเองค่อนข้างเยอะ เริม ่ ต้นจากค้นหา
ตัวเอง เพื่อค้นพบตัวเอง แล้วน�าไปสู่การหลงตัวเองประมาณหนึง่ เพราะว่าโลกทัง้ ใบ ยั ง มี แ ค่ ตั ว เองอยู่ ต รงนั้ น ท� า ยั ง ไงให้ เท่ ให้มค ี นมอง ให้ได้รบ ั การยอมรับจากเพือ ่ น
และสังคม ถ้ามองย้อนกลับไปผมคงไม่ตา ่ ง จากวัยรุน ่ หลายๆ คน แต่เส้นทางที่ค่อยๆ น�ามาสูจ ่ ด ุ ทีอ ่ ยูท ่ ก ุ วันนี้ น่าจะเริม ่ ่ ช่วงวัยหนุม ประมาณปลายมัธยมและต้นมหา’ลัย
ชีวิตจะมีโอกาสให้เราค่อยๆ ละลาย ตั ว เองไปเรื่อ ยๆ จากตอนแรกสนใจแต่ ตัวเอง ฉันเป็นใคร ฉันเป็นอะไรได้มากกว่า
ลู ก เสกสรรค์ แ ละจิ ร ะนั น ท์ ไ หม นั่ น คื อ ความหมกมุ่นในวัยรุน ่ พอเข้าวัยหนุ่ม เรา ได้เอาตัวเองไปเชือ ่ มโยงกับสังคมและโลก พยายามมีสว ่ นเกีย ่ วข้องในการสร้างความ-
เปลี่ยนแปลงหลายๆ อย่าง เราจึงเห็นว่า
โลกมันใหญ่ขนาดไหน มีอะไรเป็นกลไก ที่ ด� า เนิ น ไปบ้ า ง แล้ ว ตั ว เราอยู่ ต รงไหน ในกลไกทีเ่ ชือ ่ มโยงกันทัง้ หมด สิง่ นีจ ้ ะขยาย ใหญ่ออกเรือ ่ ยๆ ตามเส้นทางการเติบโต ก็เหมือนการเดินทางของเราคือ เริม ่ จาก ในประเทศก่อน ค่อยไปประเทศใกล้ๆ แถบ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สักพักขยายไปทัว ่ ทั้ ง โลก เมื่ อ เราสะสมประสบการณ์ ที่ ไ ด้ พูดคุยและแลกเปลีย ่ นความคิดกับคนใหม่ๆ เสมอ ก็ ท� า ให้ เราเชื่ อ มโยงตั ว เองสู่ โ ลก ที่ ใหญ่ ก ว่ า ได้ ม ากขึ้ น แล้ ว สนใจตั ว เอง น้อยลงเรือ ่ ยๆ จนตอนนีเ้ ป็นผูใ้ หญ่กแ ็ ทบจะ ไม่ได้มานัง่ คิดเรือ ่ งตัวเองอะไรมากมายแล้ว
ตอนที่ เ ริ่ ม ต้ น ออกเดิ น ทาง พ่ อแม่ ได้ ม องการแสวงหาของคนรุ่ น ลู ก อ ย่ า ง ไ ร แ ล ะ พ ว ก เ ข า บ อ ก อ ะ ไ ร กับคุณก่อนไหม
ประโยคทีว ่ า่ ‘อย่าไปเลยลูก’ ไม่เคยมี เขาอนุ ญ าตให้ ผ มเติ บ โตและเรีย นรู ้โ ลก ได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ แต่ ค รอบครัว อื่ น อาจจะ บอกว่า ‘อันตรายลูก อย่าไปเลย’ ก็เข้าใจ ได้ เพราะแต่ ละครอบครัวมีเงื่อนไขและ ข้ อ จ� า กั ดต่ า งกั น พ่ อ แม่ ข องผ มจึ งมี พระคุ ณ อย่ า งมากในเรื่อ งนี้ ในใจลึ ก ๆ เขาก็ ค งเป็ น ห่ ว ง แต่ เขารู ้ ดี ว่ า คนอายุ เท่าผมในตอนนั้นต้องการอะไรในชีวิต
ส�าหรับคนส่วนใหญ่อายุ 25 ปี เป็ น ช่วงชีวิตที่ท�างานมาได้สักระยะหนึ่ง จนเริ่ ม สร้ า งความมั่ น คงในหน้ า ที่ ก า ร ง า น ข ณ ะ ที่ คุ ณ เ ริ่ ม ต้ น อ อ ก เดินทางเป็นครั้งแรก สิ่งใดภายในใจ ของคุณเรียกร้องให้ท�าเช่นนั้น
ผมต้องการตอบตัวเองได้ว่า เราใช้ชีวิตในทุกๆ วันอย่างมี ความหมาย ถ้ า ทุ ก คนมี เ วลา ไม่ จ� า กั ด บนโลกจะไม่ มี ใ คร มานั่งถามหาเรื่องความหมาย ของชี วิ ต เพราะว่ า อยู่ ไ ปอี ก ล้ า นปี ค่ อ ยคิ ด ก็ ไ ด้ แต่ พ อมี เวลาจ�ากัด ก็ต้องคิดแล้วว่า 80 ปีนี้เอาไปท�าอะไรให้คุ้มค่า ที่สุด 10
tHe HeArt OF UnDAUnteD COUrAGe
จะเรีย กว่ า ตั ด สิ น ใจเองก็ ไ ม่ เชิ ง
เหรอ แล้ ว บางครัง ้ การเดิ น ทางกลั บ
การออกเดินทางขัดเกลาคุณอย่างไร
ยันท�ารายการทีวีจนหาเลี้ยงตัวเองได้
ท�าบ่อยเกินไป เราจึงต้องเบรกตัวเอง ไม่อย่างนั้ นเราจะเปลี่ ยนสิ่งที่มันเคย บริสท ุ ธิต ์ ่อจิตใจเรามากๆ ให้กลายเป็น
ออก ท�าให้มองทุกอย่างของโลกทัง้ ใบ ได้เข้าใจ ว่ า ในเชิ ง ธรรมชาติ โ ลกทั้ ง ใบเชื่ อ มต่ อ กั น ยังไง ผมไปที่ป่าแอมะซอนและทะเลทราย
เดือนก่อนหน้านี้ทพ ี่ ก ั การเดินทางแล้ว เรียนรูท ้ ี่จะอยู่โดยไม่ต้องมีมันบ้าง
ทรายจากซาฮาราจะถูกพัดผ่านมหาสมุทร แอตแลนติกไปเป็นสารอาหารให้พืชในป่า แอมะซอน เราก็ จะเห็ น ภาพชั ด ขึ้ น ว่ า
เร า ไ ม่ เ ค ย ท� า ง า น อ อ ฟ ฟิ ศ ตั้ ง แ ต่ เรียนจบมา เพราะมีโปรเจ็กต์ของตัวเอง ตลอด ตั้ ง แต่ เขี ย นหนั ง สื อ ท� า เพลง
ทีนช ี้ ว่ งวัยยีส ่ บ ิ ห้าเป็นช่วงทีค ่ วามฝันแรก ก�าลังถึงทางตัน เพราะวงดนตรีกา� ลังจะ ล่ม จะเอายังไงต่อดี แต่เหมือนจักรวาล ยื่ น ค� า ตอบมาให้ ว่ า มาทางนี้ ดี ก ว่ า
รายการ พืน ้ ทีช ่ วี ต ิ ติดต่อมาให้เป็นพิธก ี ร โดยบอกว่าต้ องเดิ นทางไปพาราณสี ธรรมศาลา เยรูซาเลม เราก็งงว่านี่คือ ที่ ไหน ตอนนั้ น ยั ง ไม่ รู ้เรื่อ งอะไรเลย
ความรูส ้ ก ึ ลบ ก็เลยน�ามาสูช ่ ว ่ งเจ็ดแปด
เคยค้ น ลงไปลึ ก ๆ ไหนว่ า ความต้องการเติมเต็มช่องโหว่ภายในใจ เกิดขึ้นเพราะอะไร
เพราะการเดินทางไม่เคยเป็นความฝัน ของเราตั้งแต่เด็ก เดินทางอย่างมาก ก็ ส องครั้ง ต่ อ ปี เหมื อ นคนทั่ ว ไป เมื่ อ
ก็สงสัยนะ แต่คิดว่าสิ่งนี้เกิดขึ้น มาตัง้ แต่วย ั เด็ก ทุกคนคงมีสง่ิ นีอ ้ ยูใ่ นใจ แค่แสดงออกมาต่างกัน บางคนต้องการ ความรัก บางคนต้องการความส�าเร็จ
จ� า นวนมาก แต่ โ อกาสนั้ น ได้ ยื่ น มา ที่เราก็เพราะตัวตนที่เราเป็น คือเขียน
มี ห น้ า มี ต า บางคนต้ อ งการความสมบูรณ์แบบของร่างกาย ผมต้องการตอบ ตัวเองได้วา ่ เราใช้ชว ี ต ิ ในทุกๆ วันอย่าง
แล้วรายการอยากได้พธ ิ ก ี รแบบนี้พอดี เราพัฒนาตัวเองจากการออกเดินทาง มากขึน ้ เรือ ่ ยๆ จนท�ารายการ เถือ ่ น travel
มาจากความกลัวตาย ถ้าทุกคนมีเวลา ไม่จ�ากัดบนโลกจะไม่มีใครมานั่งถาม หาเรือ ่ งความหมายของชีวิต เพราะว่า
มองย้อนกลับไปก็เป็นเรือ ่ งโชคดีมหาศาล เหมือนกัน เพราะนี่คือความฝันของคน
หนั ง สื อ ชอบคิ ด วิ เ คราะห์ ส่ิง รอบตั ว
และมีการเดินทางเป็นส่วนหนึง่ ของชีวต ิ
อะไรคื อ สิ่ ง ที่ คุ ณ หวาดกลั ว มาก ที่สุดในการออกเดินทางคนเดียว แล้ ว คุ ณ ก้ า วข้ า มความกลั ว นั้ น ได้อย่างไร
ความกลั ว ที่ ดี ล ได้ ง่ า ยที่ สุ ด คื อ กลัวตาย เป็นความกลัวระยะสั้นและ เกิดขึน ้ ฉับพลัน เช่น อยูใ่ นกรุงแบกแดด แล้วมีขา ่ วระเบิดลงพอดี หรือทีจ ่ า � ได้วา ่ กลัวตายสุดๆ คือก่อนเครือ ่ งบินจะลง ที่อัฟกานิ สถาน แล้วมองออกมาจาก หน้ า ต่ า งเห็ น war zone ครั้ ง แรก วิธร ี บ ั มือคือโฟกัสกับงาน แล้วก็จะลืม ไปเอง แต่ ส่ิ ง ที่ น่ า จะน่ า กลั ว ที่ สุ ด คื อ กลัวการไร้ตัวตน ไร้ความหมาย ปกติ แรงจูงใจในการออกเดินทางในแง่หนึ่ง คือความอยากเรียนรูโ้ ลกกว้าง ออกไป เจอความตื่ น เต้ น แต่ ส่ิ ง ที่ อ ยู่ ภ ายใต้ สิง่ เหล่านัน ้ คือการอยากหาความหมาย ให้ชีวิต การเติ มเต็ มความรู ส ้ ึกว่าเรา ได้ ใช้ ชี วิ ต อย่ า งคุ้ ม ค่ า สามารถสร้า ง ความหมายให้สงั คม คนอืน ่ ๆ และตัวเอง ผมเชือ ่ ว่าไม่ใช่แค่ผมคนเดียวทีต ่ อ ้ งการ สิ่ ง นี้ แต่ ส� า หรับ ผม มั น เหมื อ นเป็ น ข้อบกพร่องหรือช่องโหว่ในใจ ต้องหา สิ่งภายนอกมาเติมเต็มตลอดเวลา ใน ช่วงหนึง่ ของชีวต ิ จึงเสพติดการเดินทาง ต้องการขึน ้ เครือ ่ งบินไปไหนสักทีเ่ พราะ นี่ คื อ สิ่ ง ที่ ให้ ค วามสุ ข และความสงบ กับเรา พอมองดูตัวเองจึงรูส ้ ึกว่าไม่ได้ จะรูส ้ ก ึ มัน ่ คงแค่ตอนได้เดินทางเท่านัน ้ issue 608
เป็นความเหนื่อยหน่ายมากกว่า เพราะ
16 seP 2019
รูส ้ ึกว่ามุมมองของเราค่อยๆ ถูกเปิด
ซาฮารา แล้ ว ได้ ม าอ่ า นที ห ลั ง ว่ า ทุ ก ปี
อ๋อ อย่างนี้นี่เอง เราอ่านเรือ ่ งน�าแข็งขัว ้ โลก
ละลาย เราได้ไปเดินบนน�าแข็งมาแล้ว เรารู ้ ว่ามันใหญ่ขนาดไหน พอเห็นภาพจากข่าว ตอนที่มันก�าลังละลาย มันรูส ้ ึกได้จริงๆ นะ หรือก่อนหน้านี้ที่เราท�าเรือ ่ งสงคราม เวลา
ในหน้ า ที่ ก ารงาน บางคนต้ อ งการ
มีข่าวระเบิดในอัฟกานิสถานซึ่งตอนนี้ก็ยัง มีอยู่ เราจะรูส ้ ึกปวดใจทุกครัง้ เพราะเรามี เพือ ่ นอยูท ่ น ี่ น ๊ อยูต ่ ลอด ่ั ยังคุยกันผ่านเฟซบุก
มีความหมาย ลึกๆ แล้วคิดว่าส่วนแรก
ทีด ่ เู ป็นเรือ ่ งไกลตัว ส�าหรับเรา การเดินทาง ท�าให้รูส ้ ึกเป็นเรือ ่ งใกล้ตัวขึ้นเยอะมาก
อยู่ ไปอี ก ล้ า นปี ค่ อ ยคิ ด ก็ ไ ด้ แต่ พ อมี
ไทย คนมักจะด่าสังคมตัวเองค่อนข้างเยอะ แต่ในสายตาเราถามว่ามีปญ ั หาไหม มีเยอะ แต่มันไม่ได้แย่เท่ากับอีกหลายๆ ที่ท่ัวโลก
เวลาจ� ากั ด ก็ ต้องคิ ดแล้ วว่า 80 ปีนี้ เอาไปท�าอะไรให้คุ้มค่าที่สุด ถ้าบรรลุ อรหั น ต์ คงละทิ้ ง ความกลั ว ตายได้ แล้ ว ค� า ถามว่ า ชี วิ ต นี้ มี ค วามหมาย หรือเปล่าจะหายไป เพราะมันมีความ-
หมายทุกลมหายใจ แต่ตอนนี้ท�าไม่ได้ อีกส่วนหนึ่งก็ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า ใจลึกๆ เราคงหยุดเปรียบเทียบตัวเอง กั บพ่อแม่ไม่ได้ เมื่อโตขึ้นรู ส ้ ึกว่าเป็น ปมนี้เล็กลงเรือ ่ ยๆ จนแทบจะไม่คิดถึง แล้ว มันแค่หายไปจากกระบวนการคิด และตัดสินใจ แต่ในสามัญส�านึกปมนี้ ไม่เคยหายไปไหน ถ้าวิเคราะห์ตัวเอง อย่างตรงๆ เลย เมือ ่ ปมนีย ้ งั อยู่ ทุกๆ วัน สามัญส�านึกของเราก็จะพยายามคิดว่า วันนี้เรามีประโยชน์พอหรือยัง ก็เลยน�า มาสู่ความรูส ้ ึกว่าอยู่นิ่งแทบไม่ได้ แต่เราก็อยู่กับมันได้โดยไม่รูส ้ ึก ว่าเป็นด้ านลบนะ ถ้ ายิ่งเข้าใจตั วเอง ถ่องแท้มากเท่าไหร่ ก็จะยิง่ หลอกตัวเอง น้อยลงมากเท่านั้น บางคนท�าความดี โดยมี เ บื้ อ งลึ ก เป็ น ความเห็ น แก่ ตั ว ที่ซ่อนอยู่ใต้ความต้องการท�าความดี อีกที เราอยากมองในทุกๆ ระดับอย่าง ตรงไปตรงมาที่สุด เราอยากท�า งาน ที่ เป็ น ประโยชน์ เป็ น ความต้ อ งการ เติ มเต็ มช่องโหว่ในใจ แล้ วเราเชื่อว่า มนุ ษ ย์ ทุ ก คนเป็ น แบบนี้ คงไม่ มี ใ คร สามารถท� า เพื่ อ ผู้ อื่ น โดยไม่ มี ค วามต้องการของตัวเองอยู่เบื้องล่าง
ได้ แต่ ส่งข้อความว่าให้ก�าลั งใจ หรือเรือ ่ ง ชนกลุ่มน้อย ผู้ลี้ภัย ประเด็นอะไรก็ตามแต่
ขณะเดียวกันเมือ ่ มองกลับมาทีส ่ ง ั คม
แน่นอน พูดแบบนี้หลายคนจะถามว่าแล้ว จะอยู่เฉยๆ ไม่คิดแก้ปัญหาเหรอ เราไม่ได้ หมายความว่ า อย่ า งนั้ น เราแค่ บ อกว่ า ในโลกมีเรือ ่ งที่ยิ่งใหญ่และเร่งด่ วนมากนี้ คุณอาจจะไม่พอใจในสิง่ ทีเ่ ป็นอยูม ่ ากเกินไป การช่วยแก้ปญ ั หาเป็นเรือ ่ งดีแต่มน ั มีทท ี่ แ ี่ ย่ กว่านี้ เราไม่ได้บอกว่าการมองแบบนีจ ้ า � เป็น ต้ องหยุ ดพูดถึ งปัญหาในประเทศ ในทาง กลับกัน เราควรจะต้องเปล่งเสียงอยู่เรือ ่ ยๆ ถึ ง ปั ญ หาที่ มี อ ยู่ แต่ ถ้ า มองตั ว เราเอง เราอยากพู ด ถึ ง ปั ญ หาระดั บ โลกให้ กั บ สังคมไทยมากกว่า เพราะว่าในสือ ่ พูดปัญหา ในประเทศเยอะแล้ว เราเองก็ได้ยินทุกวัน ในงานของเราต่อๆ ไป จึงอยากเชื่อมโยง ให้คนไทยรูส ้ ก ึ มากๆ ว่า เราอยูใ่ นสังคมโลก นะ ทัง ในเชิ ง ธรรมชาติ สังคม และการเมือง ้ ให้เขารูส ้ ก ึ ให้ได้วา ่ สิง่ ทีก ่ �าลังเกิดขึน ้ อยูท ่ อ ี่ ื่น บนโลกเชื่อมโยงกับตัวเขายังไง
ความเปลี่ยนแปลงอาจท�าให้สรรพสิ่ง ที่ คุ ณ ได้ ไ ปสั ม ผั ส ตลอดการเดิ น ทาง กว่า 10 ปี สูญไปอย่างไม่มว ี น ั หวนกลับ ภาพถ่ายหรือรายการของคุณจึงเป็ น การบันทึกอดีตหรือเก็บง�าคุณค่าของ สิ่ ง นั้ น ไว้ หากมองย้ อ นกลั บ ไปคุ ณ ให้ความหมายของสิ่งที่คุณท�าอย่างไร เราก็ได้รบ ั เสียงต้อนรับที่ท�าให้ชื่นใจ อยูเ่ รือ ่ ยๆ ทีจ ่ �าได้แม่นคือมีคนดูสง ่ ข้อความ มาหาว่าเขาเคยคิดจะฆ่าตัวตาย แต่ดรู ายการ แล้วรูส ้ ก ึ มีแรงทีจ ่ ะใช้ชว ี ต ิ ต่อไป เป็นผลลัพธ์ ที่ไม่เคยคาดคิด หรือว่าบางคนเคยมีอคติ 11
กั บ คนกลุ่ ม อื่ น มาก่ อ น พอดู ร ายการก็ เ ข้ า ใจอะไรใหม่ อย่างน้อยเราได้ส่งต่อความรูค ้ วามเข้าใจให้คนอื่นๆ แล้วเรา ก็หวังว่าสิ่งเหล่านี้จะมีความหมายกับพวกเขาไม่มากก็น้อย
แต่ส�าหรับตัวเอง ภาพถ่ายเหล่านี้มีความหมายมากๆ ในเชิ ง ความทรงจ� า เหมื อ นเราเก็ บ ชิ้ น ส่ ว นของโลกเอาไว้
แค่ ที่ ต รงนั้ น ในเวลานั้ น ก็ อ ย่ า งที่ คุ ณ บอกว่ า ทุ ก อย่ า ง มั น เปลี่ ย นแปลงไปเสมอ บางที่ เ คยสงบตอนนี้ มี ส งคราม บางทีเ่ คยอุดมสมบูรณ์ตอนนี้เผชิญหายนะอยู่ ผมมีภาพถ่าย
ป่าแอมะซอนทีอ ่ ด ุ มสมบูรณ์มาก ผมกลัวว่ามันจะกลายเป็นภาพ ทีท ่ ก ุ คนต้องมานั่งดูแล้วเล่าให้ลก ู หลานฟังว่าแต่ก่อนมันเคย อุ ด มสมบู ร ณ์ ข นาดนี้ น ะ หากมองย้ อ นกลั บ ไปแค่ ปี ที่ แ ล้ ว คุณจะไม่มท ี างคิดเลยว่าป่าแอมะซอนหายไปจากโลก เราหวัง แค่วา่ ภาพถ่ายมีคณ ุ ค่าในตัวมันเอง เป็นความทรงจ�าให้ได้นก ึ ถึง
กว่าจะได้มาแต่ละภาพก็ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะสถานที่ หลายแห่งคุณเอาตัวเองไปอยู่ในความเสี่ยงระหว่าง เป็นหรือตาย โดยเฉพาะในพื้ นที่สงคราม คุณประคอง ใจตัวเองอย่างไรให้มีสมาธิอยู่กับภาพตรงหน้า
เมื่ อ อยู่ ในพื้ น ที่ ส งคราม เรารู ้ว่ า มั น คื อ ความเสี่ ย ง แต่ ถ้ า บริห ารการเดิ น ทางดี ๆ จะไม่ ไ ด้ น่ า กลั ว ขนาดนั้ น ให้เปรียบเทียบว่าทุกวันมีรถชนกั นในกรุ งเทพฯ แต่ โอกาส ที่เราจะเห็นรถชนต่อหน้าต่อตาก็ค่อนข้างน้อย แล้วเราก็ลด ความเสี่ ย งได้ อี ก ด้ ว ยการไม่ ไปเดิ น แถวตึ ก รัฐ บาลหรือ ที่ท�าการประชุมทางการเมือง ถามว่ายากไหมกว่าจะได้มา แต่ละภาพ ก็คงยากระดับหนึ่ ง แต่เป็นความยากที่หาทาง จั ด การได้ แล้ ว เราก็ ช อบเสพงานของช่ า งภาพสารคดี ระดับโลกด้วย ก็ยงั บอกตัวเองเสมอว่ากระจอกมากเมือ ่ เทียบ กับคนเหล่านี้
ในพื้ นที่สงคราม คนจ�านวนมากต้องสูญเสียบ้านที่อยู่ มาทั้งชีวิต ต้องเปลี่ยนสถานะเป็ นผู้ลี้ภัย ความหวัง ที่จะมีชีวิตอย่างสงบสุขก็พร่าเลือน เท่าที่ได้ไปสัมผัส คนเหล่ า นี้ คุ ณ คิ ด ว่ า พวกเขาจะมองหาความสงบ ภายในใจได้อย่างไรด้วยเงื่อนไขทั้งหมดนี้
สิง่ ทีเ่ ขาเผชิญอยูค ่ อ ื ความทุกข์อน ั ใหญ่หลวงและไม่มใี คร เข้าใจได้หากไม่เกิดขึ้นกับตัวเอง แต่อาจจะลองจินตนาการ ได้วา ่ ระเบิดลงบ้านข้างๆ เราและทุกคนในครอบครัวต้องหนี ออกจากบ้านภายในไม่กี่นาที แล้วต้องเดินเท้าไปอีกร้อยกว่า กิโลเมตรเพื่อไปถึงชายแดน แต่เมื่อถึงแล้วเจ้าหน้าที่อีกฝั่ง ไม่ให้เข้าเพราะไม่มว ี ซ ี า ่ กลับก็ไม่ได้เพราะไม่ปลอดภัย แล้วมี คนอีกหลายแสนคนตกอยูใ่ นสถานการณ์แบบนี้ ถ้าถามเรือ ่ ง ความสงบหรือความสุข ผมคิดว่าท้ายที่สุดมนุษย์จะท�าตัว ให้ชน ิ กับทุกสภาพได้ สภาพจิตใจของผูล ้ ี้ภัยจะค่อยๆ ปรับตัว ได้วา ่ นี่คือสภาวะปกติ ไม่ได้แปลว่าไม่ทก ุ ข์ เพียงแต่รบ ั ได้กับ ความทุกข์น้ันเพราะไม่ได้คาดหวังให้มันดีขึ้นกว่านี้ อย่างคนซีเรียที่ไปเจอแถวชายแดน ทุกคนสูญเสียคน ในครอบครัว แววตาของพวกเขามีความเศร้าอยู่ในนั้น เป็น ความเศร้าทีค ่ งอยูต ่ ลอดเวลาและไม่เคยหายไป ผมรูส ้ ก ึ ได้วา ่
พวกเขาท�าใจไว้แล้วว่าวันหนึ่งตัวเขาหรือคนที่เขารักก็ต้อง ตาย ไม่ใช่เพราะสิ้นอายุขัย คนซีเรียรูด ้ ีว่าทุกคนมีสิทธิ์ตาย จากการถูกฆ่าหรืออาวุธสงครามตลอดเวลา ไม่มีการแบ่ง เพศหรือวัย แล้วสภาพจิตของผู้ลี้ลัยจะถูกเปลี่ยนไปสู่จุดที่ ท�าให้รูส ้ ึกว่านี่คือความปกติธรรมดาในภาวะสงคราม
เมื่ อ การเผชิ ญ ความสู ญ เสี ย จากสงครามท� า ให้ เ กิ ด บาดแผลฝังลึกในใจ (trauma) การร่วมมือระหว่าง คุณและ UNHCR ประเทศไทย จะให้ความช่วยเหลือ
ผู้ ลี้ ภั ย แ ล ะ เ ยี ย ว ย า บ า ด แ ผ ล ข อ ง พวกเขาได้ในระดับไหน รวมถึงสร้าง แรงกระเพื่ อมให้คนในสังคมได้อย่างไร สิง่ ทีเ่ ราท�าได้คอ ื การระดมทุน เพือ ่ น�าไป สนับสนุนปัจจัย 4 ซึ่งช่วยได้แค่ประทังชีวิต แต่ด้านจิตใจเราจะช่วยได้ยังไง การท�างาน
ด้ า นนี้ บางที ก็ ท� า ให้ จิ ต ใจห่ อ เหี่ ย วตามไป เหมือนกัน เพราะเป็นงานที่ไม่มีวันจบ แต่ก็ หยุดท�าไม่ได้ เพราะถ้าหยุด ผูล ้ ภ ี้ ย ั จะทนทุกข์ ทรมานมากกว่านีอ ้ ก ี เราก็พยายามช่วยเหลือ ผูล ้ ภ ี้ ย ั ในสิง่ ทีเ่ ราท�าได้ แต่ยอมรับว่าน้อยมาก เมื่อเทียบกับจ�านวนผู้ลี้ภัยทัง ้ หมด แต่ ส่ิงที่น่าจะได้ มากกว่าคงเป็นภาพ และเรือ ่ งราวที่คนได้ รบ ั เพราะว่าพวกเขา เห็นปัญหา และความเป็นไปของโลกที่ไม่ใช่ แค่การรายงานข่าว ในพืน ้ ทีส ่ งครามยังมีดา ้ น อื่นๆ ให้เห็นอีกนอกจากสงคราม มีสวนสนุก มีหนุ่มสาวจีบกัน มีอาหารอร่อย คนดูจะรูส ้ ก ึ ได้ ว่ า โลกกว้ า งกว่ า ที่ เขาคิ ด แล้ ว คนที่ ไ ด้ เยอะสุดคือผม เพราะได้ทา� สิง่ ทีม ่ ค ี วามหมาย ซึ่ ง วรรณสิ ง ห์ ต้ อ งการเสมอมา ผมเชื่ อ ว่ า ศิ ล ปิ น จ� า นวนมากก็ ต้ อ งการสิ่ ง เดี ย วกั น ง า น ไ ม่ ไ ด้ จ บ แ ค่ ว่ า ส ว ย แ ต่ มั น ต้ อ ง มี ความหมายลึกซึ้งกว่านั้น คือการได้เติมเต็ม ความต้องการในใจ เมื่อสิ่งที่เราท�ามีความหมายกับตัวเรา ก็หวังว่าจะสร้างความหมาย บางอย่างกับคนอื่นด้วยเหมือนกัน
งานไม่ได้จบแค่ว่าสวย แต่มัน ้ ต้องมีความหมายลึกซึง ้ กว่านัน คื อ ก า ร ไ ด้ เ ติ ม เ ต็ ม ค ว า ม ต้องการในใจ เมื่อสิ่งที่เราท�า มีความหมายกับตัวเรา ก็หวังว่า จะสร้างความหมายบางอย่าง กับคนอื่นด้วยเหมือนกัน
คนทีอ ่ ายุมากขึน ้ เรือ ่ ยๆ คงรูส ้ ก ึ เ ห มื อ น กั น ว่ า ค ว า ม สุ ข ก็ แ ค่ ความไม่ทุกข์ ฟังดูเหมือนง่าย แ ต่ ก ว่ า จ ะ ถึ ง จุ ด นั้ น ไ ด้ มันยากเหมือนกัน เพราะเรามี ข้ อ ก� า ห น ด ทั้ ง ใ น ใ จ ตั ว เ อ ง และจากสั ง คมค่ อ นข้ า งเยอะ ว่ า ต้ อ งท� า สิ่ ง เหล่ า นี้ เ พื่ อให้ ไ ด้ ตัวตน ความสุข ความส�าเร็จ แ ต่ ใ น ร ะ ย ะ ย า ว ไ ม่ มี อ ะ ไ ร ส�าคัญเลย 12
Serenity OF tHe SOUL
ณ วันนี้ คุณค้นพบความสงบที่แท้จริงของ ตัวเองแล้วหรือยัง
มีทงั้ ค้นพบ Serenity in Chaos และ Chaos in Serenity อยูน ่ ิง ่ หรือเราก�าลัง ่ ๆ แต่ใจกลับว้าวุน จะปล่ อ ยให้ ชี วิ ต ผ่ า นไปโดยไร้ป ระโยชน์ นี่ คื อ
ค�าถามหลักในชีวิตผมเลย ไม่นิ่งเพราะเอาตัวเอง ไปเปรียบเทียบกับคนอื่นแล้วรูส ้ ก ึ ไร้ค่า ซึง่ เรารูต ้ ัว ว่าไม่ดีเท่าไหร่ ไม่ควรรู ส ้ ึกแบบนั้น แต่ว่าใจมัน
ไม่สามารถพัฒนาได้ดว ้ ยการไปบังคับใจว่าอย่าคิด อย่านึ กแบบนั้ น มันหยุ ดไม่ได้ ก็ ปล่ อยให้คิดไป แต่เบรกตัวเองว่าอย่าวิ่งตามความคิดเหล่านี้
นิยามค�าว่า Serenity ของคุณมีความหมาย ว่าอะไร
คือความสงบ เพราะรูส ้ ก ึ ว่ามิเตอร์ในใจทีว ่ ด ั ว่าเราใช้ชีวิตอย่างมีความหมายแล้ วมันเต็ มจน ทะลุ สามารถนั่ งเฉยๆ ได้ ไม่ต้องคิ ดอะไรมาก มีความสุขกับชีวต ิ สภาพรอบข้าง และความสัมพันธ์ ที่มีแต่ serenity ไม่ใช่ภาวะถาวร ไม่ได้ อยู่ไป ตลอด มันเปลีย ่ นแปลงได้ บางทีอาจเป็นการท�างาน ของจิ ตใจก็ ได้ ที่ จ ะจั ดการให้ อ ยู่ ใ นจุ ด พอดี ในทุกๆ ช่วงวัย ซึ่งโจทย์แต่ละช่วงวัยก็แตกต่าง กันไป ถ้าผมมีลูก แล้วลูกบอกว่า ‘พ่อ ผมจะไป โซมาเลีย’ ฉิบหายแล้ว กรรมตามสนอง (หัวเราะ) วันนั้นเราต้องหาจุดสงบของจิตใจอีกที เพราะเรา ควรเป็ น คนที่ เข้ า ใจลู ก มากที่ สุ ด ว่ า ท� า ไมเขาถึ ง อยากไป ขณะเดี ยวกั นคนเป็นพ่อก็ ต้องรู ส ้ ึกว่า นี่ ลูกทั้งคน ผมอาจคิ ดหนั กก็ ได้ ถ้ าลูกต้ องการ ท�าอย่างทีผ ่ มท�า แต่ก็ต้องหาสมดุลในใจทีจ ่ ะยินดี ปล่อยให้เขาเติบโตในแบบของเขา และยินดียอมรับ สิง่ ทีอ ่ าจจะเกิดขึน ้ มาได้เหมือนกัน เพราะว่านี่เป็น สิง่ ทีผ ่ มได้รบ ั จากพ่อแม่ คืออิสรภาพและการยอมรับ ในเส้นทางทีผ ่ มเลือกเดิน ในระยะยาวเราก็ตอ ้ งหา จุดสงบในใจเพือ ่ ยอมรับในเส้นทางทีเ่ ขาเลือกเดิน ให้ได้ ซึ่งคงเป็นโจทย์ที่ยากพอสมควร
แล้วความสงบที่ว่ายึดโยงอยู่กับบุคคลอื่น สถานที่อื่น หรือสิ่งไหนหรือเปล่า
ณ ต อ น นี้ ค ว า ม ส ง บ คื อ ค ว า ม รู ้ สึ ก มี ความหมาย แต่ในระยะยาวเราไม่ได้อยากให้เป็น แบบนี้ เพราะเราคิ ด ว่ า ถ้ า มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ ดี จะเกิดทีท ่ เี่ ราได้พก ั ใจได้โดยไม่ต้องเอาอะไรจาก ข้ า งนอกมาเติ ม แม้ ว่ า คนอี ก คนจะเป็ น เรื่ อ ง ข้ า งนอก แต่ อ าจจะเติ ม ได้ ง่ า ยกว่ า การแบกเป้ ขึ้นภูเขา หรือแค่เจอเพื่อน หรืออยู่กับแม่แล้วรูส ้ ึก
เหมือนกัน มีความสุข มีความหมาย สงบก็โอเค แล้วในระยะกลาง แต่ในระยะยาวเป็นการเหลืออยู่ คนเดี ย วคื อ วรรณสิ ง ห์ ตั ว เราคนเดี ย วท� า ยั ง ไง ให้อยู่แล้วนิ่งที่สุด บางทีตอนแก่ ความต้องการ มีความหมายอาจไม่ได้หายไป แต่เราเรียนรูท ้ ี่จะ ขยั บ ให้ น้ อ ยลงที่ สุ ด เช่ น นั่ ง นั บ ลมหายใจด้ ว ย ความรู ส ้ ึกมีความหมายว่าเราเป็นส่วนหนึ่ งของ
ธรรมชาติ แล้วสามารถสร้างผลงานได้ด้วยการถ่ายทอดประสบการณ์การหายใจนั้นให้กับคนอื่น บางทีอาจน่าตื่นเต้นมากกว่าการไปพิชต ิ ยอดเขา หรือ ข้ า มทะเลทรายด้ ว ยซ� า เพราะมั น อยู่ ในตั ว issue 608
16 seP 2019
ของทุกคนที่สามารถเชื่อมโยงกันได้ แต่เราก็ต้อง เล่ า จากมุ ม มองที่ เข้ า ใจอย่ า งถ่ อ งแท้ ซึ่ งตอนนี้ รูว้ ่ายังห่างไกลในเรือ ่ งจิตใจ
แต่อย่างน้อยการเดินทางก็เป็นหนทางหนึง ่ ที่ ท� า ให้ คุ ณ ค้ น พบความสงบ แม้ จ ะไม่ ใ ช่ ความสงบถาวรก็ตาม ใช่ การเดินทางท�าให้เราพบกับความสงบ
ชั่วคราวมากกว่า แต่ไม่ใช่ความสงบที่พึงมีถาวร สงบเป็นบางช่วง ส�าคัญคือท�าให้ค้นพบว่าต่อจาก ความสงบคื อ อะไร เข้ า ใจว่ า มั น จะไม่ ห ยุ ด อยู่ ที่ ความสงบ ไม่ ใ ช่ ว่ า เดิ น ทางแล้ ว สงบแล้ ว จบ เพราะนีค ่ อ ื การหาความสุขจากภายนอกอย่างสุดๆ ไปเลย เข้าใจในเชิงไม่คาใจว่าโลกนี้มีอะไรรอเรา อยู่ อี ก บ้ า ง เพราะตอนนี้ เห็ น มาค่ อ นข้ า งเยอะ ถ้าไม่ได้เดินทางก็ยงั คงสงสัยว่าบนโลกใบนีม ้ อ ี ะไร ตอนนี้ ส งบไประดั บหนึ่ ง แล้ ว แต่ เ ดี๋ ย วก็ มี โจทย์ อื่นๆ เข้ามาในชีวิต ต้องใช้เวลาปรับตัวเพื่อเรียนรู ้ ให้เข้าใจว่า อ๋อ มันเป็นเช่นนี้เอง
ส�าหรับบางคนอาจไม่มีสิทธิ์แม้กระทั่งเลือก ด้วยซ�้าว่าชีวิตนี้จะหลบหลีกความวุ่นวายใจ และท�าให้ตว ั เองอยูก ่ บ ั ความสงบ โดยเฉพาะ ผู้ ลี้ ภั ย ความสงบอาจเป็ น เพี ยงความฝัน เท่านั้น
เราเคยถามเพื่ อ นที่ อั ฟ กานิ ส ถานว่ า ในใจ ของนายอยากได้ อ ะไรที่ สุ ด เขาตอบทั น ที ว่ า peace แล้ ว ประโยคต่ อ มาคื อ แต่ น่ า เสี ย ดาย เกิ ด มายั ง ไม่ เ คยเห็ น เลย หรือ ผู้ ลี้ ภั ย ชาวซี เรีย
บางคนที่ได้ คุยด้ วย เป็นเด็ กหนุ่ มอายุ ประมาณ สิบห้าสิบหก เขาบอกว่าไม่อยากโต จะโตไปท�าไม โลกนี้ไม่เห็นมีอะไรให้หวังเลย ตอนเราอายุเท่านี้ จ�าได้วา่ อยากท�าโน่นท�านี่ ตอนทีไ่ ด้ยน ิ เราไม่ทน ั คิด ด้วยซ�าว่ารูส ้ ึกยังไง แค่อ้าปากค้าง จริงๆ รูส ้ ึกว่า ตัวเองโชคดี ตามด้วยความรูส ้ ก ึ เจียมเนื้อเจียมตัว ว่าอย่าบ่นเรือ ่ งตัวเองให้มากนัก จนน�ามาสู่จุดที่ คิ ด ว่ า แล้ ว เราท� า อะไรได้ บ้ า ง แต่ อี ก ด้ า นหนึ่ ง ก็จะรูส ้ ึกว่าท�าได้แค่นี้เองว่ะ
ในปั จ จุ บั น โดยเฉพาะสั ง คมเมื อ ง ไม่ ใ ช่ เรื่ อ งง่ า ยที่ จ ะค้ น หาและอยู่ กั บ ความสงบ ภายในตนได้ เพราะทุ ก คนถู ก รบกวนจาก สิ่งรอบตัวตลอดเวลาไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง
ใช่ แค่นั่งอยู่คนเดียวแล้วมีโทรศัพท์อยู่ด้วย ก็ไม่สงบแล้ว ผมก็เป็น เราว่าโจทย์ของความสงบ ในยุคสมัยนี้ยิ่งยากขึ้นไปอีก เพราะรอบตัวมีสิ่งที่ แก้เบื่อได้ตลอดเวลา ก็ไม่รูเ้ หมือนกันว่าจะต้อง แก้ไขกันยังไงเพราะทุกคนเสพติดมากพอสมควร โดยเฉพาะคนท�างานอย่างพวกเราในฐานะคนท�า สื่ อ ก็ ต้ อ งเอาตั ว เองไปยึ ด โยงกั บ โซเชี ย ลมี เ ดี ย เยอะมากจนจะตัดทิ้งไปเลยก็ไม่ได้ ท�าให้ทา � งาน ไม่ได้ แต่จะอยู่กับมันทั้งวันก็เยอะเกินไป เราว่า ทุกอย่างทีเ่ กิดขึน ้ มาจะท�าให้เกิดบางสิง่ บางอย่าง ต่ อไป อาจจะมีการเคลื่ อนไหวของกลุ่มแนวคิ ด ออฟไลน์ ก�าหนดธรรมเนียมปฏิบต ั ว ิ า ่ ทุกวันจะปิด โทรศัพท์สองทุม ่ ถึงแปดโมงเช้า ผมคิดว่าจะมีผน ู้ า �
ทางจิ ตวิญญาณคนใหม่ที่สามารถตอบโจทย์นี้
ให้ กั บ ผู้ ค นได้ แล้ ว อาการต่ อ ต้ า นสิ่ ง ที่ ร บกวน
จิตใจมนุษย์ก็จะเกิดขึ้นเอง แต่แน่นอน จะมีคนที่ ไม่ต่อต้านด้วย
คนที่ ส ามารถถื อ ครองความสงบเป็ น ของ ตั ว เองไว้ ไ ด้ คุ ณ คิ ด ว่ า เขาต้ อ งเป็ นคน ลักษณะไหน
ขึ้ น อยู่ กั บ สภาพแวดล้ อ มที่ อ ยู่ ม ากกว่ า ถ้าเราเป็นพระบวชอยู่ในป่าอาจจะหาความสงบ ง่ า ยกว่ า การเป็ น พนั ก งานออฟฟิ ศ แล้ ว ต้ อ งไถ ดูฟด ี ตลอดเวลา แต่ในเชิงตัวบุคคลมันก็ฝก ึ ฝนได้ ผมคิ ด ว่ า อย่ า งแรกเลยคื อ ต้ อ งมี จิ ต ใจตั้ ง มั่ น ในการฝึกฝน และสอง คือความสามารถในการ let go ถ้าคุณจะลบแอ็กเคานต์ตัวเองออกจาก โลกออนไลน์ก็ต้อง let go ได้ประมาณหนึ่ง หรือ แค่ ล บแอพฯ ออกจากโทรศั พ ท์ ก็ ต้ อ ง let go แค่ นี้ ก็ พิ สู จ น์ ไ ด้ แ ล้ ว ว่ า ใครที่ ตั ด สิ น ใจได้ แ ล้ ว ท�าเลยก็อาจจะไปได้ไกลกว่าคนทีพ ่ ด ู ว่าจะดีเหรอ แล้ วจะติ ดต่ อเพื่อนยังไง แต่ ผมเชื่อว่าท้ายที่สุด คนเราจะมีความต้องการท�าแบบนี้มากขึ้นเรือ ่ ยๆ เมื่ อ ถึ ง จุ ด ที่ ทุ ก อย่ า งมั น เยอะเต็ ม ไปหมดเกิ น ที่ ความรู ้สึ ก ที่ จ ะรับ ไหว คนไทยเองก็ ใช้ เฟซบุ๊ ก ติดอันดับต้นๆ ของโลก น่าสนใจว่าต่อไปจิตวิญญาณ ของมนุษย์จะถูกชักจูงไปในทิศทางไหน
แสดงว่ า ความสงบคื อ จุ ด มุ่ ง หมายสู ง สุ ด ของการมีชีวิต
เห็นด้วย สุดท้ายสิง่ ทีม ่ นุษย์ตอ ้ งการในใจคือ ความสงบ แต่ความสงบนัน ้ ก ึ ้ มักจะมาจากความรูส อิม ี ต ิ ตัวตน ความสัมพันธ์ ่ แล้วจากประสบการณ์ชว ความรัก หรือลาภยศสรรเสริญ แต่กว่าจะไปถึง จุดที่อ่ิมได้ต้องมีช่วงหิวและกินก่อน บางคนเติม จนอิ่ ม แล้ ว ค่ อ ยสงบ แต่ บ างคนเติ ม เท่ า ไหร่ก็ ไม่เคยอิ่ ม ก็ จะเห็นว่าคนจ�านวนมากแก่ ตายไป
โดยไม่มีความสงบในบั้นปลายชีวิต บางคนไม่มี อะไรให้ เ ติ ม เพราะไม่ มี โ อกาส ก็ อ าจจะหิ ว ไป ทัง ิ หรืออาจจะค้นพบการลดกระเพาะตัวเอง ้ ชีวต กิ น แค่ วั น ละช้ อ นก็ อิ่ ม แล้ ว สิ่ ง เหล่ า นี้ ร ออยู่ ใน ช่วงชีวต ิ ของเราทุกคนว่าท้ายทีส ่ ด ุ แล้วในบัน ้ ปลาย ชีวิตเราไปได้ถึงจุดไหน แต่ถ้าสังเกตสิ่งที่เราท�า ในชี วิ ต เป้ า หมายสู ง สุ ด แค่ ค วามสบายใจและ
ความสงบในใจ หรือสิ่งลวงตาที่เรียกว่าความสุข ผมคิ ดว่าหลายคนที่อายุ มากขึ้นเรือ ่ ยๆ คงรู ส ้ ึก เหมือนกันว่าความสุขก็แค่ความไม่ทก ุ ข์ ความสุข ที่ เ ป็ น แง่ บ วกแบบหั ว ใจพองโตมั น ก็ มี แ หละ แต่แป๊บเดียวก็หายไปแล้ว แต่ความรูส ้ ึกยิ้มเล็กๆ กับตัวเอง หรือหัวเราะได้กบ ั ทุกอย่าง เป็นความรูส ้ ก ึ ที่มีค่ามากๆ ฟังดูเหมือนง่ายแต่กว่าจะถึงจุดนั้น ได้มน ั ยากเหมือนกัน เพราะเรามีขอ ้ ก�าหนดทัง้ ในใจ ตั ว เอง และจากสั ง คมค่ อ นข้ า งเยอะว่ า ต้ อ งท� า สิ่งเหล่านี้เพื่อให้ได้ตัวตน ความสุข ความส�าเร็จ แต่ในระยะยาวไม่มีอะไรส�าคัญเลย
13
A MUST F E S T I VA L THAILAND BEER FESTIVAL เตรียมปักหมุดรอไว้เลย กับงาน เฟสติวล ั เครือ ่ งดืม ่ ทีเ่ ป็นการรวมตัวกัน ของเหล่าแบรนด์คราฟต์เบียร์จากทัว ่ โลก กับงาน Thailand Beer Festival 2019 ซึง่ จัดเต็มจัดหนัก ตลอด 3 วัน 3 คืน แถมยังมีซุ้มของกินอีกเพียบ และยังได้สนุกไปกับคอนเสิรต ์ จาก นักร้องสุดเจ๋งอย่าง โจอี้ บอย ประเดิม งานวันแรก วันทีส ่ องกับ เอิต ้ ภัทรวี จบวั น สุ ด ท้ า ยกั บ ต� า นานวงอิ น ดี้ น้ อ ย วงพรู งานจั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 1-3 พฤศจิ ก ายน 2562 เวลา 17.0023.30 น. Show DC Oasis Outdoor Arena Rama 9 ติดตามรายละเอียด ไ ด้ ที่ w w w .f a c e b o o k . c o m / ThailandBeerFestival (สงวนสิทธิ์ เข้างานเฉพาะผูท ้ ม ี่ อ ี ายุ 20 ปีขน ึ้ ไป)
TV SHOW
SUGAR RUSH รายการชิงแชมป์ท�าขนมหวานที่พาเราไปพบกับผู้เข้าแข่งขันที่มีเสน่ห์โดยมีทั้งคู่รักคุณลุงคุณป้า เพื่ อนที่รู้จักกันจาก ่ งของความหลากหลายทางเพศ ซึง ่ เราจะได้พบกับผูแ การเปิดร้านขนม และยังสนับสนุนในเรือ ้ ข่งขันทีเ่ ป็น LGBT ไปจนถึง สตรีข้ามเพศในรายการนี้
ตั ว รายการจะเริม ่ ต้ น ที่ผู้เข้า แข่ง ขัน จ� า นวน 4 คู่ มีเวลาให้ท�าขนมตามโจทย์ในรอบแรกและรอบที่สอง รวมกันเป็นเวลา 3 ชัว ่ โมง ถ้าท�าขนมเสร็จก่อนหมดเวลา เวลาทีเ่ หลือจะถูกน�าไปทบในรอบชิงอีกทีทม ี่ เี วลาตั้งต้น ให้ 3 ชั่วโมง ซึ่งไม่พอส�าหรับการท�าเค้กในรอบสุดท้าย แน่ ๆ ผู้ เข้ า แข่ ง ขั น จึ ง ต้ อ งแข่ ง ทั้ ง เวลา คนที่ ร ่ว มแข่ ง และโจทย์ ที่ ท้ า ทายจากสามกรรมการในแต่ ล ะตอน เช่น ท�าคัพเค้กซอมบี้ให้กรรมการเหวอ (แต่ต้องอร่อย) ขนมเค้กส�าหรับงานเลี้ยงวันหยุด หรือขนมที่มีกลิ่นอาย ของการไปแคมป์ โดยรอบแรกจะคัดออกหนึง่ ทีมจนเหลือ แค่สองทีมในรอบสุดท้าย ความสนุ กของรายการนี้ คือการได้ ดูขนมหวาน ไอเดียใหม่ๆ และการพลิกแพลงสถานการณ์ เมื่อการท�าขนมไม่เป็นไปดังใจ โดยคอมเมนต์และค�าตัดสินของ
กรรมการนั้นก็ไม่ได้โหดร้ายทารุณจนผู้เข้าแข่งขันต้อง ดราม่ า น� า ตาไหลพรากๆ แต่ เป็ น การให้ ค� า ติ ช มอย่ า ง อ่อนโยนเหมือนดังขนมทีม ่ ค ี วามหอมอร่อย แต่กม ็ ค ี วามขม เล็กๆ เค็มนิดๆ เป็นตัวช่วยกระชับให้ขนมชิน ้ นั้นมีรสชาติ ที่สมบูรณ์แบบ รายการตอนนี้ มีสองซีซัน รับชมได้ ทาง Netflix แต่ แนะน� า ว่ า ไม่ ค วรเปิ ด ดู ต อนดึ ก ๆ โดยเฉพาะเวลา ที่ ท้องก�าลังว่าง... นี่เตือนแล้วนะ
MOVIE BRAVE FATHER ONLINE: OUR STORY OF FINAL FANTASY XIV ภาพยนตร์พล็อตสุดล�าแต่สร้าง มาจากเรือ ่ งจริงในบล็อกของผูเ้ ล่นเกม รายหนึ่ งที่ เ ล่ าถึ งความสั ม พั น ธ์ ระหว่างเขากับพ่อที่เริม ่ ถอยหลังลง ฝั่งพ่อกลายเป็นคนติดเกมและเก็บตัว อยู่ ใ นห้ อ งตลอดเวลา ทางเดี ย ว ที่ลูกชายจะเข้าถึงตัวพ่อได้คงมีแค่ การเข้ า ไปพู ด คุ ย ผ่ า นเกม Final Fantasy XIV แบบไม่เปิดเผยตัวตน จึงเกิดเป็นภารกิจสุดล�าทีพ ่ ร้อมจะพา พวกเราไปนั่ งน� าตาคลอกับความสัมพันธ์ของทั้งสอง หนังเรือ ่ งนี้เป็น การน� า ซี ร ีส์ Final Fantasy XIV Dad of Light ทีเ่ คยฉายใน Netflix มาท�าใหม่ให้มีความน่ าติ ดตามขึ้น โดยผู้ก�ากับคนเดิม ดูพร้อมกันวันที่ 26 กันยายนนี้ ในโรงภาพยนตร์
14
BOOK
สามฤดูเป็นหนึ่งใจ "ไม่วา่ ฝนกระหน�า ร้อนแล้ง หรือหนาวเหน็บ แม่ครัวคนนี้ย่อมไม่ห่างครัว และนักเขียนก็ยัง พร่างพรู เรือ ่ งราว" อุ รุดา โควินท์ ผู้หญิงเปี่ ยม ชี วิ ต ชี ว า ที่ นิ ย ามตั ว เองว่ า เป็ น ทั้ ง นั ก เขี ย น และแม่ครัว ได้ถา่ ยทอดเรือ ่ งราวของผูค ้ น ความรัก ความสั ม พั น ธ์ และชี วิ ต อั น สามั ญ ที่ เรีย งร้อ ย เข้าด้ วยกั นผ่านอาหารจานหนึ่ งสู่อีกจานหนึ่ ง จากคนหนึง่ สูอ ่ ก ี คนหนึง่ และจากฤดูหนึง่ สูฤ ่ ดูหนึง่ ผ่ า น 4 เรื่อ งสั้ น 33 เรื่อ งเล่ า จาก 3 ฤดู ก าล เพราะอาหารไม่เคยอยู่อย่างโดดเดี่ ยว แต่ มา พร้อ มกั บ ความทรงจ� า และเรือ ่ งราวที่ ซุ ก ซ่ อ น เอาไว้ ทั้งอ�านาจ ความรัก ความหวัง ความฝัน ความอยาก ความสุ ข ความทุ ก ข์ และความเปลีย ่ นแปลง ซึง่ ทัง้ หมดนี้ได้เชือ ่ มโยงผูค ้ นเข้าไว้ ด้วยกันอย่างแยบยล (ส�านักพิมพ์มติชน / ราคา 400 บาท)
GADGET
SONY XPERIA 1 สมาร์ตโฟนจาก โซนี่ เป็นอีกหนึ่งแบรนด์ ที่ มี แฟนอยู่ เหนี ย วแน่ น และ Sony XPERIA 1 ก็น�าเข้ามาวางจ�าหน่ายอย่างเป็นทางการให้ได้ จับจองเป็นเจ้าของกันแล้ว โดยกล้องรุน ่ นี้จะมี เลนส์สามระยะ โดยกล้องหลักมีรูรบ ั แสง F/1.6 พร้อมกันสัน ั แสง F/2.4 และกล้อง ่ กล้องเทเลรูรบ มุมกว้าง 16 มม. รูรบ ั แสง F/2.4 ซึง่ ทัง้ หมดสามารถ ถ่ า ยภาพได้ ที่ ค วามละเอี ย ด 12 ล้ า นพิ ก เซล หน้ าจอแสดงผลระดั บ 4K HDR OLED ขนาด 6.5 นิ้ว อัตราส่วน 21:9 และมีกระจกกันกระแทก จาก Gorilla Glass 6 เคลือบอยู่อีกชั้น พร้อม หน่วยความจ�า 6 GB และพีน ้ ทีเ่ ก็บข้อมูล 128 GB ใส่การ์ด microSD เพิ่มได้ ราคา 31,990 บาท
ISSUE 608 5
2 1 6 SA EUPG 22001199
PRODUCT
COLLECTION
SPECIAL BANANA BOXSET
POMELO FALL COLLECTION '19
ม า ร่ ว ม เป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง ก า ร พึ่ ง พ า ธ ร ร ม ช า ติ ด้ ว ย สิ น ค้ า ง า น แฮ น ด์ เ ม ด จ า ก ธรรมชาติ อ ย่ า งเซตปั ก ผ้ า เส้ น ใยกล้ ว ยย้ อ มสี ธรรมชาติ จ ากนวลสตู ดิ โ อ ประกอบไปด้ ว ย เส้นใยกล้วยขนาด 0.5 มิลลิเมตร ที่มีคุณสมบัติ เหนียวนุม ่ ทนต่อแรงดึง เหมาะกับงานปัก จ�านวน 20 สี บรรจุลงในกล่องไม้, สะดึงไม้หว ั ทองเหลือง ตุรกี ขนาด 6 นิ้ว 1 อัน, เข็มปักญี่ปุ่น 2 เล่ม และ ผ้าลินินผสมคอตตอน ขนาด 70 x 70 เซนติเมตร 1 ผืน ราคาเซตละ 1,350 บาท สนใจสัง ้ ได้ทาง ่ ซือ www.facebook.com/Nuan.studio
แรงบันดาลใจจาก Alice In Wonderland สู่ การออกแบบทีพ ่ ร้อมฉีกกรอบความจ�าเจในโลก แห่งความจริง แล้วออกเดินทางสู่ดินแดนแห่ง จิ น ตนาการ โดยมี แฟชั่ น ไอเทมดี ไซน์ ทั น สมั ย แต่ยง ั คงความเฟมินีนไว้เนรมิตลุกส์ ซึง ่ แบ่งเป็น 3 ซี น คื อ WorldsAway แจกความสดใสด้วย ลายพรินต์ดอกไม้ Tomorrow's Feast เน้นดีเทล เนื้อผ้าทวีตหรือก�ามะหยี่ดูหรูหรา และ Rise & Fall เอาใจสายมัน ั ว์และงานปักเลือ ่ ม ่ ลายพรินต์สต วางจ�าหน่ายแล้วที่ www.pomelofashion.com, แอพพลิเคชัน Pomelo Fashion และร้าน Pomelo ทุกสาขา
EXHIBITION
MUSIC
POINT OF JAD
้ าก : ตัก แมงขีน ๊ แตน ชลดา
นิทรรศการภาพถ่ายโดย JAD JADSADA หรือ เจษฎา อินเอก ช่างภาพสายสตรีทไทย หนึง่ ใน สมาชิกของกลุม ่ Street Photo Thailand ทีข่ บ ั เคลือ ่ น วงการถ่ายภาพสตรีทในเมืองไทยมาตลอดหลายปี ทีผ ่ า่ นมา ภาพถ่ายของเขาจะเชือ ่ มโยง ‘สิง่ สองสิง่ ของสองอย่าง’ มาหลอมรวม จับคูค ่ วามแตกต่าง ให้ดพ ู ล ิ ึกพิลั่น ลงตัว และสมบูรณ์ ความน่าสนใจ คือภาพของเขามักเลือกมุมมองทีด ่ ข ู บขันคล้ายกับ นิ สัยของคนไทย แต่ ก็แฝงไปด้ วยภาพสะท้อน ของวิถช ี วี ต ิ ของคนกรุง สภาพบ้านเมืองในช่วงเวลา ต่างๆ บางภาพก็แสดงให้เห็นความขีเ้ ล่นของเขา แต่กม ็ ค ี วามตลกร้ายแฝงอยู่ สามารถไปเยีย ่ มชม นิทรรศการได้ที่ Glimpse Space ตั้งแต่วน ั นี้ถึง 6 ตุลาคม 2562
เป็ น ปรากฏการณ์ ที่ ถู ก พู ด ถึ ง อย่ า งมาก ในฟากฝั่งเพลงลูกทุ่ง กับเพลง แมงขี้นาก ของ ตั๊กแตน ชลดา ที่นอกจากจะมาพร้อมกับจังหวะ ดนตรีทซ ี่ งิ่ สะแด่วเชือ ้ เชิญให้เราอินไปกับเนือ ้ เพลง ทีเ่ ปรียบแมงขีน ้ ากทีช ่ อบไต่ตอมคนทีม ่ ก ั จะมายุง่ แฟนชาวบ้านได้อย่างสะใจแล้ว ตัวมิวสิกวิดีโอ ยังเพิม ่ ความน่าสนใจด้วยการถ่ายท�าเป็นอนิเมะ ไซ-ไฟแบบญี่ปุ่น โดยเล่าถึงซูเปอร์ฮีโร่สาวที่มา ช่วยแฟนจากหุน ่ ยนต์สาวสุดเซ็กซีไ่ ด้อย่างสุดมัน หากใครสนใจสามารถเข้าไปรับชมมิวสิกวิดีโอ ดังกล่าวในยูทูบแชแนล Golab Music ได้เลย
CONCERT
MY BEER PRESENTS MONO ASIA TOUR 2019 IN BANGKOK ส�าหรับสายโพสต์รอ ็ ก ชือ ่ ของ Mono คงเป็นชือ ่ แรกทีพ ่ ด ู ถึงหลังจากได้แสดง พลังผ่านซาวนด์กต ี าร์อน ั หนักหน่วงมาแล้วในปี 2017 ครัง้ นีเ้ ขากลับมาพร้อมกับ Nowhere Now Here อัลบัม ี่ ร้อมจะมาเขย่าโสตประสาทแฟนๆ ชาวไทย ้ ใหม่ทพ อีกครัง้ ในวันที่ 24 กันยายน 2562 ที่ Live Arena (RCA) บัตรราคา Advance 1,100 บาท และ At door 1,400 บาท ซือ ้ บัตรได้ทาง http://ticketmelon.com/ sss/mono2019
13 15
CALENDAR M
T
W
TH
F
SA
S
16
17
18
19
20
21
22
Les BaLLets trockadero de Monte carLo
doctrine in e-sarn FoLk taLe
BreakBot
disneY’s tHe Lion kinG MUsicaL
โขนศาลาเฉลิมกรุง
tHe art oF sUrViVaL
La Verita
พบกับ ‘Les Ballets Tro c ka d e ro d e Monte Carlo’ คณะ บัลเลต์ชายล้วนจาก นิวยอร์ก ทีจ ่ ะพอยต์ เท้าเป็นเจ้าหญิงหงส์ ไปจนถึงบทบาทของ สตรียุ ค วิ ก ตอเรีย น วันนี้ และ 17 กันยายน 2562 เวลา 19.30 น. ณ หอประชุ ม ใหญ่ ศู น ย์ วั ฒ น ธ ร ร ม ฯ จ�าหน่ายบั ต รที่ ไทย ทิกเก็ตเมเจอร์
นิทรรศการ ‘คติธรรม ใน นิ ท า น พื้ น บ้ า น อีสาน’ โดย สาคร วงษ์ราชสีห์ นิทานพืน ้ บ้าน อีสานมีบทบาทส�าคัญ ในการสร้างคุณธรรม และจริยธรรมให้เกิด ขึน ้ ภายในจิตใจ วันนี้ ถึ ง 2 9 กั น ย า ย น 2562 ณ People’s Gall e r y ห อ ศิ ล ป์ กรุ ง เทพฯ (เว้ น วั น จันทร์)
พบกับ ‘Breakbot’ โปรดิวเซอร์ชาวฝรัง่ เศสทีโ่ ด่งดังในสไตล์ ดนตรีฟังก์ French house, nu-disco ในจั ง หวะสุ ด สนุ ก โทนดนตรีสว่างสดใส ทีค ่ ราวนีม ้ าในรูปแบบ DJ Set และได้ Irfane มา ร่ ว มแจม วั น นี้ เวลา 21.00 น. ณ BEAM ซ.สุขม ุ วิท 55
การแสดงละครเวที โปรดักชันระดับยักษ์ ‘Disney’s the Lion King’ ไม่วา่ จะเป็นเวที เครือ ่ งแต่งกาย และ การออกแบบท่าเต้น วันนี้ถึง 27 ตุลาคม 2562 ณ เมืองไทย รั ช ดาลั ย เธี ย เตอร์ รายละเอียดเพิม ่ เติม และจ�าหน่ายบัตรที่ ไทยทิ ก เก็ ต เมเจอร์ ( ง ด ก า ร แ ส ด ง วั น จันทร์)
การแสดง ‘โขนศาลา เฉลิมกรุง ชุดหนุมาน’ อันวิจิตรตระการตา กระบวนท่าร�าสวยงาม ดนตรีไทยบรรเลงสด วันนีถ ้ งึ 30 กันยายน 2562 ณ ศาลาเฉลิมกรุ ง รายละเอี ยด เพิม ่ เติมและจ�าหน่าย บั ต รที่ ไ ทยทิ ก เก็ ต เมเจอร์ (งดการแสดง วันเสาร์และอาทิตย์)
นิทรรศการ ‘The Art of Survival’ โดย ณัฐวิ ฒ ุ ิ ชูมะโนวัฒน์ สะท้อน เรื่ อ งราวอี ก ด้ า นที่ เป็นจริง โดยใช้ขอ้ มูล ทางประวั ติ ศ าสตร์ นิยายปกรณัม ผนวก กับอารมณ์ความรูส ้ ก ึ ผ่านความหมายของ เทคนิคทางจิตรกรรม วั น นี้ ถึ ง 5 ตุ ล าคม 2562 ณ นัมเบอร์วน ั แกลเลอรี ถ.สีลม (เว้น วันอาทิตย์)
การแสดงกายกรรม ร่วมสมัย ‘La Verita’ จาก 11 ศิ ล ปิ น นั ก กายกรรม ถ่ ายทอด ความหมายสูโ่ ลกของ ความเซอร์เรียล สร้างสรรค์ ค วามงดงาม จากทุกองค์ประกอบ วันนี้ รอบสุดท้าย เวลา 14.30 น. ณ หอประชุม ใหญ่ ศูนย์วฒ ั นธรรม แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย จ� า หน่ า ยบั ต รที่ ไทย ทิกเก็ตเมเจอร์
WHERE TO FIND
Where the conversations begin. adaybulletin.com
หมอชิต
5
5
7 ร้าน DEAN & DELICA 7 สาขาทั่วกรุงเทพฯ
ร้านอินทนิล 5 สาขา สาขาทั่วกรุงเทพฯ
Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ
BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น.
หมอชิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ สยาม อโศก ศาลาแดง
Meet Up Every Monday!
2 0 0
ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ากว่า 100 จุดทั ่วประเทศ 20 ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน
‘หัวใจที่ยิ่งใหญ่’ ขับเคลื่อน ‘ฝันอันยิ่งใหญ่’
#UOB #UOBXadayBULLETIN #GuideToYourDreamLife
ภาพ : พงศ์ธร ยิ้มแย้ม
FROM A DREAMER TO A DOER
เรือ ่ ง : โอมศิริ วีระกุล
เมื่ อ ช� ำ เลื อ งมองไปโต๊ ะ อื่ น ๆ ก็ มี แ ก้ ว กำแฟ หลำยใบทีด ่ ม ื่ แล้ว ทิง้ ไว้บนโต๊ะทีว ่ ำ ่ งเปล่ำ ไม่นำนนัก ก็มีคนไร้บ้ำน (Homeless) คนหนึ่งเดินเข้ำมำหยิบ กำแฟทีเ่ หลือ ยกขึน ้ ดืม ่ อย่ำงเร่งรีบ แล้วก้ำว ออกไปจำกบริเวณนั้นอย่ำงรวดเร็ว ภำพในอดีตที่เล่ำมำนี้ยังติดอยู่ใน ควำมทรงจ�ำของผมเสมอ และมันมักจะ ลอยออกมำในบำงครัง้ ทีไ่ ด้กลิน ่ และ รสสัมผัสรสของกำแฟ จนกระทั่ง ผมไปพบวัฒนธรรมหนึ่ งที่น่ำรัก มำกๆ นัน ่ คือ Suspended Coffee หรือกำรจ่ำยจองกำแฟไว้ล่วงหน้ำ เรือ ่ งรำว Suspended Coffee เริม ่ แพร่หลำย จำกกำรถูกส่งต่อในโซเชียลมีเดีย จนเริม ่ กลำยเป็น ทีพ ่ ด ู ถึงในวงกว้ำง โดยวัฒนธรรมกำรจ่ำยจองกำแฟ ไว้ล่วงหน้ำนี้มีขั้นตอนเริม ่ จำกผู้ซื้อคนหนึ่งสำมำรถ สัง่ กำแฟจ�ำนวนเท่ำไหร่ก็ได้ เพือ ่ ให้คนต่อไปทีม ่ ำซือ ้ หรือคนที่ด้อยโอกำส ได้มีโอกำสดื่มกำแฟอันแสน รืน ่ รมย์จำกควำมหวังดีแบบนีไ้ ปเรือ ่ ยๆ โดยไม่จำ � เป็น ต้องระบุว่ำใครเป็นผู้จ่ำยไว้ล่วงหน้ำ เมื่อสืบค้นวัฒนธรรมอันแสนน่ำรักนี้ เบื้องต้น พบว่ำปรำกฏกำรณ์นเี้ กิดขึน ้ ทีป ่ ระเทศอิตำลี ประเทศ ที่ เป็ น ต้ น ก� ำ เนิ ด วั ฒ นธรรมกำแฟอั น แสนเข้ ม ข้ น ซึง่ มีมำนำนกว่ำ 100 ปีแล้วจำกเมืองเนเปิลส์ หำกใคร เป็นคอบอลอิตำลีแล้วเชียร์ทีมอย่ำงนำโปลีก็น่ำจะ
รูจ ้ ักเมืองนี้ดีเป็นแน่ วั ฒ นธรรมแบบนี้ ที่ อิ ต ำลี เ รี ย กว่ ำ ‘คำเฟ่ ซอสเปโซ’ (Caffè Sospeso) ซึ่ ง มี ก ำรอ้ ำ งอิ ง ว่ ำ กำรส่งต่อลักษณะนีเ้ ป็นกำรแสดงควำมมีนำ � จิตน�ำใจ ต่อผู้คนที่อยู่ในเมืองเดียวกัน และยังเป็นกำรแสดง ให้เห็นถึงควำมสำมัคคี และควำมเหนี ยวแน่ นของ ควำมสัมพันธ์ทม ี่ ใี ห้ตอ ่ กันอีกด้วย ซึง่ ควำมน่ำรักของ วัฒนธรรมนี้ยังถูกคนในประเทศอื่นๆ ในแถบยุโรป น�ำไปใช้ด้วยเช่นกัน เมือ ่ กำรให้กำแฟถูกส่งต่อและขยำยเป็นวงกว้ำง ท�ำให้เกิดวำระอย่ำงจริงจัง จนประเทศอิตำลีมก ี ำรก� ำ หนดให้ วั น ที่ 10 ธั น วำคมของทุ ก ปี ซึ่ ง ตรงกั บ วันสิทธิมนุ ษยชน เป็นวัน Caffè Sospeso Day หรือวันจ่ำยจองกำแฟไว้ล่วงหน้ำ นั่นเอง เสน่ ห์ ข องเรื่ อ งนี้ ส อนอะไรผม หลำยอย่ำง ไม่วำ ่ จะเป็นเรือ ่ งเงิน ชีวต ิ และควำมสมดุลต่อสิง่ แวดล้อมรอบข้ำง อย่ำงคนไร้บำ้ น ก็สำมำรถได้รบ ั โอกำส เล็กๆ น้อยๆ อันดีทม ี่ รี สชำติ ให้พวกเขำ ได้ ดื่ม ด� ำจำกกำรใช้ ควำมเห็ น อกเห็ น ใจ ผ่ำนอ� ำนำจกำรใช้เงินที่เรำครอบครองอยู่ เพื่อให้ สังคมมีบรรยำกำศของควำมน่ำรัก น่ำอยู่ น่ำอบอุ่น ชนิ ดไม่แพ้แสงแดดในยำมสำยของวันนั้ นในอดี ต เลย
MONEY LIFE BALANCE
จ�ำได้วำ่ ตอนเดินอยูใ่ นซิดนีย์ ผมก�ำลังเดิน ผ่ำนร้ำนกำแฟร้ำนหนึ่งซึ่งมีจ�ำนวนโต๊ะมำกมำย แสงแดดในยำมสำยก�ำลังเคลือบควำมหนำวจำก ฤดูกำลก�ำลังดี ผู้คนสวมเสื้อผ้ำหลำกสี เดินออกมำ ้ เครง แก้วมัคหลำยใบบรรจุกำแฟ ใช้ชว ี ต ิ กันอย่ำงครืน ่ จำกชำวออสเตรเลียพร้อมกับ สีดำ� เข้มก�ำลังถูกยกดืม บทสนทนำกันอย่ำงออกรส
SUSPENDED COFFEE ่ นดืม ่ อุน กาแฟปริศนา ทีค ่ กาย คนจ่ายอิม ่ ใจ
ครัง ้ หนึ่งผมเคยเขียน บทความที่มีกาแฟเข้ามา เกี่ยวข้องอย่าง กลยุทธ์ Latte Factor ไปแล้ว ่ ว่าด้วยกลวิธก ซึง ี ารตรวจสอบ พฤติกรรมของตัวเองเพื่อให้ เกิดการออมเงินขึ้นมา และ ้ มขออนุญาตน�าเรือ ่ งราว ครัง ้ นีผ กาแฟเข้ามาเขียนอีกครั้ง สืบเนื่องจากความทรงจ�า เก่าๆ ดันชวนระลึกถึงตอนทีเ่ คย ท�างานเป็นพนักงานร้าน อาหารไทยอยู่ที่ออสเตรเลีย ในช่วงเวลาหนึ่งของชีวิต
CONTRIBUTOR
โอมศิริ วีระกุล บรรณาธิการ เว็บไซต์การเงิน aomMONEY
อ้างอิง : www.gourmetandcuisine.com/stories/detail/51
ค�ำแนะน�ำ #GuideToYourDreamLife จำก ‘หมอล็อต - ภัทรพล มณีอ่อน’ “มีค�ำถำมกับตัวเองตลอดเวลำว่ำ ท�ำไมไม่เลือกงำนทีส ่ บำยกว่ำนี้ ทีม ่ น ั ตรงกับ ควำมฝันตอนเด็ก หรือท�ำไมเรำเลือกท�ำ แบบนี้ แล้วมันก็จะมีคำ� ตอบออกมำเสมอว่ำ ถ้ำเรำไม่ทำ� แล้วใครจะท�ำ สุดท้ำยแล้วค�ำตอบ ก็ ท� ำ ให้ เ รำท� ำ งำนนี้ ต่ อ ไปแม้ จ ะไม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ เคยฝันไว้ก็ตำม แล้วอีกอย่ำงคือเรำรู้ว่ำ งำนที่เรำท�ำอยู่นี้ มันคืองำนที่ท�ำให้สังคม ดี ขึ้ น ซึ่ ง ก็ เ ป็ น ควำมต้ อ งกำรที่ มี น�้ ำ หนั ก มำกกว่ ำ ควำมเพ้ อ ฝั น ในวั ย เด็ ก บำงที กำรที่อยำกจะเห็ นสั ง คมดี ขึ้ น อำจจะเป็ น ควำมฝันที่แท้จริงของเรำก็ได้” เมื่อก่อนเรื่องของสัตว์ป่าเป็นสิ่งที่อยู่ห่างไกลจาก การรับรู้ของคนเมือง ทุกครั้งที่ได้รับรู้ข่าวสารจากป่าใหญ่ ส่วนมากเหล่าสิงสาราสัตว์ก็จะรับบทเป็นผู้ร้ายทั้งบุกรุก ไร่นาที่ท�ากิน ทั้งท�าร้ายชาวบ้าน จนกระทั่งวันหนึ่งการรับรู้ เรื่องราวเหล่านี้ของผู้คนก็เปลี่ยนแปลงไป เมื่อสื่อได้พาเรา ไปรู้จักกับผู้ชายคนหนึ่ง เขาท�างานในต�าแหน่งที่มีเพียง อัตราเดียวในประเทศไทย แต่ทที่ า� งานของเขากลับกว้างใหญ่ ไพศาล ‘หมอล็อต - ภัทรพล มณีอ่อน’ คือคนที่เราก�าลัง พูดถึง เขาคือ ‘สัตวแพทย์สัตว์ป่า’ คนแรกของประเทศไทย แม้จะดูเป็นสิง่ พิเศษทีใ่ ครฟังแล้วก็ตอ้ งทึง่ แต่หมอล็อตก็พดู ได้อย่างเต็มปากเลยว่า นี่ไม่ใช่อาชีพในฝันและห่างไกลกับ วิถีชีวิตที่ชื่นชอบแบบคนละโลก แต่ที่ยังคงอยู่ตรงนี้เพราะ เขามีฝนั ทีย่ งิ่ ใหญ่กว่านัน้ นัน่ คือเขาอยากจะสร้างสรรค์สงั คม ที่ดีขึ้น #GuideToYourDreamLife จากหมอล็อตในครั้งนี้ จึงไม่เพียงเป็นค�าแนะน�าส�าหรับคนทีอ่ ยากเดินตามเส้นทาง แห่งความฝันเท่านั้น แต่ยังเหมาะกับคนที่อาจจะต้องท�า ในสิง่ ทีต่ รงข้ามกับใจเพือ่ เป้าหมายอันยิง่ ใหญ่กว่า ติดตาม เรื่องราวแห่งแรงบันดาลใจกันได้ที่ UOB Facebook
สแกน QR CODE เพือ ่ อ่ำนบทสัมภำษณ์ ฉบับเต็ม
BULLETIN B ‘ชีวิตดีเริ่มที่เรา’ สสส. ชวน คนไทยเอาชนะใจตัวเอง เอาชนะ ภัยเงียบโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ดร. สุ ป รีด า อดุ ล ยานนท์ ผู้ จั ด การ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ชวนคนไทยตัง้ เป้าหมายให้กบ ั ตัวเองเพือ ่ ชีวต ิ ทีด ่ ข ี น ึ้ เปิดตัวคูม ่ อ ื ชีวต ิ ดีเริม ที เ ่ รา และ 108 วิ ธี ่ สร้างเสริมสุขภาพดีทท ี่ ก ุ คนท�าได้ ในโอกาส ครบรอบ 18 ปี ผ่ า นงาน ‘ชี วิ ต ดี เริ่ม ที่ เรา’ ที่ลานหน้าเซ็นทรัลเวิลด์ ภายใต้คอนเซ็ปต์ ‘ชนะในความแพ้’ คื อการลุกขึ้นมาเปลี่ ยน ตัวเองหรือคนรอบข้างไม่มใี ครท�าส�าเร็จได้ ในครัง้ เดี ยว การพยายามเริม ่ ต้ นก็ เท่ากั บ เอาชนะใจตัวเองและสร้างก�าลังใจที่จะลุก ขึน ้ มามีสขุ ภาพทีด ่ ก ี บ ั ตัวเองและกับสิง่ แวดล้อม ด้วยการน�าเสนอ 8 ประเด็นทีจ ่ ะน�าไปสูก ่ ารเปลีย ่ นแปลงตนเองและสังคม เช่น ลุกขึน ้ มา ออกก� า ลั ง กาย ลุ ก ขึ้ น มาเลื อ กกิ น อาหาร เลิกสูบบุหรี่ เลิกเหล้า ชุมชนลุกขึ้นมาสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ www.thaihealth.or.th/livehealthier
SACICT เปิดตัวระบบ ‘SACICT Archive’ ผลักดัน ไทยเป็นศูนย์กลางธุรกิจ หัตถศิลป์ในอาเซียน
เทศกาลอาหารอร่อยและของดี 123 ปี เมืองคนงามบ้านโป่ง
บัตรเครดิต กรุงศรี ผนึก เอ็มไดนิง ่ และดอยตุง จัดเต็มอิม ่ คุ้มกับ 4 สิทธิพิเศษ ในงาน ‘From Farm To Table’
WE RUN IN THE BEAT 2019 ร่วมวิง ่ เพื่อ มูลนิธิเมเจอร์ แคร์
อัมพวัน พิชาลัย ผู้อ�านวยการศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การ มหาชน) เปิดงาน ‘SACICT Archive’ ระบบ สืบค้นข้อมูลงานหัตถกรรม เพื่อเชื่อมโยง การน�าเสนอองค์ความรูห ้ ลากรูปแบบ เพือ ่ ให้ คนไทยทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมและ สามารถเข้าถึงศิลปหัตถกรรมอย่างรอบด้าน ผลักดันไทยให้กา ้ วสูก ่ ารเป็นศูนย์กลางธุรกิจ หัตถศิลป์ของอาเซียนในอนาคตเพือ ่ รองรับ การขับเคลื่ อนเศรษฐกิ จและสังคมดิ จิทัล ณ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา
ธุรกิจแพคเกจจิง้ เอสซีจี หนึง่ ในต้นแบบ อุ ตสาหกรรมเชิงนิ เวศ ร่วมสร้างบ้านโป่ง ให้เป็นอ�าเภอต้นแบบทีม ่ ก ี ารจัดการทรัพยากร อย่างคุ้มค่ า โดยจั ดนิ ทรรศการให้ความรู ้ เรื่อ งเศรษฐกิ จ หมุ น เวี ย นและสนั บ สนุ น ก า ร ใ ช้ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แบรนด์ เ ฟสท์ ใ ห้ ผู้ ป ระกอบการร้ า นค้ า ในงาน ‘เทศกาลอาหารอร่อ ยและของดี 123 ปี เมืองคนงามบ้านโป่ง’ จัดขึน ้ โดยอ�าเภอ บ้ า นโป่ ง และกิ่ ง กาชาดอ� า เภอบ้ า นโป่ ง ร่วมกับเทศบาลเมืองบ้านโป่ง และส�านักงาน การท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทยจังหวัดราชบุร ี ส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ องค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ภาคธุ ร กิ จ เอกชน และภาคประชาชนในพื้นที่อ�าเภอบ้านโป่ง ติดตามข่าวสารของเอสซีจีได้ที่ https:// scgnewschannel.com
สมหวัง โตรักตระกูล กรรมการผูจ ้ ด ั การ และ ชีวน ิ ปราชญานุพร ผูอ ้ า � นวยการอาวุโส ฝ่ายกลยุทธ์การตลาด บริษัท บัตรกรุงศรีอยุ ธ ยา จ� า กั ด ร่ว มกั บ สุ ธ าวดี ศิ ร ิธ นชั ย ร อ ง ก ร ร ม ก า ร ผู้ จั ด ก า ร ศู น ย์ ก า ร ค้ า ดิ เอ็มควอเทียร์ จัดงาน ‘ฟอร์ม ฟาร์ม ทู เทเบิล ฟอร์ม ดอยตุง ทู เอ็มไดนิ่ง’ เอาใจนักชิมกับ เมนูพเิ ศษทีน ่ า� วัตถุดบ ิ จากดอยตุงมาปรุงโดย เชฟจากร้า นอาหารชื่ อ ดั ง ที่ ศู น ย์ ก ารค้ า ดิ เอ็มโพเรีย ่ ม และดิ เอ็มควอเทียร์ พร้อมมอบ สิทธิพเิ ศษส�าหรับสมาชิกบัตรเครดิตกรุงศรี ให้อม ้ กับ 4 สิทธิพเิ ศษ ตัง้ แต่วน ั นี้ ่ิ อร่อยสุดคุม ถึง 31 ตุลาคม 2562 เพียงลงทะเบียนเพื่อ รับ สิ ท ธิ พิ เ ศษที่ จุ ด ลงทะเบี ย น (เงื่ อ นไข เป็นไปตามที่ก�าหนด) ข้อมูลเพิ่มเติม www. krungsricard.com/th/Promotion/ Dining/Em-Dining
บริษัทวีฟิตเนสจ�ากัดจัดวิง่ มินม ิ าราธอน การกุศ ล WE RUN IN THE BEAT 2019 ในวันเสาร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2562 เวลา 15.30 น. ณ การรถไฟฟ้ า ขนส่ ง มวลชน แห่งประเทศไทย (รฟม.) พระราม 9 โดยในปี ทีผ ่ า่ นมามีผเู้ ข้าร่วมวิง่ ถึง 2,500 คน มุง่ หวัง ให้คนไทยมีสุขภาพที่ดี และต้องการสร้าง สังคมของคนรักการออกก�าลังกายและรัก สุขภาพอย่างต่อเนือ ่ ง รายได้สว่ นหนึง่ มอบให้ กับมูลนิธเิ มเจอร์ แคร์ เพือ ่ น�าไปเป็นทุนการศึ ก ษาและสร้า งห้ อ งหนั ง เพื่ อ การเรีย นรู ้ ในโรงเรียนในพืน ้ ทีห ่ า่ งไกล และเป็นโรงเรียน ทีเ่ ป็นศูนย์กลางของชุมชนปีละ 10 โรงเรียน 10 จังหวัด สมัครเข้าร่วมได้ตั้งแต่วันนี้ ถึง 25 ตุลาคม 2562 ที่ www.ticketmelon.com/ WE/we-run-on-the-beat หรือสมัครด้วย ตนเองทีว ่ ี ฟิตเนส โซไซตี้ 18
BOARD
TALK OF THE TOWN
อัพเดตแวดวง ข่าวสังคม ที่น่าสนใจ ในรอบสัปดาห์ ‘โรงหนังเฮาส์’ ย้ายสู่บ้านใหม่ ‘สามย่านมิตรทาวน์’ เพิ่มจอ เพิ่มโปรแกรมหนังจุใจ โรงภาพยนตร์ฉายหนั งนอกกระแส แห่งแรกของไทย House RCA จัดงาน Moving House อ�าลา House RCA สูบ ่ า้ นใหม่ House Samyan แถลงข่าวย้ายบ้านอย่างเป็นทางการ สูช ่ น ่ House ้ั 5 อาคารสามย่านมิตรทาวน์ ในชือ Samyan น�าโดย ชมศจี เตชะรัตนประเสริฐ, พงศ์นรินทร์ อุลศ ิ และ พรชัย วิรย ิ ะประภานนท์ ผูบ ้ ริหารโรงภาพยนตร์เฮ้าส์ แม้จะย้ายไปสู่ ที่ ต้ั ง ใหม่ แต่ โรงภาพยนตร์เฮ้ า ส์ จ ะยั ง คง เฟ้ น หาหนั ง ดี ๆ มาให้ ผู้ ช มเช่ น เดิ ม ได้ แก่ การฉายหนังคลาสสิกแบบคมชัดบนจอใหญ่ เดือนละหนึ่งเรือ ่ ง หนังนอกกระแสที่ดูสนุก จัดฉายเฉพาะทีเ่ ฮ้าส์ทเี่ ดียว และมีโปรแกรม สนุ ก ๆ ส� า หรับ นั ก ดู ห นั ง อี ก เพี ย บ เปิ ด รับ สมาชิกใหม่ในหน้าเพจ Facebook.com/ houseRCA ซึ่ ง จะได้ ร ั บ ส่ ว นลดค่ า ตั๋ ว พร้อมรับของสมนาคุณ โรงภาพยนตร์เฮ้าส์ สามย่ า น ตั้ ง อยู่ บ นชั้ น 5 อาคารสามย่ า น มิตรทาวน์ พร้อมเปิดให้บริการปลายเดือน กันยายนนี้
ลากูน่าภูเก็ตไตรกีฬา ครั้งที่ 26 พร้อมเปิดตัวพันธมิตร การกุศล มูลนิธิก้าวคนละก้าว
โฟร์โนล็อค พร้อมลุยธุรกิจ เพลงเต็มตัว
ซึ้งจนกลั้นน�้าตาไม่อยู่ไปกับ ความผูกพันของพ่อลูก ใน MV คุณพ่อนักรบแห่งแสง FINAL FANTASY XIV
มีเดียคอม เดินหน้าสร้าง ความส�าเร็จ คว้าต�าแหน่งสุดยอด เอเจนซีโฆษณาของเอเชีย
ราวี ชานดราน กรรมการผูจ ้ ด ั การกลุม ่ ลากูนา ่ ภูเก็ต จัดงาน ‘ลากูนา ่ ภูเก็ตไตรกีฬา’ เจ้ า ของต� า แหน่ ง รายการไตรกี ฬ าที่ จั ด ต่อเนื่องยาวนานทีส ่ ด ุ แห่งเอเชีย โดยเตรียม เปิ ด สนามครัง ้ ที่ 26 ในวั น เสาร์ที่ 23 และ วันอาทิตย์ ที่ 24 พฤศจิกายน 2562 เงินรางวัล กว่ า 6 แสนบาท และปี นี้ จ ากเดิ ม การจั ด ภูเก็ตไตรกีฬาจะสมทบทุนให้กองทุนเพือ ่ เด็ก ซีเอฟเอฟ ก็ให้นักแข่งขันได้ท�าบุญคูณสอง โดยเปิดตั วพันธมิตรด้ านการกุศล มูลนิ ธิ ก้าวคนละก้าว โดยมอบเงินบริจาค 9 บาท ในทุก 1 กิโลเมตรของระยะวิ่ง ให้กับมูลนิธิ ก้าวคนละก้าว เพื่อช่วยเหลือโรงพยาบาล ทางภาคใต้ เปิดรับสมัครผ่านทางออนไลน์ ที่เว็บไซต์ www.LagunaphuketTri.com จนถึงวันที่ 17 พฤศจิกายน 2562
อนุวต ั ิ วิเชียรณรัตน์ ประธานกรรมการ บริหาร บริษัท โฟร์โนล็อค จ�ากัด พร้อมน�า โฟร์โนล็อคก้าวสู่บริษัทเอนเตอร์เทนเมนท์ ครบวงจร หลั ง มุ่ ง มั่ น พั ฒ นาศิ ล ปิ น ไทย สู่ระดับสากล และประสบความส�าเร็จจาก โปรเจ็กต์ 9x9 (ไนน์ บาย นาย) จนได้เวลาที่ พร้อมเดบิวต์ศล ิ ปินกลุม ่ แรกของบริษัทแล้ว กับ 4 หนุ่ม เจมส์ ธีรดนย์, เติรด ์ ลภัส, ปอร์เช่ ศิวกร และ แจ๊คกี้ จักริน เพือ ่ พัฒนาผลงาน ไปสูเ่ ป้าหมายมาตรฐานในการท�างานเพลง ระดับสากลทีต ่ น ้ สังกัดวางไว้ ติดตามความเคลื่อนไหวของ 4 หนุ่มศิลปินกลุ่มแรกของ โฟร์โนล็อคได้ที่ IG : 4NOLOGUEARTIST และกด subscribe YouTube : 4NOLOGUE MUSIC
ภาพยนตร์ Brave Father online : our story of FINAL FANTASY XIV หรือ ชื่ อ ไทยว่ า คุ ณ พ่ อ นั ก รบแห่ ง แสง FINAL FANTASY XIV ได้ปล่อยมิวสิกวิดีโอออกมา โดยได้ ศิ ล ปิ น วง GLAY มาช่ ว ยแต่ ง เพลง ทีช ่ อ ื่ ว่า Colors ให้กบ ั ภาพยนตร์ เนื้อหาของ เพลงจะพูดถึงสายใยของพ่อลูกทีไ่ ม่ลงรอย กั น แต่ ก็ ถู ก เชื่ อ มไว้ ไ ด้ ด้ ว ยโลกของเกม โปรดิ วเซอร์ ชิ บุ ยะ ผู้ อ� านวยการสร้ า ง เปิ ด เผยว่ า ตั ว ศิ ล ปิ น เป็ น แฟนเกม Final Fantasy XIV ตัวจริง อีกทัง้ ยังประพันธ์เพลง มาตัง้ แต่ฉบับละคร ซึง่ เขาก็นา่ จะเข้าใจเนือ ้ หา ของภาพยนตร์มากกว่าใคร ชมมิวสิกวิดโี อนี้ โดยเสิ ร ์ช ว่ า Ost. Brave Father online คุณพ่อนักรบแห่งแสง ทางยูทูบ
มีเดียคอม ตัวแทนผูบ ้ ริหารและซือ ้ ขาย สือ ่ ระดับโลกในเครือกรุป ๊ เอ็ม คว้ารางวัลใหญ่ จาก CMO Asia Awards งานประกาศรางวัล ประจ�าปีทรี่ วบรวมนักการตลาด ผูด ้ แ ู ลแบรนด์ และนักโฆษณาระดับแนวหน้าของภูมิภาค เอเชียแปซิฟก ิ งานประกาศรางวัล CMO Asia Awards ได้รบ ั การจัดอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 10 โดยมีเดียคอม (ประเทศไทย) สามารถ เอาชนะคูแ ่ ข่งอืน ่ ๆ จากทัว ่ เอเชีย ผ่านความส�าเร็จทัง้ ในด้านธุรกิจ การพัฒนานวัตกรรม และบุ ค ลากร ซึ่ ง สุ ภ รณ์ อรุ ณ ภาคมงคล ก ร ร ม ก า ร ผู้ จั ด ก า ร บ ริ ษั ท มี เ ดี ย ค อ ม (ประเทศไทย) กล่ า วถึ ง การได้ ร ับ รางวั ล ในครัง้ นีว้ า่ “รางวัลนีเ้ ป็นอีกหนึง่ ของขวัญล�าค่า ทีพ ่ นักงานทุกคน มีความภูมใิ จและรูส ้ ก ึ เป็น เกียรติทเี่ ป็นเอเจนซีหนึง่ เดียวในเอเชียทีไ่ ด้รบ ั การคั ดเลื อกให้เป็นผู้ชนะรางวัลนี้ ”
ISSUE 608
16 SEP 2019
19
เรือ ่ งและภาพ : Danial Nataporn
แปลและเรียบเรียง : ฆนาธร ขาวสนิท
FEATURE
20
TA K E
เติมช่องว่างในใจกับการเดินทาง 8,000 กิโลเมตร ด้วยสองน่อง
A GAP
ผมยังจ�าครั้งแรกที่ออกเดินทางไกลจากบ้านในวัยยี่สิบต้นๆ ได้ เริ่มต้นด้วย การเก็บเงินจากการท�างานจิปาถะ ในช่วงเวลานัน ้ การเดินทางไปยุโรปดูเหมือนยิง ่ ใหญ่
TO FILL THE GAP
เหลือเกิน ผมได้เห็นรูปภาพและวิดโี อมากมายทีด ึ ดูดผมสูอ ่ ก ี ซีกโลก มากไปกว่านัน ่ ง ้ ผมยั ง ได้ จั ด การซื้ อ ตั๋ ว เทศกาลดนตรี ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในโลกแห่ ง หนึ่ ง ในเบลเยี ย ม
จากสิง ้ ย่างน้อยนิด ผมคิดว่าการเดินทางนัน ิ่ ใหญ่ ่ มรูอ ่ี ง ้ ก�าลังจะเปิดประสบการณ์ทย ่ ทีผ ให้แก่สายตาของผมมากที่สุดครั้งหนึ่งในชีวิต มันเป็นการเดินทางราว 3 สัปดาห์ ในยุโรป เทศกาลดนตรีนน ั้ มหัศจรรย์ เป็นปาร์ตท ี่ า่ งไปจากความเคยชิน และเมล็ดพันธุ์ ้ี ห ที่ผมไม่ได้คาดหวังมาก่อนก็ค่อยๆ หยั่งรากลึกสู่หัวใจ การเดิ น ทางครั้ ง นี้ ท� า ให้ ผ มมี ค วามสุ ข กั บ การได้ พ บผู้ ค นอั น น่ า ทึ่ ง ทั่ ว โลก เรือ ่ งราวอันน่าเหลือเชือ ่ จากการเดินทางของพวกเขาถูกแชร์ครัง ้ แล้วครัง ้ เล่า และ
มันก็กระทบจิตใจผมอย่างจัง เมื่อพวกเขาเล่าถึงเวลาที่ใช้ในการเดินทาง บางคน ไม่ก่ีเดือน บางคนยาวนานเป็ นปี หรือแม้กระทั่ง 2 ปี ! นั่นคือสิ่งที่ผมไม่เคยได้ยิน
มาก่อนในชีวิต ผมถูกดึงดูด และเอ่ยปากถามพวกเขาถึงเคล็ดลับในการใช้ชีวิต อย่างสุดเหวี่ยงเหล่านั้น แต่ทั้งหมดที่พวกเขาท�าก็แค่ท�างานอย่างหนักตราบเท่าที่ พวกเขาต้องการ เพียงเพื่อจะเก็บเงินทั้งหมดที่พวกเขาหวัง เพื่อการเดินทางมาก
เท่าที่พวกเขาอยาก ซึ่งมันหมายความว่า ในช่วงเวลาดังกล่าว พวกเขาจะไม่ปาร์ตี้ ไม่กน ิ ข้าวนอกบ้าน ไม่ใช้จา่ ยไปกับเสือ ้ ผ้าหรือรองเท้าใหม่ๆ หรืออะไรก็ตามทีไ่ ม่จา� เป็น
แค่ท�างาน งาน และงาน จนกระทั่งถึงเวลาที่พวกเขาออกเดินทาง นั่นคือสิ่งที่ผม ลงมือท�าหลังกลับมาจาก 3 สัปดาห์ในยุโรป และแล้วชีวต ิ ผมก็เปลีย ่ นไปตลอดกาล นั บ แต่ น้ั น โลกที่ ผ มอาศั ย อยู่ เ ปลี่ย นไป มุ ม มองของผมต่ อ ชี วิ ต ก็ เ ปลี่ย นไป ผมท�างานอย่างหนักและเชิดหน้ามองไปยังความฝัน หลังจากนัน ่ าวนาน ้ การเดินทางทีย อีกครั้งในยุโรปถึง 6 เดือนก็เกิดขึ้น ผมจ�าได้ดีว่า เสรีภาพที่ถูกปลดปล่อยจาก
ทริปนั้นเป็ นอย่างไร อิสรภาพที่ผมได้สัมผัสและความเปลี่ยนแปลงในตัวตนจาก การเดินทางครั้งนั้นเป็ นแบบไหน ผมซึมซับพลังงานบวกมากมายและตระหนักว่า ผมกลายเป็นมนุษย์ท่ด ี ีข้ึนอย่างเป็นธรรมชาติมากขึ้นเพียงใด 6 เดือนนั้นสอนผม อย่างหนักเกีย ิ และเกีย ่ วกับตัวเอง เกีย ่ วกับชีวต ่ วกับโลกทีผ ่ มอาศัยอยู่ และ 6 เดือนนัน ้ ก็ลับหายไปอย่างรวดเร็วพอๆ กัน เวลามักผ่านไปเพียงพริบตาเมื่อคุณสนุกกับมัน
ผมจึงบอกตัวเองว่าการเดินทางครั้งต่อไปของผมจะต้องยาวนานขึ้น หลังจากนั้น ผมจึงกลับไปท�างาน เก็บเงิน และออกเดินทางอีกครั้งเป็นเวลา 1 ปี การแบ็กแพ็กกิง ่ ว ่ นอืน ่ ๆ ของยุโรปและบางส่วนของ ้ นีเ้ ป็นการเดินทางสูส ้ ครัง อเมริกาใต้ แต่มน ั กลับน�าผมสูช ่ ว ่ งเวลาทีไ่ ม่สามารถย้อนกลับสูจ ่ ง ั หวะของการเดินทาง แบบเดิมๆ ได้อีกต่อไป มันรู้สึกแตกต่างในการเดินทางครั้งที่สองนี้ ผมหลงใหล
ในการผจญภัย ปรารถนาจะออกจากคอมฟอร์ตโซนมากขึน ้ เพื่อจะผลักดันพรมแดน ของผมให้ไกลออกไป ผมค้นพบตัวเองนั่งอยู่บนรถบัสและรถไฟบ่อยครั้งระหว่าง การเดินทาง ขณะที่ ผมมักมองออกไปนอกหน้าต่างสู่ความมหัศจรรย์ของโลก ภายนอก ภูเขา แม่น้�า หมู่บ้านเล็กๆ ซึ่งผมมักสงสัยว่าจะเป็ นอย่างไรถ้าผมแวะ เยี่ยมเยียนสถานที่เหล่านั้น สถานที่ที่ไม่มีใครเคยพู ดถึงอย่างจริงจัง แทนที่จะเดิน ตามรอย ‘10 สถานที่ท่ีคุณควรไปเที่ยวก่อนตาย’ ผมหวังอยู่ตลอดว่าผมจะได้
หยุดลงกลางทางระหว่างทีร ็ ามทีผ ่ ถบัสหรือรถไฟขับเคลือ ่ นไปเมือ ่ ไหร่กต ่ มปรารถนา ในช่วงเวลานี้เองที่เมล็ดพั นธุ์อีกชนิดก็ถูกปลูกขึ้น นั่นคือที่มาของการเริ่มต้นปั่ น
จักรยาน ที่ผมจะได้มีอิสระและเสรีภาพอย่างเต็มที่ระหว่างการเดินทาง ตัดกลับสูป ่ จ ั จุบน ั ผมก�าลังใช้ชวี ต ิ อยูใ่ นเมืองทบิลซ ิ ิ ประเทศจอร์เจีย จากสิงคโปร์ ผมผ่าน 13 ประเทศ ระยะทาง 8,000 กิโลเมตร ใช้ระยะเวลา 1 ปี และอาจจะมี การผจญภัย นับไม่ถ้ว นหลังจากนี้ร ออยู่ ซึ่ง ระหว่างที่ผ มตัด สิน ใจหยุด พั กจาก การปั่นจักรยานไปทั่วอยู่นั้น ด้วยความปีติ วันหนึ่งผมก็ได้เจอกับ ‘แพง’ (ฆนาธร ขาวสนิ ท ) รองบรรณาธิ ก ารบริ ห าร a day BULLETIN อย่ า งบั ง เอิ ญ … ผมมักเชื่อว่าชีวิตของพวกเรานั้นต่างถูกประกอบสร้างโดยคนอื่นที่เราได้พบเจอ ไม่ว่านั่นจะเป็ นการพบเจอที่ใหญ่ยิ่งหรือเล็กจ้อย ส�าหรับผมและแพง เราพบกัน
ในระยะเวลาสัน ่ า่ สนใจ ในร้านอาหารทีผ ่ มก�าลังท�างานอยู่ ้ ๆ แต่กลับเป็นการพบพานทีน เราแลกเปลีย ่ าทีท ่ า� ให้เราได้มาเจอกันทีจ ่ อร์เจีย จากสิง ่ ่ นเรือ ่ งราวต่างๆ ถึงทีม ่ หนึง น�าไปสู่อีกสิ่ ง และตอนนี้ ผมก็ก�าลัง มีโอกาสที่ดีที่ก�าลัง เขียนเรื่องราวเหล่านี้อยู่
เพื่อบอกเล่ามันต่อโลก ผมชื่ อ Danial Nataporn ลู ก ชายของแม่ ช าวสิ ง คโปร์ แ ละพ่ อ คนไทย (ผู้พู ด อ่าน และเขีย นไทยไม่ได้ — ผู้แปล) และนี่ คือ เรื่อ งราวของผมเกี่ยวกับ การปั่นจักรยานจากสิงคโปร์สู่จอร์เจีย
ISSUE 608
16 SEP 2019
21
บทเริม ่ ต้นของการปั่นจักรยาน 8,000 กิโลเมตร จากสิงคโปร์สู่จอร์เจีย
01
แน่ น อนว่ า การปั่ นยั ง คงล� า บาก แต่ ผ มได้ ถี บ ที่ เ หยี ย บเท้ า ไปแล้ ว รอบแล้ ว รอบเล่ า ผมไม่ ต้ อ งการหยุ ด แรงเหวี่ ย งเหล่ า นั้ น ดั ง นั้ น ผมจึ ง แค่ ปั่ นมั น ต่ อ ไป
ผมยังจ�ำได้ถึงวันที่เริม ่ ออกปั่น ทุกอย่ำง ดูเหนือจริง ผมรูส ้ ก ึ เหมือนก�ำลังอยูใ่ นควำมฝัน ทุกกำรถีบทีเ่ หยียบเท้ำนั้นหนักอึ้ง ผมก�ำลังปั่น จั ก รยำนที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยสั ม ภำระเต็ ม คั น เป็ น ครัง้ แรก ก่อนหน้ำนีผ ้ มเคยปั่นจักรยำนไปรอบๆ เพือ ่ จะท�ำให้ตวั เองคุน ้ เคยมำแล้ว แต่ไม่ใช่จก ั รยำน ทีเ่ ต็มไปด้วยสัมภำระเหล่ำนี้ ซึง่ ท�ำให้ผมรูส ้ ก ึ ว่ำ ผมเพิง่ จะเริม ้ ำรปั่นจักรยำนเป็นครัง้ แรก ่ เรียนรูก วันนั้นฝนตกทันทีที่ผมออกจำกบ้ำน และเริม ่ ตกหนั กขึ้นเรือ ่ ยๆ พร้อมกั บฟ้ำผ่ำและฟ้ำลั่ น ผมจึ ง หยุ ด เพื่ อ จะสวมเสื้ อ แจ็ ก เกต นั่ น คื อ อุปสรรคแรกทีผ ่ มเจอ ผมเพิง่ ตระหนักว่ำจักรยำน ของผมหนั ก แค่ ไ หนเมื่ อ มี ก ระเป๋ ำ เหล่ ำ นั้ น และมันยำกเพียงใดทีจ ่ ะรักษำสมดุล ขณะสวม เสือ ้ กันฝนเมือ ่ ปั่นจักรยำน ใช่! นั่นคือควำมจริง อำรมณ์ และค� ำถำมมำกมำยวิ่ ง วนในหั ว ‘ผมพร้อมแล้วจริงๆ หรือส�ำหรับกำรเดินทำง ครัง้ นี้?’ หลังจำก 15 นำทีทผ ี่ มหำทำงใส่เสือ ้ กันฝน อย่ำงยำกล�ำบำกได้ แล้วเริม ่ ต้นปั่นอีกครัง้ ฝน ก็ดันหยุดตก ตอนนั้นเองที่ผมรูส ้ ึกว่ำจักรวำล ก� ำลั งเล่ นตลกกั บผมและมันก� ำลั งหัวเรำะร่ำ ผมเริม ้ ขณะปั่นไปเรือ ่ ยๆ และไม่ได้คิดว่ำ ่ อุ่นขึน ต้องหยุดและต้องถอดเสื้อออก เพื่อน�ำตัวเอง กลับไปสูค ่ วำมยำกล�ำบำกอีกครัง้ ผมติดลมบน ไปแล้ว แน่นอนว่ำกำรปั่นยังคงล�ำบำก แต่ผม ได้ ถี บ ที่ เหยี ย บเท้ ำ ไปแล้ ว รอบแล้ ว รอบเล่ ำ ผมไม่ต้องกำรหยุดแรงเหวี่ยงเหล่ำนั้น ดังนั้น ผมจึงแค่ป่ นมั ั นต่อไป จนกระทัง่ มำถึงชำยแดนมำเลเซีย พร้อมกับ สัมภำระรำวๆ 40 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลำ ผมย�ำถำมตัวเองว่ำ ท�ำไมผมถึงต้องท�ำสิง่ เหล่ำนี้ มันแตกต่ำงอย่ำงสิน ้ ก ึ เวลำเช็กอิน ้ เชิงกับควำมรูส กระเป๋ำแบ็กแพ็กก่อนขึน ้ เครือ ่ งบิน ผมจ�ำได้ถึง ควำมสะดวกสบำยขณะเดินไปขึน ้ เครือ ่ งจนกระทัง่ เวลำที่เครือ ่ งจะขึ้น ผมจ�ำได้ถึงควำมตื่นเต้น และควำมสุขสันต์ขณะเครือ ่ งขึน ้ มองเห็นใบหน้ำ
เปี่ ยมสุขของเหล่ำนักเดินทำง ซึง่ ควำมจริงก็คอ ื เกือบทุกคนในเครือ ่ งบินอำจรูส ้ ึกเหมือนๆ กัน พลังงำนต่ำงๆ แพร่กระจำยถึงกันและกัน และ ท�ำให้บรรยำกำศในสนำมบินเปลี่ยนไปในทำง บวก แต่ตอนนี้ มันแตกต่ำง ผมก�ำลังปั่ นสิง่ ทีจ ่ ะ เป็นบ้ำนของผมไปอีกนำนบนจักรยำนที่มีแค่ สองล้อ แรกเริม ่ ใต้พำยุฝน จำกนัน ้ ใต้แสงอำทิตย์ และเหงือ ่ ทีห ่ ยดผ่ำนศีรษะ ผมรูส ้ ก ึ กังวัลปนสงสัย เล็กน้อยถึงสิง่ ทีต ่ วั เองไม่รซ ู ้ งึ่ ก�ำลังรออยูเ่ บือ ้ งหน้ำ ผมก�ำลังใช้ถนนร่วมกับรถยนต์และมอเตอร์ไซค์ มำกมำยซึ่งก�ำลังเริม ่ ต้นวันของเขำ หลำยคน อำจมุง่ หน้ำไปท�ำงำนเหมือนทุกวัน แต่ผมกลับ รูส ้ ก ึ โดดเดีย ่ ว ไม่มใี ครส่งพลังงำนด้ำนบวกให้ผม ไม่มใี ครมีควำมรูส ้ ก ึ ตืน ่ เต้น ไม่มใี ครก�ำลังบ้ำคลัง่ และมันไร้หนทำงกลับส�ำหรับผมแล้วในขณะนี้ นั่นเพรำะหนึ่งในเหตุผลที่ผมออกเดินทำงคือ กำรทดสอบตัวเองทำงจิตวิญญำณ เพือ ่ พิสจ ู น์ ต่อตัวเองว่ำทุกสิ่งเป็นไปได้เพียงแค่ผมตั้งใจ มำกพอ ผมต้องตำมมันไป เหมือนทุกๆ อย่ำง ในชีวิต ก้ำวแรกย่อมยำกเสมอ ผมบอกตัวเองว่ำควรจะตัง้ แคมป์ในคืนนี้ เพือ ่ เป็นสัญลักษณ์แห่งกำรเริม ่ ต้น ด�ำดิง่ พุง่ ตรง ลงลึกไปกับกำรเดินทำงจำกจุดแรกเริม ่ ผมค้นพบ ตึกร้ำงทีย ่ งั สร้ำงไม่เสร็จในไซต์กอ ่ สร้ำง มันไม่ใช่ จุ ด ตั้ ง แคมป์ ที่ ดี เ ลิ ศ นั ก ไม่ ใ ช่ บ นชำยหำด ท่ำมกลำงดวงดำว แต่เท่ำนี้ก็เพียงพอแล้ว กำรปั่ นในช่ ว งสองสำมวั น หลั ง จำกนั้ น เริ่ม เพลิ ด เพลิ น ขึ้ น เล็ ก น้ อ ย ผมเคยมำเที่ ย ว มำเลเซีย แต่ไม่ใช่ด้วยวิธก ี ำรและควำมเชือ ่ งช้ำ อั น มี ชี วิ ต ชี ว ำเช่ น นี้ ผมปั่ นผ่ ำ นเมื อ งที่ ก� ำ ลั ง หลั บใหลใกล้ ช ำยฝั่งตะวันออกของมำเลเซีย ผ่ ำ นบำตู ป ำฮั ต มู อ ำร์ และเข้ ำ สู่ ม ะละกำ ก่อนหน้ำนี้ผมค้นพบข้อมูลในเว็บไซต์ว่ำ มันมี ชุมชนนักปั่นชื่อ Warmshowers.org ที่นักปั่น ทั่วโลกสำมำรถหำที่พักแบบ couchsurfing ได้โดยเฉพำะ ผมรูส ้ ึกซำบซึ้งอย่ำงยิ่งที่ได้รบ ั
กำรดูแลโดยโฮสต์จำก Warmshower ในมำเลเซีย พวกเขำล้ ว นแล้ ว แต่ ต้ อ นรับ ผมอย่ ำ งอบอุ่ น แถมยังพำผมไปชมรอบๆ เมืองทีพ ่ วกเขำเติบโต มำ ผมพบกับ Merla และ Gerda สองนักปั่น สำวชำวเยอรมันทีม ่ ะละกำ พวกเธอก�ำลังปั่ นผ่ำน เอเชียเช่นกัน และก�ำลังมุง่ หน้ำสูเ่ ส้นทำงเดียวกับ ผม ดังนั้น เรำจึงร่วมทีมกันเพื่อปั่นสู่คำเมรอน ไฮแลนด์ ส�ำหรับผม บทสนทนำอันยอดเยี่ยม และเสียงหัวเรำะทีถ ่ ก ู แบ่งปันระหว่ำงกัน และ แน่นอน ควำมทรมำนอันสำหัสก็ถก ู ส่งต่อร่วมกัน ขณะที่เรำก� ำลั งไต่ เนิ นเขำลูกแรกสู่คำเมรอน ไฮแลนด์ เพรำะเส้นทำงนั้นไม่ง่ำยเลย และขำ ของพวกเรำก็ ไ ม่ ส ำมำรถแบกรับ ทำงชั น ๆ ทัง้ หมดเช่นนี้ไหว จนสุดท้ำยเรำต้องจบลงด้วย กำรโบกรถสู่ยอดเขำ หลังจำกพยำยำมไต่เขำ อย่ำงหนักทีส ่ ด ุ ในชีวต ิ มำตลอดทัง้ วัน แต่ผมจะ ท�ำให้ดข ี น ึ้ ในกำรไต่เขำครัง้ ต่อไป ผมจะแข็งแกร่ง ขึ้นเมื่อเวลำผันผ่ำนไปในแต่ละวัน พวกเรำใช้เวลำ 3 สัปดำห์ ปั่นไปทัว่ มำเลเซีย ด้ ว ยกั น มั น เป็ น กำรแชร์ป ระสบกำรณ์ ที่ น่ ำ ประทั บ ใจระหว่ ำ งผมและพวกเธอทั้ ง สอง กำรนอนหลับในหมูบ ่ ำ้ นเล็กๆ กำรได้ทำ� ควำมรูจ้ ก ั ชำวบ้ ำ น และมั น ก็ ช่ ำ งสดชื่ น เสมอเมื่ อ ได้ ฟั ง มุ ม มองของชี วิ ต ของพวกเขำที่ ด� ำ เนิ น ไป ณ ที่แห่งนั้น เมื่อเรำเดินทำงใกล้ถึงชำยแดน ของประเทศไทย เรำจ� ำเป็นต้ องแยกจำกกั น เนือ ่ งจำกเส้นทำงทีพ ่ วกเธอจะไปเป็นอีกเส้นทำง หนึ่ ง กำรบอกลำเป็ น สิ่ ง ไม่ อ ำจหลี ก เลี่ ย งใน กำรเดินทำง แต่หนทำงข้ำงหน้ำก็ยงั เต็มไปด้วย กำรผจญภัยใหม่ๆ สำยตำของผมตอนนี้ก�ำลัง จับจ้องมุ่งตรงไปยังประเทศไทย…
22
สัมพันธภาพของเวลาบนอานจักรยาน รวดเร็ว เชื่องช้า ย้อนเวลา ไทย เมียนมา สู่เนปาล
02
ด้ า นลบของการเดิ น ทางโดยจั ก รยานคื อ สิ่ ง นี้ นั่ น คื อ ผมไม่ มี เ วลาอั น หรู ห รา อย่ า งตอนที่ ผ มเป็ นแบ็ ก แพ็ ก เกอร์ ผมต้ อ งเตื อ นตั ว เองเสมอว่ า การเดิ น ทาง ผ่ า นแต่ ล ะประเทศเรี ย กร้ อ งเวลาและความพยายามมหาศาล ISSUE 608
คืนแรกในประเทศไทยเป็นประสบกำรณ์ ที่เรียบง่ำย ผมใช้เวลำยำมค�ำในอ�ำเภอทุ่งหว้ำ ในส่วนใต้ของจังหวัดสตูล สองสำมวันหลั งจำกนั้ น ผมปั่นไปทำง ชำยฝั่ง หลังพักกับโฮสต์จำกเว็บ Warmshower. org แห่งหนึ่งในจังหวัดตรัง ผมไม่ มี โ อกำสได้ เข้ ำ ใกล้ ท ะเลนั บ จำก ออกจำกบ้ำน ผมปรำรถนำสำยลมอันอบอุ่น ของทะเล กำรสัมผัสผืนทรำยและเสียงอันสงบ ของคลื่นกระทบหำด ผมหลงรักควำมเปลี่ยนแปลงและประสบกำรณ์กำรปั่นในประเทศไทย ร้ำนอำหำรข้ำงทำงดึงดูดผมด้วยกลิน ่ ยัว ่ น�ำลำย ทุกครัง้ ที่ป่ ันผ่ำน ป้ำยบอกเส้นทำงต่ำงๆ ใน ภำษำไทย ส�ำหรับผมในตอนนี้ดท ู ำ � ควำมเข้ำใจ ยำก ท�ำให้ทุกสถำนที่เต็มไปด้วยควำมพิศวง บทสนทนำกั บคนท้องถิ่นยำกขึ้นมำกแต่ ก็ยัง สือ ่ สำรได้ ผมแค่ต้องพยำยำมมำกขึน ้ กว่ำตอน อยู่มำเลเซียก็เท่ำนั้น และมันคือควำมท้ำทำย ทีผ ่ มยินดีทจ ี่ ะรับ เพรำะผมมักปรำรถนำจะกลับ ไปสูก ่ ำรเชือ ่ มต่อสูร่ ำกของควำมเป็นไทยอีกครัง้ และแล้ ว ผมก็ ถึ ง ท่ ำเรือ ปำกเมง ซึ่ ง ผม วำงแผนที่ จ ะไปเกำะลั น ตำเพื่ อ ผ่ อ นคลำย สักวันสองวันบนเกำะ ผมใช้เวลำสองสำมวัน หลั งจำกนั้ นในบรรยำกำศอั นผ่อนคลำยของ เกำะลันตำ สนุกไปกับชีวต ิ บนเกำะ ปล่อยวันเวลำ ไปบนชำยหำด และกำรแฮงเอำต์ ยำมค� ำกั บ เพื่อนใหม่ และอำหำรไทยอันโอชะ ผมพักผ่อน ในโฮสเทลชื่ อ The Zoo - Backpacker’s Shelter ทีเ่ จ้ำของชือ ่ Claudio ต้อนรับรำวกับผม เป็นสมำชิกหนึง่ ในครอบครัว นัน ่ ท�ำให้ผมระลึกถึง วันเวลำแบบแบ็กแพ็กเกอร์ทผ ี่ มจะกระโดดจำก โฮสเทลหนึ่ ง สู่ อี ก โฮสเทล ซึ่ ง ท� ำ ให้ ผ มพบปะ นักเดินทำงผู้แสนใจดีจำกทั่วโลก โฮสเทลของ Claudio เป็นหนึ่ งในโฮสเทลที่ มี บ รรยำกำศ เช่นนั้น และดึงดูดผู้คนเข้ำหำอย่ำงยิ่ง ผมต้องกำรจะใช้เวลำแห่งกำรผ่อนคลำย มำกขึ้นในเกำะแห่งนี้ พอๆ กั บควำมต้ องกำร
16 SEP 2019
ทีจ ่ ะเดินทำงต่อไป ด้ำนลบของกำรเดินทำงโดย จักรยำนคือสิง่ นี้ นั่นคือผมไม่มเี วลำอันหรูหรำ อย่ำงตอนทีผ ่ มเป็นแบ็กแพ็กเกอร์ ผมต้องเตือน ตัวเองเสมอว่ำกำรเดินทำงผ่ำนแต่ละประเทศ เรีย กร้อ งเวลำและควำมพยำยำมมหำศำล แถมผมยังต้ องค� ำนึ งเรือ ่ งระยะเวลำของวีซ่ำ และฤดูกำลอั นเหมำะสมในกำรเดิ นทำงของ แต่ละประเทศ แม้วำ ่ มันจะแสนเชือ ่ งช้ำและเหน็ดเหนือ ่ ย แต่ เมื่อไหร่ก็ตำมที่ผมจบกำรปั่ นจั กรยำนใน แต่ละวัน และตระหนักถึงสิ่งที่ผมได้ท�ำลงไป ผมมักรูส ้ ึกได้ถึงควำมส�ำเร็จ เมื่อผมมองย้อน กลับไปว่ำยำวนำนเท่ำไหร่ทผ ี่ มได้ปั่นจักรยำน นั บ ตั้ ง แต่ อ อกมำจำกสิ ง คโปร์ ผมรู ้ สึ ก ทึ่ ง บ้ำนดูเหมือนจะห่ำงไกลออกไปเรือ ่ ยๆ ในแต่ละวัน เมื่อผมถึ งระนอง มันช่วยไม่ได้ ที่ผมจะ ตื่นตระหนกเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เพรำะจำกตรงนี้ ผมจะต้องข้ำมฝั่งไปเมียนมำ และนี่คือครัง้ แรก ของกำรเดินทำงทีผ ่ มต้องเข้ำสูป ่ ระเทศแปลกหน้ำ ซึ่งไม่รูว ้ ่ำควรคำดหวังอะไร และแทบไม่เคย ได้ยินเรือ ่ งน่ำตื่นเต้นใดๆ สิ่งที่ผมพบอย่ำงแรกก็คือผู้คนส่วนใหญ่ มีสอ ี ะไรบำงอย่ำงแต้มอยูบ ่ นหน้ำ ไม่วำ่ จะหญิง ชำย หรือ เด็ ก ๆ บำงคนดู เหมื อ นป้ ำ ยไปสุ่ ม ๆ บำงคนป้ำยแค่จมูกและแก้ม และบำงคนป้ำยมัน อย่ำงประณีตเป็นลวดลำย ผมมำรูภ ้ ำยหลังว่ำ สิ่ ง ที่ พ วกเขำใช้ ท ำหน้ ำ นี้ เรีย กว่ ำ ‘ทำนำคำ’ มันเป็นสิ่งที่ใช้ปกป้องผิวหนังของพวกเขำจำก ควำมร้อ นของแสงแดดตำมประเพณี ผู้ คน ส่วนใหญ่สวมใส่ ‘ลองยี’ (Longyi - โสร่งพม่ำ —ผูแ ้ ปล) ผืนผ้ำทีพ ่ น ั รอบเอวและยำวจนถึงเท้ำ แทนที่ จ ะใส่ ก ำงเกง ควำมเปลี่ ย นแปลงเชิ ง วัฒนธรรมที่ผมเห็นในเมียนมำช่ำงน่ำสนใจ ผมได้รบ ั ค�ำแนะน�ำว่ำไม่ควรปั่ นจักรยำน จำกเกำะสองไปมะริด (เมืองหนึง่ ในเขตตะนำวศรี ตัง้ อยูท ่ ำงตอนใต้บริเวณชำยฝั่งทะเลอันดำมัน) เพรำะตลอดทำงแทบจะไม่ มี ห มู่ บ้ ำ นหรื อ
ร้ำนค้ำ ดังนั้น ผมจึงกระโดดขึ้นรถบัสพร้อม จักรยำน และผมคงไม่สำมำรถมีควำมสุขมำก ไปกว่ ำ นี้ ไ ด้ อี ก แล้ ว ที่ ไ ด้ ล งจำกรถบั ส เมื่ อ ถึ ง มะริดเสียที เพรำะตลอดทั้งเส้นทำงประมำณ 400 กิโลเมตรนัน ่ พำกันอ้วก ้ นักเดินทำงต่ำงเริม เมือ ่ รถบัสเข้ำสูถ ่ นนอันขรุขระ และต้องเลีย ้ วขึน ้ ลงข้ำมเขำ มันน่ำจะเริม ่ จำกใครสักคนอ้วกก่อน และแล้วก็กลำยเป็นภำวะติดต่อ รถบัสถูกอัดแน่น ด้ ว ยกลิ่ น คลุ้ ง และเสี ย งอ้ ว ก ผมทุ ก ข์ ท รมำน อย่ำงยิง่ กับกำรนัง่ อยูบ ่ นนัน ่ ะ ้ ไม่สำมำรถรอทีจ ลงไปสูดอำกำศบริสุทธิไ์ ด้อีกต่อไป จำกมะริด ผมปั่นจักรยำนขึน ้ เหนือสูย ่ ำ่ งกุง้ กำรปั่นจั กรยำนในเมียนมำท�ำให้รูส ้ ึกเหมือน ผมก�ำลังเดินทำงย้อนเวลำ แค่บำงครัง้ เท่ำนั้น ทีผ ่ มโชคดีได้ป่ นบนถนนลำดยำง ั แต่สว ่ นใหญ่ แล้วผมต้องปั่นไปบนถนนคลุกฝุ่น ที่ต้องใช้ท้ง ั เวลำและควำมพยำยำม อย่ำงไรก็ตำม ผมรัก มันมำกกว่ำกำรที่ต้องปั่นร่วมกับรถยนต์หรือ รถบรรทุก มันทั้งสงบและอำกำศก็สะอำดกว่ำ จนกระทั่ ง ผมปั่ นถึ ง ชำยฝั่ งที่ ผ มได้ ต้ั ง แคมป์ ข้ำงๆ อำรำมสงฆ์ และใช้เวลำช่วงเย็นกินอำหำร บนชำยหำด มองไปยังควำมงำมของพระอำทิตย์ จมดวง อย่ำงน้อยผมก็รูส ้ ึกว่ำควำมหลงใหล ในสิ่งเหล่ำนี้ท�ำให้ผมหำยเหนื่อยจำกเส้นทำง อันล�ำบำก หลั ง จำกปั่ นถึ ง ย่ ำ งกุ้ ง ผมจ� ำ เป็ น ต้ อ ง กลับสู่ประเทศไทยผ่ำนแม่สอด ซึ่งจำกตรงนั้น ผมสำมำรถปั่นอย่ำงช้ำๆ ลงสูก ่ รุงเทพฯ เพือ ่ นั่ง เครื่อ งบิ น ไปยั ง กำฐมำณฑุ ประเทศเนปำล นั่ นคื อจุดสิ้นสุดกำรเดิ นทำงของผมในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ แน่นอนว่ำยังมีอก ี หลำยอย่ำง ที่ ร อกำรค้ น พบและส� ำ รวจ แต่ ผ มยั ง รอได้ ในกำรมำเยื อ นครั้ง ต่ อ ไป สิ่ ง ที่ ร อไม่ ไ ด้ คื อ กำรทีผ ่ มจะถูกล้อมรอบด้วยขุนเขำของเนปำล
23
มิตรภาพ การเกิดใหม่บนเทือกเขาหิมาลัย ความงดงาม ลึกลับยิง ่ ใหญ่ยากอธิบาย
03
ผมถึ ง Nako ด้ ว ยร่ า งกายที่ แ ทบจะยื น ไม่ อ ยู่ แต่ ก็ รู้ สึ ก ทั้ ง ดี ใ จและประหลาดใจ ที่ ผ มเดิ น ทางมาถึ ง ระดั บ 3,600 เมตรเหนื อ น�้ า ทะเลด้ ว ยจั ก รยาน
ผมมักมีแรงดึงดูดอย่ำงแปลกประหลำด สูเ่ นปำลเสมอ แต่ผมไม่สำมำรถหำได้วำ ่ เหตุผล ที่ แท้ จ ริ ง คื อ อะไร มั น ไม่ น่ ำ จะใช่ เทื อ กเขำ หรือควำมงดงำมของทัศนียภำพ มันคือบำงสิง่ ที่แตกต่ำงออกไป บำงอย่ำงที่เปี่ ยมล้นไปด้วย พลังงำน บำงอย่ำงในเชิงจิตวิญญำณ ผมต้องกำร จะไต่เขำเพียงล�ำพัง พำตัวเองจมดิง่ สูธ ่ รรมชำติ และกำรก้ ำ วเดิ น ท่ ำ มกลำงเทื อ กเขำหิ ม ำลั ย อันยิ่งใหญ่ ซึ่งจำกเส้นทำงหลำกหลำยที่มีให้ เลือก ผมตัดสินใจเริม ่ ต้นจำกทะเลสำบ Gokyo ในเขตของเทือกเขำเอเวอเรสต์ จำกกำฐมำณฑุ ผมต้องต่อเครือ ่ งไปยัง ลักลำ ก่อนหน้ำนี้ผมแทบไม่รูเ้ ลยว่ำสนำมบิน ลักลำคือหนึง่ ในสนำมบินทีอ ่ น ั ตรำยทีส ่ ด ุ มันตัง้ อยู่ ร ะหว่ ำ งหุ บ เขำที่ ค วำมสู ง 2,860 เมตร เหนือน�ำทะเล สนำมบินแห่งนั้นมีแค่รน ั เวย์สน ั้ ๆ นอกจำกนี้ ลมกระโชกและเมฆก็ อ ำจปกคลุม สนำมบินไปทั่วบ้ำงบำงเวลำ ซึ่งนั่ นท�ำให้ มัน เต็มไปด้วยไฟลต์ดีเลย์ หรือแม้กระทั่งกำรปิด สนำมบิ น ชั่ ว ครำวไปเลยก็ มี ส่ ว นเที่ ย วบิ น ของผมนั้นก็ดีเลย์ไปถึง 6 ชัว ่ โมง แต่น่ันก็น่ำจะ นับเป็นเรือ ่ งโชคดีแล้ว เพรำะผมได้ยน ิ ว่ำบำงคน ต้องรอนำน 2-3 วันก็เลยทีเดียว ในลักลำ ผมได้รบ ั กำรต้อนรับด้วยควำมเขียวขจี ของต้ นไม้สูง และสำยลมหนำวอั นมี ชีวิตชีวำ เส้นทำงนัน ั ไต่เขำอืน ่ ๆ ก�ำลังไต่เขำ ้ มีนก อยูเ่ ช่นกัน ส่วนใหญ่แล้วพวกเขำจะมำพร้อมไกด์ และลูกหำบ ผมรูส ้ ก ึ ทึง่ ทีไ่ ด้เห็นลูกหำบเหล่ำนัน ้ แบกสัมภำระมหำศำล (ผมค้นพบภำยหลังว่ำ พวกเขำต้องแบกของหนักถึง 50 กิโลกรัมต่อคน) และบำงคนสวมแค่ ร องเท้ ำ แตะ ผมเรีย นรู ้ ภำยหลั งอี กเช่นกันจำกเวิรก ์ ช็อปกำรปรับตั ว ให้ชินกับสภำพแวดล้อมว่ำ พวกลูกหำบจะได้ ค่ ำ จ้ ำ งตำมจ� ำ นวนกิ โ ลกรัม ที่ พ วกเขำแบก และกำรซื้อรองเท้ำที่เหมำะสมในกำรปีนเขำ ก็แพงเกินไปส�ำหรับพวกเขำ ผมใช้ เ วลำห้ ำวั น กว่ ำ จะถึ งหมู่ บ้ ำ น
Gokyo ที่ควำมสูง 4,790 เมตรเหนือน�ำทะเล เรียนรูท ้ ี่จะฟังเสียงร่ำงกำยตัวเองมำกขึ้น สำมวันที่ Gokyo ผมไต่ขน ึ้ ไปยังจุดสูงสุด ที่ควำมสูง 5,357 เมตร ที่เรียกว่ำ Gokyo Ri เพือ ่ มองควำมอลังกำรของเอเวอเรสต์ทำ่ มกลำง เทือกเขำหิมำลัย ตำมเส้นทำงที่ผมไต่ลงจำกยอด ผมเห็น วิวทิวทัศน์ทง ี่ ดงำมสีฟำ ้ อมเขียวของทะเลสำบ Gokyo ทีม ่ เี ทือกเขำมหึมำเป็นฉำกหลัง ผมไม่เคย จินตนำกำรถึงควำมงำมเช่นนี้มำก่อนกระทั่ง มันจู่โจมผมแบบไม่ทันตั้งตัว จนท�ำให้ผมรูส ้ ึก ซำบซึ้งถึงที่ที่ผมยืนอยู่ ได้โอบกอดควำมงำม เหล่ำนี้ดว ้ ยสำยตำ น�ำตำของผมเริม ั ่ ไหล แต่มน กลับเป็นน�ำตำอันเปี่ ยมสุข ผมเริม ่ หวนระลึกถึง ทุกสิ่งและทุกคนที่ผมส�ำนึ กบุญคุณ ถึงทุกสิ่ง ที่ เ ล็ ก และใหญ่ ถึ ง ทุ ก กำรตั ด สิ น ใจ ถึ ง ทุ ก กำรเผชิ ญ หน้ ำ และถึ ง ทุ ก คนที่ ผ มได้ พ บเจอ แม้กระทัง่ ถึงทุกๆ เครำะห์กรรมทีเ่ กิดขึน ้ ในชีวต ิ ทีน ่ �ำผมมำสูท ่ น ี่ ี่ แต่ละเหตุกำรณ์ล้วนน�ำควำมเป็นไปได้สจ ู่ ด ุ นี้ จุดทีผ ่ มก�ำลังยืนอยู่ และซำบซึง้ ถึงควำมงดงำมของโลกเบือ ้ งหน้ำ ช่วงเวลำทีผ ่ ม รูส ้ ึกรำวกับตัวเองได้เกิดใหม่ กระทัง ่ ำนจักรยำนและปั่ น ่ ผมได้กลับสูอ ไปบนถนน ผ่ำนเนปำลรำวสำยลมเอื่อย หยุดที่ ลุมพินี สถำนที่ที่พระพุทธเจ้ำประสูติ และปั่น ต่ อ ไปยั ง Bhimdatta ซึ่ ง ผมจะข้ ำ มแดนสู่ อินเดีย ผมตัดสินใจไม่ป่ นผ่ ั ำนเมืองพืน ้ รำบ และ เดินทำงด้วยรถบัสสู่หริทวำรแทน จำกจุดเริม ่ ต้นแค่ 314 เมตรเหนือน�ำทะเล ทีห ่ ริทวำร ผมปั่นผ่ำนเดห์รำด์น และตั้งแคมป์ ก่อนถึงตีนเขำหิมำลัย ผมต้องกำรให้เวลำกับ ตั ว เองมำกขึ้ น ในกำรไต่ เนิ น เขำครั้ง นี้ ผมจะ ไม่ดถ ู ก ู กำรไต่เขำอีก แน่นอนว่ำผมแข็งแรงขึน ้ กว่ำเดิมมำก ร่ำงกำยของผมท�ำงำนสอดคล้อง กับจังหวะของจักรยำน รูส ้ ก ึ เป็นส่วนหนึง่ กับมัน และบททดสอบทีแ ่ ท้จริงก็กำ � ลังรออยูเ่ บือ ้ งหน้ำ
และแล้วผมก็ถงึ หมูบ ่ ำ้ น Pooh ทีค ่ วำมสูง 2,400 เมตร รูส ้ ก ึ พอใจกับควำมส�ำเร็จ แต่มน ั ก็ยงั มีควำมท้ำทำยอื่ นๆ รออยู่เบื้องหน้ ำ หมู่บ้ำน ถั ด ไปชื่ อ Nako เรีย กร้อ งให้ ผ มไต่ ขึ้ น ไปอี ก รำวๆ 1,200 เมตรเหนื อน� ำทะเล ที่ระยะทำง 35 กิโลเมตร มันเป็นเส้นทำงที่หนักที่สุดของ กำรเดินทำงนี้ มำกไปกว่ำนั้น เส้นทำงสู่ Spiti Valley ก็คอ ื ถนนทีถ ่ อ ื ว่ำอันตรำยทีส ่ ด ุ แห่งหนึ่ง ของโลก ผมถึ ง Nako ด้ วยร่ำงกำยที่แทบจะยืน ไม่อยู่ แต่ก็รูส ้ ึกทั้งดีใจและประหลำดใจที่ผม เดินทำงมำถึงระดับ 3,600 เมตรเหนือน�ำทะเล ด้วยจักรยำน Spiti Valley คื อ พื้ น รำบกลำงหุ บ เขำ ที่ทั้งหนำวและห่ำงไกล มันตั้ งอยู่ทำงตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐหิมำจัลประเทศ — Spiti แปลว่ำ ดินแดนกึ่งกลำง เนื่องมำจำกมันตั้งอยู่ ระหว่ำงอินเดียและทิเบต ผมใช้เวลำดีๆ ไปทั่ว Spiti Valley กับ Vincent และ Marlene ซึ่งผมยินดีอย่ำงยิ่งที่ ได้พบพวกเขำระหว่ำงทำง พวกเขำปั่นจักรยำน มำเป็ น ระยะเวลำนำนจำกฝรัง ่ เศสจนถึ ง ที่ นี่ ผมได้แบ่งปันควำมทรงจ�ำดีๆ และกำรผจญภัย อันยอดเยี่ยมใน Spiti รวมถึงกำรไต่เขำอย่ำง บ้ำคลั่งโดยไม่ได้คำดคิดมำก่อน นั่นคือฉำกที่ เต็มไปด้วยเหงือ ่ น�ำตำ และควำมบ้ำคลัง่ อันสุดกู่ บนควำมสูง 4,680 เมตรเหนือน�ำทะเล ตอนนี้ เมื่อมองย้อนกลั บ ไปยังควำมมหั ศจรรย์และ เสียงหัวเรำะเหล่ำนั้น ผมกลับพบว่ำได้เรียนรู ้ อะไรต่ ำงๆ มำกมำยจำกทั้งคู่เกี่ ยวกั บกำรใช้ วัน เวลำเพื่ อ เพลิ ด เพลิ น กั บ ณ ขณะที่ เรำอยู่ และเหนืออืน ่ ใด ก็คอ ื กำรเลือกทีจ ่ ะไม่พำตัวเอง ไปสู่ควำมเจ็บปวด เรำแยกทำงกั น ที่ อั ม ริต สำ พวกเขำจะ บินไปยังอัลมำตี้ และผมก�ำลังจะเดินทำงผ่ำน ปำกีสถำน เรำต่ำงสัญญำกันว่ำจะกลับมำพบ กันอีกครัง้ ที่คำซัคสถำน 24
ปากีสถานไม่สยองขวัญ ผู้คนแสนมหัศจรรย์ และการโดนจับกุมที่จีน
04
คงไม่ มี ใ ครรู้ ว่ า ผมได้ พ บเจอกั บ เคราะห์ ร้ า ย ผมพยายามไล่ ค วามคิ ด ด้ า นลบออกไป และเริ่ ม โฟกั ส กั บ ความงามเบื้ อ งหน้ า ISSUE 608
เมื่อผมบอกคนอื่ นว่ำผมก� ำลั งมุ่งตรงสู่ ปำกีสถำน พวกเขำมักมีทำ่ ทีกงั วล เพรำะเรือ ่ งเดียว ทีพ ่ วกเขำเคยได้ยน ิ เกีย ่ วกับปำกีสถำนนัน ่ ง ้ เป็นเรือ ชวนสยองขวัญ ปำกีสถำนและอินเดียมีพน ื้ ทีร่ ว่ มกันบำงส่วน ชื่อปัญจำบ และประวัติศำสตร์เบื้องหลังก็ช่ำง สะเทื อ นใจ มี ก ำรหลั่ ง เลื อ ดมำกมำยเกิ ด ขึ้ น ระหว่ำงชำวมุสลิมและฮินดู จนเกิดกำรแบ่งแยก ดินแดนเป็นปำกีสถำนเมื่อปี 1947 ผมปั่นข้ำม Wagah Border สูป ่ ำกีสถำน แต่ ก ำรเผชิ ญ หน้ ำ กั บ ปำกี ส ถำนจริง ๆ ก็ คื อ เมื่อผมได้ป่ ันไปบนถนนสู่ลำฮอร์ และเจอกับ ชำยคนหนึ่งซึง่ ขีม ่ อเตอร์ไซค์เทียบมำข้ำงๆ เขำ ไม่สำมำรถพูดภำษำอังกฤษได้ แต่ใช้กำรโบกมือ แทนค� ำ ทั ก ทำย ก่ อ นจะยื่ น มื อ มำจั บ มื อ ผม เหตุกำรณ์ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นขณะเรำเคลื่อนตัว ไปบนถนน เขำยึดมือผมไว้แน่น ผมตืน ่ ตระหนก ขณะที่ เขำท� ำ ท่ ำ ทำงบอกให้ ผ มผ่ อ นคลำย หลังจำกนั้นเขำก็ค่อยๆ เร่งมอเตอร์ไซค์ จนเรำ เคลื่ อ นตั ว ไปพร้อ มกั น เขำช่ ว ยลำกผมด้ ว ย แรงขั บ ของมอเตอร์ ไ ซค์ ร ำว 2 กิ โ ลเมตร ก่ อ นจะท� ำ ท่ ำ ทำงบอกว่ ำ เขำต้ อ งเลี้ ย วไป อีกทำงแล้ว และปล่อยมือ โบกมือลำ นั่ นคือ กำรต้อนรับทีย ่ อดเยีย ่ มเหลือเกินของปำกีสถำน เนื่องด้วยผมได้วีซ่ำแค่ 30 วัน ผมจึงรีบ จับรถบัสจำกลำฮอร์ไปอิสลำมำบัด และนั่งรถ อี ก คั น สู่ กิ ล กิ ต ผมอยำกใช้ เ วลำส่ ว นใหญ่ ท่ำมกลำงขุนเขำ จำกกิ ลกิ ต (ที่ควำมสูงรำว 1,500 เมตร) ผมปั่ นจักรยำนรำว 100 กิโลเมตร สู่คำริมำบัด (ที่ควำมสูง 2,400 เมตร) หยุดพัก ระหว่ำงทำงที่ Rakaposhi View Point ตัง้ แคมป์ บนดำดฟ้ำของโรงแรมในชื่อเดียวกัน ซึ่ง Abid หนึ่งในพนักงำนของโรงแรม พำผมไปเยีย ่ มชม หมู่ บ้ ำ น ที่ น่ั น เต็ ม ไปด้ ว ยผู้ ค นที่ ม ำร่ว มพิ ธี แต่ งงำน มันเป็นประสบกำรณ์ ที่น่ำทึ่ง ผมได้ กิ น อำหำรเยี่ ย มๆ เฝ้ ำ มองทุ ก คนเต้ น ร�ำ และ ร้องเพลง ท่ำเต้นทีผ ่ มไม่เคยเห็นมำก่อนในชีวต ิ
16 SEP 2019
ผมเลีย ้ วสู่ Karakoram Highway ก่อนถึง คำริมำบัดเล็กน้อย ถนนนัน ้ ช่ำงเหมำะแก่กำรปั่น เป็นกำรเปลี่ ยนที่ยอดเยี่ยมอี กครัง้ จำกถนน ลำดยำงสูถ ่ นนลูกรัง จนในทีส ่ ด ุ ผมก็เดินทำงถึง โรงแรม Hopar Inn ที่ต้ังแคมป์ในสวน หลั ง จำกผมล� ำ ลำผู้ ค นใน Hopar Inn ผมก็ ก ลั บ สู่ Karakoram Highway อี ก ครั้ง ปั่นอย่ำงเชื่องช้ำไต่เขำที่ไม่ได้ยำกล�ำบำกนัก ไม่มอ ี ะไรเปรียบเทียบได้เลยกับเส้นทำงคดเคีย ้ ว ของ Spiti Valley และแล้ ว ผมก็ ห ยุ ด พั ก ที่ โฮมสเตย์แห่งหนึ่ งใน Ghulkin — Rehman และครอบครัวต้อนรับผมอย่ำงดี พวกเขำมีสวน ทีเ่ ต็มไปด้วยแอปเปิลและแอปริคอต นีค ่ อ ื ฤดูกำล ของแอปริคอต มีแอปริคอตร่วงอยูเ่ ต็มหลังคำ Rehman และครอบครัวเสนอแอปริคอตให้ผม และนั่นคือแอปริคอตที่อร่อยที่สุด ผมจำกลำ Ghulkin มำด้วยกระเป๋ำทีเ่ ต็ม ไปด้ วยแอปริคอต เดิ นทำงต่ อไปยัง Passu จำกตรงนั้นผมต้องกลับสู่ Karakoram พุง ่ ตรง เข้ำหำ Shimshal Valley ซึง ่ เป็นจุดหมำยหนึ่ง ของกำรเดินทำงในปำกีสถำน ซึง่ อยูห ่ ำ ่ งออกไป 55 กิโลเมตร ถูกรูจ ้ ักในฐำนะถนนที่ยำกที่สุด ตั ด ผ่ ำ นพื้ น ที่ ข รุ ข ระและตั้ ง อยู่ บ นหน้ ำ ผำสู ง นั่นคือถนนเดียวทีเ่ ชือ ่ มต่อ Shimshal Village สูโ่ ลกภำยนอก ถนนเส้นนี้เพิง่ เปิดใช้ในปี 2003 ก่อนหน้ำนี้ Shimshal Village เข้ำถึงได้ทำงเดียว ด้ ว ยกำรไต่ เขำที่ ท้ั ง ยำกและอั น ตรำยด้ ว ย ระยะเวลำ 3 วัน ก่อนถึงจุดสูงสุด 5,000 เมตร กำรเปิดถนนเส้นนี้จึงท�ำให้ Shimshal Village เข้ำถึงโอกำสมำกมำย Shimshal Village อยูใ่ น Hunza Valley สถำนที่ที่สูงที่สุดในปำกีสถำน ที่ มี ค นผู้ ตั้ ง ถิ่ น ฐำน รวมถึ ง เป็ น บ้ ำ นเกิ ด ของ Samina Baig หญิงปำกีสถำนคนแรกที่พิชิต ยอดเขำเอเวอเรสต์ ผมปั่นจักรยำนไปตำมถนนของ Shimshal Valley ไต่ขน ึ้ ไปบนผำ และตระหนักได้วำ่ เส้นทำง มั น ขรุ ข ระเพี ย งใด หิ น กระจำยเต็ ม เส้ น ทำง
ถนนโอบกอดหน้ำผำเอำไว้ และมีแม่น�ำไหลอยู่ ใกล้ๆ รำวพยำยำมหลบเลี่ยงขอบฝำ พื้นรำบ ค่ อ นข้ ำ งแคบ ผมแทบมองไม่ เห็ น ท้ อ งฟ้ ำ จินตนำกำรผมของวุน ่ วำยขณะปั่น ถ้ำมีบำงสิง่ เกิดขึ้นกับผมในเวลำนั้น คงไม่มีใครรูว้ ่ำผมได้ พบเจอกับเครำะห์รำ้ ย ผมพยำยำมไล่ควำมคิด ด้ ำ นลบออกไป และเริ่ม โฟกั ส กั บ ควำมงำม เบือ ้ งหน้ำ ควำมกลัวเป็นแค่ภำพลวงตำทีก ่ ด ี กัน คุณออกจำกควำมงำม ตอนนี้ผมมองเห็นหิน ทีก ่ ระจัดกระจำยเป็นแพตเทิรน ์ ทีง่ ดงำม รำวกับ ผมก�ำลังอยูใ่ นอีกมิติ ในโพรงกระต่ำยของอลิซ ในดิ น แดนมหั ศ จรรย์ และมั น ก็ ค ล้ ำ ยกั บ ถู ก สะกดจิตเมื่อผมหยุดจักรยำน ฟังเสียงน�ำไหล กระทบหิน กำรเดิ น ทำงของผมในปำกี ส ถำนถึ ง จุดสิ้นสุด ผมข้ำมไปยังซินเจี ยง ประเทศจี น ผ่ำนทำง Khunjerab Pass ด้วยรถบัสจำก Sost เพรำะนั ก เดิ น ทำงไม่ ไ ด้ ร ับ อนุ ญ ำตให้ ข้ ำ มสู่ พรมแดนจีนด้วยพำหนะ 2 สัปดำห์ในจีนนัน ้ แสนยุง่ เหยิง ผมเดินทำง ถึ ง Tashkurgent และปั่นต่ อไปยัง Kashgar ผมต้องระมัดระวังมำกขึ้น เพรำะชำวต่ำงชำติ ไม่ได้รบ ั อนุญำตให้ตงั้ แคมป์ในซินเจียง เนือ ่ งด้วย สถำนกำรณ์ในซินเจียงนั้นตึงเครียด มีกองทัพ มำกมำยออกลำดตระเวนรอบๆ บริเวณ และแล้ว ผมก็ถูกจับที่กิโลเมตรที่ 80 ก่อนถึง Kashgar ต�ำรวจสัง่ ให้ผมเก็บของทุกอย่ำงและขึน ้ รถไปกับ เขำ แต่ก็ไม่มีอะไรน่ำกลัว เพรำะพวกเขำเพียง พำผมตรงไปยั ง Kashgar แถมยั ง เช็ ก อิ น โฮสเทลให้ ซิ น เจี ย งนั้ น ช่ ำ งงดงำมด้ ว ยภู มิ ทั ศ น์ อั น น่ ำ อั ศ จรรย์ ข องภู เขำและทะเลสำบ แต่ สถำนกำรณ์ที่นั่นก็ไม่อนุ ญำตผมให้ป่ ันอย่ำง เพลิ ดเพลิ นได้ เท่ ำที่ผมต้ องกำร มันมีบ ำงวัน ที่ ต� ำ รวจจะเฝ้ ำ ติ ด ตำมผมไปตลอดเส้ น ทำง รำวๆ 30 กิโลเมตร ต่อเมือ ่ ผมเข้ำใกล้คำซัคสถำน ผมจึงรูส ้ ึกผ่อนคลำยขึ้น 25
คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน อุซเบกิซสถาน การรวมกลุ่ม เพื่อนนักปั่นทั่วโลกบนเส้นทางที่ราวกับอยู่ในโลกอีกใบ
05 พวกเราต่ า งปั่ นอย่ า งตื่ น เต้ น ไปบนหิ ม ะที่ ป กคลุ ม มุ่ ง มั่ น ที่ จ ะค้ น พบการผจญภั ย เบื้ อ งหน้ า แม้ ก ระทั่ ง Canton (สุ นั ข ) ก็ ดู ตื่ น เต้ น ที่ ไ ด้ วิ่ ง อย่ า งปราดเปรี ย วไปพร้ อ มจั ก รยาน
ผ ม รู ้ สึ ก อิ ส ร ะ เ มื่ อ เข้ ำ สู่ ค ำ ซั ค ส ถ ำ น หลังกำรลอบตั้งแคมป์ในจีน 2 สัปดำห์ Vincent และ Marlene ก�ำลังเดินทำง มำเจอผมที่ Osh ตำมสัญญำ ผมไปถึงที่น่ัน ก่อนเวลำนัด จึงตัดสินใจไปอุซเบกิซสถำนก่อน พร้อม Claire เพื่อเจอเพื่อนชื่อ Teddy ผมพบ Claire กั บ Teddy ครัง้ แรกที่สิงคโปร์ ขณะ เตรียมตัวออกเดินทำง เรำทั้งสำมมักเจอกันที่ Tree in Lodge โฮสเทลทีท ่ ง้ั สำมำรถซ่อมจักรยำน และมอบควำมรูต ้ ำ่ งๆ ก่อนเดินทำงจำกสิงคโปร์ ในเดื อ นมกรำคม และแยกย้ ำ ยไปตำมทำง ของตน แต่ ก็ ให้ ค� ำ มั่ น สั ญ ญำว่ ำ จะกลั บ มำ พบกันอีกครัง้ ที่เอเชียกลำง ผมรูส ้ ก ึ ดีสด ุ ๆ ทีไ่ ด้เจอ Claire และ Teddy อี ก ครั้ง ร่ว มกั น ส� ำ รวจ Fergana Valley ใน อุซเบกิซสถำน ก่อนย้อนกลับสู่ Osh พร้อมกัน เพือ ่ พบกับ Vincent และ Marlene ช่วงเวลำนัน ้ มี นั ก ปั่ นมำกมำยเข้ ำ พั ก ในโฮสเทลชื่ อ Tes Guesthouse มีผค ู้ นจำกทัว ่ โลก Vincent และ Marlene จำกฝรัง่ เศส Alice และสุนัขของเธอ จำกฮ่องกงนำม Canton — Pablo จำกชิลี Teddy และ Claire จำกมำเลเซีย Arnold และ Yvon จำกเนเธอร์แลนด์ Edoardo จำกอิตำลี เรำต่ำง ใช้เวลำดีๆ ร่วมกันแบ่งปันเรือ ่ งรำว และตัดสินใจ ทีจ ่ ะเดินทำงสูท ่ ำจิกส ิ ถำนร่วมกัน ยกเว้น Arnold และ Yvon ผู้เคยไปที่น่ันมำแล้ว พวกเรำทั้ง 8 คน และอีก 1 สุนัข เดินทำง สู่ Sary Tash (จุดเชือ ่ มต่อส�ำคัญสูท ่ ำจิกิสถำน —ผู้แปล) มันดูเหนือจริงอย่ำงมำกที่ผมได้รว่ ม ปั่นกับกลุ่มจักรยำนกลุ่มใหญ่ จำก Sary Tash เรำสำมำรถมองเห็น เทือกเขำ Pamir นัน ั ไปของกำรเดินทำง ่ คือเวทีถด นั ก ปั่ นเดิ น ทำงมำไกลขนำดนี้ ก็ เพื่ อ จะได้ ร ับ ประสบกำรณ์บน Pamir Highway เผชิญหน้ำ ตรงๆ กับเทือกเขำ พวกเรำต่ำงปั่นอย่ำงตืน ่ เต้น ไปบนหิมะ แม้กระทัง่ Canton ก็ดต ู ื่นเต้น ถนน สูช ่ ำยแดนทำจิกิสถำนคือหนึ่งในกำรปั่ นไต่เขำ
ที่ ท้ ำ ทำยที่ สุ ด พวกเรำถึ ง ที่ น่ั น ในช่ ว งเดื อ น กันยำยน ฤดูหนำวเพิง่ มำถึง อุณหภูมล ิ ดระดับ ลง และเรำก�ำลังอยู่ที่ระดับควำมสูงมำกกว่ำ 3,000 เมตร พรมแดนทำจิกิสถำนอยูห ่ ่ำงออกไปจำก Kizil Art Pass ทีค ่ วำมสูง 4,336 เมตร ซึง่ ท�ำให้ มั น เป็ น จุ ด ข้ ำ มแดนที่ พิ เ ศษที่ สุ ด ส� ำ หรับ ผม หลั ง จำกได้ ร บ ั แสตมป์ เรำเข้ ำ สู่ ท ำจิ กิ ส ถำน พร้อมๆ วิวทิวทัศน์อันงดงำม หิมะและน�ำแข็ง และทะเลสำบปกคลุมไปทัว ่ อำณำเขต คล้ำยเรำ ไม่ ไ ด้ อ ยู่ บ นโลกนี้ อี ก ต่ อ ไป และเรำทั้ ง หมด ต่ ำ งก็ ดี ใจที่ ม ำถึ ง ทำจิ กิ ส ถำนเสี ย ที ห ลั ง ผ่ ำ น Pamir Highway อันเลืองชื่อ เช้ ำ วั น ถั ด มำเรำมุ่ ง หน้ ำสู่ ท ะเลสำบ Karakul ตั้งแคมป์ที่น่ัน นั่งล้อมวงรอบกองไฟ รูส ้ ึกซำบซึ้งต่อเพื่อนๆ ทุกคน ดำวดำรดำษ แต่ นี่ จะเป็นคืนสุดท้ำยของ Teddy และ Claire พรุง่ นีพ ้ วกเขำจะเริม ่ ำงหลวงสำย M41 ่ เดินทำงสูท ขณะที่ Vincent, Marlene, Alice, Canton และ ผมจะมุ่งหน้ำไปยัง Bartang Valley เรำแยกทำงกัน ณ จุดนั้น ย้อนกลับมำสู่ Pamir Highway และมุ่งหน้ำไปยัง Bartang Valley กลั บ สู่ ถ นนลู ก รังอี ก ครัง้ หลั งจำกปั่น ไปบนถนนลำดยำงสั้น ๆ ใกล้ Karakul Lake ส่วนเจ้ำ Canton ดูมค ี วำมสุขอย่ำงมำกทีไ่ ด้วงิ่ ไปพร้อ มกั บ เรำ มั น ท� ำ ให้ ผ มทึ่ งที่ ไ ด้ เห็ น สุ นั ข ตัวหนึง่ วิง่ ไปด้วยขำสัน ั นะ ้ ๆ พลังงำนเท่ำไหร่กน ที่มันมีอยู่ในตัว? มันวิ่งตลอดเวลำบนเส้นทำง สู่ Bartang Valley ทุกคนต่ำงยิ้มและรูส ้ ึกถูก ปลุกใจด้วยพลังของเจ้ำ Canton มันช่ำงแสน มีอิสระ ดูเหมือนสุนัขที่มีควำมสุขที่สุดในโลก ท่องไปทั่วโลกพร้อม Alice เรำมักบอก Alice ว่ำเจ้ำ Canton นั้ นเป็นสุนัขที่โชคดีที่สุด แต่ Alice มักตอบกลับว่ำ เธอต่ำงหำกที่โชคดีที่มี มันอยูข ่ ำ ้ งๆ ควำมรักไร้เงือ ่ นไงระหว่ำงพวกเขำ ทั้งสองแพร่กระจำยสู่ทุกคน Bartang Valley คือเส้นทำงที่น่ำดึงดูด
ทีส ่ ด ุ เส้นหนึง่ ในเขต Pamirs แม้วำ่ มันจะห่ำงจำก Karakul Lake ถึง 300 กิโลเมตร (บนควำมสูง 3,900 เมตร) มันถูกรูจ ้ ก ั ในนำมของเส้นทำงทีย ่ ำก ที่ สุ ด ด้ ว ยถนนแย่ ๆ และมี แ อ่ ง น� ำ มำกมำย ให้ต้องข้ำม เมื่อปั่นออกมำรำว 130 กิโลเมตร สูท ่ รี่ ำบสูง Murghab มันแทบไม่มส ี ญ ั ญำณของ ควำมศิวไิ ลซ์ใดเลย จนท�ำให้พวกเรำรูส ้ ก ึ ว่ำเรำ ก�ำลังอยู่ท่ำมกลำงแผ่นดินอันกว้ำงใหญ่เพียง ล�ำพัง แต่ทก ุ กำรตัง ่ งสุขสันต์ ้ แคมป์ของเรำก็ชำ ภำยใต้ดวงดำว ท่ำมกลำงขุนเขำ และใจกลำง สถำนที่อันไร้ชื่อเรียก มันคืออำรมณ์สุดพิเศษ มันท�ำให้ควำมเจ็บปวดทุเลำ เรำใช้เวลำอย่ำงเต็มทีใ่ น Bartang Valley เพลิดเพลินและโอบกอดทุกช่วงขณะทีผ ่ ำ่ นเข้ำมำ พบผู้คนน่ำเหลือเชื่อมำกมำยในหมู่บ้ำน ควำมเอื้อเฟื้ อและควำมใจดีของพวกเขำท�ำให้ หั ว ใจอบอุ่ น พวกเขำดู แ ลเรำประหนึ่ ง คน ในครอบครัว แลกเปลี่ยนเรือ ่ งรำวระหว่ำงกัน แม้มก ี �ำแพงด้ำนภำษำขวำงกั้น ผูค ้ นต่ำงสนใจ ว่ำเรำมำจำกไหนมำกพอๆ กับควำมสนใจของ พวกเรำต่อชีวิตของพวกเขำ ในที่ สุ ด เรำก็ ต้ อ งล� ำ ลำ Vincent และ Marlene เพรำะพวกเขำจ�ำเป็นต้องรีบกลับไป ยั ง ฝรัง ่ เศส ช่ ำ งน่ ำ มหั ศ จรรย์ เหลื อ เกิ น ที่ ผ ม ได้พบผูค ้ นมำกมำยทีส ่ ด ุ ท้ำยกลำยเป็นเพือ ่ นกัน ตลอดกำล หลังจำกพักผ่อนที่ Khorog สองสำมวัน ผมและ Alice ก็ ไ ด้ พ บคนอี ก คนที่ สุ ด แสน มหัศจรรย์จำกอังกฤษชื่อ Nathan ผู้ที่เรำใช้ เวลำร่วมกัน ปั่นไปสู่ส่วนอื่นๆ ในทำจิกิสถำน ก่อนเข้ำสูอ ่ ซ ุ เบกิสถำน ในช่วงเวลำนั้นเรำยังชีพ ด้วยแพนเค้กในทุกเช้ำ และก็บำงวันที่ต้องกิน แพนเค้ ก เป็ น มื้ อ เที่ ย งด้ ว ย เนื่ อ งจำกมั น ง่ ำ ย ที่จะหำไข่ แป้ง และนมจำกร้ำนค้ำในหมู่บ้ำน นัน ่ คือช่วงเวลำทีเ่ รำเรียกมันว่ำ pancakes day
26
่ การเดินทางท�าให้เห็น สู่จุดสิน ้ สุดของจุดเริม ่ ต้น เมือ ความเป็นไปได้ และท�าให้ตระหนักถึงโลกนี้ท่เี ปี่ยมด้วยความรัก
06
ผมรู้ สึ ก เพลิ ด เพลิ น กั บ ทุ ก ขณะของการปั่ น รถยนต์ บี บ แตรเมื่ อ ขั บ ผ่ า นผม บางที ค นขั บ อาจคิ ด ว่ า ผมมั น บ้ า ที่ อ อกมาปั่ นจั ก รยานในสภาพอากาศเช่ น นี้ ISSUE 608
หลังจำกใช้เวลำไม่กี่วันใน Dushanbe ผมและ Alice ก็เพิ่งตระหนักว่ำวีซ่ำของเรำใน ทำจิกิสถำนก�ำลังใกล้หมด ดังนั้น เรำสำมคน จึ ง ต้ อ งรีบ ปั่ นไปยั ง ชำยแดนอุ ซ เบกิ ซ สถำน นีค ่ อ ื ครัง้ ทีส ่ องทีผ ่ มเดินทำงเข้ำสูอ ่ ซ ุ เบกิซสถำน เรำปั่ นสู่ Samarkand โดยผ่ ำ นเมื อ ง Boysun ก่ อ นเลี้ ย วขวำเข้ ำ สู่ เ มื อ ง G’uzor และปั่นผ่ำนพื้นที่โล่งที่มีผักขึ้นเพียงเล็กน้อย Samarkand เป็นเมืองทีแ ่ ตกต่ำงออกไป อย่ำงสิ้นเชิงเมื่อเปรียบเทียบกับเส้นทำงที่เรำ ปั่นผ่ำนมำ เมืองแห่งนีง ้ ดงำมด้วยแสงไฟทีฉ ่ ำย ขับเน้ นสถำปัตยกรรมของเมืองที่เก่ ำแก่ ที่สุด แห่ งหนึ่ งของเอเชียกลำงด้ วยประวัติศำสตร์ อันรุง่ เรือง จำกสถำนที่ต้ังบนเส้นทำงสำยไหม มีแลนด์มำร์กนำมจัตรุ ส ั เรจิสถำน ทีป ่ ระกอบด้วย สำมอนุสรณ์สถำนส�ำคัญทำงศำสนำ สิง่ ปลูกสร้ำง เหล่ ำนี้ ตกแต่ งด้ วยศิลปะงดงำมยำกอธิบำย ยำมค�ำ เรจิสถำนจะถูกปลุกให้ตื่นด้วยแสงไฟ อันตระกำรตำภำยใต้ผืนฟ้ำสีด�ำ แผนแรกของผมต่อจำกนี้ คือกำรมุง่ หน้ำ ไปยั ง อิ ห ร่ำ น ผ่ ำ นเติ ร ์ก เมนิ ส ถำนพร้อ มกั บ Alice เรำได้ยน ื่ ขอวีซำ่ ส�ำหรับเข้ำสูเ่ ติรก ์ เมนิสถำน เรียบร้อยแล้วที่ Samarkand แต่มแ ี ค่คำ � ขอของ Alice เท่ ำ นั้ น ที่ ผ่ ำ น ควำมโชคร้ำ ยของผม กับ Nathan นั่นพอๆ กัน เพรำะคนอังกฤษเอง ก็ไม่สำมำรถเข้ำสูอ ่ ห ิ ร่ำนได้ ผมเลยต้องโบกมือ ลำ Alice และเจ้ำ Canton ตัดสินใจขึ้นรถไฟ ไปยังคำซัคสถำน กระโจนลงที่ Mangistau ซึ่งเป็นสถำนีที่ใกล้ท่ำเรือมำกที่สุด เรำถึงท่ำเรือ Kuryk หลังจำกผ่ำนวันอัน ยำกล�ำบำกในกำรปั่นต้ำนสำยลมแรง ทีซ ่ งึ่ เรำต้อง นอนพักเพือ ่ รอให้เรือเดินทำงมำถึง มันไม่มอ ี ะไร ยืนยันได้วำ่ เรำต้องรอยำวนำนเท่ำใด มีเรือ ่ งเล่ำ ว่ำ มีคนทีต ่ ้องรอนำนถึง 1-2 สัปดำห์ทเี ดียว แต่ เรำก็ยังโชคดีที่เรือเฟอรีมำถึงหลังจำก 3 คืน ของกำรเฝ้ำรอ และก็โชคดีเหลือเกินทีเ่ รือใช้เวลำ แค่หนึง ่ วันก็เดินทำงถึงท่ำเรือ Alat จำกตรงนั้น
16 SEP 2019
ผมกับ Nathan ร่วมทำงเข้ำสู่บำกู เรำใช้ เวลำ 2 สั ป ดำห์ ในบำกู ผมและ Nathan ตัดสินใจแยกทำงกันเพือ ่ เข้ำสูด ่ ่ำนต่อ ไปสูท ่ บิลิซิ ประเทศจอร์เจีย แม้ว่ำกำรร่วมทำง กับคนอื่นมันช่ำงดีเหลือเกิน แต่ผมก็เริม ่ คิดถึง กำรเดินทำงเพียงล�ำพัง และกำรเดินทำงลึกสู่ ภำยในของตัวเองอีกครัง้ แล้ว ในช่วงกลำงฤดูหนำว กลำงวันดูเหมือนจะ สัน ลง และกลำงคื นก็หนำวขึน ้ เรือ ่ ยๆ หลังจำกผ่ำน ้ เมือง Ismailli (เมืองหนึ่งของอำเซอร์ไบจำน —ผู้แปล) ผมต้องไต่ขึ้นเขำอีกครัง้ ขณะที่หิมะ เริ่ม ตกหนั ก ขึ้ น ควำมหนำวนั้ น แลกมำด้ ว ย ควำมงดงำมของหิมะที่รว ่ งหล่ นจำกท้องฟ้ำ รถยนต์ บี บ แตรเมื่ อ ขั บ ผ่ ำ นผม บำงที ค นขั บ อำจคิ ด ว่ ำ ผมมั น บ้ ำ ที่ อ อกมำปั่ นจั ก รยำน ในสภำพอำกำศเช่นนี้ กระทัง่ ต้องปั่นลงเขำ ผม จึงตระหนักว่ำท�ำไมผู้คนมำกมำยจึงพยำยำม หลีกเลีย ่ งกำรปั่นจักรยำนภำยใต้หม ิ ะ ลมหนำว กัดใบหน้ำของผม ทัว ทั ง ร่ ำ งปวดแปลบทรมำน ่ ้ ผมเจ็บปวด แขนทั้งสองข้ำงชำและสั่นสะท้ำน กระทัง่ ผมถึงด้ำนล่ำง หิมะก็หยุดตก และอุณหภูมิ ก็อน ุ่ ขึน ้ เล็กน้อย หิมะและเกล็ดน�ำแข็งทีป ่ กคลุม ทั่วร่ำงเริม ่ ละลำย แต่ผมกลับหนำวและเปียก ไปทัว ่ หลังจำกข้ำมถึงจอร์เจียแล้วนัน ่ ละ ผมถึง รู ส ้ ึกถึ งควำมแตกต่ำง มีโบสถ์ อยู่เต็ มไปหมด ทัว ่ ทุกที่ แม้กระทัง่ บนยอดเขำ ผมปั่นไปและมอง ควำมงำมของเทือกเขำคอเคซัสทีถ ่ ก ู ปกคลุมด้วย หิมะเหนือเส้นขอบฟ้ำไปด้วย ส�ำหรับผม เทือกเขำ มักมีบำงอย่ำงที่ทรงพลังและดึงดูดให้เข้ำหำ พลั ง งำนสุ ด แข็ ง แกร่ง ที่ ท� ำ ให้ คุ ณ รู ้สึ ก ถู ก กด ให้ตด ิ พืน ้ และตัวเล็กลง และแน่นอนมันยังท�ำให้ คุณสงสัยว่ำจะมหัศจรรย์แค่ไหนกันหำกได้ไป ยืนอยู่บนยอดเขำแห่งนั้น ผมไม่ เ คยวำงแผนว่ ำ จะอยู่ ในจอร์เจี ย อย่ ำ งยำวนำนมำก่ อ น แต่ มั น ก็ เข้ ำเดื อ นที่ 8 ไปแล้วทีผ ่ มปักหลักอยูท ่ น ี่ ี่ แผนแรกของผมคือ
กำรจบกำรเดินทำงที่ตุรกีในเดือนกรกฎำคม แต่ผมกลับรูส ้ ก ึ ว่ำผมไม่พร้อมทีจ ่ ะจบกำรเดินทำง ครัง้ นี้ และกำรอยูท ่ น ี่ ี่กไ็ ม่จำ � เป็นต้องกังวลเรือ ่ ง วีซำ่ (ผมได้รบ ั อนุญำตให้อยูแ ่ ละท�ำงำนในจอร์เจีย อย่ ำ งถู ก กฎหมำยนำนถึ ง 1 ปี ) จอร์เจี ย เป็ น ประเทศที่ ม หั ศ จรรย์ ดั ง นั้ น ผมจึ ง ตั ด สิ น ใจ มองหำงำนในทบิลซ ิ ิ เพือ ่ เก็บเงิน ก่อนจะเริม ่ ต้น กำรเดินทำงอีกครัง้ ใช้ชวี ต ิ ในประเทศอันแปลกหน้ำ ค้นหำชีวต ิ แบบคนท้องถิน ี ต ิ อยูท ่ ท ี่ บิลซ ิ ิ ่ กำรใช้ชว เป็ น กำรค้ น พบที่ แ ตกต่ ำ งออกไป ทั้ ง กำรได้ เผชิ ญ หน้ ำ กั บ ฤดู ก ำลที่ เปลี่ ย นผ่ ำ นครั้ง แรก และกำรถูกกลืนกลำยด้วยวัฒนธรรมและวิถช ี วี ต ิ แบบท้องถิน กำรพยำยำมเรี ย นรู ภ ้ ำษำจอร์ เ จี ย ้ น ่ และผมนั้ น โชคดี เหลื อ เกิ น ที่ ไ ด้ พ บผู้ ค นดี ๆ มำกมำยในที่แห่งนี้ มองย้ อ นกลั บ ไปสู่ ก ำรเดิ น ทำงตั้ ง แต่ สิงคโปร์ ผมคงไม่สำมำรถเดิ นทำงส�ำเร็จได้ เพียงล�ำพัง ทุกเหตุกำรณ์ล้วนมีผู้คนช่วยเหลือ และท�ำให้ผมเป็นคนอีกคนอย่ำงทุกวันนี้ ผมรูส ้ ก ึ ขอบคุณและรูส ้ ึกหลงรักกำรออกเดินทำงของ ตัวเองสู่โลกกว้ำง ผมเริม ่ ต้นปั่นจักรยำนไม่ใช่ เพรำะผมรัก กำรปั่ น แต่ มั น คื อ วิ ถี ท ำงของ กำรเดินทำงส�ำหรับผม มันเป็นทัง้ ควำมท้ำทำย และกำรพยำยำมเพือ ่ จะประสบควำมส�ำเร็จ ไม่วำ่ กั บอะไรก็ ตำมที่ผมตั้ งไว้ในใจ ผมได้ เดิ นทำง ออกมำแล้ว ด้วยอำรมณ์ของกำรไร้ควำมกลัว ใดๆ ถึงสิง่ ทีผ ่ มไม่รจ ู้ ก ั ถึงแรงผลักดันทีผ ่ มไม่เคย รูว้ ำ ่ ผมเคยมีมันมำก่อนในตัว นั่นท�ำให้ผมรูส ้ ึก ได้วำ ่ ควำมเป็นไปได้ไร้ทส ี่ น ิ้ สุด นี่คือควำมรูส ้ ก ึ อั นเปี่ ยมไปด้ วยพลั งที่ผมต้ องกำรจะแบ่งปัน มันสู่ทุกคนที่ก�ำลังมองหำมันอยู่ สิ่งหนึ่งที่ผม ได้เรียนรูอ ้ ย่ำงมำกในกำรเดินทำงนีค ้ อ ื โลกใบนี้ เต็มไปด้วยควำมรัก ผมไม่สำมำรถมำถึงทีน ่ ี่ได้ โดยปรำศจำกควำมเอื้อเฟื้ อและควำมใจดีของ มนุษยชำติ และผมต้ อ งกำรจะส่ ง ต่ อ ควำมงดงำม ในจิตใจนั้นต่อไปเช่นกัน 27
เรือ ่ ง : ตินกานต์
BREATHE IN เรามีหน้าที่รับผิดชอบต่อ ความสัมพันธ์ของเราเอง CONTRIBUTOR
ตินกานต์ ผูเ้ ขียน ‘ดอก รัก’ หนังสือรวมเรือ ่ งสัน ้ ้ ญิง ทีว่ า่ ด้วยผูห ความรัก และ ดอกไม้ ส�านักพิมพ์ a book
ฉันเพิ่ งได้ดูวิดีโอคลิปสั้นๆ ของ โอปราห์ วินฟรีย์ ที่เธอพู ดถึงการรับผิดชอบต่อชีวิต โดยเล่าผ่านเรื่องราวของเธอเอง ในวัย 6 ปี โอปราห์ถูกจับแยกจากยายที่เลี้ยงเธอมาตั้งแต่เด็ก เธอต้องไปสู่ท่ท ี างใหม่ท่ีไม่คุ้นเคย เหงาและแปลกแยก การเปลี่ยนผ่านในยามนั้น ท�าให้เธอเรียนรู้บทเรียนที่เธอบอกว่าช่างทรงพลัง “เรามีหน้าที่รับผิดชอบต่อชีวิตของเราเอง” “ฉันถ่องแท้กับตนเองว่าหากจะมีอะไร เกิดขึ้นในชีวิตข้างหน้า ฉันจ�าเป็นต้องรับผิดชอบในสิ่งที่ท�าให้มันเกิดขึ้น “ถ้าเอาแต่รอให้ใครสักคนยื่นมือเข้ามาช่วยหรือ เยียวยา เราก�าลังใช้เวลาไปกับความสูญเปล่า เพราะ มีเพี ยงเราเองเท่านั้นที่มีอ�านาจในการรับผิดชอบต่อ สิง ่ ทีเ่ กิด และพาตัวเองเดินหน้าต่อไป ยิง ่ เราตระหนักรู้ เร็วเท่าไหร่ เรายิ่งไปต่อได้เร็วเท่านั้น” ค�าว่า ‘ชีวิต’ นั้นย่อมหมายถึง ‘ความสัมพันธ์’ ใดๆ ด้วย ฉันเคยรับรูเ้ รือ ่ งราวของผูห ้ ญิงคนหนึ่ง เป็น ความสัมพันธ์ทพ ี่ งั ไม่เป็นท่า ความล้มเหลวของชีวต ิ รัก ผู้ ช ายรายแล้ ว รายเล่ า ที่ เธอคบหาด้ ว ยเป็ น ประเภทหนี ปั ญ หา ไม่ ก็ เป็ น คนแบบที่ เธอบอกว่ า ไม่ได้เรือ ่ ง ในยามชีวิตของคนใดคนหนึ่งหรือชีวิตคู่ เผชิญกับสถานการณ์เลวร้าย เธอคนเดียวทีต ่ ้องเป็น ฝ่ า ยพั บ แขนเสื้ อ แล้ ว ตะลุ ย ฝุ่ น เพี ย งล� า พั ง เธอบ่ น เธอตัดพ้อ เธอต่อว่าเขา เธออยากได้คนรักทีเ่ ป็นผูน ้ �า สามารถให้คา � ปรึกษา อยูข ่ า ้ งเธอ ให้กา � ลังใจเธอ ต่อสู้ ไปด้วยกัน แต่ไม่มีใครเลยที่เป็นคนนั้นให้เธอได้ ครัง้ หนึ่ง เธอเจอปัญหาใหญ่ในหน้าทีก ่ ารงาน เธอโทร.หาชายทีก ่ า� ลังคบกันอยูใ่ นตอนนัน ้ เธอต้องการ เขา แต่เขากลับหายหน้าไปจากเธอ แล้วกลับมาเจอกัน อีกครัง้ เมื่อความตึงเครียดคลี่คลาย เธอไม่ได้ชอบ ผู้ชายแบบนี้ แต่ก็ยังเลือกมีเขาไว้ในชีวิต เรือ ่ งเกิดเช่นนี้ซา � แล้วซ�าเล่า จนถึงวันทีเ่ ธอทน ไม่ ไหว ทะเลาะกั บ เขาใหญ่ โ ต เธอสบถใส่ ห น้ า ว่ า เขาเป็นไอ้ขข ี้ ลาด เขาหายหน้าไปจากเธออีกครัง้ และ ไม่กลับมาอีกเลย หลังจากนั้นเธอมีคนให้คบหาเรือ ่ ยมา แต่ก็แค่ คนใหม่ในแพตเทิรน ์ เก่า ผูช ้ ายบางคนอยูข ่ า้ งเธอก็จริง แต่เรือ ่ งทีเ่ ธอว่าใหญ่โต เขากลับมองว่าเล็กจ้อยไร้สาระ ชายอี ก คนหลั ง จากนั้ น ก็ เ อาแต่ ห าเรื่อ งมาใส่ ตั ว มิหน�าซ�ายังพาเธอติดร่างแหไปด้วย แล้วใครล่ะทีต ่ อ ้ ง เข้าไปสะสาง เธอเรียกเขาว่าไอ้คนไม่เอาไหน คนแล้ ว คนเล่ า เข้ า มาเป็ น คนรัก แต่ ไ ม่ เ คยมี ความสัมพันธ์ครัง้ ไหนยืนยาวและมีคุณภาพพอที่จะ สานต่อไปถึงชีวต ิ คู่ เธอคร�าครวญ “นี่มน ั อะไรกันวะ!”
เธอกล่ า วโทษผู้ ช ายทุ ก คนที่ ผ่ า นเข้ า มาในชี วิ ต “แม่งก็ห่วยเหมือนกันหมดทั้งโลก!” ฉันเชือ ่ ว่ารูปแบบความสัมพันธ์ทเี่ ป็นแพตเทิรน ์ ซ�าแค่ เปลี่ ยนคนแสดงไม่ใช่ได้ มาเพราะโชคไม่ช่วย หรืออยูใ่ นช่วงดวงตก ความสัมพันธ์ทเี่ รามีสะท้อนตัว เราเอง การตอบสนองระหว่างกันคือรูปธรรมให้เรา ประเมินตัวตนภายใน ดร. บาร์ตน ั โกลด์สมิธ เป็นนักจิตวิทยาทีป ่ รึกษา ด้านความสัมพันธ์ เขาให้แง่มม ุ ต่อเรือ ่ งนี้ไว้ในเว็บไซต์ Psychologytoday.com ว่าเป็นเรือ ่ งง่ายที่เราจะ ต�าหนิอีกฝ่าย โยนให้เป็นความผิดของอีกคน แต่เป็น ความผิ ด ของคนใดคนหนึ่ ง ทั้ ง หมดจริ ง ๆ หรื อ “หากคุณไม่มค ี วามสุขกับความสัมพันธ์ สิง่ ส�าคัญคือ ต้ อ งตั้ ง ค� า ถามว่ า คุ ณ มี ส่ ว นที่ ท� า ให้ เกิ ด ความรู ้สึ ก อึดอัดนี้ได้อย่างไร ง่ายอยู่แล้วที่จะกล่าวโทษคนอื่น เมือ ่ ไม่สบายใจ แต่เพือ ่ ความแน่ใจ โปรดหันมองทีค ่ ณ ุ ว่ามีสว ่ นร่วมอย่างไรกับสิง่ ทีท ่ า � ให้คณ ุ ไม่พอใจนีบ ้ า ้ ง” ผู้หญิงเจ้าของเรือ ่ งนี้เป็นคนเก่ง เธอไม่ใช่คน ประเภทเป็นแม่บา ้ นอยูก ่ ับบ้าน หรือท�าตามค�าสัง่ ใคร ตรงกันข้าม เธอออกจะสบายใจกับการได้ออกค�าสั่ง ด้ ว ยซ� า ชี วิ ต เป็ น ของเธอหากควบคุ ม สถานการณ์ ทุ ก อย่ า งได้ เมื่ อ ใดก็ ต ามที่ ค นรอบข้ า งเจอปั ญ หา พวกเขาจะเห็นเธอเป็นคนแรกที่ยื่นมือเข้าไป แต่เธอก็มค ี นรักทีเ่ ดินเคียงข้างเธอ ในบางครัง้ เธอก็อยากให้เขาเดินน�าแล้วเธอเป็นคนตาม แต่เมือ ่ เขา น� าในแบบที่เธอไม่ชอบใจเท่าไหร่ เธอจะหงุดหงิด แล้วสลับขึน ้ มาเป็นผูน ้ า � เสียเอง หรือเมือ ่ ใดก็ตามทีเ่ ธอ ไม่เห็นด้วยกับการแก้ปญ ั หาของคนรัก เธอจะโต้ตอบ ด้วยมุมมองทีส ่ ะท้อนความเหนือกว่าออกมาโดยอัตโนมัติ ตัดสินว่าสิง่ ทีเ่ ขาเสนอนัน ่ ง ไอ้ขข ี้ ลาดของเธอ ้ ไม่ได้เรือ จึงต้องขอหนีหน้าไปก่อน รอพายุสงบแล้วค่อยกลับ มาใหม่ เธอปรารถนาค�าปลอบประโลมจากคนข้างๆ แต่ก็มีชุดค�าพูดที่เธอคาดหวังจะได้ฟัง ซึ่งความจริง ของโลกก็คือไม่มใี ครจะไปอ่านใจใครได้ แล้วจะโทษ
ไอ้ ขี้ ข ลาดหรือ ไอ้ ค นไม่ เอาไหนของเธอฝ่ า ยเดี ย ว ได้อย่างไรกัน อาจเพราะเธอมี ค วามเป็ น ผู้ น� า อยู่ เ ต็ ม ตั ว หรือเปล่ า เธอจึ งดึ งดูดคนรักที่พร้อมจะเป็นผู้ตาม เข้ามาเสมอ และแม้เธอจะมองหาคนทีส ่ ามารถพึง่ พา ได้ ม าทั้ ง ชี วิ ต แต่ ลึ ก ๆ แล้ ว ความยอมรับ นั บ ถื อ ใน ตนเองของเธอกลับฉายสว่างขึ้นเมื่อเธอได้เป็นฝ่าย แก้ไขปัญหาโดยล�าพังและอย่างเด็ดเดีย ่ ว หากเมือ ่ ไหร่ ต้ อ งเป็ น ผู้ ต ามแล้ ว เธอคงยื ด อกไม่ ไ ด้ อ ย่ า งที่ เ คย ความปรารถนาในส่ ว นลึ ก กั บ การแสดงออกในขั้ว ตรงข้ามจึงกลายเป็นความสัมพันธ์ขาดๆ เกินๆ “เรามี ส่ ว นในการรับ ผิ ด ชอบความสั ม พั น ธ์ ของเราร้อยเปอร์เซ็นต์” ดร. บาร์ตัน เอ่ยไม่ต่างจาก ที่โอปราห์ว่าไว้ ในความสัมพันธ์ เราสลับบทบาทกัน อยู่ตลอด เป็นทัง ้ ผู้น�า ผู้ตาม และผู้เคียงข้าง เราล้วน ท� า ผิ ด พลาดได้ เ สมอ เมื่ อ ความสั ม พั น ธ์ ล้ ม เหลว การโบ้ยว่าเป็นเพราะคนใดคนหนึง่ จึงไม่คอ ่ ยยุตธ ิ รรม เท่าไหร่นก ั “โปรดหันมองทีค ่ ณ ุ เองด้วยว่าคุณมีสว่ นร่วม อย่างไรกับสิง ่ ที่ท�าให้คุณไม่พอใจนี้บ้าง” หรือต่อให้ตน ้ เรือ ่ งเป็นเขา ไม่มเี ราร่วมด้วยจริงๆ อย่างน้อยก็ควรต้องถามตัวเองสักหน่อยว่า ก็เราเอง ไม่ใช่หรือที่เปิดรับคนคนนี้ เข้ามา เราเองไม่ใช่หรือ ที่ ยั ง เลื อ กอยู่ ในความสั ม พั น ธ์ เช่ น นี้ และต่ อ ไปคื อ หน้าที่ของเราแล้ว หน้าที่ในการรับผิดต่อชอบชีวิต ดร. บาร์ตั น บอกอี ก ว่ า หากเรายอมรับ ใน ข้อบกพร่องและความผิดพลาดที่เราก็มีส่วน เราจะ มีพื้นที่ให้ ได้ เติ บโตขึ้น ความรับผิดชอบจะกระตุ้น และยกระดับความนับถือตนเอง ขณะทีโ่ อปราห์บอกว่า สิง่ ทีเ่ ราพึงท�า คือยอมรับ ว่าสิ่งนั้นได้เกิดขึ้นแล้ว ให้อภัยอดีต (ให้อภัยทั้งเขา และเรา) แสดงความรับ ผิ ด ชอบ (แก้ ไขที่ ตั ว เรา) แล้วเดินหน้าต่อ (ไม่สร้างความผิดพลาดซ�าเดิมอีก) ไม่มเี พศไหนทีห ่ ว ่ ยเหมือนกันหมดทัง้ โลกหรอก มีแต่คนที่เราอ้าแขนรับมาสู่ชีวิตเพื่อสะท้อนภายใน ของเราในยามนั้นก็เท่านั้น 28
เรือ ่ ง : พชร สูงเด่น
BREATHE IN ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ
จริงอยู่ท่ใี นวันนี้ จิรเดช ผู้เขียน ดูจะเติบโตใน หน้าที่การงาน จากเด็กจบใหม่ในกองบรรณาธิการ กลายมาเป็นบรรณาธิการบริหาร a day ในปัจจุบัน หากเมื่ อ อ่ า นหนั ง สื อ เล่ ม นี้ จ บลง ความหมายของ ‘การเติบโตในหน้าที่การงาน’ (career growth) ดูจะต้องถูกนิยามใหม่ การเติบโตของเขาดูจะไม่ใช่ การเก็บแต้มจ�านวนคนที่ได้ไปสัมภาษณ์ หากมันคือ การเติบ โตระหว่า งชั่ว ครู่ บ ทสนทนาที่ห น้า ที่ ก ารงาน พาเขาไปพบเจอ รู ธ ชาง (Ruth Chang) ศาสตราจารย์ ด้านปรัชญา เล่าไว้ในเท็ดทอล์ก How to make hard choices ของเธอว่า มันง่ายมากหากใครจะเห็นหน้าที่ การงานของเธอในวั น นี้ แ ล้ ว คิ ด ว่ า มั น เป็ น เส้ น ทาง สายตรง เธอคงชัดเจนกับตัวเองมากเหลือเกิน เธอคง ไม่ เ คยเดิ น ออกนอกเส้ น ไม่ เ คยว่ อ กแว่ ก ไปไหน ถึงได้เติบโตในหน้าที่การงานมากขนาดนั้น แต่เปล่าเลย รูธเล่าให้ฟังถึงการเปลี่ยนแปลง ครัง้ ใหญ่ ในวันทีเ่ ธอตัดสินใจแต่งงาน การย้ายตามสามี ไปอยูอ ่ าศัยในต่างประเทศเป็นเรือ ่ งน่าตืน ่ เต้นในวันนัน ้ แต่แล้วมันกลับท�าให้เธอหดหูใ่ จ เมือ ่ หันไปมองรอบตัว แล้วเห็นว่าเธอค่อยๆ เดินถอยห่างวิชาชีพทนายความ ที่เธอพยายามเรียนรูม ้ าค่อนชีวิต จนวั น หนึ่ ง ที่ เธอเกื อ บหลุ ด สติ แ ตก ตกใจว่ า ตัวเองอาจก�าลังเดินหลงทาง ไม่เดินหน้าไปไหนอยู่ นั่นเอง เธอก็ค้นพบว่า แท้จริงแล้วเธอไม่ได้หยุดอยู่ กั บ ที่ เ ลย การเปลี่ ย นที่ อ ยู่ อ าศั ย เปลี่ ย นวิ ถี ชี วิ ต ปรับ ตั ว กั บ สภาพแวดล้ อ มใหม่ ๆ ก็ เป็ น การเติ บ โต ครัง้ ใหญ่ของชีวต ิ เช่นกัน เพียงแค่มน ั ไม่ใช่การเติบโต ภายนอก ในสิ่ ง ที่ ค� า ว่ า ‘เติ บ โตในหน้ า ที่ ก ารงาน’ (career growth) มักหลอกให้เราเข้าใจ หากมันคือ การ ‘เติบโต’ อย่างแท้จริง เติบโตจากภายในต่างหาก ที่เธอค้นพบว่าเป็นใจความส�าคัญ ในโลกยุคปัจจุบัน ที่เราต่างอกสั่นขวัญแขวน กับค�าว่า ‘disruption’ โลกของการท�างานก็เช่นกัน
issue 608
16 seP 2019
ที่ก�าลังเปลี่ยนแปลงในทุกมิติ ไม่ใช่แค่การเตือนว่า เทคโนโลยี จ ะมาแทนที่ ค นเท่ า นั้ น หากยั ง รวมถึ ง ลักษณะของงาน การเกิดขึ้นของงานใหม่ๆ ที่ไม่เคย มี ม าก่ อ น งานใหม่ ที่ ยั ง ต้ อ งอธิ บ ายว่ า มั น คื อ อะไร จะวางแผน ‘career growth’ การเติบโตในที่ท�างาน ใช้อายุ งานมาประเมินผลรายปีว่าเราก� าลั งก้ าวไป อีกขัน ้ ได้อย่างไรกัน การท�างานเดียวไปตลอดชีวิต (one job for life) อาจเคยเป็นคุณ สมบัติช้ันเลิ ศ ของคนท�างาน แต่ในยุคที่คนเปลี่ยนงานเร็วขึ้นเรือ ่ ยๆ จาก 3 งาน ตลอดชี วิ ต โดยเฉลี่ ย ต่ อ คนในปี 2000 กลายเป็ น 10 งานต่อคนในปี 2014 และ 15 งานต่อคนในปี 2014 รูธ พาเรานิยามค�าว่า ‘การเปลี่ยนแปลง’ ใหม่วา ่ ไม่ใช่ เรื่อ งน่ า กลั ว หากคื อ โอกาสในการเรีย นรู ้ เติ บ โต ต่ า งหาก และคุ ณ สมบั ติ ที่ ดี ข องคนท� า งานก็ ไ ม่ ใช่ การทู่ ซี้ อ ดทนในหน้ า ที่ ก ารงานอย่ า งเดี ย วต่ อ ไป หากมั น คื อ ความไม่ ท นในเรื่อ งไม่ เป็ น เรื่อ ง พร้อ ม ปรับปรุ ง เปลี่ ยนแปลง ปรับตั ว เรียนรู ต ้ ลอดเวลา ต่างหาก ที่เป็นลักษณะที่ควรมี แต่… ในวั น ที่ หุ่ น ยนต์ เ รี ย นรู ้ ไ ด้ ดี เรี ย นรู ้ ไ ด้ เ ร็ ว การเรียนรูเ้ พียงเพื่อฟังก์ชันใช้งาน เพียงเพื่อให้รอด ไปวั น ๆ มนุ ษ ย์ ค งไม่ ต่ า งอะไรจากหุ่ น ยนต์ สก็ อ ต ซานเทนส์* นั กเขียน นั กจิตวิทยา นั กฟิสิกส์ ได้ต้ัง ค�าถามที่ส�าคัญเอาไว้ว่า ในวันที่หุ่นยนต์เรียนรูไ้ ด้ดี ขึน ้ (และเราช้าลง) อีกไม่นานคงท�างานได้ไม่ต่างจาก เรา มนุษย์เราจะยังคงท�างานไปเพื่ออะไร ส�าหรับสก็อตเอง บทเรียนส�าคัญจากการค้นพบ เรือ ่ งความสามารถในการเรียนรูข ้ องหุน ่ ยนต์นั้นไม่ใช่ แค่ เพื่ อ ให้ เราตื่ น เต้ น กั บ วิ วั ฒ นาการ หรือ ตื่ น ตู ม กลั ว ว่ า จะสู ญ เสี ย งานไป หากคื อ การกลั บ ค้ น พบ ค�าตอบว่า “งานนั้นเป็นเรือ ่ งของเครือ ่ งจักร ชีวิตนั้น เป็นเรือ ่ งของมนุษย์” (Jobs are for machines, and life is for the people.) ในวั น ที่ ใ ครต่ อ ใครต่ า งบอกว่ า ‘การเรีย นรู ้’
เป็ น ทั ก ษะที่ ส� า คั ญ ในโลกของการท� า งานยุ ค ใหม่ เพื่ อ ที่ จ ะเติ บ โตอยู่ ร อดให้ ไ ด้ ต่ อ ไป ทั้ ง จิ ร เดช, รู ธ และสก็อต พาเรากลับมาทบทวนอีกครัง้ ตั้งหลักใหม่ ในวั น ที่ อ าจเผลอเปรีย บเที ย บ สงสั ย ว่ า เราก� า ลั ง ‘เติบโต’ ในหน้าที่การงานหรือเปล่า ในโลกที่วิ่งเร็ว เหลือเกิน จนเผลอถอดใจว่านี่เราวิง่ ช้าไปไหม ทัง้ สาม ได้พาเราตัง้ ค�าถามใหม่วา่ ความหมายของการ ‘เติบโต’ ในหน้าที่การงานที่แท้นั้นคืออะไร “คนมักลืมว่างานท�าให้เราเติบโตได้นะ ไม่ได้ หมายถึงต�าแหน่งหน้าที่ แต่หมายถึงข้างในเรา” ในขณะทีก ่ �าลังทบทวนตั้งค�าถามใหม่ ประโยค ดังกล่าวก็ดังขึ้นมาอีกครัง้ หรือแท้ที่จริงความหมาย ของการเติ บโตนั้ นมันไม่ใช่ต�าแหน่ งหน้ าที่การงาน หากคื อการบ่มเพาะความหมายของชีวิตให้เติ บโต ไปกับงานที่ท�า
ความหมายที่แท้จริง ของการ ‘เติบโต’ ในหน้าที่การงาน
“คนมักลืมว่างานท�าให้เราเติบโตได้นะ ไม่ได้หมายถึงต�าแหน่งหน้าที่ แต่หมายถึงข้างในเรา” ประโยคที่ วีรพร นิติประภา กล่าวระหว่าง ่ ในบันทึกบทสัมภาษณ์ ประโยคทีส ่ อ ให้สม ั ภาษณ์กบ ั จิรเดช โอภาสพันธ์วงศ์ ประโยคทีเ่ ขาไม่ปล่อยให้มน ั เป็นเพียงหนึง ื่ สารใจความส�าคัญ ่ า� ให้เขานึกถึงงานตลอด ่ นทนา ของเขา ประโยคทีท บางอย่างจนต้องน�ามาขยายความในค�าน�าหนังสือ Between Hello and Goodbye ครูส สิบปีทผ ี่ า่ นมาทีไ่ ด้ออกไปสัมภาษณ์ผค ู้ นมากหน้าหลายตา
CONTRIBUTOR
พชร สูงเด่น
อ้างอิง: *Santens, Scott. (2016). “Deep Learning Is Going to Teach Us All the Lesson of Our Lives: Jobs Are for Machines” Retrieved from http://bit.ly/2ZifWQM
29
นักศึกษาทุน Erasmus Mundus ด้านการศึกษาเพือ ่ การพัฒนา เรียนรู้ นอกห้องเรียนด้วย การเดินทางไปยัง เมืองต่างๆ ในยุโรป
เรือ ่ ง : วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ
EDITOR’S NOTE ภาพ : อุษา นพประเสริฐ
เ วลาที่ ผ มออกเดิ น ทางท่ อ งเที่ ย วนอกจากการชื่ น ชมโลกกว้ า งที่ น่ า ตื่ น ตาตื่ น ใจ ผมยังชอบสังเกตผู้คนรอบข้างว่ามีปฏิกิรย ิ าอย่างไรต่อกัน
เที่ยว
ตั้ ง แต่ เริ่ม ต้ น ออกเดิ น ทางสมมติ ว่ า เดิ น ทางด้ ว ยเครื่อ งบิ น จะได้ เห็ น ตั ว อย่ า งชั ด วินาทีทพ ี่ นักงานบริการประกาศให้ขน ึ้ เครือ ่ งได้พวกเราค่อยๆเดินตามกันไปเรียงแถวผ่าน งวงช้างเข้าไปจนถึงประตูทางเข้าเครือ ่ งเมือ ่ คนข้างหน้าหยิบหนังสือพิมพ์คนทีเ่ ดินมาหลัง ก็จะหยิบหนังสือพิมพ์บ้าง เ มือ ่ ได้ทน ี่ ่ง ั เรียบร้อยโดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าได้น่ง ั อยูใ่ นชัน ่ ผ ี โู้ ดยสารแออัด ้ ประหยัดทีม นั่งใกล้ชิดกันมากๆถ้าคนข้างๆเริม ่ หยิบนิตยสารของสายการบินขึ้นมาอ่านอีกสักอึดใจ ต่ อ มาเราก็ นึ ก อยากจะหยิ บ นิ ต ยสารขึ้ น มาอ่ า นเหมื อ นเขาบ้ า งเมื่ อ เครื่อ งบิ น เทกออฟ ลอยละล่องอยู่บนท้องฟ้าคนข้างๆเริม ่ เปิดจอทีวีส่วนตัวของเขาเพื่อดูหนังเราก็นึกอยาก จะเปิดดูตามเขา มั น ก็ ค ล้ า ยๆกั บ การหาวนอนนั่ น แหละการหาวเป็ น อาการที่ แพร่ล ามออกไปถึ ง คนรอบตัวได้ง่ายๆค�าถามคือท�าไม?อะไรท�าให้เราที่อยู่ใกล้ชิดกันในพื้นที่และเวลาหนึ่ง
จู่ๆก็เกิดง่วงนอนขึ้นมาพร้อมกัน ในทีวีซีรส ี ์เรือ ่ งLie to Me พระเอกเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาร่างกายมาช่วยต�ารวจ สอบสวนผู้ต้องหาคดี อาชญากรรมมีอยู่ฉากหนึ่ งเขาท�าการทดลองทางจิ ตวิทยาง่ายๆ เพื่อแสดงให้ เห็ นถึ งพลั งของอวัจนภาษาที่เราสื่อสารถึ งกั นทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา เขาสามารถก�ากับท่าทางของคู่สนทนาได้ด้วยการขยับมือไม้ตัวเองเช่นเมื่อเขาเกาจมูก ตัวเองสักอึดใจต่อมาคู่สนทนาก็เกาจมูกตามโดยไม่ทันรูต ้ ัว นี่เป็นตัวอย่างง่ายๆที่แสดงให้เห็นว่าในบางครัง้ เราหาวเกาจมูกหยิบหนังสือพิมพ์ หรือเปิดจอทีวีเรือ ่ ยไปจนถึงการแจ้งพนักงานบริการบนเครือ ่ งว่าเราขอเมนูไก่หรือปลา ชาหรือกาแฟไวน์หรือน�าอัดลมฯลฯสิ่งเหล่านี้มีเหตุผลอะไรอยู่เบื้องหลังมากกว่าที่จะเป็น เจตจ�านงบริสุทธิข ์ องตัวเราเอง ถา ้ ลองนึกย้อนให้ไกลออกไปอีกก่อนหน้าทีเ่ ราจะมานัง่ แออัดกันอยูใ่ นทีน ่ งั่ ชัน ้ ประหยัด ในเวลานี้ ท�าไมคนเราต้องออกเดินทางท่องเที่ยว? บ างคนบอกว่ า มั น เป็ น ธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ ความปรารถนาที่ จ ะได้ อ อกเดิ น ทาง
ไกลๆนั้นอาจจะฝังอยู่ภายในเนื้อหนังของเราในขณะที่บางคนบอกว่ามันเป็นการเรียนรู ้ ทางวัฒนธรรมเราออกเดิ นทางท่องเที่ยวเพราะได้ รบ ั การสั่งสอนสืบทอดกั นมาตลอด ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ แล้วค�าตอบของคุณคืออะไร?
หมายเหตุ : เรียบเรียงใหม่จากส่วนหนึง ่ ของบทความในวารสาร TAT Journal
30