a day bULLETIN 613

Page 1

614 613 612

TODAY EXPRESS PRESENTS

21 OCT 2019

D r e a m B i g Y o u n g

F o l k s


CONTENTS 613

P06 614 613 612

TODAY EXPRESS PRESENTS

21 OCT 2019

THE CONVERSATION วิ ธี คิ ด วิ ถี ชี วิ ต และการลงมื อ ท� า ให้ ประสบความส� า เร็ จ ในทุ ก มิ ติ ข อง ‘เปอร์’ - สุวิกรม อัมระนันทน์

P15

MONEY LIFE BALANCE ่ การเบีย ้ วค่าช�าระในอดีต อาจท�าให้ เมือ อ�านาจการเงินในอนาคตเสียหายได้

P16

FEATURE ขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาสตาร์ ท อั พ และ ผูป ้ ระกอบการด้านเทคโนโลยีให้เติบโต ได้อย่างแข็งแกร่งและยั่งยืน

D r e a m B i g Y o u n g

F o l k s

‘เปอร์’ - สุวิกรม อัมระนันทน์ คือหนึ่งในชาวเจเนอเรชั น วายที่ ย กพลมายึ ด หั ว หาดความส� า เร็ จ ได้ อ ย่ า ง น่าประทับใจ โดดเด่นในความชัดเจนเรื่องเป้าหมายและ ตัวตน ณ ช่วงเวลาที่สังคมขับเคลื่อนไปอย่างเร้าใจด้วย เรื่องราวแปลกใหม่ทั้งวิธีคิด วิถีชีวิต และการลงมือท�า จากนักแสดงวัยรุน ่ ทีเ่ ราคุน ้ เคย สูบ ่ ทบาทงานพิธก ี ร การันตีคณ ุ ภาพด้วยรางวัลระดับประเทศมากมาย จากรายการ ่ วบรวม ทอล์กโชว์เปี่ยมแรงบันดาลใจ ‘Perspective’ ทีร บุคคลมากความส�าเร็จมาบอกเล่าแนวคิดเคล็ดลับการไปถึง ู้ ก ั ’ ปลายทาง สูค ่ วามเหมือนทีแ่ ตกต่างอย่างรายการ ‘ยินดีทไ่ี ด้รจ เรื่องราวความเป็ นอยู่ของชาวบ้านปกติไม่ได้ร่�ารวยหรือ มี ก ารงานใหญ่ โ ตมาจากไหน แต่ พ ลั ง การสนทนาสร้ า ง การเรียนรูท ้ ี่ยง ่ิ ใหญ่ได้เสมอไม่ตา่ งกับการสนทนาระหว่าง ่ เราโชคดีเหลือทีส ่ ว ุ ก ิ รมสามารถ เขาและ adB ในครัง ้ นี้ ซึง ้ ดให้เราได้พบเขา หนึง ่ ในผูน หาเวลาจากตารางคิวทีแ่ น่นเอีย ้ า� ่ ใี จใหญ่ๆ ของชนเผ่าคนตัวเล็กทีม

P22

SPACE & TIME Tr u e D i g i ta l Pa r k ศู น ย์ ก ล า ง ด้านนวัตกรรมดิจท ิ ล ั ทีเ่ พียบพร้อมด้วย ระบบนิเวศสตาร์ทอัพ

P28

BREATHE IN ‘เรื่องส�าคัญที่ไม่ดว ่ น’ สิ่งที่ควรเลือก ใช้เวลา หากอยากใช้ชีวิตโปรดักทีฟ อย่างมีคา่

P30

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิ ก าร ทั ศ นคติ ต่ อ ชี วิ ต และสั ง คมผ่ า นสายตาของ วุ ฒิ ชั ย กฤษณะประกรกิจ

TEAM ที่ ป รึ ก ษา สุ ร พงษ์ เตรี ย มชาญชั ย บรรณาธิ ก ารที่ ป รึ ก ษา นิ ภ า เผ่ า ศรี เ จริ ญ บรรณาธิ ก ารผู้ พิ ม พ์ โ ฆษณา/บรรณาธิ ก ารบริ ห าร วุ ฒิ ชั ย กฤษณะประกรกิ จ รองบรรณาธิ ก ารบริ ห าร ฆนาธร ขาวสนิ ท บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล ชยพล ทองสวัสดิ์ กฤตนัย จงไกรจักร นักเขียน/ผู้ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิ สูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิ ทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิ สูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจ ฝ่ายสร้างสรรค์วด ิ โี อ วงศกร ยีด ิ สกุล กวินนาฏ หัวเขา ทีป ิ รรยากุล ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุง ่ รัตนสิทธิกล ุ 08-4491-9241 ผูช ้ ว ่ ยผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา ่ วง รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจุฬางกูล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว ผูผ ้ ลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www. adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com


หนั ง สื อ บนเว็ บ ไซต์ ล ด 10% ทุ ก รายการ สมั ค รสมาชิ ก นิ ต ยสาร a day และ a day BULLETIN ในราคาพิ เ ศษ สมั ค รสมาชิ ก abooker รั บ ส่ ว นลด on top ทุ ก สิ น ค้ า อี ก 5% ค่ า จั ด ส่ ง ราคามิ ต รภาพ หนั ง สื อ ไปหาถึ ง ที่ มี ข องแถมเพี ย บ!

godaypoets.com @


ไ​มเกรน​คืออาการปวดหัวข้างเดียวในบริเวณเดิมซ�้าๆ​อย่างรุนแรง​โดยจะเป็ นมากกว่า 15​วันต่อเดือน​โรคนีเ้ กิดได้ในทุกวัยตัง ั รุน ่ จนถึงผูส ้ ง ู อายุ​ซึง ่ อาการเจ็บป่วยของโรคนี้ ้ แต่วย ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและการท�างาน​เพราะบางคนจะมีอาการรุนแรงถึงขัน ้ ต้องหยุดงาน มีปัญหาต่อการนอนหลับพั กผ่อน​ อ่อนเพลีย​ และท�าให้ไม่มีสมาธิ​ ไปจนถึงระบบของ ความทรงจ�าที่ทา� งานได้แย่ลง

3 MIGRAINE HEADACHE SYMPTOMS อาการปวดหั ว ไมเกรน อาจจะแบ่ ง ได้ คร่ า วๆ เป็ น 3 ระยะ

1

2

3

PRODROME PHASE

HEADACHE PHASE

POSTDROME

ระยะก่อนมีอาการปวดหัว จะรูส ้ ก ึ อ่อนเพลีย ง่วงนอน เห็นแสงวูบวาบ รูส ้ ก ึ ชาตาม ร่างกาย จากนัน ้ จึงค่อยๆ เริม ่ ปวดศีรษะ

ระยะที่ มี อ าการปวดหั ว แต่ยง ั ไม่รน ุ แรงมากแต่จะ มี อ า ก า ร อื่ น ร่ ว ม ด้ ว ย เช่ น คลื่ น ไส้ กลั ว เสี ย ง กลั ว แสง ต้ อ งรี บ เข้ า รั บ การรักษาทันที

ระยะหลั ง อาการปวดหั ว จะมีอาการเบลอ อ่อนเพลีย ่ อาการนี้ ไม่อยากอาหาร ซึง จะคงอยู่ได้เป็ นวันๆ หรือ อ ย่ า ง ดี ห น่ อ ย ก็ จ ะ ไ ม่ กี่ ชั่วโมง

CHE PHASE

P RO

DR

OM

E

SE

C

M

Y

A EAD

CM

MY

CY

H

CMY

K

PO

ST D

R

1 BILLION

25 MILLION DAYS

80%

​ งค์การอนามัยโลก อ (WHO)​คาดการณ์ไว้วา่ ถ้าประชากรโลกมีอยู่ ประมาณ​7​พันล้านคน จะมีคนทีม ี าการปวด ่ อ ศีรษะไมเกรนจ�านวน 1​พันล้านคน​หรือคิด เป็น​15%​ของคนทีม ่ ี อาการปวดศีรษะรวมกัน ทัง ้ หมด

การศึกษานีย ั พบว่า ้ ง ในสหราชอาณาจักรมี คนลางานหรือขาดเรียน ในแต่ละปีจากอาการ ปวดหัวรวมกันแล้วคิด เป็นเวลามากถึง​25​ล้าน วัน​ส่งผลถึงรายได้ทาง เศรษฐกิจทีห ่ ายไปเป็นเงิน จ�านวน​2.25​พันล้าน ปอนด์ตอ ่ ปี

​ ม้วา่ สาเหตุของการเป็นไมเกรน แ ในแต่ละคนไม่เหมือนกัน​แต่จาก ผลส�ารวจพบว่าอาการปวดหัวนีส ้ ว่ นใหญ่ มักถูกกระตุน ้ จากความเครียดมากถึง 80%​ปัจจัยต่อมาคือเรือ ่ งของฮอร์โมน กลิน ่ ​แสง​อุณหภูม​ิ และอาหารบางอย่าง ก็เป็นปัจจัยเสริมด้วย​เช่น​เบคอน ไส้กรอก​ฮอตด็อก​ช็อกโกแลต​กาแฟ เครือ ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์หรือผงชูรส เป็นต้น

50% ​ผห ู้ ญิงทีม ี าการปวดไมเกรน ่ อ จากการเปลีย ่ นแปลงของ ฮอร์โมนในช่วงทีม ี ระจ�าเดือน ่ ป การกินอาหารทีม ี ต ิ ามินบี ่ ว เป็นประจ�า​จะช่วยลดอาการ ปวดไมเกรนลงถึง​50% โดยเฉพาะวิตามินบี​6​และบี​2 ซึง ่ พบมากในธัญพืชต่างๆ ข้าวซ้อมมือ​ข้าวกล้อง ไข่​ตับ​ปลา​แคนตาลูป และมันฝรัง ่

ผลการวิจย ั จากวารสาร ส�านักแพทย์ทางเลือก ของส�านักการแพทย์ทางเลือก กรมพัฒนาแพทย์แผนไทยและ แพทย์ทางเลือก​กระทรวง สาธารณสุข​ท�าการศึกษา ผูป ้ ว่ ยทีเ่ ป็นโรคปวดตาม ส่วนต่างๆ​ของร่างกาย จ�านวน​1,086​คน​และพบ ว่าการนวดกดจุดบ�าบัดนัน ้ ช่วยบรรเทาอาการปวดของ โรคปวดศีรษะไมเกรนดีขน ึ้ ถึง​96.92%​รวมถึงโรค ปวดคอ​ปวดบ่า​ปวดหลัง เส้นตึงต่างๆ​ได้ดีข้น ึ มากกว่า​85%​เช่นกัน

20

ที่มา : www.who.int, วารสารประสาทวิทยา แห่งประเทศไทย, กรมสุขภาพจิต

96.92%

E

​ ายงานจาก​Thai ร Journal​of​Neuology ระบุวา่ โรคไมเกรนเรือ ้ รัง พบได้ร้อยละ​2 ในเพศหญิง​และในร้อยละ 0.8​ในเพศชาย​และ อาการเรือ ้ รังจากอาการ ไมเกรนแบบครั้งคราว (episodic​migraine) ไปสูโ่ รคไมเกรนแบบเรือ ้ รัง (Chronic​Migraine) ในผูป ้ ว่ ยนัน ้ ​จะมีจา� นวน เฉลีย ถึ ง ร้ อ ยละ​3.1​ต่อปี ่

H

A

OM

ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

2%

P

เรือ ่ ง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ

DATABASE

THE HEADACHE DISORDERS



D r e B i เรือ ่ ง : พรรษิษฐ์ วิชญคุปต์

ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี

THE CONVERSATION

Y o u n g

06


e a m i g F o l k s

ณ ช่วงเวลาที่สังคมขับเคลื่อนไปอย่างเร้าใจ ด้ ว ยเรื่ อ งราวแปลกใหม่ ท้ั ง วิ ธี คิ ด วิ ถี ชี วิ ต และ การลงมือท�า ทีถ ่ ใหม่จนเป็นทีจ ั ตา ่ า่ ยทอดผ่านคนรุน ่ บ ของคนทุกรุน ่ ทุกวัย โดยเฉพาะเหล่าเจเนอเรชันวาย ทีย ่ กพลมายึดหัวหาดความส�าเร็จได้อย่างน่าประทับใจ ด้วยความโดดเด่นชัดเจนเรื่องเป้าหมายและตัวตน ยิ่งบวกเข้ากับเทคโนโลยีท่ีก้าวกระโดด ทุกอย่าง ในทุกวันนี้จึงล้วนมีเฉดสีท่แ ี ตกต่างจากเคย เ มื่ อ มี ค ว า ม มุ่ ง มั่ น บ ว ก ไ อ เ ดี ย แ ป ล ก ใ ห ม่ จึ ง ไม่ แ ปลกเลยที่ เ ราจะเห็ น คนอายุ น้ อ ยประมาณ สามสิ บ เศษประสบความส� า เร็ จ จนเป็ น ที่ ย อมรั บ ในสาขาอาชีพต่างๆ บางคนปั้ นธุรกิจไปไกลระดับ แถวหน้าของประเทศ หรือก้าวไปยังเวทีโลก เช่นกันกับ ต้นเรือ ิ รม อัมระนันทน์ ่ งของเราอย่าง ‘เปอร์’ - สุวก หนึง คนเจนฯ วายแถวหน้ า ที น า ่ จั บ ตามองอย่างยิง ่ ่ ่ ณ นาทีนี้ จากนั ก แสดงวั ย รุ่ น ที่ เ ราคุ้ น เคย สู่ บ ทบาท งานพิธก ี รการันตีคณ ุ ภาพด้วยรางวัลระดับประเทศ มากมาย จากรายการทอล์กโชว์เปี่ ยมแรงบันดาลใจ ‘Perspective’ ที่รวบรวมบุคคลมากความส�าเร็จ มาบอกเล่ า แนวคิ ด เคล็ ด ลั บ การไปถึ ง ปลายทาง ู้ ก ั ’ เช่นกันกับความเหมือนทีแ ่ ตกต่างอย่าง ‘ยินดีทไ่ี ด้รจ เรือ ่ องชาวบ้านปกติไม่ได้ร่�ารวย ่ งราวความเป็นอยูข หรือการงานใหญ่โตมาจากไหน แต่พลังการสนทนา สร้างการเรียนรู้ท่ย ี ิ่งใหญ่ได้เสมอ ไม่ต่างกับการสนทนาระหว่างเขาและ adB ในครั้ ง นี้ ซึ่ ง เราโชคดี เ หลื อ เกิ น ที่ สุ วิ ก รมหาเวลา จากตารางคิวที่แน่นเอี้ยดให้เราได้พบเขา

issue 613

21 OCT 2019

07


Y o u n g

F o l k s

คนรุน ่ ใหม่มาแรงเหลือเกินแทบทุกวงการ โดยเฉพาะ เจเนอเรชันของคุณ หลายคนเติบโตประสบความส�าเร็จตัง ้ ยมาก คุณพอจะหาเหตุผลอธิบาย ้ แต่อายุนอ เราได้ไหม ผมไม่รจ ู้ ก ั เรือ ่ งเจนฯ เลย เพราะผมเองมีเจเนอเรชัน ไม่เหมือนกับชาวบ้านสักเท่าไหร่ เลยไม่ทราบว่าพฤติกรรม ของเจนฯ ไหนเป็นอย่างไร แต่พอรูว ้ ่าตัวเราและเพื่อน ในวัยใกล้เคียงกับเรามีความชอบทีเ่ หมือนและแตกต่าง กันไปบ้าง ส่วนตัวชอบมีเพื่อนที่อายุมากกว่า เรียกว่า เพื่อนคราวพ่อ อาวุโสมากที่สุด 82 ปี แต่ยังเต็มไปด้วย พลังงาน ท�างานได้ตลอด ประชุมรอบเช้ากับคนต่างชาติ เย็นมาอีกรอบกับอีกชาติอีกภาษา ผมชอบทีจ ่ ะพูดคุยแลกเปลี่ยนกับผูใ้ หญ่มาตั้งแต่ เด็ ก ขณะเดี ยวกั นก็ มีสังคมกั บเพื่อนรุ น ่ เดี ยวกั น เลย ท�าให้เรามีความหลากหลาย สามารถไปอยู่ที่ไหนก็ได้ ผู้ ใหญ่ ท่ า นน่ า รัก ใจดี มี เ มตตา สนุ ก ไปกั บ การใช้ ชี วิ ต ร่วมกับเรา อาจจะไม่ใช่กจ ิ กรรมแต่จะเน้นพูดคุยสุดแท้แต่ ไลฟ์สไตล์ของแต่ละคน ความต่างของวัย ผมมองว่าไม่มีอะไรต่างกันนัก ภาพรวมมนุ ษ ย์ ค ล้ า ยคลึ ง กั น มนุ ษ ย์ ทุ ก คนมี ง าน มีความรักและต้องการผ่อนคลาย เพียงแค่งานแต่ละคน ขอบเขตไม่เท่ากัน ใหญ่เล็กต่างกันไป ผมมีโอกาสได้คย ุ กับคนทีเ่ ป็นเจ้าของกิจการใหญ่ เศรษฐีระดับทอปเท็นของประเทศ การพักผ่อนของเขา คือหลังเลิกงานได้ออกเรือยอชต์ไปกลางทะเล นั่นคือ ความสุ ข ซึ่ ง มองเข้ า ไปจากมุ ม ของคนที่ ยั ง ไม่ มี ม าก เท่ า เขาก็ อ ยากจะได้ แต่ ห ารู ไ้ ม่ ว่ า ทั้ง หมดที่ เห็ น ต้ อ ง แลกมาด้ ว ยการท� า งานหนั ก แทบตายเพื่ อ หาเงิ น เป็ น ร้อยล้าน พันล้าน แสนล้าน เพือ ่ ซือ ้ เรือออกไปหาความสุข ขณะเดียวกันคนท�างานโรงงานก็มค ี วามสุขง่ายๆ เพี ย งเล่ น หมากฮอสกั บ เพื่ อ น ความสุ ข มั น เท่ า กั น นะ ไม่ต่างกัน สุขคือสุข ทุกข์คือทุกข์ ไม่จ�าเป็นต้องหาเงิน ได้ ม ากขนาดนั้ น แล้ ว ถึ ง จะมี ค วามสุ ข ไม่ จ� า เป็ น เลย ความสุขเกิดขึ้นได้ทุกเวลา โอกาส และสถานภาพ ผมมักพูดติดตลกอยู่เสมอว่า คนรวยๆ เขาอาจ ไม่รูว ้ ่าการนั่ งเล่ นหมากฮอสก็ สนุ กได้ ไม่ต้องท�างาน หนั ก ขนาดนั้ น ก็ มี ค วามสุ ข ได้ แน่ น อนว่ า การทุ่ ม เท ท�างานหนักก็ต้องเสียสละบางเรือ ่ งในชีวิตไป ทุกคนมี วันละ 24 ชั่วโมงเท่ากัน เอาเวลาไปทุ่มเทกับอะไรมากก็ โดดเด่ น ให้ เวลากั บ อะไรน้ อ ยความสมบู ร ณ์ ก็ ล ดลง บางคนงานประสบความส�าเร็จมากแต่ไม่มีครอบครัว มีครอบครัวแทบไม่เจอหน้าลูกเลย ดังนั้น ขึ้นชื่อว่ามนุษย์หากนึกอิจฉาแล้วสามารถ ท� า ได้ ห มด ทั้ ง คนจนอิ จ ฉาคนรวยในเรือ ่ งความมั่ง มี แต่รูไ้ หม หลายๆ ครัง้ คนรวยก็อิจฉาคนจน อยากจะมี เวลาเหลือแบบนั้นบ้าง มีหมด

ณ ปั จ จุ บั น มี สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ผู้ ค นไม่ ว่ า สาขาอาชี พ ไหน มักให้ความส�าคัญ นั่นคือการหาตัวตนของตัวเอง ให้ เ ร็ ว ที่ สุ ด เพื่ อ จะทุ่ ม เทและต่ อ ยอดอย่ า งสุ ด ชี วิ ต คุณเองมีความคิดแบบนี้ด้วยไหม การที่ เรามี เป้ าหมายในชีวิต รู ว ้ ่าต้ องการอะไร เพื่อจะได้ทุ่มเทให้เป้าหมายนั้นบรรลุโดยเร็วเป็นสิ่งที่ดี แต่ถา ้ เราพูดเรือ ่ งความส�าเร็จและเห็นภาพร�ารวยพันล้าน

แสนล้านเร็วๆ ท�าได้ตอนอายุสามสิบต้นๆ แบบที่หลาย คนชอบคิดกัน ค�าถามต่อมาคือ คุณจะอยู่บนโลกนี้ก่ีปี สมมติสามสิบประสบความส�าเร็จมาก แล้วอีกสามสิบปี ที่เหลื อคิ ดไหมว่าจะท�าอะไร จะอยู่อีกนานขนาดไหน และอยู่อย่างไร อย่าลืมว่าถ้าอยากประสบความส�าเร็จเรือ ่ งงาน คุณต้องสูญเสียอย่างอืน ่ เป็นการแลกเปลีย ่ น เราเคยเห็น คนที่ประสบความส�าเร็จต�าแหน่งใหญ่โตตอนอายุน้อย มาก โหมงานหนั ก ยอมแลกทุ ก อย่ า งแม้ แ ต่ สุ ข ภาพ สุดท้ายก็เสียชีวต ิ ตอนอายุ 45 วงจรชีวต ิ สัน ้ มาก อย่างไร ก็ ต าม ผมคิ ด ว่ า ชี วิ ต มั น เป็ น เรื่อ งปั จ เจกบุ ค คล ผมมี แบบทีช ่ อบและไม่กา ้ วก่ายคนอืน ่ หากเขาทุม ่ เทเพือ ่ มีชว ี ต ิ แบบนั้นอย่างที่เขาต้องการ ไม่มีใครสามารถตัดสินได้

Dream Big แล้วคุณเองหาตัวตนพบรู้ว่าตัวเองอยากท�าอะไร เมื่อไหร่

แบบตอนนี้เลย ได้ท�าในสิ่งที่รก ั มีเวลาให้กับสิ่งที่ ชอบ มีเป้าหมายในการพัฒนาต่ อไปเรือ ่ ยๆ ในแต่ ละ ช่วงวัย รวมทัง้ มีความสนใจใหม่ๆ เพิม ้ เรือ ่ ยๆ ให้เลือก ่ ขึน สิง ่ อบทีส ่ ด ุ ตอนนี้ ผมชอบกอล์ฟ ได้เล่นทุกวันก็เยีย ่ ม ่ ทีช มีเพือ ่ นไปเล่นด้วยทุกวันก็พอแล้ว ส่วนงานอยากพัฒนา ศักยภาพตัวเองให้เป็นประโยชน์ต่อคนอื่นให้มากที่สุด ตามความสามารถที่เรามี

ย้อนกลับไปอายุ 17-18 ผมไม่รูห ้ รอกว่าอยากท�า อะไร คิดแค่ทา � งานทีม ่ น ่ มีรายได้มาดูแลตัวเอง ่ั คงเพือ และคนรอบข้ า ง แต่ ไหนแต่ ไรผมชอบดู แ ลคนอื่ น ไม่ชอบเป็นภาระหรือตัวถ่วง แม้ตอนนี้จะมีเพื่อนอายุ ต่างกันมาก รุน ่ อายุ 70-80 แต่ผมก็ไม่ชอบให้เขามา ดูแล ยินดีเป็นฝ่ายดูแลช่วยเหลือเขา หลายคนชอบคิดว่าอยากมีคนมาดูแลคอยสนับสนุน แต่ ผ มมองว่า ชีวิตจะมีค่า มีศัก ดิ์ ศรีหากเราสามารถ ช่วยเหลือเจือจุนคนอื่นๆ ได้ ยกตัวอย่างเวลาท�างาน ผมต้ องมีคุณค่ าต่ อองค์ กรมากกว่าเงินที่เขาจ้ างเรา ผมถามเสมอว่ า ท� า ไมถึ ง จ้ า งผม ผมมี คุ ณ ค่ า อะไร คุณให้ค่าจ้างเยอะขนาดนี้ผมต้องตอบแทนด้วยอะไร แล้ วผมท�าได้ ไหม หากไม่ ก็ ไม่ท�า ที่ถามเพื่อให้เรา ภูมิใจในตัวเอง เมือ ่ เราเป็นผูใ้ ห้ เราจะเดินต่อไปได้เรือ ่ ยๆ ไม่ตอ ้ ง ระมัดระวัง แต่ถา ้ เป็นฝ่ายขอ เราจะระแวงตลอด ถ้าเขา ไม่ให้จะอยูย ่ งั ไง เราต้องอยูไ่ ด้สิ แต่ถา้ วันหนึง่ ไม่มพ ี อ ่ แม่ จะอยู่ยังไง วันหนึ่ งไม่มีสปอนเซอร์จะอยู่ได้อย่างไร ด้ ว ยตั ว ของเรา ดั ง นั้ น ในวั น ที่ ยั ง พึ่ ง พากั น ก็ ต้ อ ง เรียนรูท ้ จ ี่ ะดูแลผูม ้ พ ี ระคุณเหล่านีจ ้ นไปถึงวันทีไ่ ม่มเี ขา

ความฝันของคนช่วงอายุน้ีไม่ใช่ประสบความส�าเร็จ เร็ว เป็นเจ้าของกิจการแบบนัน ้ เหรอ คนสอนคนสร้าง สตาร์ทอัพเต็มไปหมด มันเป็นวิถีไปแล้วหรือเปล่า

ห ล าย ค น ก ลั ว ก ารล ง มื อ ท� า ตั้ ง แต่ อ ายุ น้ อ ย ๆ โดยเฉพาะเรื่ อ งธุ ร กิ จ ส่ ว นตั ว คุ ณ เจออุ ป สรรค มากน้อยขนาดไหนในช่วงตัง ้ ไข่

ชีวิตที่คุณชอบเป็นแบบไหน

ผมกลั บ มองว่ า คนที่ คิ ด แบบนั้ น คงตั้ ง เป้ า ไปที่ ความส�าเร็จในชีวต ิ งาน หรือเงิน แต่การทีผ ่ มท�ารายการ หรือตั้งบริษัทขึ้นมา ไม่ได้มองว่าอยากจะรวยประสบ ความส�าเร็จเป็นที่ตั้ง จุดเริม ่ มาจากความคิดที่ว่า หนึ่ง —ท�าอย่างไรผมจะได้ทา � งานในแบบทีอ ่ ยากอย่างยัง่ ยืน ถ้าไม่มีคนจ้างจะได้ท�าอยู่ไหม เลยตั้งบริษัทนี้ ขึ้นเพื่อ ท� า งานแบบนี้ สอง—คื อ เราคิ ด ถึ ง คนอื่ น ว่ า หากไม่ มี รายการแบบเราแล้ วเขาจะได้ แรงบันดาลใจจากไหน จะมีโอกาสได้พด ู คุยกับคนเหล่านั้น (แขกรับเชิญ) ทีไ่ หน เราคิดแบบนี้เป็นที่ตั้ง คงต่างจากคนอื่นที่สร้างกิจการ ตามที่ยกตัวอย่างมา ทั้งนี้ขอยืนยันว่า การมีหรือไม่มี บริษัทไม่ได้ทา� ให้ความสุขของผมลดน้อยลง งานกับชีวต ิ มันคนละเรือ ่ งกัน

ความสุ ข ที่ แ ท้ จ ริ ง ไม่ จ� า เป็ นต้ อ ง ท�างานทีเ่ รารัก ไม่ตอ ้ งอยูก ่ บ ั คนทีเ่ รา รั ก ไม่ ต้ อ งอยู่ ใ นสถานะแบบที่ เ รา อยากเป็น เพราะเมื่อไหร่ก็ตามที่เรา ไปตั้งข้อแม้ว่าชีวิตจะมีความสุขเมื่อ มี 1 2 3 4 5 ค�าถามที่ตามมาคือ ่ ง หากชีวต ิ ไม่เคยมีโอกาสไปถึงจุดทีต ั้ ใจ เลยล่ะ ชีวต ิ จะไม่มค ี วามสุขเลยเหรอ

อย่างแรกผมไม่ได้เจริญเติบโตรวดเร็วกว่าใคร แค่โชคดีที่เริม ่ ท�างานก่อนคนอื่น ผมเริม ่ งานตอนอายุ 17 ปี ใช้เวลา 10 ปีกว่าจะเปิดบริษัทได้ ดังนั้น ถ้าคุณ เริม ่ งานอายุ 23 พอ 33 ก็อาจเป็นเจ้าของธุรกิจได้ ตอนอายุ 18 ผมเริม ่ นทีเ่ ป็นนักธุรกิจระดับประเทศ ่ มีเพือ บางคน เวลาผ่ า นไปพวกเขาก็ เ ติ บ โตขยั บ ขยายขึ้ น จนตอนนี้ ผมเองมีโอกาสเจอนั กธุรกิ จระดั บประเทศ ระดั บ โลกมากขึ้ น ทั้ ง ไทยและต่ า งชาติ โอกาสที่ จ ะ เติ บ โตก็ ม ากขึ้ น ซึ่ ง คนอื่ น ๆ อาจพบโอกาสแบบนี้ ตอน 40-50 เหมือนจังหวะของชีวต ิ เพียงแค่ผมได้ทา � ก่อนคนอื่น มีโอกาสก่อนเท่านั้น แต่ส่ิงที่คุณจะถาม ต่อไปก็คือ ท�าไมโอกาสมาแล้วผมถึงคว้าได้ มันเป็น เรื่อ งของการฝึ ก ฝนใส่ ใจในสิ่ ง ที่ ค นอื่ น ๆ มองข้ า ม ขัดเกลาจนพร้อมก่อนคนอื่น โอกาสมี ส� า หรับ ทุ ก คน เพี ย งแต่ คุ ณ มองเห็ น หรือเปล่า ส่วนหนึ่งบางเรือ ่ งหาค�าตอบไม่ได้ อาจมีคน ข้างบนเขาขีดไว้แล้ ว แต่ เชื่อเถอะว่าการสนใจใส่ใจ รอบด้ า นเป็ น สิ่ ง ที่ ดี เพราะเราไม่ รู ้ห รอกว่ า สุ ด ท้ า ย จะได้ใช้ไหม แต่เวลาจะใช้จะได้พร้อม อยากเป็นอะไร สนใจอะไร ก็ต้องพยายามเข้าใกล้ส่ิงนั้นให้มากที่สุด เรียนรู ้ input เข้าไปให้มากที่สุดเพื่อความช�านาญ คนเรามักตั้งเป้าผิดกับชีวต ิ ชอบวัดความส�าเร็จ จากเงินในบัญชี ซึ่งผมไม่ได้วัดจากตรงนั้นไง ส�าหรับ ผม คนประสบความส�าเร็จคือคนทีม ่ ค ี วามสุขในการใช้ ชีวิต ตื่นขึ้นมาแล้วรู ว ้ ่าจะท�าสิ่งโน้นสิ่งนี้ไปเพื่ออะไร แม้มน ั จะไม่มป ี ระโยชน์กับใคร แต่ถ้ามันสร้างความสุข ในชีวิตเขาได้ก็พอแล้ว ผมพู ด เสมอ คนที่ ค้ น พบตั ว ตนคื อ คนที่ รู ้ว่ า

FYI

Who’s Generation Y?

การแบ่ ง คนตามยุ ค สมั ย มี ห ลายส� า นั ก ท� า ออกมามากมาย เจเนอเรชั น วายก็ เ ช่ น กั น โดยสรุ ป ได้ ดั ง นี้ ผู้ ท่ี เ กิ ด ในยุ ค ที่ มี โทรศัพท์เคลื่อนที่ คอมพิ วเตอร์ และอินเทอร์เน็ต มีการระบุปีเกิดของคนรุ่นนี้หลากหลายมาก แต่นักวิชาการส่วนใหญ่ระบุว่า เกิดระหว่าง พ.ศ. 2524-2543 08


พรุง่ นีจ ้ ะท�าอะไร ท�าไปเพือ ่ ใคร แค่นน ิ แบบนี้ แต่ขอยืนยัน ้ั เอง ผมเองก็คด การลงมือท�าแล้วส�าเร็จหรือไม่สา � เร็จไม่ใช่ตัววัดว่าผมจะมีความสุขไหม ไม่ได้ยด ึ ติดกับตัววัดอะไรก็ตามทีจ ่ ะเป็นข้อแม้ของความสุขหรือความทุกข์ เมือ ่ ก่อนอาจจะคิด จนวันหนึง่ ได้เรียนรู ้ มีโอกาสได้ฟงั ท่านอาจารย์ ชยสาโร แล้วเราเข้าใจว่าความสุขที่แท้จริงเป็นเช่นไร ความสุขที่แท้จริง ไม่จ�าเป็นต้องท�างานที่เรารัก ไม่ต้องอยู่กับคนที่เรารัก ไม่ต้องอยู่ใน สถานะแบบทีเ่ ราอยากเป็น เพราะเมือ ่ ไหร่ก็ตามทีเ่ ราไปตั้งข้อแม้วา ่ ชีวต ิ จะมีความสุขเมื่อมี 1 2 3 4 5 ค�าถามที่ตามมาคื อ หากชีวิตไม่เคย มีโอกาสไปถึงจุดทีต ่ ้ังใจเลยล่ะ ชีวต ิ จะไม่มค ี วามสุขเลยเหรอ ต้องมีเงิน สิ บ ล้ า น แล้ ว ถ้ า ไม่ ไ ด้ ล่ ะ ชี วิ ต นี้ ต้ อ งแต่ ง งานกั บ ผู้ ห ญิ ง คนนี้ เท่ า นั้ น แล้วถ้าเขาไม่รก ั เราล่ะจะมีความสุขไม่ได้เลยเหรอ มันไม่จ�าเป็นจะต้อง มีตัวการใดก็ตามมามีผลหรืออิทธิพลต่อความสุขของเรา ส�าหรับผมแล้ว ความสุขกับการใช้ชว ี ต ิ คนละเรือ ่ งกัน ทัง ้ นี้อย่าไป ตีความว่าผมไม่ต้ังเป้าหมายนะ

ปกติคนเราตัง ้ งหวังผล มีความคาดหวังว่าจะบรรลุเป้าหมาย ้ เป้าก็ตอ มนุษย์ทุ่มเทแรงกายแรงใจเพื่อสิ่งนี้ไม่ใช่เหรอ

ตัง้ เป้าแต่ไม่ยด ึ ติดกับเป้า ตัง ่ ทีเ่ ราจะได้รูว้ า ่ ท�าไปเพือ ่ อะไร ้ เป้าเพือ แต่ไม่ยด ึ ติดกับผลลัพธ์ เพียงพยายามท�าเพือ ่ เป้าหมาย แม้จะยังไปไม่ถงึ แต่ก็พยายามท�าต่อ และต้องเข้าใจว่าขณะพยายามนั้ นไม่ใช่ทุกข์นะ คนชอบเอาหลายๆ เรือ ่ งมาปนกันหมดในชีวิต จนเท่ากับทุกข์ สุขต้อง รวย ไม่ใช่ มันคนละเรือ ่ ง เอามาปนกันไม่ได้ ท�าแบบนี้ดีท�าแบบนั้นเลว ท�าเร็วชุ่ย ช้าประณีต ไม่ใช่แล้ว นั่นเพราะ perception ของคนชอบเอา สิง ่ ที่ตนเข้าใจไปตีกรอบคนอื่น อย่าไปท�าแบบนั้น อย่าเอา perception คนอื่นมาตีกรอบชีวิตคุณ เราสามารถสร้างกฎ สร้างวิถีชว ี ต ิ ของตัวเองได้ มีวฒ ั นธรรมของ ตัวเราเองได้ เพราะทั้งหมดเป็นสิ่งสมมติ ใครบอกล่ะว่าตากล้องต้อง แต่งตัวแบบนี้ นักสัมภาษณ์ตอ ้ งแต่งแบบนี้ ใครบอกคุณว่าคนกวาดถนน ต้องมีคา ่ ตอบแทนน้อย ถ้าคุณสร้างเรือ ่ งราว มีสตอรีทน ี่ า ่ สนใจก็สามารถ มีค่าตอบแทนที่มากขึ้นได้ อย่าปล่อยให้ส่ิงไหนมาเป็นตัวก�าหนดเรา ตัวเราก�าหนดเองได้

่ ณ ่ นัน ่ อะไร สิง ุ เชือ ้ น่าสนใจ แต่ในความเป็นจริงการง้างความเชือ ่ ทีค สักอย่างไม่ใช่เรื่องง่ายแน่ๆ โดยเฉพาะในสังคมบ้านเรา แค่แสดง ความเชื่อของตัวเราเองที่ต่างจากคนอื่นยังยากเลย

(พยักหน้า) ก่อนที่สังคมจะเชื่อสิ่งที่เราก�าหนด หรือสิ่งที่เราเป็น มันขึ้นอยู่กับว่าเราอุทิศกับสิ่งนั้น ท�าให้เขาเชื่อมากขนาดไหน ตัวอย่าง มีมากมาย ยาจกทีไ่ ม่มเี งินสักบาทอย่าง อาจารย์ไม้รม ่ ธรรมชาติอโศก กลับมีคนศรัทธาเขามากมาย เพราะเขาอุทศ ิ ให้แก่สงิ่ ทีเ่ ชือ ่ มากเหลือเกิน ไม่ต่างกันกับหลักศาสนา หลักวัฒนธรรม ไม่อย่างนั้นลองคิดกันลึกๆ เมือ ่ ไหร่ก็ตามทีค ่ ณ ุ เชือ ่ ไปตามคุณค่าของบริบทนั้นๆ คุณต้องใส่เสือ ้ ผ้า แบรนด์นี้ ต้องแต่งตัวแบบนัน ่ เป็นสไตล์บง่ บอกว่าเป็นแบบโน้นแบบนี้ ้ เพือ ค�าถามคือใครได้ประโยชน์จากความเชื่อนี้ เชื่อว่าโทรศัพท์มือถือดีกว่า โทรศัพท์บา ้ น ใครได้ประโยชน์ คนขายมือถือใช่ไหม เมือ ่ ไหร่ทค ี่ ณ ุ เชือ ่ ว่า ข้าวญี่ปุ่นอร่อยกว่าข้าวไทย ใครได้ ประโยชน์ ก็ คนที่เอาความเชื่อนี้ มาบอกคุณใช่ไหม ทุกอย่างเป็นแบบนั้นหมด ผมจึงพยายามเป็นไท เป็นอิสระ ไม่หลงตกเป็นทาสกับวัฒนธรรม ใด แน่นอน รอบข้างต่างมีอิทธิพลต่อความคิด แต่ผมจะไม่ตกเป็นทาส เรือ ่ งแบบนัน ั ทุกคน ทุกคนมีสท ิ ธิ ้ เพราะผมเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยได้กบ จะแตกต่าง มีสิทธิเชื่อในความคิดของตัวเอง สามารถเป็นเจ้าของลัทธิ ออกแบบความเชื่อของตัวเองได้ ต่อให้เราศรัทธากับความเชื่อของใคร แล้วมีคนมาต่อต้านกับสิ่งนั้น ผมต้องโกรธคนที่มาต้านเหรอ ไม่ใช่นะ คนเรามันต่างกันได้ คุณเห็นต่างจากผมได้เลย และผมก็เคารพในสิง่ นั้น ไม่ไปต่อว่าว่าคุณไม่ดี โง่ ดักดาน ใช้ไม่ได้ ก็มันชีวิตคุณ

เป็นคนที่ชอบเทคโนโลยี ชอบความเร็ว ทันทีทันใด ไม่ชอบรอนาน ชอบสีสันสดใส บรรยากาศสนุกสนาน ชอบให้เอาอกเอาใจ มีลักษณะการใช้ภาษาที ่ไม่เป็น ทางการ ไม่ชื่นชอบความเป็นทางการ มองโลกในแง่ดี มองทุกอย่างแบบสดใส มีความคิดเป็นของตนเอง รักอิสระ ชอบท�างานคนเดียว มุ่งเน้นผลส�าเร็จ ในบางครั้ง คนที่โตกว่าอาจไม่เข้าใจถึงความคิดและพฤติกรรมบางอย่าง พวกเขามักไม่อยากท�างานประจ�า ไม่อยากมีชีวิตท�างานหนักแบบพ่ อแม่ แต่อยากท�าตามความฝัน ท�าสตาร์ทอัพ หรือเริ่มบริษัทตัวเอง issue 613

21 OCT 2019

09


Do it ฟังแล้วเหมือนเป็นสิ่งที่หลายฝ่ายพยายาม ้ ในสังคม แล้วถ้ามีคนคิด เรียกร้องให้เกิดขึน แบบคุณมากขึ้นเรื่อยๆ สังคมจะเปลี่ยนไป

ในทิศทางไหน จริงๆ คนเราเป็นแบบนั้นอยูแ ่ ล้ว เพียงแค่ เราไม่ เข้ า ใจ ไม่ เข้ า ใจธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ ชอบคิ ด ว่ า ทุ ก คนต้ อ งเหมื อ นกั น ไม่ ใช่ ค รับ มนุษย์แตกต่างกันอย่างสิน ่ นุษย์ ้ เชิง สิง่ เดียวทีม มีเหมือนกันนั่นคือความแตกต่าง เมือ ่ ใดก็ตาม ที่ เราเหมื อ นกั น คิ ด แบบเดี ย วกั น ท� า แบบ เดียวกัน กินเวลาเดียวกัน นั่นคือเครือ ่ งจักร ค น ช อ บ เห ม า ร ว ม ว่ า ต้ อ ง มี ทั ศ น ค ติ ต่ออย่างใดอย่างหนึ่งเหมือนกัน เพราะคนชอบ ตั ด สิ น คนอื่ น ด้ ว ยมุ ม มองของตั ว เอง เหมื อ น แก้วกาแฟบนโต๊ะนี้ ให้วาดภาพจากมุมทีผ ่ มนั่ง ก็จะเป็นแก้วเปล่าที่มีกาแฟ กับหยดน�า แต่ถ้า จากมุมมองคุณ มันอาจจะเป็นแก้วที่มีกาแฟ หยดน� า แล้ ว ก็ ยี่ ห้ อ เพราะมุ ม ที่ น่ั ง ท� า ให้ เห็ น แบบนัน ้ ทัง้ ทีเ่ ป็นแก้วใบเดียวกันนะ แต่ไม่เหมือนกัน เพราะเห็ น จากคนละมุ ม หากสลั บ ที่ นั่ ง กั น อาจจะเห็นตรงกันก็ได้ใช่ไหม เป็นเรือ ่ งธรรมชาติ แต่ ค นไม่ เข้ า ใจ แล้ ว พานทะเลาะกั น ท� า ไม ไม่คิดล่ ะว่าเขาเห็นไม่เหมือนคุณ เพราะมอง จากคนละมุมไง อยากให้เห็นเหมือนคุณก็ชวน เขามาให้เห็นให้เข้าใจจากจุดทีค ่ ณ ุ เป็น เมือ ่ ไหร่ ทีท ่ า� ให้เชือ ่ ได้พส ิ จ ู น์ได้ คุณค่าในตัวคุณจะเกิดขึน ้ ทันที พอไม่เข้าใจก็ ดันถอดใจต่ อต้ านตั ดพ้อ ท้อชีวิต

ค�าว่าอุทิศ พิ สูจน์ให้คนอื่นเชื่อให้ได้มันก็คือ ‘การท�างานหนัก’ เพื่ อ ไปให้ ท ะลุ เ ป้ า หมายไม่ ใ ช่ เ หรอ ค� า นี้ เ ข้ า ข่ า ยตามที่ คุ ณ

ยกตัวอย่างไหม หลายครัง้ ที่เราพ่นสิ่งที่เป็นเพียงแค่ความคิด เป็นแค่ทัศนคติ ของเราออกไป แล้วหลายคนมองว่ามัน ‘เพ้อเจ้อ’ และยิง ่ เราลงมือท�า ในสิ่งที่เขามองว่าเพ้อเจ้อ โดยที่ยังไม่เห็นเป็นผลส�าเร็จ คนก็จะมอง ต่อไปอีกว่าไอ้นี่มัน ‘บ้า’ จนเวลาผ่านไปเรายังเพียรพยายามจนเกิด ผลผลิตออกมา มันก็จะมีคนเริม ่ เข้าใจเองว่า อ๋อ ที่มันเพ้อเจ้อ มันบ้า เพราะต้องการสิ่งนี้ไง จากความดูถูกจะกลายเป็น ‘ความเชื่อ’ ทันที และยิง่ นานไปสิง่ ทีค ่ ณ ุ ท�า พิสจ ู น์ได้วา ่ ส่งผลดีอย่างทีค ่ ณ ุ พูดไว้แต่แรก ความ ‘ศรัทธา’ ก็จะตามมา ทุกคนเป็นแบบนี้หมด กาลิเลโอบอกว่าโลกนีม ้ น ั กลม ขณะทีท ่ ก ุ คนบอกว่าแบน กาลิเลโอ ถูกมองว่าบ้า จนมาถึงวันทีเ่ ขาพิสจ ู น์ได้ตามทีเ่ ชือ ่ ค�าว่าบ้าก็ไม่มจ ี ริง ดังนั้น ผมไม่เคยดูถก ู คนทีเ่ พ้อเจ้อหรือบ้า แต่จะดูถก ู คนทีเ่ พ้อเจ้อแต่ ไม่ทา� อะไร พูดแล้วไม่ทา� ปล่อยให้เป็นเรือ ่ งโม้ คุณโม้ได้นะ เพ้อเจ้อก็ได้ แต่ต้องลงมือท�าพิสูจน์ได้จริง คนไม่ให้ค่ากับเรือ ่ งเพ้อเจ้อที่คุณโม้ แต่จะให้ค่ากับผลลัพธ์ พูดอย่างท�าอย่างไม่มีใครเคารพหรือเชื่อคุณ หรอก แต่ถ้าคุณพูดแล้วท�าอย่างที่พูด คนจะเริม ่ เชื่อคุณ เมื่อผลลัพธ์ ออกมาพิสูจน์ได้ว่าเป็นไปตามที่พูด คนจึงจะเริม ่ ให้ความศรัทธา ยกตั ว อย่ า งไม่ ต้ อ งไกล ตั ว ผมเองนี่ แหละ คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ไม่อยากให้ทา � งานในวงการบันเทิงเลย ตลอด 7-8 ปีแรก ท่านอยากให้ ท�าอาชีพทีม ่ น ั่ คงเหมือนชาวบ้าน ตลอดชีวต ิ ไม่เคยได้รบ ั ค�าชมจากท่าน อาจเป็นเพราะท่านไม่เห็นว่าเราก�าลังท�าอะไร จนมาถึงช่วงที่เราเริม ่ ก่อตัง ี่ ต ี อ ่ เราก็เปลีย ่ นไป ไม่ได้เตือนให้เปลีย ่ น ้ บริษัทเองได้ ทัศนคติทม หาสิ่งที่มั่นคง กลายเป็นเตือนว่าจะรักษาสภาพหรือต่อยอดต่อไป อย่างไร นัน ้ ก ึ ว่าเราท�าได้ดี จนกระทัง่ ได้รางวัลระดับประเทศ ่ เพราะท่านรูส ซ�าแล้วซ�าอีก มันเป็นการยืนยันและตอกย�าว่าสิ่งที่ท�านั้นท�าได้ดีกว่า คนอื่น คิดดูสิ นี่ ขนาดคนใกล้ตัวที่สุดที่น่าจะเชื่อเรา ยังไม่เชื่อเลย เพราะตั ว เราไม่ เ คยพิ สู จ น์ อ ะไรให้ ท่ า นเห็ น ไม่ มี ผ ลลั พ ธ์ อ ะไรมา พิสูจน์ ดั ง นั้ น การที่ คุ ณ ลงมื อ ท� า อะไรแล้ ว ยั ง ไม่ ส� า เร็จ และมี ค น ไม่เข้าใจ มีค�าดูถูก เป็นเรือ ่ งปกติ เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา และคุณก็ ไม่ต้องไปสนใจอะไร ก็มันยังไม่ส�าเร็จไง แต่ เมื่อไหร่ก็ตามที่มันส�าเร็จแล้ ว คนจะ เข้าใจเอง ตลอดเวลาที่ท�างานมา 13 ปี ผ่ า นผู้ ค นที่ เวี ย นว่ า ย มี โ อกาสได้ คุ ย กั น เป็นหมื่นๆ คนที่เขารูจ ้ ักเราแล้วก็ไม่ค่อย มี ค� า ถามในตั ว เรา เรื่อ งแบบนั้ น ลดลง ขณะทีค ่ นใหม่ๆ ทีพ ่ บเจอก็ยงั มีขอ ้ สงสัยใน ตั ว ผม เป็ น เรื่อ งธรรมดา ไม่ แปลกเลย ทีม ่ ค ี นแปลกหน้าทีไ่ ม่เคยพบกันจะไม่ชอบ หน้าหรือหมัน ู้ ก ั ่ ไส้อะไรในตัวผม ก็เขาไม่รจ ไง ที่ส�าคัญ ผมไม่จ�าเป็นต้องอธิบายด้วย แต่ เมื่อนานไป ได้ คุ้นเคยกั น ก็ จะเข้าใจ ความเป็นตัวตนมากขึน ้ หรือถ้าอยากรูจ ้ ัก กั น จริง ผมยิ น ดี ต้ อ นรับ ‘ยิ น ดี ที่ ไ ด้ รู ้จั ก ’ มาสิ มาท�าความเข้าใจ มาใช้ชีวิตร่วมกัน คุณประสบความส�าเร็จได้ความศรัทธา ที่ว่าแล้วหรือยัง ผมไม่ เ คยรู ้ สึ ก ว่ า ตั ว เองประสบ ความส�าเร็จ ไม่ได้พูดเพราะถ่อมตัวด้วย ยังมีเรือ ่ งต้องพัฒนาไปเรือ ่ ยๆ ตลอดเวลา ฟังแล้ วเหมือนไม่รูจ ้ ั กพอ แต่ ไม่ใช่ นี่ คือ ความรู ้ สึ ก ที่ ไ ม่ อ ยากหยุ ด ที่ จ ะเรี ย นรู ้ เป็ น ความรู ้สึ ก ยิ่ ง รู ้เหมื อ นยิ่ ง ไม่ รู ้ ยิ่ ง รู ้ ยิ่ ง ไม่ เข้ า ใจ พอลงรายละเอี ย ดในสิ่ ง ที่ คิดว่ารูแ ้ ล้วกลับเจอแต่เรือ ่ งที่ยังรูไ้ ม่หมด ดังนั้น ต้องเดินหน้าต่อไป

10


คุ ณ มี โ อกาสดี ม ากที่ ไ ด้ ส นทนากั บ ผู้ ค น หลากหลาย ทั้ ง ที่ ป ระสบความส� า เร็ จ ่ งราวทีน ่ ่าสนใจอยู่แล้วใน Perspecมีเรือ

tive หรื อ แม้ แ ต่ ก ลุ่ ม คนที่ คุ ณ ไม่ รู้ จั ก ่ เป็นชาวบ้านเดินตามถนนอยูร มาก่อนซึง ่ ว ่ ม สังคมกับเราเช่นในรายการ ยินดีที่ได้รู้จัก ความสนุกมันเหมือนหรือต่างกันอย่างไร

ผมเป็ น คนขวนขวาย สนใจจะคุ ย กั บ ผู้ ค นตลอดเวลา มี เพื่ อ นหลากหลายเพศ วั ย สาขาอาชี พ ซึ่ ง คนอื่ น เขาไม่ มี โ อกาส เหมือนผม เพราะยังไม่รูว้ ่าวิธก ี ารที่เข้าไปคุย กับคนเหล่านั้นต้องท�าอย่างไร Perspective เป็นการพุดคุยกับผู้คนหลากหลายที่ประสบ ความส� า เร็จ มี มุ ม มองน่ า สนใจ เป็ น ที่ รู ้จั ก ู้ ก ั เหมาะจะน�าไปเผยแพร่ตอ ่ ต่างจาก ยินดีทไี่ ด้รจ จะเป็นคนทีผ ่ มไม่รูจ ้ ักทัง ่ ้ เลย แต่อยากรูว้ า ้ สิน มุมของเขาทีม ่ ี 24 ชัว่ โมง เป็นอย่างไร และค้นพบ ว่าเขาใช้ชีวิตไปกั บอะไร หลายสิ่งที่เห็นเป็น เรือ ่ งใหม่มาก ซึ่งส่วนตัวไม่เคยสัมผัสมาก่อน ได้ เห็ น ว่ า คนที่ มี เ งิ น เดื อนสองหมื่ น บาท เขาบริห ารจั ด การอย่ า งไรให้ ท้ั ง ครอบครัว ใช้จ่ายพอแล้วต้องเหลือเก็บ รายการนี้ท�าให้ ผมได้เรียนรูว ้ ิธีแก้ปัญหาของคนไม่มีที่ท�ากิน ว่าเขาอยู่กันอย่างไร ยาเสพติ ดมันเข้าไปใน ทุกพืน ้ ทีส ่ ร้างปัญหาต่อชุมชนแบบไหน ถือเป็น การเปิดโลกอีกครัง้ และเข้าถึงคนได้มากขึ้น

ภาพใน ‘ยินดีท่ีได้รู้จัก’ รวมทั้งคอนเซ็ปต์ ที่ คุ ณ เล่ า คล้ า ยๆ สุ วิ ก รมก� าลั งออกพบ

ประชาชน ไม่ คิ ด อะไรไปถึ ง ตรงนั้ น ผมแค่ เป็ น สื่อกลางให้คนได้รูจ ้ ักกันมากยิ่งขึ้น ก่อนที่จะ ตั ด สิ น ใครไม่ ว่ า จะรากหญ้ า หรื อ คนรวย คุ ณ เข้ า ใจพวกเขาจริง ๆ หรือ ยั ง ว่ า บริบ ท ที่ เป็ น อยู่ แ ละความคิ ด พวกเขาเป็ น เช่ น ไร เราอยากให้ผบ ู้ ริหารบ้านเมืองได้เห็นว่านโยบาย ต่ างๆ ที่เขาออกมา จริงๆ แล้ วมันตรงกั บที่ คนส่วนหนึ่งของประเทศต้องการจริงไหม

ผมไม่เคยรูส ้ ก ึ ว่าตัวเองประสบความ ส�าเร็จ ไม่ได้พูดเพราะถ่อมตัวด้วยยัง มีเรื่องต้องพัฒนาไปเรื่อยๆ ตลอด เวลา ฟังแล้วเหมือนไม่รู้จักพอ แต่ ่ อ ไม่ใช่ นีค ื ความรูส ้ ก ึ ทีไ่ ม่อยากหยุดที่ จะเรียนรูเ้ ป็นความรูส ้ ก ึ ยิง ่ รูเ้ หมือนยิง ่

ไม่ รู้ ยิ่ ง รู้ ย่ิ ง ไม่ เ ข้ า ใจ พอลงราย ละเอียดในสิ่งที่คิดว่ารู้แล้วกลับเจอ

่ งทีย ่ ง แต่เรือ ั รูไ้ ม่หมด ดังนัน ้ ต้องเดิน

หน้าต่อไป

issue 613

21 OCT 2019

แล้ ว ในเรื่ อ งพลั ง งานบวก ความสุ ข ที่ไ ด้ ในการสนทนาจากกลุม ่ คนทีโ่ ปรไฟล์ตา่ งกัน มีความคล้ายคลึงบ้างไหม ความสุขที่ได้จากการท�างานคือเวลาที่ ได้ยินอะไรก็ตาม แล้วท�าให้ผมรูส ้ ึกรูก ้ ว้างขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการได้คุยกับคนที่ประสบความส�าเร็จแล้วได้มม ุ มองใหม่ๆ ก็เป็นสุข หรือคนที่ ใครต่ อใครมองว่าไม่ได้ ประสบความส�าเร็จ แต่เขาท�าให้เราได้เห็นว่าของสิ่งหนึ่งมีคุณค่า มากกว่าที่คิด นั่นก็เป็นความสุขเช่นกัน ช่วงที่ เข้าไปดูงานในห้องตัดต่อก็มีความสุข ถ้าคน ได้ฟังเรือ ่ งนี้คงได้ฉก ุ คิดอะไรบางอย่าง Perspective และ ยินดีทไ่ี ด้รจ ู้ ก ั มีความเชือ ่ เดียวกัน นัน คื อ มนุ ษ ย์ ท ก ุ คนมี ค วามเหมื อน ่ ที่ แ ตกต่ า ง เพราะสั ง คมเรามี ก ารตั ด สิ น กั น มากเกินไป ตัดสินไปแล้วว่ารากหญ้าคิดแบบนี้ เป็นเสือ ้ แดง ขุนนางต้องเป็นเสือ ้ เหลือง แต่คณ ุ รูไ้ หมว่าพวกเขาเจออะไรมาบ้าง ทั้งประเทศ คุ ณ รู ้ จั ก กี่ ค น แต่ จ ะไปตั ด สิ น ว่ า ใครเป็ น อย่ า งไร ท� า ไมไม่ คิ ด ตามล่ ะ ว่ า บริบ ทหรือ ปั จ จั ย อ ะ ไร ท� า ให้ พ ว ก เข า เป็ น แบ บ นั้ น

ความสุขทีไ่ ด้จากการท�างานคือเวลา ทีไ่ ด้ยน ิ อะไรก็ตาม แล้วท�าให้ผมรูส ้ ก ึ ้ ไม่วา่ จะเป็นการได้คย รูก ้ ว้างขึน ุ กับ คนที่ ป ระสบความส� า เร็ จ แล้ ว ได้ มุมมองใหม่ๆ ก็เป็นสุข หรือคนที่ ใครต่ อ ใครมองว่ า ไม่ ไ ด้ ป ระสบ ความส�าเร็จแต่เขาท�าให้เราได้เห็นว่า ของสิ่งหนึ่งมีคุณค่ามากกว่าที่คิด นัน ่ ก็เป็นความสุขเช่นกัน

ประเทศไทยมีคนมากกว่า 70 ล้านคน คุณรูจ ้ ัก พวกเขาจริงๆ กี่คน ประเทศมันใหญ่ หรือจะลดลง มาเหลือแค่จังหวัดอย่างกรุงเทพฯ ที่มีสิบล้านคน ก็ได้ คุณรูจ ้ ักกี่คน ถ้าจังหวัดใหญ่ไปอีก เหลือเขต เหลือหมูบ ่ า้ นทีค ่ ณ ุ อยู่ ซอยทีค ่ ณ ุ อาศัย ในคอนโดฯ หอพั ก ล่ ะ หลายคนคงตอบได้ ว่ า รู ้จั ก ไม่ ห มด หากเป็นอย่างนั้นผมถามคุณกลับว่า คุณมีสท ิ ธิไป ตัดสินใจแทนพวกเขาทัง้ ทีย ่ งั รูจ ้ ักกันไม่ดีพอเหรอ

บทเรียนที่คุณได้จากการสนทนาคืออะไร ผมเรีย นรู ้ว่ า เราไม่ ต้ อ งนิ ย ามความสุ ข ของเราว่ า ต้ อ งขึ้ น กั บ สิ่ ง ใด เรือ ่ งนี้ มั น ท� า ให้ ผ ม เบาลงมาก จนถึ งขั้นที่ว่าไม่มีปัจจั ยใดในโลกนี้ ที่จะท�าให้ผมมีความทุกข์ แม้จะมีบางครัง้ ที่ทุกข์ แวบขึน ้ มาบ้าง ผมจะนึกถึงค�านี้ อย่าให้เรือ ่ งอะไร ก็แล้วแต่มามีปัจจัยให้เรามีความสุข พระอาจารย์ชยสาโร ท่านเป็นผู้เบิกเนตร ให้ ผ ม เข้ า ใจ เ มื่ อ ค รั้ ง ที่ ไ ด้ มี โ อ ก า ส ส น ท น า ด้ วยค� าถามง่ายๆ จากแฟนรายการที่ฝากถาม ท่าน นั่นคือ ‘ความสุขทีแ ่ ท้จริงคืออะไร’ ท่านตอบ ว่า ความสุขที่แท้จริงต้องเป็นความสุขที่ไม่ขึ้นกับ สิง่ ใด ทีแรกก็งง หมายความว่าอย่างไร ใช่การท�า ในสิ่งที่เรารักใช่ไหม ท่านบอกว่า ท�าในสิ่งที่รก ั นั่ นคื อความสุข แต่ไม่ใช่สุขที่แท้จริง เพราะหากวันใดไม่ได้ท�าใน สิ่งที่รก ั ก็ไม่มีความสุขสิ ดังนั้น ความสุขที่แท้จริง ต้องไม่ขน ึ้ อยูก ่ ับสิง่ ใดสิ ไม่เอาความสุขของเราไป แขวนกั บ เรื่อ งไหน คนจะรัก ชื่ น ชมเราหรือ ไม่ ล้วนไม่ใช่ปจ ั จัยทัง้ สิน ่ สถานการณ์ ้ สิง่ ส�าคัญคือเมือ นั้นๆ มาถึง เช่น ไม่ได้ท�าในสิ่งที่รก ั แล้ว บริษัทเจ๊ง เรายังจะท�าได้ตามที่พูดไหม เหมือนทีห ่ ลายคนคงรูส ้ ก ึ ว่า ใช่สิ มึงก็พด ู ได้ มึงรวยแล้ว ใช่สิ มึงพูดได้เพราะประสบความส�าเร็จ แล้ว แน่นอน ค�าพูดแบบนี้ก็จะเป็นบททดสอบว่า ความสุขยังจะมีอยูไ่ หมหากวันหนึง่ เรือ ่ งแบบนีม ้ าถึง แค่ตอบค�าถามแบบนี้ให้ได้ในชีวิตก็เท่านั้น

11


A MUST MOVIE MALEFICENT: MISTRESS OF EVIL

PLACE

TRUE DIGITAL PARK : SUSTAINOVATION

​ rue​Digital​Park​คื อ พื้ น ที่ แ ห่ ง T ค ว า ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ซึ่ ง ตั้ ง อ ยู่ ใ ก ล้ สถานีร ถไฟฟ้า ​BTS​ปุ ณ ณวิ ถี ​โดย ป ระกอบไปด้วยพื้ นที่ใช้สอยมากกว่า​ 77,000​ตารางเมตร​ในรูปแบบของ ้ ทีก ่ ารท�างาน​ไลฟ์สไตล์​และโครงการ พืน คอนโดมิ เ นี ย มส� า หรั บ การพั ก อาศั ย​ โดยมี แ นวคิ ด ​Togetherness​of​ Possibilities​-​ทีเ่ ดียว​ทุกความเป็น ไปได้​ทัง ้ ท�างาน​กิน​เล่น​และการพักอาศัย​ ซึ่งการท�างานนั้นก็จะมีส่วนที่เป็ นทั้ง ส�านักงาน​และโคเวิร์กกิ้งสเปซ​เพื่ อ สามารถมาพู ดคุย​ได้เจอกับเพื่อนใหม่​ และต่อยอดเป็นไอเดียใหม่ๆ​ร่วมกันได้

ดูรายละเอียดของโครงการ True Digital Park เพิ่มเติมได้ท่ี www.truedigitalpark.com

โดยศูนย์กลางนวัตกรรมดิ จิทัลอย่าง True Digital Park ยังมีการน� านวัตกรรมล� าสมัยมาช่วยส่งเสริมและ อนุ รก ั ษ์ พลั งงานรวมทั้งสิ่งแวดล้ อม เช่น ติ ดตั้ งแผงโซลาร์เซลล์ เพื่อผลิ ตพลั งงานจากแสงอาทิตย์, พื้น Pavegen ที่สามารถแปลงเป็นกระแสไฟฟ้าจากการเดิน วิ่ง หรือกระโดด, เครือ ่ ง OKLIN ส�าหรับก�าจัดเศษอาหารและกลายเป็น ปุ๋ยในเวลาเพียง 24 ชั่วโมง และเครือ ่ ง RVM (Reverse Vending Machines) ฝีมือคนไทย ใช้เทคโนโลยีบีบ-อัดขวด ให้มีขนาดเล็กลง ส�าหรับก�าจัดและแยกขยะพลาสติก ซึ่งผู้มาใช้บริการสามารถมีส่วนร่วมจากการแยกขยะพลาสติก เพื่ อ สะสมแต้ ม แลกซื้ อ สิ น ค้ า กั บ ร้า นค้ า ที่รว่ มรายการได้ด้วย

เรือ ่ งราวต่อจากภาคแรกเมือ ่ เจ้าหญิงออโรร่า (รับบทโดย แอล แฟนนิง่ ) ต้องการแต่งงานกับเจ้าชาย แต่มาเลฟิเซนต์ไม่เห็นด้วยกับการแต่ งงานครัง้ นี้ ท�าให้ราชินีอิงกริต (รับบทโดย มิเชล ไฟเฟอร์) ผูเ้ ป็นแม่ ของเจ้าหญิงออโรร่า ประกาศกร้าว เป็ น ศั ต รู กั บ มาเลฟิ เซนต์ เกิ ด เป็ น สงครามระหว่างมนุษย์กับเผ่าพันธุ์ สั ต ว์ วิ เ ศษ ที่ จ ะยกระดั บ ต� า นาน เทพนิ ย ายสู่ ภ าพยนตร์ แ อ็ ก ชั น แฟนตาซีฟอร์มยักษ์ และแน่นอนว่า ภาคนี้ ผู้ ร ับ บทมาเลฟิ เซนต์ ยั ง คง เป็ น แอ ง เจ ลิ น า โจ ลี เช่ น เ ดิ ม โดย Maleficent: Mistress of Evil จะเข้ า ฉายวั น ที่ 16 ตุ ล าคม 2562 ในโรงภาพยนตร์

MUSIC F.HERO : INTO THE NEW ERA อั ล บั้ ม เดี่ ย วครั้ง แรกในชี วิ ต ของ ฟักกลิง้ ฮีโร่ ศิลปินฮิปฮอปทีอ ่ ยู่ คูว ่ งการ และเก็บเกีย ่ วประสบการณ์ มานานถึง 17 ปี ท�าให้ในอัลบัม ้ ด ั แน่น ้ นีอ ไปด้วยบทเพลงจ�านวนถึง 27 เพลง มีศิลปินรับเชิญมากกว่า 50 ท่าน และใช้โปรดิ วเซอร์ส�าหรับอั ลบั้มนี้ โดยเฉพาะมากถึ ง 10 ชีวิต ซึ่งใน อั ลบั้มจะแบ่งออกเป็นสองส่วนคื อ Intro ทีก ่ อล์ฟน�าเรือ ่ งราวภายในจิตใจ ของตัวเองกลั่นกรองมาเป็นไรม์ใน บทเพลง ส่วน The New Era คือการทดลองท�าสิ่งใหม่ในฐานะนักดนตรี ที่ไม่ยึดติดกับแนวทางดั้งเดิมที่เขา ยึดติดมาตลอด โดยอัลบัม ้ Into the New Era สามารถหาฟังได้แล้ววันนี้ ที่ Apple Music และทุ ก ช่ อ งทาง ออนไลน์

12


PRODUCT

GAME

HOPE’S YOGA MAT BAG

HOME SWEET HOME EPISODE II

ปัญหาขยะพลาสติกล้นโลกท�าให้หนุม ่ สาว มากมายคิ ดค้ นและหาทางจั ดการกับขยะหรือ การไม่กอ ่ ให้เกิดขยะ แบรนด์ Hope เองก็ออกแบบ ร่วมกับครูโยคะ ปล่อยกระเป๋าใส่เสือ ่ โยคะ รุน ่ ลิมเิ ต็ด ใช้ ผ้ า จาก dead stock ของทาง Moreloop เพื่ อ ร่ว มเป็ น ช่ อ งทางหนึ่ ง ของการ Upcycle ตั ว กระเป๋ า มี ค วามทนทาน ขยายข้ า งได้ ก ว้ า ง แถมยั ง มี ก ระเป๋ า ซิ ป ด้ า นใน สามารถหิ้ ว หรือ สะพายก็ ได้ ในราคา 790 บาท มีจ� านวนจ� ากั ด รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม www.facebook.com/ helpourplanetearth.th

เกมสยองขวัญซึง่ เปิดตัวครัง้ แรกในปี 2017 จาก Yggdrazil Group บริษัทผู้พัฒนาเกมฝีมือ คนไทยทีท ่ า� เอาทัง้ ผูเ้ ล่นมือใหม่และเหล่าเกมเมอร์ อกสัน ขวั ญ หายมาแล้วในภาคก่อน ส�าหรับภาคนี้ ่ ได้เพิ่มความสยองขวัญและความท้าทายใหม่ๆ ที่ จ ะมาสานต่ อ ความหลอนของผี แ ละสิ่ง ลี้ ลั บ ในความเชื่อของไทย ยังเป็นครัง้ แรกที่มีระบบ การต่อสูด ้ ว ้ ยอาวุธ พร้อมกับปริศนาทีช ่ วนขบคิด ตลอดเกม เพื่อค้ นหาความจริงที่อยู่เบื้องหลั ง เรือ ่ งราวทั้งหมด ซึ่งเนื้ อเรือ ่ งของเกมในภาคนี้ แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกสามารถซื้อและเล่นได้ ทันที ส่วนบทสรุปจะเปิดให้ดาวน์โหลดบนสตรีม ในวันที่ 31 ตุลาคมนี้ รายละเอียดเพิม ่ เติม www. homesweethomegame.com

EXHIBITION

BOOK

นั ก (เขี ย น) เดิ น ทาง

เถื่ อ น 100

สามนักเขียนสาวทีค ่ นแรกคืออดีตบรรณาธิการ นิตยสาร เทีย ่ วรอบโลก ทีเ่ ดินทางมาแล้วเกือบทัว่ โลก อย่าง นิศารัตน์ สีตะสุวรรณ พร้อมคัดสรรภาพถ่าย นับหมืน ่ ภาพจากการเดินทางทัว ่ น�ามา ่ โลก เพือ จัดเป็นงานแสดงภาพในคอนเซ็ปต์ Moments ส่วนคนทีส ่ องคือ สิวก ิ า ประกอบสันติสข ุ นักเขียน นักเล่าเรือ ่ งการเดินทาง ผู้ชื่นชอบการถ่ายภาพ ชาวพื้ น เมื อ ง และสุ ด ท้ า ย อรุ ณี ชู บุ ญ ราษฎร์ เจ้าของเพจ ‘บันทึกของสองตา’ นักเขียนทีเ่ ล่าเรือ ่ ง ผ่ า นตั ว หนั ง สื อ แต่ ในครั้ง นี้ เ ล่ า ผ่ า นมุ ม มอง ประเทศต่ า งๆ ด้ ว ยภาพวาดลายเส้ น น่ า รัก ๆ งานนี้ จั ด ขึ้ น ตั้ ง แต่ วั น นี้ ถึ ง 27 ตุ ล าคม 2562 ที่ Yelo House ซ.เกษมสั น ต์ 1 รายละเอี ย ด เพิม ่ เติม www.facebook.com/yelohouse

จากประสบการณ์เดินทางตลอด 11 ปีเต็ม ใน 38 ประเทศทั่ ว โลก สู่ เถื่ อ น 100 หนั ง สื อ เล่มใหม่ของ วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล ที่คัดสรร ภาพถ่ายประกอบความเรียงทรงพลังสองภาษา จ�านวน 100 เรือ ่ ง โดยแบ่งเป็น 4 หมวด คือ Human, Nature, War และ Civilization เพราะการเดินทาง ส� า หรับ เขาเสมื อ นการซึ ม ซั บ และบั น ทึ ก โลก มาเก็บไว้ในตัวเอง หนังสือเล่มนี้จึงเป็นโลกทีเ่ ขา ประกอบขึ้ น มา เพื่ อ พาทุ ก คนโลดแล่ น ไปใน ผืนป่าดิบสุดลึกลับ สู่ประเทศที่ซ่อนตัวเองจาก โลกภายนอก เขตสงครามอันตราย ยอดเขาสูง เหนือเมฆ ไปจนถึงถ�าลี้ลับใต้พิภพ (ส�านักพิมพ์

SWEET

LETAO CAFE : FRUITY CUSTARD BRULEE FRENCH TOAST เฟรนช์ โ ทสต์ เมนู ใหม่ ส ไตล์ LeTAO เมนูออกแบบโดย ‘เชฟตูน’ - ธัชพล ชุมดวง ที่ใช้ ผลไม้ตระกูลเบอรีมาสร้างรสชาติที่กลมกล่อม ให้กับเมนู โทสต์ จานนี้ ที่ตัวขนมปังชุ่มฉ� าด้ วย รสชาติเข้มข้นแต่มค ี วามนุม ่ หอมเนย และตัดด้วย ความเปรีย ้ วหวานของผลไม้ตระกูลเบอรี พีช กีวี และเลมอน รวมถึงไอศกรีมเชอร์เบตทีเ่ ปรีย ้ วจี๊ด แต่หอมและสดชืน ่ ถึงใจ ทัง ้ หมดมาในจานใบโต ให้กินกันจนจุกไปเลย แวะชิมความอร่อยนี้ได้ที่ LeTAO Cafe ชั้ น 1 เซ็ น ทรั ล ลาดพร้ า ว และ ชั้น 7 เซ็นทรัลเวิลด์ รายละเอียดเพิ่มเติม www. facebook.com/letaothailand

ISSUE 613

21 OCT 2019

a book / ราคา 790 บาท)

13


CALENDAR M

T

W

TH

F

SA

S

21

22

23

24

25

26

27

Treasury of Time

Places & Traces

fareWell BaNGKoK

a seNse of imPerfecTioN

fiGuraTiVely sPeaKiNG

uNfoldiNG KafKa fesTiVal

WomeN of THe WeePiNG riVer

นิทรรศการ ‘คลังแห่ง เวลา’ โดย วีรพงษ์ ศรีตระกูลกิจการ ล�าดับ เรื่อ งราวการเกิ ด ขึ้ น มีอยู่ และสูญสลาย ไป โดยสื่อสารผ่าน รูปวาดของ คน สัตว์ สิ่ ง ของ วั น นี้ ถึ ง 3 พฤศจิ กายน 2562 ณ โรงแรมโรสวู ด ถ.เพลินจิต

นิทรรศการ ‘Places & Traces’ โดย ภาพฟ้า พุทธรักษา หรือ BINKO นักวาดภาพประกอบ บอกเล่าเรือ ่ งราวของ การเดิ น ทาง และ ความทรงจ�าทีเ่ กิดขึน ้ ระหว่างทาง เล่าผ่าน รูปภาพผสมผสานกับ เทคโนโลยี AR วันนี้ ถึง 22 ธันวาคม 2562 ณ The Gallery โ ร ง แ ร ม พู ล แ ม น กรุงเทพ จี

พบกับ โฆเซ การ์เรรัส นักร้องเสียงเทเนอร์ ชาวสเปนจากเมือง บาร์เซโลนา เจ้าของ รางวั ล แกรมมี ใน ‘Jose Carreras: Farwell Bangkok’ วันนี้ เวลา 19.30 น. ณ หอประชุ ม ใหญ่ ศูนย์วฒ ั นธรรมแห่ง ประเทศไทย จ� าหน่ ายบัตรที่ไทย ทิกเก็ตเมเจอร์

นิทรรศการ ‘ความงาม (มัก) ง่าย’ โดย จารุวรรณ นพรัมภา น� าเสนอบันทึกความงาม ของชีวิต บันทึกเป็น ลายเส้น การแต้ มสี จัดวางองค์ประกอบ ผ่ า น ก า ร บ ร ร ย า ย ในรูปแบบของบทกวี วันนีถ ้ งึ 16 พฤศจิกายน 2562 ณ CASE Space Revolution ซ.สุขม ุ วิท 49 (เว้นวัน จันทร์)

นิทรรศการ ‘Figuratively Speaking’ โดย เมธั ส ทั่ ว จบ แ ส ด ง ค ว า ม ง า ม ที่ สะท้อนรสนิยมของโลก ร่วมสมัยผ่านผลงาน ศิ ล ป ะ สี น� า มั น บ น ผ้ า ใบ และชาร์โ คล วันนีถ ้ งึ 5 พฤศจิกายน 2562 ณ Midnice Gallery โชคชั ย 4 ซ.18 (เว้นวันจันทร์)

แรงบั น ดาลใจจาก ฟรั น ทซ์ คาฟคา สู่ เทศกาลศิลปะร่วมสมัย ‘Unfolding Kafka Festival’ น� า เสนอ ออกมาในรูปแบบของ นิ ท ร ร ศ ก า ร ศิ ล ป ะ จั ดวาง การแสดง และภาพยนตร์ วันนี้ ถึง 15 ธันวาคม 2562 ที่ ก รุ ง เ ท พ ฯ แ ล ะ เชียงใหม่ รายละเอียด เพิม ่ เติมที่ Unfoldingkafkafestival.com

ภ า พ ย น ต ร์ เ รื่ อ ง ‘Women of the Weeping River’ หญิงคนหนึง่ ต้องเป็น ม่ า ยเนื่ อ งจากสามี เสี ย ชี วิ ต จากความขัดแย้งระหว่างเผ่าพันธุ์ เธอหาทางแก้แค้น จน ได้ พบผู้หญิงคนหนึ่ ง จากเผ่ า คู่ อ ริ ที่ เ พิ่ ง สูญเสียลูกชาย ชมฟรี วันนี้ เวลา 14.00 น. ณ สมาคมฝรั่ง เศส กรุงเทพฯ

WHERE TO FIND

Where the conversations begin. adaybulletin.com

หมอชิต

5

5

7 ร้าน DEAN & DELUCA 7 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

ร้านอินทนิล 5 สาขา สาขาทั่วกรุงเทพฯ

Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น.

หมอชิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ สยาม อโศก ศาลาแดง

Meet Up Every Monday!

2 0 0

ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ากว่า 100 จุดทั ่วประเทศ 20 ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน


​เหตุ ผ ลที่ ผ มทั ก คุ ณ ผู้ อ่ า นไปเบื้ อ งต้ น แบบนัน ้ ​เพราะผมมีโอกาสไปฟังงานเสวนา ่ ง​Financial​Inclusion​for​Future​ เรือ Economy​จั ด โดย​TIJ​Public​Forum​ ซึ่ ง มี ทั้ ง บุ ค คลส� า คั ญ ในด้ า นการเงิ น จากองค์ ก ร ต่างๆ​รวมถึงนักวิชาการมาแสดงทัศนะและข้อมูล ที่ น่ า สนใจเรื่ อ งของพฤติ ก รรมกับการเงิน ​ประเด็นหลักเลยคือการชูปัญหาของบุคคล

ทีไ่ ม่มเี ครดิตในการกูย ้ ม ื เงินจากธนาคาร​ ซึง่ จัดเป็น

กลุม ่ แรงงานนอกระบบ​มีอยูถ ่ งึ ​55%​เทียบเป็นอัตรา

ประชากรในประเทศไทยคือ​20.8​ล้านคน​อาชีพของ คนกลุม ่ นี้จะประกอบไปด้วยกลุม ่ แรงงานระดับล่าง เป็นหลัก​พอไม่มเี ครดิตในการกู้เงินจากธนาคาร​ พวกเขาจึงต้องเลือกไปขอกูจ ้ ากเจ้าหนี้

การซือ ้ ขายสินค้า​หรือช�าระค่าน�า​ค่าไฟ​ค่าโทรศัพท์​ มันอยูใ่ นสมาร์ตโฟนหมดแล้ว​เจ้าหน้าทีจ ่ งึ น�าข้อมูล

เหล่านี้มาวิเคราะห์เพื่อเป็นองค์ประกอบต่อการตัดสินใจของธนาคารในอนาคต

​สงิ่ เหล่านีค ้ อ ื ​Credit​Score​ทีก ่ า � ลังจะเกิดขึน ้ ​

และเริ่ม มี ก ารใช้ กั น แล้ ว ในบางประเทศ​ซึ่ ง ช่ ว ย เพิ่มเติมอ�านาจในการเข้าถึงเงินของกลุ่มแรงงาน

นอกระบบมากขึ้ น ​ไม่ ว่ า จะเป็ น อาชี พ ช่ า งฝี มื อ​ หรือแม่บา้ น​ก็มเี ครดิตได้​ซึง่ ถามว่าจะสร้างเครดิต เหล่านี้ผา ่ นการเก็บข้อมูลจากสมาร์ตโฟนอย่างไร ให้ดูน่าเชื่อถือ​ค�าตอบง่ายๆ​นั่นคือ

​เราต้องมีวน ิ ย ั ในการช�าระเงินทุกอย่างในชีวต ิ

ให้เป็นระบบนั่นเองครับ

​ในโลกอนาคต​อ� า นาจและความสามารถ ในการเข้าถึงการเงินจากธนาคารอาจ

นอกระบบแทน​ซึ่งไม่ต้องแสดง

ไม่จ�าเป็นต้องมีโรงงานหรือที่ดิน

เ ครดิ ต หรือ หลั ก ค� า ประกั น

ใหญ่ โ ตเพื่ อ ไปแสดงเครดิ ต

ใ น ก า ร ด� า เ นิ น ขั้ น ต อ น

ต่อการกูย ้ ม ื แล้วครับ​เพียงแค่

มากมาย​ที่ ส� า คั ญ ​ได้ เงิ น

เรามีประวัติในการช�าระหนี้

มาใช้เร็ว

ต่อสิง่ เล็กๆ​ในชีวต ิ ประจ�าวัน

​แต่หารูไ้ ม่วา่ ดอกเบีย ้

และพฤติกรรมการใช้ชีวิต

ที่ ต้ อ ง แ บ ก รั บ นั้ น โ ห ด

ที่ ไ ม่ มี ค วามสุ่ ม เสี่ ย งมาก

มหาโหด​เมือ ่ พวกเขาจ่ายหนี้

เกินไป​ก็เข้าถึงแหล่งเงินทุน

กับดอกเบี้ยไม่ไหว​ผสมกับ

จากธนาคารได้เช่นกัน

การไม่ รู ้เรื่อ งการเงิ น ​วงจร

​ซึ่งระบบเหล่ า นี้เป็นเกม

อุบาทว์จงึ เกิดขึน ้ ด้วยการวิง่ ไปขอ

กู้ ห นี้ ยื ม สิ น เจ้ า หนี้ ค นอื่ น เพื่ อ มาโปะ

กับเจ้าหนี้รายแรกแบบนี้ไปเรือ ่ ยๆ​จนหนี้สน ิ รัดตัว และหาทางออกไม่เจอ

​ค�าถามส�าคั ญของงานเสวนาในครัง้ นั้ นคื อ​

การหาทางออกให้แก่กลุม ่ ทีไ่ ม่มเี ครดิตทางการเงิน

ระยะยาวทีเ่ ราต้องติดตามดูต่อว่า​

Credit​Score​ที่หลายท่านในแวดวง

การเงินให้ความคิดเห็นในวันนี้จะช่วยให้ประชากร​ 20.8​กว่าล้านคน​มีทางเลือกทางการเงินที่ดีขึ้น ได้มากน้อยแค่ไหน

​เ มื่ อ ทุ ก คนรับ รู ้แ ล้ ว ว่ า พฤติ ก รรมการเงิ น

เล็กๆ​น้อยๆ​น�าพาโอกาสทีด ่ ต ี อ ่ การเงินในอนาคตได้​

​ค�าตอบของงานนี้อยูท ่ ค ี่ �าว่า​‘Credit​Score’​

การลงทุน​และการช�าระค่าใช้จ่ายอย่างตรงเวลา

ครับ

​C redit​Score​คื อ การใช้ ศ าสตร์ ​Data​

ก็อย่าลืมรักษาวินัยทางการเงิน​ทั้งเรือ ่ งการออม​ นะครับ​

Science​ด้ วยการติ ดตามพฤติ กรรมการใช้และ ช�าระเงินของผูบ ้ ริโภคเพือ ่ สะสมข้อมูลและใช้ประเมิน

เมื่อกำรเบี้ยวค่ำช�ำระในอดีต อำจท�ำให้อ�ำนำจกำรเงินในอนำคตเสียหำยได้

ว่าพฤติกรรมการใช้จา่ ยและช�าระเงินของผูบ ้ ริโภคนัน ้

เรือ ่ ง :​โอมศิริ​วีระกุล​ ภาพ :​พงศ์ธร​ยิ้มแย้ม

เพื่อให้มีอ�านาจในการกู้เงินจากธนาคาร​มันควร

แก้ไขและจัดการอย่างไร

MONEY LIFE BALANCE

​ มมีค�ำถำมอยำกจะถำม ผ ทุกคนว่ำตอนนี้มีรำยกำร ค้ำงช�ำระค่ำน�ำ้ ​ค่ำไฟ​ค่ำมือถือ​ ค่ำอินเทอร์เน็ต​ค่ำบัตรเครดิต​ ค่ำบ้ำน​ค่ำคอนโดฯ​กันอยู่ หรือเปล่ำครับ​ถ้ำมีแล้วช�ำระ ไปแล้วหรือยัง​ถ้ำยังรีบไปช�ำระ นะครับ​อย่ำปล่อยทิ้งไว้นำน​ เพรำะมันจะกลำยเป็นอดีต ที่โหดร้ำยซึ่งสำมำรถกลับมำ ท�ำร้ำยเรำได้ในอนำคต

มีเครดิตเพียงพอที่จะสามารถกู้เงินไปลงทุนหรือ ด�าเนินธุรกิจได้หรือไม่

​ถามว่าการเก็บข้อมูลลักษณะนี้เก็บจากไหน

ง่ า ยๆ​เลยครับ ​เก็ บ จากการใช้ ส มาร์ต โฟน

ของเรานี่แหละ​เพราะเดี๋ยวนี้เงินเข้าเงินออกด้วย

CONTRIBUTOR

โอมศิริ​วีระกุล บรรณาธิการ เว็บไซต์การเงิน aomMONEY

ISSUE 613

21 OCT 2019

15


เรือ ่ ง : ชยพล ทองสวัสดิ์

FEATURE ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์

TRUE DIGITAL PARK TOGETHERNESS OF POSSIBILITIES ทุกวันนีไ้ ม่วา่ มองไปทางไหนเราก็พบว่า เทคโนโลยี และนวัตกรรม ล้วนมีบทบาท ส�าคัญในชีวต ิ ประจ�าวันของเราไม่มากก็นอ ้ ย เพราะนวั ต กรรมและเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน เป็ น ่ นส�าคัญให้เกิดการเปลีย ่ นแปลง แรงขับเคลือ ครั้ ง ใหญ่ โดยเฉพาะในโลกธุ ร กิ จ และ อุ ต สาหกรรม (Digital Disruption) ที่ ห ลายองค์ ก รจ� า เป็ น ต้ อ งปรั บ เปลี่ย น กลยุทธ์ หรือโมเดลทางธุรกิจ ในการน�า เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาเพิ่ มมูลค่า ของสินค้าและบริการ เพื่อเสริมศักยภาพ ให้แข็งแกร่งในการก้าวสู่เวทีโลกอย่าง สง่าผ่าเผย จากโจทย์ใหญ่ในการปรับตัว รวมถึง เจตนารมณ์ และความมุง ่ มัน ่ ในการร่วม ่ ในการขับเคลือ ่ นประเทศไทย เป็นส่วนหนึง ให้เติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมั่นคง และ สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการผลักดันประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางด้าน การค้ า การลงทุ น ของภู มิ ภ าค กลุ่ ม ทรู จึงริเริ่มพั ฒนาทรู ดิจิทัล พาร์ค (True Digital Park) บนพื้ น ที่ ก ว่ า 43 ไร่ ให้กลายเป็นศูนย์กลางด้านนวัตกรรมดิจท ิ ล ั ่ี ด แห่งแรกในไทยทีใ่ หญ่ทส ุ ในภูมภ ิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงเป็นสถานทีแ่ ห่ง โอกาสส�าหรับเหล่าสตาร์ทอัพ ผูป ้ ระกอบการ ่ี นใจในการสร้างธุรกิจ ผ่านการและผูท ้ ส สร้างสรรค์เทคโนโลยีดจ ิ ท ิ ล ั โดยมุง ่ เน้น สร้างระบบนิเวศ (Ecosystem) ทั้งใน แง่ ส ถานที่ และจากการสนั บ สนุ น ของ พาร์ ต เนอร์ ที่ เ ข้ า มาร่ ว มกั น ผลั ก ดั น การสร้างสรรค์นวัตกรรม และส่งเสริม ศักยภาพของสตาร์ทอัพไทย ่ เ่ี ป็นคอมมูนต หากจะพู ดว่าทีน ิ ใี้ นฝัน ของชาวสตาร์ทอัพก็ไม่ผด ิ ด้วยระบบนิเวศ ่ ที ส มบู ร ณ์ แ บบ และความร่ ว มมื อ กั บ พันธมิตรทุกภาคส่วน ล้วนเป็นกลไกส�าคัญ ในการผลั ก ดั น ขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นา สตาร์ ท อั พ รวมถึ ง ผู้ ป ระกอบการด้ า น เทคโนโลยีไทยให้สามารถเติบโตได้อย่าง แข็ ง แกร่ ง และยั่ ง ยื น ในอนาคต อี ก ทั้ ง ยังเป็ นการช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ให้สามารถพัฒนาได้อย่างมัน ่ คงและยัง ่ ยืน 16


ISSUE 613

21 OCT 2019

17


START IDEA WITH OPEN STARTUP ECOSYSTEM ่ นองค์ความรู้ ชุมชนของการแลกเปลีย

่ ะเป็น ปัจจุบน ั ประเทศไทยมีความพร้อมทีจ ศูนย์กลางด้านนวัตกรรมเทคโนโลยีดจ ิ ท ิ ล ั แห่งใหม่ของภูมภ ิ าค แต่กลับมีสตาร์ทอัพ ่ ระสบความส�าเร็จน้อยมากเมือ ่ เทียบกับ ทีป ประเทศเพื่อนบ้าน โจทย์สา� คัญคือ สภาพแวดล้อมด้านการประกอบการ ่ ของประเทศไทยยังต�่ากว่าค่าเฉลีย ด้านการถ่ายทอดความรูจ ้ ากการวิจย ั และพัฒนา ด้านโครงการสนับสนุน ความเป็นผูป ้ ระกอบการจากภาครัฐ ด้านการให้ความรูด ้ า้ นการประกอบการ นอกมหาวิทยาลัย และโครงสร้างพื้นฐาน ด้านพาณิชย์และกฎหมาย จากจุดดังกล่าวจึงเป็นภารกิจส�าคัญ ให้ทรู ดิจท ิ ล ั พาร์ค โดย คุณฐนสรณ์ ใจดี กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ พัฒนาโครงการ ่ เ่ี ป็นฮับของเหล่าผูค เพื่อสร้างสถานทีท ้ น ่ นใจเรือ ่ งเทคโนโลยี นวัตกรรม และ ทีส ต้องการสร้างธุรกิจ เป็นเสมือนพื้นทีแ่ ห่ง ไอเดียและโอกาส ผ่านระบบนิเวศ หรือ Ecosystem ทีเ่ หมาะสมแก่การเติบโต ่ นองค์ความรู้ จากการเข้ามาร่วมแลกเปลีย ในพื้นที่ รวมถึงกลุม ่ องค์กรและบริษท ั ระดับโลกทีเ่ ข้ามาร่วมเป็นพาร์ตเนอร์ สร้าง กิจกรรม ให้คา� แนะน�า มอบองค์ความรู้ ใหม่ๆ ในทรู ดิจท ิ ล ั พาร์ค สูก ่ ารต่อยอด ่ี นใจได้ไม่รจ ทางธุรกิจแก่ผท ู้ ส ู้ บ

​ทรู​ ดิจิทล ั ​ พาร์ค​ คือ​ Community​ Management​ เหมือนกับชุมชน​เวลาคนมาอยูใ่ นหมูบ ่ า้ นหรือชุมชนก็ตอ ้ งเจอกัน​ มีปฏิสม ั พันธ์กน ั ​ มีการแลกเปลีย ่ นความคิดเห็น​ แลกเปลีย ่ น สินค้า​แลกเปลีย ่ นความคิด​และท�าให้ชม ุ ชนพัฒนาขึน ้ ไปเรือ ่ ยๆ​ เรามีหน้าทีใ่ นการท�าให้คนมาเจอกันในพืน ้ ทีน ่ ี้​ยังไม่รวมถึง อีเวนต์ตา ่ งๆ​ ทีเ่ ราจัด​ ทรู​ ดิจท ิ ล ั ​ พาร์ค​ มีอเี วนต์ทก ุ วัน​ เรามี คนทีเ่ ป็น​visitor​เฉพาะเดือนเดียวหมืน ่ กว่าคน​ซึง่ เห็นได้ชด ั ว่า มีคนสนใจเยอะ​เราไม่ได้ตอ ้ งการให้เขาสนใจเพราะเรามีสถานที่ สวย​นั่นเป็นส่วนหนึ่ง​แต่สว ่ นหลักคือเขามาแล้วเขามีโอกาส​ เพราะทรู​ดิจท ิ ล ั ​พาร์ค​คือพืน ้ ทีข ่ องการแลกเปลีย ่ นองค์ความรู ้ ใหม่ๆ​ทีเ่ ราจะได้จากกลุม ่ กันเอง​และกลุม ่ พาร์ตเนอร์ทม ี่ าร่วม ในระบบนิเวศนี้​รวมถึงกลุ่มทีเ่ ขาอยากสร้างธุรกิจหรือสร้าง โอกาสให้กับตัวเอง​ผมถึงมองว่าโอกาสเปิดได้เรือ ่ ยๆ​ถ้าเรา มาร่วมใน​Ecosystem​นีด ้ ว ้ ยกัน

เสริมทัพจากพาร์ตเนอร์ระดับโลก

ใน​Ecosystem​หรือระบบนิเวศของทรู​ ดิจท ิ ล ั ​พาร์ค​ เรามีบริษัทขนาดใหญ่ที่เป็นพื้นฐานที่จะเข้ามาช่วยสร้าง ระบบนิเวศ​อย่างเช่น​UOB​ทีก ่ อ ่ นหน้านีม ้ โี ปรแกรมทีน ่ า� ​FinTech​ Startup​มาจับคู​่ SME​เพือ ่ ท�าให้​SME​โตขึน ้ ​ซึง่ ส�าเร็จไปแล้ว​ หรืออย่าง​RICOH​ก็มาเซตอัพตัวโชว์รม ู ทีน ่ ​ี่ โดยการแสดงให้เห็น ว่าเขามีบทบาทในการช่วยให้คา � แนะน�าในการเปลี่ยนแปลง วิธก ี ารด�าเนินธุรกิจได้​ไม่ใช่เฉพาะแค่เรือ ่ งการถ่ายเอกสาร​ หรือ​Google​ทีม ่ าในลักษณะของการเทรนนิง​หรือการสอนคน ให้ใช้เทคโนโลยีเป็น​ชั้นเรียนของเขามีทุกวัน​อย่าง​Huawei​ ก็มาเปิดเป็นลักษณะของ​Multi-service​Center​ทีท ่ ง้ั ให้บริการ​ ศูนย์ซ่อม​ ให้ค�าปรึกษา​ รวมถึงให้องค์ความรูใ้ หม่ๆ​ กับคน ในระบบนิเวศ​ยังไม่รวมถึงพาร์ตเนอร์อน ื่ ๆ​ของเราทีน ่ อกจาก จะมาสร้างองค์ความรูใ้ ห้กบ ั ทรู​ดิจท ิ ล ั ​พาร์ค​เราเองก็สามารถ เชื่อมต่ อเข้ากั บสตาร์ทอั พหลายๆ​เจ้ าเพื่อที่จะสร้างธุรกิ จ หรือโมเดลธุรกิจใหม่ๆ​ขึน ้ มาได้

่ ห่งโอกาส พื้นทีแ

เรามีความตั้งใจชัดเจนในการสร้างทรู​ดิจิทัล​พาร์ค​ ให้เป็นพืน ้ ทีแ ่ ห่งโอกาส​แทนทีเ่ ราจะไปจัดอีเวนต์ปกติ​หรืองาน เสวนา​เราก็เลือกสถานทีท ่ ค ี่ นจับต้องได้จริง​อยูไ่ ด้จริง​ใช้ชว ี ต ิ ได้ จริง​ปฏิ สัมพันธ์กับคนได้ จริง​และเราน� า​Ecosystem​ ใส่เข้าไป​พอเราท�าแบบนีม ้ น ั ก็จะเกิดเป็น​Activity​ทีถ ่ าวรและ ยัง่ ยืน​โดยเฉพาะกับคนทีส ่ นใจเรือ ่ งเทคโนโลยี​นวัตกรรม​และ ต้องการสร้างธุรกิจ​ ยกตัวอย่าง​ สมัยก่อนรุน ่ ผมเวลาไปเรียน หนังสือ​ไปติวเตอร์​ก็ตอ ้ งไปสยาม​เพราะมี​Activity​เกิดขึน ้ ​เช่น เดียวกัน​ถ้าอยากท�าธุรกิจ​สร้างสตาร์ทอัพ​สร้างนวัตกรรม​ ก็ มาที่ทรู ​ ดิ จิทัล​ พาร์ค​ พอคนมาก็ จะเกิ ดเป็นระบบนิ เวศ​ หรือ​Ecosystem​ไปเรือ ่ ยๆ​สร้างไปเรือ ่ ยๆ​นอกจากเรือ ่ งของ การสร้างธุรกิจ​ทรู​ดิจิทัล​พาร์ค​ยังมีเรือ ่ งของการสร้างคน​ สร้างทักษะด้วย​เรามี​True​Digital​Academy​ทีจ ่ ะพาคนมา อัพเกรดทักษะให้พร้อมกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง​ให้เกิด การพัฒนาการทางความรู​้ หรือวิเคราะห์เป็น​และไม่ใช่เฉพาะ แค่​Academy​เพราะแม้แต่องค์กรต่างๆ​ทีม ่ าเปิดช็อปในทรู​ ดิจิทัล​พาร์ค​เขาก็จะมีเทรนด์​มีองค์ความรู ท ้ ี่ช�านาญของ ตัวเองเช่นกัน​เราก็สามารถไปเก็บเกีย ่ วองค์ความรูจ ้ ากเขาได้

่ นใจ เปิดกว้างส�าหรับทุกคนทีส

​ในส่วนของทรู​ดิจท ิ ล ั ​พาร์ค​ทีเ่ ราเรียกว่า​Innovation​ Zone​กับ​Event​Zone​เราเปิดสาธารณะ​เราไม่ได้เปิดส�าหรับ แค่สมาชิกเท่านั้น​คุณสนใจอีเวนต์อะไร​ลองเข้าไปในเฟซบุก ๊ ​ อินสตาแกรม​หรือเว็บไซต์ของเรา​คุณก็จะเห็นโปรแกรมทัง้ หมด​ ไม่วา่ จะเป็นอีเวนต์ทวั่ ไปหรืออีเวนต์โดยพาร์ตเนอร์​หรือโดยทรู​ ดิจท ิ ล ั ​พาร์ค​คุณสามารถมาร่วมได้ตลอดไม่มข ี อ ้ จ�ากัด​ยกเว้น ว่าอีเวนต์นน ั้ เป็นอีเวนต์เฉพาะกลุม ่ หรืออีเวนต์สว ่ นตัว​ฉะนัน ้ ​ คุณสามารถมาทีช ่ น ้ั ​6​ชัน ้ ​7​ได้เลย​มาหาพาร์ตเนอร์ของเรา​ Huawei,​Google,​Wongnai,​UOB,​depa,​NIA​และอีกมากมาย​ หรืออยากนัดเจอกับ​VC​ของเราก็ได้​เช่น​คุณไม่ได้เป็นสมาชิก ของเรา​แต่คุณอยากมาขอค� าปรึกษา​คุณก็นัดเข้ามาทาง​ Community​Manager​ของเรา​เราจะเชือ ่ มต่อคุณให้กบ ั คนทีค ่ ณ ุ อยากคุยได้​ดังนัน ิ ย ั ทัศน์ ้ ​ผมเลยบอกว่า​มาเถอะ​ถ้ากลับไปดูวส ของเรา​เราเขียนว่า​‘TO​BECOME​THE​MOST​COMPLETE​ A ND​ OPEN​ STARTUP​ ECOSYSTEM​ THAT​ POWERS​ 18


N THAILAND​TO​BECOME​A​GLOBAL​HUB​FOR​DIGITAL​INNOVATION’​ เราจึงเป็นระบบนิเวศแบบเปิด​เราไม่ได้บอกว่ามาที่นี่ต้องเป็นสมาชิกก่อน​ สิง่ ทีเ่ ราขอคือเดินเข้ามา​ลงทะเบียนว่าคุณมาทีน ่ ​ี่ จบแล้ว

เชื่อมต่อโลกกว้างใหญ่

​ผมว่านวัตกรรมกับสตาร์ทอัพมีมานานพอสมควรแล้ว​คนทุกคนมีความคิด ทีจ ่ ะสร้างธุรกิจหรือสตาร์ทอัพใหม่ๆ​แต่ชว ่ งหลังๆ​โอกาสมันมากขึน ้ ​ทัง ้ เด็ก​ คนรุน ่ ใหม่​หรือคนทีม ่ แ ี นวคิด​เขามีพน ื้ ทีใ่ ห้สร้างโอกาสมากขึน ้ ​ในอดีตพืน ้ ที่ อาจจะไม่ได้อยูใ่ นประเทศไทย​แต่อาจจะอยูต ่ า่ งประเทศ​เช่น​อยูใ่ นซิลค ิ อนวัลเลย์​ ในเทลอาวีฟ​หรืออยูใ่ นสิงคโปร์​แต่ตอนนีพ ้ น ื้ ทีใ่ นประเทศไทยมีแล้ว​เพราะฉะนัน ้ ​ พอมีพน ื้ ทีใ่ นประเทศไทยให้คนได้แสดงออก​ก็มโี อกาสทีท ่ า � ให้สตาร์ทอัพเกิด มากขึน ้ ​เราจะเห็นว่าสตาร์ทอัพไทยหลายคนทัง้ ในอดีตหรือปัจจุบน ั ค่อนข้าง มี ม ายด์ เซตที่ โ ตขึ้ น อย่ า งรวดเร็ว ​เมื่ อ ก่ อ นสตาร์ท อั พ ไทยอาจจะมองว่ า เราอยูใ่ นเมืองไทย​ท�าแค่สเกลในเมืองไทย​หรือประเทศไทยเรามีวฒ ั นธรรม ที่แตกต่าง​เพราะฉะนั้น​เราอาจจะไปต่างประเทศไม่ได้​แต่วันนี้ไม่ใช่

สนับสนุน ผลักดัน สร้างสตาร์ทอัพไทยให้เติบโต

ผมยกตัวอย่างแอพฯ​จองคิวร้านอาหารดังอย่าง​QueQ​เป็นต้น​เมือ ่ ก่อน ผมใช้​QueQ​ครัง้ แรกเพือ ่ จองร้านอาหารทีส ่ ยาม​แต่วน ั นี​้ QueQ​ไปต่างประเทศ แล้ว​ไปญี่ปุ่น​ไปมาเลเซีย​เพราะฉะนั้น​เขาก็เติบโต​แม้แต่​Wongnai​เองก็ ปรับขยายตัวเองจากการเป็นแค่แอพฯ​เพือ ่ เสิรช์ ร้านอาหารหรือรีววิ ​ก็กลายเป็น เรือ ่ งของการสร้างคอนเทนต์​Wongnai​ก็มโี คเวิรก ์ กิง้ สเปซทีน ่ ​ี่ เขาสามารถให้ ความรู​้ สร้างชุมชน​หรือสร้างสูตรอาหาร​ท�าให้คนเข้าถึงสูตรอาหารได้งา่ ยขึน ้ ​ ท�าอาหารได้งา่ ยขึน ้ ​หน้าทีเ่ ราคือท�าให้เขาคิดแบบนีไ้ ด้เรือ ่ ยๆ​โดยน�าผูส ้ นับสนุน มาช่วยเขา​เช่น​เขาคิดได้​แต่ไม่มท ี น ุ ​เราต้องต่อเขาเข้ากับ​VC​หรือคนลงทุน ให้ได้​เขาคิดได้​แต่ไม่มค ี นช่วยในเรือ ่ งการท�าธุรกิจหรือแอดมิน​เราก็ตอ ่ เขาให้ เข้ากับบริษัททีท ่ า� เรือ ่ งแอดมิน​หรือเขาท�าธุรกิจแล้วติดเรือ ่ งของการเชือ ่ มต่อกับ ภาครัฐ​เราก็ตอ ่ เขาให้เข้ากับ​depa​,​NIA,​BOI​หรือภาครัฐ​นัน ่ เี่ ราท�า ่ คือหน้าทีท

่ นเศรษฐกิจไทยให้กา้ วหน้า ขับเคลือ

​ประเทศเรามีทงั้ ธุรกิจขนาดใหญ่กบ ั ขนาดเล็ก​ถ้าธุรกิจขนาดเล็กแข็งแรง​ มันสามารถท�าให้ธรุ กิจรากหญ้าขับเคลือ ่ นประเทศได้​ดูอย่างบริษท ั ในญีป ่ น ุ่ หรือ อเมริกา​เขามี​SME​มีบริษัทขนาดเล็ก​แล้วก็มบ ี ริษัทขนาดใหญ่​เพราะฉะนั้น​ ถ้าเรามีบริษัทขนาดเล็กทีแ ่ ข็งแรง​นอกจากเขาจะช่วยขับเคลือ ่ นเศรษฐกิจใน ภาพรวมแล้ว​เขายังสร้างนวัตกรรมได้เร็วกว่าบริษัทขนาดใหญ่​ เพราะเขาขยับ ได้เร็ว​พอขยับเร็ว​โอกาสการสร้างเทคโนโลยี​การสร้างแนวคิดใหม่ๆ​ก็มากขึน ้ ​ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ต้องมีคนช่วยเขา​มีความคิดสร้างได้​แต่ถ้าไม่มีเงิน​ไม่มีคน ให้ความรูเ้ ขา​เขาก็ไปไม่ได้​ฉะนัน ่ ว ี่ า่ จะเกิดได้จริงไหม​จะเกิดได้ ้ ​ประเด็นอยูท เร็วแค่ไหน​แล้วจะสามารถให้อะไรกับทิศทางหรือนโยบายประเทศได้อย่างไร

เรียนรู้ และปรับตัวอย่างยัง ่ ยืน

​ทก ุ วันนีม ้ ห ี ลายอย่างทีเ่ กิดขึน ้ ​ไม่วา่ จะเป็นเรือ ่ งของย่านนวัตกรรม​เรือ ่ งของ​ EEC​เรือ่ งของการจัดอีเวนต์มากขึน ้ ​จ�านวนโคเวิรก ์ กิง้ สเปซทีเ่ ยอะขึน ้ ​บริษท ั ต่างชาติ ทีเ่ ริม ้ ​สตาร์ทอัพเราทีโ่ ตขึน ้ ​เทรนด์พวกนีโ้ ตขึน ้ ​แต่ ่ ท�างานกับประเทศไทยมากขึน อนาคตข้างหน้า​สิง่ ทีเ่ ราน่าจะจับต้องได้คอ ื เรือ ่ งของเทคโนโลยีหรือนวัตกรรม ทีเ่ กีย ่ วข้องกับเศรษฐกิจของประเทศไทย​อย่างเช่น​เราเก่งในด้านของเกษตรกรรม​ เราเก่งในด้านของอาหาร​เราเก่งในด้านของการบริการ​พวกนีค ้ วรจะเกิดขึน ้ ​หรือ เราเป็นฐานการผลิตรถยนต์ทใ่ี หญ่อน ั ดับต้นๆ​ของโลก​เราเป็นประเทศทีผ ่ ลิต อาหารและผลไม้เยอะอันดับต้นๆ​ของโลก​ถ้าเรามีนวัตกรรมไปประกอบ​พวกนี้ ก็จะยิง่ โตขึน ้ ​ถ้าเราท�าในสิง่ ทีเ่ ราเก่ง​จะท�าให้ประเทศเติบโตไปได้เร็ว​ยิง่ ต่อไป​ 5G​ทีเ่ ป็นพืน ้ ฐานท�าให้​Digital​Innovation​มันก้าวไปอีกขัน ้ หนึง่ ​ไม่วา่ จะเป็น​ Self-driving​Car​หรือเรือ ่ งของ​IoT​หรือ​Big​Data​สุดท้ายคุณจะเห็นเลยว่า ผลิตภัณฑ์แต่ละตัวเป็นแบบไหน​มาอย่างไร​แม้แต่ในเครือ​CP​ของเราอย่างเรือ ่ ง อาหาร​เราก็โปร่งใส​สามารถตามได้ว่าอะไรถึงไหน​สิ่งเหล่านี้จ�าเป็นมาก​ อีกเรือ ่ งทีน ่ ่าสนใจคือเรือ ่ งของความยัง ่ งการจัดการขยะ​การลดขยะ​ ่ ยืน​เรือ ถุงพลาสติก​การใช้วส ั ดุรไี ซเคิล​หรือการสิน ่ งพวกนีต ้ อ ้ งมาแน่นอน ้ เปลืองต่างๆ​เรือ

พัฒนา และต่อยอดพื้นที่ สูโ่ ลกอนาคต

​ในอนาคต​เราจะพัฒนา​Ecosystem​ของทรู​ดิจท ิ ล ั ​พาร์ค​ให้กา้ วหน้า ไปเรือ ่ ยๆ​โดยการระดมพาร์ตเนอร์​และสร้างกิจกรรมระหว่างพาร์ตเนอร์​เพือ ่ สร้าง​ Ecosystem​ให้เข้มแข็งขึ้นเรือ ่ ยๆ​และให้มีผลที่จับต้องได้​ยกตัวอย่างเช่น​ มีสตาร์ทอัพที่โตขึ้น​มีรส ี อร์ตที่ถูกผลิตออกจากทรู​ดิจิทัล​พาร์ค​ได้เยอะขึ้น​ มีกจ ิ กรรมทีค ่ นรูส ้ ก ึ ว่ามาแล้วได้ประสบการณ์​ได้องค์ความรูท ้ ด ี่ ข ี น ึ้ ​พวกนีต ้ อ ้ ง ถู ก ผลิ ต ออกไปให้ โ ตขึ้ น เรือ ่ ยๆ​รวมถึ ง วั ด ผลได้ ​อี ก ส่ ว นคื อ การสนั บ สนุ น​ Ecosystem​ให้กว้างขึน ้ ​เราเองก็มค ี วามคิดริเริม ่ งของการท�า​Ecosystem​ ่ เรือ เล็กๆ​อย่างเช่น​เราจะเปิดโคเวิรก ์ กิง้ สเปซขนาดเล็กใกล้ๆ​กับมหาวิทยาลัยหรือ ชุมชน​ทีเ่ รียกว่า​True​Space​ตรงนีจ ้ ะช่วยให้ชม ุ ชนเข้าถึง​Ecosystem​ทีเ่ ป็น เทคโนโลยี​หรือไม่ใช่เทคโนโลยีก็ได้​แต่เป็นการสร้างธุรกิจใหม่ๆ​ได้ง่ายขึ้น​ ตอนนี้เราเปิด​True​Space​ไป​8-9​ทีแ ่ ล้ว​และจะขยายไปเรือ ่ ยๆ​ในอนาคต

ISSUE 613

21 OCT 2019

19


STAR ศัพท์ส�าคัญเบื้องต้นที่ผู้เริ่มสตาร์ทอัพ ไม่ควรพลาดเรียนรู้มีอะไรบ้าง

1

ACCELERATOR

2

MVP

THINGS TO KNOW BEFORE STARTING A STARTUP สตาร์ทอัพมีจด ุ เริม ่ ต้นจากการมองเห็น

ปัญหา

ในทุกสรรพสิง่ มีจด ุ เริม ่ ต้นเสมอ​

และจุดเริม ่ ต้นมักเป็นตัวก�าหนดทิศทาง

ถัดไปของสิ่งนั้น​ สตาร์ทอัพก็เช่นกัน​

มันมีจด ุ เริม ่ ต้นจากการมองเห็นปัญหา

ธุ ร กิ จ สตาร์ท อั พ สร้า งแอพพลิ เ คชั น

นวัตกรรมใหม่ๆ​ พร้อมผนวกรวมกับ

นัน ้ มา​ท�าให้ได้รบ ั ความนิยมจากผูใ้ ช้ ้ ขึน

ความต้ อ งการบางอย่ า งของลู ก ค้ า​

ส�าหรับการจองคิวร้านอาหารผ่านแอพฯ​

อย่างรวดเร็ว

่ ารใช้ สตาร์ทอัพ และ SME ต่างกันทีก

ต่างๆ​ในชีวิตประจ�าวัน​และต้องการ

เทคโนโลยีเพื่อผลลัพธ์

แก้ไขปัญหา​โดยการน�าเทคโนโลยีหรือ

SME​มีความคล้ายคลึงกันหากมองจาก

เริ่ม ต้ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยแนวคิ ด ที่ อ ยากจะ นวัตกรรมเข้ามาช่วย​ผ่านการน�าเสนอ

ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รือ บริก ารใหม่ ๆ ​ภายใต้

เงื่ อ นไขของปั ญ หาที่ แ ตกต่ า งกั น ไป​ ดังนั้น​ขนาดกิจการสตาร์ทอัพจึงมัก เริม ่ ต้นด้วยขนาดที่เล็กมากๆ​หากแต่

ความเล็กนัน ุ สรรคส�าหรับไอเดีย ้ ไม่ใช่อป

ทีด ่ แ ี ละสร้างสรรค์​เพราะทีใ่ ดก็ตามทีม ่ ี ไอเดียดีๆ​ทีน ่ น ั่ ย่อมมีมล ู ค่าเสมอ

่ี ง สตาร์ทอัพมีผลิตภัณฑ์ทม ุ่ เน้นสูต ่ ลาด ขนาดใหญ่ทย ี่ ง ั ไม่มผ ี ข ู้ าย

สิง่ หนึง่ ทีท ่ า� ให้สตาร์ทอัพแตกต่าง

จากธุ ร กิ จ อื่ น ๆ​คื อ ​ความเกี่ ย วพั น

ระหว่างผลิตภัณฑ์ของสตาร์ทอัพ​และ ข้อมูลแหล่งทีม ่ า​:​www.feedough.com,​www.brighterbox.com

ความต้องการทางตลาด​อธิบายง่ายๆ​

คื อ ​สตาร์ท อั พ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี มุ่ ง เน้ น

สู่ ต ลาดขนาดใหญ่ ที่ ยั ง ไม่ มี ผู้ ข าย​ ผู้ประกอบการสตาร์ทอั พที่ดีจะรู จ ้ ัก

กลยุทธ์ที่ดีในการออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือบริการตามที่ตลาดต้องการ​และ

สามารถเข้ า ถึ ง ความต้ อ งการนั้ น ได้​

สิง ่ เหล่านี้ล้วนช่วยกระตุ้นให้เกิดการ-

เติ บโตอย่างรวดเร็ว​ยกตั วอย่างเช่น​ ร้านอาหารหนึง่ มีลก ู ค้าทีต ่ อ ้ งการเข้าไป ใช้บริการเป็นจ�านวนมาก​จึงท�าให้เกิด

ความจริงแล้ว​สตาร์ทอัพ​และ​

สายตาคนนอก​ ทัง้ สองล้วนเป็นบริษัท

เล็กๆ​ ทีเ่ ริม ้ ระกอบการเพือ ่ ่ ต้นจากผูป เข้ามาเติมเต็มช่องว่างในตลาด​มุง่ เน้น

ไปทีก ่ ารเติบโต​ผลก�าไร​และความอยูร่ อด​

แต่ถงึ กระนัน ุ สมบัตท ิ แ ี่ ตกต่าง ้ ก็ยงั มีคณ

กันเล็กน้อย​แต่ถือว่าส�าคัญมาก​เช่น​

ในจุดเริม ่ ต้น​ สตาร์ทอัพมักเริม ่ ต้นด้วย

และขับเคลือ ่ นธุรกิจ​ยิง่ โลกอินเทอร์เน็ต

ไร้พรมแดนปัจจุบันเปิดโอกาสให้คุณ สามารถหาความรูแ ้ ละเชือ ่ มต่อได้แทบ

ทุกแห่งทัว ่ โลกแค่ปลายนิ้ว​ จึงนับเป็น โอกาสส�าหรับผูท ้ ส ี่ นใจ​ถามตัวเองให้ดี ว่ า ปั ญ หาที่ คุ ณ พบคื อ อะไร​ ไอเดี ย

คืออะไร​ ความต้องการของตลาดเป็น

อย่ า งไร​และจะน� า เทคโนโลยี ใหม่ ๆ​ เข้ามาช่วยแก้ไขได้อย่างไรบ้าง​หาก

จะใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ​ในการขับเคลือ ่ น

พร้ อ มได้ เ ริ่ ม ต้ น ลงมื อ ท� า ​ปั จ จุ บั น

และเปิดโอกาสให้คนทั่วไปที่มีไอเดีย

ของสังคม​ดังนั้ น​หากประเทศไหนมี

ไอเดี ย ที่ ไ ม่ ไ ด้ ใหม่ ​แต่ จ ะมาช่ ว ยให้

ที่ เปิ ด โอกาสให้ เหล่ า สตาร์ท อั พ ได้

ตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า

สตาร์ทอัพเกิดขึน ้ จ�านวนมาก​และมีพน ื้ ที่

สร้า งสรรค์ แ ละปล่ อ ยของ​ก็ เท่ า กั บ

ส่งเสริมให้เกิด​Startup​Ecosystem​

ได้รวดเร็วขึน ้

หรือระบบนิเวศสตาร์ทอัพ​ที่จะส่งผล

เทคโนโลยี และนวั ต กรรมคื อ หั ว ใจ

แวดวงเทคโนโลยี​หรือนวัตกรรมที่จะ

ส�าคัญของสตาร์ทอัพ

อย่ า งที่ ก ล่ า วไปว่ า สตาร์ท อั พ

แก้ไขปัญหาโดยการน�าเทคโนโลยีหรือ

เป็นแผนธุรกิจขนาดย่อที่ สตาร์ทอัพน�าไปขายให้ นักลงทุน โดยจะเป็นแผน ่ ค ทีม ี วามชัดเจน ตรง ้ น�าเสนอ เป้าหมาย ไม่ยด ื เยือ เฉพาะข้อมูลและตัวเลข ่ า� คัญเท่านัน ทีส ้

่ ม คือสตาร์ทอัพทีม ี ล ู ค่า มากกว่า 1 พันล้านดอลลาร์ ่ จ สหรัฐฯ บริษท ั ทีเ่ ป็นทีร ู้ ก ั อาทิ Tesla, Airbnb, Instagram และ Shopify

สตาร์ทอัพจึงมีความส�าคัญต่อภาพรวม

นโยบายส่ ง เสริ ม หรื อ ผลั ก ดั น ให้ มี

สายการผลิตหรือกระบวนการบริการ

UNICORN

ด้วยความทีส ่ ตาร์ทอัพมักเริม ่ ต้น

เทคโนโลยีทต ี่ อบสนองกับกระบวนการ ผลิตเดิม​น�ามาปรับปรุงให้ดข ี น ึ้ ​อาจเป็น

4

สตาร์ทอัพแล้ว

จากคนเล็กๆ​มันจึงง่ายต่อการเกิดขึน ้ ​

บางอย่างของลูกค้า​ในขณะที​่ SME​จะใช้

PITCH DECK

พร้อมจะเริม ่ ก้าวแรกกับการท�าธุรกิจ

สินค้าทีม ่ อ ี ยูแ ่ ล้ว​แต่อาจจะยังไม่เพียงพอ

ธุรกิ จ​ เพื่อตอบสนองความต้ องการ

3

สามารถตอบค� าถามเหล่านี้ ได้ ​คุณก็

่ ค สิง ี วามส�าคัญยิง ่ เล็กๆ ทีม ่ ใหญ่

ต่อความต้องการ​สตาร์ทอัพส่วนใหญ่

(Minimum viable product) ่ ก ้ มา คือสินค้าทีถ ู พัฒนาขึน ใหม่ทม ี่ เี ป้าหมายเพื่อ ตอบสนองต่อผูใ้ ช้ในช่วงต้น ก่อนจะกลับมาพัฒนาต่อ เพิ่มเติมหลังจากได้รบ ั ้ งต้นจาก ความคิดเห็นเบือ ผูใ้ ช้งานจริง

ไอเดียดีๆ​ทางการตลาด​เพือ ่ ตอบสนอง

แนวคิดทีอ ่ ยากจะแก้ไขปัญหาบางอย่าง​ ในขณะที​่ SME​อาจเริม ่ ต้นท�าธุรกิจจาก

่ ร้างขึน ้ มาเพื่อ โปรแกรมทีส ช่วยเหลือเหล่าบริษท ั สตาร์ทอัพ ้ เช่น ค�าปรึกษา ใหม่ๆ ให้โตขึน เทคโนโลยีบางอย่าง หรือทุน เป็นต้น ดังนัน ้ การหา Accelerator ทีใ่ ช่จง ึ จ�าเป็น มาก เพราะจะช่วยให้สตาร์ทอัพ เติบโตรวดเร็วได้

ต่ อ เศรษฐกิ จ และความก้ า วหน้ า ใน ช่วยแก้ปัญหา​ต่อยอด​รวมถึงก่อเกิด

ผลประโยชน์ใหม่ๆ​ให้กับสังคมได้

5

VC

(Venture capital / Venture capitalist) คือนักลงทุนทีใ่ ห้เงินทุนกับ บริษท ั หรือสตาร์ทอัพต่างๆ แลกกับหุน ้ ส่วนในบริษท ั และคาดหวังว่าสตาร์ทอัพ นัน ้ จะเติบโตและกลับมาสร้าง ผลก�าไรคืนได้ 20


R

้ อยูก ่ ก็จะมี ในความเป็นจริงแล้วประเภทของสตาร์ทอัพขึน ่ บ ั ว่าเราจะใช้อะไรในการแบ่ง ดังนัน ้ มันจึงไม่ตายตัว ซึง ้ มาในแวดวงอีกมากมาย แต่ปัจจุบน ่ ลายคนอาจจะคุน สตาร์ทอัพใหม่ๆ เกิดขึน ั มีอยูบ ่ างประเภททีห ้ เคย แต่ไม่เข้าใจว่า ่ า� คัญต่อไปนีพ ้ ร้อมกัน หมายถึงอะไร เราลองมาดูตว ั อย่างประเภทของสตาร์ทอัพทีส

1

2

3

4

5

6

7

8

FIN

TECH

9

สตาร์ ท อั พ ด้ า นการเงิ น ​ โดยน� า เทคโนโลยีหรือซอฟต์แวร์เข้ามาช่วย แก้ปญ ั หา​ และเพิม ่ ความคล่องตัวใน การท�าธุรกรรม​ซึง่ เกิดจากการดิสรัปต์ ของโลกปัจจุบัน​เช่น​Peer​Power​ หรือ​StockRadars

BIO TECH

สตาร์ทอัพเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ​ ย่อมาจาก​ Biotechnology​ โดยใช้ ประโยชน์จากกระบวนการทางชีวภาพ เพือ ่ อุตสาหกรรมและวัตถุประสงค์อน ื่ ๆ

INSURE TECH

ข้อมูลแหล่งทีม ่ า​:​www.techsauce.co

สตาร์ทอัพเกีย ่ วกับธุรกิจประกันภัย​ทีผ ่ สม รวมกันระหว่าง​Insurance​กับ​Technology​ซึง่ ได้แรงบันดาลใจมาจาก​FinTech​ โดยการน�าเทคโนโลยีมาช่วยขับเคลื่อน​ และอ�านวยความสะดวกแก่อต ุ สาหกรรม ประกันภัย​และผูท ้ า� ประกัน

ISSUE 613

21 OCT 2019

ED

TECH

สตาร์ท อั พ ด้ า นการศึ ก ษา​ที่ ร วมศั พ ท์​ Education​และ​Technology​เข้าด้วย กั น ​โดยน� า เทคโนโลยี ม าช่ ว ยอ� า นวย ความสะดวกในการเรียนรู​้ และปรับปรุง ประสิ ท ธิ ภ าพการเรีย นการสอน​ เช่ น​ SkillLane​หรือ​Taamkru

AD

TECH

สตาร์ทอัพด้านการโฆษณา​ซึง่ มาจากค�าว่า​ Advertising​และ​Technology​เป็นการน�า เทคโนโลยีและซอฟต์ แวร์เข้ามาช่วยใน การควบคุ ม ​และก� า หนดเป้ า หมายใน การโฆษณาบนพืน ้ ทีอ ่ อนไลน์

CLEAN

HEALTH

สตาร์ ท อั พ เกี่ ย วกั บ พลั ง งานสะอาด​ สิ่งแวดล้อม​พลังงานสีเขียว​หรือความยัง ่ ยืน​

สตาร์ท อั พ ด้ า นสุ ข ภาพและการแพทย์​ ทีน ่ า � เทคโนโลยีมาเพือ ่ แก้ไขปัญหาสุขภาพ​ รวมถึงปรับปรุงคุณภาพชีวิต

FASHION

AGRI

TECH

TECH

สตาร์ท อั พ เกี่ ย วกั บ เรือ ่ งแฟชั่น​ โดยน� า เทคโนโลยีใหม่ๆ​มาผสมผสานเข้ากับเสือ ้ ผ้า ทีเ่ ราสวมใส่​

TECH

TECH

สตาร์ท อั พ ด้ า นการเกษตร​ ซึ่ ง มาจาก​ Agriculture​และ​Technology​เพือ ่ พัฒนา เทคโนโลยี ส� า หรับ การปฏิ บั ติ ก ารภาค เกษตร​และช่ ว ยยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของเกษตรกร​เช่น​Verifik8​​ 21


101 Sukhumvit Road, Bangkok 10260, Thailand

เรือ ่ ง : ชยพล ทองสวัสดิ์

SPACE & TIME

TRUE DIGITAL PARK

ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์

WORKING AND PLAYING WITH IMAGINATION

่ ย นอกจากทรู ดิจท ิ ล ั พาร์ค (True Digital Park) จะเป็นศูนย์กลางด้านนวัตกรรมของภูมภ ิ าคแล้ว ทีน ี่ ง ั ผนวกความเป็นโคเวิรก ์ กิง ้ สเปซ ที่มากกว่าแค่การมีพื้นที่ส�าหรับการมานั่งท�างาน แต่เป็นการสร้างสภาพแวดล้อมหรือระบบนิเวศสตาร์ทอัพ (Startup Ecosystem) ่ นไอเดีย องค์ความรูร ทีเ่ หมาะสมแก่การแลกเปลีย ้ ะหว่างกัน สร้างเครือข่าย และต่อยอดธุรกิจสูค ่ วามเป็นไปได้ใหม่ๆ ของเหล่าสตาร์ทอัพ เลือดใหม่ ผู้ประกอบการ รวมถึงผู้ที่สนใจสร้างธุรกิจอีกด้วย ด้ วยความที่คอนเซ็ปต์ ของทรู ดิ จิทัล พาร์ค คื อ ความเชื่ อ ที่ ว่ า ทุ ก ความคิ ด สามารถเป็ น จริง ได้ บนพืน ้ ทีข ่ องชัน ้ 6 และชัน ้ 7 ในโซนทีเ่ รียกว่าเปกาซัส จึงออกแบบขึน ้ เพือ ่ รองรับไอเดียใหม่ๆ ตามคาแรกเตอร์ ของสั ต ว์ ในต� า นานตั ว นี้ ที่ เป็ น เสมื อ นตั ว แทนของ ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ เหมือนกับเหล่าสตาร์ทอัพ ทีม ่ ารวมตัวกันในพืน ้ ทีน ่ ี้ และตอบโจทย์ทง้ั การท�างาน การผ่อนคลาย และไลฟ์สไตล์แบบปัจจุบัน เป็นทั้ง Workplace, Lifestyle Place ในที่เดียว ในพื้ น ที่ ส่ ว นที่ เ ป็ น Workspace คื อ พื้ น ที่ สร้างสรรค์นวัตกรรมดิจท ิ ล ั ภายใต้แนวคิด ‘Togetherness of Possibilities’ ที่เดียว ทุกความเป็นไปได้ ทัง้ โคเวิรก ์ กิง้ สเปซทีม ่ ม ี ม ุ ท�างานมากมาย ทัง้ โต๊ะเดีย ่ ว โต๊ะรวม โซฟานัง่ เล่น พร้อมการตกแต่งแบบสบายตา บนพื้นที่โปร่งโล่ ง แซมด้ วยต้ นไม้ที่ประดั บตกแต่ ง ตามจุดต่างๆ เพราะที่นี่ออกแบบพื้นที่ในคอนเซ็ปต์ ของธรรมชาติ เพราะเชือ ่ ว่าธรรมชาติเป็นแรงบันดาลใจ ที่ดีที่สุดในการก่อเกิดไอเดียต่างๆ

ความสะดวกสบายของทีน ่ ค ี่ อ ื ทุกอย่างสามารถ ครบจบในที่เดียว เพียงแค่น�าโน้ตบุ๊กมาเครือ ่ งเดียว ก็สามารถใช้ชว ี ต ิ อยูท ่ น ี่ ไี่ ด้เป็นวัน เพราะนอกจากพืน ้ ที่ โคเวิรก ์ กิ้งสเปซจะมีมุมท�างานแล้ว ยังมีบริการอื่นๆ ทัง้ ห้องประชุมขนาดเล็กหรือใหญ่ทส ี่ ามารถจองใช้งาน ได้ผา่ นแอพพลิเคชัน มี townhall ส�าหรับจัดคอนเสิรต ์ ประชุม สัมมนา มีหอ ้ งส�าหรับออกอากาศพอดแคสต์ ของทรู หรือหากนั่ งท�างานแล้วท้องหิว ก็สามารถ เดิ น มาใช้ บ ริก ารตู้ ก ดอาหารที่ ต้ั ง อยู่ ด้ ว ยการจ่ า ย ผ่าน True Wallet แบบไลฟ์สไตล์คนปัจจุบน ั ในยุคสังคม ไร้เงินสด (Cashless Society) มีบาร์ขนม น�าผลไม้แบบ infuse ทีจ ่ ะเปลี่ยนรสชาติทก ุ วัน และกาแฟพรีเมียม ให้ผู้มาใช้บริการได้เพิ่มพลังกันด้วย นอกจากพื้ น ที่ ก ารท� า งาน ทรู ดิ จิ ทั ล พาร์ค ยังให้ความส�าคัญกับการพักผ่อน ในส่วนของ Play Zone ที่ออกแบบเพื่อให้เหล่าสตาร์ทอัพหรือสมาชิก ทีม ่ าใช้บริการพืน ้ ทีไ่ ด้ผอ ่ นคลายจากการท�างาน ซึง่ มีทง้ั โต๊ะพูล โต๊ะปิงปอง บอร์ดเกม ตูเ้ กม ให้เลือกเล่น หรือ

กระทั่งบางศุกร์ก็อาจจะได้เห็นเหล่าสตาร์ทอัพหรือ ผูม ้ าใช้บริการปาร์ตเี้ บียร์กน ั สนุกๆ ในยามค�าด้วยก็ได้ ความน่ ารักใน Play Zone คื อการมีกิมมิก เล็กๆ เจ๋งๆ ทัง้ ผนังเลโก้หลากสีสน ั งาน installation ตุ๊กตาชูสองนิ้วเป็นนัยในการให้ก�าลังใจ หรือหุ่นเด็ก กระโดดน� าที่ให้ความรู ส ้ ึกราวกั บว่าได้ กลั บไปเป็น เด็ ก ที่ มี พ ลั ง เต็ ม เปี่ ยมอี ก ครั้ง รวมไปถึ ง ลวดลาย กราฟฟิตี้บนผนั งก็เสริมให้พื้นที่นี้ทั้งสนุ ก และช่วย จุดประกายไอเดียใหม่ๆ ให้สมอง เติมเต็มจินตนาการ ในการกลับไปนั่งท�างานต่อได้ ทรู ดิ จิ ทั ล พาร์ค ไม่ ใช่ แ ค่ โ คเวิ ร ์ก กิ้ ง สเปซ แต่ เป็ น คอมมู นิ ตี้ ที่ เพี ย บพร้อ มไปด้ ว ยระบบนิ เวศ (Ecosystem) ทีเ่ อื้อแก่การเติบโต และต่อยอดธุรกิจ ของเหล่าสตาร์ทอัพ ให้ได้มารวมตัวกันแลกเปลี่ยน ประสบการณ์และความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ เพือ ่ ร่วมกัน ผลักดันแวดวงเทคโนโลยีและสตาร์ทอัพไทยให้ก้าว สู่ เวที โ ลกได้ อ ย่ า งแข็ ง แกร่ง และยั่ ง ยื น ในอนาคต

22


ISSUE 613

21 OCT 2019

23


SPECIAL RE TRUE DIGITAL PARK T.O.P.2019 – TOGETHERNESS OF POSSIBILITIES

ปฏิ เ สธไม่ ไ ด้ ว่ า ทุ ก วั น นี้ เ ราก้ า วเข้ า สู่ โ ลกแห่ ง นวั ต กรรมและ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล อย่ า งเต็ ม รู ป แบบแล้ ว ความก้ า วหน้ า ทาง เทคโนโลยีท่ีรวดเร็ว เหล่านี้กลายเป็ นแรงขับเคลื่อนที่ ท� าให้ เ กิ ด การเปลีย ่ นแปลงครัง ้ ใหญ่ โดยเฉพาะในโลกธุรกิจและอุตสาหกรรม ทุกองค์กรต้องปรับตัว ปรับกลยุทธ์ ผสานนวัตกรรม เทคโนโลยี เพื่ อ ประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ ธุ ร กิ จ รวมถึ ง บู ร ณาการเข้ า กั บ ด้ า นต่ า งๆ และเพิ่มศักยภาพการลงทุนให้กับประเทศไทยอย่างมั่นคง

เช่นเดียวกับ ‘ทรู ดิจท ิ ล ั พาร์ค’ ที่ มี พั น ธกิ จ หลั ก ในการเสริม สร้า ง ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ส ต า ร์ ท อั พ แ ล ะ ผูป ้ ระกอบการรุน ่ ใหม่ดา ้ นเทคโนโลยี ให้เติบโตได้อย่างแข็งแกร่ง สามารถ แข่งขันได้ในเวทีโลก โดยสร้างระบบ นิเวศสมบูรณ์แบบครบวงจร ภายใต้ แนวคิด ‘Togetherness of Possibilities - ทีเ่ ดียว ทุกความเป็นไปได้’ และได้ร ับความร่วมมือและการสนับสนุน จากเหล่าพันธมิตรทุกภาคส่วนทีม ่ าร่วม เติ ม เต็ ม ระบบนิ เวศแบบครบวงจร ส�าหรับสตาร์ทอัพและผูป ้ ระกอบการ รุ น ่ ใหม่ด้านเทคโนโลยี ทั้งไทยและ ต่างชาติ เมื่ อ วั น ที่ 18 กั น ยายน 2562 ที่ ผ่ า นมา ทรู ดิ จิ ทั ล พาร์ค ตอกย� า ความเป็นผูน ้ า� และศูนย์กลางนวัตกรรม ดิ จิ ทั ล แห่ ง แรกในไทยที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ จั ดงานสัมมนาเทคโนโลยีครัง้ ใหญ่ แห่งปี T.O.P.2019 – Togetherness of Possibilities ซึง่ เป็นการรวมพล คนในวงการเทคโนโลยีทงั้ ไทยและเทศ มาร่ว มพู ด คุ ย แลกเปลี่ ย นแนวคิ ด องค์ความรู ้ ประสบการณ์ ตลอดจน แนวโน้มของธุรกิจเทค เปิดมุมมองจาก ผูบ ้ ริหารและผูป ้ ระกอบการชัน ้ น�าด้าน เทคโนโลยีและนวัตกรรมในภูมภ ิ าค ในงานมีเหล่ าสตาร์ทอั พและ ผู้ ที่ ส นใจเข้ า ร่ ว มงานอย่ า งคั บ คั่ ง รวมไปถึงบุคคลส�าคัญผูม ้ ส ี ว ่ นในการขับเคลือ ่ นแวดวงเทคโนโลยีและดิจท ิ ล ั

โดยมี ดร. สมคิ ด จาตุ ศ รี พิ ทั ก ษ์ รองนายกรัฐ มนตรี ให้ เ กี ย รติ เป็ น ประธานเปิด พร้อมด้วย นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ร่วม กล่าวปาฐกถาพิเศษ และมี คุณศุภชัย เจี ยรวนนท์ ประธานคณะผู้บริหาร เครือเจริญโภคภั ณฑ์ และประธาน กรรมการ บมจ. ทรู คอร์ ป อเรชั่ น พร้ อ มด้ ว ยคณะผู้ บ ริ ห ารกลุ่ ม ทรู ให้การต้อนรับ ภายในงานเปิดโอกาสให้ทก ุ คน ได้ รว ่ มสัมผัสกั บเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ น่าสนใจจากพาร์ตเนอร์ในทุกภาคส่วน ทัง้ หน่วยงานภาครัฐ บริษัทเทคโนโลยี ข้ามชาติ ขนาดใหญ่ องค์ กรเอกชน สถาบั น การศึ ก ษา ตลอดจนกลุ่ ม นั กลงทุน และสตาร์ทอั พ ที่รวมกั น เป็นระบบนิเวศทีส ่ มบูรณ์แบบ (Ecosystem) สามารถตอบโจทย์ ทุ ก ความต้องการของสตาร์ทอัพครบครัน ในที่เดียว สร้างแรงบันดาลใจ และ ต่อยอดไอเดียนวัตกรรมสูก ่ ารเติบโต ของธุรกิจ อาทิ Academy Bangkok – A Google Space พืน ้ ทีท ่ เี่ กิดจาก ความร่วมมือของ True Digital Park กับ Google เพือ ่ สร้างทักษะการเรียนรู ้ ทางดิจท ิ ล ั , TeC Thailand e-business centre, Ricoh Experience Center, WONG NAI Experience Center, KMITL city center และ ศูนย์บริการ HUAWEI ทีใ่ ห้บริการแบบครบวงจร เป็นต้น 24


EPORT

อัพเดตแวดวง ข่าวสังคม ที่น่าสนใจ ในรอบสัปดาห์

TALK OF THE TOWN

ทรู ดิจท ิ ล ั พาร์ค ศูนย์กลางด้านนวัตกรรม ดิจท ิ ล ั แห่งแรกในไทยทีใ่ หญ่ทส ี่ ด ุ ในภูมภ ิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตัง ้ เป้าเป็น จุดหมายปลายทางระดับโลกส�าหรับคน ยุคดิจท ิ ล ั ตัง ่ นถนนสุขม ุ วิท 101 ้ อยูบ ติดรถไฟฟ ้าปุณณวิถี ทรู ดิจท ิ ล ั พาร์ค ้ ที่ 43 ไร่ ประกอบด้วยพืน ้ ที่ มีขนาดพืน ้ ทีเ่ พือ ่ การสร้างสรรค์ 3 ส่วนหลัก ได้แก่ พืน ้ ทีไ่ ลฟ ์สไตล์ และ นวัตกรรมดิจท ิ ล ั พืน ่ ก ่ ร้อมตอบโจทย์การใช้ชว ทีพ ั อาศัยทีพ ี ต ิ ดิจท ิ ล ั อย่างเต็มรูปแบบภายใต้แนวคิด ‘Togetherness of Possibilities ทีเ่ ดียว ทุกความเป็นไปได้’ ทัง ้ ยังมี ระบบนิเวศครบวงจรในแนวคิด Open Innovation ศูนย์รวมบริษท ั ข้ามชาติ ขนาดใหญ่ เหล่าสตาร์ทอัพ ผูป ้ ระกอบการ นักลงทุน รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ ่ ผูป ท�าให้เกิดชุมชนเพือ ้ ระกอบการเริม ่ ต้น ้ เป็นแหล่งหลอมรวมองค์ความรูท ้ เ่ี อือ ประโยชน์ตอ ่ การสร้างสรรค์นวัตกรรม ดิจท ิ ล ั ทรู ดิจท ิ ล ั พาร์ค ออกแบบและ ่ สารโทรคมนาคมล�า้ สมัย ติดตัง ้ ระบบสือ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ครอบคลุมทัว ่ ทัง ้ โครงการ ดูขอ ้ มูลเพิม ่ เติมที่

WWW.TRUEDIGITALPARK.COM ความน่าสนใจอีกข้อภายในงานคือ พืน ้ ที่ True 5G Arena (5G Showcases & Co-Working Space) ทีพ ่ ร้อม ให้ทก ุ คนได้มส ี ว่ นร่วมในการพัฒนานวัตกรรมบนเครือข่าย 5G เป็ น พื้ น ที่ ให้ พ าร์ต เนอร์แ ละเหล่ า สตาร์ท อั พ ที่ มี ความสนใจการพัฒนานวัตกรรมบนเครือข่าย 5G เข้ามา ใช้บริการได้ โดยสามารถสัมผัสประสบการณ์ตรงของ เทคโนโลยี 5G พร้อมใช้พน ื้ ทีไ่ ด้ฟรี มีอป ุ กรณ์สญ ั ญาณ 5G เพือ ่ เข้ามารับประสบการณ์ของเทคโนโลยี และต่อยอด ทดลองนวัตกรรมได้ นอกจากนัน ้ ในงานยังมีการจ�าลอง การใช้งานเทคโนโลยี 5G ผ่าน Use Case ทีน ่ า ่ สนใจ ต่างๆ เช่น Dancing Robot หุน ่ ยนต์ multi-axis ทีเ่ ต้น อย่างพร้อมเพรียงด้วยการสือ ่ สารข้อมูลผ่านความหน่วง ต�าบนเครือข่าย 5G, Virtual Driving ประสบการณ์

ISSUE 613

21 OCT 2019

การขับรถแบบเสมือนจริงด้วย 5G ผ่านระบบจ�าลอง การขับรถ หรือ Robot Arm Painting การสือ ่ สารข้อมูล ผ่านความหน่วงต�าด้วยเครือข่าย 5G ผ่านการวาดรูป กับหุ่นยนต์ เป็นต้น “ทรู ดิจท ิ ล ั พาร์ค มัน ่ มบูรณ์แบบ ่ ใจว่า ระบบนิเวศทีส และความร่วมมือกับพันธมิตรทุกภาคส่วน จะเป็นกลไก ส�าคัญในการผลักดันและขับเคลือ ่ นการพัฒนาสตาร์ทอัพ และผูป ้ ระกอบการด้านเทคโนโลยีไทย ให้กา ้ วสูก ่ ารเป็น ยูนิคอร์นทีส ่ ามารถเติบโตได้อย่างแข็งแกร่งและยัง่ ยืน ในเวทีโลก อีกทัง้ ยังเป็นการช่วยขับเคลือ ่ นเศรษฐกิจไทย ให้สามารถพัฒนาได้อย่างมัน ่ คงและยัง่ ยืน” นายฐนสรณ์ ใจดี กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ ทรู ดิจท ิ ล ั พาร์ค กล่าว

25


BULLETIN BOARD

อัพเดตแวดวง ข่าวสังคม ที่น่าสนใจ ในรอบสัปดาห์

TALK OF THE TOWN

เอ็มจี เปิดตัว NEW MG HS รถยนต์ SUV ที่สะท้อนภาพลักษณ์ ของความส�าเร็จด้วยนิยาม ‘ELEGANCE’ บริษัท​เอสเอไอซี​มอเตอร์​-​ซีพ​ี จ�ากัด​และ​ บริษัท​เอ็มจี​ เซลส์​ (ประเทศไทย)​จ�ากัด​ผู้ผลิต และผูจ ้ า� หน่ายรถยนต์เอ็มจีในประเทศไทย​จัดงาน แถลงข่าวแนะน� า​NEW​MG​HS​รถยนต์ ​SUV​ รุ ่น ล่ า สุ ด ที่ พ ร้อ มมอบประสบการณ์ ก ารขั บ ขี่ ครัง้ ใหม่ภายใต้แนวคิด​‘ELEGANCE’​นิยามของ​ SUV​ทีเ่ หนือระดับเพือ ่ ภาพลักษณ์ของความส�าเร็จ​ สะท้ อ นรสนิ ย มและบ่ ง บอกความเป็ น ตั ว ตนที่ สมบูรณ์แบบของผูข ้ บ ั ขี​่ พร้อมยกระดับมาตรฐาน รถ​SUV​ไปอีกขัน ้ ด้วยดีไซน์ลา� สมัยทัง้ ภายนอกและ ภายใน​พร้อมติดตัง้ อุปกรณ์อา � นวยความสะดวก และระบบความปลอดภั ย อย่ า งครบครัน ​เปิ ด จ�าหน่ายอย่างเป็นทางการแล้วที่โชว์รูมรถยนต์ เอ็ มจี ทั่วประเทศ​ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติ มได้ ที่ ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์​MG​Call​Centre​โทร.​1267​ หรือที่เว็บไซต์​www.mgcars.com

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

มหกรรมเล่นกับผีท่เี มกา บางนา ตอน คนเล่นของ

Fitbit Versa 2 พิสูจน์ความฟิตหนุ่มสาว สายแอคทีฟไลฟสไตล์

EXIT (ฝ่าหมอกพิษ ภารกิจรัก)

‘รักในโลกพิศวง’ นิยายญี่ปุน ่ รักสุดฉงนจนต้องค้นหา ความจริง

ศูนย์การค้าเมกาบางนาขอท้าคนกล้า ร่วมพิสจ ู น์ความลีล ้ บ ั ของไสยศาสตร์มนตร์ดา� ตามความเชื่ อ ของไทย​ในงาน​‘มหกรรม เล่ น กั บ ผี ที่ เ มกาบางนา​ตอนคนเล่ น ของ’​ ตั้งแต่วันนี้ถึง​ 31​ ตุลาคม​ 2562​ ณ​ เมกา​ พลาซ่ า ​ชั้ น ​1​ศู น ย์ ก ารค้ า เมกาบางนา​ โดยจ�าลอง​‘ทมิฬเทวาลัย’​ต�าหนักคุณไสย ในตรอกมนตร์ด�า​ที่มีเรือ ่ งราวเล่ าขานถึ ง ความน่ากลัว​และความสยดสยองในทุกมิติ​ ถึง​8​ห้อง​พร้อมด้วยภารกิจหาทางหลุดพ้น จากอาถรรพ์อันน่าสะพรึงของคนเล่นของ​ ร่ว มชิ ง รางวั ล รวมมู ล ค่ า กว่ า ​1​แสนบาท​ บัตรราคา​300​บาท​และสิทธิพเิ ศษส�าหรับ ลู ก ค้ า ที่ มี ​Megabangna​Application​ ลดราคาบัตรเหลื อเพียง​200​บาทเท่านั้ น​ ซื้ อ บั ต รและจองรอบล่ ว งหน้ า ที่ ​www. zipeventapp.com

ฟิตบิท​วางจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ระดับ โลกใหม่ ล่ า สุ ด ​Fitbit​Versa​2™​ต่ อ ยอด ไลน์ สิ น ค้ า สมาร์ต วอตช์ ย อดนิ ย มตระกู ล​ Fitbit​Versa™​พร้อมด้วย​Fitbit​Premium​ บริ ก ารสมาชิ ก แบบช� า ระเงิ น ผ่ า นทาง แอพพลิเคชันของฟิตบิท​เพือ ่ ให้ผใู้ ช้สามารถ รับข้อมูลเชิงลึกผ่านโปรแกรมเฉพาะบุคคล ด้ วยค� าแนะน� าด้ านสุขภาพและการออกก� าลั งกายแบบครบวงจรเพื่อให้ผู้ใช้ได้ รบ ั ค�าแนะน�าทีต ่ อบโจทย์การใช้งานจริงเพือ ่ ถึง เป้าหมายด้านสุขภาพและการออกก�าลังกาย​ ณ​ โกลว์ฟิช​ สาทร​ วางจ�าหน่ายที่ตัวแทน จ� า หน่ า ยและร้ า นค้ า ชั้ น น� า ​อาทิ ​ B2S,​ Dotlife,​Jaymart,​King​Power,​Lazada,​ P o w e r ​ B u y , ​ ศู น ย์ ก า ร ค้ า เซ็ น ท รั ล​ ศู น ย์ ก ารค้ า โรบิ น สั น ​ และศู น ย์ ก ารค้ า เดอะมอลล์​ทุกสาขา

​‘กัง’​-​กันต์พงษ์​กุลธนาเรืองนนท์สพ ุ ฒ ั น์​ หนุ่มโสดคลีโอ​2018​น�าทีมหนุ่มๆ​สุดฮอต จาก​Conversation​Thailand​อย่าง​‘เต้’​-​ ชยพัทธ์​คงทรัพย์,​‘แก๊ป’​-​กิตติชช ั ​เตชาหัวสิงห์​ และ​‘บอส’​-​อภิชา​จารุดล ิ กวรกุล​ชวนคอหนัง หลบฝุ่ น ​PM2.5​มาร่ว มพิ สู จ น์ ค วามสนุ ก น่ า รัก ปนฮาด้ ว ยรีวิ ว น่ า ดู ร ้อ ยเปอร์เซ็ น ต์ ของภาพยนตร์แอ็กชันคอเมดี​้ ภัยพิบต ั เิ กาหลี ฟอร์มยักษ์ ​‘EXIT​(ฝ่าหมอกพิษ​ภารกิจรัก)’​ ที่ น� า แสดงโดยไอดอลนั ก แสดงสาว​อิ ม​ ยุน-อา​หรือ​ยุนอา​Girls’​Generation​(SNSD)​ และพระเอกหนุ่ ม อารมณ์ ดี ​โจ​จอง-ซอก​ เข้าฉายแล้ววันนี้​ทุกโรง

Maxx​Publishing​ในเครือโมโน​กรุป ๊ ​ น�าเสนอนิยายความรักสุดฉงน​จนต้องท�าให้ ผูอ ้ า่ นลุน ้ ระทึกกันทุกบรรทัดและตัง้ ค�าถามว่า เกิดอะไรขึน ้ กันแน่​ในหนังสือ​‘รักในโลกพิศวง’​ โดยเนือ ้ เรือ ่ งจะเป็นเรือ ่ งราวของทากาชิทแ ี่ อบ หลงรักหญิงสาวคนหนึ่ งซึ่งเป็นผู้โดยสาร รถไฟสายคู่ ข นานกั บ ที่ เขาขึ้ น เป็ น ประจ� า​ วันหนึ่งเขามีโอกาสรูจ ้ ักกับหญิงสาวคนนั้น คือ​มายุโกะ​แต่ในฐานะคนรักของโทโมฮิโกะ ซึง่ เป็นเพือ ่ นสนิทของเขา​จู่ๆ​วันหนึ่งทากาชิ ลืมตาตืน ่ ขึน ้ ​เขากลับพบว่ามายุโกะคือคนรัก ของเขา​และโทโมฮิโกะหายตัวไปต่างประเทศ​ บางเสี้ ย วของความทรงจ� า เตื อ นว่ า เกิ ด เหตุการณ์ผด ิ ปกติขน ึ้ แล้ว​ทากาชิ​จึงตัดสินใจ ค้ น หา​‘อดี ต ’​ของเขาว่ า อะไรกั น แน่ คื อ​ ‘ความจริง’​(ราคา​385​บาท)​

26



เรือ ่ ง : พชร สูงเด่น

BREATHE IN ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

‘เรื่องส�ำคัญที่ไม่ด่วน’ สิ่งที่ควรเลือกใช้เวลำ หำกอยำกใช้ชีวิตโปรดักทีฟอย่ำงมีค่ำ CONTRIBUTOR

พชร สูงเด่น นักศึกษาทุน Erasmus Mundus ด้านการศึกษาเพือ ่ การพัฒนา เรียนรู้ นอกห้องเรียนด้วย การเดินทางไปยัง เมืองต่างๆ ในยุโรป

“ควำมรักและควำมรู้ที่มีให้ในวัน นั้ น วั นที่มันเป็ นเรื่ อ งส� ำ คั ญ แต่ ไม่ ด่ ว น ท� ำ ให้ ผ มมี วั นนี้” ประโยคที่ รวิศ หำญอุตสำหะ ผู้บ ริห ำร แบรนด์ เ ครื่ อ งส� ำ อำงเก่ ำ แก่ อ ย่ ำ งศรี จั น ทร์ เจ้ ำ ของเพจ Mission To The Moon ที่ มี ผู้ ติ ด ตำมสองแสนกว่ ำ คน ท� ำ พอดแคสต์ 4 รำยกำร กว่ำ 800 เอพิ โ สด หนั ง สื อ 7 เล่ ม และล่ ำ สุ ด กั บ กำรกระโดดมำท� ำ ทอล์ ก โชว์ แรกของตนเอง ‘Super Productive’ ที่ ต อกย�้ำ ควำมโปรดักทีฟของผู้ช ำยคนนี้ แต่ในบรรดาทฤษฎี วิธีการ ความรู้มากมาย ก ลั บ กลาย เป็ นเรื่ องธรรมดาส ามั ญ ที่ สุ ด อย่ า ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งเขาและแม่ ที่ท� า ให้ รู้ สึ ก ได้ ถึ ง ่ ท้จริงของค�าว่า ‘โปรดักทีฟ’ และค�าตอบ ความหมายทีแ ว่าเราจะมีชีวิตโปรดักทีฟไปท�าไม “หากไม่ท�าเรือ ่ งส�าคัญที่ไม่ด่วน สักวันมันจะ กลายเป็นเรือ ่ งด่วนทีส ่ า� คัญ” ‘เรือ ่ งส�าคัญทีไ่ ม่ดว ่ น’ ช่องทีส ่ องของ ‘priority matrix’ หนึง่ ในเครือ ่ งมือบริหารจัดการเวลาทีค ่ ณ ุ รวิศ อธิบายไว้วา่ คนทัว ่ ไปมักจะคิดว่าการท�าช่องแรก ‘ด่วน และส�าคัญ’ นัน ่ งทีค ่ นขยันเขาท�ากัน แต่การท�า ้ เป็นเรือ ช่องแรกมากจนล้นจะท�าให้คนเราค่อยๆ เกิดอาการ เบิรน ์ เอาต์และเผลอตัวเผลอใจหันไปใช้เวลากับช่อง ทีส ่ าม ‘ไม่สา� คัญแต่ดว ่ น’ (เช่น ละครก�าลังจะอวสาน, ของเซลก�าลังจะหมดซีซน ั ฯลฯ) และช่องทีส ่ ี่ ‘ไม่ดว ่ นและ ไม่สา� คัญ’ (เช่น ตามแฮชแท็กดราม่าดาราเลิกกัน, binge watching ทัง้ วัน ฯลฯ) ‘เรือ ่ งส�าคัญที่ไม่ด่วน’ ที่คุณรวิศเล่าเรือ ่ งแม่ บุคคลทีเ่ ขาเรียกว่าเป็น “คนทีโ่ ปรดักทีฟทีส ่ ด ุ ในชีวต ิ ” ตั้งแต่จ�าความได้ แม่ที่ท�างานประจ�า ต้องเลี้ยงลูก สามคน แถมคนทีส ่ ามซึง่ ก็คอ ื เขาเองยังเรียกตัวเองว่า เป็นคนขีเ้ กียจโดยก�าเนิดเสียอีก ไม่ยอมท�าการบ้านใดๆ จนแม่น่ังคัดแบบฝึกหัดภาษาอังกฤษมาให้เขาได้ฝึก นีแ ่ หละ เขาจึงยอมจับปากกาท�าการบ้าน ‘ความรักและความรู’้ เรือ ่ งส�าคัญแต่ไม่ดว ่ นทีแ ่ ม่ ของเขาเลือกใช้เวลาในวันนัน ซึ ง ่ ท� า ให้ เ ขายั ง จั บ ปากกา ้ ขีดเขียน เปลีย ่ นจากแบบฝึกหัดเป็นหนังสือหลายเล่ม ในวั น นี้ และภาษาอั ง กฤษที่ แ ม่ ส อนยั ง เป็ น กุ ญ แจ ไขประตูบานใหญ่ทพ ี่ าเขาไปเจอโลกแห่งหนังสือทัง้ ไทย และต่างประเทศ กลายเป็นต้นทุนส�าคัญที่ท�าให้เขา มีคลังคอนเทนต์มากมายมาแชร์ให้กับคนฟังที่ค่อยๆ เพิม ่ จากหนึง่ กลายเป็นหลายแสนคน การเลือกลงทุนเวลาไปกับความรักและความรู ้

ของแม่ ซึง่ เปลีย ่ นเด็กชายคนหนึง ่ ทีเ่ รียกตัวเองว่าเป็น เด็ ก ขี้ เ กี ย จโดยก� า เนิ ด เล่ น กี ฬ าก็ เป็ น ตั ว ส� า รอง โดนเพื่อนแซวก็ ไม่โต้ ตอบ ฯลฯ ให้กลายเป็น รวิศ หาญอุตสาหะ บุคคลทีก ่ ลายเป็นแรงบันดาลใจให้ใคร หลายคนได้ ลุ ก ขึ้ น มาใช้ ชี วิ ต ให้ คุ้ ม ค่ า เมล็ ด พั น ธุ์ ที่ ง อกขึ้ น อย่ า งงดงามจากความเพี ย ร อุ ต สาหะ ในการบ่มเพาะลูกด้วยความรักและความรู ้ – งานที่ ‘ส�าคัญแต่ไม่ด่วน’ ที่แม่ท�าให้เสมอมา ความรักและความรู ้ ความฝันและความสัมพันธ์ สิง่ ทีเ่ ราต่างรูว้ า่ ส�าคัญ แต่มก ั จะถูกจับไปอยูใ่ น ช่องของเรือ ่ ง ‘ส�าคัญแต่ไม่ดว ่ น’ อยูเ่ สมอ เรือ ่ งเล่าของ แม่จึงไม่ได้ท�าให้เห็นแค่เรือ ่ งความส�าคัญของการจั ดสรรเวลา หากยังเผยให้ เห็ นบทบาทส�าคั ญของ คนข้างๆ ว่าในชีวต ิ ของเราทัง้ หลาย ในทุกๆ ความส�าเร็จ การเฉลิมฉลองใดๆ ล้วนมีแรงผลักดันของใครบางคน ทีอ ่ ยูเ่ บือ ้ งหลังทัง้ นัน ้ อย่างที่ ‘เอ๋’ - สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์ หรือทีเ่ รารูจ ้ ก ั กัน ในนามปากกา ‘นิ้วกลม’ เพื่อนสนิทในวัยเด็กที่เคย นั่งข้างกันในวัยเรียน แขกรับเชิญในโชว์ครัง้ นี้ทข ี่ น ึ้ มา เล่าด้วยการตัง้ ค�าถามว่า “ความส�าเร็จทีเ่ กิดขึน ้ ในชีวต ิ นั้น มีผลจากเรากี่เปอร์เซ็นต์” และตีแสกหน้าทลาย ความเชื่ อ ที่ ว่ า เราเป็ น เจ้ า ของชี วิ ต ตั ว เองทั้ ง หมด ว่ า มั น ไม่ จ ริง หากยั ง มี อี ก หลายปั จ จั ย หลายสิ่ ง ทีเ่ หนือการควบคุม ทีท ่ า � ให้บางคนอาจมีแต้มต่อชีวต ิ สูงกว่าใครบางคนอย่างปฏิเสธไม่ได้ แต่ นั่ น ไม่ ไ ด้ แปลว่ า เราควรหมดหวั ง เพราะ เนื้ อหาที่เค้ นมาจากวิธีการต่ างๆ ในการท�าให้ชีวิต โปรดักทีฟก็แสดงให้เห็นว่า จุดพังๆ หรือเรือ ่ งแย่ๆ ของชีวต ิ อาจกลายเป็นแรงผลักดันชัน ้ เพลิง ้ ดี เป็นเชือ มหาศาลในการท�าให้คนเราลุกขึน ้ มาเปลี่ยนแปลงได้ แม้ จ ะยากแค่ ไหนในการต้ อ งถี บ ตั ว เองในช่ ว งแรก ให้หลุดพ้นออกมาจากหลุมที่จมลงไป (ไม่ว่าจะท�า ตัวเอง หรือเป็นโชคชะตา) แต่เมื่อถีบตัวเองออกมา ได้แล้ว มันจะค่อยๆ ง่ายขึ้นในกิโลเมตรต่อไป

ออกแรงก่อนแล้วมันจะง่ายขึน ้ เรือ ่ งเล่าต่างๆ บน เวทีทส ี่ ะท้อนให้เห็นถึงความจริงของทฤษฎี ‘Friction & Momentum’ กฎสากลทีก ่ ารออกแรงใดๆ มักจะมีแรง ฝืด (friction) ในช่วงแรก แต่เมือ ่ ท�าต่อไปเรือ ่ ยๆ จะมี แรงส่ง (momentum) ช่วยขับเคลื่อนให้ง่ายขึ้นเอง กฎสากลทีจ ่ ริงแท้ไม่วา่ จะเป็นการลุกขึน ้ มาออกก�าลังกาย ปลดหนี้ หรือส่งกระสวยอวกาศออกไปดวงจันทร์กต ็ าม แต่หากคุณเป็นคนทีโ่ ชคดีทม ี่ อ ี น ิ เทอร์เน็ตเข้าถึง ข้อมูลข่าวสาร รับรูว้ ่ามีงานนี้จัดขึ้น เข้าถึงบทความ มหาศาลทีท ่ า� ให้อยากมีชว ี ต ิ ทีด ่ ข ี น ึ้ นัน ่ ก็เป็นหลักฐานที่ บอกว่าปัจจัยชีวต ิ ขัน ้ ฐานของคุณได้รบ ั การเติมเต็ม ้ พืน เพียงพอ จนสามารถนึกถึงการพัฒนาตนเองในขัน ้ ต่อๆ ไป ในการใช้เวลาได้ ‘โปรดักทีฟ’ เพือ ่ ชีวต ิ ทีม ่ ค ี วามหมาย ซึ่งเรียกได้ว่าอยู่ปลายๆ แถวบนสุดของสามเหลี่ยม มาสโลว์ (Maslow’s Theory) ในขณะทีม ่ ค ี นอีกจ�านวนมาก ยังกระเสือกกระสนดิน ่ ส ี่ ามเหลีย ่ มฐานล่างสุด ้ รนอยูท นอกจากจะเพียรพยายามท�าตามความฝันต่อไป ในวันทีเ่ ติบใหญ่จากความตัง้ ใจ ขอให้เราเตือนตัวเอง ไว้ว่าจงถ่อมตน เพราะผลของสิ่งที่เราเรียกว่าความ ส�าเร็จนั้นไม่ได้มาจากเราคนเดียว และท้ายทีส ่ ด ุ แล้ว ผลของความพยายามที่ ‘นิว ่ นสนิท ้ กลม’ แขกรับเชิญเพือ ของคุ ณ รวิ ศ ได้ เ ปรี ย บเที ย บไว้ กั บ เมลอนญี่ ปุ่ น ทีน ่ ิยมปลูกเมลอนต้นละผล เพือ ่ ให้ได้แร่ธาตุทเ่ี ข้มข้น ที่สุดในเมลอนลูกเดียว แต่ไม่ว่าเมลอนที่เพียรปลูก เฝ้าฟูมฟักอยู่นานสองนานจะหวานฉ�าเพียงไร มันก็ ไม่อร่อยเท่าไหร่นก ั หรอกหากต้องกินมันทัง้ ลูกคนเดียว อาจจะเลี่ยนๆ เกินไปด้วยซ�า แต่มน ั อาจจะอร่อยกว่า หากเราได้แบ่งเมลอน ทีป ่ ลูกมาจากมือ ตัดแบ่งเมลอนหวานฉ�าให้คนข้างๆ ได้กน ิ ร่วมกัน ดังเช่นที่ รวิศ หาญอุตสาหะ, กวีวฒ ุ ิ เต็มภูวภัทร, และ สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์ – สปีกเกอร์ทงั้ สามบนเวที ‘Super Productive’ ได้แบ่งประสบการณ์จากสวนเมลอน ของพวกเขาให้พวกเราได้อิ่มเอมไปตามๆ กัน 28


ภาพ : ปานวัตร​เมืองมูล

A THOUSAND WORDS ​ปานวัตร​เมืองมูล​เป็ นศิลปิ นจากเชียงใหม่ท่ีนิทรรศการล่าสุดของเขามีช่ือว่า​‘Sa·Was·Dee​33rd​Part​of​Body​and​the​8th​Planet’​ โดยเขาพู ดถึงผลงานชิ้นนี้ว่า​“วันหนึ่งในเดือนมิถุนายน​2562​ของชีวิตประจ�าวันทั่วๆ​ไปของผม​โดยมี​LINE​แอพพลิเคชันคล้ายอวัยวะส่วนที่​33​ ในวันนั้นได้สังเกตเห็นการแจ้งเตือนกลุ่ม​LINE​ของครอบครัว​มีสีแดงที่แสดงจ�านวนตัวเลขเตือนว่าไม่ได้อ่านหลายร้อยข้อความแล้ว ่ ด ่ งทีน ่ า่ สนใจและประทับใจ​ผ่าน​‘ภาพสวัสดี’​ของวันต่างๆ​หลากสีทล ่ี ง “ในวันนัน ั สินใจย้อนดูบทสนทนา​ท�าให้ได้พบเรือ ุ ๆ​ ้ ต่างออกไป​ภายหลังจากทีต ป้าๆ​ส่งมาให้ทุกวัน​ภาพเหล่านั้นเป็นภาพที่ทั้งเชย​เบลอ​และไม่เท่เลย​ผมถามตัวเองในใจว่าท�าไมถึงเฉยชาและไม่สนใจมันเลย? “หลังจากนั้นจึงค่อยๆ​เซฟรูปภาพเหล่านั้นในแต่ละวันเก็บไว้​และมีบทสนทนากับตัวเอง​เปิ ดโอกาสให้ผมได้จินตนาการไปถึงใจของผู้ส่งและดื่มด�่า กับภาพเชยๆ​พร้อมความสุขอย่างที่ไม่เคยได้มาก่อน​เป็นเหมือนการพบวิธีการภาวนาของตนอีกรูปแบบหนึ่งโดยบังเอิญจากอวัยวะชิ้นที่​33”

SA·WAS·DEE 33RD PART OF BODY AND THE 8TH PLANET

SA·WAS·DEE 33RD PART OF BODY AND THE 8TH PLANET

CONTRIBUTOR

ABOUT SA·WAS·DEE 33RD PART OF BODY AND THE 8TH PLANET

เป็นส่วนหนึ่งของงาน​BRANDNEW​2019​จัดโดยหอศิลปมหาวิทยาลัยกรุงเทพ​น�าเสนอนิทรรศการในช่วงกลางเดือนสิงหาคม-ตุลาคม​2562​ จากหกศิลปินทีไ่ ด้รบ ั คัดเลือก​ณ​หอศิลปร่วมสมัยหลายแห่งในกรุงเทพฯ​ทัง ั ก ิ ารศิลปะร่วมสมัยในรูปแบบหลากหลาย​ ้ หกนิทรรศการนีเ้ ป็นการน�าเสนอปฏิบต ตั้งแต่ผลงานศิลปะจัดวาง​จิตรกรรม​ภาพถ่าย​วัสดุเก็บตก​วิดีโอและการเขียนบันทึก​ ISSUE 613

21 OCT 2019

29

ปานวัตร เมืองมูล www. pannawat-mm. com


เรือ ่ ง : วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ

EDITOR’S NOTE

วั นก่อนน้องในทีมมาเสนอว่า เรามาท�า สารคดีเรื่องฝุน ่ PM2.5 กันเถอะ ​กค ็ ด ิ สงสัยว่ามันจะเป็นเรือ ่ งทีน ่ า่ เบือ ่ ไปแล้ว

หรือเปล่ า​เกิ ดสถานการณ์ แบบนี้ เป็นประจ� า​ กทม.​มันก็เป็นแบบนีข ้ องมันมาตัง้ นาน​และแถม ข่าวกระแสรายวันก็มค ี นอื่นเล่นกันไปหมดแล้ว ​จ นกระทั่ ง วั น นี้ เพิ่ ง ไปประชุ ม งานแถว

พระรามสี​่ นั่งรถไฟใต้ดน ิ ไปขึน ้ สถานีศาลาแดง​ แล้วเดินอยูร่ ม ิ ถนนอยูพ ่ ก ั ใหญ่​พอนัง่ ประชุมงาน

ไปสักพัก​ก็เริม ่ ไอแค่กๆ​มีเสลดในคอ​เสียงแห้ง​ ระคายเคืองตาขึ้นมานิดหน่อย ​จงึ นึกขึน ้ มาได้วา่ มันคือแบบนีน ้ เี่ อง​เราจะ

สนใจปัญหาอะไร​ก็ขน ึ้ กับว่ามันเป็นปัญหาทีส ่ ง่ ผลกระทบต่อตัวเรามากแค่ไหน​ปัญหาเรือ ่ งฝุน ่ ใน​กทม.​หนักหนาจริง​พอได้เข้ามาสัญจรไปมา

ในย่านกลางเมืองจึงได้รู​้ เพราะปกติจะอยู่แต่ ในบ้าน​ในออฟฟิศ​และขับรถส่วนตัวไปท�างาน​ ไม่ ค่ อ ยได้ ม าเดิ น ริม ถนนกลางเมื อ งแบบนี้​ ก็เลยไม่ค่อยคิดว่ามันเป็นปัญหา ​ใ นขณะที่คนอื่นๆ​เขาเจอปัญหานี้ทุกวัน​

ภาพ : อุษา นพประเสริฐ

และมั น กระทบต่ อ ตั ว เขาอย่ า งชั ด เจน​จึ ง มี ความตระหนักมากกว่า​ตัวน้องคนทีเ่ สนอสารคดี เขาขี่มอเตอร์ไซค์มาท�างานทุกวัน​แน่ นอนว่า

ฝุน ่

ต้ อ งเจอปั ญ หาและถื อ ว่ า นี่ เป็ น เรื่อ งส� า คั ญ ส�าหรับเขา ​เราจึงจะเอาแค่มม ุ มองของตัวเราคนเดียว มาตั ด สิ น ไม่ ไ ด้ ​ว่ า อะไรส� า คั ญ หรือ ไม่ ส� า คั ญ​ การรับฟังคนอื่ นเป็นสิ่งจ� าเป็น​เพื่อน� าไอเดี ย ของคนอื่ นเข้ามาไว้ในตั วเอง​ท�าความเข้าใจ​ แสดงออกถึงความเห็นอกเห็นใจ​การได้เข้าไป ยื น อยู่ ใ นรองเท้ า คนอื่ น บ้ า ง​เราจึ ง จะได้ รู ้ ความจริงทั้งหมด​

30


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.