a day BULLETIN 621

Page 1

622 621 620

TODAY EXPRESS PRESENTS

16 DEC 2019

UNCLUTTER YOUR LIFE, UNCOVER YOUR HEART


CONTENTS 621

P8

SPECIAL REPORT day po e ts เ ปิ ด ตั ว LE A D E R S บ ริ ก ารแพลตฟอร์ ม อิ น ฟลู เ อนเซอร์ มาร์เกตติ้งระดับโลก

P10

THE CONVERSATION สิ่ ง ของในความทรงจ� า และความสัมพันธ์ของผูก ้ า� กับและสองนักแสดงน�า จ า กหนังเรื่อง ‘ฮาวทูทง ้ิ ...ทิง ้ อย่างไร ไม่ให้เหลือเธอ’

P19

MONEY LIFE BALANCE วิธค ี ด ิ นอกกรอบในแบบ เอ็ดเวิรด ์ เดอ โบโน

P22 โ จ ทย์แรกในการเลือกภาพหน้าปกส�าหรับภาพยนตร์เรื่อง ฮ า วทูท้ิง...ทิ้งอย่างไรไม่ให้เหลือเธอ คือต้องมองไปที่ภาพแล้ว รู้สึกว่า คนเหล่านี้คือทีมงานผู้อยู่เบื้องหน้าและเบื้องหลังของ เรื่องนี้ให้ชัดเจนมากที่สุด ท�า ให้การจัดวางต�าแหน่งโดยให้ผก ู้ า� กับหนังอย่าง ‘เต๋อ’ นวพล ธ�ารงรัตนฤทธิ์ ยืนอยู่ข้างหลัง ‘ออกแบบ’ - ชุติมณฑน์ ่ ง จึงเจริญสุขยิง ่ และ ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ นักแสดงหลักในเรือ ช่ว ยให้รู้สึกถึงความเป็นทีมงานผู้สร้างสรรค์ ที่อยู่ทั้งเบื้องหน้า ้ งหลังให้ออกมาเห็นภาพมากยิง ้ อีกทัง และเบือ ้ ยังช่วยตอกย�้า ่ ขึน ว่า เต๋อคือชายผู้คุมบังเหียนและก�าหนดทิศทางอยู่เบื้องหลัง ของหนังเรื่องนี้ในอีกนัยหนึ่ง สิ่ ง ส� า คั ญ คื อ การจั ด วางท่ า ทางของซั น นี่ แ ละออกแบบ ให้ จ้ อ งทะลุ ผ่ า นเลนส์ ก ล้ อ งตรงมายั ง นั ย น์ ต าของผู้ อ่ า น ิ ฯ เพื่อสื่อความหมายว่า แท้จริงผู้ถ่ายทอดเรื่องราวใน ฮาวทูท้ง คื อ นั ก แสดงหลั ก ทั้ ง สอง ที่ เ ป็ น ตั ว แทนเล่ า เรื่ อ งราวออกมา ผ่านการคุมอยู่เบื้องหลังของเต๋ออีกทอดหนึ่ง

FEATURE ส น ทนากั บ บุ ค คลหลากหลายอาชี พ ่ ายล้อมชีวต ถึงประเด็น ‘ความกลัว’ ทีร ิ ของพวกเขา

P28

A THOUSAND WORD ผลงานภาพถ่ายของ มิติ เรืองกฤตยา ที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็ว ของเมืองกรุง

P29

BREATHE IN Subtle Activism ปรับพลังงานในใจ ่ นความเป็นไปรอบตัว เปลีย

TEAM ที่ ปรึก ษา สุ ร พงษ์ เตรี ย มชาญชั ย บรรณาธิ ก ารที่ป รึ ก ษา นิ ภ า เผ่ า ศรี เ จริ ญ บรรณาธิ ก ารผู้ พิ ม พ์ โ ฆษณา/บรรณาธิ ก ารบริ ห าร วุ ฒิ ชัย กฤษณะประกรกิจ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัตก ิ ล ุ ชยพล ทองสวัสดิ์ กฤตนัย จงไกรจักร นักเขียน/ผูป ้ ระสานงาน ตนุภท ั ร โลหะพงศธร หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกต ิ ติบต ุ ร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล กวินนาฏ หัวเขา ่ รึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิรจ ทีป ิ รรยากุล ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุง ่ รัตนสิทธิกล ุ 08-4491-9241 ผูช ้ ว ่ ยผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจฬ ุ างกูล 08-1639-1929, พงศ์ธด ิ า อังศุวฒ ั นากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว นักศึกษาฝึกงาน ธนโชติ ทองรัก ปิ่นเพชร ภูจา่ พล ผูผ ้ ลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www. adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com

02 2



ไทยเบฟ เชื่ อ มั่ น ในการสร้ า งสรรค์ และแบ่ ง ปั น คุ ณ ค่ า จากการเติ บ โต จากจุ ด เริ่ ม ต้ น ภายใต้ ป ณิ ธ าน “คนไทยให้ กั น ได้ ” ก่ อ เกิ ด เป็ น โครงการ “ช้าง รวมใจต้านภัยหนาว” มานับตัง ่ ะเปลีย ่ นชือ ่ โครงการเป็ น “ไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว” พร้อมส่งต่อรอยยิม ้ แต่ปี พ.ศ. 2543 เป็ นต้นมา ก่อนทีจ ้ และความอบอุ่ น ให้ แ ก่ พี่ น้ อ งคนไทยที่ป ระสบภั ย หนาวในพื้ น ที่ภ าคเหนื อ และภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ มาอย่ า งต่ อ เนื่อ งตลอดระยะเวลา 20 ปี ด้วยความมุ่ ง หวั ง ให้ เ กิ ด พลั ง แห่ ง ความร่ ว มมื อ ของทุ ก ภาคส่ ว นเพื่ อ ร่ ว มกั น สร้ า งสั ง คมแห่ ง การให้ ที่ ยั่ ง ยื น

ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

4,0

10

00

10 ปี

,00

0ผ

ในทุกๆ ปี ผ้าห่มผืนเขียวจ�านวน 200,000 ผืน จะถูกส่งไปถึงมือ พี่ น้องในภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เพื่ อเป็ นสัญลักษณ์แห่งความห่วงใยที่ คนไทยมีให้กันเสมอมา ปั จจุบัน โครงการ “ไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว” ส่งมอบผ้าห่มรวมทั้งสิ้น 4,000,000 ผืน

ืน

,00

ผ้าห่มทุกผืนท�ามาจาก เยื่อโพลีเอสเตอร์ คุณภาพดี ไม่มีกลิ่นสี ให้สัมผัสที่นุ่ม หนาได้ น�้าหนักตามมาตรฐาน และมีอายุการใช้งาน ไม่ต่�ากว่า 10 ปี

0,0

00

ตาร

างเ

มต

โครงการ “ไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว” เริม ้ แต่ปี พ.ศ. 2543 ่ ต้นมอบผ้าห่มตัง ต่อเนือ ่ งมาจนถึงปีนี้ รวมระยะเวลา 20 ปีเต็ม เมือ ่ น�าผ้าห่มแต่ละผืนมา เรียงต่อกันเป็ นผ้าห่มผืนใหญ่ จะมีขนาดเทียบเท่าพื้ นที่ 10 ล้านตารางเมตร สามารถห่มคลุม ประเทศไทยได้ 19 ชั้น

C

M

Y

CM

เส้นทางแบ่งปันไออุน ่ โครงการ “ไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว” ตลอด 20 ปี รวม 45 จังหวัด

MY

CY

CMY

ที่มา : โครงการ ไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว, www.thaibev.com/blanket/index.php

เรือ ่ ง : ตนุภัทร โลหะพงศธร

DATABASE

BEYOND THE GREEN BLANKET: A SUSTAINABLE COMMUNITY OF GIVING

K

2 ประเทศ

โครงการ “ไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว” ยังได้ส่งมอบผ้าห่มไปช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยในต่างแดนถึง 2 ครั้งใน 2 ประเทศ ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 มอบผ้าห่ม 5,000 ผืน ให้ผป ู้ ระสบภัยสึนามิ ในประเทศญีป ุ ่ และครัง ่ น ่ องในปี พ.ศ. 2558 ้ ทีส มอบผ้าห่ม 20,000 ผืน แก่ผู้ประสบภัย แผ่นดินไหวในประเทศเนปาล

“ไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว” นับตั้งแต่ปีที่ 1 จนถึงปี ที่ 20 ของโครงการฯ ได้ส่งมอบผ้าห่ม ครอบคลุมพื้ นที่ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ส่งมอบครบ

4,000,000

45 574

จังหวัด

อ�าเภอ

ผืน

4,690 52,367 20

ต�าบล

หมู่บ้าน



IN CASE YOU MISSED IT

ผู้ ค นต่ า งออกมาอาบแดดและรับ แสงอาทิ ต ย์ บ นชายหาดริม ทะเลบอลติ ก ประเทศเยอรมนี ภาพ : REUTERS/FABIAN BIMMER

บรรยากาศการออกศี ล อดของชาวมุ ส ลิ ม ในเขตชานเมื อ งโกลกาตา ประเทศอิ น เดี ย ซึ่งเรียกว่า อีดิลฟิฏรี (EID-UL-FITR) ถือเป็นการสิ้นสุดเทศกาลถือศีลอดในเดือนรอมฎอน

ชาวบ้ า นในมณฑลเจี ยงซี ประเทศจี น ตรวจดูค วามเรีย บร้อยของไม้ไผ่ที่ค ลี่ ออกเป็นซี่ เพื่ อ ผึ่ ง แดดให้ แห้ ง ก่ อ นจะน� า ไปผลิ ต เป็ น ตะเกี ย บ

ภาพ : REUTERS/RUPAK DE CHOWDHURI

ภาพ : REUTERS/STRINGER

BIRD’S EYE VIEW:

THE ART OF AERIAL PHOTOGRAPHY

ม อ ง โ ล ก ใ บ เ ดิ ม ด้ ว ย มุ ม ใ ห ม่ ผ่ า น ภ า พ มุ ม สู ง ท า ง อ า ก า ศ ( A e r i a l P hoto g r a p h ) ที่ พ า ทุ ก ค น ไ ป สั ม ผั ส กั บ วิ ถี ชี วิ ต และความงามของทั ศ นี ย ภาพที่ ส ะท้ อ นถึ ง การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งไม่ ห ยุ ด นิ่ ง ของทุ ก ชี วิ ต บนโลกใบนี้

06


STAR WA RS

THE RISE OF FANBOY

‘ อ า ร์ ต ’ - อ ธิ ศ รุ จิ ร วั ฒ น์ กรรมการผู้จัด การ บริษัท เจเนอรัล คาร์ด เซอร์วิสเซส จ�ากัด หากวัดจาก บุคลิกภายนอก คงคิดไม่ถึงว่าคนคนนี้ คื อ แฟนตั ว ยงที่ จ� า บทภาพยนตร์ ข อง STAR WARS ไตรภาคแรกได้ แ บบ ค� า ต่ อ ค� า เขายั ง เป็ น ผู้ อ ยู่ เ บื้ อ งหลั ง การแปลซับไตเติลของ STAR WARS หลายๆ ตอนที่เข้าฉายในบ้านเรา และ กวาดของสะสมจากภาพยนตร์มาร่วม หมื่ น รายการ ทั้ ง ยั ง สามารถเอาชนะ แ ฟ น บ อ ย ช า ว ไ ท ย อี ก ห ล า ย ค น แ ล ะ ไ ด้ ต� า แ ห น่ ง สุ ด ย อ ด แ ฟ น พั น ธุ์ แ ท้ STAR WARS ในปี 2544 มาครอง เมื่ อ ภาพยนตร์ STAR WARS: Episode IX - The Rise of Skywalker กลั บ มาเข้ า โรงฉายให้ แ ฟนๆ ทั่ ว โลก ได้ชมพร้อมกัน เราจึงอยากชวนทุกคน มาค้นลึกถึงความเป็น Geek ที่แฝงอยู่ ในตัวของผูบ ้ ริหารหนุม ่ คนนี้ เชือ ่ ว่าจะท�า ื ๆ ให้คุณรู้จัก STAR WARS ในมิติอ่น ที่แตกต่างและพิเศษกว่าที่เคยรู้

พลาดไม่ได้!

อ่านบทสัมภาษณ์ได้ท่ี

ส�าหรับแฟนบอย STAR WARS ทุกคน รับถุงผ้าลดโลกร้อน STAR WARS Limited Edition มูลค่า 490 บาท เมื่อสมาชิกมียอด ใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตเซ็นทรัล เดอะวัน สะสมครบ 10,000 บาทขึ้นไป ตั้งแต่ 1 ธ.ค. 62 - 31 ม.ค. 63 ณ ร้านค้า ในเครือ Central Group ที่ร่วมรายการ

หนทางสู่การเป็นแฟนบอย

“ ผ ม ดู S TA R W A R S ในเวอร์ชั น ภาพยนตร์ค รั้ง แรกที่ บ้านของน้า เป็นความประทับใจ แบบเด็ ก ที่ เพิ่ ง เคยดู ห นั ง ไซ-ไฟ พ อ หุ่ น ย น ต์ อ อ ก ม า ก็ ตื่ น เ ต้ น (หัวเราะ) จนกระทัง่ คุณพ่อคุณแม่ เดิ นทางไปท�างานที่อเมริกาและ พาเราไปอยู่ด้วย จึงได้ดูผ่านช่อง HBO ที่เอามารีรน ั ตลอดทั้งเดือน ตื่นตี 3 ขึ้นมาดูก็เคยมาแล้ว “ด้วยความที่พ่อแม่ท�างาน สายวิชาการทัง้ คู่ แต่ผมกลับไม่ได้ สนใจการท�างานในเชิงวิชาการเลย จึ ง ย้ อ นกลั บ มาประเมิ น ตั ว เอง เราชอบดู ห นั ง และเสพซี ร ส ี ์ เ ยอะ สิง่ เหล่านี้จง ึ กลายเป็นจุดแข็งทีเ่ รา น�าไปสมัครงานกับบริษัทเคเบิลทีวี จนได้งานแรกเป็นคนคอยคัดสรร รายการให้ เหมาะกั บ พฤติ ก รรม ของผู้คนในแต่ละช่วงเวลา”

แพสชันสอนให้เรียนรู้และ ลองท�าสิ่งใหม่ๆ

“เวลาเข้ า งานที่ อ อฟฟิ ศ ผ ม จ ะ ต้ อ ง เ ดิ น ผ่ า น ห้ อ ง แป ล ซับไตเติล เริม ่ คิดว่าเราเองก็น่าจะ ท�าได้ จึ งเข้าไปบอกเขาว่าอยาก

แปลบทหนังเป็นงานเสริม และได้ ลองแปลซั บ ไตเติ ล เป็ น ครั้ง แรก หลังจากนั้น ผมก็ส่งจดหมายไปที่ ค่ าย Warner Brothers F.E. / 20th CENTURY FOX (Thailand) เพื่อขอแปลบทหนังใหญ่ โชคดีว่า ช่ ว งนั้ น คนที่ แปลบทหนั ง ประจ� า เกิดไม่สบาย โอกาสจึงเป็นของเรา พอแปลบทหนังไปได้สก ั 5-6 เรือ ่ ง จู่ๆ หัวหน้ าก็บอกว่าเขามี STAR ั รีเมก WARS เอพิโสด 4-6 เวอร์ชน อยากให้ลองแปลเพราะเห็นว่าเรา ชอบหนั ง เรื่อ งนี้ พอได้ ล องแปล ก็ ย่ิ ง ท� า ให้ ร ะดั บ ความหลงใหล ในสิง ่ นี้สูงขึ้นไปอีก”

ระหว่างความฝันกับปัจจุบัน

“พอมุ่ ง มั่ น ว่ า จะเดิ น ต่ อ ไป ในสายงานเอนเตอร์ เทนเมนต์ ผมจึงตัดสินใจไปเรียนต่อทางด้าน การตลาดเพื่ อ เพิ่ ม พู น ความรู ้ แต่หลังจากจบกลับมาท�างานได้ ไม่นาน พ่อแม่ก็ทักขึ้นมาว่าอยาก ให้ลองหางานทีม ่ น ่ั คงกว่านี้ ผมจึง ไปเปิ ดหนั งสือพิม พ์เห็ นธนาคาร เอเชียก�าลังเปิดรับสมัครต�าแหน่ง Assistant Marketing Manager Debit Card ก็ตัดสินใจไปสมัครดู

เพราะรู ส ้ ึ ก ว่ า เป็ น งานที่ น่ า สนใจ เพราะใช้ทก ั ษะทางการตลาดเข้ามา จับด้วย อย่างไรก็ตาม ผมตั้งใจว่า จะท�างานนี้ สักสองปีแล้ วกลั บไป ท�างานสายเอนเตอร์เทนเมนต์ต่อ แต่ปรากฏว่างานนี้ กลับท�าให้ผม ค้ น พบอี ก แพสชั น ในการท� า งาน ในทีส ่ ด ุ ก็เติบโตในเส้นทางการเงิน มาจนถึงปัจจุบัน”

มอง STAR WARS ผ่าน แง่มุมทางการตลาด

“อีกมุมมองหนึ่ งที่ท�าให้ผม ทึ่งใน STAR WARS ก็คือกลยุทธ์ ทางการตลาด ซึง่ ผูส ้ ร้างหนังอย่าง จอร์จ ลู คั ส ได้ ท� า ให้ เกิ ด การท� า ก า ร ต ล า ด แบ บ ไท อิ น กั บ ห นั ง (movie tie-in promotion) หรือ กระทั่งการท�า licensing ที่เป็น การขายลิขสิทธิต ์ ัวละครต่างๆ ใน ภาพยนตร์กเ็ ริม ่ มาจาก STAR WARS ลูคัสเป็นคนทีร่ ก ั หนังมากจนเลือก เก็ บ ลิ ข สิ ท ธิ์ ข อง STAR WARS ไว้ กั บ ตั ว เอง ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ ส ตู ดิ โ อ ไม่ ส ามารถลดบั ด เจตในการท� า ประชาสัมพันธ์หนั งของเขา และ เขาจะมีสิทธิ์ในการผลิตโปสเตอร์ หรือท�าโฆษณาได้อย่างเต็มที่” 11

ISSUE 611

11 NOV 2019

11


SPECIAL REPORT LEADERS พั น ธมิ ต รธุ ร กิ จ ของ

ผ่ ำ น ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ก ำ ร ล� ำ ยุ ค ด้ ว ย A I

จำกประเทศอิ ส รำเอล ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ ปี

สร้ำงสรรค์ผลงำนของสื่อยุคใหม่ได้อย่ำง

เดย์ โพเอทส์ คือผูน ้ ำ � เทรนด์ Social Media

แพลตฟอร์มด้าน INFLUENCER MARKETING ระดับโลก daypoets ฉลองการก้ า วสู่ ปี ที่ 20 จั บ มื อกั บ พั นธมิ ตรธุ ร กิ จ อิ ส ราเอล LEADERS รุ ก ตลาด Online Marketing เต็ ม ตั ว ด้วยการร่วมทุนกับ The LEADERS SE Co., Ltd. น�าโดย สุรพงษ์ เตรี ย มชาญชั ย ประธานบริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด ธุ ร กิ จ สื่ อ ผู้ น� า เทรนด์ แ ห่ ง ยุ ค สมั ย อั น ได้ แ ก่ นิ ต ยสาร a day, a day

BULLETIN, สื่อออนไลน์ The Momentum และส�านักพิมพ์ a book โดยมอบหมายให้ ท ายาทรุ่ น ที่ ส อง นั น ท์ ว ริ น ทร์ เตรี ย มชาญชั ย เป็ นผู้ บ ริ ห าร The LEADERS SE Co., Ltd. ในฐานะ Chief Strategy Officer

2009 และกลำยเป็นผูน ้ ำ � ด้ำนอุตสำหกรรม

โฆษณำออนไลน์ ที่ ข ยำยสำขำมำกกว่ ำ

6 ประเทศทั่วโลก ในช่วง 10 ปีที่ผ่ำนมำ LEADERS ได้ส่ง ั สมประสบกำรณ์ท�ำงำน ด้ำน Influencer ร่วมกับแบรนด์ระดับโลก มำกมำย อำทิ Samsung, Huawei, Pepsi,

Yves Saint Laurent โดยมี ‘Yonatan

Arami’—Partner & Head of Business

ทรงประสิทธิภำพ ทีจ ่ ะมีสว ่ นส่งเสริมกำร-

แม่นย�ำและคล่องตัวยิ่งขึ้น นั บเป็นกำร-

ตอกย�ำของเดย์ โพเอทส์—ผู้น�ำเทรนด์สื่อ

แห่งยุคสมัย ทีพ ่ ร้อมจะต่อยอดควำมส�ำเร็จ ของทุกสื่อในบริษัท ไม่ว่ำจะเป็นนิตยสำร a day, a day BULLETIN, สื่อออนไลน์

The Momentum และส�ำนักพิมพ์ a book

ร ว ม ถึ ง ดิ จิ ทั ล ค อ น เท น ต์ ผ่ ำ น ดิ จิ ทั ล

แพลตฟอร์มทุกรูปแบบ พร้อมกิจกรรมพิเศษ

Global Manager

อี ก มำกมำย ซึ่ ง ทั้ ง หมดนี้ จ ะมี ส่ ว นเสริม ควำมคิ ด สร้ำ งสรรค์ แ ละตอบโจทย์ ทั้ ง

บริกำรใหม่ล่ำสุดในรู ปแบบแพลตฟอร์ม

ผู้อ่ำนได้ในวงกว้ำงยิง ่ ขึ้น

Development และ ‘Illana Elkaim’—

กำรร่วมงำนในครัง้ นี้ จะเป็นกำรให้

ด้ ำน Influencer Marketing ระดั บโลก

พันธมิตรทำงธุรกิ จของ daypoets และ

08



เรือ ่ ง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ, กฤตนัย จงไกรจักร

ภาพ : วงศกร ยี่ดวง

T H E C O N V E R S AT I O N

10


UNCLUTTER YOUR LIFE,

U N C OV E R YO U R H E A RT

11

16 DeC 2019

issue 621


่ ง ฮาวทูทง ่ วกับ งานใหม่ของพวกคุณเรือ ิ้ ...ทิง ั อะไรเกีย ้ อย่างไรไม่ให้เหลือเธอ ออกฉายช่วงปลายปีพอดี คุณมีนย ช่วงเวลานี้หรือไม่

HOw TO

ทิ้ ง

เต๋อ : อาจเพราะผมเป็นคนทีช ่ อบจัดบ้านและความรูส ้ ก ึ ตัวเองในช่วงปีใหม่อยูแ ่ ล้ว ตอนทีท ่ า � สตอรีบอร์ดเรือ ่ งนี้ก็เป็น

ช่วงปีใหม่พอดี เลยอยากให้ช่วงเวลาที่ฉายเป็นเดือนส่งท้ายปีเหมือนกัน ซึ่งเป็นจังหวะที่ดีนะ เหมือนว่าหนังเรือ ่ งนี้ก�าลัง พาเราไปปรับปรุงบ้านและตัวเองพร้อมๆ กัน เราก�าลังจะกลายเป็นอีกคนหนึ่ง

ซันนี่ : ผมชอบที่หนังใช้คอนเซ็ปต์ที่เราไม่ค่อยได้เห็นความรักในมุมนี้กันเท่าไหร่ เรือ ่ งของความสัมพันธ์ไม่ใช่แค่ว่า เธอชอบฉั น ฉั นชอบเธอ ความเป็นมนุ ษย์มีอะไรมากกว่านั้น ซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้เลยว่าจะเกี่ยวข้องกับสิ่งของบางอย่าง

เอาง่ายๆ แค่เราจับของขึน ้ มาหนึ่งชิน ิ ต่อแล้วว่าใครซือ ้ มาให้เรา หรือเราซือ ้ มาตอนไหน ก็จะพาเราหวนกลับไปคิดถึง ้ เราก็คด อดีตอยูท ่ ก ุ ครัง้ เราเลยคิดว่าตรงนี้เป็นมุมทีน ่ ่าสนใจดี เพราะเหมือนเราลงลึกเข้าไปในชีวต ิ มนุษย์ยง่ิ ขึน ้ ไปอีก

่ งแทนใจ แทนความทรงจ�า เป็นเพราะมนุษย์มก ั จะหลงลืมความสัมพันธ์หรือเปล่า สิง ่ ของเหมือนจะท�าหน้าทีเ่ ป็นเครือ

ซันนี่ : ถ้าเรามีสง่ิ ของอยู่ เวลาหยิบขึน ้ มาก็จะท�าให้นึกถึงช่วงเวลานั้น แต่ถ้าเราท�ามันหาย หรือลืมมันไปแล้ว บางที เราจะไม่รูด ้ ้วยซ�าว่าเคยมีความทรงจ�าร่วมกันกับเจ้าของอยู่ เต๋อ : ท�าให้เรามักเป็นคนที่ชอบเก็บของ จริงๆ ก็เสียดายด้วย (หัวเราะ) แต่ช่วงหลังก็เริม ่ ทิ้งได้บ้างแล้ว มันเป็น เรือ ่ งของช่วงเวลาด้วยครับ บางทีของในปี 2016 ทีค ่ ิดว่าทิง้ ไม่ได้แน่ๆ แต่ในปี 2018 เรากลับทิง้ ได้ เหมือนมันยังไม่ถึงเวลา หรืออาจเป็นเพราะตัวเราเปลี่ยนไปทุกปี อะไรทีเ่ คยรูส ้ ก ึ กับสิง่ นี้ พอถึงจุดหนึ่งเราก็อาจไม่รูส ้ ก ึ อะไรกับมันแล้ว

จะว่าไป หากมีสง ิ่ ของมากมายหลายชิน ้ แค่จัดเก็บให้เป็นระเบียบก็น่าจะได้ ท�าไมถึงต้องตัดใจทิง ้ จนถึงขนาด มีฮาวทูในการทิ้งด้วยล่ะ เต๋อ : ความจริงอีกอย่างคือบ้านไม่มท ี เี่ ก็บแล้ว (หัวเราะ) ถ้าเกิดเรามีพน ื้ ทีไ่ ม่จ�ากัด ก็คงเก็บของทุกอย่างไว้เหมือนกัน

ผมอาจจะไม่ได้คิดเรือ ่ งนี้เลยก็ได้ แต่ชว ี ต ิ จริงเรามีขอ ้ จ�ากัดเต็มไปหมด เราเลยต้องเลือกอะไรบางอย่างออกไปจากชีวต ิ บ้าง ความรูส ้ ก ึ ก็เหมือนกัน เวลาจัดบ้านหนึง่ ครัง้ เราก็จะได้จด ั การความรูส ้ ก ึ ตัวเองผ่านสิง่ ของว่า ตอนทีไ่ ด้สง่ิ ของนีเ้ หตุการณ์ตอนนัน ้

“นั่นแน่! หนังเรื่องใหม่ของคุณมาจาก หนังสือการจัดบ้านของ มาริเอะ คนโดะ ใช่ไหม” ่ เห็น ‘เต๋อ’ - นวพล เราถามเชิงหยอกทันทีเมือ ธ�ารงรัตนฤทธิ์ เดินหน้า ‘เด๊ดๆ’ ตามเอกลักษณ์ เข้ามาใกล้ๆ หน้ า เรี ย บเฉยเปลี่ ย นเป็ น ยิ้ ม ร่ า และ หั ว เราะลั่ น ก่ อ นบอกว่ า “ไม่ ใ ช่ ค รั บ แต่ ก็ มี แ ร ง บั น ด า ล ใ จ นิ ด ๆ ม า จ า ก คุ ณ ค น โ ด ะ นั่นแหละ” จากนั้น ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ และ ‘ออกแบบ’ - ชุตม ิ ณฑน์ จึงเจริญสุขยิง ่ สองนักแสดงน�าจากหนังเรื่อง ฮาวทูท้ิง... ทิ้งอย่างไรไม่ให้เหลือเธอ ซึ่งเป็นภาพยนตร์ เรื่องใหม่ท่ี เต๋อ นวพล ก�ากับ และจะฉายใน วั น ที่ 25 ธั น วาคมนี้ ก็ เ ดิ น เข้ า มาสมทบ ตามที่นัดหมายกันไว้ หากพู ดถึง ‘สิ่งของ’ ว่ากันตามตรง มั น คื อ วั ต ถุ ท่ี เ รามี ไ ว้ เ พื่ อ ใช้ ส อย หรื อ เพื่ อ ความรื่ น รมย์ ใ จ แต่ แ ปลกนั ก ที่ ท� า ไมเวลา จะต้องทิ้งสิ่งของสักชิ้น บ่อยครั้งที่เรากลับ ตัดใจได้ยากยิ่ง อาจเป็นเพราะความเสียดาย ่ งราวและความทรงจ�า ความหวงแหน หรือเรือ ที่ ฝ ัง อยู่ ใ นของชิ้ น นั้ น ... เวลาจั ด เก็ บ บ้ า น จึงมักกลายเป็ นเรื่องที่เราต้องมานั่งทบทวน เรื่องราวในใจตัวเองอยู่บ่อยๆ “มั น วั ด หั ว ใจเราประมาณหนึ่ ง เลย ว่ า ถ้ า ทิ้ ง ห รื อ เ ก็ บ เ ร า จ ะ เ ป็ น ค น อ ย่ า ง ไ ร ่ หรือเปล่า จะกลายเป็นคนไม่สนใจความรูส ้ ก ึ คนอืน ่ า้ วข้ามการยึดติดกับสิง หรือเป็นคนทีก ่ ของได้ ต้องตอบความรู้สึกตัวเองจริงๆ ให้ได้” เต๋อ นวพล เล่าถึงเสน่หข ์ องการจัดบ้าน ที่ ทุ ก ครั้ ง เขามั ก จะเจอสิ่ ง ของบางอย่ า ง ่ านให้หวนนึกถึงความสัมพันธ์และเหตุการณ์ ทีพ ครั้งหนึ่งในอดีต จากจุดนี้ท�าให้เขาขัดเกลา ่ งล่าสุด ทีเ่ ล่าถึง ออกมาเป็นบทภาพยนตร์เรือ เรื่องราวความสัมพันธ์ของหญิงสาวคนหนึ่ง ่ า� ลังจัดบ้านในช่วงปลายปี ก่อนทีเ่ ธอจะเจอ ทีก สิง ่ ของบางอย่าง จนท�าให้เธอนึกถึงเหตุการณ์ ่ ไม่ตา่ งจากประสบการณ์ ในอดีตอีกครัง ้ หนึง ตรงของผู้ก�ากับฯ จะเลือกเก็บไว้ หรือเลือกทิ้งไป — ด้วย ่ งทีต ่ อ ความรูส ้ ก ึ อย่างไร — เป็นเรือ ้ งติดตาม

เป็นอย่างไร ท�าให้เราได้ทบทวนตัวเองว่าเคยท�าอะไรเอาไว้ทัง้ ดีและไม่ดี และจะว่ากันอย่างไรต่อไป หมายถึงจะเก็บหรือทิง้ ทัง้ สิง่ ของและความสัมพันธ์ ผมเลยชอบท�ากิจกรรมนี้ชว ่ งสิน ิ เกิดอะไรขึน ้ บ้าง ้ ปี เหมือนเป็นการประเมินผลประจ�าปี ว่าชีวต

คุณคิดว่าท�าไมการตัดสินใจจะทิ้งของบางอย่างถึงเป็นเรื่องที่แสนจะยากเย็น

เต๋อ : เพราะจริงๆ เราไม่อยากทิง้ มัน เราไม่อยากให้มน ั เป็นขยะ ท�าให้สว ่ นใหญ่ก็จะรอจนกว่าจะเจอคนต่อไปทีเ่ ห็น

คุณค่าจากมัน ท�าให้เวลาจะทิง้ ก็มก ั จะคิดว่า เราจะทิง้ จริงเหรอ ซันนี่ : ผมไม่ค่อยทิ้งอะไร ถ้าไม่พังหรือว่ามีเยอะมากๆ เวลาที่บ้านชอบถามว่ามีเสื้อผ้าเยอะๆ เอาไปบริจาคไหม

เราก็น่ังเลือกจากร้อยตัว ได้มาสามตัว (หัวเราะ) มันเสียดายไปหมดเลย ขนาดตอนให้ไปแล้วก็ยังคิดอยู่เลยว่ามันก็สวย และยังใส่ได้อยู่นี่ แต่สุดท้ายก็ขึ้นอยู่กับตัวเราเอง เพราะถ้าเราไม่รก ั มันจริง คงไม่มานั่งตัดสินใจแบบนี้หรอก มันยากนะ เพราะถ้าตัดสินใจแล้วต้องรับผลของการตัดสินใจตัวเองให้ได้ด้วย ออกแบบ : แต่สา � หรับเรา อะไรทีไ่ ม่ใช้แล้วก็ทง ิ้ ได้ทน ั ทีเลยนะ อย่างเช่น กระดาษสีทเี่ อาไว้ใช้ทา � รายงานสมัยเรียน มหาวิทยาลัย แต่เราไม่เคยหยิบเอามาใช้อก ี เลย มันตัง้ อยูท ่ เี่ ดิมมาหลายปี เราก็เก็บทิง้ แล้วจะมีคนเก็บไปใช้ตอ ่ ก็เรือ ่ งของเขา เพราะเราถือว่าตัวเองไม่ได้ใช้แล้ว ซันนี่ : แต่ถ้าของสิง ุ ค่าอยู่ เราก็ต้องรักษามันไว้สิ หรือถ้าจะให้คนอื่น คนทีเ่ อาไปก็ต้องเอาของทีเ่ ราให้ ่ นั้นยังมีคณ ไปใช้ด้วย ไม่อย่างนั้นก็เหมือนเราเอาขยะไปให้เขา เราไม่อยากให้ของของเรากลายเป็นขยะส�าหรับคนอื่น ขยะควรจะเป็น แค่สง่ิ ทีไ่ ม่สามารถเอาไปใช้ต่อได้แล้ว ออกแบบ : ก็ไม่ถึงขนาดนั้นนะคะ อย่างนาฬิกาทีพ ่ ใี่ ห้เรามาเรือนแรกก็จะเก็บไว้ หรือแหวนทีอ ่ าม่าให้เราก่อนท่าน เสียชีวต ิ ก็มี ซันนี่ : เก็บแค่สองอย่าง แต่อีกหนึ่งหมืน ่ อย่างออกแบบทิง้ หมด (หัวเราะ) ออกแบบ : ไม่ใช่ (หัวเราะ) อย่างโทรศัพท์มอ ื ถือทีเ่ ราใช้ตอน ม.2 เรายังเก็บไว้อยูเ่ ลย ซันนี่ : แล้วจะเก็บไว้ทา � ไม ไหนบอกใช้ไม่ได้แล้วก็จะทิง้ ออกแบบ : เพราะมีรูปทีเ่ ราถ่ายอยูใ่ นนั้น

มาริเอะ คนโดะ เขียนในหนังสือ ชีวิตดีขึ้นทุกๆ ด้าน ด้วยการจัดบ้านแค่ครัง ิ้ ้ เดียว ว่า “เราไม่ต้องเสียใจที่ทง สิง ่ ของไปหรอก เพราะมันได้ท�าหน้าที่ของมันเสร็จเรียบร้อยแล้ว”

ซันนี่ : อันนี้คือเขาหาวิธีตัดใจจะทิ้งสิ่งของต่างหาก เลยอ้างขึ้นมาว่า เราไม่ได้รูส ้ ึกอะไรแล้ว มันหมดหน้าที่แล้ว ไม่เกี่ ยวกั น มันเป็นแค่ วิธีหาเหตุผลให้กับตั วเองอี กแบบหนึ่ ง ถ้ าหมดหน้ าที่จริง ท�าไมเราต้ องทิ้งล่ ะ เก็ บไว้ไม่ได้ เหรอ ไม่เห็นจะเกี่ยวกันเท่าไหร่เลย เต๋อ : จริงๆ วิธแ ี บบนี้ผมก็รูม ้ า ซึง่ มีคนใช้ได้จริงเหมือนกันนะ ออกแบบ : โหย ถ้าเราอ่านหนังสือของเขา เราไม่ทงิ้ ของหมดทัง้ บ้านเลยเหรอ (หัวเราะ) แต่ถ้าเราคิดแบบนี้ได้จริงๆ ห้องของเราคงโล่งน่าดูเลย

หากเทียบสิง ั เลเลยไหมว่าคนนีใ้ ช่หรือไม่ใช่ ่ ของกับความสัมพันธ์ละ่ ออกแบบจะสามารถตัดสินใจได้อย่างไม่ลง ส�าหรับเรา

ออกแบบ : ถ้าเป็นเรือ ่ งของคน เราคิดว่าความสัมพันธ์ไม่ได้เป็นเรือ ่ งของเราคนเดียว ถ้าเราสองคนไม่สามารถไปต่อ ด้วยกันได้ มันก็คือไม่ใช่ เราก็ตัดจบเลย แต่ถ้าเป็นสิ่งของนั่นคือการตัดสินใจของเราคนเดียว ถ้าอะไรที่ซ่อมได้ก็จะซ่อม เพราะเราอยากใช้ต่อ แต่ถ้าเป็นของทีเ่ สียหายแล้ว เช่น แก้วทีแ ่ ตกแล้วซ่อมไม่ได้ เราก็ทงิ้

ของที่ตัดสินใจทิ้งได้ยาก ส่วนใหญ่เป็นเพราะคุณกลัวจะหลงลืมเรื่องราวและความสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับของ ชิ้นนั้นด้วยหรือเปล่า

เต๋อ : เวลาเราทิง้ ของ เราไม่ได้กลัวจะลืมหรือพยายามจะลืม เราทิง้ เพราะเรายอมรับและก้าวข้ามมันไปได้แล้วมากกว่า ต่อให้จะเป็นเรือ ่ งดีหรือไม่ดี เวลาทิง้ เราไม่ได้รูส ้ ก ึ แบบ... เราฝังกลบสิง่ นี้ด้วยความโกรธแค้นกันเถอะ แต่มน ั เป็นการก้าวข้าม เราไม่ได้พยายามจะลืมอะไร มันแค่ผา ่ นพ้นไปแล้วและไม่ได้เกี่ยวกับชีวต ิ เราอีกต่อไป

12


ถ้ า เ ร า มี สิ่ ง ข อ ง อ ยู่ เ ว ล า ห ยิ บ ขึ้ น ม า ก็ จ ะ ท� า ใ ห้ นึ ก ถึ ง ช่ ว ง เ ว ล า นั้ น แ ต่ ถ้ า เ ร า ท� า มั น ห า ย ห รื อ ลื ม มั น ไ ป แ ล้ ว บ า ง ที เ ร า จ ะ ไ ม่ รู้ ด้ ว ย ซ�้ า ว่ า เ ค ย มี ค ว า ม ท ร ง จ� า ร่ ว ม กั น กั บ เ จ้ า ข อ ง อ ยู่

issue 621

16 DeC 2019

13


HOw TO

เ ก็ บ

อั น ที่ จ ริ ง แล้ ว หนั ง เรื่ อ งใหม่ นี้ ก็ เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง ค ว า ม รั ก ความสั ม พั น ธ์ เ หมื อ นทุ ก เรื่ อ ง ข อ ง เ ต๋ อ เ พี ย ง แ ต่ ค ร า ว นี้ เล่าผ่านการเก็บบ้าน

เต๋อ : ใช่ เรือ ่ งทีผ ่ า่ นมาของเรา ก็เกี่ยวกับความรักทั้งนั้น เพราะถ้า ไม่มค ี วามรักมันจะไม่มป ี มในเรือ ่ งเลย เรามองว่าเรือ ่ งราวในชีวิตแต่ละวัน ก็ เกิ ด ขึ้ น จ า ก ค ว า ม รั ก ใน อ ะ ไร บางอย่างทัง้ นัน ่ จะเป็นรักแบบ ้ ไม่วา ห นุ่ ม ส า ว รั ก แ บ บ เ พื่ อ น แ ล ะ ครอบครัว หรือรักในสิง่ ของ เราแค่ น� าความรักมาตี ความให้มันลึ กซึ้ง มากขึ้ น อย่ า งเรื่อ งนี้ นางเอกคื อ คนที่ก�าลังจัดของครัง้ ใหญ่ในบ้าน ท�าให้เธอต้องเจอสิง่ ของต่างๆ ทีต ่ อ ้ ง ตั ดสินใจว่าจะเก็ บหรือจะทิ้งดี ซึ่ง กระบวนการตัดสินใจมันหลีกเลี่ยง ที่จะไม่เกี่ ยวกั บความรักไม่ได้ เลย เรารั ก ของสิ่ ง นี้ ไ หม เราชอบคน ที่ ให้ ม าหรือ เปล่ า หนั ง เลยพู ด ถึ ง เรือ ่ งความรักและความสัมพันธ์แบบ หลีกเลี่ยงไม่ได้เลย ออกแบบ : เรื่อ งแบบนี้ มั น ยาก เพราะการที่คนสองคนยังเห็น คุณค่าต่อกัน แล้วไปด้วยกันต่อได้ เขาต้องเข้ากันได้จริงๆ ไม่ได้มีคู่รก ั ทุ ก คู่ ที่ ส ามารถอยู่ ด้ ว ยกั น อย่ า ง ยื น ยาวเหมื อ นพ่ อ แม่ ข องเราได้ ต้องใช้เวลา ความสัมพันธ์เป็นเรือ ่ ง ละเอี ย ดอ่ อ น มั น ไม่ ง่ า ยเหมื อ น สิง่ ของ เต๋ อ : อะไรที่ จ ะเก็ บ หรื อ ไม่ เก็ บ นั้ น เป็ น เรื่อ งของความรู ้สึ ก มากกว่ า ไม่ ว่ า จะเป็ น เรื่อ งอะไร ก็ตาม ถ้าเรายังรูส ้ ก ึ ชอบอยู่ ต่อให้มี ปัญหาอะไรก็ตาม ไม่นานทุกอย่าง ก็จะผ่านไป เราจะไม่รูส ้ ึกว่ามาถึง ทางตัน แต่ถ้าเวลาของมันหมดแล้ว จริงๆ ต่อให้ไม่มีปัญหาอะไร เราก็ รูส ้ ก ึ ได้เองว่าเดินมาจนถึงทางตันแล้ว ยิ่งถ้ามีปัญหาเกิดขึ้นมาเราจะรูส ้ ึก เลยว่ามาถึ งตอนจบแล้ ว การเก็ บ หรือทิ้งเป็นการเช็กความรู ส ้ ึกของ ตัวเอง ไม่วา่ จะเป็นสิง่ ของ การท�างาน หรือความสัมพันธ์ต่างๆ เหมื อ นเวลาคนถามผมว่ า ท�าไมถึงยังท�าหนังอยู่ ผมคิดว่าก็คง เพราะตัวเองชอบนั่นแหละ ปัญหา ทีม ่ น ั เกิดในวันนี้ปน ี ี้ก็ผา ่ นไป เป็นอีก เรือ ่ งหนึ่งทีผ ่ า ่ นเข้ามาในชีวต ิ นั่นเอง เราถึงยังไม่ทง้ิ เรือ ่ งของการท�าหนังไป ซึง่ การเช็กความรูส ้ ก ึ แบบนี้เป็นเรือ ่ ง ง่ายมาก แค่เรารูส้ ก ึ อย่างไร ถามตัวเอง แบบทีไ่ ม่ต้องหลอกใคร ซึง่ ถ้าเรายัง โอเคอยู่ก็ชัดแล้ว เป็นการวัดหัวใจ

ตั วเองประมาณหนึ่ งเลย ว่าถ้ าทิ้ง ห รื อ เก็ บ เร า จ ะ เป็ น ค น อ ย่ า ง ไร จะกลายเป็นคนไม่สนใจความรู ส ้ ึก คนอืน ่ หรือเปล่า หรือเป็นคนทีก ่ า้ วข้าม การยึดติ ดกั บสิ่งของได้ ต้ องตอบ ความรูส ้ ก ึ ตัวเองจริงๆ ให้ได้

ถ้ า อย่ า งนั้ น จะรู้ ไ ด้ อ ย่ า งไรว่ า ค ว า ม สั ม พั น ธ์ นี้ ค ว ร จ ะ ทิ้ ง หรือเก็บดี ออกแบบ : ขึ้ น อยู่ ว่ า เป็ น ความสัมพันธ์แบบไหนด้วย เต๋อ : ถ้าความสัมพันธ์แบบ แฟน สมมติวันหนึ่งที่ออกแบบเบื่อ เขาแล้ว จะทิง้ เลยไหม หรือเห็นใจ ซั น นี่ : ผมว่ า ออกแบบทิ้ ง แต่แรกแล้ว พูดแต่ละค�ามา หมอนั่น โดนทิง้ แน่นอน (หัวเราะ)

เมื่อตอบตัวเองได้อย่างชัดเจน กลายเป็ น ว่ า ความสั ม พั น ธ์ ที่ ดู ่ งความรูส เป็นเรือ ้ ก ึ เป็นนามธรรม นั้ น ก ลั บ เ ป็ น สิ่ ง ที่ จั บ ต้ อ ง ไ ด้ ชัดเจนเลยนะ

ซันนี่ : ผมว่าความสัมพันธ์ ก็เป็นสิง่ จับต้องได้เหมือนกัน เพราะ มันเคยเกิดขึน ้ จริง เรารูส ้ ก ึ จริง ค�าว่า จับต้องได้ ไม่จา� เป็นต้องเป็นจดหมาย รูปภาพ หรือมีของแทนใจอะไรต่างๆ ค ว า ม รู ้ สึ ก แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก็ ส ามารถจั บ ต้ อ งได้ เ หมื อ นกั น เพี ย งแค่ สิ่ ง ของมั น มี ให้ เห็ น จริง ๆ มันอยูใ่ ห้เห็นตลอด เลยดูเหมือนว่า มันเกีย ่ วข้องกันจนแยกไม่ออก จริงๆ สิง่ ของเป็นแค่สอ ื่ หนึ่งเท่านั้น ผมเอง ก็เป็นทัง ้ แต่ไม่ใช่ ้ คนเก็บและคนทิง เพราะว่าเราตัดใจได้หรือตัดใจไม่ได้ จะเก็ บ ของถ้ า เห็ น ของชิ้ น นั้ น สวย หรือบางทีกร ็ ูส ้ ก ึ ผิดเวลาต้องทิง้ ของ ที่ ค นอื่ น ให้ ม า เขาอุ ต ส่ า ห์ ขั บ รถ มาตั้ ง ไกล นั่ ง รถตั้ ง นานเอาของ มาให้เรา จะทิง้ ลงจริงเหรอ แต่การทิง้ แล้ ว หมายความว่ า เราไม่ ส นใจ ความรูส ้ ก ึ ของคนให้หรือเปล่า ก็ไม่ใช่ เพราะความรูส ้ ก ึ มันก็ยงั อยูใ่ นความทรงจ�า อยูใ่ นหัวใจของเราอยูแ ่ ล้ว

ห รื อ เ ป็ น เ พ ร า ะ ค ว า ม ยึ ด ติ ด ที่ ท� า ให้ ค นเราไม่ ค่ อ ยยอมทิ้ ง สิง ่ ของต่างๆ ในครอบครอง

ซันนี่ : ส่วนหนึ่ง บางทีเรามัก จะเป็นทุกข์หรือเป็นสุขจากการยึดติด กั บ สิ่ ง ของพวกนี้ แต่ มั น ก็ ไ ม่ ผิ ด อะไรนี่ ถ้าเรายอมรับทีจ ่ ะทุกข์หรือสุข แบบนั้น การยึดติดไม่ได้ผด ิ อะไร เต๋อ : อยูท ่ ว ี่ า ่ เรากล้าจะยอม แลกความรู ้สึ ก กั บ การยึ ด ติ ด ไหม

ถ้าคุณเก็บของไว้กต ็ อ ้ งเตรียมตัวรับ ความรูส ้ ก ึ กับอารมณ์ของตัวเองด้วย

แล้วพวกคุณคิดว่ามนุษย์เราจะ ไม่ยึดติดกับสิง ่ ของเลยได้ไหม

เต๋อ : ได้นะ เพราะบางทีเราก็ ไม่ ไ ด้ เ ก็ บ ของเพราะมั น สวยหรือ ต้องเก็บไว้ แต่บางทีก็เป็นเรือ ่ งของ ความทรงจ�าและความรู ส ้ ึก บางที ถ้าเราก้าวข้ามมันไปได้แล้ว การไม่ ยึ ด ติ ด กั บ ตั ว วั ต ถุ แ ล้ ว ป ล่ อ ย ให้ ความรู ส ้ ึ ก เราโหยหาและระลึ ก ถึ ง ช่ ว งเวลานั้ น มั น ก็ เป็ น การคิ ด ถึ ง ความสัมพันธ์อก ี รูปแบบหนึง่ เหมือนกัน ซันนี่ : ได้แน่นอน เราเป็นคน เข้าใจอะไรง่าย เราก็ตอ ้ งใช้ชว ี ต ิ ต่อไป เราเชื่อว่าสิ่งที่เกิดขึ้นมาแล้วดีที่สุด เสมอ วันเวลาผ่านไปหากเราจะต้อง ไม่ มี มั น ก็ ต้ อ งยอมรับ ให้ ไ ด้ อย่ า ง โทรศัพท์มือถื อ วันหนึ่ งถ้ าหายไป จากโลกเราก็ตอ ้ งอยูใ่ ห้ได้ เพราะเรา ก็ไม่ได้ตายจากการทีโ่ ลกไม่มโี ทรศัพท์ คนเราชอบคิดว่าการปล่อยวางคือ ความเศร้าอย่างหนึง่ แต่จริงๆ มันไม่ใช่ เราปล่อยวางเพราะสิง่ ของท�าหน้าที่ ไปเรียบร้อยแล้ ว ความคิ ดถึ งก็ ท� า หน้าทีเ่ หมือนกับสิง่ ของได้เหมือนกัน ออกแบบ : สุดท้ายถ้ าไม่มี สิ่ ง ของใดๆ ในชี วิ ต เลย เราก็ ต้ อ ง ใช้ ชี วิ ต ต่ อ ไปอยู่ ดี จะโหยหาไปก็ ไม่ได้อะไรขึ้นมา อย่างเช่นแหวนที่ อาม่าให้ก่อนเสียชีวิต เราก็จะรู ส ้ ึก เศร้า นะ แต่ มั น ก็ พ าอาม่ า กลั บ มา ไม่ได้ เราเลยเลือกที่จะยอมรับและ เก็บไว้ในความทรงจ�าดีกว่า

14


เ ร า ม อ ง ว่ า สิ่ ง นี้ เ ร า เ ถี ย ง กั บ ตั ว เ อ ง ไ ด้ ไ ม่ มี วั น จ บ ทุ ก ค รั้ ง ที่ เ ร า ห ยิ บ ข อ ง ห นึ่ ง ชิ้ น ขึ้ น ม า แ ล้ ว เ ลื อ ก ว่ า จ ะ ทิ้ ง ห รื อ ไ ม่ ทิ้ ง ก็ จ ะ มี ผู้ ค น ช่ ว ง เ ว ล า ส ถ า น ที่ แ ล ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ผุ ด ขึ้ น ม า ใ ห้ เ ร า ร ะ ลึ ก ถึ ง เ ต็ ม ไ ป ห ม ด เ พื่ อ ใ ห้ เ ร า ตั ด สิ น ใ จ ไ ด้ ว่ า จ ะ ทิ้ ง ข อ ง ชิ้ น นี้ ห รื อ ไ ม่ เวลาท�างานร่วมกัน คุ ณ ทั้ ง สามคนมี วิ ธี เ ชื่ อ ม โ ย ง ค ว า ม สัมพั นธ์กัน อย่ า งไร บ้าง

HOw TO

ถ่ายท�า ออกแบบมาร่ ว มงานกั บ เต๋ อ และ ่ เี่ ขาเป็นผูก ซันนีท ้ า� กับ-นักแสดงคูห ่ ู กันมา รู้สึกกดดันกับความเข้าขา ของพวกเขาไหม

ออกแบบ : ตอนแรกก็รูส ้ ก ึ กดดัน เหมือนกั น แต่ สุดท้ายก็ ไม่รูว ้ ่าตั วเอง จะกดดั น ไปท� า ไม ในเมื่ อ บทก็ ไ ม่ ไ ด้ เหมือนกันอยูแ ่ ล้ว โชคดีทไี่ ด้ทม ี งานทีด ่ ี คอยช่วยเหลือ ตรงไหนที่ท�าไม่ได้หรือ รูส ้ ก ึ ว่ายาก พีๆ ่ เขาก็จะคอยช่วยเหลือ และอธิบายให้ฟงั ตลอด

ตอนที่รู้ว่าจะต้องมารับบทผู้หญิง ที่ต้องเก็บบ้านครั้งใหญ่ ออกแบบ นึกถึงอะไร

ออกแบบ : มาริเอะ คนโดะ เลยค่ะ (หัวเราะ) เพราะช่วงนี้ เขาก็ ก�าลั งเป็น กระแสพอดี แต่ถ้าถามว่ารูเ้ รือ ่ งทฤษฎี ของเขาไหม ก็ไม่เลย (หัวเราะ) เต๋ อ : พอมาเป็ น ตั ว ละครจะมี รายละเอียดเยอะกว่านัน ้ มาก การจัดบ้าน ก็มเี รือ ่ งราวของมัน แต่พอต้องอธิบาย ว่ า คนนี้ เป็ น ใคร ท� า ไมต้ อ งเก็ บ บ้ า น จ ะ ทิ้ ง ห รื อ เก็ บ สิ่ ง ข อ ง เพ ร า ะ อ ะ ไร มันเลยสร้างเรือ ่ งราวให้ตัวละครมีชีวิต มากขึน ้ ออกแบบ : เวลาท�างานเราต้อง มาคุ ย กั น ก่ อ นว่ า แก่ น ความคิ ด ของ ผูห ้ ญิงคนนีค ้ อ ื อะไร เธอเจออะไรมาบ้าง ต้องเป็นแบบไหนกันแน่ หรือแม้กระทัง่ มีอะไรที่สามารถเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ของเราได้ไหม เพือ ่ ทีจ ่ ะเอาไปพัฒนาต่อ ตั ว ล ะ ค ร นี้ เ ล ย มี ตั ว ต น เร า อ ยู่ ด้ ว ย พอสมควร

issue 621

16 DeC 2019

เต๋ อ : เราทั้ ง สามคนมี ห ลายอย่ า ง ทีเ่ หมือนกันมากเลยนะ อ ย่ า ง ที่ เ ร า คุ ย กั น ตอนนี้ ยั ง รู ้ สึ ก เลยว่ า พวกเราแม่งแก่ คุยกัน แต่ เรื่อ งแปลกๆ และ นามธรรมแบบนี้กันได้ นานขนาดนี้ (หัวเราะ) อาจเป็นเพราะพวกเรา พ ร้ อ ม ที่ จ ะ แช ร์ แ ล ะ รับ ฟั ง กั น สมมติ ผ มมี เรือ ่ งทีพ ่ วกเขาไม่เข้าใจ เลย เขาก็จะถามว่าคือ อ ะ ไร ซึ่ ง สิ่ ง เห ล่ า นี้ จะปรับให้เรามีรสนิยม มุ ม มองที่ ค ล้ า ยกั น ไป เอง ออกแบบ : ใช่ การเป็นผู้ฟังที่ดี ส�าคัญมาก เราคิดว่าถ้าเราไม่ได้สนใจ โลกของแต่ละคน ไม่พยายามพาตัวเอง ไปรูจ ้ ักโลกของพวกเขา เราก็จะไม่สนิท กันเลย

ในมุมมองเต๋อ โลกของซันนี่และ ออกแบบเป็นอย่างไรบ้าง

เต๋อ : เรามองว่าซันนี่เขาอยู่อีก โลกหนึ่ งไปแล้ว เหมือนทหารผ่านศึก ที่ พ ร้ อ มจะก้ า วไปอี ก ขั้ น ที่ ผ มก็ ยั ง เข้าไม่ถึงเหมือนกัน เพราะในโลกการท� า งานประสบการณ์ เขาเยอะมากๆ ส่วนออกแบบจะง่ายหน่อย คือเขามีอีก อาชีพหนึ่ง ท�างานต่างประเทศมาก่อน และยังเด็ กกว่าผมมากๆ ด้ วย แค่ นี้ก็ รูส ้ ก ึ ว่าเป็นโลกคนละใบกันแล้ว แต่ไม่ได้ รู ้สึ ก ว่ า ตั ด ขาดขนาดนั้ น เพราะด้ ว ย นิ สัยหรือการรับฟังอย่างที่บอก ท�าให้ ถึงแม้ออกแบบจะเด็กกว่าผมเป็นสิบปี เราก็ยังสนิทกับเขา แต่นี่อาจเป็นเรือ ่ ง เฉพาะคนด้ ว ย ถ้ า เจอเด็ ก อายุ 23 คนอื่นผมอาจจะไม่สนิทแบบนี้ก็ได้

่ ง รูม ้ าว่าออกแบบจะอ่อนไหวกับเรือ การท�างานมาก

ออกแบบ : เพราะเราชอบกดดัน ตั ว เอง อยากให้ ง านออกมาดี ที่ สุ ด แต่พอมีอะไรพลาดมาก็มก ั เก็บมาคิดว่า เราต้องท�าได้ดีกว่านี้สิ แล้วก็ชอบแอบ ไปร้องไห้ในรถตู้คนเดียว (หัวเราะลั่น) เต๋อ : ถือว่าเขาเก็บอารมณ์เก่ง เหมือนกัน เราเพิง่ มารูต ้ อนถ่ายเสร็จแล้ว ว่ า ออกแบบแอบไปร้ อ งไห้ ค นเดี ย ว

ตลอด แต่ตอนท�างานผมไม่รูเ้ ลย เพราะ มัวแต่อยูห ่ น้ากอง ซั น นี่ : บางที เขาก็ ช อบเข้ า มา ขอโทษเรา เราก็จะบอกว่าไม่ตอ ้ งกดดัน ตัวเอง ขอโทษท�าไม เราเป็นทีมเดียวกัน แต่เขาก็ยงั เป็นแบบนี้อยูด ่ ี

มันจะมีปัญหาอื่ นตามมาอี กมากมาย ต้ อ งมี ก ารตั ด ทิ้ ง กั น ไปบ้ า ง แต่ ไ ม่ ใช่ ตัดทิง้ แบบชุย ่ ๆ นะ ต้องตัดทิง้ แบบทีเ่ รา พึงพอใจในระดับหนึ่งด้วย

่ งก่อนหน้านีอ ้ ย่าง ฉลาดเกมส์โกง เรือ ออกแบบก็เปราะบางแบบนีเ้ หมือนกัน ไหม

เต๋อ : ส่วนใหญ่จะเป็นเรือ ่ งเวลา ถ้ า มี เ วลาไม่ จ� า กั ด เราจะได้ ฉ ากที่ ย อ ด เยี่ ย ม ทั้ ง หม ด อ อ ก ม า แน่ นอ น แต่พอเรารูว้ า ่ เวลาท�าหนังมีขอ ้ จ�ากัดอยู่ เราก็ ต้ อ งรู ้จั ก การบริห ารว่ า ซี น ไหน ต้ อ งยอดเยี่ ย มเท่ า นั้ น หรื อ ซี น ไหน เอาแค่ โ อเคก็ พ อไหว ซึ่ ง นี่ เป็ น สิ่ ง ที่ ผูก ้ �ากับทุกคนต้องเจอ

ออกแบบ : ตอนรับบทครูพี่ลิน เราต่อยก�าแพงเลย (เสียงร้องอู้ว-ดังไป ทัง้ ห้อง) ตอนถ่ายท�าฉากในรถไฟใต้ดน ิ ทีซ ่ ด ิ นีย์ แล้วเราขอเขาปิดสถานทีไ่ ม่ได้ รถไฟก็ก�าลังจะเลิกวิง่ ตอนนั้นเหลือแค่ ซีนนี้เป็นซีนสุดท้าย ถ้าถ่ายไม่ทน ั ก็ต้อง กลับมาถ่ายใหม่ซง ึ่ จะเปลืองงบมากขึน ้ สุ ด ท้ า ย ก็ ท� า ไ ม่ ทั น ต อ น นั้ น เร า ก็ เสี ย ใจมากเหมื อ นกั น ที่ เ ป็ น ต้ น เหตุ ให้ถ่ายท�าไม่เสร็จ เต๋อ : คิดว่ามีแต่ในมิวสิกวิดีโอ เสียอีก ต่อยจริงเลยเหรอ ซันนี่ : นี่ไง คนถึงท�ามิวสิกวิดีโอ แบบนี้ออกมาเยอะ มันฝังเข้าไปในหัว เด็กยุคนี้หมดแล้ว ว่าต้องต่อยก�าแพง เวลาคับข้องใจ (หัวเราะ)

่ งนี้ ออกแบบคงรูส แต่กบ ั หนังเรือ ้ ก ึ กดดันน้อยลงใช่ไหม

ออกแบบ : น้อยลงมาก แทบจะ เป็นคนละแนวเลยค่ะ (ยิม ้ อย่างภูมใิ จ) ซันนี่ : ท�างานกับผูก ้ า � กับแบบเต๋อ ถ้าไม่เข้าใจคือตายเลยนะ สมมติถ้าเรา เป็นนักแสดงทีเ่ ล่นหนังมานาน แล้วมา เจอเขาเรือ ่ งนี้เรือ ่ งแรก เราจะเชื่อว่ามี หาเรือ ่ งกันแน่นอน (หัวเราะ) เพราะเรา แทบไม่รูเ้ ลยว่าผูก ้ า � กับคนนี้เขาคิดอะไร อยู่ เต๋อ : จริงๆ ตอนทีร่ ูว้ า ่ ออกแบบ ร้องไห้ก็ชอ ็ กเหมือนกัน เพราะเราคิดว่า ตัวเองเป็นผูก ้ า � กับทีใ่ จดีทส ี่ ด ุ ในจักรวาล แล้วนะ

แล้วผู้ก�ากับที่ใจดีท่ีสุดในจักรวาล คนนี้ แก้ปัญหานี้อย่างไร

เต๋อ : ผมบอกน้องไปว่า ในความรูส ้ ก ึ ทีเ่ ราคิดว่าตัวเองแสดงไม่ดี บางที ในมุมมองผูก ้ �ากับคือมันดีแล้ว แต่กไ็ ม่รู ้ ว่ า น้ อ งเขาจิ น ตนาการไปถึ ง ขั้ น ไหน เพราะเวลาเราบอกว่ า โอเค มั น คื อ โอเคแล้วจริงๆ ถ้าไม่โอเคคงไม่ปล่อย ให้ผ่านหรอก ก็ ต้องอยู่ตรงนั้ นเรือ ่ ยๆ จนกว่าเราจะบอกว่าพอแล้วอยู่ดี หรือ บางทีซีนนั้ นมันแค่ ดี ไม่ได้ แย่ แต่ เรา ต้ อ งไปต่ อ แล้ ว เหมื อ นกั น ก็ ไ ม่ ไ ด้ ผิ ด อะไร การท� า หนั ง มั น คื อ การบริห าร ถ้ าเราจะเอาแต่ ยอดเยี่ยมอย่างเดี ยว

ปั ญ ห า อ ะ ไ ร บ้ า ง ที่ ท� า ใ ห้ ห นั ง ออกมายอดเยี่ยมทุกช็อตไม่ได้

ในฐานะที่ เ ต๋ อ เป็ น ผู้ ก� า กั บ ที่ ช อบ ถ่ายแบบลองเทกมาแต่ไหนแต่ไร รวมทั้งในเรื่องนี้ก็มีอยู่ อยากรู้ว่า ลองเทกที่เปอร์เฟ็กต์ของคุณนั้น เป็นแบบไหน

เต๋อ : ส�าหรับผมคือต้องเป๊ะ แต่ก็ ขึ้ น อยู่ กั บ ตั ว หนั ง และวิ ธี ก ารเล่ า ด้ ว ย ไม่ใช่ว่าจะใช้ลองเทกทุกช็อต แล้ วจะ กลายเป็ น หนั ง ดี อี ก อย่ า งลองเทก ใช้เวลาและพลั งงานของเรามหาศาล มาก การจะถ่ ายแบบนี้ เราต้ องจั ดคิ ว ดู คิ ว กั น ละเอี ย ดมาก หนั ง ดี ๆ ที่ ใ ช้ ลองเทก อย่างเช่น Children of Men นี่ ก็ซูเปอร์ลองเทก เขาอาจจะซ้อมกั น ทัง้ วันเลย แต่ก็ไม่ใช่ทก ุ เรือ ่ งทีจ ่ ะใช้วธ ิ น ี ี้ แล้วหนังออกมาดี อย่างการสัมภาษณ์ ครัง ้ นี้ ที่ เราคุ ย กั น เป็ น ชั่ ว โมง ถ้ า คนดู ได้อ่านทุกอย่างแบบต่อเนื่องยาวๆ เลย ก็ ค ง จ ะ ไ ม่ ส นุ ก เท่ า กั บ ที่ ผ่ า น ก า ร เรียบเรียงใหม่แล้วก็ได้

คุณไม่คด ิ ว่าตัวเองจะทะเยอทะยาน ่ งอย่าง จนถึงขัน ้ ท�าลองเทกทัง ้ เรือ หนังเรื่อง Birdman บ้างหรือ

เต๋ อ : ถ้ า เป้ า หมายของผมคื อ การน�าเสนออะไรสักอย่างยาวๆ ผมอาจ จะท�าก็ได้ ยิงไปเลย 6 ชัว ่ โมง ไม่ต้อง เปลี่ ย นอะไรเลย คนดู ก็ ดู กั น ไปเลย (หัวเราะ)

15


A MUST BOOK

เริม ่ เปิดฉากปะทะจ�านวน 8 รอบการแสดง ในวันที่ 4, 5, 11 และ 12 มกราคม 2563 ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จ�าหน่ายบัตรที่ www.ticketmelon.com/ tapadkarnlakorn รายได้ส่วนหนึ่ง จากการจ�าหน่ายบัตรจะน�าไปช่วยเหลือ สังคมต่อไป

SHOW

4, 5, 11, 12 JAN 2020

มี ในเมษายน ซอล ใน กรกฎาคม 사월의 미, 칠월의 솔

เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้

ท� ำ ควำมเข้ ำ ใจวั ฒ นธรรม และสังคมเกำหลีผำ่ นเรือ ่ งสัน ้ คัดสรร ของนักเขียนร่วมสมัย 7 คน ซึง่ ได้รบ ั กำรตีพม ิ พ์ในนิตยสำรศิลปวัฒนธรรม เกำหลี Koreana มำแล้ว บำงเรือ ่ ง จะพำคุณไปใกล้ชด ิ ชีวต ิ บนคำบสมุทร เกำหลี บำงเรือ ่ งจะชวนคุณไปส�ำรวจ กิจวัตรและกิจกรรมทีเ่ รำทุกคนต่ำง คุ้นชินเป็นอย่ำงดี ทัง้ กำรเข้ำห้องน�ำ เพื่อปลดทุกข์ หรือกำรดื่มเบียร์กับ เพือ ่ นสนิท เพรำะเรือ ่ งธรรมดำเช่นนี้ อำจตำมมำด้วยเรือ ่ งยิง่ ใหญ่ทไี่ ม่มใี คร คำดฝัน และค�ำถำมส�ำคัญหลังจำกนัน ้ ก็คอ ื คุณคือใครส�ำหรับสังคมนี้ นีค ่ อ ื โอกำสที่ คุ ณ จะได้ รู ้จั ก และเข้ ำ ใจ รสชำติของเกำหลีอย่ำงลุม ่ ลึกแบบที่ โซจูหรือรำมย็อนก็ให้ไม่ได้ (ส�ำนักพิมพ์ ไจไจบุ๊คส์/รำคำ 250 บำท)

่ งราวคลาสสิกอย่าง ‘เจ้าพ่อเซีย ่ งไฮ้’ โดยน�ากลับมาตีความใหม่ เพื่อสร้าง ถาปัดการละคอน ปลุกพยัคฆ์โค่นมังกร เสนอเรือ ่ ความสนุกสนานทีเร้าใจกว่าเดิม พร้อมสอดแทรกมุกเสียดสีเหตุการณ์บ้านเมืองในปัจจุบัน ซึ่งทั้งเรียกเสียงหัวเราะ และกระตุกให้ผู้ชมฉุกคิดถึงประเด็นสังคมได้เสมอ “เมือ ่ สังคมเดินทำงมำถึงจุดต�ำสุด เงินตรำมีคณ ุ ค่ำ เหนือทุกสิง่ ควำมเท่ำเทียมมีอยูจ ่ ริงแค่ในฝัน ควำมยำกจน และควำมเหลื่ อ มล� ำ คื อ ปั จ จุ บั น ที่ ต้ อ งยอมรั บ ให้ ไ ด้ ท้องถนนปกคลุมไปด้วยควำมอันตรำย อำชญำกรรมเกิดขึน ้ มำกมำยจนเป็นเรือ ่ งปกติ แสงสียำมค�ำคืนสวยงำมสะดุดตำ ในขณะทีต ่ อนกลำงวันท้องฟ้ำกลับมืดมิด ควำมกลัวเข้ำปกคลุม ชีวต ิ ของผูค ้ น กลุม ่ ผูม ้ อ ี ท ิ ธิพลครอบครองทุกสิง่ ไม่แบ่งใคร ปกครองเซีย ่ งไฮ้ภำยใต้อำ� นำจ กำรพนัน ก�ำปั้น และกระสุนปืน” ปี 1930 คื อ ยุ ค ที่ มื ด มนที่ สุ ด ของเซี่ ย งไฮ้ ภำยใต้ ควำมวุน ่ วำยของบ้ำนเมือง เศรษฐกิจระส�ำระสำย คนจน

แร้นแค้น คนรวยสุรย ุ ่ สุรำ่ ย ผูม ้ อ ี ำ� นำจเป็นใหญ่และอยูเ่ หนือ กฎหมำยทั้งปวง เขำผู้นั้นมีนำมว่ำ ‘เจ้ ำพ่อฟงจิ้ งเหยำ’ ยังมีกลุม ่ คนเพียงหยิบมือเท่ำนัน ่ ำจหำญพร้อมลุกขึน ้ มำ ้ ทีอ ต่ อต้ ำนควำมชั่ว และโค่ นล้ มควำมอยุ ติธรรมในสังคม นั่ น คื อ 'สี่เหวิน เฉี ยง' และ 'ติ งลี่ ' สองชำยหนุ่ มผู้ยึดมั่น ในอุ ดมกำรณ์ พวกเขำจะสำมำรถเปลี่ ยนแปลงควำมอยุ ติ ธ รรมในเซี่ ย งไฮ้ ไ ด้ ห รือ ไม่ ติ ด ตำมเรื่อ งรำวของ สังคมอันโหดร้ำยและตัวละครที่เต็มไปด้วยอุดมกำรณ์ อ� ำ นำจ และควำมรัก ใน ‘เจ้ า พ่ อ เซี่ ย งไฮ้ ’ จั ด โดยนิ สิ ต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย

COLLECTION

CHRISTOPHER RAEBURN BRAND X TIMBERLAND COLLECTION 2019 หนึง่ ในคอลเลกชันของ Timberland ทีใ่ ส่ใจสิง่ แวดล้อมในทุกกระบวนกำรผลิต เพือ ่ ให้กำรท�ำงำนระหว่ำงแฟชัน ่ แวดล้อมไปด้วยกันได้ดี โดยคอลเลกชันนี้ ่ กับสิง ออกแบบโดย คริสโตเฟอร์ เรเบิรน ์ แฟชั่นดีไซเนอร์หัวใจสีเขียวชำวอังกฤษที่มี กระบวนกำรคิด กำรออกแบบ ตลอดจนกำรหำวัตถุดิบทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เช่น กำรใช้สว ่ นประกอบของวัสดุรไี ซเคิลทีม ่ ำจำกขวดพลำสติก ท�ำให้ตอนนีข ้ วดน�ำ มำกกว่ำ 300 ล้ำนขวด ได้กลับมำมีประโยชน์และมีชีวิตใหม่อีกครัง้ ลองสวมใส่ ได้ที่ Timberland Flagship Store ชั้น 3 เซ็นทรัลเวิลด์

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

MOVIE STAR WARS : THE RISE OF SKYWALKER บทสรุ ปสงครำมอวกำศของ ตระกูลสกำยวอล์กเกอร์ หลังจำกที่ ไคโล เรน น� ำ กองทั พ จั ก รวรรดิ กวำดล้ำงกลุ่มกบฏแต่กลับพ่ำยแพ้ อย่ำงไม่เป็นท่ำ ก่อนทีเ่ รย์ หญิงสำว ตัวละครหลักของไตรภำคนี้ จะพำกลุม ่ กบฏขึ้นยำนมิลเลนเนียมฟอลคอน หลบหนีไปในขณะที่ลุคสกำยวอล์กเกอร์ ได้ใช้พลังเจไดเฮือกสุดท้ำยในกำรโค่นล้ม ไคโล เรน ก่อนทีเ่ ขำจะเสียชีวต ิ ไปตำมวิถข ี องเจได บทสรุปในภำคนี้ จะเป็นอย่ำงไร ติ ดตำมมหำกำพย์ สงครำมดวงดำวนีไ้ ด้ตง้ั แต่ 19 ธันวำคม นี้ ในโรงภำพยนตร์

16 12



CALENDAR M

T

W

TH

F

SA

S

16

17

18

19

20

21

22

YESTERTODAYMORROW

BuTTERfliES All gOnE

OlÁ

RiSE Of MElODiES

A COnvEniEnT SunSET

lOvEiS HOMECOMing COnCERT

unlOvEABlE

นิทรรศการ ‘Yestertodaymorrow’ โดย กั น ตภณ เมธี กุ ล หรือ G o n g ka n น� า เ ส น อ ผลงานซึง่ เปรียบเสมือน ไดอารีสว่ นตัวของศิลปิน ทีจ ่ ด ั แสดงในบรรยากาศ ร่ ว ม ส มั ย วั น นี้ ถึ ง 9 มกราคม 2563 ณ ชั้น 2 RCB Galleria ซ.เจริญกรุง 24

นิทรรศการ ‘Butterflies All Gone’ โดย Sirreallit ว่าด้ วยการเติ บโตและ การเข้ า ใจตั ว เอง โดย ด�าเนินเรือ ่ งราวภายใต้ การเล่าผ่านบันทึกการเดินทางของเด็กคนหนึง่ ความรูส ้ ก ึ คือบันทึกของ ชีวต ิ ลองฟังเรือ่ งราวของ เขา ทีเ่ หมือนกับการฟัง เสียงของตัวเอง วันนีถ ้ งึ 2 มกราคม 2563 ณ 10ml. Cafe Gallery

นิ ท ร ร ศ ก า ร ‘ ส วั ส ดี ’ แสดงผลงานการร่วมมือ ระหว่างช่างฝีมอ ื ถักพรม แบบดัง้ เดิมชาวโปรตุเกส ที่ได้ ท�าขึ้นมาก่ อนแล้ ว และงานออกแบบใหม่ โดยศิลปินและนักออกแบบ ชาวไทยหรื อ ที่ อ าศั ย อยูใ่ นประเทศไทย วันนี้ ถึง 12 มกราคม 2563 ณ WTF Gallery ซ.สุ ขุ ม วิ ท 51 (เว้ น วั น จันทร์)

พบกับ The IHS World Orchestra วงออร์เคสตรา ระดับโลก ใน ‘Rise of Melodies’ เพลิดเพลิน ไปกับแนวดนตรีทห ี่ ลากหลาย ไม่วา่ จะเป็นแจ๊ซ แซมบา แมมโบ โพลกา และวอลต์ซ พร้อมดืม ่ ด�า วิวยามค�าคืนของแม่น�า เจ้าพระยาแบบ 360 องศา วั น นี้ เวลา 19.00 น. ณ RCB Helipad ริเวอร์ ซิตี้ แบงค็อก (บัตรราคา 1,500 บาท)

นิทรรศการ ‘A Convenient Sunset | A Convenient Holdup’ โดย มิติ เรืองกฤตยา ประกบคู่ ภาพสองชุด ต่ างองศา และอุณหภูมิ แต่เชือ ่ มโยง กั น ทางความคิ ด และ เ นื้ อ ห า ที่ ซุ ก ซ่ อ น อ ยู่ ห ล า ย ชั้ น วั น นี้ ถึ ง 19 มกราคม 2563 ณ บ า ง ก อ ก ซิ ตี้ ซิ ตี้ แกลเลอรี ซ.สาทร 1 (เว้นวันจันทร์และอังคาร)

คอนเสิรต ์ แห่งความคิดถึง ทีจ ่ ะชวนคุณกลับมาพบ กันอีกครัง้ รวมศิลปินทัง้ รุ ่น ใหม่ แ ละรุ ่น เก๋ า ของ ค่ายเพลง LOVEiS ENT. บ น เ ว ที ค อ น เ สิ ร์ ต เดี ย วกั น ใน ‘LOVEiS Homecoming Concert’ วั น นี้ เวลา 19.00 น. ณ อิ ม แพ็ ก อารีน า เมื อ งทองธานี จ� า ห น่ า ย บั ต ร ที่ ไทยทิกเก็ตเมเจอร์

นิทรรศการ ‘ชาตินี้ทรี่ ก ั เราคงรักกันไม่ได้’ โดย คธา แสงแข ทีค ่ รัง้ นีส ้ วม บทบาทเป็น ‘SK’ Secret Killer ตั ว ตนที่ ศิ ล ปิ น สร้างขึน ้ เป็นศิลปินเพลง แร็ป ที่ เขี ย นเพลงแร็ป ออกมาจากความกดดัน ในชี วิ ต จากปั จ จั ย ด้ า น คนใกล้ตวั และสังคม วันนี้ ถึง 12 มกราคม 2563 ณ 1Projects ซ.เจริญกรุง 28 (เปิดเฉพาะวันเสาร์ และอาทิตย์)

WHERE TO FIND

Where the conversations begin. adaybulletin.com

หมอชิต

5

5

7 ร้าน DEAN & DELUCA 7 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

ร้านอินทนิล 5 สาขา สาขาทั่วกรุงเทพฯ

Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น.

หมอชิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ สยาม อโศก ศาลาแดง

Meet Up Every Monday!

2 0 0

ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ากว่า 100 จุดทั ่วประเทศ 20 ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน


การจะมี แนวทางแก้ ไขปั ญ หาที่ ดี

เราควรมีทางเลือกใหม่ให้ชว ี ต ิ อย่าจ�ากัด

หนทางการแก้ไขปัญหาไว้แค่หนทางเดียว หรือ เรีย กอี ก อย่ า งว่ า เป็ น การกระจาย

ความเสี่ ย งของปั ญ หาที่ ก� า ลั งจะเกิ ดขึ้ น

เช่น เราสามารถลงทุนในตลาดหุน ้ ได้ แต่กค ็ วร

มีการรองรับความเสีย ่ งด้วยการแบ่งทรัพย์สน ิ ไปลงทุ น ประเภทที่ มี ระดั บ ความเสี่ ย งลดลง และเงินต้นไม่สูญหาย เป็นต้น

ส�ารวจความคิดที่หลากหลาย การน�าข้อมูลหรือความ-

คิ ด เห็ น จ า ก ห ล า ย ๆ แห ล่ ง มาประมวลผลเพือ ่ น�าไปพัฒนา ไอเดี ย ในการท� า งานต่ อ ไป

แต่ ส่ิ ง ที่ ต้ อ งระมั ด ระวั ง มาก

เหตุผลและความรูอ ้ ันจ�ากัดของ

ส า ม า ร ถ ใน ก า ร จ่ า ย เงิ น

ข อ ง เร า เพื่ อ รั ก ษ า เ ค ร ดิ ต

และสภาพคล่ อ งต่ อ การใช้ เ งิ น ในอนาคต

การท้าทายสมมติฐาน

การท้ า ทายสิ่ ง เดิ ม ที่ มี อ ยู่ ด้ ว ยการตั้ ง สมมติ ฐ านต่ า งๆ เพื่ อ ก่ อ ให้ เกิ ด ผลลั พ ธ์ห รือ

สิ่ ง ใหม่ ๆ ซึ่ ง ข้ อ นี้ ส ามารถน� า มา

ประยุ ก ต์ เป็ น หลั ก คิ ด เรื่อ งของ การเงินได้ โดยมากจะเกิ ดกั บ

คนที่ ห มั่ น วางแผนการเงิ น

เช่น การวางแผนการเก็บเงิน เพือ ่ การเกษี ยณในวัย 60-

80 ปี เราควรต้องมีเงินก้อน

ช่วงท้ายของชีวต ิ อยูเ่ ท่าไหร่

จึงจะเพียงพอ เมื่อได้ตัวเลข

ข อ ง จ� า น ว น เงิ น ที่ ต้ อ ง ก า ร กั บ

ระยะเวลาในการท�างานทีเ่ หลือ เราต้องออมและ

หลากหลาย

ภายใต้สมมติฐานที่ตั้งไว้ เป็นต้น

ด่วนตัดสิน แต่ให้ลองหาข้อมูลเพือ ่ เพิม ่ ความ-

ลงทุนอีกกี่เปอร์เซ็นต์ถึงจะได้ตามเป้าหมาย

การคิดเชิงเปรียบเทียบ

การคิดเชิงเปรียบเทียบก็สามารถน�ามาใช้

กั บ เรื่ อ งการเงิ น ได้ เช่ น การเปรี ย บเที ย บ

ภาพ : พงศ์ธร ยิ้มแย้ม

ตั ว เอง หากยั ง ไม่ แ น่ ใ จ อย่ า เพิ่ ง

เรือ ่ ง : โอมศิริ วีระกุล

ที่ สุ ด คื อ การตั ด สิ น ใจภายใต้

ผลประโยชน์ หรือความ-

MONEY LIFE BALANCE

การสร้างทางเลือกใหม่

วิธค ี ด ิ นอกกรอบในแบบ EDWARD DE BONO

ดร. เอ็ดเวิร์ด เดอ โบโน (Edward De Bono) นักเขียน ที่มีดีกรีเป็นทั้งนายแพทย์ นักจิตวิทยา ทัง ้ ยังเคยเป็นอาจารย์ ในสถาบันการศึกษาชัน ้ น�าของโลก เขาได้เขียนถึงเรื่องความคิด นอกกรอบไว้อย่างน่าสนใจว่า “การคิดนอกกรอบอาจเปรียบได้ กับเกียร์ถอยหลังของรถยนต์ เราคงจะไม่ขบ ั รถโดยใช้เกียร์ถอยหลัง ตลอดเวลา แต่เราจ�าเป็นต้องมี เกียร์นี้ และต้องรู้จักวิธีใช้ เพื่อที่เราจะสามารถขับรถออกจาก ซอยตันได้” ซึ่งวิธีคิดนี้สามารถ น�ามาเชื่อมโยงเพื่อต่อยอดไปสู่ สมมติฐานในเรื่องอื่นๆ ได้

CONTRIBUTOR

สิทธิประโยชน์ ของบัตรเครดิ ตที่มีคุณสมบัติ ใกล้เคียงกัน การเปรียบเทียบดอกเบีย ้ ผ่อนบ้าน

โอมศิริ วีระกุล

หรือคอนโดฯ จากธนาคารหลายๆ เจ้า เพือ ่ รักษา

อ้างอิง: Lateral Thinking: Creativity Step by Step เขียนโดย Edward De Bono

THE SIMPLEST DREAM แด่ความฝันแห่งความสุข อันแสนจะเรียบง่ายและยั่งยืน

#UOB #UOBXadayBULLETIN #GuideToYourDreamLife

บรรณาธิการ เว็บไซต์การเงิน aomMONEY

ค�าแนะน�า #GuideToYourDreamLife จาก ‘โน้ต - มาลียา โชติสกุลรัตน์’ “หลายๆ คนอาจจะมีความฝันทีย ่ งิ่ ใหญ่ และชัดเจน ว่าอยากจะเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ แต่ตัวโน้ตเอง ไม่ได้เป็นคนที่ทะเยอทะยาน หรื อ มี ค วามฝั น แบบนั้ น เลย แต่ เ ราเป็ น คนช่างฝันและโชคดีที่ได้รับการหล่อหลอม มาให้ มี ค วามชอบหลายอย่ า ง และเราเอง ก็สนุกกับทุกสิ่งที่เลือกท�า” “โน้ตคิดว่าสิง ่ ส�าคัญคือการได้เลือก ท� าในสิ่ ง ที่ ช อบ และตั้ ง อยู่ บ นพื้ น ฐานของ สิง ่ ทีเ่ ราเป็น อาจจะเรียกได้วา่ นีเ่ ป็นความฝัน และเป้าหมายของตัวโน้ตเองก็วา่ ได้ คือใช้ชวี ต ิ ให้มีความสุขและสนุกในทุกวันของชีวิต” ในขณะที่ใครหลายคนอาจจะมีความใฝ่ฝันที่แสน ยิ่งใหญ่ และต้องการจะเดินทางไขว่คว้าไปให้ถึง แต่ส�าหรับ คนบางคนนั้นกลับมีความฝันที่แสนจะเรียบง่ายทว่าชัดเจน นั่นคือการใช้ชีวิตให้มีความสุขในทุกวัน เช่ น เดี ย วกั บ ‘ดร. โน้ ต - มาลี ย า โชติ ส กุ ล รั ต น์ ’ ผู้เป็นทั้งหัวหน้างานเศรษฐกิจดิจิทัลอาวุโส ของส�านักงาน เศรษฐกิจสร้างสรรค์ อดีตนักวิจยั และนักเรียนทุนกระทรวง วิ ท ยาศาสตร์ นอกจากนี้ ยั ง เป็ น อะไรอี ก ตั้ ง หลายอย่ า ง ทัง้ คอลัมนิสต์เจ้าของหนังสือขายดีหลายเล่ม อาทิ ‘สร้างเสริม ประสบการณ์อิงลิช’ และ ‘ตรีแล้วไปไหน’ นอกจากนีค้ ณ ุ โน้ตยังเป็นทัง้ แม่คา้ ขาย ‘ไข่เค็มซีอวิ๊ ตราบ้านตลาดน้อย’ ซึ่งเป็นธุรกิจของครอบครัว และยังมี งานอดิ เ รกที่ เ ธอท� า อย่ า งจริ ง จั ง นั่ น คื อ การเป็ น นั ก เต้ น สวิงแดนซ์ สมาชิกคนส�าคัญของกลุ่มบางกอก สวิง เราลองมาดูกันดีกว่าว่าผู้หญิงมากความสามารถ เปีย่ มบทบาท ผูม้ คี วามฝันทีเ่ รียบง่ายทว่าชัดเจน นัน่ คือ ‘การใช้ ชีวิตให้มีความสุขและสนุกในทุกวัน’ ซึ่งดูเหมือนว่าเธอผู้นี้ ก็ทา� ได้สา� เร็จตามนัน้ เสียด้วย เธอจะมีคา� แนะน�าอะไรดีๆ ทีเ่ ป็น #GuideToYourDreamLife ที่เป็นประโยชน์กับเราได้บ้าง

สแกน QR CODE เพือ ่ อ่านบทสัมภาษณ์ ฉบับเต็ม


BULLETIN B สยามดิสคัฟเวอรี่ Future Lab Volume 1 : Sneaker สยามดิสคัฟเวอรี่ ดิเอ็กซ์พลอราทอเรีย ่ ม ขับเคลือ ่ นการด�าเนินธุรกิจด้านค้าปลีกภายใต้ โปรเจ็ กต์ Future Lab เน้ นการขับเคลื่ อน เพือ ่ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์และความเป็น เอกลักษณ์ รวมถึงประสบการณ์ทไี่ ม่เหมือน ใครกั บ งาน ‘Future Lab Volume 1 : Sneaker’ พบสุ ด ยอดรองเท้ า สนี ก เกอร์ ยอดนิ ยมรุ น ่ หายากทั้งรุ น ่ Sold Out และ รุ ่น Original ใน ‘The 100 (Sold Out) Exhibition Curated by Soul4street’ และพื้นที่ ‘Hyper-Personalize Powered by Converse’ พื้นที่ที่ให้คุณได้สร้างสรรค์ รองเท้ า แบบไม่ ซ� า ใคร โดยศิ ล ปิ น ทั้ ง ไทย และต่างชาติทจ ี่ ะมาร่วมกันสร้างสรรค์ผลงาน กว่า 50 ศิลปิน จะมาเป็นส่วนหนึง่ ในการช่วย ให้คณ ุ ตกแต่งและออกแบบดีไซน์สนีกเกอร์ ในแบบ ‘Your Edition’ โดยงานจัดขึน ้ ตัง ้ แต่ วั น นี้ ถึ ง 9 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 3 ที่ ชั้ น G สยามดิสคัฟเวอรี่ ดิเอ็กซ์พลอราทอเรีย ่ ม

เมเจอร์ ซีนเี พล็กซ์ กรุป ้ คว้ารางวัล Influential Brands 2019

เมืองไทยประกันชีวิต จับมือ ROV บุกตลาดอีสปอร์ต

ไทย-ไต้หวัน รับประกวด การเขียนเรียงความและสารคดี พร้อมภาพประกอบ

The New MINI Clubman

นรุตม์ เจียรสนอง รองประธานเจ้าหน้าที่ บริหารฝ่ายการตลาด บริษท ั เมเจอร์ ซีนเี พล็กซ์ กรุป ้ จ�ากัด (มหาชน) รับมอบรางวัล Influential Brands 2019 ตอกย�าการเป็นผูน ้ า� โรงภาพยนตร์ อันดับหนึ่ งที่ครองใจผู้บริโภคกลุ่ม Gen Y สูงสุดประจ�าปี 2019 โดยได้รบ ั เกียรติจาก นายชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภาและอดีต นายกรัฐมนตรี เป็นประธานและมอบรางวัล ในงาน 2019 Asia’s CEO Summit & Award Ceremony จัดโดยบริษัท นีโอ ทาร์เก็ต จ�ากัด และ อินฟลูเอ็นเชีย ่ ล แบรนด์ ประเทศสิงคโปร์ โดยในงานมีตวั แทนจากแบรนด์ชน ั้ น�าร่วมงาน กว่า 300 ราย จาก 7 ประเทศ ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลป ิ ปินส์ จีน และไทย

สาระ ล�าซ�า กรรมการผู้จัดการและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เมืองไทย ประกันชีวิต จ� ากัด (มหาชน) จับมือ กฤตย์ พั ฒ นเตชะ Head of Garena Online (Thailand) เปิดตัวโครงการ ‘MTL x RoV’ เจาะกลุม ่ ลูกค้าคนรุน ่ ใหม่ทช ี่ น ื่ ชอบในการเล่น เกมออนไลน์และอีสปอร์ต พร้อมเชื่อมต่อ โลกธุ ร กิ จ ประกั น ชีวิต ในการสร้างเกราะ ป้องกันและส่งมอบความคุ้มครองทั้งด้าน ชี วิ ต และสุ ข ภาพสู่ นั ก เล่ น เกม (เกมเมอร์) งานดังกล่าวจัดขึน ้ ณ เมืองไทยประกันชีวต ิ ส�านักงานใหญ่

ส�านักงานการท่องเทีย ่ วไต้หวัน ประจ�า กรุงเทพฯ บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ากัด (มหาชน) ร่วมด้วยผู้สนับสนุนหลัก เปิดตัว ‘โครงการ ความร่วมมือไทย-ไต้หวัน ร่วมสร้างสรรค์ การเรียนรู ’้ เพื่อจัดการประกวดการเขียน เรียงความหรือสารคดีพร้อมภาพประกอบ ส�าหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ชิงรางวัลทัศนศึกษาที่ไต้หวัน 6 วัน 5 คืน ฟรี รวม 18 รางวัล กรอกใบสมัครออนไลน์ พร้อมแนบผลงานทาง www.csrcpall.com ปิดรับผลงานวันที่ 27 ธันวาคม

มินิ คลับแมน ใหม่ ได้รบ ั การพัฒนา ทั้ ง ในด้ า นดี ไซน์ นวั ต กรรมการขั บ ขี่ และ เทคโนโลยีการเชือ ่ มต่อใหม่ลา่ สุด มีความเป็น เอกลักษณ์ที่ไม่ซ�าใครในเซกเมนต์พรีเมียม คอมแพ็กต์ ผสานความสนุกสนานในการขับขี่ ตามแบบฉบับมินเิ ข้าไว้กบ ั การใช้งานในชีวต ิ ประจ�าวันและการเดินทางไกลไว้ได้อย่าง ลงตั ว เสริ ม ความโดดเด่ น ที่ แ ปลกใหม่ ทั้งภายในและภายนอก เติมเต็มไลฟ์สไตล์ ทุ ก รู ป แบบด้ ว ยเทคโนโลยี ก ารเชื่ อ มต่ อ ที่ทันสมัยอย่าง MINI Connected เปิดตัว เริม ู ค่าเพิม ่ ต้นราคา 2,430,000 (รวมภาษีมล ่ และโปรแกรมบ�ารุงรักษา MSI Standard) สัมผัสและขอรายละเอียดเพิม ู ่ เติมได้ทโี่ ชว์รม MINI ทั่วประเทศ

20


BOARD

TALK OF THE TOWN

อัพเดตแวดวง ข่าวสังคม ที่น่าสนใจ ในรอบสัปดาห์

เอ็มจี เปิดตัวพรีเซ็นเตอร์ ‘บิณฑ์ บรรลือฤทธิ์’ ตอกย�้า ความมั่นใจรถกระบะพันธุ์ยักษ์ NEW MG EXTENDER บริษัท เอสเอไอซี มอเตอร์-ซีพี จ�ากัด และ บริ ษั ท เอ็ ม จี เซลส์ (ประเทศไทย) จ� า กั ด ผู้ ผ ลิ ต และผู้ จ� า หน่ า ยรถยนต์ เอ็ ม จี ในประเทศไทย เปิดตัว ‘บิณฑ์ บรรลือฤทธิ’์ ในฐานะพรีเซ็นเตอร์คนแรกของ NEW MG EXTENDER กระบะพันธุย ์ ักษ์ เพื่อตอกย�า ในคุณภาพ ความคุ้มค่า และความทนทาน ของรถยนต์ ในฐานะผู้ ใช้ ง านจริง และมี ประสบการณ์ตรงกับ NEW MG EXTENDER เพื่ อ สร้า งความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ ผู้ บ ริโ ภคใน วงกว้ า ง พร้ อ มกั น นี้ ยั ง ได้ ม อบข้ อ เสนอ สุดพิเศษ ด้วยการรับประกันคุณภาพ 5 ปี หรือ 150,000 กม. และฟรีค่าบ�ารุงรักษา ตามระยะทางนาน 5 ปี ให้กับลูกค้าที่เป็น เจ้าของ NEW MG EXTENDER ตั้งแต่วันนี้ จ น ถึ ง สิ้ น เ ดื อ น ธั น ว า ค ม นี้ ( N E W M G EXTENDER ราคาเริม ่ ต้นพิเศษ 919,000 บาท พร้อมส่วนลดพิเศษ 34,000 บาท)

โฟร์โนล็อค ส่ง ‘TRINITY’ สร้าง เซอร์ไพรส์ 3 ห้าง 3 คอนเซ็ปต์

บัตรเครดิตเซ็นทรัล เดอะ วัน ชวนชม Star Wars: The Rise of Skywalker ก่อนใคร

Apple ประกาศรางวัล Apple Music Awards เป็นครั้งแรก

Doraemon Future Department Store ที่ DiverCity Tokyo Plaza

4NOLOGUE บริษัทเอนเตอร์เทนเมนต์ ครบวงจร ภายใต้การน�าของ อนุวต ั ิ วิเชียรณรัตน์ ประธานกรรมการบริหาร คว้างานยักษ์ใหญ่ ทิ้งท้ายปีจาก 3 บิ๊กเนมของเมืองไทยให้มา ดู แ ลงานเฟสที ฟ และงานเคาต์ ด าวน์ ข อง เซ็นทรัลเวิลด์, สยามเซ็นเตอร์ และดิเอ็มควอเทียร์ ซึ่งถือเป็นงานยิ่งใหญ่ในโอกาส ส่งท้ายปีนข ี้ องทัง้ 3 แห่ง โดยงานในแต่ละห้าง ก็จะเกิดขึ้นในคอนเซ็ปต์ที่แตกต่างกัน และ นอกจากนี้ ความพิเศษอี กหนึ่ งอย่างของ งานก็คอ ื การทีศ ่ ล ิ ปินในสังกัดอย่างวงทรินต ิ ี้ ได้ไปมีสว ่ นร่วมเฉลิมฉลองให้กบ ั ทัง้ 3 งานนี้ ด้วยรูปแบบที่แฟนๆ น่าจะชอบ

บัตรเครดิตเซ็นทรัล เดอะวัน น�าโดย อธิ ศ รุ จิ ร วั ฒ น์ กรรมการผู้ จั ด การ บริษั ท เจเนอรัล คาร์ด เซอร์วิสเซส จ�ากัด ร่วมกับ สุภอร รัตนมงคลมาศ กรรมการผู้จัดการ ใหญ่ บริษัท เดอะ วอลท์ ดิสนีย์ (ประเทศไทย) จ�ากัด จัดแคมเปญ Save The Galaxy กับ ภาพยนตร์แฟนตาซีฟอร์มยักษ์ สตาร์ วอร์ส: ก�าเนิดใหม่สกายวอล์กเกอร์ (Star Wars: The Rise of Skywalker) มอบสิทธิพิเศษ ให้ ส มาชิ ก บั ต รเครดิ ต เซ็ น ทรัล เดอะ วั น รับ บั ต รชมภาพยนตร์ก่ อ นใครในวั น ที่ 19 ธันวาคมนี้ โดยสมาชิกสามารถกดรับสิทธิ e-coupon ผ่านแอพฯ UCHOOSE มากกว่า 500 ที่นั่ง ตามเงื่อนไขที่ก�าหนด ดูข้อมูล เพิ่มเติมที่ www.centralthe1card.com

Apple Music Awards ยกย่ อ ง ความส�าเร็จในแวดวงดนตรีรวม 5 สาขาที่ แตกต่างกัน และคัดเลือกผู้ชนะรางวัลด้วย กระบวนการที่ ส ะท้ อ นถึ งมุ ม มองของ บรรณาธิการ รวมถึงเพลงที่ลูกค้าทั่วโลก หลงใหลมากทีส ่ ด ุ โดยประกอบไปด้วย ศิลปิน แห่งปีคือ Billie Eilish ศิลปินดาวรุง่ แห่งปี คือ Lizzo เพลงแห่งปีคอ ื Old Town Road ของ Lil Nas X โดยมอบรางวัลที่เป็นเอกลักษณ์ แบบ Apple เป็นแผ่นเวเฟอร์ซิลิคอนพิเศษ จาก Apple ทีป ่ ระกบด้วยแผ่นกระจกมันวาว และแกนอะลู มิ เนี ย มชุ บ ที่ ตั ด แต่ ง รู ป ทรง แผ่นเวเฟอร์มล ี ักษณะทรงกลมขนาด 12 นิ้ว ฝังด้ วยชั้นทองแดงและแกะลวดลายด้ วย แสงยูวี เพื่อเชื่อมโยงทรานซิสเตอร์หลาย พันล้านตัวเข้าด้วยกัน เป็นสัญลักษณ์ทส ี่ อ ื่ ว่า ชิพที่ช่วยมอบขุมพลังให้อุปกรณ์ต่างๆ จน ท�าให้ดนตรีทว ั่ โลกอยูใ่ กล้เพียงปลายนิว ้ คุณ

DiverCity Tokyo Plaza ในประเทศ ญี่ปุ่น ได้เปิดช็อป ‘โดราเอมอน’ อย่างเป็น ทางการแห่งแรกของโลก ในชือ ่ Doraemon Future Department Store ณ บริเวณชัน ้ 2 มีทั้งสินค้ าน่ ารักๆ และกิ จกรรมแสนสนุ ก จากโลกอนาคตให้ทก ุ ท่านได้สม ั ผัสมากมาย ภายใน Doraemon Future Department Store สามารถเดินทางมาทีห ่ า้ งสรรพสินค้า DiverCity Tokyo Plaza ได้อย่างง่ายดาย ด้วยรถไฟสาย Yurikamome ลงสถานี Daiba เดินต่อราว 5 นาที หรือนั่งรถไฟสาย Rinkai ลงสถานี Tokyo Teleport เดินต่อราว 3 นาที ศึกษาข้อมูลเพิม ่ วกับห้างสรรพสินค้า ่ เติมเกีย ได้ ที่ https://mitsui-shopping-park. com/divercity-tokyo/en

ISSUE 621

16 DEC 2019

21


เรือ ่ ง : ภัทรพร บุญน�ำอุดม

FEATURE ภาพ : ธนดิษ ศรียำนงค์

W H AT F E A R C A N T E AC H U S ? ไม่ใช่คณ ุ คนเดียวทีก ่ ลัว ใครต่อใคร ต่างก็มค ี วามหวาดกลัวต่ออะไรบางอย่าง กันทัง สิ ้ น ้ ความหวาดกลัวขั้นพื้ นฐานที่สุด เกิดขึน ้ เมือ ่ มนุษย์เราถูกทิง ้ ไว้ทา่ มกลาง สั ต ว์ ดุ ร้ า ยหรื อ ตกอยู่ ใ นสถานการณ์ ทีอ ่ ันตราย มนุษย์มีสัญชาตญาณของ ความกลัวภยันตราย และที่สุดคือกลัว ความตายด้วยกันทุกคน ชี วิ ต ในยุ ค ปั จ จุ บั น ไม่ ใ ช่ เ พี ย ง ความกลั ว ที่ มี อ ยู่ ต ามสั ญ ชาตญาณ ดั้งเดิม แต่ยังน�าพาความกลัวในอีก รูปแบบหนึ่งมาสู่ชีวิตของพวกเรา--เป็ นความกลัวที่ซับซ้อนและนามธรรม มากขึ้น a day BULLETIN ฉบับนี้ สนทนา กั บ บุ ค คลหลากหลายสาขาอาชี พ ถึ ง ประเด็น ‘ความกลัว’ ที่รายล้อมชีวิต ของพวกเขา---บางความกลัวเป็นสิง ่ ที่ ถูกสร้างขึน ้ อย่างจงใจ บางความกลัว เ ป็ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ เ ห็ น จ� า เ ป็ น ต้ อ ง ก ลั ว บางความกลัวเกิดขึ้นเพราะความไม่รู้ ฯลฯ แต่ไม่วา่ อย่างไรก็ตาม หากความกลัว ทีเ่ กิดขึน ้ ภายในจิตใจได้ทา� ให้เราขบคิด และเรียนรู้กับมันมากพอ ย่อมจะก่อให้ เกิดบทเรียนดีๆ และอาจจะน�าความเปลี่ยนแปลงที่ดีมาสู่ชีวิต 22


TO FIGHT STAGE FRIGHT “ น้าเน็ก “ เกตุเสพย์สวัสดิ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา พิ ธี ก ร นั ก พู ด ในอดีตเขาเป็นเด็กชายที่กลัวการพู ดในที่สาธารณะเป็นที่สุด เคยประหม่าจนออกไปยืนตัวสัน ่ หน้าเสาธง แถมยัง เป็นพิธีกรที่ในงานวิวาห์ที่ไม่ได้เรื่องเลยสักนิด ใช่—พิ ธีกรผู้ผ่านรายการสารพั นมามากที่สุดคนหนึ่งในประเทศไทย ขึ้นหิ้งนักพู ดสร้างแรงบันดาลใจระดับ มื อ อาชี พ เคยล้ ม เหลวในการพู ดต่ อ หน้ า สาธารณชนมาก่ อ น และเขาพร้อมเปิ ดเผยเรื่ องราวในอดีตของตัว เอง อย่ า งหมดเปลื อ ก เหตุ ผ ลอะไรก็ ไ ม่ รู้ ที่ ท� า ให้ เ ด็ ก คนหนึ่ ง ร้ อ งไห้ อ อกมาเมื่ อ พ่ อ ขอให้ ร้ อ งเพลงต่ อ หน้ า เพื่ อ นฝู ง เรื่องราวนี้ฝังใจจนกลายเป็นปมติดตัวอยู่นาน และใช้เวลาอยู่หลายปีกว่าปมนี้จะคลี่คลายจนหมดไป

เด็ ก ชายผู้ ห วาดกลั ว การพู ด ต่ อ หน้ า ผู้ ค น “สมัยเด็กๆ พ่อผมชอบเปิดเพลง ฝรัง่ แล้วเราก็ชอบร้องตามมัว ่ ๆ พึมพ�า กับตัวเอง ‘สะเฟสะเฟ หือ สะเฟ...’ ทีนี้ มันคงดูตลกขบขันดี ตอนเพือ ่ นพ่อมา ทีบ ่ า้ นเขาก็เล่าให้เพือ ่ นฟังว่า ‘ไอ้เน็กมัน ร้องเพลงโคตรตลกเลย มาร้องให้พวกอา เขาฟังหน่อยซิ’ เราก็อา้ ว อะไรวะ ยืนเงียบ เลย ไม่กล้าจนพ่อร�าคาญว่าท�าไมเรา ไม่รอ ้ งสักทีวะ นัน ู้ ก ึ ว่า ่ เป็นครัง้ แรกทีร่ ส อายมาก แล้วก็กลัวการแสดงออกมาก สักพักเพือ ่ นพ่อเลยบอกว่า ‘นีไ่ ง ลูกมึง ร้องแล้ว แต่ไม่ได้รอ ้ งเพลงนะ มันร้องไห้ ว่ะ’ “ครัง้ ทีส ่ อง หน้าเสาธง ครูใหญ่ ต้องการหาเด็กออกไปร้องเพลงในวาระ อะไรสักอย่าง แล้วเพือ ่ นเราทีอ ่ ยูแ ่ ถวนัน ้ จู่ ๆ มาจั บ มื อ เรายกขึ้ น เราก็ อ อกไป (ท�าท่าถือไมค์และก้มหน้า) ‘อือ ๋ ๆ สะเห สะเห หือ สะเฟ...’ และได้แต่คด ิ ว่าเมือ ่ ไหร่ เวลามั น จะผ่ า นไปสั ก ที ใจแม่ ง เต้ น หูแม่งอื้อ เรียกได้วา ่ ผมสูญเสียความมั่ น ใจในการแสดงออกเพราะมี ป ม จากการร้องเพลงตอนเด็กนั่นเอง”

ถ้ า ไม่ สู้ ก็ ต้ อ งหนี “ตอนเข้าท�างานในแกรมมี่ได้ปี สองปีแรก เขาเห็นว่าเรากับเพือ ่ นสนิท

อีกคนที่ชื่อเจี๊ยบเป็นคนตลกดี เพราะ ชอบแซวหยอกล้อกันไปมา ก็เลยอยาก ให้พวกเราไปเป็นพิธก ี รงานแต่งงานให้ คนในทีท ่ า� งาน นัน ่ มเละ ่ เป็นอีกครัง้ ทีผ ไม่เป็นท่า ท�าให้เจีย ๊ บต้องคอยประคอง ทั้งงาน และความล้มเหลวครัง้ นี้เป็น จุดเริม ี ร ่ ต้นของความสนใจในงานพิธก สงสัยว่าท�าไมอยูก ่ บ ั เพือ ่ นฝูงเราพูดได้ แต่พอต้องขึน ้ เวทีเรากลับประหม่า “เวลาทีเ่ ราเผชิญกับสิง่ ทีน ่ า ่ กลัว มันมีทางออกอยูส ่ องทาง ถ้าไม่ ‘สู’้ ก็ ‘หนี’ เราหนีมาหลายครัง้ จนไม่อยากจะหนี แล้ ว และที่ ส� า คั ญ คื อ ในมวลของ ความกลัวมันมีอะไรบางอย่างทีน ่ า่ สนใจ มี อ� า นาจของเสี ย งผ่ า นไมโครโฟน ที่ท�าให้ทุกคนหยุดฟังและหันมามอง หลังจากนัน ้ ผมก็พาตัวเองไปหาโอกาส ที่จะได้ พูดในวงที่กว้างขวางมากขึ้น ทัง้ ห้องประชุม เวทียอ ่ ยๆ และการไป ท�างานร่วมกับทีมงานในแผนกต่างๆ”

นั ก พู ดมื อ อาชี พ “ค�าว่า ‘มืออาชีพ’ น่าจะเกิดขึ้น ในช่วงทีผ ่ มเริม ่ รับงานอีเวนต์ หาเงินได้ จากการพูด แต่การปลดล็อกของผมมี ลักษณะแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่ได้มี สูตรส�าเร็จ เป็นการสะสมจากความคุน ้ ชิน และคอยบอกตั วเองว่า เฮ้ ย มันก็ คน เหมือนกันละวะ ความเขินอายจึงลดลง ไปพร้อมกับความเข้าอกเข้าใจทีเ่ พิม ้ ่ ขึน

การเรียนรูท ้ จ ี่ ะค่อยๆ ลดความกลัวลง ในรูปแบบนี้เองที่ท�าให้ผมเชื่อในเรือ ่ ง ของการค่อยเป็นค่อยไป ค่อยๆ ฝึกฝน ชีวต ิ ไม่ได้เป็นเหมือนตัวละครในหนังที่ ตระเวนไปตามงานแต่งครบ 20 งาน พอเข้างานที่ 21 ปุบ ๊ ฉันก็เก่งแบบพลิก หน้ามือเป็นหลังมือจนขึน ้ ไปพูดบนเวที ได้เลย ส�าหรับผม ชีวต ิ คือการเรียนรู ้ สัง่ สมประสบการณ์ ฝึกพูดต่อหน้า 5 คน 10 คน แล้วค่อยเพิม ่ เป็น 20 คน”

ทุ ก คนไม่ จ� า เป็ นต้ อ งพู ดเก่ ง “ผมคิดว่าการพูดต่อหน้าสาธารณะ เป็นความสามารถพิเศษอย่างหนึ่งซึง ่ ไม่จา � เป็นต้องท�าให้ได้ทก ุ คน เช่นเดียว กับการร้องเพลง การเล่นดนตรี ผมเชือ ่ ว่า พวกเราที่น่ังคุยกันอยู่ตรงนี้รอ ้ งเพลง หมาไม่แดกกันสักคน เวลาไปคาราโอเกะ ชอบมีคนให้รอ ้ งกันใช่ไหม เดี๋ยวกูรอ ้ ง ให้ฟง ั เลย กูไม่อายด้วย กูจะร้องเพลง ทีท ่ า� ให้กเู กิดปมตอนเด็กๆ นีล ่ ะ (หัวเราะ) เดี๋ยวเพลงต่อไปมึงจะเลิกเรียกกูเอง เพราะฉะนั้ น ไม่จ�าเป็นว่าเราจะต้ อง เป็นคนทีเ่ ฉิดฉาย มือถือไมค์ไฟส่องหน้า สุดท้ายแล้วก็แค่รูว ้ ่าอะไรที่ฉันท�าได้ และอะไรทีฉ ่ ันท�าไม่ได้ ถ้าไม่มค ี วามสามารถในการพูดต่อหน้าผูค ้ นคุณไม่ตอ ้ ง ตกใจ มันไม่ใช่ความสามารถพื้นฐาน ทีม ่ นุษย์ทก ุ คนต้องมี เราก็แค่หลีกเลีย ่ งไป เท่านัน ้ เอง”

“เวลาที่เราเผชิญกับสิ่งที่น่ากลัว มันมีทางออกอยู่ สองทาง ถ้าไม่ ‘สู้’ ก็ ‘หนี’ เราหนีมาหลายครั้ง จนไม่อยากจะหนีแล้ว และที่ส�าคัญคือ ในมวลของ ความกลัวมันมีอะไรบางอย่างที่น่าสนใจ” ISSUE 621

16 DEC 2019

23


“การที่เราเริ่มต้นท�าโฆษณาด้วยการขายความกลัว เช่น กลัวว่าจะไม่ขาว กลัวสิว กลัวอ้วน ฯลฯ ก็เปรียบเหมือนกับการที่เราติดกระดุม เม็ดแรกไว้อย่างนั้น คนที่เข้าวงการโฆษณาคนต่อมา เมื่อเขารู้ว่าเห็นผล เขาก็พยายามขับเคลื่อนมันต่อไป ความกลัวเหล่านี้จึงทรงพลัง และยังอยู่คู่กับการท�าโฆษณามาจนถึงทุกวันนี้”

FOR WHAT IT’S WORTH “ เม้ง “ ประสิทธิ์ วิทยสัมฤทธิ์ คนท� า โฆษณา เขาเป็นครีเอทีฟมืออันดับต้นๆ ของวงการโฆษณา เคยอยู่ร่วมขบวนการที่ใช้ ‘ความกลัว’ ปลูกทัศนคติให้ผู้คนสูญเสียความมั่นใจ ท�าโฆษณาให้คนกลัวด�า กลัวผิวเสีย กลัวอ้วน และกลัวอีกสารพัดอย่าง เพื่อเร้าให้ซื้อสินค้าที่เขาท�าโฆษณา เปล่า, เขาไม่ได้กระโจนเข้าไปในอุตสาหกรรมโฆษณาเพื่อจะปั่นหัวใครต่อใคร แต่ด้วยความสนุกมือจนลืมมองภาพรวมของสิง ่ ที่ก�าลังท�าอยู่ เมื่อรู้ตัวอย่างนี้ เขาจึงเปลี่ยนเป้าหมายในการท�างานใหม่ ราว 7 ปีท่แ ี ล้วจึงเกิดครีเอทีฟเอเจนซี นามว่า ‘ชูใจ กะ กัลยาณมิตร’ ที่มีผองเพื่อนมาร่วมขบวนกันทั้งหมดอีก 4 คน คือป๋อม ยอด เป้า กิ๊บ ภายใต้แนวคิด ‘หากมี เ งิ น สองบาท บาทหนึ่ง ซื้ อ ข้ า ว… อี ก บาทไว้ ซ้ือ ดอกไม้ ’ นั่น คื อ การมุ่ ง สร้ า งสรรค์ ง านที่แ ปลกใหม่ มี ทั ศ นคติ ท่ีดี เห็ น ผล และได้ ป ระโยชน์ ใ นวงกว้ า ง มากกว่าแค่ตัวคนท�างาน

ความกลั ว ในงานโฆษณา “ความกลัวอยูค ่ ก ู่ บ ั วงการโฆษณามานานแล้ว เพราะการหยิบความกลัวขึน ้ มาพูดเป็นเหมือนการชี้ ให้เห็น pain point ของลูกค้า หลังจากนั้นเราจะชี้ ให้เห็นประโยชน์ (benefit) ของสินค้าว่ามันสามารถ ช่วยแก้ปญ ั หาให้กับเขาได้ ลูกค้าจึงรูส ้ ก ึ ว่าสินค้า ชิน ิ ซึง่ การทีเ่ ราเริม ้ นี้คือของจ�าเป็นต่อชีวต ่ ต้นท�า โฆษณาด้วยการขายความกลัว เช่น กลัวว่าจะไม่ขาว กลัวสิว กลัวอ้วน ฯลฯ ก็เปรียบเหมือนกับการทีเ่ รา ติดกระดุมเม็ดแรกไว้อย่างนัน ้ คนทีเ่ ข้าวงการโฆษณา คนต่อมา เมือ ่ เขารูว้ า่ เห็นผล เขาก็พยายามขับเคลือ ่ น มันต่อไป ความกลัวเหล่านี้จึงทรงพลังและยังอยู่ คูก ่ บ ั การท�าโฆษณามาจนถึงทุกวันนี”้

ไอเดี ย ที่ ดี เ พื่ อ ความตั้ ง ใจที่ ดี “ชูใจ กะ กัลยาณมิตร คือการรวมตัวกันของ คนท�างานโฆษณาทีค ่ ด ิ คล้ายๆ กัน พวกเรามีความตั้งใจผลักดันสังคมในแบบที่เราเชื่อ ความตั้งใจ

ของเราคือการเข้าไปเสริมเรือ ่ งราวดีๆ ทีป ่ กติแล้ว จะไม่ค่อยมีใครท�า เพราะท�าแล้วไม่ค่อยได้ตังค์ เราอยากเข้าไปช่วยให้ เรือ ่ งราวเหล่ านี้ มีไอเดี ย ที่มีพลังมากพอในการผลักดันสังคมให้ดีขึ้น “ทุกวันนี้ เราท�างานเพื่อสังคม แต่ เราก็ ท�า แบบคอมเมอร์เชียลทั้งด้ านคุณภาพและวิธีคิด กระบวนการสร้างสรรค์ไอเดียของเรามีความเป็น มืออาชีพไม่ต่างจากการท�างานคอมเมอร์เชียล เพียงแต่เรามีขอ ้ แม้วา่ เราจะน�าไอเดียของเราไปรับใช้ งานทีด ่ ี ด้วยความเชือ ่ ว่า ถ้าเราเอาความตัง้ ใจดีๆ มาบรรจุลงในหีบห่อทีส ่ งั คมเขานิยมกัน ไอเดียดีๆ ก็ จะน�าพาความตัง้ ใจดีๆ ให้เกิดประโยชน์ตอ ่ ผูค ้ นได้”

ดี เ อ็ น เอของชู ใ จฯ “ถ้าชูใจฯ จะท�าโฆษณาให้กบ ั สินค้าประเภท เครือ ่ งส�าอาง เราจะไม่ทา� ให้คณ ุ กลัวว่า ถ้าไม่ใช้แล้ว จะไม่สวย ถ้าไม่สวยแล้วจะไม่มีคนจีบ แต่เราจะ บอกว่าต่อให้คณ ุ เป็นคนหน้าตาสวย แต่ถา้ นิสย ั แย่ คุ ณ ก็ ไ ม่ ส วยหรอก โปรดั ก ต์ เป็ น เพี ย งสิ่ ง ที่ ช่ ว ย

อ� า นวยความสะดวกให้ คุ ณ ได้ ส่ ว นหนึ่ ง เท่ า นั้ น ส่วนทีส ่ า� คัญกว่าคือตัวตนทีค ่ ณ ุ เป็นจริงๆ คุณจะเป็น ผูห ้ ญิงทีก ่ ลัวแดด กลัวด�า กลัวผิวไม่สวยแล้ววันๆ คอยแต่หลบแดดอยู่ในร่มเหรอ เฮ้ย คุณออกไป ใช้ชว ี ต ิ สิ มันจะดีกว่านะ เพราะถ้าโปรดักต์ดี เดีย ๋ วก็ กลับมาผิวสวยได้ อย่าให้ความกลัวในเรือ ่ งรูปลักษณ์ ภายนอกมาท�าให้คณ ุ กลัวการใช้ชว ี ต ิ เลย”

โฆษณาที่ ดี เ พื่ อ โปรดั ก ต์ ที่ ดี “สิง่ ทีเ่ ราท�าไม่ได้เปลี่ยนแปลงจากโปรดักต์ ทีเ่ ลวกลายเป็นโปรดักต์ทด ี่ ี เราแค่ทา � ให้สน ิ ค้าพูด ในสิง ซึ ง ่ สะท้ อ นทั ศ นคติ ท ด ่ ี ี อ อกมา แต่ ถ ้ า มีโจทย์ ่ ให้ท�าโฆษณาให้กับสินค้ าที่แย่ในตั วของมันเอง ชูใจฯ ก็ต้องเลือกที่จะไม่รบ ั ตั้งแต่ต้น บางคนเขา มาหาเรา เขาต้องการจุดพูดดีๆ เพือ ่ ให้ได้ภาพลักษณ์ ดีๆ ทัง้ ทีโ่ ปรดักต์ของเขาแย่ แบบนีอ ้ น ั ตรายและต้อง ระวัง เพราะถ้าเราเลือกรับท�าขึ้นมา แปลว่าเรา ก�าลังใช้โฆษณาในทางที่ผิด”

24


“ จิงจิง “ วริศรา ยู นางแบบ

ถึงแม้จะกินเท่าไรก็ไม่อ้วน แต่ใช่ว่าเธอจะพึงพอใจกับร่างกายของตัวเอง บ่อยครัง ้ ที่จิงจิงส่องกระจกแล้วรู้สึกว่า ‘ผอมเกินไป’ จนวิตกกังวลไปทัง ้ วัน ขัดกับ ดีกรีนางแบบสุดเปรี้ยว ผู้คว้ารางวัลชนะเลิศจากเวทีไทยซูเปอร์โมเดลตั้งแต่อายุ 15 ปี ได้บินเดี่ยวไปเซ็นสัญญาเป็ นนางแบบที่ประเทศเกาหลี แถมด้วยรางวัล นักแสดงน�าหญิงยอดเยี่ยม ตัง ้ แต่เล่นภาพยนตร์เรื่องแรก อย่าง App War แอปชนแอป --- ตัวจริงของเธอต่างจากดีกรีของเธอ เพราะความเป็นคนวิตกจริต สูง แถมยังมีปมวัยเด็กที่ย้อนกลับมาบัน ่ ทอนความมัน ่ ใจอยู่บ่อยๆ ความวิตกกังวลต่อรูปลักษณ์ภายนอกยังไม่น่ากลัวเท่ากับความกลัวภายในจิตใจ… ชีวิตในวัยมัธยมฯ สอนให้เธอรู้ว่า คนชอบเต้นชอบร�า รักการขึ้นเวที ควรสงวนความอยากแสดงออกของตัวเองไว้ เพราะมันคือคุณสมบัติท่ไี ม่เข้าตาพวกรุ่นพี่ในโรงเรียน แต่กว่าจะรู้ตัว เธอก็โดนพวกเขายืนล้อม รุมด่า กล่าวหาว่า อยากเด่นอยากดัง ลามไปถึงการด่าพ่อล่อแม่จนกลายเป็นปมฝังใจมาถึงทุกวันนี้

ความกลั ว ของนางแบบ “เราไม่เคยกลั วอ้ วนเลย แต่ เรากลั วผอม กลัวมาก (เน้ นเสียง) คนกลัวอ้วนมักจะไม่ค่อย เข้าใจว่าคนผอมเขารูส ้ ึกอย่างไร เราจึงอยากจะ บอกว่าคนผอมไม่ได้เครียดน้อยไปกว่าคนอ้วนเลย จะมีบางช่วงที่เรากินอะไรไม่ลง หรือต่อให้อยาก กิน แต่กินเท่าไหร่น�าหนักก็ไม่เพิม ่ “มันถูกต้องแล้วล่ะที่นางแบบจะต้องวิตก กังวลเรือ ่ งหุน ่ ของตัวเอง เพราะมันหมายถึงโอกาส ของการท�างานในวงการนี้ ถ้ าเป็นนางแบบแต่ ปล่อยปะละเลยจนตัวเองอ้วนเกินไป ก็จะถ่ายแบบ ไม่สวย และแปลว่าจะไม่มงี าน เพราะฉะนัน ้ นางแบบ จึงรักร่างกายของตัวเอง แต่เราก็ไม่สนับสนุนให้ตอ ้ ง ทรมานตัวเองด้วยการอดอาหารจนผอมโซ”

ความกลั ว ของเด็ ก ผู้ ห ญิ ง “เรากลัวการโดนบูลลี เพราะตอนเด็กๆ เราโดน บูลลีหนักมาก สมัยมัธยมฯ เวลามีงานโรงเรียน เรามักจะเสนอตัวว่า ‘หนูอยากเต้นค่ะ’ ท�าให้รน ุ ่ พี่

ISSUE 621

16 DEC 2019

หลายๆ คนไม่ชอบหน้า จนเกิดเหตุการณ์ทท ี่ า � ให้ เสียใจมาก วันหนึง่ รุน ่ พีเ่ ดินมาล้อมแล้วรุมด่า ‘แรด’ ‘ชอบท�าตัวเด่น’ ‘อยากเป็นคนดังหรือไง’ ขนาดเพือ ่ น บางคนยังไม่กล้าเข้ามาช่วย เพราะว่าถ้าเขาเลือก ที่จะเข้ามาดึงมือเราออกไป เท่ากับว่าเขาจะโดน รุน ่ พี่แบนไปด้วย”

บาดแผลจากการโดนบู ล ลี “สิ่ ง ที่ เราอยากบอกกั บ คนที่ ม าบู ล ลี คื อ การโดนบูลลีสร้างบาดแผลฝังใจคนที่ถูกกระท�า ไปอี ก นานและยั ง ส่ ง ผลไปถึ ง ชี วิ ต ในอนาคต ส�าหรับเราต่อให้เหตุการณ์ผา่ นไปนานแล้ว แต่สงิ่ ที่ เกิ ด ขึ้ น ในอดี ต ยั ง ติ ด ตั ว เรามาและส่ ง ผลให้ เรา กลายเป็ น คนไม่ มี ค วามมั่ น ใจมาจนถึ ง ตอนนี้ เพื่อนสนิทของเราทุกคนจะรูว ้ ่าเราจะพะวงนู่นนี่ แล้วก็จะวิตกกังวลเกี่ยวกับตัวเองตลอดเวลา “สิ่ ง ที่ ไ ม่ ช อบมากที่ สุ ด เกี่ ย วกั บ ตั ว เองคื อ นิสัยขี้นอยด์ของเรา บางทีแค่มีคนทักว่าผอมลง ไปนะ เราจะรีบเดินไปเช็กตัวเองในกระจก วันนั้น ทัง้ วันจะหน้าหงิกไปเลย เพราะเอาแต่บอกตัวเอง

ว่าเราผอมไป เราไม่สวย”

ก้ า วข้ า มความกลั ว “เราไม่เคยอยากบูลลีใครกลับ เพราะเคย โดนมาก่อนจึงรูว้ ่ามันแย่แค่ไหน แต่หลายๆ ครัง้ จะเสียดายที่ตอนเด็กๆ เราไม่สู้คนเลย คงเพราะ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งมั น เข้ า มาในช่ ว งเวลาที่ เรายั ง ไม่ ป ระสี ป ระสาอะไร สิ่ ง ร้า ยๆ มั น จึ ง ลดทอน ความมั่นใจและท�าให้เรากลัวไปหมดทุกอย่าง “พอเติบโตขึ้น อายุและการท�างานพาเรา ออกไปเจอโลกกว้าง พบเจอคนหลากหลายขึ้น พบว่าเราเองก็ทา� งานได้ดี มีคนยอมรับ มีคา� ชืน ่ ชม มันค่ อยๆ ท�าให้เราก้ าวข้ามความกลั วและมอง ย้อนกลั บมาแล้ วพบว่าเราไม่ได้ แย่เหมือนที่เขา เคยด่ า เลยนะ การท� า งานเป็ น นางแบบไม่ เ คย ท�าให้เราเสียความมัน ั มัธยมฯ เท่านัน ่ ใจ มีแค่วย ้ เอง ที่ เราเดิ น เข้ า โรงเรี ย นไปด้ ว ยความรู ้ สึ ก กลั ว นอกจากนั้ นเราสนุ กและมีความสุขกับการชอบ แสดงออกของตัวเองมาก” (ยิ้ม) 25

“เราไม่เคยอยากบูลลีใครกลับ เพราะเคยโดนมาก่อนจึงรู้ว่ามันแย่แค่ไหน แต่หลายๆ ครั้งจะเสียดายที่ตอนเด็กๆ เราไม่สู้คนเลย สิ่งร้ายๆ มันจึงลดทอนความมั่นใจและท�าให้เรากลัวไปหมดทุกอย่าง”

THE SCAR THAT HAS SHAPED ME


้ เมือ ่ คนรู้สึกว่าก�าลังเผชิญกับอันตราย หรือรู้สึกว่ามีสิ่งซึง ่ เข้ามา “เรามักจะกลัวในสิ่งทีเ่ ราไม่คุ้นเคย ความกลัวเป็นปฏิกิริยาทีเ่ กิดขึน คุกคามความมั่นคงปลอดภัยของเขา”

WE FEAR EACH OTHER “ ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. บุญเลิศ วิเศษปรีชา “ นั ก มานุ ษ ยวิ ท ยาที่ ศึ ก ษาเรื่ อ งคนไร้ บ้ า น ‘ไม่กลัวหรือไง? ถึงกล้าไปใช้ชว ี ต ิ อยูข ่ า้ งถนนแบบนัน ิ ว่างานวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกของเขาคือการเข้าไป ่ นได้ยน ้ ’ คือค�าถามทีเ่ ขาเจอเป็นประจ�า เวลาทีค คลุกคลีและใช้ชีวิตแบบเดียวกับคนไร้บ้าน เขาไม่ได้คิดว่าตัวเองกล้าบ้าบิ่นหรือเก่งเหนือใคร แต่ค�าถามแบบนี้กลับท�าให้เขาแปลกใจและชวนให้ค้นลึกลงไปถึงอคติ ที่อยู่เบื้องหลัง อาจารย์ประจ�าคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือนักมานุษยวิทยาผูท ้ ม ุ่ เท ลงลึก และหลงใหลในการศึกษาชีวต ิ ของคนชายขอบ เขาเอาจริงเอาจังกับการลงพื้นที่เพื่อท�าวิจัย ด้วยความเชื่อว่าการจะได้มาซึ่งค�าตอบ เราต้องออกจากจุดที่เรายืนอยู่ ลองไปยืนในมุมของคนอื่น เพื่อท�าความเข้าใจ คนที่แตกต่างไปจากเรา

ค� า ถามสะท้ อ นความกลั ว “ผมมักจะเจอค�าถามว่า ‘ไม่กลัวอันตราย เหรอ’ หรือ ‘ต้องกล้าแค่ไหนถึงมาท�าวิจัยเรือ ่ งนี้’ แต่ผมเองกลับไม่ได้รูส ้ ึกว่าเราท�าเรือ ่ งน่าทึ่งหรือ กล้าหาญเป็นพิเศษเลย ผมกลับประหลาดใจและ มันท�าให้ผมกลับมาตั้งค�าถามต่อว่า ‘ท�าไม’ คน เขาถึงถามค�าถามแบบนี้ ผมพบว่ามันคืออาการ ร่วมกันของคนในหลายๆ สังคม คือเรามักจะกลัว ในสิ่งที่เราไม่ค้น ุ เคย “ในทางมานุษยวิทยา ความกลัวเป็นปฏิกริ ย ิ า ที่เกิ ดขึ้นเมื่อคนรู ส ้ ึกว่าก� าลั งเผชิญกั บอั นตราย หรือ รู ้สึ ก ว่ า มี ส่ิ ง ซึ่ ง เข้ า มาคุ ก คามความมั่ น คง ปลอดภัยของเขา ส�าหรับผมแล้ว หลายๆ ความกลัว เป็นสิง่ ทีถ ่ ก ู สร้างขึน ้ ทัง้ จากประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม”

เราต่ า งหวาดกลั ว กั น และกั น “ถามว่ าผมกลั ว อั นตรายไหม ผมกลั ว นะ แต่ส�าหรับผม คนที่แตกต่างจากเราไม่ได้แปลว่า

เขาน่ า กลั ว หรื อ เป็ น คนอั น ตราย ความกลั ว ที่คนส่วนหนึ่ งมีต่อคนไร้บ้านคื อความกลั วจาก สิ่งที่เราไม่คุ้นเคย และเป็นความกลัวที่เกิดจาก การประทั บ ตราว่ า คนเหล่ า นี้ จ ะน่ า กลั ว แต่ นักมานุษยวิทยาถูกฝึกให้มองคนทีแ ่ ตกต่างด้วย ความเคารพ เมื่ อ ไปท� า วิ จั ย กั บ คนที่ แ ตกต่ า ง ไปจากเรา เราจึงไม่กลัว และถืออยูเ่ สมอว่าความแตกต่างเป็นเรือ ่ งที่เราต้องเคารพและเรียนรู ้ “คนส่วนใหญ่จะชอบคิดว่าเรากลัวคนไร้บา้ น อยู่ ฝ่ า ยเดี ย ว แต่ ลื ม คิ ด ไปว่ า เขาเองก็ ก ลั ว เรา เหมือนกัน ความกลัวของพวกเขาสะท้อนมาจาก ประสบการณ์ทเี่ คยถูกกวาดจับมาก่อน และเราต่าง เป็นคนแปลกหน้าต่อกัน เขาไม่เคยเจอคนทีส ่ นใจ และอยากมาศึ ก ษาชี วิ ต พวกเขาอย่ า งจริง จั ง จึงรูส ้ ก ึ ว่าคนคนนีม ้ าแปลก อยูๆ ่ ก็เข้ามาแนะน�าตัว ว่าเป็นนักศึกษา จะมาเรียนรูช ้ ีวิตของคนไร้บ้าน มันน่าเชือ ่ ถือตรงไหนกันล่ะ เพราะฉะนัน ้ การแนะน�า ตัวเพียงอย่างเดียวยังไม่พอ เราต้องรับฟังสิง่ ทีเ่ ขา พูด และมากกว่านั้นคือเราต้องอยูก ่ ลมกลืนไปกับ พวกเขาด้วย”

ศั ก ดิ์ ศ รี คุ ณ ค่ า และความเป็ นมนุ ษ ย์ “การลงพืน ้ ทีไ่ ปศึกษาคนไร้บา้ นท�าให้ผมพบ ความกลัวในหลากหลายรูปแบบ คนไร้บา้ นทีญ ่ ป ี่ น ุ่ คือทีส ่ ด ุ ของความกลัว ซึง่ ในทางทฤษฎีเมือ ่ มนุษย์ เรากลัวคนทีแ ่ ตกต่าง เราจะพยายามสร้างก�าแพง ทัง้ ทางรูปธรรมและนามธรรมขึน ้ มา เช่น คนรวย สร้างบ้านทีร่ วั้ สูงๆ เพือ ่ กีดกันคนจนออกจากสายตา ขณะเดียวกันก็มก ี ารสร้างก�าแพงในทางนามธรรม เช่น การทีค ่ ณ ุ เมินเฉย ท�าเป็นไม่สนใจเขาไปเลย--คนไร้บา้ นทีญ ่ ป ี่ น ุ่ โดนท�าแบบนีเ้ ยอะมาก---พวกเขา ถูกเดิ นผ่านโดยไม่มีใครเหลี ยวมอง ซึ่งการถูก มองไม่เห็น หรือการถูกท�าให้กลายเป็นอากาศธาตุ ยิง่ ท�าให้คนหมดคุณค่าและรูส ้ ก ึ หวาดกลัว “คนไร้บา้ นบางคนเลือกทีจ ่ ะแต่งเติมเรือ ่ งราว ของตัวเอง หรือค่อยๆ บอกความจริงออกมาทีละนิด สิง่ เหล่านีส ้ ะท้อนให้เห็นความกลัวเช่นกัน---กลัวว่า ถ้าบอกความจริงออกไปทัง้ หมด เขาจะต้องเผชิญ หน้ากับการสูญเสียหน้าตาและสถานะบางอย่าง--จึงเลือกทีจ ่ ะปิดบังหรือไม่เล่าเรือ ่ งทีม ่ น ั จะไปลดทอน คุณค่าหรือศักดิศ รี ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ ของตัวเอง” ์ 26


“ ผูช ้ ว ่ ยศาสตราจารย์ ดร. ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี “ ผู้ ขั บ เคลื่ อ นเรื่ อ งรั ฐ สวั ส ดิ ก าร

เขาชีใ้ ห้เราเห็นต้นตอของความหวาดกลัวต่อความไม่มน ั่ คงของชีวต ิ การท�างานหนักเพื่อตามความฝันของคนชัน ุ ค่า ่ มีคณ ้ กลาง และยังชีใ้ ห้เห็นว่ามนุษย์คนหนึง มากกว่าจะถูกสังคมตราหน้าว่าเป็นคนขีเ้ กียจ เวลาพู ดถึงสิทธิทท ี่ ก ุ คนพึงได้รบ ั จากสังคมทีเ่ ป็นรัฐสวัสดิการ ทีค ิ ตัง ่ รอบคลุมทุกชีวต ้ แต่ครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน เรามักจะตาลุกวาว แต่ความหวังจะค่อยๆ ริบหรี่ลงเมื่อได้ยินเสียงคัดค้านที่คอยกระตุกเราว่าสิ่งที่เราฝันไม่มีทางเกิดขึ้นได้ในความเป็นจริง จากเหตุผลและข้อกังขาต่างๆ นานา เช่น ประเทศไทยยังไม่พร้อม ประเทศของเรายากจน หรือไม่สอดคล้องกับวัฒนธรรมไทย ฯลฯ ไม่ว่าคุณจะซื้อความคิดของเขาหรือไม่ก็ตาม แต่เราเชื่อว่าหลายๆ ค�าตอบระหว่างบทสนทนานี้ได้สะท้อนความรู้สึกถึงความไม่ม่น ั คงของชีวิตที่พวกเราทุกคน มีร่วมกัน เว้นเสียแต่ว่าคุณจะเป็นคนโชคดีที่ได้เกิดอยู่ในครอบครัวที่เป็น 1 เปอร์เซ็นต์บนของประเทศนี้

คนท� า งานหนั ก บนความยากจน “ในทางหลักการ คนท�างานหนักควรจะมีชวี ต ิ ทีด ่ ี แต่พอเรามองดูประเทศไทยและมองออกไปใน หลายประเทศทัว ่ า� งานหนักกลับมีชว ี ต ิ ที่ ่ โลก คนทีท แย่ที่สุด ซึ่งการที่จะคงระบบนี้ให้อยู่ต่อไป ระบบ ต้องเล่นอยูก ่ บ ั ความกลัวพืน ้ ฐานในความไม่แน่นอน ของชีวต ิ เรา เราก�าลังเผชิญกับความรูส ้ ก ึ ไม่มน ั่ คง ทางเศรษฐกิจ เราจึงรูส ้ ก ึ ว่าต้องออกไปท�างานหนัก เพราะถ้าไม่ท�างานหนักเราจะไม่สามารถมีชีวิต ที่ดีได้ “คนที่จนที่สุดในประเทศของเราตอนนี้คือ คนที่ อ ายุ ป ระมาณ 40 ปี ที่ ลู ก ก� า ลั ง จะโตและ พ่อแม่เริม ่ แก่ สุขภาพเริม ่ ถดถอย ค่าใช้จ่ายของ คนท�างานในวัยกลางคนจึงสูงมาก แล้วเขาต้อง แบกรับคนปริมาณมาก จึ งท�าให้เกิ ดความกลั ว ขึน ้ มา ซึง่ การไม่มรี ะบบสวัสดิการทีด ่ จ ี ะท�าให้ชว ี ต ิ เราค่อยๆ สะสมความกลัวต่อไปเรือ ่ ยๆ”

หล่ อ เลี้ ย งด้ ว ยความกลั ว “การโฆษณาต่ างๆ โดยเฉพาะสิ น ค้ า

ISSUE 621

16 DEC 2019

ที่เกี่ยวกับประกันภัย จะหล่อเลี้ยงความกลัวและ ท�าให้รูส ้ ึกว่าความรวยความจนเป็นเรือ ่ งส่วนตัว ทีเ่ ราต้องรับผิดชอบเอง ทัง้ ทีจ ่ ริงๆ แล้วคนทีร่ า� รวย มั่ ง มี เขาได้ ท รัพ ยากรมาจากคนในประเทศนี้ เขาใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เขาใช้แรงงาน และเขา ได้อภิสท ิ ธิท ์ างภาษีจนเขาร�ารวย และในขณะเดียวกัน ความจนของคนในประเทศนีก ้ ไ็ ม่ใช่เรือ ่ งของปัจเจกฯ ไม่ใช่ว่าเราขี้เกี ยจ เราไม่ท�างาน หรือเราใช้จ่าย ฟุม ่ เฟือยนะ แต่ผลวิจย ั ชีอ ้ อกมาแล้วว่า เงินส่วนใหญ่ มันหมดไปจากการทีค ่ ณ ุ ใช้จ่ายในชีวต ิ ประจ�าวัน นั่นแหละ”

สวั ส ดิ ก ารแบบเอื้ อ อาทร “แต่ละสังคมให้คุณค่ากับความเป็นมนุษย์ แตกต่างกัน ในสังคมอเมริกันอาจจะคิดคล้ายๆ ไทย คือถ้าคุณอยากมีชว ี ต ิ ทีด ่ ี คุณต้องท�างานหนัก และอดออม ซึง ่ ถ้าคุณจน รัฐบาลจะช่วยก็ต่อเมื่อ คุณได้พิสูจน์ความจนเสียก่อน เช่น ให้สัมภาษณ์ กับนักสังคมสงเคราะห์วา ่ ยากจนแล้วจึงได้คป ู อง อาหาร แต่สวัสดิการแบบนี้เป็นของห่วยๆ ทีท ่ า � ให้

คุณมีชว ี ต ิ รอดไปได้เท่านั้นเอง และเขาไม่ให้เยอะ ด้วย กลัวจะเป็นการสปอยล์คนจน”

คนเท่ า กั น บนโอกาสที่ เ ท่ า กั น “การเปลี่ ยนแปลงไปสู่รฐ ั สวัสดิ การไม่ได้ เปลี่ ย นจากการค� า นวณทางเศรษฐกิ จ แต่ เป็ น การเปลี่ ย นจากวิ ธี คิ ด ถ้ า มองว่ า คนเท่ า กั น ทุ ก คนก็ ค วรจะได้ ร ั บ โอกาสเท่ า กั น สุ ด ท้ า ย มันจะท�าให้เกิ ดการเติ บโตทางเศรษฐกิ จในอี ก รูปแบบหนึ่ง ภายใต้การเคารพในคุณค่าของคน “สิง่ ทีผ ่ มต้องย�าคือในประเทศทีเ่ ป็นรัฐสวัสดิการ อย่างเช่น กลุ่มประเทศนอร์ดิก ประชาธิปไตยกับ รัฐสวัสดิการจะเติบโตไปพร้อมกัน แล้วสวัสดิการ ของเขาก็ไม่ได้มาจากการที่มีคนประทานให้ แต่ ได้ มาเพราะการต่ อสู้ เขารู ว ้ ่าสิ่งเหล่ านี้ ควรเป็น ของประชาชน ไม่ได้เป็นของชนชัน ้ น�าทีใ่ จดีมอบให้ ระบบสวัสดิการท�าให้เรารู ส ้ ึกว่าเราอยู่ในสังคม ร่วมกับผูค ้ นโดยไม่รส ู้ ก ึ ว่าคนอืน ่ เป็นคนแปลกหน้า คนจึ ง เติ บ โตขึ้ น มาพร้อ มกั บ ความรู ้สึ ก เชื่ อ ใจ และตระหนักว่าเราอยูใ่ นสังคมเดียวกัน”

27

่ ี แต่ในความเป็นจริงคนทีท ่ า� งานหนักกลับมีชว ่ ย่ทส ่ การทีจ ่ ะคงระบบนีใ้ ห้อยูต “ในทางหลักการ คนท�างานหนักควรจะมีชว ี ต ิ ทีด ี ต ิ ทีแ ี่ ด ุ ซึง ่ อ ่ ไป ระบบต้องเล่นอยู่กับความกลัวพื้นฐานในความไม่แน่นอนของชีวิต”

LIFE IN THIS INSECURE WORLD


เรือ ่ ง :​ทรรศน​หาญเรืองเกียรติ​ ภาพ : พรพจน์​กาญจนหัตถกิจ

A THOUSAND WORDS A CONVENIENT SUNSET NO.67 CONTRIBUTOR

มิติ เรืองกฤตยา Artist ig : 11cbangkok

A CONVENIENT SUNSET NO.67, 2019 GICLÉE PRINT MOUNTED ON DIBOND 150 × 162.5 × 0.3 CM

​“ในประเทศไทยมีร้าน​7-Eleven​อยู่ราว​10,268​สาขา​เฉลี่ยมีผู้เข้าร้านวันละ​11.8​ล้านคนโดยประมาณ​ (2562)​ปัจจุบันร้าน​7-Eleven​ที่เปิ ดให้บริการตลอด​24​ชั่วโมง​กลายเป็นภาพชินตาของภูมิทัศน์เมือง”

ABOUT MITI RUANGKRITYA ​มิติ​เรืองกฤตยา​เติบโตในสหราชอาณาจักรและย้ายกลับมายังกรุงเทพฯ​ในปี ​2553​พร้อมสังเกตเห็นความเป็นเมืองที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น​เขาจึงเริ่ม เก็บภาพการเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็วเหล่านี้​มิติได้สร้างซีรีส์ของภาพถ่ายที่สวยหมดจด​ซึ่งเสน่ห์ของรูปถ่ายของมิติจะสอดแทรกไหวพริบและอารมณ์ขัน ่ วของตัวเองชือ ่ ​A​Convenient​Sunset​I​A​Convenient​Holdup​ทีบ ่ างกอก​ซิตซ ้ี ต แบบหน้าตายเอาไว้​และตอนนีเ้ ขาก็มง ี านแสดงนิทรรศการเดีย ิ ้​ี แกลเลอรี​ตั้งแต่วันนี้ถึง​19​มกราคม​2563​รายละเอียดเพิ่มเติม​https://bangkokcitycity.com 28


เรือ ่ ง : พชร สูงเด่น

BREATHE IN ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

1.

เราฝ่าการจราจรหนาแน่นหลังเลิกงานเพือ ่

ไปร่ว มวงสนทนา ‘Subtle Activism’ ยามเย็ น

ซุปหม้อนั้นก็จะส่งผลต่อรสชาติท้ง ั หมดทั้งมวล –

อยู่เสมอ แม้ว่าเราจะอยู่ในช่วงเวลาที่รบ ั รู ไ้ ม่ได้

subtle activism จึงไม่ใช่การแทนที่ ไม่ใช่

สนามพลั งงานของเราก็ เป็นอย่างนั้ น มันมีการ-

แม้รูปร่างของความเป็นเกลือนั้นได้หายไปแล้ว

ทีจ ่ ัดขึน ้ ณ วัชรสิทธา พืน ้ ทีภ ่ าวนา ศึกษาเรียนรูม ้ ต ิ ิ

ความมุ่งหมายที่จะปรากฏให้เห็น แต่มุ่งท�าหน้าที่

ไปสู่ห้องบนสุดของอาคารพงศ์วราภา

สภาวการณ์ ใหม่ ๆ ไม่ ห วั ง จะให้ ซุ ป หม้ อ นั้ น

ด้ านจิ ต วิญญาณกลางเมืองกรุ ง ทางเดิ นห้ า ชั้น ชือ ่ กิจกรรมทีจ ่ ด ั ขึน ้ ในวันนี้ กระตุกความสงสัย

เป็ น พลั งงานพื้ น ฐานที่ จ ะหล่ อหลอมให้ เกิ ด

กลายเป็นรสชาติของเกลือไปเสียหมด แต่ทา � หน้าที่

ไม่รูว้ ่าคืออะไร แต่อยากรูจ ้ นต้องพาตัวเองมาที่นี่

กลมกล่อม ตัดความหวานไป เค็มไป ปรับพลังงาน

วันนั้น ต่างคนต่างหามุมของตัวเอง ยิม ้ ทักทายกัน แม้ไ ม่ได้ พูดอะไร แต่ รูส ้ ึกได้ ว่าเราต่ า งมี ‘โจทย์’

จะเป็นซุปหม้อนั้ นเสียเอง เป็นองค์ประกอบของ

activism การเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงพลังงานนั้น

เพียงแค่เป็น…

หันไปมองอีกกว่าห้าสิบชีวต ิ ทีม ่ ารวมตัวกันในเย็น

ที่แต่ ละคนก� าลั งจั ดการ และอยากรู ว ้ ่า subtle เป็นเช่นไร

มองไม่เห็นใคร ก็ให้เริม ่ จากตัวเอง เราเป็นอย่างไร เชื่อมโยงถึ งกั นกั บสนามพลั งงานใหญ่อยู่ตลอด เวลา…”

เหมือนกับรสชาติของเกลือ น�าตาล พริกไทย

ในซุปหม้อนัน ้ หากเราเห็นว่าซุปนัน ้ หวานไป เค็มไป

จืดไป อยากได้รสชาติไหนก็จงเป็นรสชาตินั้นทีเ่ รา

โดยรวมให้พอดี จากการกลั่นรสชาติในตนเอง – เป็นหนึ่งในองค์ประกอบของซุปหม้อนั้น แต่ไม่หวัง

ต้ อ งการเสริม เพิ่ม ให้ กั บ มั น เพราะเราต่ า งเป็ น เศษส่วนหนึ่งของทั้งหมด (fractal of the whole)

ซุ ป หม้ อ นั้ น โดยไม่ ต้ อ งหวั ง เปลี่ ย นแปลงมั น

ไม่มีอยู่จริง

แมรีขยายความในเรือ ่ งของการ ‘เป็น’ ว่า

subtle activism ไม่ใช่เรือ ่ งของการส่งออกไป

ไม่ปรากฏ ไม่เห็นในภาพที่เป็น แต่ ไม่ได้ แปลว่า

2.

ฝนตกหนักจนบานกระจกสัน ่ ระหว่างกิจกรรม

ให้ไป กระท�ามันออกไป ตามทีห ่ ลักการการเคลือ ่ นไหว

สามชั่ ว โมงค่ อ ยๆ ซาลงแล้ ว ข้ า งนอกมื ด สนิ ท

จิตวิญญาณทางสกอตแลนด์ เริม ่ ต้นด้วยการตั้ง ค� าถามอย่างตรงไปตรงมาถึ งสิ่งที่ผู้เข้าร่วมเอง

กั บ สามี ที่ เ ธอรู ้ ว่ า ในนาที นั้ น การบอกค� า รั ก การแสดงออกให้ เขารู ว ้ ่ า รัก แทบไม่ ส่ ง ผลอะไร

เหลื อเพียงเสียงผู้คนบนถนนสี่แยกพิชัย แสงไฟ

กัน ‘subtle’ ความละเอียด อ่อนโยน ทีใ่ ห้ความรูส ้ ก ึ

พลังงานที่เธอรูว้ ่าจะช่วยปรับสภาพแวดล้อมตึงๆ

ความรุนแรง การกระท�า การแสดงออก ค�าสองค�านี้

การ ‘เป็น’ ความรักที่เริม ่ ได้จากเธอ ผ่อนคลาย

Subtle Activism คืออะไร

Mary Inglis ครู จ ากฟิ น ด์ ฮ อร์ น ชุ ม ชน

ก็คงมีอยู่ในใจ ค�าประสมที่ความหมายดูตรงข้าม คนละขัว ่ ก ั สือ ่ ถึงการเคลื่อนไหว ้ กับ ‘activism’ ทีม มาผนวกรวมกันได้อย่างไร

แมรีเปรีย บเที ย บ subtle activism เป็ น

เครือ ่ งปรุงที่ใช้ในการท�าอาหาร เปรียบเราเป็นดั่ง

(activism) มักจะเป็น เช่น ครัง้ หนึ่งที่เธอทะเลาะ

สิ่ ง เดี ย วที่ เธอท� า ได้ คื อ การ ‘เป็ น ’ ความรัก นั้ น

ชัดเจน คือความเบาที่เกิดขึ้นในใจ ความวางใจใน

และไม่ใช่แค่เรือ ่ งของความสัมพันธ์ subtle

ไป แต่รบ ั รูไ้ ด้ถึงพลังละเอียดอ่อนโยนในการเป็น

ให้เขาไปด้วย

สนามพลังที่มองไม่เห็น แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่าไม่มีอยู่

พลังงานอัดแน่นในเราที่เป็นเกลือแต่ละเม็ด

ยิ่งส่งผลต่อมวลรวมทั้งนั้น “ในที่ต่างๆ ทั่วโลก มีกลุ่มคนมากมายก�าลัง

ต่างๆ ก็เช่นกัน รสชาติที่มาจากเรา เมื่อใส่ลงไปใน

issue 621

16 DeC 2019

ความร้อนที่ค่อยๆ ผ่อนคลายซึ่งไม่รูว ้ ่าจะ

ตั ว เธอก่ อ น จนค่ อ ยๆ คลายความร้อ นรุ ม ่ ในใจ

ไปในหม้ อ ซุ ป เกลื อ จะกลายเป็ น ซุ ป ทั้ ง หมด แต่รสชาติของเกลือนั้นไม่ได้หายไปไหน เพียงแค่

เป็นน�าตาล เป็นพริกไทย เป็นเครือ ่ งปรุ งรสชาติ

บางอย่างในใจดูจะคลี่คลายลง

ส่งผลต่อสนามพลังอะไรยิ่งใหญ่กว่าตัวเราตามที่

activism ยั ง ท� า งานในระดั บ อื่ น ๆ ไม่ ต่ า งกั น

กระจายกลายเป็นรสชาติรวมของซุปหม้อนั้น

และเสียงรถจอแจทีห ่ ายไป พอๆ กับความร้อนวูบวาบ

ระหว่างเขาและเธอให้กลับมาผ่อนคลายได้อก ี ครัง้

เกลือเม็ดหนึง่ ทีม ่ ม ี วลสารในตัวของมันเอง มีรสชาติ

อัดแน่นในเม็ดเกลือนั้นเอง เมื่อเกลือนั้นหย่อนลง

ความสว่างของพระอาทิตย์เมื่อยามมาถึงหายไป

เพราะเราต่ างเป็นสนามพลั งในตั วเองกั นทั้งนั้ น

Subtle Activism ปรับพลังงานในใจ เปลี่ยนความเป็นไปรอบตัว

้ เลย” ‘ชองยุนซอก’ “ผมได้ยน ิ ว่าประมาณ 8 ปีทแ ี่ ล้ว มีคนตายเพราะการประท้วงกว่า 90 คน ผมสงสัยว่าแล้วท�าไมถึงไม่มค ี ดีอาญาเกิดขึน ผู้ก�ากับชาวเกาหลีใต้ผู้ขึ้นชื่อเรื่องความตรงไปตรงมาในเนื้อหาวิพากษ์สังคมตั้งค�าถามซื่อๆ แต่แสบทรวงไว้ ท�าให้คิดว่าท�าไมเราถึงยัง นิ่งสงบกันได้ในสถานการณ์ท่ผ ี ่านมา เราโกรธไม่พอหรือเปล่า และถ้าไม่ใช่ความโกรธ เราจะขับเคลื่อนด้วยอะไรได้อีกบ้าง

แมรีบ ่ อกไหม แต่ ส่ิง เดี ย วที่ ร บ ั รู ไ้ ด้ อ ย่ า งแท้ จ ริง

อะไรบางอย่างที่ถึงแม้จะยังไม่เห็นอะไรที่เปลี่ยน

เศษส่ ว นเล็ ก น้ อ ยที่ ยิ่ ง ใหญ่ ใ นกระแสธารแห่ ง

ความเปลี่ยนแปลง

จริง สนามพลังที่เชื่อมต่อเราเข้ากับพลังงานอื่นๆ

ในคลื่ น ที่ ใ กล้ กั น สนามพลั ง ที่ ย่ิ ง มี ม ากเท่ า ไหร่

CONTRIBUTOR

พชร สูงเด่น นักศึกษาทุน Erasmus Mundus ด้านการศึกษาเพือ ่ การพัฒนา เรียนรู้ นอกห้องเรียนด้วย การเดินทางไปยัง เมืองต่างๆ ในยุโรป

ท�าอะไรบางอย่างเพื่อเกื้ อหนุ นโลกและจั กรวาล 29


เรือ ่ ง : วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ

EDITOR’S NOTE

​กำ� ลังพยำยำมคิดมุก​‘How​to​ทิง ้ ’​ให้คมกว่ำ​ตลกกว่ำ ของคนอื่นๆ ​อัตตาของคนเราท�างานเช่นนี้ เอง​มันหิ วโหยการถูก

มองเห็ นตลอดเวลา​มั นอยากให้ ใ ครสั กคนได้ ตระหนั ก ถึ ง

ภาพ : อุษา นพประเสริฐ

การด�ารงอยู่ของมัน ​โซเชียลมีเดียจึงป้อนอาหารส�าเร็จรูปให้อัตตาของเรา​

ผ่านการละเล่นชนิดต่างๆ​ที่ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนไปไม่รูจ ้ บ​ อาจจะมาในรูปแบบแฮชแท็กอะไรสักอย่างทีเ่ ป็นเทรนด์​หรือ

ทิ้ง

เป็นมีมอะไรสักอย่างทีเ่ ย้ายวนเชือ ้ ชวนให้เราไปร่วมเล่นด้วย​ เพราะเราเห็นว่ามันก�าลังเป็นไวรัล​เป็นฟีโนมีนอนอยู่ตอนนี้​ และเพื่อนของเราทุกคนก�าลังท�าสิ่งนี้เหมือนๆ​กันหมด ​ก ารละเล่ น พวกนี้ ห มุ น เวี ย นเปลี่ ย นไปแบบรายวั น​ มั น ท�า ให้เรารูส ้ ึกเหมือนกับว่าได้เป็นส่วนหนึ่ง​ได้อยู่รว่ มกัน​ ได้​belong​to​พืน ้ ทีท ่ ไี่ หนสักแห่ง​ในโลกเสมือนใบนี​้ มันสะท้อน ให้ เราเห็ น ตั ว ตนจากการท� า อะไรเหมื อ นๆ​กั น กั บ คนอื่ น​ พูดภาษาเดียวกัน​ท�าสิ่งเดียวกัน​เชื่อในเรือ ่ งเดียวกัน ​แล้วมันช่วยแปลงการสะท้อนตัวตนกลับไปมาให้เป็น ตัวเลขคะแนนทีเ่ ห็นได้ชด ั ​สร้างลูปของการเกิด-ดับ​เกิด-ดับ​ ของตัวตนในโลกเสมือน ​ใ ครโพสต์ ไ ด้ ต ลกกว่ า ​ก็ จ ะกวาดไลก์ แ ละค� า ชื่ น ชม ต่างๆ​นานาไปได้ก่อน​เป็นภาระให้คนที่โพสต์ช้ากว่า​ก็ต้อง พยายามคิดแก๊กให้เหนือกว่า​ตลกกว่า​หยาบคายกว่า​จับจิต จับใจคนมาเห็นมากกว่า​ภายในเวลาอันจ�ากัด ​ก่ อ นที่ ก ารละเล่ น แบบใหม่ ๆ ​จะมาแทนในวั น รุ ่ง ขึ้ น​ แฮชแท็กใหม่​มีมใหม่​ไวรัลใหม่​ทอล์กออฟเดอะทาวน์ใหม่​ หนั ง เรื่อ งใหม่ เข้ า แล้ ว ​และเราจะต้ อ งไปดู แ ละน� า กลั บ มา วิจารณ์​เขียนให้ดี​เขียนให้คนอื่นเห็น ​แล้วเราก็ต้องพยายามแข่งกันต่อไป​เพือ ่ ตะโกนออกไป ในความว่างเปล่า​บอกใครก็ไม่รู​้ ทีเ่ ขาอาจจะไม่ให้ความสนใจ เราเลยสัก นิ ด ​เพียงเพื่อบอกว่า​ฉั น อยู่ ต รงนี้ ​ จงมองดู ฉัน​ เพราะตัวตนของฉันขึ้นอยู่กับสายตาของคุณ ​จนถึงวันทีเ่ ราจะ​‘ทิง้ ’​สิง่ นี้ไป ทิง้ การละเล่นเหล่านี​้ ทิง้ สายตาของคนอืน ่ ​ทิง้ การประเมิน ตั ด สิ น ​ทิ้ ง เทรนด์ แ ฮชแท็ ก ในทวิ ต เตอร์​ทิ้ ง มี ม ในเฟซบุ๊ ก​ ทิ้งสิ่งที่ไร้สาระ​และทิ้งสิ่งที่ไม่มีอยู่จริง​

30


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.