a day BULLETIN 615

Page 1

TODAY EXPRESS PRESENTS

04 NOV 2019

The Real TRuTh

616 615 614

A b o ut HeA lt H


CONTENTS 615

P06

THE CONVERSATION ้ งหลัง ดร. สุปรีดา อดุลยานนท์ กับเบือ ่ ที่ สสส. ความคิด อุดมคติ และความเชือ ท�างานเพื่อผลักดันสังคมให้มส ี ข ุ ภาพดี TODAY EXPRESS PRESENTS

04 NOV 2019

616 615 614

P15

MONEY LIFE BALANCE ประชากรน้ อ ยลง ผู้ สู ง อายุ ม ากขึ้ น มีตน ้ ทุนอะไรให้เราจัดการกับอนาคต

P16

CONNECTING THE DOTS ่ น เส้นทางตลอด 18 ปี ที่ สสส. ขับเคลือ กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพแก่คนไทย

P20

C

M

FEATURE 8 ขั้นตอนง่ายๆ ในการสร้างชีวิตที่ดี เริ่มที่เรา The Real TRuTh

About H e Alt H

ในวาระครบรอบ 18 ปี ของส�านักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) a day BULLETIN จึงมาพู ดคุยกับ ดร. สุปรีดา อดุลยานนท์ ่ นอกจากจะเป็นการอัพเดต ผูจ ้ ด ั การกองทุน สสส. ซึง เรื่องของการท�างาน แนวคิด และความเชื่อที่ทาง ่ มัน ่ วกเขา สสส. เชือ ่ เพื่อผลักดันสังคมไปในทิศทางทีพ หวังและฝันแล้ว ระหว่างการสนทนาเรายังได้ยอ ้ นกลับ ่ นแปลง มานัง ่ ทบทวนสุขภาวะของตัวเอง และการเปลีย ่ ทีจ ่ ะได้รว ่ ท ่ี ด ของสังคม เพือ ู้ า่ อะไรคือสิง ี ส ุ ส�าหรับเรา ่ ทีด ในวันนี้

Y

CM

MY

CY

CMY

P24

K

SPACE & TIME ศู น ย์ เ รี ย น รู้ สุ ข ภ า ว ะ อ า ค า ร แ ห่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ เ อื้ อ ต่ อ ก า ร ใ ช้ ชี วิ ต ของทุกคนในทุกสถานภาพ

P30

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิ ก าร ทั ศ นคติ ต่ อ ชี วิ ต และสั ง คมผ่ า นสายตาของ วุ ฒิ ชั ย กฤษณะประกรกิจ

TEAM ที่ ป รึ ก ษา สุ ร พงษ์ เตรี ย มชาญชั ย บรรณาธิ ก ารที่ ป รึ ก ษา นิ ภ า เผ่ า ศรี เ จริ ญ บรรณาธิ ก ารผู้ พิ ม พ์ โ ฆษณา/บรรณาธิ ก ารบริ ห าร วุ ฒิ ชั ย กฤษณะประกรกิ จ รองบรรณาธิ ก ารบริ ห าร ฆนาธร ขาวสนิ ท บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล ชยพล ทองสวัสดิ์ กฤตนัย จงไกรจักร นักเขียน/ผู้ประสานงาน ตนุภัทร โลหะพงศธร หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิ สูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิ ทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิ สูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่า ยสร้ า งสรรค์ วิ ดี โ อ วงศกร ยี่ ด วง รั ช ต์ ภ าคย์ แสงมี สิ น สกุ ล กวิ น นาฏ หั ว เขา ที่ ป รึ ก ษาฝ่า ยโฆษณา ศรวณี ย์ ศิ ริ จ รรยากุ ล ผู้ จั ด การฝ่า ยโฆษณา มนั ส นั น ท์ รุ่ ง รั ต นสิ ท ธิ กุ ล 08-4491-9241 ผู้ ช่ ว ยผู้ จั ด การฝ่า ยโฆษณา ภรั ณ ภพ สุ ข อิ น ทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรี จุ ฬ างกู ล 08-1639-1929, พงศ์ ธิ ด า อั ง ศุ วั ฒ นากุ ล 09-4415-6241, ณั ฐ วี ณ์ ประมุ ข ปฐมศั ก ดิ์ 08-3922-9929 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว ผูผ ้ ลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www. adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com 02 2



21,346

ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

1 0 3

1

เงินเดือนก็เยอะขึ้น แต่ท�าไมเราไม่ค่อยมีเงินให้เหลือเก็บเลย หรืออาจ เป็ นเพราะรายจ่ายสูงขึ้น เพี ยงแค่เราไม่รู้ตัว ดังนั้น ขอเชิญทุกท่าน มากางกระเป๋าสตางค์ ดูค่าครองชีพโดยเฉลีย ่ ของคนไทยในปี 2562 กันดีกว่า ว่าแท้จริงแล้วเรามีค่าใช้จ่ายสูงขนาดไหน ใช้ไปกับอะไรบ้าง แล้วจะท�าอย่างไรให้เรามีรายรับได้มากทีส ่ ุด

ค รั ว เ รื อ น ไ ท ยมี ร ายจ่ า ย โดยเฉลี่ย 21,346 บาทต่อ เดือน ซึง ่ ลดลง 0.4% จากปี 2560 ที่มี 21,437 บาทต่อ เดือน สะท้อนให้เห็นว่าการใช้จ่ายของคนในครัวเรือน มี ค วามระมั ด ระวั ง มากขึ้น อาจมีผลกระทบมาจากปัญหา ทางเศรษฐกิจ โดยค่าครองชีพ ทีส ู ขึน ่ ง ้ ซึง ่ 5 อันดับจังหวัด ที่มีรายจ่ายมากที่สุด ได้แก่

เรือ ่ ง : กฤตนัย จงไกรจักร

DATABASE

COST OF LIVING IN THAILAND 2562

, 3 4

2

, 4 3

7 2 1 3

5

สิ่งของ 5 อันดับแรก ่ ร้างรายจ่ายต่อเดือน ทีส มากที่สุด (บาท)

1

, 3 3

9 0 8 4

3 9 9

, 0 3

5

อ า ห า ร เ ค รื่ อ ง ดื่ ม ( ไ ม่ มี แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ ) และยาสูบ

1 8 5

, 7 2

7,039 2

นนทบุรี

ภูเก็ต

ค่าที่อยู่อาศัยและ เครื่องใช้ภายในบ้าน

สระบุรี

40,000

ปริญญาตรี

35,000

14,000

ปั จจุบันในปี 2562 ค่า ครองชีพของประเทศไทย อยูอ ่ น ั ดับที่ 40 จากทัว่ โลก โดยสูงขึน ้ จากปีทแ ่ี ล้วมา 12 อันดับ ครองอันดับ ที่ 19 ของเอเชี ย และ อันดับที่ 2 ของอาเซียน

17,000

40

กรุงเทพมหานคร

ร า ย ไ ด้ ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า จบใหม่ในระดับปริญญาตรี มีเงินเดือนเริ่มต้นเฉลี่ย เพียง 17,000 บาทเท่านัน ้ และระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา หรือต�่ากว่าจะมีเงินเดือน โดยเฉลี่ย 14,000 บาท

3

การเดินทางและ ยานพาหนะ

4,222

มัธยมศึกษา

17,000

4,621

1-3

40,000

ในกลุม ่ คนท�างานใหม่ 2 ปี แรก การเปลีย ่ นต�าแหน่ง งานทั้ ง ในองค์ ก รและ การหางานใหม่ 1-3 ครัง ้ จ ะ มี เ งิ น เ ดื อ น ใ น ง า น ล่ า สุ ด โดยเฉลี่ ย สู ง กว่ า 20-40% เมื่อเทียบกับ เงินเดือนตอนเริม ่ ท�างาน อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ผู้ ที่ มี การเปลีย ่ นงานถึง 4 ครัง ้ เงิ น เดื อ นในงานล่ า สุ ด จะสู ง กว่ า เพี ยง 10% เมื่ อ เที ย บกั บ เงิ น เดื อ น ตอนเริ่มท�างาน

สาขาอาชีพส�าหรับเด็กจบใหม่ ทีไ่ ด้รบ ั เงินเดือนมากทีส ุ ถึง ่ ด 40,000 บาทต่อเดือน คืองาน ด้านไอทีและดิจต ิ อล เช่น Data Scientist, Data Engineer, Data Migration ฯลฯ ขึน ้ อยู่ กับความสามารถและผลงาน ในระหว่ า งเรี ย น ส่ ว นอั ตรา เงินเดือน 35,000 บาทใน อันดับรองลงมา มีหลายสาขา อาชีพ ทัง ้ วิศวกรรมในโรงงาน อุตสาหกรรม, ไอทีและดิจต ิ อล, งานทีใ่ ช้ภาษาญีป ุ ่ และงานขาย ่ น และพัฒนาธุรกิจ

4

ของใช้ส่วนตัว

643 5

เครื่องนุ่งห่มและ รองเท้า

435

20

ที่มา : www.bltbangkok.com, www.adecco.co.th

ปทุมธานี



เรือ ่ ง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ

่ วง ภาพ : วงศกร ยีด

THE CONVERSATION

A b out H

The Real TRuTh

06


He Alt H issue 615

04 NOV 2019

FiRsT Cause

ทั้งๆ ที่รู้กันอยู่ว่าสิ่งใดถูก สิ่งใดผิด อะไรที่ดีต่อตัวเรา อะไรที่จะมาท�าร้ายเรา แต่น่าแปลกที่เราก็มิอาจจะเลือกสิ่งที่ถูก สิ่งที่ดีส�าหรับตัวเองได้เสมอไป อะไรที่อยู่เบื้องหลังพฤติกรรม การใช้เหตุผลภายในจิตใจ และสิง ่ นแปลงเราได้อย่างไร ซึง ่ ส่วนใหญ่ ่ เร้าจากภายนอกมาเปลีย มันเป็ นไปอย่างน่าฉงนสงสัย โดยที่เราไม่ทันรู้ตัว จากการประกอบสร้างความเป็ นจริงทางสังคม อย่างเช่น ครัง ่ นานมาแล้ว บุหรีเ่ หล้าเคยเป็นสัญลักษณ์ ้ หนึง ของสถานะทางสังคม ต่อมามันถูกเทคโนโลยีทางการแพทย์ และนักสือ ้ มูลใหม่ๆ เกีย ั ่ สารด้านสุขภาพเผยแพร่ขอ ่ วกับผลวิจย ถึงโทษของมัน จนมาวันนี้ เรามีความจริงทัง ่ รงหน้า ้ สองขัว ้ มาเผยตัวอยูต ท�าให้เราได้ย้อนกลับมานั่งทบทวนสุขภาวะของตัวเองในฐานะ ปั จเจกบุคคล และมองออกไปรอบๆ ตัวเพื่ อเห็นถึงแนวโน้ม ทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป เต็มไปด้วยมลภาวะและเงื่อนไข ยากล�าบากในการด�าเนินชีวิต ในวาระครบรอบ 18 ปี ของส�านักงานกองทุนสนับสนุน การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) ผู้ ท� า งานหนั ก อยู่ เ บื้อ งหลั ง ประเด็นทางสังคมมากมาย นอกจากเรือ ่ งบุหรีเ่ หล้า ยังรวมไปถึง สุขภาวะด้านอืน ี ว ี ต ิ ของเรา a day BULLETIN ่ ๆ อีกมากมายในวิถช จึงไปพู ดคุยกับ ดร. สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการกองทุน สสส. ที่เข้ารับต�าแหน่งนี้มานาน 4 ปี โดยก่อนหน้านี้เขาก็ ท�างานนี้มานานเกือบเท่าอายุของที่นี่ นอกจากเราจะคุยกันเรือ ่ งทัว ่ ไป ว่าท�าอย่างไร จึงจะแข็งแรงและมีสุขภาวะที่ดี เรายังตั้งค�าถาม ลึ ก ล ง ไ ป ใ น ร ะ ดั บ ก า ร ท� า ง า น เ บื้ อ ง ห ลั ง กระบวนการทีพ ่ วกเขาใช้ ความคิดเบือ ้ งหลัง ทัง ่ ที่ สสส. ใช้ ้ หมด อุดมคติ และความเชือ ในการท�างานเพื่อประกอบสร้างความรู้ ความจริง และผลักดันสังคมไปใน ทิศทางที่พวกเขาหวังและฝั น

ตลอดระยะเวลาสองทศวรรษของ สสส. ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพของคนไทย เราเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ผมมาอยู่ตอนปลายปี 2546 ตอน สสส. ก่อตั้งมาได้ปีกว่าๆ โดยรวมสุขภาพคนไทยจะ มองว่าดีขน ึ้ หรือแย่ลง คงต้องช�าแหละดูกน ั เป็น ส่วนๆ เพราะถ้าให้สรุปด้วยค�าเดียวคงเป็นไป ไม่ได้ ในแง่หนึ่ง คนไทยอายุยน ื ขึน ้ อันนี้ชด ั เจน อายุเฉลี่ยของคนไทยเพิ่มขึ้นเรือ ่ ยๆ อย่างสมัย ผมยังเป็นเด็ ก ให้ คุณทายว่าสาเหตุการตาย คนไทยอันดับหนึง่ คืออะไร คืออหิวาตกโรค และ ไข้รากสาด หรือไม่ก็มารดาตายระหว่างคลอด เหมือนที่เห็นในหนัง แม่นาก เรียกว่าคนท้อง จะคลอดนี่ขาข้างหนึ่งไปรออยู่บนสวรรค์แล้ว แต่ตอนนี้การตายด้วยสาเหตุเหล่านี้ลดฮวบลง สะท้ อ นให้ เห็ น ภาพใหญ่ ข องพั ฒ นาการทาง การแพทย์แผนปัจจุบัน ทีนี้เราลองดูอีกแง่หนึ่ง ขณะทีโ่ รคติดเชือ ้ ทั้งหลายลดลงไปตามล� าดับ มันกลับเกิดโรค ของยุคสมัยใหม่ อย่างเอดส์ที่เริม ่ มาจากไวรัส ตัวใหม่ จนตอนนี้เราก็คุมกันพอได้อยู่ เชื้อโรค ตัวใหม่จริงๆ อย่างอีโบลาที่เป็นข่าวครึกโครม มีคนตายกันทัว ่ โลก แต่จา� นวนน้อยลง เราจึงต้อง มาพิจารณาโจทย์ใหม่วา่ เอาจริงๆ ตอนนีเ้ ราป่วย และตายด้วยอะไรกันแน่ ล่าสุดสามอันดับของ บ้ า นเราก็ คื อ มะเร็ง หลอดเลื อ ดหั ว ใจ และ อุบัติเหตุ ถัดมาจากนี้คือโรคเรือ ้ รังที่คนทั่วไป เป็นกันอยู่ และน�าไปสูป ่ ญ ั หาสุขภาพในระยะยาว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคกลุ่มที่เรา เรียกว่า NCDs หรือโรคไม่ติดต่อเรือ ้ รัง ล่าสุด เป็ น สาเหตุ ก ารตายกว่ า 75% ของคนไทย ถ้าคุณอายุเท่าผม จะพบว่าเวลาเราไปงานศพ เพื่อนๆ เรา สามในสี่ของการตายไม่ได้มาจาก เชื้อโรคเลย นั่นแปลว่า ในขณะทีส ่ ข ุ ภาวะของเราดีขน ึ้ แต่ทุกขภาวะของเราก็เปลี่ยนโฉมไป อันเนื่อง มาจากคนละสมุ ทั ย กั บ ในอดี ต สาเหตุ ห ลั ก ตอนนี้คือเรือ ่ งพฤติกรรมของเราเอง เรียกรวม กันว่าวิถช ี วี ต ิ และแน่นอนว่าต้องรวมถึงสิง่ แวดล้อม ด้วย เช่น สารพิษในอาหาร มลภาวะในอากาศ เหล่ า นี้ ก็ เกี่ ย วข้ อ งกั บ มะเร็ง ปั ญ หาสุ ข ภาพ ในตอนนี้เกิดจากวิถีชีวิตและสิ่งแวดล้อมรอบ ตัวเราเป็นหลัก จึงท�าให้การดูแลสุขภาพตัวเอง ให้ ดี ตั้ ง แต่ เ บื้ อ งต้ น กลายเป็ น พื้ น ฐานและ มีผลอย่างมากต่ อเราทุกคน ส่วนบริการทาง ก า ร แพ ท ย์ นั้ น ไ ม่ ไ ด้ ช่ ว ย แก้ ปั ญ ห า พ ว ก นี้ มันแค่ชว ่ ยแก้ไขประคับประคองไปตามอาการ ทางวิชาการชี้ว่าเราพึ่งหมอและยาได้แค่ 10% เท่านั้น นอกนั้นขึ้นกับวิถีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เป็ น ห ลั ก อี ก ที่ เห ลื อ นิ ด ห น่ อ ย เป็ น เรื่ อ ง พันธุกรรม

07


จริ ง ๆ แล้ ว พวกเราก็ รู้ ว่ า ต้ อ ง รักษาสุขภาพ แต่สภาพแวดล้อม ้ อ�านวยเลย โดยเฉพาะ ต่างๆ ไม่เอือ อย่างยิ่งในกรุงเทพฯ เราเข้ า ใจเรื่อ งนี้ ดี ว่ า ล� า พั ง การให้ ค วามรู ้แ ก่ ผู้ ค นว่ า ควรท� า อะไร ไม่ควรท�าอะไร มันไม่ใช่โซลูชน ั หรอก แต่ เ ราจะต้ อ งขั บ เคลื่ อ น ในระดับนโยบาย การปรับเปลี่ยน สิง่ แวดล้อม และดูแลเงือ ่ นไขในชีวต ิ ของผู้คนด้วย เพื่อที่ทุกคนจะได้ท�า ตามความรูท ้ ี่เขามีอยู่แล้ว แต่กลับ ไม่สามารถท�าได้ ด้วยเงื่อนไขอะไร ในชีวิต เหมือนตัวผมเองเป็นหมอ เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ความรู ้เรื่อ งสุ ข ภาพ มาตัง้ แต่รา� เรียน และท�างานทางสาย สุขภาพมาตลอด ไม่มีปัญหาหรอก เรือ ่ งจะรู ว ้ ่าอะไรควรท�าไม่ควรท�า แต่กอ ็ ย่างว่า ความรูไ้ ม่ใช่เงือ ่ นไขเดียว ทีเ่ ราจะท�าหรือไม่ทา� อย่างน้อยทีส ่ ด ุ ผมไม่ดื่มเหล้า ไม่สบ ู บุหรี่ เพราะพ่อ ผมเป็นคนสูบจัด แม่ก็เลยดูแลลูกๆ ไม่ให้มใี ครสูบเลย โดยรวมๆ วิถช ี ว ี ต ิ และพฤติกรรมของผมใช้ได้อยู่ เมือ ่ ไม่นานมานี้ ผมไปบรรยาย ให้นก ั ศึกษาแพทย์ปี 4 คลาสเช้าเลย ผ ม ก็ ถ า ม ว่ า พ ว ก เร า ที่ ม า เข้ า ห้ อ งเรีย นตั้ ง แต่ เช้ า แบบนี้ มี ใ คร กินอาหารเช้ามาแล้วบ้าง (หัวเราะ) พวกเขาคือนักศึกษาแพทย์ มีความรู ้ เต็มหัวแน่นอน แต่มีไม่ถึงหนึ่งในสี่ ที่ได้กินอาหารเช้า อย่างที่ประเมิน แล้ ว ว่ า มี คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการ เหมาะสม แถมจ�านวนอีกไม่นอ ้ ยทีย ่ งั ไม่ได้กินอะไรมาเลย ผมก็ถามต่อ ในเมื่ อ เราก็ รู ้ว่ า อาหารเช้ า ส� า คั ญ แล้ ว เราท� า ยั ง ไงดี เขาก็ เ ริ่ ม ให้ ความเห็ น เริ่ม แชร์ป ระสบการณ์ ซึ่ ง ทั้ ง หมดนั้ น ไม่ มี ก ารให้ ค วามรู ้ อยู่ เ ลย เพราะมั น ไม่ จ� า เป็ น แล้ ว ในขั้นนี้ ในขั้นตอนนี้ หลักการท�างาน คือการเปลี่ยนเงื่อนไขในชีวิตที่เป็น ปัญหาอุปสรรคต่อสุขภาพ เช่น มีตู้ ขายอาหารแบบหยอดเหรียญมาตัง้ อยู่ ห น้ า ห้ อ งเลกเชอร์ เ ลยดี ไ หม แล้ ว อาจารย์ ต้ อ งยอมให้ เขาเอา อะไรมานั่ ง กิ น ในห้ อ งด้ ว ยได้ ไหม หรือเราต้องปรับตารางสอนกันใหม่ ทัง้ หมดนั้นก็คอ ื เงือ ่ นไขชีวต ิ อย่างที่ คุณพูดก็ถก ู ปัญหามันคือสิง่ แวดล้อม ด้วย ความรูใ้ นหัวไม่ใช่เงือ ่ นไขเดียว ที่จะท�าให้ใครมีสุขภาพที่ดี บางที ก็ ไ ม่ ใ ช่ แ ค่ เ รื่ อ งวิ ถี ชี วิ ต ป ร ะ จ� า วั น มั น เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ค่านิยมทางสังคมด้วย ถูกครับ สมมติคณ ุ เป็นลูกจ้าง ประมงออกเรื อ ไป อยู่ ใ นสั ง คม

แบบหนึ่ งซึ่งเหล้ ามีบทบาทส�าคั ญ

หรือใช้เวลาแค่ 2 ปีในการเพิ่มอีก

ท�านั้นก็เคารพว่าเหล้าบุหรีเ่ ป็นสิง่ ที่

มี ห ลานผมเคยไปอยู่ ค่ า ยเพลง

เรือ ่ ยๆ สิง่ แวดล้อมในสังคมเกือ ้ หนุน

สิ น ค้ า ธ ร ร ม ด า เห มื อ น น ม ห รื อ

หรือถ้าคุณท�างานเป็นศิลปินเพลง

เขาเล่าว่าต้องนัง ่ ลอด ่ บุหรีต ่ สูดกลิน

ทั้ ง วั น เพราะนั่ น เป็ น สั ง คมที่ บุ ห รี่ มีบทบาท ดังนั้น เราก็ต้องท�างาน ปรับเปลีย ่ นค่านิยม ซึง่ ก็เป็นอีกหนึง ่

เท่ า ตั ว การตลาดดุ เ ดื อ ดมากขึ้ น ค่ า นิ ย ม ก็ ถู ก ยึ ด ค ร อ ง ไป ห ม ด กลายเป็นเรือ ่ งระดับสังคมวัฒนธรรม เลย ไม่ใช่แค่เรือ ่ งการแพทย์แล้ว

ครัง้ แรกทีเ่ ราออกไปเชิญชวน

เงือ ่ นไขทีบ ่ บ ี วิถช ี ว ี ต ิ เรา คนเราไม่ได้

ให้มพ ี น ื้ ทีจ ่ ด ั งานสงกรานต์ปลอดเหล้า

แต่ว่าถูกกรอบบังคับด้วย

แต่เราก็ทา� งานต่อเนือ ่ งมา จนกระทัง่

ท� า อะไรก็ ได้ ตามใจชอบหรอก ใ น บ ท บ า ท ที่ ผ ม ต้ อ ง ม า

รับผิดชอบ ก็เข้าใจการท�างานมาก

เล่ น สงกรานต์ ป ลอดเหล้ า ได้ ก ว่ า

ถ้ า เร า ยื น ห ยั ด ท� าอ ย่ า ง จ ริ ง จั ง

ค�าว่าตระหนักรูน ้ ี่ไม่ใช่แค่รู ้ การจะ

ตอนที่เราเริม ั น้อง ่ รณรงค์รบ ปลอดเหล้ า ตอนนั้ นเหล้ าเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องความเป็ น ผู้ ใ หญ่

ระดับหนึ่ง มันมีเรือ ่ งจิตวิทยา เรือ ่ ง

สถาบันอุดมศึกษา นอกจากนี้ เหล้า

นิเทศศาสตร์ต่างๆ มาเกี่ยวข้อง

ท่ า มกลางปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม ร ถ ติ ด ค วั น พิ ษ ฟุ ต พ า ท พั ง ประชากรหนาแน่ น มั น ล้ น พ้ น ความสามารถของ สสส. ไปแล้ว หรือเปล่า คุณมองโลกในแง่รา้ ยเกินไป คนท� า งานแบบนี้ ต้ อ งมี ค วามหวั ง อยูต ่ ลอดนะครับ สิง่ หนึง่ ทีเ่ ราต้องมี แ ล ะ จ น ถึ ง วั น นี้ เ ร า มี ม า ก ขึ้ น คื อ ความเชื่ อ เราต้ อ งเชื่ อ ว่ า มั น เป ลี่ ย น แป ล ง ไ ด้ อ ย่ า เริ่ ม ต้ น การท�างานของคุณด้วยการคิดว่า มันเปลี่ยนอะไรไม่ได้ อันดับแรกทีต ่ ้องท�า คือหาว่า เงื่ อ นไขอะไรที่ น� า พาสั ง คมมาถึ ง จุ ด นี้ แล้ ว เราก็ เข้ า ไปจั ด การตรง เงือ ่ นไขนั้น ยกตัวอย่างปัญหาทีเ่ รา จับตา สังคมไทยมีแม่วัยรุน ่ เพิ่มขึ้น อั ต ร า ก า ร บ ริ โ ภ ค สุ ร า เพิ่ ม ขึ้ น มลพิษในอากาศเพิม ้ อัตราผูป ้ ว ่ ย ่ ขึน เบาหวานเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ อั ต ราแม่ เลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนมแม่ ค รบ 6 เดื อ น ลดลง เราเข้ า ไปดู ที่ เงื่ อ นไขของ ปัญหา ซึง่ ก็รูว้ า ่ เงือ ่ นไขไม่ใช่ความรู ้ เพราะทุกคนรูว้ า่ อะไรทีด ่ ต ี อ ่ สุขภาพ แต่ปัญหาคือเงื่อนไขชีวิต เช่น คน เป็นแม่ต้องออกไปท�างาน สภาพ สังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ หรือ การเดินทาง ฯลฯ เมื่ อ ตอนเราเริ่ม ต้ น รณรงค์ เรือ ่ งเหล้า ตอนนัน ่ ย ้ เมืองไทยยังไม่คอ มี ใ ครแตะเรื่อ งนี้ เท่ า ไหร่ แค่ นั บ ปริม าณการบริโ ภคของกลุ่ ม วิ ส กี้ ไทยเราก็เป็นอันดับ 5 ของโลกแล้ว อั ต ราการบริ โ ภคต่ อ หั ว คนไทย ในช่วงเวลา 43 ปี เพิม ้ มา 33 เท่า ่ ขึน

สิทธิทจ ี่ ะเลือกว่าจะเสพหรือไม่เสพ

ในวันหนึ่งๆ คุณถูกชวนด้วย

ความสุข เราก็บอกคุณอีกแนวทาง

ต่อเนื่อง และต้องท�าให้ถูกวิธี

ให้คนตระหนักต้องท�างานขึน ้ ไปอีก

ของประชาชนอยู่แล้ ว ว่าทุกคนมี

เมื่อปีที่แล้ ว เราจั ดโซนนิ งส�าหรับ

เ ดี่ ย ว ๆ เร า ต้ อ ง ท� า ส อ ง อ ย่ า ง

คู่ ข นานกั น ไป ทั้ ง กระตุ้ น ให้ เ ขา ตระหนักรู ้ ให้เขาเห็นความส�าคัญ

ควบคุม และเราก็เคารพในเสรีภาพ

สิง่ เร้าทางการตลาด เขาบอกคุณว่า

ผลักดันให้เกิดสิง ่ แวดล้อมทีเ่ อื้อต่อ สุขภาวะมากกว่ามุง ่ เป้าไปทีป ่ จ ั เจก

น� า ผ ล ไ ม้ แ ต่ เป็ น สิ น ค้ า ที่ ค ว ร

เราโดนคนหัวเราะใส่หน้าเลยว่าบ้า

2,000 จุด กระจายไปทั่วประเทศ ความเปลี่ ย นแปลงจึ ง เกิ ด ขึ้ น ได้

ขึน ้ โดยเฉพาะการท�างานเชิงสังคม

ถูกกฎหมาย แต่ ไม่ใช่ถูกแบบเป็น

การเปลี่ ย นผ่ า นจากเด็ ก มั ธ ยมไป

ยังเป็นสัญลักษณ์ของงานบุญด้วย เมื่อก่อนเจ้าภาพต้องเสียค่าใช้จ่าย

ค่าเหล้าเฉลี่ย 20,000 บาทต่องาน ถ้ าไม่เลี้ ยงก็ เป็นเรือ ่ งผิดประเพณี

จนล่ า สุ ด ที่ ศ รีส ะเกษ ผู้ ว่ า ฯ และ หน่ ว ยงานต่ า งๆ มาร่ว มรณรงค์

หยุดเหล้าในงานบุญกับเรา มีตว ั เลข

ประเมินว่า เราสามารถประหยัดเงิน

ไป 186 ล้ า นบาท เจ้ า ภาพเองก็ ประหยั ด ปั ญ หาต่ า งๆ ก็ ล ดลง แล้วขยายไปสู่งานบุญอื่นๆ

เรารูว้ า่ เป็นปัญหาเชิงโครงสร้าง

เชิงสังคมวัฒนธรรม แต่ตอ ้ งไม่คด ิ ว่า มั น เป็ น ไปไม่ ไ ด้ เพราะแต่ เ ดิ ม ก็

ไม่ได้เป็นแบบนี้มาก่อน มันเพิ่งถูก

สร้างมาเหมือนกัน ความเป็นสังคม ทีด ่ น ู ามธรรม จริงๆ แล้วมีคนชักจูง ไปทางนั้นทางนี้อยู่ตลอดเวลา

เพราะ สสส. ท�างานแบบนี้นี่เอง จึ ง มั ก ถู ก วิ จ ารณ์ ว่ า เป็ น พวก ‘คนดี’ เป็นผู้ท่ค ี อยก�าหนดนิยาม ความดีให้กับสังคม ผมเข้าใจประเด็ นที่คุณถาม ว่าเราไม่ควรท�าตั วเป็นคนดี แล้ ว เทีย ่ วไปสัง่ สอนคนอืน ่ ว่าต้อง do นะ ต้อง don’t นะ ซึ่งถ้าคุณฟังอย่างที่ ผมอธิบายไป ก็จะเข้าใจว่า เปล่าเลย เราท� า งานกั บสิ่ ง แวดล้ อมและ สังคมวัฒนธรรม เพื่อเอื้อให้ทุกคน มีสข ุ ภาพดี เหล้าบุหรีน ่ น ั้ มีผลกระทบ ต่ อ สุ ข ภาพอยู่ แ ล้ ว พิ ษ ภั ย เหล่ า นี้ ถู ก ชั ก จู ง โดยปี ก หนึ่ ง ของสั ง คมที่ ต้ อ งการจะขายของ เรามี ห น้ า ที่ กระตุกให้เอียงไปอีกทางหนึ่งบ้าง เป็ น สิ่ ง ที่ ต้ อ ง ท� า เพื่ อ ให้ เกิ ด อี ก แนวทางหนึ่ ง เป็ น แนวทางดู แ ล ปกป้องประชาชน ซึ่งทั้งหมดที่เรา

ดื่ ม แล้ ว จะมี เ พื่ อ น ดื่ ม แล้ ว จะมี

หนึ่ ง มั น มี พิ ษ ภั ย นะ กระทบต่ อ เศรษฐกิจในครอบครัวของคุณนะ ค่ า เหล้ า ในครัว เรือ นเป็ น สั ด ส่ ว น เท่ า ไหร่ ซื้ อ เสื้ อ นั ก เรีย นให้ ลู ก ได้

เท่าไหร่ เก็ บไว้หยอดกระปุ กทั้งปี

รวมทั้ ง ประเทศ สร้ า งสนามบิ น สุ ว รรณภู มิ ไ ด้ 1 แห่ ง หรือ ถ้ า เมา แล้วขับจนเกิดอุบต ั ิเหตุทา � ให้คนอื่น ตาย ถ้ า เราไม่ ไ ด้ อ อกมารณรงค์

แบบนี้ คนเมาก็ขับรถกลับบ้านกัน ตามอั ธ ยาศั ย ซึ่ ง สมั ย ก่ อ นมั น มี

เยอะจริงๆ นะ กิ นเหล้ าเสร็จก็ จ�า ไม่ ไ ด้ ห รอกว่ า กลั บ บ้ า นมายั ง ไง

มันคือเรือ ่ งปกติในยุคหนึ่งสมัยหนึ่ง

เราก็ ก ระตุ ก สั ง คมว่ า การไม่ ดู แ ล ตัวเอง อาจจะก่อให้เกิดอะไรต่อสังคม

เ ร า ค ว ร จ ะ เ ชิ ด ชู คุ ณ ค่ า อ ะ ไ ร มากกว่ากัน ระหว่างเสรีภาพของ ปั จ เจก กั บ คุ ณ ธรรมชุ ด หนึ่ ง ่ มีคนกลุม ่ ออกมารณรงค์ ซึง ่ หนึง รัฐธรรมนูญเขียนอยูใ่ นหมวด สิทธิเสรีภาพ ซึง่ ก็ยงั ต้องมีขอ ้ ยกเว้น ว่ า เพื่ อ ความมั่ น คงของบ้ า นเมื อ ง และศีลธรรมอันดี ดังนั้น ทุกอย่าง ก็ มี ข้ อ ยกเว้ น ไม่ มี สั ง คมไหนที่ ให้ เสรีภาพโดยไม่มข ี อบเขต แต่ขอบเขต นั้นจะอยู่ตรงไหนก็ขึ้นอยู่กับแต่ละ สังคมจะตกลงกัน บ้านเมืองเราเคย ก� า หนดอยู่ ในขอบเขตหนึ่ ง เราก็ สนับสนุนอีกขอบเขตทีส ่ า� รวมมากขึน ้ ย ก ตั ว อ ย่ า ง ใน ยุ ค ส ง ค ร า ม ฝิ่ น มหาอ� า นาจก็ เ คยเอาฝิ่ นมาขาย เมืองไทยเราก็ เคยมีโรงฝิ่ น จนถึ ง จุดหนึ่งสังคมก็ตกลงร่วมกันใหม่วา ่ สิง่ นีต ้ อ ้ งปราบปราม สิง่ อืน ่ ๆ ก็ทา� นอง เดี ย วกั น ขอบเขตของเสรี ภ าพ มีเงื่อนไข หรืออะไรต่ างๆ เหล่ านี้ สังคมก�าหนดร่วมกัน เราเองก็ไม่ได้ รณรงค์แบบสุดโต่ง เราเรียกร้องอยู่ บนพื้ น ฐานของข้ อ มู ล ข้ อ เท็ จ จริง อย่ า งภาษี อาหารหวาน เราน� า ผลการศึกษาในประเทศมาประกอบ ก่อนที่จะเกิดการท�างาน

08


WoRking Model oF healTh

issue 615

04 NOV 2019

การท� า งานรณรงค์ เ พื่ อ เปลี่ ย นวิ ถี ชี วิ ต และสิ่ ง แวดล้ อ มแบบนี้ แตกต่ า งไปจาก การท� า งานด้ า นการแพทย์ ใ ห้ ก ารรั ก ษา ผู้ปว ่ ยทีละคนๆ อย่างไร มันคืองานสร้างสุขภาวะในระดับประชากร ไม่ใช่เรือ ่ งหมอแต่ ละคนๆ ที่ท�าได้ ตามล� าพัง ทุกวันนี้ สสส. ท�างานโดยผสานสหวิทยาการ เราใช้สงั คมศาสตร์มนุษยศาสตร์พฤติกรรมศาสตร์ นิเทศศาสตร์ นิติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ ฯลฯ ลองนั่ งไล่ เรียงมาเถอะ ทุกศาสตร์ล้วน เกี่ยวข้องทั้งนั้น เพราะเราเอาเป้าหมายเรือ ่ ง ความสุขความทุกข์มาเป็นตัวตัง้ มันจึงเกีย ่ วข้อง กับทุกศาสตร์ และต้องเชิญชวนหลายภาคส่วน หลายองค์กร เข้ามาร่วมงานด้วย นับแค่ภาครัฐนี่เราก็ต้องเข้าไปยุง่ กับเขา เกิน 10 กระทรวง ไม่ใช่แค่กระทรวงสาธารณสุข หรือแค่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน ่ คงของมนุษย์ (พม.) โดยเรามีคนจาก 8 กระทรวง มาอยูใ่ นบอร์ด และแค่ภาครัฐอย่างเดียวก็เอา ไม่อยู่ เราต้องท�างานกับประชาสังคม ท้องถิ่น เอกชน นั ก วิ ช าการ เราสานทุ ก พลั ง ให้ ม าสู่ เป้าหมายเดี ยวกั น เพื่อเปลี่ ยนค่ านิ ยมสังคม เปลี่ ย นวั ฒ นธรรม สร้า งต้ น แบบ บั ง คั บ ใช้ กฎหมาย และผลักดันให้เกิดกฎหมายทีจ ่ �าเป็น ทั้งกฎหมายระดับชาติหรือท้องถิ่น พอท�างานมานานถึงจุดหนึง่ เราก็พบว่า มันกลายเป็นศาสตร์หนึง่ ขึน ้ มา เรียกว่าศาสตร์ แห่งการสร้างเสริมสุขภาพ มีการสะสมรวบรวม ความรู ้กั น ไว้ ผมคิ ด ว่ า สสส. เป็ น องค์ ก รที่ สามารถประยุ ก ต์ ศ าสตร์นี้ ม าใช้ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรมได้ ม ากที่ สุ ด ทุ ก ปี จ ะมี ค ณะจาก ต่ า งประเทศมากกว่ า 30 คณะ มาเรีย นรู ้ กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพภาคปฏิบต ั ิ ศาสตร์ แ ห่ ง การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพของ สสส. มีไอเดียคร่าวๆ อย่างไร มันเป็น Working Model หรือแบบจ�าลอง การท�างาน น�าความรูส ้ ากลมาประยุกต์ อันดับ แรกคือ Health Promotion และอันดับต่อมา คือ Health Promotion Enabler - เริม ่ ง ่ จากการพิจารณาองค์ความรูเ้ รือ สุขภาพในระดับโลก ทีบ ่ อกเราว่าต้องท�าอะไร บ้ า ง เรามี Ottawa Charter for Health Promotion ปี 1986 ทีเ่ ขาได้ระดมความคิดกัน จนประยุกต์มาถึงจุดทีเ่ รายังใช้งานได้อยู่ แต่เดิม การส่งเสริมสุขภาพจะไปหนักที่เรือ ่ งสุขศึกษา และผูกอยู่กับระบบป้องกันสุขภาพ เช่น สอน สุขศึกษา สอนให้ไปฉีดวัคซีน ถ้าเจ็บป่วยก็รก ั ษา งานส่งเสริมสุขภาพแต่เดิมจะแคบอยู่แค่นี้ - ต่อมา งานส่งเสริมสุขภาพขยายตัวไปใน เรื่อ งการสื่ อ สาร เราใช้ ท้ั ง กระบวนการทาง การตลาดแบบ integrated marketing ศาสตร์ของนิเทศศาสตร์ที่ก้าวหน้าไป โดยเรา ใช้เพิม ้ ความรูเ้ ท่าทันของประชาชน ่ และกระตุน ปรับพื้นฐานชีวิตให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี - ขัน ่ งชุมชน ้ ต่อมา งานของเราขยายไปสูเ่ รือ เข้มแข็ง หมายถึงโรงเรียน วัด ทีท ่ า� งาน รวมถึง ชุมชนเสมือน ในโลกออนไลน์ ทีส ่ ามารถร่วมกัน ท�างานเพือ ่ สร้างเสริมสุขภาวะของผูค ้ นภายใน ชุมชนนัน ้ ๆ และถ้าในอนาคตประเทศเรากระจาย อ�านาจมากขึน ้ ชุมชนก็จะยิง่ เป็นเครือ ่ งมือส�าคัญ

- ขณะเดียวกัน บริการภาครัฐก็ท�างาน

ไปด้วยกัน ทุกวันนี้ 90% ของค่าใช้จา ่ ยภาครัฐ เพือ ่ สุขภาพ เราถูกใช้ไปกับการรักษาคนทีป ่ ว ่ ย แล้ว มีไม่ถงึ 10% ทีใ่ ช้เพือ ่ ดูแลป้องกันหรือไป แก้ทต ี่ น ้ เหตุ งานของเราก็คอ ื ไปผลักดันนโยบาย

ตรงนี้ให้มากขึน ้ เช่นเดียวกับบริการสังคมและ สวัสดิการต่างๆ เช่น ผลักดันเรือ ่ งเบีย ้ เด็กแรกเกิด

ทีช ่ ว ่ ยเหลือเด็กยากจน เพราะเราประเมินมาว่า

วัยนี้เป็นวัยของการสร้างฮาร์ดแวร์ การลงทุน ช่วยเหลือตัง้ แต่ในวัยนีจ ้ งึ คุม ้ ค่าทีส ่ ด ุ รวมถึงเรือ ่ ง

ธนาคารเวลา การดูแลคนไร้บา้ น การจ้างงาน ต่างๆ ทีเ่ ราชวน พม. มาท�าอยูป ่ น ี ี้

- ขัน ้ หละทีจ ่ ะ ้ สุดท้ายคือนโยบาย ตรงนีแ มาเปลีย ่ นสังคมและสิง่ แวดล้อมให้ดข ี น ึ้ อย่างเช่น การจ� า กั ด ที่ ห้ า มซื้ อ ขาย จ� า กั ด เวลาซื้ อ ขาย

หรือการเอาไขมันทรานส์ออกไปจากอุตสาหกรรม อาหาร

- ทัง้ หมดนีเ้ รียกว่าการสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งท�างานร่วมกับนักสร้างสุขภาพในเครือข่าย ภาคีทั้งหมด ที่จะต้องชักชวนคนมาสานพลัง

หรือเรียกว่าไตรพลัง ได้แก่ ปัญญา นโยบาย และสังคม สสส. เราท�างานโดยใช้ข้อมูลและ

ผลการศึกษาอย่างจริงจัง มีศน ู ย์วจ ิ ย ั ทีเ่ ราท�าให้

เกิดขึน ้ เยอะเลย ซึง่ จะน�าไปสูก ่ ารผลักดันงาน นโยบายที่ มี ห ลั ก ฐานวิ ช าการยื น ยั น ว่ า มั น ดี

แล้วมีการมอนิเตอร์ตด ิ ตามตลอด เช่น ศูนย์วจ ิ ย ั

และจัดการความรูเ้ พือ ่ การควบคุมยาสูบ, ศูนย์

วิชาการเพือ ่ ความปลอดภัยทางถนน, ศูนย์ศก ึ ษา ปัญหาการพนัน, เครือข่ายเด็กไทยไม่กน ิ หวาน ฯลฯ

เวลาคุ ณ ท� า งานแก้ ปั ญ หาระดั บ นโยบาย ได้เห็นแนวโน้มข้อมูลต่างๆ ของประชากร ส่วนใหญ่ คุณคิดว่ามนุษยชาติเราแย่ลง เรื่อยๆ หรือเปล่า นีเ่ ป็นการมองโลกในแง่รา้ ยอีกแล้ว ผมจะ บอกว่ามันไม่เป็นเช่นนั้ นเลยครับ มนุ ษย์เรา ทบทวนตัวเองได้ หลายคนมองภาพใหญ่ของ ศตวรรษที่ 21 ว่ า นี่ จ ะเป็ น ศตวรรษที่ ม นุ ษ ย์ กลับมาแก้ไขความผิดพลาดของศตวรรษที่ 20 ในยุคปฏิวต ั อ ิ ต ุ สาหกรรม ชัดเจนว่าเรามีเศรษฐกิจ ทีเ่ ติบโตขึน ้ แต่ทา่ มกลางสภาวะแวดล้อมทีแ ่ ย่ลง มนุ ษย์สามารถเรียนรู ้ และวันนี้ ก็มีเด็ กหญิง ชาวสวีเดนคนหนึ่งมาเรียกร้องให้แก้ Climate Crisis ความเคลือ ่ นไหวของคนรุน ่ ใหม่ทา� ให้เรา รู เ้ ลยว่ามนุ ษยชาติ เรียนรู แ ้ ล้ ว และมันน่ าจะ ดีขึ้น ประชาคมโลกตกลงกั น ว่ า เราจะท� า ให้ โลกพั ฒ นาไปอย่ า งสมดุ ล มากขึ้ น ระหว่ า ง สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม เราส�ารวม กันมากขึน ้ ต่อการใช้ทรัพยากร ต่อการทิง้ ขยะ พลาสติก ความผิดพลาดในศตวรรษทีผ ่ า ่ นมา ได้ ร ับ การซ่ อ มแซมแก้ ไขกั น ในวั น นี้ โลกมี ความหวังครับ คงเป็ น ธรรมชาติ ข องคนท� า งานในระดั บ นโยบาย ที่ จ ะต้ อ งมองโลกในแง่ ดี ว่ า จะ สามารถเปลี่ยนแปลง แก้ไข (หัวเราะ) ถ้ าไม่เช่นนั้ น แล้ วเราจะเอา ความหวังที่ไหนมาท�างาน ถ้าไม่เชื่อว่างานที่ ลงมือท�านัน ่ เหมือนทีม ่ ค ี นเขาบอกว่าเรือ ่ ง ้ มีคา ใหญ่ ๆ เริ่ม จากเรื่อ งเล็ ก ๆ อย่ า งเด็ ก ผู้ ห ญิ ง

09


ตัวเล็กๆ คนหนึง่ จะน�ามาซึง่ กระแสอะไรใหญ่โต ถ้าเรา

ทีม ่ อ ื ใครยาวสาวได้สาวเอา

ไม่เสียเวลากับมันหรอก เราก็จะใช้ชว ี ต ิ ต่อไปท่ามกลาง

มันมีตัวเลขตัวหนึ่งทีม ่ อ ี ิทธิพลต่อสุขภาวะโดยตรง คือ

มาท�างาน คนทีจ ่ ะเปลีย ่ นแปลงในทางบวก

ก็ตาม โดยเฉพาะช่องว่างทางเศรษฐกิจ ช่องว่างของ

ไร้ความหวัง เราไม่คิดว่าเราเปลี่ยนอะไรได้ เราก็คง

ปัญหาทีท ่ า� ทิง้ ไว้ แบบนีส ้ งั คมจะขาดแคลนคนทีล ่ ก ุ ขึน ้ เพราะลึกๆ แล้ว มนุษย์เราอยากจะเปลีย ่ นแปลง

สังคมอยูแ ่ ล้ว บางคนอยากจะเปลีย ่ นแปลงสังคมในทาง

ลบ เพราะต้องการจะโฆษณาขายสินค้าให้ได้ เขาก็จะ สร้างค่านิยมบางอย่างขึน ้ มา อย่างยาทารักแร้ให้ขาว

เขาก็ทา � ให้เรารูส ้ ก ึ ว่ารักแร้ต้องขาว ดังนั้น ไม่วา ่ จะใน ทิศทางไหน มันย่อมมีคนทีจ ่ ะขับเคลือ ่ นสังคมไปอยูแ ่ ล้ว

และผมเชือ ่ ว่าตลอด 18 ปีของ สสส. เราก็ขบ ั เคลือ ่ นไป ในทางของเรา

มันย่อมต้องมีบางเรือ ่ งทีท ่ า� ไม่สา� เร็จ มีบางเรือ ่ ง

ทีไ่ ม่ไหวจริงๆ ยากมากๆ แต่เราไม่มองว่านี่คือความสิน ่ งั แก้ไม่ได้ในตอนนี้ ้ หวังนะ เรามองว่ามันคือปัญหาทีย แต่อาจจะแก้ได้ในอนาคต แม้แต่บางเรือ ่ งทีเ่ ราท�าส�าเร็จ ไปแล้ว ตอนเริม ่ ต้นมันก็ดูไม่มีความหวัง ยังท�าไม่ได้

เราก็หยุดไว้กอ ่ น หันไปท�างานด้านอืน ่ ก่อน สัง่ สมพลัง ไว้ ปีหน้าฟ้าเปิดแล้วเราค่อยไปท�า มีหลายเรือ ่ งเลย

ทีย ่ งั ท�าไม่สา� เร็จ ก็เตรียมความพร้อมไว้ แล้วรอโอกาส

ทีจ ่ ะท�าต่อไปอย่างมีความหวัง

้ ข โลกเรามีความหวังอยูอ ่ ก ี หรือ สังเกตว่าช่วงนีม ี า่ ว การฆ่าตัวตายมากขึ้น ดูเหมือนผู้คนก�าลังสิ้นหวัง การตัง้ ข้อสังเกตแบบนีต ้ อ ้ งระวัง นีเ่ ป็นการสังเกต ส่วนตัว ถ้าจะท�างานระดับนโยบาย เราต้องหาภาพกลาง บางอย่างมาเป็นตั วบ่งชี้ที่แม่นย�ากว่านี้ อย่างดั ชนี ความทุ ก ข์ ท รมาน ตอนนี้ เราเป็ น ที่ ห นึ่ ง ของโลก โดยการน�าอัตราว่างงานและอัตราเงินเฟ้อมาคูณกัน แต่คนไทยเราก็ไม่ได้เป็นไปในทางลบหมด ท่ามกลาง อะไรที่แย่ๆ เราเป็นประเทศที่มีภาคเกษตรกรรมคอย ซึมซับแรงงานเมือ ่ เผชิญวิกฤตเศรษฐกิจ ค่าแรงขัน ้ ต�า เราก็ เพิ่มขึ้นมาเรือ ่ ยๆ ถ้ าดูหลายอย่างประกอบกั น ลูกศรก็ไม่ได้ชี้ไปในทิศทางเลวร้ายเสียหมด มันก็มีดี มีเสียปนกันไป เรายังเป็นประเทศทีต ่ ด ิ อันดับท่องเทีย ่ ว ระดับต้นๆ คุณต้องหัดมองบวกบ้าง ตอนนี้หลายคนบ่นว่าเศรษฐกิจไม่ดี มันท�าให้ สุขภาพของเราแย่ลงตามไปด้วย แต่กไ็ ม่ตรงไปตรงมา ขนาดนัน ้ เศรษฐกิจมีผลแน่นอน โดยทัว ่ ไปคนจนหรือ คนทีม ่ ก ี ารศึกษาน้อยกว่าจะมีสถานะการท�างานทีต ่ �า คนเป็นลูกน้องจะมีสข ุ ภาวะทีย ่ ากล�าบากกว่าเจ้านาย แต่มน ั ไม่ใช่ตว ั ชีว ้ ด ั เพียงตัวเดียว และในบางกรณีกลับ ตรงข้ามด้วยซ�า ยังรวมถึงการกินอาหารดี ออกก�าลังกาย ทีเ่ หมาะสม ไม่รบ ั ปัจจัยเสีย ่ งเข้าร่างกาย ไม่ตด ิ ยา มันไม่ใช่แค่เรือ ่ งเงินในกระเป๋า มันยังรวมถึงการงาน ของเขา ครอบครัวของเขา ชุมชนของเขา มันหลายมิติ มากครับ แล้วต้องค�านึงถึงทุกมิติด้วย ถ้าเราดูแล บางมิตไิ ม่ดพ ี อ สุขภาวะก็ไม่เกิด แล้วการเมืองล่ะ สังคมทีเ่ ป็นเสรีประชาธิปไตย จะมีความสุขกว่าสังคมที่เป็นเผด็จการไหม การเมืองเกี่ยวแน่ นอน เป็นเบอร์ต้นๆ เลย ด้วยซ�า แต่มน ั ไม่ได้หมายถึงระบอบใดระบอบหนึง่ แบบตายตัว แต่ขน ึ้ อยูก ่ บ ั ปัจจัยทางการเมืองต่างๆ การเปลี่ ยนแปลงระบอบแบบครัง้ ใหญ่ สงคราม กลางเมือง ทิศทางทางการเมือง ในบางประเทศ ทีม ่ ี Social Support ก็เป็นปัจจัยส�าคัญ อย่างเช่น ประเทศในสแกนดิเนเวียเก็บภาษี สงู เขาเฉลี่ยทุกข์ เฉลีย ่ สุขกันได้มากกว่าบางประเทศทีเ่ ป็นทุนนิยมเสรี

ถ้ า เรามองให้ ลึ ก ลงไปกว่ า ระบอบการเมื อ ง

ช่องว่างระหว่างประชากร ไม่ว่าจะเป็นช่องว่างอะไร อ�านาจ ประเทศทีช ่ อ ่ งว่างไกลกันมาก ดัชนีความสุขจะต�า

อย่างสหรัฐอเมริกาก็เป็นตัวอย่างทีช ่ อ ่ งว่างนีก ้ ว้างมาก และเขามีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าช้ากว่าบ้านเรา 10 ปี พอไม่มีการเฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุข มันก็ส่งผล

รวมถึ ง ช่ อ งว่ า งระหว่ า งบุ ค คลด้ ว ย ความมี

ส่วนร่วมในชุมชน ในหมู่บ้าน บางสังคมที่มีช่องว่าง

และความแตกแยก อย่ า งเช่ น ความแตกแยกทาง ศาสนา ก็กลายเป็นทุกขภาวะทั้งนั้นเลย

ในกรุงเทพฯ ทีเ่ ราเบียดเสียดกันในรถไฟฟ ้า ท�าให้ เราเหนียวแน่นกันดีใช่ไหม (หัวเราะ) นีเ่ ป็นปัญหาคุณภาพของการขนส่ง แต่ คุณภาพชีวต ิ โดยรวม ยังไงๆ ก็สา� คัญน้อยกว่าความคิด ทีเ่ ราเปรียบเทียบกับคนข้างๆ กัน สิง่ ส�าคัญคือช่องว่าง จะต้องน้อยลง ผู้คนต้องรูส ้ ึกเสมอหน้ากัน ถ้าเราได้ คุณภาพชีวต ิ ระดับนี้ แต่เห็นว่าคนอีกกลุม ่ เขามีคณ ุ ภาพ ชีวต ิ ไปถึงระดับโน้น เรารูส ้ ก ึ ว่าเป็นอีกกลุม ่ ทีถ ่ ก ู เหยียบ ย�าอยู่ข้างล่าง เราจะทุกข์มากกว่า ดังนั้น เราเบียดกัน อยูใ่ นรถใต้ดน ิ จะมีความสุขกว่าเวลาทีเ่ ราขีม ่ อเตอร์ไซค์ เปียกฝน แล้วเหลือบไปเห็นข้างๆ อีกคนขับรถเก๋งอยู่ ถ้าเราได้นง่ั รถไฟฟ้าเหมือนกันหมด แล้วประธานบริษัท ก็นั่งรถไฟฟ้าไปท�างานเหมือนกัน ทุกคนใช้บริการได้ อย่างเสมอหน้ากัน แม้จะเบียดก็ไม่เป็นไร การสร้างความเสมอหน้ากัน เป็นงานของ สสส. ด้วยหรือเปล่า นีค ่ อ ื เรือ ่ งใหญ่ของสังคมไทยเลยนะ มันนามธรรม มากๆ ความยากคือเราไม่รว ู ้ า่ จะจับทุกข์ตรงไหน หรือจับ สมุทย ั ตรงไหน เราพิจารณาถึง Social Determinants of Health หรือปัจจัยสังคมที่เป็นตัวก�าหนดสุขภาพ เราจะไปจั บ ปั จ จั ย ก� า หนดที่ พ อประมาณ ถ้ า เรา ไม่ประมาณตัว จะกลายเป็นว่าองค์กรนี้ท�าทุกอย่าง และท�าเกินขอบเขตไปแล้ว ดังนั้น ก็ต้องดูความพอดี ที่ยึดโยงกับ Core Business ของเรา ซึ่งส่วนที่เกินไป กว่านี้ เราก็ต้องฝากความหวังไว้ทภ ี่ าคส่วนอื่นๆ ว่าจะ ต้องช่วยกัน

มั น ย่ อ มต้ อ งมี บ างเรื่ อ งที่ ท� า ไม่ส�าเร็จ มีบางเรื่องที่ไม่ไหว จริงๆ ยากมากๆ แต่เราไม่มอง ว่ า นี่ คื อ ค ว า ม สิ้ น ห วั ง น ะ เรามองว่ า มั น คื อ ปั ญ หาที่ ยั ง แก้ ไ ม่ ไ ด้ ใ นตอนนี้ แต่ อ าจจะ แก้ได้ในอนาคต

10


Passion & Mission

คุ ณ เป็ น หมอ แล้ ว มาท� า งานด้ า น นโยบายแบบนี้ได้อย่างไร ผมเป็นคนชอบแตกแถว ตั้งแต่ สมัยเรียนก็สนใจมาทางปีกของชุมชน เรียกว่างานสาธารณสุข ต่อมาก็ได้เรียน เพิ่มเติมทางด้านสาธารณสุขศาสตร์ เขาสอนเน้ น สุ ข ภาพของสาธารณะ เป็นศาสตร์ทว ี่ า่ ท�าอย่างไรกับประชากร โดยรวมมากกว่ า การรัก ษาคนเป็ น รายบุ คคล และปริญญาเอกผมก็ ไป เรียนต่ อทางด้ านสาธารณสุขอี ก ซึ่ง จริงๆ แล้วคนทีจ ่ ะมาท�างานทางด้านนี้ ไม่จ�าเป็นจะต้องเรียนหมอมาก็ได้นะ ครับ เรามีนักอะไรอื่นๆ อีกมากมาย ผูบ ้ ริหาร สสส. เองก็มน ี ักวิทยาศาสตร์ นั กนิ เทศศาสตร์ ถึ งจุดหนึ่ งคุณต้ อง เรียนรูก ้ ารท�างานร่วมกันกับสหวิทยาการ มาช่วยกัน งานแบบนี้ ย ากกว่ า หรื อ สนุ ก กว่ า งานรักษาคนอย่างไร มันเป็นไปตามจริตคนมากกว่า คุณก็ตอ ้ งชอบงานแบบนีม ้ น ั ถึงจะสนุก ถ้าชอบงานรักษาคน คุณก็จะไปเรียน ลงลึกในแนวนัน � เป็น ้ อย่างหมอตา ก็จา จะต้องศึกษาเรือ ่ งตาให้ลก ึ แต่สงั คมเรา ก็ ต้ อ งการคนที่ ท� า งานทั้ ง ทางกว้ า ง และทางลึ ก ใช่ ไหม งานของ สสส. เป็ น งานแนวกว้ า ง ก็ อ าจจะถู ก จริต ของคนที่ ช อบงานที่ ไ ด้ ท� า ร่ ว มกั บ ประชากรวงกว้างจริง อี ก ประเด็ น ที่ น่ า สนใจในการท�างานแบบนี้ คือผลของความเปลีย ่ นแปลงจากการท�างาน มันจะเคลื่อนไป ตามประชากรที่ โ ตขึ้ น ไป อย่ า งเช่ น ปัญหาโรคมะเร็งปอด ถุงลมโป่งพอง เมือ ่ เราท�างานรณรงค์ให้สบ ู บุหรีล ่ ดลง เรือ ่ ยๆ แต่สถิติโรคปอดยังจะไม่ลดลง ตามในทันที กว่าผลจากการลดการสูบบุหรีจ ่ ะตามมาก็ 20-30 ปี เราจะ เห็นตัวเลขพวกนี้ลดลง คุ ณ ว า ด ภ า พ สุ ข ภ า พ ค น ไ ท ย ไ ว้ อย่างไรในอีก 3-5 ปีข้างหน้า ผมเชือ ่ ว่าทิศทางทีเ่ ราเดินกันมา ยั ง ถู ก ต้ อ งอยู่ คื อ ในทางที่ บ อกว่ า สุขภาพไม่ใช่แค่ เรือ ่ งของยา แต่ เป็น เรือ ่ งของการดูแลสังคม สิ่งแวดล้อม และวิ ถี ชี วิ ต ผู้ ค น แต่ ค วามยากคื อ สิ่ ง เร้า หรือ บริบ ทที่ ก� า ลั ง เปลี่ ย นเร็ว โลกเราหมุนเร็วขึน ้ ทุกที การเปลี่ยนไป สูด ่ ิจิตอลก็จะท�าให้อะไรหลายๆ อย่าง เปลีย ่ นแปลงไปอีก อย่างเมือ ่ 10 ปีกอ ่ น สสส. พยายามรณรงค์ขอพืน ้ ทีส ่ อ ื่ ส�าหรับ เด็ก จนมีการจัดสรรคลื่นความถี่ให้มี ช่องส�าหรับเด็กเพิม ้ แล้วตอนนีก ้ เ็ พิง่ ่ ขึน ขอคืนช่องกันไป แสดงให้เห็นว่าโลก เปลี่ ย นไปแล้ ว ตอนนี้ เ ด็ ก ๆ ไม่ ไ ด้ ขาดแคลนพื้นที่สื่อ เพราะแม้กระทั่ง เด็ กสามขวบก็ จ้ิ มหาการ์ตูนดูได้ เอง ปัญหาจึ งเคลื่ อนมาอยู่ที่ว่าเราจะท�า

issue 615

04 NOV 2019

อย่างไรในการเลือกให้สามารถเลือก

คิดว่างานของ สสส. มีคุณค่าในระดับ

ต่อโลกเรา ถึงขนาดมีผลต่อการเลือก

เราก�าลังท�าอะไรตลอดเวลา อย่างตอน

ได้ถูก ในขณะที่ Fake News ส่งผล ผู้น�าในประเทศมหาอ�านาจ

ข้ อ มู ล บอกว่ า เด็ ก ไทยอยู่ กั บ

หน้ า จอ 7-9 ชั่ ว โมงต่ อ วั น มี ชั่ ว โมง

ที่ไม่ขยับร่างกายมากถึง 13.4 ชั่วโมง ต่ อ วั น เป็ น การเปลี่ ย นโฉมหน้ า ของ

ปั ญ หาสุ ข ภาพจากวิ ถี ชี วิ ต ที่ เปลี่ ย น อย่าง Internet of Things ที่จะท�าให้ เรามี อิ น เทอร์เน็ ต ทุ ก อย่ า ง เรามอง

มันในทางบวกนะครับ แต่แนวรบมัน เปลี่ ย น ไม่ ใช่ แ ค่ เทคโนโลยี เปลี่ ย น

แต่ เ ป็ น ทั้ ง สั ง คมที่ เ ปลี่ ย น รวมถึ ง เจเนอเรชันที่เปลี่ยนจาก X ไป Y ไป Z

จนถึงอัลฟา ระยะเวลาของเจเนอเรชัน หนึ่ งๆ สั้นลง ฉะนั้ น ในออฟฟิศคุณ

ที่เคยแคลชกันระหว่าง 2 เจเนอเรชัน ต่อไปคุณจะเจอปัญหา 3 เจเนอเรชัน

ปั จ จั ย บวกก็ มี บ้ า ง อย่ า งเช่ น

เจนฯ วายและเจนฯ แซด เป็นเจนฯ ทีม ่ ี

Work-Life Balance มากขึ้น และจะ

ไม่มีคนทุ่มเทชีวิตเพื่อการงานเหมือน คนรุ น ่ ก่อน ซึ่งก็พอเข้าใจได้ว่าท�าไม

ดังนั้น มันก็เป็นบวกต่อสุขภาพ เพียง แต่เราต้องเข้าใจและพยายามเปลี่ยน

มั น ไปในทิ ศ ทางบวก เข้ าใจจุ ด ที่มัน จะพาเราไปในทิ ศ ทางบวก แล้ ว ก็

พยายามลดทอนส่ ว นที่ จ ะพาไปใน ทิศทางลบ

คุ ณ ทั น สมั ย แค่ ไ หน คุ ณ ตามทั น เทคโนโลยีใหม่ๆ แค่ไหน มั น ไม่ ไ ด้ ขึ้ น กั บ ตั ว ผมคนเดี ย ว เพราะที่ สสส. เรามีคนท�างาน 100 กว่า คน ถ้านับรวมภาคีจากภายนอก เราก็มี องค์กรต่างๆ อีกประมาณ 15,00020,000 องค์กร หรือถ้าพูดคือจ�านวน คนเป็ น แสน นั บ แค่ เฉพาะผู้ บ ริห าร ที่มีสิทธิ์ให้ ค�าแนะน� าหรือค� าปรึกษา ก็ มี เ ยอะเป็ น ร้ อ ยแล้ ว สสส. ไม่ ใ ช่ องค์กรให้บริการ แต่เป็นองค์กรแบบ facilitator คือส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของทุ ก ภาคส่ ว นของสั ง คม ดั ง นั้ น เรามีคนเก่งมาร่วมงานอยู่เสมอ อ ย า ก รู้ ว่ า วิ ถี ชี วิ ต ข อ ง คุ ณ เ ป็ น อย่างไร ออกก�าลังกายไหม กินอาหาร อย่างไร มี Work-Life Balance หรือเปล่า และเดินวันละกี่ก้าว เฉลี่ยน่าจะอยูแ ่ ถวๆ 7,000 ก้าว จริงๆ อยากจะให้ได้วน ั ละ 10,000 ก้าว มีบางวันจะถึง 15,000 ก้าว การมาอยู่ ตรงนี้ ก็ ท� า ให้ ผ มพยายามบาลานซ์ ตั ว เองมากขึ้ น จั ด เวลาให้ ตั ว เองได้ ดูแลกาย ดูแลใจ ดูแลครอบครัวและ สังคม สสส. เป็นองค์กรทีม ่ ส ี งิ่ แวดล้อม และกิจกรรมกระตุน ้ ให้คนมีสข ุ ภาพทีด ่ ี การท�างานที่ สสส. พวกเราจะมี ก�าไรอย่างหนึ่งที่แน่นอน คือสิ่งที่เรา ท�าไปเป็นประโยชน์ ต่อผู้คน และผม

กว้าง แต่เราก็ต้องคอยเตือนตัวเองว่า งานครบรอบ 15 ปีของ สสส. เราก็ได้

รวบรวม 15 ผลงานตลอด 15 ปี เพือ ่ ให้

เห็ น ผลลั พ ธ์ แ ละผลกระทบของสิ่ ง ที่ เราท�ามาตลอด ผมคิ ดว่าตรงนั้ นคือ รากฐานของการท� า งานของเราที่

คาดหมายรวมถึงทางเจ้าหน้าที่ สสส. และภาคี ทุ ก คน เพราะคนเหล่ า นี้ มีคุณค่าตรงนี้หล่อเลี้ยง

สุ ข ภาวะเกิ ด จากการท� า งานที่ มี ความหมาย มีประโยชน์ มันก็เป็นเรือ ่ งของคนกับองค์กร เราแต่ละคนต้องมีพน ั ธกิจของชีวต ิ เรา องค์ ก รก็ มี พั น ธกิ จ ขององค์ ก ร ถ้ า สองอันนี้ไม่ซ้อนทับกันมากพอ เราใน ฐานะคนท� า งานก็ จ ะไม่ มี ค วามสุ ข ท�า ไปวันๆ เพื่อ รอเงินเดื อ นเลี้ ยงชีพ แล้ วค่ อยไปหาการตอบสนองตั วเอง ในเวลาที่ ว่ า งจากงาน แต่ ผ มเอง โดยรวมในชีวต ิ ก็มาเริม ่ ต้นแถวนี้ และ อยู่ ม าโดยตลอด เดิ ม ที ในปี แรกผม มาเป็นภาคี สสส. ก่อนนะครับ แล้วก็ ถู ก ชวนมาเป็ น ผู้ บ ริห ารระดั บ กลาง และมาเป็นผู้จัดการตามล�าดับ คนของ สสส. มี จิ ต สาธารณะ เป็นคนที่อยากให้สังคมดี ขึ้น รวมถึ ง การเข้าสูภ ่ าคีของ สสส. ส่วนใหญ่ แล้ว ก็ เ ป็ น เรื่ อ งของจิ ต สาธารณะด้ ว ย เช่นกัน เมือ ่ เรามีจต ิ ทีจ ่ ะท�าร่วมกันแล้ว ก็ ชวนกั นมาท�างานด้ วยกั น ทุกวันนี้ รางวัลทางด้านการสื่อสารของ สสส. ที่ ไ ด้ ม าจากทั้ ง ในและนอกประเทศ ก็ ม อบต่ อ ไปให้ กั บ ผู้ ค นที่ มี แรงจู ง ใจ ที่ อ ยากจะท� า ให้ กั บ สั ง คม หลายคน เลยที่ ม าท� า งานเพื่ อ สั ง คมกั บเรา นอกเหนือจากงานประจ�าของเขา อย่างไรก็ตาม เราก็จ�าเป็นต้อง หาคนที่เป็นมืออาชีพด้ วย เนื่ องจาก งานของเราเป็นเรือ ่ งใหญ่ทางสังคม ที่จะต้องท�า เกาะติดยาวนาน บางคน มุง่ มัน ่ าวนาน เขาก็สงั่ สมความรู ้ ่ ก็อยูย ท�างานจริงจัง งานฟูลไทม์ ท�าแบบทุม ่ เท จิตวิญญาณ จนหลายคนนัน ้ ไปไกลถึง การเชื่อมโยงตัวเองเข้ากับโลก ไปถึง การผลั กดั นกฎหมายระดั บองค์ การ อนามัยโลกหรือสหประชาชาติ ในปีทผ ี่ า่ นมา สสส. มี 5,000 กว่า โปรเจ็ กต์ ที่ท�า กั นมา ถ้ ามาดูรายชิ้น มันก็อาจจะเป็นอิฐก้อนเล็กก้อนใหญ่ แต่สด ุ ท้ายมันก็จะประกอบเข้าด้วยกัน ถ้าเราพูดถึงสุขภาวะของคนไทยหรือ ความสุขในระดับประชากรโดยรวมทัง้ ประเทศ เราต้ อ งเริ่ ม ด้ ว ยก้ า วเล็ ก อาคารยิ่งใหญ่ก็ต้องเริม ่ ต้นจากงาน ทีละชิน ้ น ั่ เอง ้ ๆ อิฐทีละก้อนๆ แบบนีน

11


A MUST MOVIE DOCTOR SLEEP หลังจากที่ สแตนลีย์ ครูบริก เคยสร้างหนังสยองขวัญขึน ้ หิง้ ให้โลก จ�าอย่าง The Shining ในปี 1980 ผ่านมา 39 ปี มรดกนีก ้ ต ็ กทอดไปยัง ไมค์ ฟลานาแกน ผู้เคยสร้างซีรส ี ์ เขย่าขวัญอย่าง The Haunting of Hill House ทาง Netflix ซึ่งหยิบ เรือ ่ งราวของโรงแรมเฮี้ ยนนี้ ขึ้นมา ปัดฝุน ่ ใหม่ โดยเป็นเรือ ่ งราวต่อเนือ ่ ง เมื่ อ แดนี เด็ ก ชายจากภาคที่ แ ล้ ว เติ บโตขึ้ น มาเป็ น บุ รุ ษพยาบาล ดูแลผู้สูงอายุ และคอยใช้พลังวิเศษ ที่ ตั วเองมี ช่ ว ยให้ เ หล่ าคนชรา เดิ น ทางไปยั ง ภพใหม่ อ ย่ า งสงบ จนท�าให้เขาได้รบ ั ฉายาว่า ‘ดอกเตอร์ สลีป’ แต่ม่ันใจเถอะว่าเรือ ่ งราวใน หนังนั้นไม่มท ี างราบรืน ่ หรือสงบสุข อย่างที่คิดแน่นอน

RESORT

X2 R

IVER KW AI RESORT

ส�า รองห้องพั กและ สอบถามรายละเอียดได้ท่ี อีเ มล book.rk@ X2resorts.com หรือ www.X2LOBBY.com

เสียงรบกวนที่เยียวยาจิตใจของเราได้เรียกว่า white noise ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเสียงตามธรรมชาติ เช่น เสียงฝนตก เสียงลม เสียงสายน�้า เสียงบรรยากาศในป่าไม้ หรือแม้แต่แอมเบียนซ์ท่อ ี ยู่ในสถานที่คึกคักแต่ไม่จอแจวุ่นวาย หลายคน มักเปิ ดเสียงเหล่านี้ในตอนกลางคืนเพื่อช่วยผ่อนคลายและท�าให้นอนหลับได้ดีข้ึน แต่ถ้ามีโอกาสในวันหยุดเราก็อยาก ให้ คุ ณ ปิ ด สมาร์ต โฟนที่ส่งเสีย งเหล่า นั้น แล้ว ไปพบกั บ เสี ย งธรรมชาติ จ ริ งๆ ของแม่ น้� าแคว ในจั ง หวั ด กาญจนบุ รี และไปนั่ง นิ่ ง ๆ เอนกายนอนพั ก ผ่อนที่ โรงแรมครอสทู ริเ วอร์ แ คว โรงแรมแห่งนี้ออกแบบและสร้างให้เป็นรีสอร์ตที่รก ั ษาสิ่งแวดล้อมจากแนวคิด 3 ข้อ ได้แก่ การลด (Reduce), การใช้ซา � (Reuse) และการน�ากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ดังนั้น ตัวโรงแรมจึงท�ามาจากวัสดุทเี่ ป็นมิตรกับสิง ่ แวดล้อม และใช้แหล่งน�าจากธรรมชาติมาเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลรักษาต้นไม้ ส่วนน�าทิ้งน�าเสียก็มีการกักเก็บและขจัดผ่าน บ่อบ�าบัดที่ฝังอยู่ใต้ดิน พร้อมกับการคัดแยกขยะเพื่อน�ากลับมาใช้ใหม่ด้วย แค่ 2 ชัว่ โมงในการเดินทางจากกรุงเทพฯ คุณก็สามารถไปรืน ่ รมย์กบ ั ธรรมชาติทส ี่ วยงามแห่งนีไ้ ด้ และตัวโรงแรมเอง ก็ตั้งอยู่ห่างจากสถานที่ท่องเที่ยวที่ต้องแวะไปเช็กอิ นอย่างสะพานข้ามแม่น�าแคว และสุสานสัมพันธมิตรดอนรัก เพียง 20 นาทีเท่านั้น แต่เราบอกเลยว่าแค่เข้ามาพักที่นี่คุณก็แทบไม่อยากจะออกไปไหนแล้ว เพราะภายในห้องพัก มีสิ่งอ�านวยความสะดวกครบครันตามมาตรฐานโรงแรม 5 ดาว ส่วนห้องอาหาร The Bridge Bar & Bistro ก็มีทั้ง อาหาร สปา และกิจกรรมอืน ่ ๆ ไว้ตอ ้ นรับคุณมากมาย เมือ ่ ถึงวันเดินทางกลับรับรองว่าคุณได้ชาร์จพลังงานกลับเข้ามา ในตัวอย่างเต็มเปี่ ยมแน่นอน

MUSIC POLYCAT : มานี่มา ห ลั ง ผ่ า น ค อ น เ สิ ร์ ต ให ญ่ LEO Presents Polycat I Want You Concert ไปเมือ ่ ช่วงสิงหาคมทีผ ่ า่ นมา สามหนุ่มซินธ์พ็อพอย่าง Polycat ก็ กลั บมาอี กครั้ ง กั บซิ ง เกิ ลใหม่ ‘มานีม ่ า’ จากอัลบัม ้ ใหม่ของพวกเขา Pillow War ทีแ ่ ฟนเพลงหลายคนน่าจะ เคยได้ฟังสดๆ ไปแล้วในคอนเสิรต ์ โดยเนือ ้ หาในเพลงนีม ้ ค ี วามเติบโตขึน ้ ในเรื่ อ งความรั ก รวมถึ งดนตรี ในสไตล์ Polycat ทีโ่ ดดเด่นในเรือ ่ ง ของเสียงจากเครือ ่ งซินธิไซเซอร์เท่ๆ ภาพ ร ว ม ข อ ง ด น ต รี มี ก ลิ่ น อ า ย ความเซ็กซีเ่ พิม ้ จากองค์ประกอบ ่ ขึน ของซาวนด์ ต่างๆ ที่น่าสนใจ และ การออกแบบเสียงร้อง เสียงประสาน ที่สอดประสานไปกับดนตรี ถือเป็น การรักษามาตรฐานทีด ่ ข ี อง Polycat ได้อย่างน่าชื่นชม

12


BOOK

A(DD)-PERTURE พีรพัฒน์ วิมลรังครัตน์ หรือ ADD CANDID ช่างภาพระดับ Leica Thailand Ambassador จะพาคุณสนุกไปกับเรือ ่ งราวหลังเลนส์ เมือ ่ ครัง้ มีโอกาสเป็นช่างภาพประจ�าตัวอดีตนายกรัฐมนตรี ของประเทศไทย ไปจนถึงการโดนกระโดดถีบ เข้าที่กลางหลังอย่างจัง แลกกับการได้จังหวะ ‘จับภาพ จับใจ’ ในมุมมองทีค ่ ณ ุ นึกไม่ถึงมาก่อน นี่ แ ค่ ตั ว อย่ า งเล็ ก ๆ ในหนั ง สื อ ยั ง มี เรื่อ งราว ข้างหลังภาพที่อ่านแล้วชวนให้อมยิ้มอีกเพียบ พบกับประสบการณ์เอาตัวรอด และวิชามารของ ช่างภาพขัน ่ อ ้ งแลกมาด้วยความพยายาม ้ เทพทีต ความมึน และใจต้องด้านกันได้เลย (ส�านักพิมพ์ a book / ราคา 390 บาท)

GADGET

HUAWEI WATCH GT 2 สมาร์ต วอตช์ ซี ร ี ส์ ใ หม่ ล่ า สุ ด จากค่ า ย หัวเว่ย ทีโ่ ดดเด่นด้วยชิปเซต Kirin A1 พร้อมหน้าจอ ทั ช สกรีน AMOLED HD แบบ 3 มิ ติ มี โหมด การท�างานด้านกีฬาที่หลากหลาย โดยมีโหมด Smart Workout Modes 15 รูปแบบ ไม่ว่าจะ เป็น Elliptical, Rower ไปจนถึง Free Training และโหมดเทรนนิง 13 รูปแบบเพือ ่ การวิง่ โดยเฉพาะ สามารถวัดและวิเคราะห์อต ั ราการเต้นของหัวใจ ข ณ ะ อ อ ก ก� า ลั ง ก า ย ไ ด้ อ ย่ า ง แ ม่ น ย� า ผ่ า น HUAWEI TruSeen™ 3.5 มีระบบ Voice Call ผ่านบลูทูธ แถมยังจุเพลงได้มากถึง 500 เพลง แต่เปิดตัวด้วยราคาแค่ 6,490 บาท วางจ�าหน่าย แล้วที่หัวเว่ย แบรนด์ ช็อป

ISSUE 615

04 NOV 2019

COLLECTION

PRODUCT

UNIQLO AND JW ANDERSON FALL/WINTER 2019

TRAVELING BREAKAWAY CAT COLLAR

ที่ ผ่ า นมา ยู นิ โ คล่ เคยผลิ ต เสื้ อ ผ้ า เป็ น คอลเลกชันร่วมกับ JW ANDERSON แบรนด์แฟชัน ่ ชั้นน�าระดับโลกจากลอนดอนมาแล้วหลายครัง้ ซึ่ ง ได้ ร ับ เสี ย งตอบรับ ที่ ดี จ ากแฟนๆ เสมอมา ล่าสุดยูนโิ คล่ได้เปิดตัวคอลเลกชันใหม่ประจ�าซีซน ั ด้วยธีม The Great British Outdoors โดยเน้น ทั้งความคลาสสิกแบบอั งกฤษ และความสนุ ก แบบแฟชั่ น ในการออกแบบชุ ด ตามบุ ค ลิ ก ของ แบรนด์ JW ANDERSON อย่างดีไซน์แบบสวม กลับด้านได้ รวมถึงผสานคุณสมบัตด ิ า้ นการใช้งาน ของยูนิโคล่ นั่นคือ HEATTECH เพือ ่ ช่วยป้องกัน ความรูส ้ ก ึ อับร้อนและคงความสบายแม้สวมใส่ใน ช่วงฤดูหนาว เลือกชมและเลือกซือ ้ คอลเลกชันนี้ ได้ทย ี่ ูนิโคล่ สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ สยามพารากอน ไอคอนสยาม และ www.uniqlo.com

ทาสแมวต้องไม่พลาดกับปลอกคอนิรภัย ติดตั้งระบบติดตามไร้สายรูปหน้าแมวขนาดจิ๋ ว ปั ก มื อ ซึ่ ง เป็ น งานแฮนด์ เ มดเก๋ ๆ จากแบรนด์ Purrcraft ทีเ่ ข้าใจหัวจิตหัวใจของเหล่าทาสให้หาย กั ง วลว่ า เจ้ า เหมี ย วนั ก ผจญภั ย จะไม่ ห ลงทาง ไปถึ งไหนต่ อไหน เพราะเราสามารถตรวจจั บ สัญญาณของปลอกคอนี้ได้ในรัศมี 15-20 เมตร กรณีพน ื้ ทีโ่ ล่งแจ้ง แต่หากมีสิง ่ กีดขวางเป็นผนัง กัน สู ง หรื อ ต้ น ไม้ ท บ ึ จะลดระยะลงเหลื อ 5-10 เมตร ้ โดยราคาปลอกคอทั้ ง เซตนี้ อ ยู่ ที่ 729 บาท รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม www.facebook.com/ Purrcraftstudio

F E S T I VA L

EVENT

E-SAN MUSIC FESTIVAL

กาดนัดสหายกาแฟ

หนึ่ ง ในเทศกาลดนตรีป ระจ� า ปี ส� า หรับ ผูค ้ ลั่งไคล้ในไลฟ์สไตล์วย ั รุน ่ ยุคฮิปปี้ 1960/70s หรือ ที่ รู จ ้ ั ก กั น ในนาม Woodstock เมื อ งไทย ก� า ลั ง จะเวี ย นมาอี ก ครั้ ง พร้ อ มกั บ ค� า โปรย “โปรดคิ ดถึ งฉั น จนกว่ า จะกลั บมาพบกั น ขบวนการฮิปปี้ แห่งประเทศไทย อีสานเขียว ฮิปปี้ ส์ ที่ราบสูง” โดยนั บเป็นงานเฟสติ วัลที่ใหญ่ที่สุด ในอี ส าน ที่ ใช้ ด นตรีแ ละศิ ล ปะเชื่ อ มโยงผู้ ค น เข้ า ด้ ว ยกั น ซึ่ ง ปี นี้ ยั ง คงจั ด กั น ที่ เ ดิ ม คื อ เขื่ อ น อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น วันที่ 29-30 พฤศจิกายนนี้ ใครอยากลองเดินทางไปสัมผัสบรรยากาศดี ๆ ในงานทีเ่ ต็มไปด้วย Love&Peace ทีจ ่ ะหลอมรวม ทุกคนเข้าไว้กับบรรยากาศทีร่ าบสูง ภูเขา แม่นา � ทุง่ หญ้า และความรักแบบนีส ้ ักครัง้ ลองเข้าไปดู รายละเอียดเพิม ่ เติมได้ที่ www.facebook.com/ ESANMUSICFESTIVAL

ตอนนีท ้ างภาคเหนืออากาศเริม ่ เย็นลงแล้ว หากใครมีแพลนเดินทางไปเทีย ่ วจังหวัดเชียงใหม่ ก็ อ ย่ า ลื ม แวะไปชมงาน กาดนั ด สหายกาแฟ งานกาแฟอบอุ่ น ท่ า มกลางสายลมหนาวและ เฉลิมฉลองการเข้าสูฤ ่ ดูกาแฟไทย ตัวงานจัดกัน แบบไซซ์ เ ล็ ก ๆ ในสไตล์ Farmer Vintage Market อารมณ์ใส่เอี๊ยมสวมหมวกฟางเดินชม ฟาร์มและไร่กาแฟ มีนิทรรศการเกี่ยวกับกาแฟ ให้ ไ ด้ ดู กั น ด้ ว ย โ ด ย ง า น จ ะ จั ด ขึ้ น ใน วั น ที่ 1 5 - 1 7 พ ฤ ศ จิ ก า ย น นี้ ณ O n e N i m m a n จ.เชียงใหม่ รายละเอียดเพิม ่ เติม www.facebook. com/onenimman

13


CALENDAR M

T

W

TH

F

SA

S

04

05

06

07

08

09

10

THE LIFE OF MAHATMA GANDHI

LIGHT AND LONELINESS

สืบมรรคา

60 YEARS OF CHASING LIGHT

THRU AIR ON KEY STRINGS

ชายกลาง เดอะ มิวสิคล ั

NUVO NOW OR NEVER

นิทรรศการ ‘ชีวต ิ มหาตมาคานธี’ น�าเสนอ ภาพถ่ายชีวต ิ มหาตมคานธี เพื่อเป็นการถ่ายทอดประวัติชีวิต กิจกรรม และสารจาก บิดาแห่งชาติอินเดีย วันนีถ ้ งึ 12 พฤศจิกายน 2562 ณ นิทรรศสถาน อาคารศิลปวัฒนธรรม จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ ม ห า วิทยาลัย (เว้นวันเสาร์ และอาทิตย์)

นิทรรศการ ‘แสงและ เหงา’ โดย Studio Kitta แสงเป็ น ต้ น ก� า เนิ ด ของภาพทีด ่ วงตามอง เห็ น แต่ ส่วนที่ไม่ถูก แสงจะพบกับความมืด เมื่ อ มี แ สงและมี เ งา จึ งเกิ ดมิติ ‘แสงและ เงา’ คือสิ่งคู่กันแม้จะ อยูใ่ นทิศทางตรงข้าม กันเสมอ วันนี้ถึง 13 พฤศจิ ก ายน 2562 ณ 10 ml. Cafe Gallery ซ.โชคชัยร่วมมิตร (เว้นวันจันทร์)

การแสดงโขนรามเกียรติ์ ตอน ‘สืบมรรคา’ เมื่ อ พระรามต้ อ งยก ทัพข้ามมหาสมุทรไป ท�าสงคราม ณ กรุงลงกา จึ ง ม อ บ ห ม า ย ใ ห้ หนุมานปฏิบต ั ภ ิ ารกิจ สื บ หาหนทางน� า พา กองทัพของพระราม ไปยังทีห ่ มาย วันนี้ถึง 5 ธันวาคม 2562 ณ ศู น ย์ วั ฒ นธรรมแห่ ง ประเทศไทย (งดการแสดงวั น จั น ทร์แ ละ อังคาร) จ�าหน่ายบัตร ทีไ่ ทยทิกเก็ตเมเจอร์

นิ ทรรศการภาพถ่ าย ครัง้ ใหญ่ของสมาคม ถ่ายภาพแห่งประเทศ ไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในวาระครบรอบ 60 ปี ข องสมาคมฯ ‘60 ปี I วิ ถี I แสง’ รวบรวมผลงานของ สมาชิกสมาคมตั้งแต่ รุ ่น ใหญ่ ร ะดั บ ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ ไปจนถึ ง รุ ่น ใหม่มาแรง วันนี้ถึง 1 ธั น วาคม 2562 ณ BAB Box ใกล้สถานี MRT ลุมพินี

นิทรรศการ ‘Thru Air on Key Strings’ โดย เมธี น้อยจินดา สร้าง งานเสียงและถ่ายทอด เสียงของโน้ตแต่ละตัว ที่ แ ยกกั น เปล่ ง เสี ย ง ด้ ว ยล� า โพง 25 ตั ว โ ด ย ที่ ล� า โ พ ง ยั ง มี บทบาทเสมื อ นเป็ น ตัวละครที่รว่ มเล่นกัน ในละครโรงใหญ่ ด้ ว ย การร้ อ ยเรี ย งบรรเลง ผสานกั น วั น นี้ ถึ ง 15 ธันวาคม 2562 ณ ศุภโชค ดิ อาร์ต เซ็นเตอร์ (เว้น วันจันทร์)

ละครเวที สุ ด คอเมดี้ ‘ชายกลาง เดอะมิวสิคลั ’ ที่จะจิ กกั ดขนบละคร ไทยด้ ว ยละครเพลง สุ ด ไฉไล เดี๋ ยวซึ้ ง ! เดี๋ ย วฮา! กลั บ มาให้ ทุกคนได้หวั เราะน�าตา ไหลกันอีกครัง้ วันนีถ ้ งึ 10 พฤศจิกายน 2562 เวลา 14.00 น. ณ โร ง ล ะ ค ร เ ค แบ ง ก์ สยามพิฆเนศ จ�าหน่าย บั ต ร ที่ ไ ท ย ทิ ก เ ก็ ต เมเจอร์

เตรียมพบกับปฐมบท ครัง้ ใหม่ของผู้ชายทั้ง หก ใน ‘NUVO NOW or NEVER’ ระเบิ ด ความมั น โยกกั น ให้ ส ะ ท้ า น เ ต้ น กั น ให้ สะเทือน กับดนตรีสส ี น ั ใหม่ ในสไตล์ NUVO วั น นี้ รอบการแสดง สุดท้าย เวลา 18.00 น. เป็นต้นไป ณ อิมแพ็ก อารีนา เมืองทองธานี จ� า ห น่ า ย บั ต ร ที่ เคาน์ เตอร์เซอร์วิสใน 7-Eleven

WHERE TO FIND

Where the conversations begin. adaybulletin.com

หมอชิต

5

5

7 ร้าน DEAN & DELUCA 7 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

ร้านอินทนิล 5 สาขา สาขาทั่วกรุงเทพฯ

Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น.

หมอชิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ สยาม อโศก ศาลาแดง

Meet Up Every Monday!

2 0 0

ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ากว่า 100 จุดทั ่วประเทศ 20 ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน


ไม่นานมานี้มีการรายงานจากเว็บไซต์ ส�านักข่าว Bloomberg ในหัวข้อ Thailand Has a Developing Economy and a Big ่ เป็นการน�าข้อมูลหลายๆ First World Problem ซึง ส่วนจากองค์การสหประชาชาติ (United Nations: ่ อ UN) มาน�าเสนอ ทัง ้ ยกว่า ้ ประเด็นอัตราการเกิดทีน

Pensioners Want to Go to Jail ของ​BBC​

N ews​ สำรภำพตำมตรงว่ำตอนอ่ำนครัง้ แรกนั้น รูส ้ ก ึ สลดใจมำก​เพรำะไม่นำ ่ เชือ ่ ว่ำสถำนทีอ ่ ย่ำงคุก

จ ะเป็ น พื้ น ที่ ที่ ผู้ สู ง อำยุ จ ะเลื อ กเข้ ำ ไปใช้ ชี วิ ต​ เรือ ่ งรำวเหล่ำนี้ยิ่งตอกย�ำว่ำเรือ ่ งกำรบริหำรเงิน เป็นสิ่งส�ำคัญมำกๆ

​ร วมถึ ง แนวโน้ ม จ� ำ นวนประชำกรผู้ สู ง วั ย

​ ่วนอี กเรือ ส ่ งหนึ่ ง​เป็นเรือ ่ งที่สร้ำงก� ำลั งใจ ให้แก่พวกเรำในอนำคต​ซึง่ กำรเข้ำสูส ่ งั คมผูส ้ งู วัย

ให้ เศรษฐกิ จเกิ ดควำมชะลอตั ว​เหตุผลง่ำยๆ​คื อ ในอนำคตประเทศไทยก�ำลังขำดแคลนทรัพยำกร

ก็ค่อยๆ​ มีจ�ำนวนมำกขึ้นเช่นกัน​ โดยเฉพำะกลุ่ม ผู้หญิง

ประเทศพัฒนาอย่างสวิตเซอร์แลนด์และฟินแลนด์

ที่จะเพิ่มมำกขึ้นในปี​ 2030​ ไปพร้อมกั บสถำนะ ทำงกำรเงินทีจ ่ นลงอีกต่ำงหำก​ปัจจัยเหล่ำนี้จะดึง

อย่ ำ งคนหนุ่ ม สำวมำขั บ เคลื่ อ นรำยได้ น่ั น เอง​ นี่จึงเป็นสภำวะที่ประเทศไทยก�ำลังเผชิญหน้ำ ​ถ ำมว่ ำ อั ต รำกำรเกิ ด ในประเทศไทยน้ อ ย แค่ไหน​จำกสถิตเิ กิดคือ​1.5​ต่อครอบครัว​ซึง่ น้อยกว่ำ ประเทศจีนทีม ่ ​ี 1.7​ส่วนมำตรฐำนทีว ่ ำงไว้คือ​2.1​คน ​ใ นอี กมุ ม หนึ่ งเรำก็ พอเข้ ำ ใจได้ ว่ ำ

ก ำ ร ห ำ ย ไ ป ข อ ง ป ร ะ ช ำ ก ร มี ปั จ จั ย หลำยอย่ำง​ทัง้ ในเรือ ่ งควำมพร้อมของ ก ำรเป็นพ่อแม่​ รำยได้ ​ สถำนะ​ เวลำ​ซึง่ บำงคนมองว่ำถ้ำไม่พร้อม ก็ ไม่มีดีกว่ำ​แถมยังมีเรือ ่ งของ

เทรนด์ ก ำรใช้ ชี วิ ต คู่ อ ย่ ำ งโมเดล​ DINKs (Double Income No Kids) อีกต่ำงหำก

​ก ำรมองเห็ น ภำพรวมในอนำคต

ที่จะเกิดขึ้นกับประเทศไทย​โดยเฉพำะกำรเป็นสังคมผู้สูงอำยุ ในวันข้ำงหน้ ำ​ท�ำให้ผมนึ กถึ ง

​บทควำม​Successful Women Are Starting Businesses. Yes, Even After 50​เขียนโดย​ Elizabeth​Macbride​คอลั ม นิ ส ต์ จ ำก​Forbes

ได้วเิ ครำะห์ปรำกฏกำรณ์ของผูป ้ ระกอบกำรหญิง ในวั ย ​50​ปี ​ที่ เ ริ่ ม ขยำยตั ว มำกขึ้ น ​ทั้ ง ในฝั่ ง อเมริก ำและอั ง กฤษ​ได้ อ ย่ ำ งน่ ำ สนใจ​ ไ ม่ ว่ ำจ ะ เป็ น ป ร ะ เ ด็ น ก ำ ร สั่ ง ส ม ประสบกำรณ์​หรือกำรตัดสินใจก้ำว

ออกจำกคอมฟอร์ตโซนเพือ ่ รักษำและ ท�ำตำมสิ่งที่ตัวเองฝันไว้ให้เป็นจริง ​มี ป ระเด็ น หนึ่ ง ที่ ค่ อ นข้ ำ ง น่ ำ สนใจส� ำ หรับ ผู้ ป ระกอบกำร หน้ำใหม่วัยเก๋ำ​คือข้อได้เปรียบ

ของวั ย เก๋ ำ ที่ แ ตกต่ ำ งจำกคนวั ย หนุ่มสำว​นั่นคือคอนเนกชันกับควำมสั ม พั น ธ์ ข อ ง ผู้ ค น ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ง ำ น

จ�ำนวนมำก​ รวมถึงกำรต่อยอดกับประสบกำรณ์

ที่เคยผ่ำนมำทั้งในกำรใช้ชีวิตหรือในฐำนะอดี ต พนั กงำนประจ� ำ​ที่พวกเขำสำมำรถน� ำเรือ ่ งของ ระบบและกำรจั ด กำรทั้ ง งำนและพนั ก งำนไป ต่อยอดได้

ภาพ : พงศ์ธร ยิ้มแย้ม

ประชากรน้อยลง​ผู้สูงอายุมากขึ้น มีต้นทุนอะไรให้เราจัดการกับอนาคต

เมื่ อ ฟั ง เช่ น นี้ ​หมุ ด หมำยของกำรเกษี ย ณ ส�ำหรับใครหลำยคนในวัย​55​หรือ​60​อำจเปลี่ยน เป็ น กำรเริ่ ม ต้ น ต่ อ อำชี พ ในฝั น หรื อ โปรเจ็ ก ต์ อะไรสั ก อย่ ำ งก็ เ ป็ น ได้ ​ ซึ่ ง ทุ ก อย่ ำ งล้ ว นต้ อ ง มี วิ ธีก ำรเตรีย มพร้อ มต่ อ อนำคตของตั ว เรำเอง​ อำจไม่ ใ ช่ แ ค่ เ ฉพำะเรื่อ งเงิ น เพี ย งอย่ ำ งเดี ย ว​ หำกแต่ ต้องเป็นควำมรู ต ้ ่ อสิ่งที่เรำสนใจ​รวมถึ ง ควำมสัมพันธ์กับผู้คนรอบข้ำงด้วย​ สิ่งเหล่ำนี้คือ โอกำสในอนำคต​และอำจเป็นโลกกำรท�ำงำนอีกใบ ในวั ย เกษี ย ณที่ อ ำจสนุ ก กว่ ำ ที่ เรำคิ ด ก็ ไ ด้ ​

เรือ ่ ง : โอมศิริ วีระกุล

ภำพฝันดีกับฝันร้ำยอยู่สองเรือ ่ งครับ ​เรือ ่ งแรกถื อว่ำน่ ำตกใจส�ำหรับผมคื อกำรได้อ่ำนข่ำวสำเหตุของกำรอยำกเข้ำไปใช้ชว ี ต ิ อยูใ่ น คุกของผูส ้ งู วัยในญีป ่ ุน ่ ​ซึง่ เป็นประเทศทีข ่ น ึ้ ชือ ่ เรือ ่ ง ปัญหำของจ�ำนวนผูส ้ งู วัยอีกประเทศหนึง่ ในปัจจุบน ั ​คุณลุง​ Toshio​ Takata​ ในวัย​ 62​ ปี​ ได้ให้ สัมภำษณ์วำ ่ ​สำเหตุทแ ี่ ท้จริงทีท ่ ำ � ให้เขำอยำกเข้ำไป อยูใ่ นคุกก็คอ ื ควำมยำกจน​ซึง่ กำรไม่มเี งินท�ำให้เขำ ไม่ ส ำมำรถใช้ ชี วิ ต ได้ อ ย่ ำ งอิ ส ระได้ โ ดยเฉพำะ กำรกินอยู่​เขำจึงวำงแผนด้วยกำรขโมยจักรยำน แ ละไปมอบตัวที่สถำนีต�ำรวจ​ เขำยินดีที่จะใช้ชีวิต ภำยในพื้ น ที่ ที่ เรีย กว่ ำ คุ ก ​ซึ่ ง มี ที่ น อนและอำหำร ให้ กิ น ทุ ก มื้ อ ​และหลั ง จำกติ ด คุ ก ได้ ​ 1​ปี ​ คุ ณ ลุ ง​ Takata​ก็กลับไปอยู่ในคุกอีกครัง้ จำกควำมตั้งใจ ข่มขูผ ่ อ ู้ ื่นด้วยกำรใช้มด ี เพือ ่ บรรลุวต ั ถุประสงค์ของ ตั ว เอง​และจำกสถิ ติ ผู้ สู ง อำยุ ที่ มี พ ฤติ ก รรมและ เป้ำหมำยเหมือนคุณลุง​Toshio​Takata​ในญี่ปุ่น​ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ ำ งต่ อ เนื่ อ งหำกนั บ ตั้ ง แต่ ปี ​ 19902016 ​ถ้ ำ ใ ค ร ส น ใจ ป ร ะ เ ด็ น นี้ ส ำ ม ำ ร ถ เข้ ำ ไป อ่ำนเพิ่มได้ ที่บทควำม Why Some Japanese

ก็ ไ ม่ ไ ด้ มี เ รื่ อ งให้ ไ ม่ ส บำยใจขนำดนั้ น ​เพรำะ อีกมุมหนึง่ ​เทรนด์กำรเป็นผูป ้ ระกอบกำรในผูส ้ งู อำยุ

MONEY LIFE BALANCE

“​ ถ้าอยากท�างานให้ดีขึ้น​ ให้เริ่มต้นจากเวลา​ ไม่ใช่เริ่มจากงาน” ​นี่คือประโยคของ​ปีเตอร์​ เอฟ.​ดรักเกอร์​นักเขียน และผู้เชี่ยวชาญด้าน บริหารและการจัดการ ระดับโลกที่ผมได้มีโอกาส อ่านเจอข้อความนี้ และบ่งชี้ให้เห็นถึงสภาวะ ที่ก�าลังเกิดขึ้นรอบตัวผม อย่างมากมาย​โดยเฉพาะ เรื่องเงินกับชีวิต

CONTRIBUTOR

โอมศิริ​วีระกุล บรรณาธิการ เว็บไซต์การเงิน aomMONEY

ISSUE 615

04 NOV 2019

15


4 55

3 55 -2 51 25

เรือ ่ ง : ฆนาธร ขาวสนิท

ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์

CONNECTING THE DOTS

2

5 5 25

56 25

57 5 -2

8 55 2

9 5 25

0 56 2

1 6 25

0

55

-2

49

25

16


THE NEVER-ENDING GOAL OF สสส.’S 18TH YEAR ่ งด้วยพระราชบัญญัตก ในปี 2544 เนือ ิ องทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. หรือส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ ก็ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพแก่คนไทย 4 ด้าน คือ กาย จิต ปัญญา และสังคม เพื่อร่วมสร้าง ประเทศที่น่าอยู่ และท�าให้ทุกคนบนแผ่นดินไทยมีขีดความสามารถ สังคม สิง ่ แวดล้อม ที่เอื้อต่อสุขภาวะ ่ นักวิง ่ ง ่ งโดยแรงไม่ตก เหมือนแคมเปญ จากวันนัน ิ่ อย่างต่อเนือ ้ นับเป็นเวลา 18 ปีแล้ว ที่ สสส. เข้ามารันวงการประหนึง ่ มาราธอนทีว ที่พวกเขาภาคภูมิใจอย่าง ‘วิ่งสู่ชีวิตใหม่’ ที่เริ่มต้นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2554 — 18 ปี เป็ นระยะเวลายาวนาน หากเทียบกับชีวิตมนุษย์ ก็นับได้ว่าก�าลังเติบโตสมบูรณ์เต็มวัย กว่าจะถึงวันนี้ สสส. ได้ผลักดันและท�าให้เกิดกระแสใหญ่ๆ ในสังคมไทยมากมาย ไม่ว่าจะเป็ น ‘งดเหล้าเข้าพรรษา’ ค�าฮิตติดปากจากจากโฆษณา ‘จน เครียด กินเหล้า’ ฯลฯ และนี่คือผลงานของนักวิ่งผู้แข็งแกร่งองค์กรนี้… STARTING POINT (2544-2546)

STRENGTHEN (2547-2548)

MAKING THE GOOD WILLS (2549-2550)

CARRY ON (2551-2553)

​ส�ำนักงำนกองทุนสนับสนุน ก ำ ร สร้ำ งเสริม สุ ข ภำพ​ (สสส.)​ จัดตัง้ ขึน ้ ตำม​พ.ร.บ.​กองทุนสนับสนุน กำรสร้ำงเสริมสุขภำพ​พ.ศ.​2544​ โดยริเริม ่ เครือข่ำยสุขภำพระดั บ จั งหวัดใน​12​จั งหวัดทั่วประเทศ​ สนับสนุนให้เกิดเครือข่ำยสร้ำงเสริม สุ ข ภำพในทุ ก ระดั บ ​สนั บ สนุ น กำรป้องกันอุบต ั เิ หตุจรำจรทีเ่ กิดจำก สุรำด้วยกำรรณรงค์​กำรสนับสนุน กิจกรรมของชมรม​‘เมำไม่ขบ ั ’​และ เ ค รื อ ข่ ำ ย ข อ ง ก ลุ่ ม ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจำกกำรเมำแล้ ว ขั บ​ สนั บสนุ นกำรจ� ำกั ดกำรโฆษณำ เครือ ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์ทำงสถำนีวท ิ ยุ และโทรทัศน์​ระหว่ำงเวลำ​5.0022.00​น.​รวมถึงไม่ให้มป ี ำ้ ยโฆษณำ ใกล้บริเวณสถำนศึกษำและห้ำม ธุ ร กิ จ แอลกอฮอล์ อุ ป ถั ม ภ์ ก ำรแข่ ง ขั น กี ฬ ำในสถำนศึ ก ษำ​เกิ ด กำรรณรงค์​‘งดเหล้ำเข้ำพรรษำ’

ริเริ่ม แนวคิ ด ​‘องค์ ก รแห่ ง ควำมสุข’​(Happy​Workplace)​ สนับสนุนให้กำรแข่งขันกีฬำระดับ ชำติ ทุกรำยกำรประกำศ​‘ปลอด แอลกอฮอล์’​สนับสนุนมำตรกำร ค� ำ เตื อ นบนโฆษณำเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์บนป้ำยโฆษณำและ ภำพยนตร์​องค์กำรอนำมัยโลกได้ ยกย่อง​สสส.​เป็นต้นแบบองค์กร สร้ำงเสริมสุขภำพโลก​และแต่งตัง้ เป็นทีป ่ รึกษำให้ประเทศในภูมภ ิ ำค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้​ในกำรจั ด ตั้ ง องค์ ก รสร้ำ งเสริม สุ ข ภำพ​ ทั้งนี้​สสส.​ยังสนับสนุนกระทรวง สำธำรณสุข​ออกประกำศห้ำมตั้ง แสดงและโฆษณำบุหรี​่ ณ​จุดขำย​ ร่วมบุกเบิกโครงกำรรณรงค์​‘กระเช้ำ ปลอดเหล้ ำ ’​รวมทั้ ง สนั บ สนุ น กำรพัฒนำ​‘DoctorMe’​แอพพลิเคชัน สุ ข ภำพตั ว แรกของไทย​ร่ว มกั บ มูลนิธห ิ มอชำวบ้ำน

​ดำ � เนินกำรวำระหลักประจ�ำ ปี​ในหัวข้อ​‘60​ปี​60​ล้ำนควำมดี​ เริม ่ ให้เยำวชนมุง่ ท�ำ ่ ทีเ่ ยำวชน’​เพือ ควำมดีถวำยเป็นพระรำชกุศลแด่ พระบำทสมเด็ จ พระเจ้ ำ อยู่ หั ว​ รัชกำลที่​9​เนื่องในวโรกำสที่ทรง ครองรำชย์ครบ​60​ปี​ส่งผลให้เกิด ค่ ำนิ ยมจิ ตอำสำในกลุ่มเยำวชน และน�ำไปสูก ่ ำรประกำศระเบียบวำระ เพื่อเด็ กและเยำวชน​5​ด้ ำนของ รั ฐ บำล​เกิ ด ค� ำ ฮิ ต ติ ด ปำกจำก โฆษณำ​‘จน​เครี ย ด​กิ น เหล้ ำ ’​ จำกสื่อรณรงค์งดเหล้ำ​เกิดกำรลงนำมบันทึกข้อตกลงควำมร่วมมือ​ เรื่ อ ง ก ำ ร ค ว บ คุ ม ก ำ ร บ ริ โ ภ ค เครื่อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ ร ะหว่ ำ ง​ สสส.​และองค์กำรอนำมัยโลก

เกิดสือ ่ รณรงค์สร้ำงค่ำนิยม ใหม่ชุด​‘ให้เหล้ำ=แช่ง’​ผลักดันให้ มีกำรแก้ไข​พ.ร.บ.​จรำจรทำงบก ฉบั บ ที่ ​ 10 ​(เพิ่ ม โท ษ ผู้ ป ฏิ เ สธ กำรตรวจวัดแอลกอฮอล์ให้ถือว่ำ​ ‘เมำ’​และมี โ ทษ)​ร่ ว มผลั ก ดั น ให้ เกิ ด​พ.ร.บ.​ควบคุมเครือ ่ งดื่ ม แอลกอฮอล์​พ.ศ.​2551​สนับสนุน กระบวนกำรวิ จั ย ในกำรสร้ ำ ง ควำมรูจ ้ ำกงำนประจ�ำ​(Routine​ to​Research)​ในประเด็ น งำน ส ร้ ำ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ ำ พ ​ส นั บ ส นุ น กำรจั ดตั้ ง​‘ศู นย์บริกำรเลิ กบุ หรี่ ทำงโทรศัพท์แห่งชำติ​(National​ Quitline)’​หรือ​‘สำยด่วนเลิกบุหรี​่ 1600’​เกิดข้อตกลงควำมร่วมมือ ระหว่ำง​สสส.​กับองค์กำรอนำมัย โลก​ว่ำด้วยกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ ในภำพใหญ่เป็นครัง้ แรก

THE LEADERSHIP (2554-2555)

RUN FORWARD (2556-2557)

T O T H E N E W DIMENSION (2558-2559)

THE NEVER-ENDING GOAL (2560-2561)

​ผ ล ป ร ะ เ มิ น ​1 0 ​ปี ​ส ส ส .​ (พ.ศ.​2544-2554)​โดยองค์กำร อนำมั ย โลก​ธนำคำรโลก​และ มู ล นิ ธิ ร ็ อ กกี เ ฟลเลอร์ ​ระบุ ว่ ำ​ “สสส.​เป็นองค์กรแนวหน้ำ​และเป็น ต้ น แบบส� ำ คั ญ ของโลกในกำรสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ”​ สำมำรถขยำยผลพื้ น ที่ เ ล่ น น� ำ ในประเพณีสงกรำนต์ปลอดเหล้ำ​ 60​พืน ้ ที​่ ใน​44​จังหวัด​โดยเฉพำะ ทีถ ่ นนข้ำวเหนียว​จังหวัดขอนแก่น​ สำมำรถบันทึกเป็นสถิตโิ ลก​‘Human​ waves​without​alcohol​on​ Songkran’s​day​(Khowneaw​ Road,​Khon​Kaen,​Thailand)’​ หรือ​‘คลื่ นมนุ ษย์ไร้แอลกอฮอล์ ’​ มี ผู้ เข้ ำ ร่ว มถึ ง ​50,208​คน​เกิ ด​ โครงกำร​‘วิง่ สูช ่ ว ี ต ิ ใหม่’​เพือ ่ สร้ำง แรงจูงใจแก่ประชำชนทุกกลุ่มวัย ที่ยังไม่เคยออกก� ำลั งกำยให้เริม ่ มำสนใจกำรเดิน-วิ่ง

​ร ่ ว มเป็ น เจ้ ำ ภำพประชุ ม นำนำชำติดำ้ นกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ​ ครัง้ ที​่ 21​(The​21st​IUHPE​World​ Conference​on​Health​Promotion​2013)​ภำยใต้ หั ว ข้ อ หลั ก​ ‘Best​Investments​for​Health’​ สนั บ สนุ น กำรขยำยขนำดภำพ ค� ำ เตื อ นบนซองบุ ห รี​่ จำกขนำด​ 55%​เพิม ้ ทีซ ่ อง ่ เป็น​85%​ของพืน บุหรี​่ สนับสนุนกำรออกมำตรกำร รู ป แบ บ ข อ ง ข้ อ ควำมค� ำ เตื อ น ป ร ะกอ บ ภ ำ พสั ญ ลั กษ ณ์ ข อ ง เครือ ่ งดื่ ม แอลกอฮอล์ ​หรือ ภำพ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง บ ริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต เครื่อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ ​ร่ว มเป็ น เจ้ ำ ภ ำ พ จั ดงำนประชุมวิชำกำร เพศศึกษำระดับชำติครัง้ แรก​เพือ ่ น�ำเสนอควำมรูแ ้ ละโจทย์ทส ี่ ำ � คัญ ต่อกำรขับเคลือ ่ นงำนแก้ไขปัญหำ กำรตั้ ง ครรภ์ในวัยรุน ่ ​และจัดท�ำ ข้อเสนอเพื่อให้ขับเคลื่อน​พ.ร.บ.​ ก ำ ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ แก้ ไข ปั ญ ห ำ กำรตั้งครรภ์ในวัยรุน ่

​เกิ ด ข้ อ ตกลงควำมร่วมมือ ระหว่ำง​สสส.​กับองค์กำรอนำมัย โลก​ว่ำด้วยกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ ในภำพใหญ่ ​ เป็ น ครั้ง ที่ ​ 2​ร่ว ม สนั บ สนุ น ให้เกิดกำรใช้ระบบแจ้ง เตือนภัยผลิตภัณฑ์สข ุ ภำพ​‘Single​ Window​เตื อนภัย’​ร่วมประกำศ เจตนำรมณ์ร ่วมกับกระทรวงแรงงำน​ กระทรวงกำรพั ฒ นำสั ง คม และ ควำมมั่ น คงของมนุ ษ ย์ ​ มู ล นิ ธิ พระมหำไถ่ เพื่อคนพิกำร​องค์กร คนพิกำร​และหน่วยงำนภำคเอกชน​ ด้ำน ค ว ำ ม ร่ วมมือเพื่อสร้ำงงำน สร้ำงอำชีพคนพิกำร​10,000​อัตรำ ในปี ​2559​ในงำน​‘สำนพลั ง สู่ มิ ติ ใ หม่ ​สร้ ำ งงำน​สร้ ำ งอำชี พ คนพิกำร​10,000​อัตรำ’

เป็ น หนึ่ ง ในคณะท� ำ งำน ประชำรั ฐ เพื่ อ สั ง คม​(E6)​ใน กำรผลักดัน​‘5​Quick​Win’​ได้แก่​ กำรจ้ำงงำนคนพิกำร​กำรจ้ำงงำน ผูส ้ งู อำยุ​กำรออมเพือ ่ กำรเกษียณ อำยุ​กำรพัฒนำทีอ ่ ยูอ ่ ำศัยและระบบ นิเวศทีเ่ หมำะสมเพือ ่ รองรับผูส ้ งู อำยุ และคนพิ ก ำร​ในช่ ว งเดี ย วกั น อำคำรเรียนรูส ้ ข ุ ภำวะ​สสส.​ได้รบ ั รำงวั ล ​LEED​อำคำรประหยั ด พลั งงำนระดั บโลก​และยังได้ รบ ั รำงวัล​World​No​Tobacco​Day​ Award​2017​โครงกำร​3​ล้ำน​3​ปี​ เลิกบุหรีท ่ ่ว ั ไทย​เทิดไท้องค์รำชัน​ ปั จ จุ บั น มี ป ร ะ ช ำช น เข้ ำ ร่ ว ม โครงกำรฯ​2,285,808​คน​คิดเป็น ร้อ ยละ​76.19​และมี ผู้ เ ลิ ก บุ ห รี่ ได้นำนกว่ำ​6​เดือนขึ้นไป​จ�ำนวน​ 9 6 , 9 4 1 ​ค น ​จ� ำ น ว น นั ก วิ่ ง ในประเทศไทย​ปี​ 2560​มำกถึง​ 15​ล้ ำ นคน​เพิ่ ม ขึ้ น จำกปี ​2559​ ถึง​3​ล้ำนคน​

2547-2548 ISSUE 615

04 NOV 2019

2544-2546 17


เรือ ่ ง : ฆนาธร ขาวสนิท

FEATURE ภำพ : ERDY

8 S tepS

to Be HealtHier 8 ขั้นตอนง่ายๆ ในการสร้างชีวิตดี เริม ่ ที่เรา

“Better Tomorrow Starts Today มันท�ำให้เห็นควำมสัมพันธ์ของ กำรกระท�ำและผลของกำรกระท�ำ ทีใ่ ห้ ควำมส� ำ คั ญ กั บ กำรเริ่ ม ต้ น ท� ำ สิ่ ง ใด สิง ่ ด้วยตัวเรำเอง เพื่อให้ได้ชีวิต ่ หนึง ทีด ึ้ ในวันข้ำงหน้ำ ่ ีขน “กำรมีพฤติกรรมสุขภำพ (กำรใช้ ชีวต ิ ) ทีด ่ ี ไม่สำมำรถส่งมอบ โอนสิทธิ หรื อ ท� ำ แทนกั น ได้ คนอื่ น อำจช่ ว ย กระตุ้ น สนั บ สนุ น ช่ ว ยเหลื อ เรำ ให้ ท� ำ ในสิ่ ง ต่ ำ งๆ แต่ ท้ ำ ยที่ สุ ด ถ้ ำ เรำ ไม่เริ่มต้นกำรเดินทำง (ปรับเปลี่ย น พฤติ ก รรม) ด้ ว ยตั ว เรำเอง เรำก็ จ ะ ไม่ มี ท ำงไปถึ ง เส้ น ชั ย สุ ด ท้ ำ ยของ กำรมี สุ ข ภำพที่ดี มี คุ ณ ภำพชี วิ ต ที่ดี อย่ำงทีเ่ รำต้องกำรได้” —ดร. ประกำศิ ต กำยะสิ ท ธิ์ , ผู้ ช่ ว ย ผูจ ้ ด ั กำรกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริม สุขภำพ (สสส.)

‘Better Tomorrow Starts Today’ พรุ่งนี้ที่ดีกว่า ย่อมเริ่มต้นได้ตั้งแต่วันนี้ ส�านวน ภาษาอังกฤษนี้บ่งบอกให้เห็นว่า ความสัมพั นธ์ ของการกระท� า และผลของการกระท� า นั้ น คื อ ‘การเริม ่ เี พือ ่ คนไทย ่ ต้น’ และองค์กรด้านสุขภาวะทีด อย่าง สสส. หรือส�านักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ ก็เน้นย�้าว่า พรุง ่ นีท ี่ ก ี ว่า ้ ด สามารถ ‘เริ่มต้นได้ที่เราเอง’ แต่พรุง ่ นีท ี่ น ี น ั้ ก็ไม่ได้มแ ี ค่เรือ ้ ด ่ งสุขภาพกาย และสุ ข ภาพจิ ต ใจที่ เ ข้ ม แข็ ง มั น ยั ง รวมไปถึ ง การสร้ า งชุ ม ชนและสั ง คมที่ เ ข้ ม แข็ ง ร่ ว มกั น แน่นอนว่ามันมีหลายครั้งเหลือเกินที่เราพ่ ายแพ้ ข้อมูลจากส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ระบุวา่ คนไทยเสียชีวต ิ ด้วยกลุม ่ โรค NCDs 75% ต่อปี (2560) สาเหตุการเกิดโรค 1. ดืม ่ เครือ ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์ : 34.0% (2558) 2. สูบบุหรี่ : 19.9% (2558) 3. ขาดการออกก�าลังกาย : มีกิจกรรม ทางกาย 72.5% (2560) 4. รับประทานอาหาร หวาน มัน เค็ม จัด : บริโภคผักและผลไม้ท่เี พียง พอตามข้อแนะน�า 25.9% (2557) 5. ความเครียด : คะแนนสุขภาพจิตเฉลีย ่ 31.44 คะแนน (2558), โทร.ปรึกษาเรือ งความเครี ยดกับสายด่วนสุขภาพจิต ่ 1323 เป็ นอันดับ 1 (2560), สถิติฆ่าตัวตาย 6.5% (2558) แต่ สิ่ ง เหล่ า นี้ ใ ช่ ว่ า เราจะเอาชนะมั น ไม่ ไ ด้ บทความนี้ก�าลังชักชวนให้คุณเปลี่ยนวิกฤตเป็ น โอกาส ตัง ้ ต้นจากประโยคสัน ้ ๆ ทีเ่ ราอยากให้เก็บ ไว้ในใจทีว ่ า่ ‘ชนะในความแพ้’ ทีห ่ มายถึงขอเพียง เราลุกขึน ้ มา ‘เริม ่ี รัง ้ ไม่สา� คัญ ่ ต้นลงมือท�า’ จะแพ้กค เราเอาชนะใจตัวเองใหม่ได้เสมอ และนีค ื ‘8 เรือ ่ อ ่ ง ใกล้ตว ั ’ ง่ายๆ ทีจ ่ ย ั ชนะ ่ ะเป็นไกด์ไลน์นา� คุณไปสูช เพราะ ‘ชีวิตดี เริม ่ ที่เรา’ 18


issue 615

04 NOV 2019

19


1. E at H E alt H i ly

3. l ovE act ually

“หลั่ ง นอกจะท้ อ งไหม?”, “ไม่ รู้ วิ ธี ใ ส่ ถุงยางฯ ครับ”, “ก�าลังท้องขณะที่ยังเรียน

การกินทีด ี อ ่ สุขภาพนัน ่ ต ้ นอกจาก การกิ น อาหารให้ ค รบ 5 หมู่ แ ล้ ว

มหาวิทยาลัย ท�าอย่างไรดี?” นี่คือส่วนหนึ่ง ของค�าถามที่วัยรุ่นมักถามบนโลกออนไลน์ ซึ่ ง ไม่ มี ใ ครการั น ตี ไ ด้ ว่ า ค� า ตอบที่ พ วกเขา

การกินในปริมาณทีพ ่ อเหมาะ ในรสชาติ ที่พอดี ก็ส�าคัญไม่แพ้กัน โดย สสส. ได้แนะน�าสูตรที่เหมาะสมไว้สองสูตร ดังนี้ 2:1:1 สูตรเด็ดพิชิตพุ ง การกินแบบ 2:1:1 คือสูตรก�าหนด ปริมาณอาหารที่เหมาะสมในแต่ละมื้อ ซึ่ ง ช่ ว ยลดพุ งและลดความเสี่ ย งใน การเป็ น โรคต่ า งๆ สู ต รท� า ได้ ง่ า ยๆ ด้วยการกะจากสายตา แบ่งสัดส่วน ของจาน (เส้นผ่านศูนย์กลาง 9 นิว ้ ) ออกเป็ น 4 ส่วน เลือกจัดประเภท อาหารในจานแต่ ล ะส่ ว น เป็ น ผั ก 2 แป้ง 1 และเนื้อสัตว์ 1 6:6:1 สูตรรสกลมกล่อมห่างไกล โรค รสชาติ ข องอาหารก็ เ ป็ นอี ก ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพได้ หากปรุง

“เวลำมีใครถำมว่ำชีวต ิ ทีด ี อ ื อะไร ่ ค ผมมักจะตอบไปว่ำ คือกำรเท่ำทัน ควำมรู้สึกว่ำขณะนี้ตัวเองก�ำลัง สุข เวลำนีก ้ ำ� ลังทุกข์ เท่ำทันว่ำมัน ไม่มีอะไรทีย ่ ัง ่ ยืน ชีวิตดีๆ คือกำร ยิม ให้ ต ั ว เองในวั นพังๆ กำรกอด ้ ตั ว เ อ ง ใ ห้ เ ป็ น ใ น วั น ที่ ใ จ ห ม่ น กำรออกไปเดิ น รั บ แสงแดดให้ ผิวหนังสัมผัสสำยลม กำรเคลือ ่ นไหว ต้ ำ นบ้ ำ งและลู่ บ้ ำ งไปกั บ จั ง หวะ ของลม หรือแม้แต่ใช้ทำงสำยกลำง ในกำรบริ ห ำรชี วิ ต (Engagement) กับตนเองและสรรพสิ่ง รอบข้ำง (Relationship)” —นำยชำติวฒ ุ ิ วังวล, ผอ. ส�ำนักสนับสนุนกำรควบคุมปั จจัยเสี่ยง ทำงสุขภำพ สสส.

มากเกินพอดีก็อาจเสี่ยงต่อโรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคไต เป็ นต้น ปริมาณการปรุงที่เหมาะสม

ได้รบ ั จะเป็นค�าตอบจากใคร และมีความถูกต้อง หรือไม่ จากผลการศึกษาวิจย ั เรือ ่ ง ‘การศึกษา

แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตัง ้ ครรภ์ ไม่พร้อม (แม่วัยรุ่น)’ โดย ศ. ดร. ศิริพร จิรวัฒน์กล ุ เมือ ่ ทัง ่ ปี 2554 พบว่า วัยรุน ้ หญิง และชายต่างคาดหวังให้พ่อแม่เป็ นที่พึ่งเรื่อง เพศส� า หรั บ พวกเขา แต่ ด้ ว ยช่ อ งว่ า งของ ความไม่เข้าใจกัน และการรับรูเ้ รือ ่ งเพศทีต ่ า่ ง กันระหว่างผูใ้ หญ่กบ ั เด็ก ท�าให้วย ั รุน ่ ทัง หญิ ง ้ และชายเลือกทีจ ่ ะคุยกับเพื่อนมากกว่า แต่เมือ ่ ถึงทีส ุ หากวัยรุน ่ เกิดตัง ่ ด ้ ครรภ์ พวกเขาจะต้อง กลับมาหาทีป รึ ก ษา ซึ ง ่ ่ ก็คือพ่อแม่อยู่ดี โดยมี เ ทคนิ ค ในการพู ดคุ ย เรื่ อ งเพศ กับลูกดังนี้ 1. รับฟังอย่างไม่ตัดสิน 2. ตั้งค�าถาม 3. ชืน ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์ ่ ชมในสิง ่ ี 4. ให้ขอ ่ ทีด 5. แสดงความเชื่อมั่นในตัวลูก 6. เป็นที่พ่ึง เมื่อมีปัญหา

จ�าง่ายๆ คือน�้าตาล 6 ช้อนชาต่อวัน

วั ด ระดั บ ความพร้ อ มก่ อ นจั บ เข่ า คุ ย

ไขมั น 6 ช้ อ นชาต่ อ วั น และเกลื อ 1 ช้อนชาต่อวัน

กับลูก โ ด ย คุ ณ ส า ม า ร ถ วั ด ค ว า ม พ ร้ อ ม ในการคุยเรื่องเพศกับลูกด้วยแบบวัดระดับ

2 . B E Ha p p y a l l t HE ti m E

ในเว็บไซต์ www.คุยเรื่องเพศ.com เพื่อจะ ได้รู้ว่า ตัวเองยังขาดข้อมูลหรือความรู้อะไร หรือไม่ก่อนไปคุยกับลูก

ภูมิใจในตัวเอง (Self Esteem) ซึ่ง ท�าให้เรามีพลังในการท�าสิง ่ อื่นๆ โดย สามารถควานหาเกณฑ์ชว ั สุขภาพจิต ้ี ด

4. H ap p y SociEt y

สุขภาพจิตที่ดีคือการรู้สึกดีและ

ที่ดีง่ายๆ ได้จากค�าถามเหล่านี้ 1. เรารู้สึกสบายๆ เมื่ออยู่กับ ตัวเอง และไม่ต้องพึ่ งพาความรู้สึก จากคนอื่นมากเกินไปหรือไม่ 2. เรายอมรับตัวเองได้เมื่อท�า สิง ่ ผิดพลาด และน�ามาเป็นบทเรียนได้ หรือเปล่า 3. เราสามารถเป็ นเพื่อนที่ดีกับ ตัวเองได้ไหม ทุ ก คนสามารถสั ม ผั ส ความสุ ข ทางใจตามแต่เส้นทางที่ตนเองสนใจ ได้ท่ี www.happinessisthailand.com หรือโทร.หาสายด่วนสุขภาพจิต 1323

ความสัมพันธ์ทด ี่ ค ี อ ื สายใยทีถ ั ทอเป็น ่ ก รากฐานที่ช่วยให้สังคมมีความสุข ซึ่งทุกคน สามารถมี ส่ ว นร่ ว ม โดยเฉพาะในที่ ท� า งาน “ชีวิตดีมีสุขภำวะ เป็ นเรือ ่ งไม่ยำก ถ้ ำ เ ริ่ ม ตั้ ง แ ต่ เ ด็ ก ๆ เ ริ่ ม จ ำ ก คุ ณ แ ม่ คุ ณ พ่ อ ห รื อ ผู้ ดู แ ล เ ด็ ก ในครอบครั ว ช่ ว ยสร้ ำ งโอกำส ในกำรเรียนรูใ้ ห้เด็กๆ ให้เล่นเยอะๆ สนั บ สนุ น ให้ เ ด็ ก เล็ ก ได้ ช่ ว ยเหลื อ ตัวเองในกิจวัตรประจ�ำวัน ค่อยๆ ฝึ กวินัยในเรื่องต่ำงๆ เพรำะช่วง วั ย เ ด็ ก เ ป็ น ช่ ว ง ที่ เ ห ม ำ ะ ที่ สุ ด ในกำรปลูกฝังนิสัยให้ติดตัว”

— น ำ ง ส ำ ว ณั ฐ ย ำ บุ ญ ภั ก ดี , ผอ. ส� ำ นั ก สนั บ สนุ น สุ ข ภำวะเด็ ก เยำวชน และครอบครัว สสส.

โดยอาศั ย แนวคิ ด Happy Workplace 8 ประการ ดังนี้ 1. Happy Body : สร้างให้คนในองค์กร มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและมีจิตใจที่ดี พร้อมรับมือกับทุกปัญหา 2. Happy Heart : สร้างให้คนในองค์กร มีน้า� ใจเอื้ออาทรต่อกัน 3. Happy Society : สังคมดีเกิดขึ้น จากความรัก สามัคคี เอือ ั คม ้ เฟื้ อต่อกัน มีสง และสภาพแวดล้อมที่ดี 4. Happy Relax : คนในองค์ ก ร ควรรู้จักการผ่อนคลายต่อสิ่งต่างๆ เพราะ

ต้องหมั่นพัฒนาตนเองตลอดเวลา 6. Happy Soul : คนในองค์กร ต้ อ งมี ค วามศรั ท ธาในความเชื่ อ และศี ล ธรรมที่ ถู ก ต้ อ ง เพราะมั น จะก� า หนดเส้ น ทางและพฤติ ก รรม การใช้ชีวิต 7. Happy Money : คน ในองค์กรต้องรู้จักเก็บรู้จักใช้เงิน ไม่ เ ป็ นหนี้ ปลู ก ฝั ง นิ สั ย อดออม ประหยัด 8. Happy Family : คนในองค์กร ต้องมีครอบครัวที่อบอุ่นและมั่นคง ปลูกฝังนิสย ั รักครอบครัว เพื่อน�าไป เป็นหลักการใช้ชีวิต

มั น จะส่ ง ผลต่ อ ความเครี ย ดและกระทบต่ อ หน้าที่การท�างาน 5. Happy Brain : คนในองค์กร 20


10 นำที ไขมั น จะเริ่ ม สลำย เมื่อออกก�ำลังกำย ต่อเนื่อง 10 นำที ขึน ้ ไป

“ทุ ก ชี วิ ต ล้ ว นมี ค วำมหมำยและมี คุ ณ ค่ ำ หำกเรำได้เริม ้ ก ั ตัวเอง ่ ท�ำควำมเข้ำใจและรูจ ไปพร้อมๆ กับมองเห็นคนอืน ่ รอบข้ำงด้วย ควำมเข้ำใจ จะเป็ นส่วนหนึง ่ ทีช ่ ่วยส่งต่อ เชื่อ มโยงโอกำสให้ อี ก หลำยชี วิ ต ได้ รั บ รู้ และสัมผัสกับตัวตนทีม ี ณ ุ ค่ำ และเริม ่ ค ่ ต้น ชีวิตดีจำกคุณค่ำทีม ่ ีในตัวเอง”

—นำงภรณี ภูป ่ ระเสริฐ, ผอ. ส�ำนักสนับสนุน สุขภำวะประชำกรกลุม ่ เฉพำะ สสส.

issue 615

04 NOV 2019

“ ‘กำรท�ำควำมดี’ เป็ นกิจกรรมธรรมดำที่ มี ค วำมส� ำ คั ญ และส่ ง ผลกระทบสู ง ต่ อ กำรสร้ ำ ง ‘วิ ถี ข องกำรไม่ ท อดทิ้ ง กั น ’ ในยำมที่ เ กิ ด วิ ก ฤตในสั ง คมที่ ส่ ง ผลให้ เพื่อนในชุมชนท้องถิ่นมีควำมยำกล�ำบำก เครือข่ำยจะสำนพลังเป็ น ‘พลังจิตอำสำ’ ในกำรระดมสรรพก�ำลังเข้ำไปช่วยเหลือ และสำนพลังกับหน่วยงำนอย่ำงเต็มก�ำลัง” — น ำ ง ส ำ ว ด ว ง พ ร เ ฮ ง บุ ณ ย พั น ธ์ , ผอ. ส�ำนักสนับสนุนสุขภำวะชุมชน สสส.

21


1413 อ ย ำ ก เ ลิ ก เ ห ล้ ำ แต่ ไ ม่ รู้ ว่ ำ วิ ธี ไ หนดี ติ ด ต่ อ ‘สำยด่ ว น เลิกเหล้ำ’

“เพียงเริม ่ ลงมือปรับพฤติกรรมเพื่อรักษำ สมดุลกำรใช้ชีวิตของเรำ รู้จักธรรมชำติ ตนเอง, ตั้ ง สติ ใ ห้ เ อำชนะใจตั ว เองได้ , มองหำควำมสุ ข อย่ ำ งง่ ำ ยๆ, หมั่ น หำ ควำมรู้และพั ฒนำทักษะกำรดูแลสุขภำพ ตั ว เอง เพื่ อ ชี วิ ต ที่ ดี แ ละมี ค วำมสุ ข ใน วิถีของตัวเรำเอง” —ดร. ณัฐพันธุ์ ศุภกำ, รักษำกำร ผอ. ส�ำนัก พั ฒ นำภำคี สั ม พั น ธ์ แ ละวิ เ ทศสั ม พั น ธ์ สสส.

“ชีวต ิ ดีเริม ิ จะดีได้ สุขภำพตัวเรำ ่ ทีเ่ รำ ชีวต ต้องดีด้วย เริม ่ ต้นกำรมี ‘สุขภำพดี’ ได้ ด้ ว ยกำรใส่ ใ จในวิ ถี ชี วิ ต โดยเฉพำะ กำรดูแลกำรกิน กำรนอน กำรออกก�ำลังกำย ให้เหมำะสม เเละไม่ลืมให้ควำมส�ำคัญกับ ทุกๆ คนในครอบครัว”

—ดร. นพ. ไพโรจน์ เสำน่วม, ผอ. ส�ำนัก สร้ำงเสริมวิถีชีวิตสุขภำวะ สสส.

22


5. morE BE K i nd , m o r E B E H a pp y

7. l E t ’ S Say n o

เหล้ า คื อ เครื่ อ งดื่ ม ที่ ส่ ง ผลต่ อ ชี วิ ต หลายด้ า น ไม่ ว่ า จะเป็ น นิ สั ย ที่

หรื อ ท� า เพื่ อ ตั ว เอง อาจไม่ ใ ช่ ค วามสุ ข

คนในครอบครัวที่เปลี่ยนไปในทางที่

เปลี่ยนไปเมื่อเมามาย สุขภาพที่ค่อยๆ ถูกบ่อนท�าลาย หรือความสัมพันธ์กับ

ความสุ ข จากการต้ อ งมี ต้ อ งได้

ที่ แ ท้ จ ริ ง เสมอไป ขณะที่ ค วามสุ ข จาก การท� า เพื่ อ ผู้ อื่ น ช่ ว ยเหลื อ โดยไม่ ห วั ง ผลตอบแทน กลับเป็ นความสุขที่ย่ังยืน มากกว่า จากการทดลอง ‘Spending Money on Others Promotes Happiness’ ที่ใช้คนเข้าร่วม 46 คน ทดลองให้คะแนน ความสุขของตัวเอง ก่อนแบ่งคนเหล่านี้ ออกเป็น 2 กลุม ่ และแต่ละคนจะได้รบ ั เงิน คนละ 5 หรื อ 20 ดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ เพื่ อเอาไปใช้ ต ามเงื่ อ นไข 2 ประเภท 1. ใช้จ่ายส่วนตัว และ 2. บริจาคเพื่ อ การกุศล ผลการวิจย ั พบว่า เมือ ่ ครบ 5 วัน คนที่ ใ ช้ เ งิ น เพื่ อ คนอื่ น จะมี ค วามสุ ข จาก การได้เงินเท่าวันแรก ขณะที่คนที่ใช้เงิน เพื่ อ ตนเองจะมี ค วามสุ ข จากการได้ เ งิ น ลดน้อยลง ยังไม่ตอ ้ งเชือ ่ ทันทีกไ็ ด้ แต่ลอง มาพิสูจน์ด้วยตัวเองผ่านเว็บไซต์ธนาคาร

“ เ ว ล ำ เ ร ำ เ ห็ น ร ถ ขั บ ไ ม่ ดี เ บี ย ด กั น แซงกั น เรำรู้ สึ ก โมโห แต่ ก็ ไ ด้ แ ค่ น้ั น เรำบังคับให้คนอื่นปรับพฤติกรรมไม่ได้ แต่เรำบังคับตัวเองได้ เริ่มจำกตัวเอง เ ห็ น ตั ว อ ย่ ำ ง ไ ม่ ดี ก็ อ ย่ ำ เ อ ำ ม ำ เ ป็ น แบบอย่ำง เริม ่ ปรับพฤติกรรมให้สม�ำ่ เสมอ ใช้หมวกกันน็อก คำดเข็มขัด ไม่ขับเร็ว ไม่ดม ื่ แล้วขับ แค่นก ี้ เ็ ริม ่ ง ่ ต้นลดควำมเสีย บนท้องถนนได้แล้ว ชีวิตดี เริม ่ ทีเ่ รำ”

—นำงสำวรุ่งอรุณ ลิ้มฬหะภัณ, ผอ. ส�ำนักสนับสนุนกำรควบคุมปัจจัยเสีย ่ ง ทำงสังคม และรักษำกำรผู้อ�ำนวยกำร ส�ำนักสนับสนุนกำรควบคุมปัจจัยเสีย ่ ง หลัก สสส.

จิ ต อาสา www.jitarsabank.com พื้ นที่ที่ให้ทุกคนได้มาประกาศความตั้งใจ ในการแบ่งปั นเวลาเพื่ อสังคม

ที่รัก ตรงนี้มีวิธี 1. ปรับสิง ่ แวดล้อม การเลิกเหล้า ใ ห้ ส� า เ ร็ จ ถ า ว ร เ ริ่ ม ต้ น จ า ก เ ลี่ ย ง สภาพแวดล้ อ มที่ ก ระตุ้ น ให้ อ ยากดื่ ม เช่น กลุ่มเพื่อนนักดื่ม 2. ปรับร่างกาย ดูแลร่างกาย เป็ น พิ เ ศษ กิ น อาหารครบ 5 หมู่ ออกก�าลังกายเป็นประจ�า 3. ฝึกจิตใจให้เข้มแข็ง ก�าลังใจ จากคนในครอบครัวมีส่วนส�าคัญใน การเปลี่ยนแปลงตัวเอง เริ่มต้นจาก คุยกับคนในครอบครัวเพื่อขอก�าลังใจ 4. หาแรงจูงใจ การเลิกเหล้า ดีหลายอย่าง ไม่วา่ จะมีเงินเก็บมากขึน ้ มีเวลาอยูก ่ บ ั ครอบครัวมากขึน ้ สุขภาพ ดีข้น ึ สิ่งเหล่านี้คือแรงจูงใจส�าคัญ

8 . l E t ’ S Say n o morE

บุหรีเ่ ลิกยาก แต่ทา� ได้งา่ ยๆ โดย เริม ่ น ้ั มี ่ ต้นจากตัวเอง เพราะพิษบุหรีน ภัยร้ายตัง ั จดเท้าทัง ้ แต่หว ้ ต่อร่างกาย ผู้สูบและผู้รับควัน และนี่คือเคล็ดลับ จากสิ่งใกล้ตัว

6. drivE SafE

ปี 2561 องค์การอนามัยโลกยกให้ ไทยเป็นแชมป์ของประเทศทีม ี นเสียชีวต ิ ่ ค จากอุบต ั เิ หตุมากทีส ด ุ ในอาเซี ย น โดยมี อ ต ั รา ่ เสียชีวต ิ ถึงประมาณ 55 รายต่อวัน แต่เรา ก็สามารถหยุดความเสียหายทีส ่ ผลกระทบ ่ ง ทางเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า ได้โดยเริ่มต้นจากตัวเองง่ายๆ ดังนี้ 1. ไม่ขบ ั รถเร็วเกินก�าหนด ทีค ่ วามเร็ว 80 กม./ชม. ตามกฎหมาย เพราะมันมี อัตราเสี่ยงที่จะเสียชีวิตมากกว่า 15 เท่า เมื่อเทียบกับอัตรา 40 กม./ชม. 2. ดื่ ม ไม่ ขั บ การดื่ ม แล้ ว ขั บ เพิ่ ม ความเสี่ยงในการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ 6.6 เท่า และเสียชีวิตที่ 9.6 เท่า 3. งดใช้โทรศัพท์ การส่งข้อความ ขณะขับขี่เสี่ยงเกิดอุบัติเหตุสูงมากกว่า ผู้ขับขี่ที่ไม่ต้องเสียสมาธิถึง 20 เท่า 4. คาดเข็มขัด การคาดเข็มขัดนิรภัย ช่วยลดการเสียชีวต ิ ได้ถง ึ ร้อยละ 40-60 5. สวมหมวกนิ ร ภั ย ซึ่ ง ช่ ว ยลด โอกาสการเสี ย ชี วิ ต จากการบาดเจ็ บ ที่ ศีรษะได้ถึง 43%

แย่ลง หากคุณอยากเลิกเหล้าเพื่อคน

1. ผลไม้รสเปรี้ยว เช่น มะนาว

“หลำยคนมองเห็นปัญหำ หลำยคนนัง ่ บ่น กับปัญหำ และหลำยครัง ่ ้ ทีเ่ รำรอให้คนอืน มำแก้ปัญหำให้… อยำกชวนเปลีย ่ นมุมมอง ว่ำเรำทุกคน ทุกชุมชน มองเห็นปั ญหำ ของตัวเอง ต้องร่วมมือกันลงมือแก้ปญ ั หำ ท�ำด้วยวิธง ี ำ่ ยๆ ทีท ุ คนท�ำได้ดว ้ ยตัวเอง ่ ก เช่น ไม่ดื่มเหล้ำ ไม่สูบบุหรี่ จัดกำรกับ สิง ่ แวดล้อมในชุมชนให้เหมำะสมปลอดภัย ร ว ม ถึ ง ก ำ ร ใ ห้ เ กี ย ร ติ ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น เพรำะสั ง คมหรื อ ชุ ม ชนที่ น่ ำ อยู่ ส ำมำรถ เกิดขึ้นได้จริงจำกตัวเรำทุกคน ‘ชีวิตดี เริม ่ ทีเ่ รำ’ ”

วิตามินซีในมะนาวจะช่วยเปลีย ่ นรสชาติ ของบุ ห รี่ ใ ห้ เ ฝื่ อน ท� า ให้ ไ ม่ อ ยากสู บ และลดอาการอยากนิโคตินได้ 2. หญ้าดอกขาว มีฤทธิ์ท�าให้ ลิ้ น ฝ า ด จ น ไ ม่ นึ ก อ ย า ก สู บ บุ ห รี่ ศู น ย์ วิ จั ย แ ล ะ จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ เ พื่ อ การควบคุ ม ยาสู บ (ศจย.) พบว่ า หากใช้สมุนไพรหญ้าดอกขาวติดต่อ กันนาน 2 เดือน สามารถช่วยให้เลิก สูบบุหรี่ได้ถึง 60 เปอร์เซ็นต์ 3. การนวดกดจุ ด สะท้ อ นเท้ า ช่วยกระตุ้นสมองให้หลั่งสารเคมีที่ท�า ให้รสชาติบุหรี่ผิดปกติ ท�าให้ไม่อยาก สูบบุหรี่ สามารถท�าได้ด้วยตนเอง 4. สายด่ ว นเลิ ก บุ ห รี่ 1600 บริการให้ค�าปรึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญ ที่นับถึงวันนี้ช่วยให้คนที่ติดต่อเข้ามา สามารถเลิกบุหรีไ่ ด้ถง ึ 40 เปอร์เซ็นต์

—นำงเข็มเพชร เลนะพันธ์, ผอ. ส�ำนัก สร้ำงสรรค์โอกำส สสส.

issue 615

04 NOV 2019

23


เรือ ่ ง : ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล

SPACE & TIME

Universal Design: คือ การออกแบบเพื่อให้ ทุกคนในสังคม ไม่ว่าจะเป็นผู้สูงอายุ คนป่วย คนท้อง คนแคระ เด็กเล็ก ที่มากับรถเข็นเด็ก คนพิการประเภท ต่างๆ รวมทั้ง คนพิการทางสติปัญญา สามารถ ใช้งานอย่างเต็มที่ และเท่าเทียมกัน ‘อุ๋ม’ - เบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐียร ผู้อ�านวยการ ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ สสส.

ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์

ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ (สสส.) : อาคารแห่งการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการใช้ชีวิต ครอบคลุมทั้งเจ้าหน้าที่ภายในและบุคคลภายนอกทุกสถานภาพ

อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ซอยงามดูพลี เขตสาทร กรุงเทพฯ (MRT สถานีลุมพินี) เวลาให้บริการ : วันอังคาร-วันศุกร์ เวลา 09.00-17.00 น. และวันเสาร์ เวลา 10.00-17.00 น. โทร. 09-3724-6914, 0-2343-1500 กด 2 เว็บไซต์ : http://resourcecenter.thaihealth.or.th

“เราอยู่ สสส. ตัง ่ ตัง้ ปีนก ี้ เ็ ข้าปีที่ 18 แล้ว เราเห็นความเปลีย ่ นแปลงของ สสส. โดยเฉพาะเรือ ่ งการออกแบบ ้ แต่กอ

เพราะค�าว่า Universal Design ของ สสส. ไม่ได้หมายถึงแค่ ่ ให้คน การออกแบบอาคารเพือ ทุ ก เ พ ศ ทุ ก วั ย เ ข้ า ถึ ง เ ชิ ง กายภาพ แต่ ด้ ว ยลั ก ษณะ ก า ร ท� า ง า น ที่ ร่ ว ม มื อ กั บ ห น่ ว ย ง า น ห รื อ ภ า คี ต่ า ง ๆ มากมายเท่านัน ั รวมไปถึง ้ แต่ยง ่ าง การสนับสนุนให้เป็นพื้นทีท ความคิด เพื่อให้ทุกคนได้ใช้ สถานที่ แ ห่ ง นี้ เ ป็ น แหล่ ง ให้ ค ว า ม รู้ แ ล ะ แ ห ล่ ง เ รี ย น รู้ ได้ จ ริ ง ในระยะยาว ซึ่ ง ทาง ผู้ อ� า น ว ย ก า ร ศู น ย์ เ รี ย น รู้ สุขภาวะ ‘อุม ๋ ’ - เบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐียร ได้ให้ความส�าคัญ มากเป็นอันดับหนึ่ง

พื้นที่ เมื่อก่อนเราอยู่ตึกสูง แล้วก็ท�างานเอกสารเพียงอย่างเดียว ผู้คนก็จะเข้าไม่ถึงเรา และก็ไม่รูว้ ่า สสส. ท�าอะไร แต่เราอยากให้ทุกคนได้เข้าถึงความรูม ้ ากมายที่เราต้องการน�าเสนออย่างจริงจัง จนเมื่อ 6 ปีที่แล้ว เราคิดที่จะ

ออกแบบตึกนี้ ให้เป็นที่เรียนรู ้ ทุกคนสามารถเข้าถึง และเข้าใจ สสส. ได้มากกว่าการเห็นแค่โฆษณา นี่คือสิ่งส�าคัญ ที่สุด”

Place for Everybody

“เราตั้งใจให้ทแ ี่ ห่งนี้เป็นทีท ่ ท ี่ ก ุ คน ไม่วา ่ จะเป็นครอบครัว เด็กเล็ก ผูใ้ หญ่ ผูพ ้ ก ิ าร ผูส ้ งู อายุ ก็สามารถเข้าถึงได้ บางคนอาจมานั่งอ่านหนังสือในห้องสมุดชัน ี น ี่ ่งั ให้พร้อม หรือจะชักชวน ้ สอง มานั่งรับลมหรือคิดงานสบายๆ เราก็มท กันมาท�ากิจกรรมในทุกๆ วันเสาร์ก็ไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งมีท้ง ั การออกก�าลังกาย มาซื้อของออร์แกนิก มาดูงานศิลปะ ฟังทอล์ กต่ างๆ และยังมีเปิดสอนร�ากระบี่กระบองให้ กับเด็ กๆ อี กด้ วย ล้ วนมาจากการท�างานร่วมกั บภาคี และ หมอชาวบ้าน ท�าให้ที่นี่มีเวิรก ์ ช็อปและกิจกรรมที่ให้ความรูม ้ ากมาย

“ส่ว นวันอาทิต ย์ เราร่ว มกั บสถาบันคึ กฤทธิ์ มีกิจกรรมการเรียนโขนและเรียนดนตรีไทย เปิ ดให้ กับเด็ กๆ

ในชุมชนรอบๆ สสส. หรือผู้ปกครองที่สนใจพาเด็กๆ มาเรียนรูเ้ รือ ่ งศิลปวัฒนธรรมไทย”

ผอ. อุม ๋ อธิบายด้วยรอยยิม ้ ทีท ่ ง้ั หมดของอาคารสีเขียวแห่งนี้ โดยเริม ้ ก่อนจะพาเดินชมพืน ่ จากบริเวณโถงกลาง

ลานกว้างท�ากิจกรรม ชั้น 1 ชานระเบียง ห้องสมุด และห้องจัดนิทรรศการหมุนเวียนทุกสี่เดือน ชั้น 2 ห้องโยคะและ ห้องประชุม ชั้น 3 ชั้น 4-5 ออฟฟิศพนักงาน เรือ ่ ยไปจนถึงแปลงผักและแผงโซลาร์เซลล์ที่ช้น ั ดาดฟ้า Healthy Building

“ทีน ่ ี่รม ่ รืน ่ และมีลมพัดผ่านตลอดเวลา ก็เพราะเราออกแบบให้ทน ี่ ี่เป็นเหมือนบ้านเรือนไทยภาคกลางประยุกต์ 24


มี ช านอยู่ ต รงกลาง ซึ่ ง ก็ คื อ บริเวณโถงกลาง

โซลาร์เซลล์แทนหลังคาทัง้ หมด เพือ ่ เก็บแสงอาทิตย์

ขึน ้ ไปจนสุดด้านบน ซึง ่ เป็นชัน ้ ดาดฟ้า ล้อมรอบ

ไฟฟ้ า ส� า รอง และใช้ ส� า หรับ ส่ อ งสว่ า งบริเวณ

สดชื่นด้วยสระน�าเล็กๆ ตรงกลาง สามารถมอง

ไปด้ ว ยห้ อ งต่ า งๆ และเชื่ อ มกั บ พื้ น ที่ ท างเดิ น

ลานสาละด้ า นข้ า ง และสวนสาธารณะของ กทม. อย่ า งสวนเฉลิ ม พระเกี ย รติ 80 พรรษา พระบาทสมเด็ จพระเจ้ าอยู่หัว (สาทร) ท� าให้

มีลมธรรมชาติ ไหลเวียนเข้ามาตลอดทุกเวลา และตลอดทั้งปี”

ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าส่วนกลาง ส�าหรับใช้เป็น

ที่จอดรถ B1-2 และเมื่อขึ้นมาจนถึงชั้นดาดฟ้า ก็จะพบพืน ้ ทีพ ่ ก ั ผ่อน และการเรียนรูก ้ บ ั แปลงสาธิต

ปลูกผักปลอดสารพิษ ที่ได้ ภาคี อย่างสวนผัก คนเมืองมาช่วยดูแลและให้ความรูด ้ า้ นการปลูกผัก สวนครัวเดือนละครัง้ ในวันเสาร์

แต่ที่ส�าคัญคือ พื้นที่สีเขียวส่วนนี้จะช่วย

ผอ. อุ๋ม ชี้ชวนให้ดูไฮไลต์หลักของอาคาร

ลดความร้อนเข้าสูอ ่ าคารผ่านหลังคา ช่วยกรอง

จากอากาศถ่ า ยเทเพี ย งอย่ า งเดี ย ว แต่ ที่ นี่ ยั ง

ทีเ่ กิดจากไอร้อนแผ่ขน ึ้ มาจากคอนกรีตทีส ่ ะสม

และเล่าให้ฟังต่อว่า ไม่ใช่แค่เพียงความสบาย ส่งเสริมให้ผค ู้ นสบายกายในระยะยาว จึงออกแบบ บั น ไดให้ อ ยู่ บ ริเวณตรงกลางอาคาร ให้ ลิ ฟ ต์

ท� า หน้ า ที่ บ ริก ารเฉพาะผู้ สู ง อายุ แ ละผู้ พิ ก าร ซึ่งตั้งอยู่บริเวณด้านข้าง

มลพิษ และช่วยลดภาวะเกาะความร้อนเมือง ความร้อนไว้เป็นเวลานานนั่นเอง

Happy Living and Workplace

ท้ า ยสุ ด แล้ ว พื้ น ที่ ท างกายภาพอาจจะ

“เราอยากให้ ค นเริ่ม เดิ น เพื่ อ สุ ข ภาพที่

ตอบโจทย์ ให้ กั บ ทุ ก คน พื้ น ที่ ท างความคิ ด ก็

ออกแบบให้ไม่ชันจนเกินไป สเต็ปก้าวกว้างพอ

แต่ สิ่ ง ที่ ม องข้ า มไม่ ไ ด้ เ ลยก็ คื อ การเป็ น พื้ น ที่

แข็งแรง เราจึ งให้บันไดมาอยู่ตรงกลาง แล้ ว

ให้เดินได้อย่างปลอดภัย และมีชานพักทุกระยะ

เพื่ อ ให้ ก ารเดิ น นั้ น ง่ า ยขึ้ น และเมื่ อ มาหยุ ด ที่ ชานพัก ก็จะสามารถมองเห็นความเคลื่อนไหว

ตอบโจทย์นโยบายการเป็นแหล่งเรียนรูท ้ ส ี่ า � คัญ ทีส ่ ร้างความสุขให้กบ ั คนท�างาน ซึง่ จะเห็นได้จาก บริเวณโซนออฟฟิศชั้น 4-5

“ปั จ จุ บั น เรามี เ จ้ า หน้ า ที่ อ ยู่ ป ระมาณ

ได้ ในหลายๆ พื้ น ที่ และยั ง เป็ น พื้ น ที่ ส่ ง เสริม

200 คน เราสามารถให้ทก ุ คนท�างานบริเวณไหน

การเดินขึ้นลงอีกด้วย”

ริมทางเดินที่มีโต๊ะเก้าอี้ให้น่ังก็ได้ เพราะเรามี

การมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งคนในองค์ ก รผ่ า น จากนั้ นก็ เดิ นเข้ า สู่ ห้ อ งสร้ า งปั ญ ญา

หรือห้องสมุด คลั งความรู ท ้ ี่มาในรู ปแบบเดิ ม

ของอาคารก็ได้ เช่น นั่งท�างานที่ห้องสมุด หรือ Wi-Fi ทั่วอาคาร ส�าหรับการติดต่อสื่อสารและ ท� า งานได้ ต ลอดเวลา รวมทั้ ง บุ ค คลภายนอก

แอปพลิเคชันที่ให้ผู้คนสามารถเข้าถึงสื่อต่างๆ

ก็สามารถมานั่งท�างานและขอใช้ Wi-Fi ฟรีได้ เช่นกัน มีห้องออกก�าลังกาย ห้องพยาบาล และ

แล้ วจึ งเดิ นย้อนมาชมชานระเบียงเขียว

ในช่วงปิดเทอมได้เช่นกัน รวมทัง้ เรายังมีเจ้าหน้าที่

คือ ยืมหรือนั่งอ่าน รวมทั้งยังมี SOOK Library ทั้งหมดที่ทาง สสส. มีได้สะดวกและง่ายขึ้น

ไอเดียน่ารักทีช ่ ว่ ยลดปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า

และสร้า งความผ่ อ นคลาย ซึ่ ง จะมี ในทุ ก ชั้ น และทุกห้อง มีลักษณะเป็นทางเดินและเส้นทาง สั ญ จรระหว่ า งภายในและภายนอกอาคาร

เชื่อมต่อกับห้องท�างานและห้องประชุมที่ต้ังอยู่

ห้ อ งเลี้ ย งเด็ ก สามารถพาลู ก หลานมาดู แ ล

เป็นนักวิชาการของ สสส. อยูห ่ นึง่ คน เป็นผูพ ้ ก ิ าร ทางสายตา เขาก็สามารถท�างานกับเราได้อย่าง แฮปปี้ มาก”

เมือ ่ อาคารหนึง่ หลังสามารถสร้างประโยชน์

ตั้งแต่ชน ั้ 3 ไปจนถึงชัน ้ 5

ให้กับผู้คนได้มากมาย ผอ. อุ๋ม จึงมองอาคาร

ระเบียงเพือ ่ ความสดชืน ่ แล้ว เรายังใช้แผงกันแดด

แห่งนี้เป็นดั่งจิตใจ และเสมือนหัวใจของคนเรา

“นอกจากต้ นไม้ ที่ เ ราปลู ก ไว้ บ ริ เ วณ

หรื อ Automatic Fin ที่ มี อ ยู่ ร อบๆ อาคาร

แห่ ง นี้ โ ดยเปรีย บกั บ ร่า งกายมนุ ษ ย์ ว่ า พื้ น ที่ “การท� า งานของ สสส. คื อ ทุ ก ส่ ว นของ

ช่ ว ยควบคุ ม ปริม าณแสงและลดความร้อ นที่

ร่า งกาย แต่ เรามองว่ า พื้ น ที่ ต รงนี้ คื อ ใจ ซึ่ ง

ป รั บ เป ลี่ ย น ต า ม ทิ ศ ท า ง ข อ ง พ ร ะ อ า ทิ ต ย์

เริ่ม ต้ น การสั่ ง งานอย่ า งมี เหตุ ผ ล แต่ ห ากเริ่ม

เข้ า สู่ ตั ว อาคาร โดยฟิ น จะท� า งานอั ต โนมั ติ

ส�าคัญมาก เรามองว่า หากเป็นสมอง ก็อาจจะ

และเรายั ง ใช้ ก ระจกสองชั้ น หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า

ที่ใจจะเป็นการท�างานที่เริม ่ จากแพสชัน สสส.

รังสีความร้อน ช่วยป้องกันรังสียูวี และยังช่วย

แต่ สิ่งที่เราท�าเพราะเป็นภารกิ จที่เราอยากท�า

LOW-E (Low Emission) กระจกที่เคลือบกัน ลดปริมาณความร้อนเข้าสู่ตัวอาคาร” Great Idea for the Rooftop

ระหว่างที่เราเดินขึ้นบันได ผอ. อุ๋ม ได้ชี้

ก็ เช่ น กั น เราไม่ ไ ด้ ท� า งานเพี ย งแค่ ร ั บ ค� า สั่ ง อย่ า งที่ ผู้ สู ง อายุ ท่ า นหนึ่ ง ได้ บ อกกั บ เราว่ า

ที่ นี่ เป็ น สั ป ป า ย ะ คื อ สิ่ ง ที่ ส บ า ย แ ล ะ เป็ น ความสุข”

ให้ เราดู ด้ า นบนสุ ด ของอาคาร ตรงนั้ น ก็ คื อ

ISSUE 615

04 NOV 2019

25


BULLETIN BOARD

อัพเดตแวดวง ข่าวสังคม ที่น่าสนใจ ในรอบสัปดาห์

TALK OF THE TOWN

The Mall Legendary J-Fest ผ่านไปเรียบร้อยแล้วส�าหรับงานฉลอง ครบรอบ 20 ปี อย่ า งยิ่ ง ใหญ่ The Mall Legendary J-Fest ทีท ่ างเดอะมอลล์ ช้อปปิ้ ง เซ็ น เตอร์ ร่ว มกั บ บริษั ท ไทยประกั น ชี วิ ต จ�ากัด (มหาชน) และ M Card ร่วมกันรวบรวม สุ ด ยอด 20 เมนู อ าหารเจร้า นดั ง ระดั บ ต� า นานจากย่ า นดั ง ทั่ ว กรุ ง และรัง สรรค์ เมนูเจสุดพิเศษ พร้อมจัดกิจกรรมไหว้พระ เสริม สิ ร ิม งคลกั บ อ. คฑา ชิ น บั ญ ชร ชวน รวมพลังบุญครัง้ ยิ่งใหญ่กับการไถ่ชีวิตโคกระบือกว่า 100 ชีวิต สร้างความปลื้มปีติ ให้ กั บ ผู้ ที่ ม าร่ ว มงาน ณ แกรนด์ ฮ อลล์ เดอะมอลล์ บางกะปิ, เดอะมอลล์ ท่าพระ, เดอะมอลล์ บางแค และเดอะมอลล์ โคราช กันอย่างอิ่มบุญสุขใจกันอย่างทั่วหน้า

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

บ ริ ด จ ส โ ต น จั บ มื อ ที ม วิ จั ย ่ น ญีป ุ ่ พัฒนาระบบชาร์จไร้สาย ที่ ใ ช้ ง า น ไ ด้ จ ริ ง ใ น ร ถ ย น ต์ พลังไฟฟ ้า (EVs)

OnePlus เปิดตัวสมาร์ตโฟน รุ่นใหม่ล่าสุด OnePlus 7T Series

‘Living House’ Co-Living & Eati ng S pace ชั้ น 7 ห้างสรรพสินค้าเซน

Genie Fest 2020 ตอน Rock Mountain

บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย วิ ท ย า ก า ร วิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยโตเกียว โดยห้องปฏิบัติการ Fujimoto ร่วมกับ บริษัท NSK Ltd. และบริษัท บริดจสโตน คอร์ปอเรชัน ่ ประกาศขยายการศึกษา วิจย ั ร่วมและโครงการพัฒนาสิง่ ประดิษฐ์ ในอนาคต ภายใต้ การน� าวิจัยตั้งแต่ ปี ที่ ผ่ า นมาโดยองค์ ก ารวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ป ระเทศญี่ ปุ่ น (JST), NSK และบริด จสโตน คอร์ป อเรชั่ น นอกจากนี้ ยั ง ขยายความร่ว มมื อ ถึ ง ข้ อ ตกลงใหม่ ในการจั ด การสิ ท ธิบั ต ร ขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นผลมาจากโครงการ และความมุง่ มัน ่ ะพัฒนาระบบชาร์จ ่ ทีจ ไร้สายที่ใช้งานได้จริงส�าหรับมอเตอร์ ในล้ อ ซึ่ ง ติ ด ตั้ ง ในรถยนต์ พ ลั ง ไฟฟ้ า (EVs)

OnePlus 7T สมาร์ตโฟนซูเปอร์ แฟล็กชิปรุน ่ ใหม่ล่าสุด โดย OnePlus 7T Series ทีต ่ อบโจทย์การใช้งานในทุก ไลฟ์สไตล์ไม่มส ี ะดุด ด้วยการออกแบบ หน้าจอสุดล�าทีม ่ าพร้อมกับค่ารีเฟรชเรต 90 Hz พร้อมมอบประสบการณ์ใช้งาน ที่ ดี ที่ สุ ด ด้ ว ยการผสมผสานระหว่ า ง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่อัดแน่นด้วย เทคโนโลยี อั น ทรงพลั ง โดยเปิ ด ตั ว ด้วยกัน 3 รุน ่ คือ OnePlus 7T, OnePlus 7T Pro และรุ น ่ พิเศษสุดเอ็ กซ์คลูซีฟ OnePlus 7T Pro McLaren Limited Edition สัง่ ซือ ้ ออนไลน์ได้ที่ AIS Online Store, JD Central และ Lazada หรือ เอไอเอส ช็อป 33 สาขาที่รว่ มรายการ

ห้างสรรพสินค้าเซน สร้างความฮือฮาอีกครัง้ ด้วยการพลิกโฉมแผนก โฮมคอนเซ็ปต์ใหม่ ภายใต้ชื่อ ‘Living House’ Co-Living & Eating Space ทีช ่ น ั้ 7 บนพืน ้ ทีก ่ ว่า 5,000 ตารางเมตร ทีจ ่ ะเปลีย ่ นประสบการณ์ชอ ้ ปปิ้ งให้สนุก พร้อ มเติ ม เต็ ม ความสุ ข เสมื อ นบ้ า น หลังทีส ่ อง พบกับกิจกรรมสุดพิเศษให้ได้ ร่วมสนุกมากมาย ลุ้นรับ Leica Sofort 3 ร า ง วั ล และ คู ป อง เงิ น สด มู ล ค่ า 1,000 บาท จาก Living House จ�านวน 50 รางวัล เพียงรับประทานอาหารที่ Living House ครบ 1,000 บาท ตั้งแต่ วันนี้ถึง 30 พฤศจิกายน 2562

Chang Music Connection presents เทศกาลดนตรี Genie Fest 2020 : Rock Mountain ครัง้ แรกของ เทศกาลดนตรีรอ ็ กฤดูหนาวของค่ าย genie records ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ซึ่งจัดงานที่เขาค้อ ด้วยความโดดเด่น ของสถานที่ จั ด งานที่ เป็ น อั ฒ จั น ทร์ ธรรมชาติ โอบล้อมด้วยขุนเขา เรียกว่า มาสนุกสุดมันกับดนตรีรอ ็ กท่ามกลาง อากาศหนาวที่ เ ย็ น เอาเรื่อ งกั น อย่ า ง เต็ ม ที่ งานนี้ จั ด ขึ้ น ในวั น อาทิ ต ย์ ที่ 9 กุ ม ภาพั น ธ์ 2563 ที่ Jolly Land เขาค้ อ จ.เพชรบู ร ณ์ ตั้ ง แต่ เที่ ย งวั น ยันตีสอง ซือ ้ บัตรได้ทไี่ ทยทิกเก็ตเมเจอร์ ทุกสาขา และ http://Ticket.geniefest.com

26



เรือ ่ ง : สีตลา ชาญวิเศษ

BREATHE IN ภาพ : อุษา นพประเสริฐ

ซ้อมเป็นหัวหน้า​ทักษะอะไรบ้าง ที่ช่วยให้เลื่อนขั้นเป็นหัวหน้าได้ไว CONTRIBUTOR

สีตลา​ชาญวิเศษ นักเขียน คนท�ำงำน ด้ำนวำงแผนคอนเทนต์ นักบรรยำย ด้ำนกำรตลำด สร้ำงสรรค์และ กำรเล่ำเรือ ่ ง

​หลายคนมักคิดว่าการเลื่อนขั้นเป็นหัวหน้าเป็นเรื่องของจ�านวนปีที่คุณท�างาน​ เช่น​ ถ้าท�างานสักสองปีก็น่าจะถึงจุดที่ได้ปรับต�าแหน่ง​ แต่อีกมุมหนึ่ง​เชื่อว่าคงมีหลายคนที่เคยอกหักเพราะคิดแบบนี้มาบ้างแล้ว​คือเคยคิดว่าจะได้ปรับ​แต่สุดท้ายไม่ได้ปรับ ถ้ า จะวิ เ คราะห์ ป ั ญ หานี้ อาจต้ อ งมาดู กั น ว่ า การท� า งานที่ ผ่ า นมาเป็ น การท� า งานแบบไหน หนึ่ ง แบบที่คุณเก่งงาน หรือสอง แบบที่คุณเก่งเพื่ อเป็ น หั ว หน้ า เพราะหลายคนมักเข้าใจว่าถ้าท�างานจนเก่ง เช่ น ท� า งานจนคล่ อ ง ไม่ มี ป ัญ หา ก็ ต้ อ งได้ เ ลื่อ นขั้น เป็นหัวหน้าอย่างแน่นอน แต่ความเป็นจริง การก้าวไป เป็นหัวหน้าไม่ได้เกิดจากการเก่งงานเท่านัน ้ แต่เกิดจาก การโชว์ทักษะหัวหน้าออกมาล่วงหน้าต่างหาก ​ยกตัวอย่างเช่น​เวลาจะปรับให้ใครเป็นหัวหน้า​ เราจะประเมิ น ก่ อ นว่ า เขามี คุ ณ สมบั ติ ข องหั ว หน้ า หรือเปล่า​บางทีเราสนใจเรือ ่ งคุณสมบัติของหัวหน้า มากกว่าการท�างานเก่งเสียอีก​พูดอีกอย่างคือการเลื่อนขั้นเป็นหัวหน้าเป็นเรือ ่ งทักษะการเป็นหัวหน้า มากกว่าความสามารถด้านการท�างาน​ฉะนัน ้ ​ใครก็ตาม ทีอ ่ ยากเป็นหัวหน้า​แต่ยงั สาละวนกับการท�างานให้เก่ง ลูกเดียว​โดยไม่คด ิ เติมหรือโชว์ทก ั ษะความเป็นหัวหน้า​ ก็มโี อกาสทีค ่ ณ ุ จะได้ปรับต�าแหน่งเหมือนกัน​แต่อาจ จะช้ า หน่ อย​หรือ ไม่ ก็ คื อ ได้ ป รับ ต� า แหน่ ง ทางสาย ช�านาญการ​แต่ไม่ใช่สายบริหาร ​ทน ี ล ี้ องมาดูกน ั ว่ามีทก ั ษะหรือคุณสมบัตอ ิ ะไรบ้าง ที่ท�าแล้วมีสิทธิจ ์ ะเข้าตากรรมการ ​1.​คิดภาพใหญ่ ​หว ั หน้าไม่เหมือนลูกน้องอยูอ ่ ย่างหนึ่ง​คือต้อง คิด ภ า พ ให ญ่​ กล่าวคือหัวหน้าไม่ได้คิดแค่งานของ ลูกน้ องคนเดียว​แต่ต้องคิดเผื่อลูกน้องคนอื่นๆ​และ ต้องคิดเชือ ่ มโยงว่างานของลูกน้องแต่ละคนจะไปต่อ กับของอีกคนอย่างไร​หรือมีอะไรบ้างทีต ่ อ ้ งเติมเข้าไป ในงานของลูกน้องเพื่อให้สมบูรณ์ขึ้น ​ดงั นัน ้ ​ถ้าอยากโดดเด่นเข้าตากรรมการ​สิง่ หนึง่ ที่ต้องฝึกท�าบ่อยๆ​คือพยายามไม่มองแค่งานตัวเอง​ แต่พยายามมองมุมทีส ่ งู ขึน ้ ว่างานทีค ่ ณ ุ ได้รบ ั มอบหมาย เป็นส่วนหนึ่ งของแผนการรวมอย่างไร​เพราะการมองเห็ น ภาพรวมออกจะช่ ว ยให้ คุ ณ ท� า งานเกิ น ความคาดหวังของหัวหน้า​ท�าให้คณ ุ รูจ ้ ักอุดรูอุดช่อง ที่หัวหน้าต้องคอยตามอุด ​เช่ น ​คุ ณ ได้ ร ับ มอบหมายให้ ท� า พรีเซนเทชั น ส่งลูกค้า​แต่คณ ุ ประเมินแล้วว่าถ้าเพิม ่ ข้อมูลบางส่วน เข้าไปอีกหน่อยจะช่วยโน้มน้าวลูกค้าได้ดีขึ้น​คุณจึง

ขออนุญาตหัวหน้าใส่หน้าสไลด์เพิม ่ ​ปรากฏว่าสไลด์ นั้นประสบความส�าเร็จ​ลูกค้าเข้าใจสิ่งที่คุณน�าเสนอ และตัดสินใจเลือกบริษัทคุณทันที​ว่าง่ายๆ​คือคุณคิด ในมุมของหัวหน้า​ไม่ได้คด ิ แบบลูกน้องทีท ่ า� ตามค�าสัง่ เท่านัน ุ มองไกลกว่านัน ่ ท้จริงก็ไม่ใช่ ้ ​แต่คณ ้ ​และงานทีแ แค่งานท�าพรีเซนเทชัน​แต่เป็นการขายงานลูกค้าให้ผา่ น ต่างหาก​ถ้าพูดอีกอย่างคือ​คุณแอบขโมยงานหัวหน้า มาท�านั่นเอง ​2.​สื่อสารได้ดี ​เ ป็ น เรื่ อ ง น่ า เสี ย ดายที่ ค นเก่ ง ๆ​ หลายคน พลาดโอกาสเป็นหัวหน้าเพียงเพราะขาดทักษะด้าน การสื่อสาร​เพราะอย่าลื มว่าหัวหน้ าต้ องสั่งงานได้​ หัวหน้ า ต้ อ งสอนงานลูกน้ องได้ ​ หัวหน้ าต้ องเจรจา ระหว่างแผนกได้​หัวหน้าต้องรายงานให้เจ้าของบริษัท ได้​ซึง่ ทัง้ หมดล้วนแต่เป็นเรือ ่ งการสือ ่ สารทัง้ นัน ้ ​ดังนัน ้ ​ ถ้าคุณเป็นคนสื่อสารไม่เก่งหรือไม่ชอบการสื่อสาร​ แบบนี้อาจเรียกว่าล�าบาก ​ท ว่ า ก า ร สื่ อสารได้ ดี ใ นที่ นี้ ​ ไม่ ไ ด้ แ ปลว่ า​ ‘พูดเก่ง’​แต่ต้องเรียกว่า​‘พูดเป็น’​ถึงจะถูก​กล่าวคือ สื่อส า ร เพื่ อให้ภาพรวมออกมาดี​ ฉะนั้น​ ทักษะข้อนี้ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ แบบโดดๆ​ แต่ สั ม พั น ธ์ กั บ ทั ก ษะการคิ ด ภาพใหญ่​กล่าวคือถ้าคุณมองภาพใหญ่ออก​คุณก็จะ รู ว ้ ่ า คุ ณ ต้ องสื่ อ สารอะไรเพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลลั พ ธ์ตามที่ ต้องการ ​เช่น ​หน้าที่หนึ่งของคนเป็นหัวหน้า​คือสื่อสาร เพือ ่ สัง่ งานและสอนให้ลก ู น้องท�างานได้อย่างทีต ่ ว ั เอง ต้ อ งการ​สื่ อ สารให้ ลู ก น้ อ งเอางานตั ว เองออกมา ประกอบกันได้อย่างลงตัว ​ทน ี ​ี้ ถ้าคุณเป็นลูกน้องทีอ ่ ยากโชว์ทก ั ษะหัวหน้า​ คุณก็จะรูแ ้ ล้วว่าคุณต้องสือ ่ สารอะไรบ้างเพือ ่ ลดภาระ หัวหน้ าหรือช่วยงานทีม​เช่น​คุณคอยสื่อสารกับคน ในทีมเพื่อให้ม่ันใจว่าเวลาเอางานมาประกอบกันจะ ราบรืน ่ ​โดยทีห ่ ว ั หน้าไม่ต้องคอยมาบอก​หรือพองาน ทีค ่ ณ ุ ท�ามีปญ ั หา​คุณก็รบ ี รายงานหัวหน้า​โดยไม่ตอ ้ ง ร อให้ หั ว หน้าเป็นคนคอยมาถาม​ หัวหน้าก็จะอุ่นใจ และวางแผนรับมือได้ถก ู ​เพราะคุณคอยบอกเขาเสมอ​ แบบนี้เรียกว่าการโชว์ทักษะสื่อสาร​ไม่ใช่สื่อสารไป อย่างนั้น​แต่สื่อสารเพื่อให้ภาพรวมออกมาดี

​3.​ริเริม ่ สิ่งใหม่ด้วยตัวเอง ​อี ก ทั ก ษ ะหนึ่ ง ที่ ส� า คั ญ คื อ การริเริ่ม สิ่ ง ใหม่​ ซึง่ ข้อนีก ้ น ิ ความรวมทัง้ ความเป็นผูน ้ า � ​ความกล้าเสีย ่ ง​ ความกล้าตัดสินใจ​และความสามารถในการแก้ปญ ั หา ทีซ ่ บ ั ซ้อน​นั่นเพราะการเป็นหัวหน้าต้องคอยคิดแทน คนอืน ่ ​คอยคิดแผนหนึง่ แผนสองให้ลก ู น้อง​ต้องรับผิด และรับชอบทั้งทีม​และบ่อยครัง้ งานหัวหน้ามักไม่มี คนมาบอกว่าหนึง่ สองสามสีต ่ อ ้ งท�าอะไร​ทว่ากลับกัน​ คื อหั ว ห น้ านี่ แหละเป็นคนคอยบอกหนึ่ งสองสามสี่ ให้ลูกน้องท�าต่างหาก ​ฉ ะนั้ น ​คนเป็ น หั ว หน้ า จึ ง ต้ อ งรู ้จั ก ริเริ่ม ​เช่ น​ ริเริ่ม ที่ จ ะสร้า งรู ป แบบการท� า งานเพื่ อ ให้ ลู ก น้ อ ง ่ ย​ริเริม ี ก้ปญ ั หาเฉพาะหน้า​ริเริม ท�าตามได้งา ่ หาวิธแ ่ ทีจ ่ ะอุดรอยรัว่ ทีท ่ ม ี ยังขาดอยู​่ เช่น​สอนทักษะทีล ่ ก ู น้อง ยังขาด​และแน่นอนคือต้องกล้าเสีย ่ ง​กล้าลุยไปข้างหน้า​ กล้าตัดสินใจ​บางอย่างก็ไม่มใี ครมาบอกได้วา ่ มันจะ ออกมาดีหรือไม่ดี​แต่หว ั หน้าต้องกล้าท�าก่อน​เพราะ ถ้าหัวหน้าไม่กล้าท�า​งานก็ไม่เดิน​ลูกน้องก็เคว้ง ​ในท� า นองเดี ย วกั น ​ถ้ า อยากก้ า วขึ้ น ไปเป็ น หัวหน้า ​ก็ ต้องรูจ ้ ักริเริม ่ หาทางออกให้หัวหน้า​ไม่ใช่ รอให้หัวหน้าบอกหนึ่งสองสามสี​่ แต่สามารถชิงบอก หั วหน้ า ได้ ว่า​คุณ คิ ดว่าคุณ ควรท�า หนึ่ งสองสามสี่ อะไรบ้าง​แล้วให้หว ั หน้าช่วยตัดสินใจอีกที​หรือถ้างาน มีปัญหา​คุ ณ ไม่ไ ด้ มารายงานแค่ ว่ามีปัญหาอะไร เกิดขึน ้ ​แต่คณ ุ ริเริม ั หน้า ่ บอกทางออกเป็นตัวเลือกให้หว ช่วยเลื อกกั บคุณ​ซึ่งนอกจากหัวหน้ าจะเบางานลง​ หัวหน้าก็จะเห็นทักษะการแก้ปญ ั หา​การมองภาพรวม​ และการสื่อสารของคุณอีกด้วย ​ ี่ คือสามทักษะส�าคั ญๆ​ที่เราคั ดมาบอกคุณ น ผูอ ้ า ่ น​โดยจะเห็นได้วา ่ มันไม่เกีย ่ วกับอายุหรือจ�านวน ปี ที่ ท� า งานเลย​ ยิ่ ง ปั จ จุ บั น เราได้ เห็ น คนอายุ น้ อ ย หลายๆ​คนก้าวขึน ้ มาเป็นหัวหน้า​ซึง่ ส่วนใหญ่ลว ้ นแต่ มีคณ ุ สมบัตห ิ รือทักษะเหล่านี้กน ั ทัง้ นัน ​ดั ง นั น ​ส� ้ ้ าหรับ ใครที่อยากเติบโตในการท�างานได้เร็ว​ก็ลองพัฒนา สามเรือ ่ งนีข ้ องตัวเองดู​คุณอาจจะปรับต�าแหน่งได้เร็ว กว่าที่คิดไว้ก็เป็นได้​ขอให้โชคดี

28


เรือ ่ ง : พชร สูงเด่น

BREATHE IN ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

่ จ็กหม่าท�านายไว้วา่ มนุษย์จะท�างาน ในอนาคตทีแ ่ งจักรกล น้อยลงเพียง 12 ชัว ่ โมงต่อสัปดาห์ เพราะเครือ จะท� า หน้ า ที่ แ ทนเรา เวลาที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ไม่ ไ ด้ ท� า ให้ ม นุ ษ ย์ ผ่อนคลายลง แต่ตึงเครียดมากขึ้นกับการวิ่งวนหา ความหมายของตัวตน ​ในอนาคตเช่นนัน ้ ​อเล็กซานดรามองว่าสิง่ ส�าคัญ ที่ แท้ จ ริง คื อ การกลั บ มามองข้ า งใน​ ฟั ง เสี ย งหั ว ใจ ตัวเองว่าต้องการอะไร​เห็นอกเห็นใจตนเอง​และเห็น แก่ผอ ู้ ื่นไปพร้อมๆ​กัน เ​ธอเล่าเรือ ่ งชายสองคนทีม ่ อ ี ท ิ ธิพลต่อความคิด และการใช้ชว ี ต ิ ​ซึง่ ความต่างระหว่างชายสองคนนี้คอ ื คุณค่าทีแ ่ ต่ละคนนิยามค�าว่าส�าเร็จ ​ชายคนแรกเป็น​‘พนักงาน’​ทีเ่ ธอเป็นพีเ่ ลี้ยงให้ ในบริษท ั แห่งหนึง่ สมัยท�างานในยุโรป​ชายหนุม ่ หน้าตาดี​ ไฟแรง​จบจากมหาวิทยาลัยชั้นน�า​ใครๆ​ต่างมั่นใจ ในตัวเขา​และก็นา ่ จะพอๆ​กันกับทีเ่ ขาก็มน ั่ ใจในตัวเอง กั บ การไต่ บั น ไดอาชี พ ขึ้ น ทุ ก วั น ​จนกระทั่ ง วั น หนึ่ ง​ วันทีเ่ ขาถูกปฏิเสธจากงานในฝัน​บริษัทใหญ่ทเี่ ขามอง ว่าเป็นหลั กไมล์ ในสายอาชีพ​ความส�าเร็จที่ผ่านมา ดูจะไม่มค ี า่ อะไรเมือ ่ เทียบกับความผิดพลาดก้าวเดียวนี้​ ค วามผิดพลาดทีเ่ ขาไม่เคยเจอ​ ไม่รูจ ้ ะจัดการกับมัน อย่างไร​จนตัดสินใจปลิดชีพตนเอง ​ชายคนทีส ่ องมีชอ ื่ ว่า​‘Chimmi’​บุตรบุญธรรม ของเธอเอง​ชิมมีเ่ กิดบนเทือกเขาสูงในเนปาล​ในช่วงแรก ทีเ่ ขาและเธอพบกัน​ เขาพูดภาษาอังกฤษไม่ได้สก ั ค�า​ ทุกอย่างล้วนเป็นเรือ ่ งใหม่เสียหมด​ไม่วา่ จะเป็นการใช้ ตู้เย็น​หั่ นขนมปัง​หรือการกอดทักทายกั น​แม้ชิมมี่ จะขี้ อ ายในช่ ว งแรกซึ่ ง ไม่ แปลกอะไรกั บ การต้ อ ง ปรับตัวในสภาพแวดล้อมใหม่​แต่ความขีอ ้ ายของเขา​ ไม่ได้หมายถึงความไม่เชื่อมั่นในตนเอง​ตามที่ผู้คน มักจะเหมารวมความขี้อายไว้เช่นนั้น ​ในความพูดน้อยของชิมมี​่ อเล็กซานดราเล่าว่า มีความอ่อนโยน​นอบน้อม​ความพร้อมทีจ ่ ะเรียนรูแ ้ ละ ทดลองซ่อนอยู่​แม้จะท�าไม่ได้ในช่วงแรก​แต่ชิมมี่จะ ลองท�า​ไม่หว ั เสียเมือ ่ พลาด​ไม่วา ่ จะขับรถ​เรียนภาษา​ ลองไปพลาดไปอยู่ อ ย่ า งนั้ น จนถึ ง วั น ที่ เขาส� า เร็จ การศึกษาจากฟินแลนด์​และเมื่ออเล็กซานดรามอบ

issue 615

04 NOV 2019

เงินรางวัลเป็นของขวัญเรียนจบ​เขาก็ได้นา � เงินก้อนนัน ้ ไปซ่อมแซมบ้านพ่อแม่ทเี่ นปาลซึง่ ได้รบ ั ความเสียหาย จากแผ่นดินไหวครัง้ ใหญ่ในปี​2015 ​ชิมมีไ่ ม่ได้อ่อนโยนและใจดีกับผูค ้ นรอบตัวเขา เท่านัน ั ตัวเองตลอดเวลา ้ ​แต่เขายังอ่อนโยนและใจดีกบ ทีต ่ ้องปรับตัวในสภาพแวดล้อมใหม่ๆ​ด้วย​จนกระทัง่ วันนี้ทเี่ ขาปรับตัวและเติบโตได้อย่างงดงาม​ชิมมีก ่ ย ็ งั อ่อนน้อมและมองว่าทุกๆ​ วันล้วนเป็นของขวัญเมื่อ มองย้อนกลับไปยังจุดเริม ่ ต้นทีเ่ ขาเติบโตมา ​อเล็กซานดราเล่าว่าชีวต ิ ของชายหนุม ่ สองคนนี้​ ได้สอนบทเรียนส�าคัญ​ไม่ใช่จะท�าอย่างไรถึงจะส�าเร็จ ในชีวต ิ ​แต่จะท�าอย่างไรถึงจะมีความสุขระหว่างทาง ทีก ่ ้าวเดิน​ ในขณะทีก ่ ญ ุ แจสูเ่ ส้นทางแรกนั้นอาจเป็น​ ‘ความมัน ิ ่ ใจในตัวเอง’​(self-esteem)​อย่างทีเ่ ราได้ยน กันมานาน​กุญแจสูว ่ ถ ิ ช ี ว ี ต ิ ทีม ่ ค ี วามสุขและความหมาย อาจต่างกันไปเป็น​‘ความเห็นอกเห็นใจ’​(self-empathy/ self-compassion)​ต่อตนเอง​ความสามารถในการอ่อนโยนกับตนเองได้ในวันทีอ ่ ะไรอาจไม่เป็นไปตามหวัง​ แต่ยงั ประคับประคองให้ตว ั เองเดินต่อไปได้แม้หนทาง จะยากเพียงใด ​คาร์ล​โรเจอร์ส​นักจิตวิทยาชาวอเมริกน ั ​ผูท ้ ท ี่ า� ให้ แนวคิด​ ‘self-esteem’​ แพร่หลายในศตวรรษที​่ 20​ โดยแนวคิ ด นี้ มี จุ ด ประสงค์ แรกเริ่ม เพื่ อ น� า ไปใช้ ใน การพัฒนาเด็กให้มีความเชื่อมั่นในตนเองในการท�า สิง่ ต่างๆ​ให้สา � เร็จลุล่วงไปได้ ​‘ความมัน ่ ใจในตนเอง’​ทีเ่ ราต่างถูกพร�าสอนว่า เป็ น คุ ณ สมบั ติ ที่ ดี ​เป็ น สิ่ ง ที่ ต้ อ งบ่ ม เพาะให้ เ ป็ น ส่วนหนึ่ งของตั วตน​ จนกระทั่งมีงานวิจัยหนึ่ งที่ต้ั ง ค�าถามว่า​‘ความมัน ่ ใจในตนเอง​ส่งผลต่อการท�างาน ทีด ่ ข ี น ึ้ ​ความสัมพันธ์ทด ี่ ​ี ความสุข​และวิถช ี วี ต ิ ทีม ่ ค ี ณ ุ ภาพ​ จริงหรือ?’​ งานวิจัยชิ้นใหญ่ที่เป็นความร่วมมือจาก อาจารย์หลายมหาวิทยาลัยในอเมริกา​ซึง่ ท�าการศึกษา​ เก็บสถิติจากหลายข้อมูล​ได้ออกมาเปิดเผยค�าตอบ ต่อค�าถามวิจย ั ครัง้ นีว ้ า่ ​ความเชือ ่ มัน � ่ ในตนเองไม่ได้นา ไปสูช ่ ว ี ต ิ ทีม ่ ค ี วามสุขอย่างทีใ่ ครว่าไว้ ​‘ความมั่นใจในตนเอง’​ ในค�าก็บอกอยู่แล้วว่า ความสนใจนัน ่ ต ี่ นเองและมักเป็นเรือ ่ งอัตวิสย ั ​ ้ วางอยูท

(subjective)​ขึน ้ อยูก ่ บ ั มุมมอง​(perception)​ของผูม ้ อง​ มากกว่าจะเป็นความจริง​(reality)​ซึง่ นัน ่ หมายความว่า จะเชือ ่ มัน ่ ว่าตัวเองนัน ้ เก่ง​เพียบพร้อม​หรือมองว่าตนเอง นั้นแย่​ก็สด ุ แล้วแต่มม ุ ทีใ่ ครคนหนึ่งจะมอง​–​ไม่วา ่ จะ มองตนเองหรือถูกผูอ ้ ื่นมองมา ​ความสนใจทีว่ างไว้กบ ั ตนเอง​ทีข ่ น ึ้ อยูก ่ บ ั มุมมอง อั ต วิ สั ย ท� า ให้ ร ะดั บ ความมั่ น ใจในตนเองมั ก ขึ้ น ลง ผันผวนตามสถานการณ์ภายนอก​ถ้าหากชนะ​ส�าเร็จ​ ได้มา​ถูกรัก​ความเชือ ่ มัน ู ะพุง่ ทะยาน​แต่หากเป็น ่ นัน ้ ก็ดจ ด้านตรงข้าม​เจ้าความเชือ ่ มัน ู ะฝ่อห่อเหีย ่ วไป ่ ก็ดจ ​งานวิจย ั ชิน ้ สดงให้เห็นว่าความเชือ ่ มัน ้ นีแ ่ ในตนเอง ไม่ได้น�ามาสูค ่ วามสุข​และไม่ได้เป็นหนทางสูช ่ ว ี ต ิ ทีด ่ ี ได้ด้วยตัวมันเอง​แล้วถ้าไม่ใช่ความมั่นใจในตนเอง​ คุณลักษณะทีเ่ ราควรบ่มเพาะให้เติบโตคืออะไร ​เรือ ่ งราวของผูช ้ ายทัง้ สองทีอ ่ เล็กซานดราเล่าไว้​ ท�าให้เห็นความต่างระหว่างชายทัง้ สองคน​ คนแรกมี ความมัน ้ ฐานชีวต ิ ทีด ่ ​ี และการท�า ่ ใจในตนเอง​ทัง้ จากพืน ส�าเร็จมาโดยตลอด​แต่เป็นส�าเร็จในมุมมองทีถ ่ ก ู ตัดสิน โดยประสบการณ์ภายนอก​ คือหากชนะหรือส�าเร็จ​ ได้มาก็เริงร่า​หากแพ้หรือพลาดก็รว่ งหล่น ​ตรงกันข้ามกับ​‘ชิมมี’่ ​ทีค ่ วามพึงพอใจของเขา ดูจะไม่ขน ึ้ อยูก ่ บ ั สิง่ เร้าภายนอก​อย่างทีเ่ ธอได้ตง้ั ข้อสังเกต ไว้วา ่ ​มันคือความถ่อมตนในทุกสิง่ ทีไ่ ด้รบ ั ในชีวต ิ ​และ ความกระหายทีจ ่ ะเรียนรู​้ ในการพัฒนาตัวเองให้ดข ี น ึ้ ในทุกๆ​วันต่างหาก​คือสิง่ ทีผ ่ ลักดันเขา ​“การมีความทะเยอทะยานเป็นสิง่ ทีด ่ ใี นช่วงเริม ่ ต้น​ แต่สงิ่ ทีส ่ า� คัญยิง่ กว่าก็คอ ื มีความสุขในสิง่ ทีท ่ า� ​มีความสุข เมือ ่ ประสบความส�าเร็จ​และมีความอ่อนน้อมอยูเ่ สมอ​ พร้อมทั้งแบ่งปันประสบการณ์ ระหว่างทางให้ผู้อื่น​ ไม่เพียงแค่ถงึ เป้าหมายแล้วจบ​ก่อนทีเ่ ราจะเริมออกเดิ นทาง​ ่ ขอให้ใช้เวลาสักนิดฟังเสียงหัวใจตัวเอง​มันก�าลังบอก อะไรกับคุณ​และคุณต้องการมันจริงหรือเปล่า” ​ส ปีชที่เริม ่ ต้นด้วยค�าถามและปิดด้วยค�าถาม​ ทีค ่ า� ตอบอาจซ่อนอยูใ่ นเรือ ่ งเล่าของชายทัง้ สอง​–​หรือ ค�าตอบอาจซ่อนอยูล ่ ก ึ กว่านัน ้ ​ในเสียงข้างในตัวเรา​ทีร่ อคอย ให้เราเงีย ่ หูฟงั ตลอดเวลา​ว่าแท้จริงแล้วเราทะยานอยาก มากมาย​เพือ ่ เราเองหรือการตัดสินของใคร​ 29

Self-Empathy​ is​the​New​Self-Esteem

่ ระสบความส�าเร็จมากขนาดนัน “​ คนทีป ิ เพราะพลาดพลัง ้ ​มองว่าตนเองล้มเหลวจนเลือกจบชีวต ้ ครัง ้ เดียวได้อย่างไรกัน” ​คา� ถามของ​อเล็กซานดรา​ไรช์​(Alexandra​Reich)​แม่ทพ ั ใหญ่แห่งดีแทค​ซีอโี อหญิงคนแรกและคนเดียวในวงการโทรคมนาคม ของไทยบนเวทีกล่าวเปิดงาน​‘ซูเปอร์โปรดักทีฟ’​ทอล์กโชว์ครั้งแรกของ​รวิศ​หาญอุตสาหะ​ด้วยการตั้งค�าถามว่า​เราจะโปรดักทีฟ ไปท�าไมกัน​ในวันที่มนุษย์ควรท�างานน้อยลง​กับสิ่งประดิษฐ์มากมายที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมา

CONTRIBUTOR

พชร​สูงเด่น​ นักศึกษำทุน Erasmus Mundus ด้ำนกำรศึกษำเพือ ่ กำรพัฒนำ เรียนรู้ นอกห้องเรียนด้วย กำรเดินทำงไปยัง เมืองต่ำงๆ ในยุโรป


เรือ ่ ง : วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ

EDITOR’S NOTE ภาพ : อุษา นพประเสริฐ

กองไฟ

​อย่าวิจารณ์​ อย่ากล่าวโทษ​และอย่าบ่นถึงคนอืน ่ หรือพฤติกรรมของคนอืน ่ ​แม้วา่ คุณจะไม่เห็นด้วยเลยก็ตาม​จงเก็บความคิดเห็น ของคุณไว้กบ ั ตัว​เหมือนกับเพลงของ​แฟรงก์​ซีนาตรา​“ถ้าคุณไม่รจ ู ้ ะพูดอะไรดีๆ​ก็ไม่ตอ ้ งพูดซะเลยดีกว่า​ผมว่านะ”​บทสนทนาของผูค ้ น ส่วนใหญ่มักจะมีแนวโน้มไปในทางลบ​พวกเขาบ่นเรือ ่ งสารพัดสารเพในชีวิต​กล่าวโทษคนอื่นหรือสถานการณ์รอบตัวที่ท�าให้ตัวเอง มีปัญหาต้องห่วงกังวล​วิพากษ์ วิจารณ์ คนรอบตัวที่ไม่คิดเห็นไปในทางเดียวกับเขา​พวกเขาจะค่ อยๆ​พัฒนาบุ คลิ กภาพด้ านลบ​ อย่าเข้าไปร่วมวง​ถ้าเห็นใครชอบพูดถึงแต่ด้านลบ​คุณก็ไม่ต้องเข้าไปร่วมขบวน​แค่รบ ั ฟังเงียบๆ​แล้วก็เดินจากไปตามทางของคุณ​ อย่าเอาพลังงานของคุณสูญเปล่าไปในกองไฟนั้น​

หมายเหตุ - บางส่วนจากหนังสือ ‘อยากคว้าแต้มใหญ่ ต้องเล็งให้ตรงกลางเป้า’ Bull’s Eye: The Power of Focus โดย Brian Tracy แปลโดย วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ สนพ. Move Publishing 30


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.