a day BULLETIN 624

Page 1

TODAY EXPRESS PRESENTS

06 JAN 2020

625 624 623


CONTENTS 624

P6

FEATURE ถอดรหัสผ่านภาพถ่าย ย้อนดูแนวคิด และวิธท ี า� งานแบบพุ ทธทาสภิกขุ

P12

VIEWFINDER ผ ล ง า น ภ า พ ถ่ า ย ที่ เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น กระบวนการทดลอง ‘เล่นให้เห็นธรรม’ ของท่านพุ ทธทาสภิกขุ

P18 TODAY EXPRESS PRESENTS

06 JAN 2020

625 624 623

่ า่ ตืน ่ เต้นทีส ่ ด ่ า่ ด้วยเรือ ่ ง ช่วงเวลาทีน ุ ในการหาข้อมูลเพื่อท�าฟีเจอร์ใหญ่ ทีว การถอดรหั ส แนวคิ ด การท� า งานของท่ า นพุ ทธทาสผ่ า นภาพถ่ า ยของท่ า น คือช่วงเวลาที่เราได้มโี อกาสเข้าไปยังห้องเก็บข้อมูลที่หอจดหมายเหตุพุทธทาส ่ บรรจุผลงาน และเครือ ่ งอัฐบริขารทีท ่ า่ นใช้ทา� งานมาตลอดชีวต อินทปัญโญ ซึง ิ ่ อจดหมายเหตุฯ เปิดกรุขอ จากค�าบอกเล่าของผูด ้ แู ล นีเ่ ป็นครัง ้ มูล ้ แรกทีห ่ื เข้าไปถ่ายท�าอย่างใกล้ชด ่ เต้นเข้าไปอีก เมือ ่ ได้เห็นจ�านวน ให้สอ ิ ขนาดนี้ และเรายิง ่ ตืน ่ า่ นอุทศ งานมหาศาลตลอดระยะเวลากว่า 60 ปี ทีท ิ ให้กบ ั การเผยแผ่พุทธศาสนา ่ แบ่งเก็บในหอจดหมายเหตุฯ ถึง 3 ห้องใหญ่ๆ และแม้ทา่ นจะมรณภาพไปกว่า ซึง 27 ปี คนรุ่นหลังยังน�าผลงานของท่านมาจัดระเบียบและเผยแพร่ได้ไม่หมด ่ เราศึกษาเรือ ่ งราวการท�างานของท่านไปลึกๆ ยิง เมือ ่ ท�าให้เห็นว่า ท่านเป็นพระ ่ ด ทีโ่ ดดเด่นทีส ุ ในยุคสมัย ผลงานของท่านบ้างชิน ้ ยังคงล�้าหน้า แม้จะถูกหยิบยก มาดู ใ นวั น นี้ ซึ่ ง สิ่ ง ที่ อ ยู่ เ บื้ อ งหลั ง และท� า ให้ ผ ลงานของท่ า นออกมาแบบนี้ หนึ่ ง คื อ วิ นั ย แบบตะวั น ตกที่ ท่ า นจดบั น ทึ ก ทุ ก สิ่ ง ที่ ท� า ที่ คิ ด ไว้ อ ย่ า งละเอี ย ด ่ ด ่ มุง ่ มัน ่ ท้อ พระทีต ิ ตามท่านอย่างใกล้ชด ิ เล่าให้ฟงั ว่า วันหนึง ่ ท�างานอย่างไม่ยอ ท่านท�างานเขียนหนังสือถึงวันละ 18 ชั่วโมง ่ ง ่ อบ ‘เล่น’ ของท่าน ทีม ่ ก นีย ั ไม่นบ ั รวมนิสย ั ทีช ั จะเปิดรับสิง ่ ใหม่ๆ อยูเ่ สมอ ทั้งการถ่ายภาพ ถ่ายวิดีโอ หรือแม้กระทั่งการสร้างโรงมหรสพทางวิญญาณ ่ การเล่นของท่าน ทีเ่ ป็นเหมือนโรงหนังให้คนเข้ามาเรียนรูธ ้ รรมะในรูปแบบใหม่ๆ ซึง ทุกครั้ง มักจะเป็นประโยชน์กับศาสนาเสมอ ่ ทีเ่ ราเลือกภาพของท่านภาพนีข ้ น ้ึ ปกคือเชือ ่ ว่าน่าจะเป็นภาพที่ สาเหตุหนึง หลายๆ คนไม่เคยเห็น และเป็ นภาพที่เรารู้สึกว่าสื่อถึงความเป็ นท่านพุ ทธทาส ้ ราและความชืน ้ บนภาพ สือ ่ ถึงความไม่ยด ได้อย่างดี ร่องรอยของเชือ ึ มัน ่ ถือมัน ่ ในตัวตน เหมือนที่ท่านมักจะหยิบยกค�าสอนเรื่อง ‘ตัวกู-ของกู’ มาพู ดอยู่เสมอ ว่าถ้าเราเข้าใจสิ่งนี้ เท่ากับว่าเราก�าลังเข้าใกล้หนทางแห่งการดับทุกข์แล้ว

THE WORD ธ ร ร ม ะ คั ด ส ร ร จ า ก ห นั ง สื อ ชุ ด ‘บทพระธรรมประจ�าภาพ’

P22

HE SAID จากความคั บ แค้ น ใจของมุ ส ลิ ม ที่ ค น ใ น สั ง ค ม มั ก เ ห ยี ย ด แ ล ะ ล้ อ เ ลี ย น สู่ ห นั ง สั้ น รางวั ล ชนะเลิ ศ ในเทศกาล ภาพยนตร์นานาชาติสิงคโปร์

P26

SPECIAL INTERVIEW ปลดระวางความทุกข์ในใจด้วยธรรมะ ในแบบมนุษย์ปถ ุ ช ุ นของ ‘ดุก ๊ ’ - ภาณุเดช วัฒนสุชาติ และ อุย ๋ บุดด้าเบลส

P30

EDITOR’S NOTE มองชีวต ิ ผ่านบทบรรณาธิการแรกของ โตมร ศุขปรีชา บรรณาธิการบริหาร คนใหม่แห่ง a day BULLETIN

TEAM ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการอ�านวยการ นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ทีป ้ ิมพ์โฆษณา/บรรณาธิการบริหาร โตมร ศุขปรีชา บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัตก ิ ล ุ ชยพล ทองสวัสดิ์ กฤตนัย จงไกรจักร สุธามาศ ทวินน ั ท์ นักเขียน/ผูป ้ ระสานงาน ตนุภท ั ร โลหะพงศธร หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกต ิ ติบต ุ ร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน ่ ออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภูท ่ รึกษาฝ่ายโฆษณา พิสจ ู น์อก ั ษร/ผูด ้ แ ู ลสือ ่ อง บรรณาธิการดิจต ิ อลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วด ิ โี อ วงศกร ยีด ิ สกุล กวินนาฏ หัวเขา ทีป ่ วง รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ศรวณีย์ ศิรจ ิ รรยากุล ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุง ่ รัตนสิทธิกล ุ 08-4491-9241 ผูช ้ ว ่ ยผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา ภรัณภพ สุขอินทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรีจฬ ุ างกูล 08-1639-1929, พงศ์ธด ิ า อังศุวฒ ั นากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว นักศึกษาฝึกงาน ธนโชติ ทองรัก ปิ่นเพชร ภูจา่ พล คุลก ิ า แก้วนาหลวง ผูผ ้ ลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www. adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com

02 2


REPORT

LIFE

LIFESTYLE

PEOPLE

CULTURE

THOUGHT


5

อันดับ New Year’s Resolutions ที่คนตั้งเป้าไว้มากที่สุด ในปี 2018

เข้าสู่เทศกาลปี ใหม่ ไม่ว่าใครก็ต่างมีสิ่งแย่ๆ ที่อยากทิ้งไป และเริ่มต้นสิ่งดีใหม่ๆ จนเป็ นวัฒนธรรม กันไปแล้วว่าพอขึ้นปี ใหม่ ใครๆ ก็จะท�าลิสต์ New Year’s Resolutions เอาไว้เสียสวยหรู ฉันจะผอม, ฉันจะมีเงินเก็บ, ฉันจะมีสุขภาพที่แข็งแรง ฯลฯ แต่พอทดลองเปลี่ยนตัวเองไปสักพั ก คนส่วนใหญ่มักจะล้มเลิกเป้าหมายที่วางเอาไว้ เราจะพาคุณไปดูกันว่า เพราะอะไร New Year’s Resolutions จึงล้มเหลวก่อนจะเกิดขึ้นจริง และมีวิธีใดบ้างที่จะท�าให้คุณไปถึงเป้าหมายที่ตั้งเอาไว้ได้

ค่าเฉลี่ยระยะเวลา ของคนส่วนใหญ่ก่อน ล้มเลิก New Year’s Resolutions ของตัวเอง

1

เรือ ่ ง : ปริญญา ก้อนรัมย์

กินสิ่งที่ดี ต่อร่ำงกำย

ท�ำได้เพียง

72.6% 1 สัปดำห์

ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

2

ออกก�ำลังกำย ให้มำกขึ้น ท�ำได้เพียง

68.4% 2 สัปดำห์ 3

เก็บเงิน ท�ำได้เพียง

58.4% 1 เดือน

8% 8% คือจ�านวนคนที่ ท�าตามเป้าหมาย New Year’s Resolutions และ เปลี่ยนพฤติกรรม ตัวเองได้ส�าเร็จ ส่วนคนอีก 92% ล้มเลิกความตั้งใจ ในระหว่างปี นั้น

มีผลวิจัยออกมาว่า หากคนเรา อดทนท�าสิ่งใดต่อเนื่องกันได้ เกิน 21 วัน สิ่งนั้นจะเปลี่ยน นิสัยและพฤติกรรมของเราไปได้ ในทีส ุ ใครทีเ่ ซต New Year’s ่ ด Resolutions เอาไว้ ลองท�า ต่อเนื่องกันดูว่า 21 วันผ่านไป เป้าหมายที่ตั้งไว้เปลี่ยนเป็ นนิสัย ของคุณไปแล้วหรือไม่

23% 10 เมื่อจบสิ้นปี คนกว่า 23% ลืมไปแล้วว่า New Year’s Resolutions ของตัวเองคืออะไร และคนกว่า 80% ล้มเลิกความตั้งใจ ไปตั้งแต่เดือนแรก 23%

4

จัดระเบียบชีวิต

21

?

นั่งสมำธิ

4 ค�ำถำม ส�ำคัญ ที่จะช่วยให้คุณท�า New Year’s Resolutions ส�าเร็จง่ายขึ้น

1

พฤติกรรมของคน ประสบความส�าเร็จ ที่น่าเลียนแบบ

อ่ำนหนังสือ

เป้ำหมำยที่ตั้งไว้ ชัดเจนพอหรือยัง

2

เป้ำหมำยที่ตั้งไว้ วัดผลได้หรือเปล่ำ จัดระเบียบเวลำ

โฟกัสในสิง ่ ทีค ่ วบคุมได้

ท�ำได้เกิน

44.8% 6 เดือนขึ้นไป 3

80%

ฝึกเป็นผู้ฟง ั ที่ดี

5

สนุกและเฉลิมฉลอง กับควำมส�ำเร็จ

ดูแลตัวเอง ไม่ใช้อำรมณ์ ตัดสินปัญหำ

เป้ำหมำยที่ตง ั้ ไว้ สำมำรถเป็นไปได้ จริงหรือเปล่ำ

รู้จักควำมล้มเหลว

4 อยู่ใกล้ผู้คน ที่คิดบวก

ไม่นั่งรอให้โชค มำถึงเอง

เป้ำหมำยทีต ั้ ไว้ ่ ง น่ำตื่นเต้น พอหรือเปล่ำ

EW

ที่มำ : www.entrepreneur.com, www.online.pointpark.edu, www.dailyinfographic.com, www.lifehack.org

DATABASE

WHY SO MANY NEW YEAR’S RESOLUTIONS END IN FAILURE



เรือ ่ ง : ปริญญา ก้อนรัมย์

F E AT U R E ภาพ : วงศกร ยี่ดวง

ถอดรหัสผ่านภาพถ่าย ย้อนดูแนวคิด และวิธีท�างานแบบ

พระสงฆ์รูปหนึ่งที่ก่อตั้งวัดซึ่งไม่มีท้ง ั โบสถ์และพระพุ ทธรูป เก็บตัวศึกษาธรรมะด้วยตัวเองไม่ออกไปไหนเป็นสิบปี จนครั้งหนึ่งถูกชาวบ้านหาว่าเป็น ‘พระบ้า’ ่งพอกพู นบดบังแก่นของพุ ทธศาสนา น�าตรรกะเหตุผลมาวิพากษ์วิจารณ์อย่างเป็นระบบ ถึงขนาดกล่าวว่า พระสงฆ์ท่ีปฏิเสธสิง อุ ป าทานซึ ่ พระพุ ทธเจ้าและพระธรรมอาจจะเป็นภูเขาบดบังท�าให้เราเข้าไม่ถึงศาสนาพุ ทธที่แท้จริง พระสงฆ์ท่ีหาญกล้าตรวจสอบพระไตรปิ ฎกในขณะอายุเพียง 20 ปี และกล่าวว่าสิ่งที่อยู่ในพระไตรปิ ฎกกว่า 70% นั้นสามารถโยนทิ้งน�้าทะเลได้ เราก�าลังพู ดถึง พุ ทธทาสภิกขุ หรือ พระธรรมโกศาจารย์ พระสงฆ์ท่ถ ี ูกตั้งค�าถามจากสังคมมากที่สุดรูปหนึ่งในสังคมไทย งานและชีวิตของท่านพุ ทธทาส เป็นสิ่งที่ส่งอิทธิพลต่อพุ ทธศาสนาในประเทศไทยอย่างมาก ก่อนหน้า พ.ศ. 2500 สิ่งที่ชาวพุ ทธส่วนใหญ่สนใจมักจะเจาะจงอยู่แต่เรื่องการท�าบุญ บูชาพิธีกรรม และเคารพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ พุ ทธศาสนาในเวลานั้น ปนเปกลายเป็นศาสนาพุ ทธ-พราหมณ์-ผี เนื้อหาสาระหรือแก่นธรรมที่จะน�ามาใช้ด�าเนินชีวิตไม่ได้มองเป็นเป้าหมายหลัก


แต่แนวทางการศึกษาและเผยแผ่พระธรรมของท่านพุ ทธทาสภิกขุ ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงความเชื่อนั้นไป สวนทางกับแนวทางของพระและวัดในยุคเดียวกัน ท่านพุ ทธทาสเลือกที่จะพู ดถึงพุ ทธศาสนาอย่างเป็นเหตุเป็นผล ใช้นวัตกรรมใหม่ๆ ตามยุคสมัยในการเผยแผ่ค�าสอน ไม่ว่าจะเป็นภาพถ่าย กล้องวิดีโอ เครื่องบันทึกเสียง หรือแม้แต่โรงมหรสพทางวิญญาณที่เป็นเสมือนโรงภาพยนตร์ซ่ง ึ ฉายภาพพระธรรมให้คนรุ่นใหม่ๆ ที่สนใจ สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือส�าคัญที่ท่านพุ ทธทาสออกแบบ และใช้ท�างานเพื่อช่วยให้ชาวพุ ทธก้าวข้ามกระพี้ เข้าถึงแก่นธรรมอย่างแท้จริง สิ่งที่น่าสนใจที่สุดคือแนวคิดเบื้องหลังการท�างานของท่าน ว่าอะไรที่ท�าให้ท่านเป็นพระที่หัวก้าวหน้าที่สุดในยุคสมัย เราเลยชวนบุคคลส�าคัญที่เฝ้าสังเกตและท�างานอยู่ ข้างกายท่านพุ ทธทาสอย่างใกล้ชิด อย่าง พระมหาบุญชู จิตบุญโญ พระช่างภาพคู่บุญผู้ท�างานข้างกายท่านพุ ทธทาสมาหลายสิบปี และ มานิต ศรีวานิชภูมิ ช่างภาพ ่ เดินทางไกลไปถึงประเทศสิงคโปร์มาแล้ว ร่วมสมัยทีเ่ คยน�าผลงานภาพถ่ายชุด ‘บทพระธรรมประจ�าภาพ’ ของท่านพุ ทธทาส ไปจัดแสดงในนิทรรศการ ‘ช่างภาพไทยทีโ่ ลกลืม’ ซึง ลองไปถอดรหัสวิธีคิดแบบ ‘พุ ทธทาสภิกขุ’ ว่าอะไรท�าให้ผลงานของท่านมีอิทธิพลต่อสังคมไทยมากขนาดนี้ issue 623

30 DeC 2019

07


เส้นทาง ชีวิต

2449— 2553 พ.ศ. 2449

เงื่อม พานิช ชื่อเดิมของ ท่านพุ ทธทาสภิกขุ เกิดที่

ต�าบลพุ มเรียง อ�าเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี

พุ ทธศาสนาในความทรงจ� า

พ.ศ. 2469

อายุได้ 20 ปี เริ่มต้น เส้นทางสายพระธรรม บวชที่วัดโพธาราม ไชยา ได้ฉายา ‘อินทปัญฺโญ’

พ.ศ. 2473

เดินทางเข้ากรุงเทพฯ และ สอบได้เปรียญ 3 ประโยค

ก่อนจะผิดหวังกับระบบ การศึกษาพระธรรม ทีไ่ ม่สามารถพาเข้าสูแ่ ก่นแท้ได้

พ.ศ. 2474

เดินทางกลับบ้านเกิด

ก่อตัง ้ สถานศึกษาธรรม ในอุดมคติ ตั้งชื่อว่า สวนโมกขพลาราม

“งานของท่ า นพุ ท ธทาสภิ ก ขุ ท� า ให้ ผ มมองพุ ท ธศาสนา เปลี่ยนไปอีกแบบหนึ่ง มองด้วยความเข้าใจไม่ได้เอาศรัทธาน�า เป็นการใช้ปญ ั ญา นีเ่ ป็นสิง่ ส�าคัญมาก ท่านพยายามตีความท�าให้ ศาสนาเข้ า มาอยู่ กั บ ตั ว เรามากขึ้ น อยู่ กั บ ชี วิ ต จริง ๆ ของเรา ผมว่าสิง � ให้ผมมองพุทธศาสนาแตกต่างออกไปจากแต่ก่อน ่ นี้ทา และมีส่วนในการสร้างตัวตนของผมทุกวันนี้ด้วย” มานิ ต ศรีว านิ ช ภู มิ เล่ า ถึ ง ความทรงจ� า ของเขาที่ มี ต่ อ ท่านพุทธทาสภิกขุ ในวันวานทีเ่ ขายังเป็นนักเรียนศิลปะ มีมม ุ มอง ต่ อพุทธศาสนาและค� าสอนว่าเป็นสิ่งที่น่าเบื่อ แต่ ค�าสอนสั้นๆ ที่เขาได้ฟังจากท่านพุทธทาสภิกขุอย่างเรือ ่ ง ‘ตัวกู-ของกู’ ท�าให้ เขาเข้าใจความหมายที่แท้จริงของความสุขความทุกข์ในชีวิต “แต่ก่อนเวลาเราฟังค�าสอนเรือ ่ งอย่าไปยึดมั่นถือมั่น เราก็ ไม่รูห ้ รอกว่าการไม่ยด ึ มัน ื การพูดถึง ่ ถือมัน ่ คืออะไร ตัวกู-ของกูคอ อัตตา พูดถึงการยึดมั่นอยู่กับตัวเอง หลงอยู่กับตัวเอง ผมคิดว่า ค�าสอนของท่านง่ายมาก ซึง่ สิง่ ทีท ่ า ่ นพุทธทาสท�า คือการน�าสิง่ ที่ พอกค�าสอนของพระพุทธเจ้ามาเป็นศตวรรษออกไป ท่านปัดเป่า สิ่งที่รกรุงรังให้สะอาดยิ่งขึ้น อันนี้คือสิ่งที่ผมเห็นและประทับใจ ไม่ใช่การมาพูดถึงความวิเศษยิงฟันไม่เข้า แต่ทา่ นพุทธทาสพาเรา เข้าสู่พุทธศาสนาในทางตรง นี่เป็นสิ่งที่ส�าคัญมาก” ย้อนไปจุดเริม ่ ต้ น พุทธทาสภิ กขุ หรือชื่อเดิ มในเวลานั้น เงือ ่ ม พานิช เกิดใน พ.ศ. 2449 เป็นลูกหลานของครอบครัวพ่อค้า ชาวจีนในต�าบลพุมเรียง อ�าเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี พระเงือ ่ ม อุปสมบทเมือ ่ อายุ 20 ปี และเคยศึกษาอยูใ่ นครรลองของวัดไทย เก่าๆ ทัง้ ทีไ่ ชยาและทีก ่ รุงเทพฯ ก่อนจะผิดหวังกับรูปแบบการเรียน การสอนพุทธศาสนาในเมืองกรุง และเริม ่ ต้นคิดสร้างสถานศึกษาธรรม ในอุดมคติของตัวเอง ในขณะเดียวกันก็เริม ่ ศึกษาพุทธศาสนา ในด้ านลึ ก จน พ.ศ. 2474 ได้ ออกหนั งสือเล่ มแรก ‘ตามรอย พระอรหันต์’ และเริม ่ ใช้นามปากกา ‘พุทธทาสภิกขุ’ หนึ่งเดือนก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 พระเงือ ่ มได้แบกความผิดหวังจากการศึกษาทีไ่ ม่อาจเข้าถึงธรรม ทีแ ่ ท้จริง เดินทางกลับบ้านเกิด และใช้พน ื้ ทีข ่ องวัดร้างตระพังจิก ที่ต�าบลพุมเรียง เพื่อสร้างวัดป่า โดยใช้ชื่อว่า สวนโมกขพลาราม (แปลว่ า สวนแห่ ง ความหลุ ด พ้ น ) เป็ น วั ด ที่ ไ ม่ มี ท้ั ง โบสถ์ แ ละ พระพุทธรูป และใช้เวลากว่าสิบปีศก ึ ษาธรรมด้วยตัวเอง รวมทัง ้ หาญกล้าเริม ต้ น แปล พุ ท ธประวั ต ิ จ ากพระโอษฐ์ โดยตรงจาก ่ พระไตรปิฎก ทั้งที่ตัวเองอายุเพียง 20 กว่าปีเท่านั้น ช่วงเวลา ที่ ท่ า นตั ด ขาดจากโลกภายนอกกว่ า สิ บ ปี เพื่ อ เริ่ม ต้ น ค้ น หา พระธรรมจากภายใน ได้สร้างความแปลกใจให้ชาวบ้านละแวกนัน ้ และโดนหาว่าเป็น ‘พระบ้า’ จุดเปลีย ่ นส�าคัญทีท ่ า� ให้ชอ ื่ ของท่านพุทธทาสภิกขุเป็นทีร่ จ ู้ ก ั ในวงกว้าง คือการออกหนังสือพิมพ์ราย 3 เดือน ชือ ่ พุทธสาสนา

เมือ ่ พ.ศ. 2476 งานเขียนของท่านพุทธทาสทีม ่ ภ ี าษาลุ่มลึก พูดถึงเนือ ้ หาทีว ่ เิ คราะห์วจ ิ ารณ์ทก ุ อย่างอย่างตรงไปตรงมา ท�าให้ปญ ั ญาชนหัวก้าวหน้าต่างเริม ่ ให้ความสนใจงานของท่าน อย่างกว้างขวาง นักคิดในเวลานั้นอยากเดินทางไปศึกษา ธรรมและแลกเปลี่ยนความคิดกับท่านพุทธทาสอยู่เสมอ “พระอาจารย์พท ุ ธทาสเป็นพระทีถ ่ า้ ใครได้ศก ึ ษาตัวตน และงานของท่าน จะรูส ้ ึกมหัศจรรย์มาก ท่านท�างานเขียน หนังสือวันละ 18 ชั่วโมง อุปกรณ์ของท่านมีแค่ตะเกียงกับ พิมพ์ดีด เป็นเรือ ่ งที่มหัศจรรย์มาก” พระมหาบุญชู จิตบุญโญ พระช่างภาพคูบ ่ ญ ุ ผูท ้ า � งาน ข้างกายท่านพุทธทาสมาหลายสิบปี เล่าถึงความทรงจ�า ที่มีต่อท่านพุทธทาส “สมั ย นั้ น ท่ า นพระอาจารย์ พุ ท ธทาสยั ง ไม่ มี เ ณร ประจ� ากุฏิ หน้ าที่ที่ฉันได้ รบ ั มอบหมายคื อเก็ บเก้ าอี้ และ ตั้งเก้าอี้ให้กับแขกที่มาเยี่ยมเยียนท่าน เริม ่ ตั้งเก้าอี้ต้ังแต่ ตอนเช้าหกโมง ตกเย็นสามทุ่มก็เก็บ ก็ท�าอยู่แบบนี้เกือบ 2 ปี แต่ พ ระสวนโมกข์ ยุ ค นั้ น มี กิ จ กรรมอยู่ ห ลายอย่ า ง พระรูปไหนถนัดเขียนภาพ ท่านก็มโี รงมหรสพทางวิญญาณ ให้เขียนภาพ ใครชอบงานปั้ น ท่านก็ มีก็มีโรงปั้น ซึ่งใคร จะเชื่อว่าทัง ้ หมดนี้อยู่ในป่า” 08


เล่ น อย่ า งไรให้ เ ห็ น ธรรม “ท่านอาจารย์พท ุ ธทาสเป็นคนทันสมัย ท่านเป็นคน ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง มันสมองท่านดี อาจารย์สญ ั ญา ธรรมศักดิ์ เล่าให้ฟงั ว่า ท่านไปสวนโมกข์เวลานัน ้ ซึง่ กันดาร มาก ท่านไปเจอหนังสือที่ก�าลังฮิตอยู่ที่ลอนดอนวางอยู่ ในกุฏิของท่าน อาจารย์สัญญาตกใจมาก เพราะหนังสือ เล่ ม นี้ ท่ า นอาจารย์ สั ญ ญาเพิ่ ง อ่ า นไปตอนอยู่ อั ง กฤษ นี่ คื อ ความทั น สมั ย ของท่ า น แต่ ท่ า นไม่ ไ ด้ เ อามาเล่ น เลอะเทอะนะ สิ่งที่ท่านเอามาเล่นเป็นไปเพื่อเอามาสอน ธรรมะทัง้ สิน ้ ต้องใช้ค�าว่าเล่น แต่เล่นแล้วเป็นประโยชน์” ค�าว่า ‘เล่น’ นิยามแนวคิดและการท�างานของท่าน พุทธทาสได้อย่างดี ในวันทีเ่ ข้าไปค้นหาข้อมูลทีส ่ วนโมกข์ กรุงเทพฯ เรามีโอกาสพิเศษได้เข้าไปยังคลังเก็บผลงาน และสิง่ ของเครือ ่ งใช้ของท่าน สิง่ ทีส ่ ร้างความตืน ่ ใจให้เรา มากที่สุด นอกจากปริมาณงานมหาศาลที่เหลือเชื่อว่า เกิดจากมนุษย์เพียงคนเดียว อีกสิง่ ทีเ่ ราตื่นตามากๆ เลย คืออุปกรณ์ทา � งานและของเล่นของท่านพุทธทาส ทีถ ่ อ ื ว่า ทันสมัยล�าหน้ามากๆ ในยุคนั้น ไม่ ว่ า จะเป็ น เครื่ อ งบั น ทึ ก เสี ย งที่ ใ ช้ ข ดลวดใน การบันทึก เครือ ่ งเล่นแผ่นเสียง กล้องอัดวิดโี อ กล้องถ่ายภาพ ทัง้ แบบทวินเลนส์และโพลารอยด์ ซึง่ สิง่ ทีท ่ า่ นเล่นทัง้ หมดนี้ ใช้ไปเพื่อเผยแผ่พุทธศาสนาทัง สิ น เหมื อนกับที่ท่านเคย ้ ้ อธิบายความหมายของชื่อ ‘พุทธทาส’ เอาไว้ว่า “ข้าพเจ้ามอบร่างกายและชีวต ิ นีถ ้ วายแด่พระพุทธเจ้า ข้าพเจ้าเป็นทาสพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าเป็นนายของ ข้าพเจ้า เพราะเหตุดังว่ามานี้ ข้าพเจ้าจึงชือ ่ ว่า พุทธทาส” “ตอนนั้นท่านอาจารย์พท ุ ธทาสมีความคิดว่าอยาก จะถ่ายภาพเพื่อประกอบหนังสือธรรมะ ด้วยเหตุผลที่ว่า ถ้าอธิบายธรรมะล้วนๆ คนส่วนหนึ่งเขาจะไม่ชอบ จึงเกิด เป็นงาน บทพระธรรมประจ�าภาพ ขึ้นมา ท่านพุทธทาส บอกเองว่านี่ ไม่ใช่ของใหม่ คนโบราณสอนหนั งสือเด็ก ก็ อ าศั ย ผ่ า นภาพเขี ย นฝาผนั ง แต่ ในยุ ค ของเราอาศั ย ภาพถ่าย ซึ่งจริงๆ ท่านถ่ายภาพมานานแล้ว แต่สุดท้าย ท่านก็เลิก เพราะว่าพระทีช ่ ว ่ ยท่านลาสิกขาไป พอท่านเห็น ฉันชอบถ่ายภาพ ก็เลยมาสอน ฉันเริม ่ ต้นฝึกประมาณ ตอนปี 2514 แต่มาถ่ายให้ทา่ นอย่างเป็นทางการก็ประมาณ ตอนปี 2516” พระมหาบุ ญ ชู เ ล่ า ถึ ง ช่ ว งเวลาที่ เริ่ม ต้ น ท� า งาน เป็นพระช่างภาพข้างกายท่าน ซึ่งตลอดเวลากว่า 30 ปี ได้ถา่ ยภาพท่านพุทธทาสไปกว่า 8,000 ภาพ แต่นา่ เสียดาย ด้วยความชื้นจากพื้นที่ที่เป็นป่าของสวนโมกข์ บวกกับ การเก็ บรักษาที่ไม่ได้ เป็นระบบในเวลานั้ น ท�าให้ฟิล์ม และภาพถ่ายกว่า 60% เสียหายไปตามกาลเวลา

issue 624 3

3 00 6 D J Ae N C 202 1 90

“ตอนนั้ น ที่ ส วนโมกข์ ป่ ั นไฟใช้ เอง เพราะว่าไฟฟ้ายังเข้าไม่ถงึ ท่านก็เอาฟิลม ์ เก่า ทีท ่ า ่ นมีมาสอนวิธอ ี ัด แล้วน�ายาล้างฟิล์ม ของท่ า นพุ ท ธทาสเป็ น น� า ยาที่ ต้ อ งผสม ขึ้นเอง เรายังจ� าขึ้นใจ มีสารเคมีฟีนอล โซเดียมซัลไฟต์ และโซเดียมคาร์บอเนต ทั้งหมดสามตัว ถ้าสูตรมาตรฐานมี 6 ตัว แต่ทา ่ นทดลองว่าแค่สารสามตัวนี้ก็สร้าง ภาพได้ แล้วออกมาดีด้วย (หัวเราะ) แล้ว เราไม่ มี ห้ อ งมื ด นะ อาศั ย ความมื ด จาก ท้องฟ้า อุณหภูมิก็ไม่ได้คุม อยู่ที่อากาศ ข้างนอกว่าเป็นเท่าไหร่ ท�าให้บางครัง้ ล้าง ฟิ ล์ ม ออกมาไม่ ส ม� า เสมอ พอล้ า งเสร็จ ก็ต้องรออีกหนึ่งวันเพื่อให้ฟิล์มแห้ง” พระมหาบุ ญ ชู เ ล่ า ต่ อ อี ก ว่ า ท่ า น พุทธทาสเป็นคนละเอียดมาก ท่านสอนถึง รายละเอี ย ดในการอั ด ภาพที่ ถู ก ต้ อ ง ว่าส่วนมืดมันต้ องมีรายละเอี ยดอยู่ด้วย หรือส่วนทีข ่ าวก็ตอ ้ งมีรายละเอียด ไม่ได้ขาว หรื อ ด� า จนเกิ น ไป โดยในช่ ว งเวลาที่ ท่านพุทธทาสเริม ่ ท�างานชุด บทพระธรรม ประจ� าภาพ หลั งฉั นข้าวเสร็จประมาณ 9 โมง ท่านพุทธทาสจะพาพระมหาบุญชู

ไปตามสถานที่ต่างๆ ของสวนโมกข์ และ ก� า กั บ ออกแบบภาพเพื่ อ ไปใช้ สื่ อ ธรรม อย่างทีเ่ ราได้เห็นพระพุทธทาสทีม ่ ส ี องร่าง ในภาพเดียวก�าลังนั่งสนทนาธรรมกัน “ท่ า นพุ ท ธทาสไม่ นิ ย มให้ ถ่ า ยสี ท่านบอกว่าแค่แสดงความหมายสือ ่ ธรรมะ ฟิล์มขาวด�าก็เหลือเฟือแล้ว ไม่จ�าเป็นต้อง ไปถ่ายสี เพราะฉะนั้น ภาพฟิลม ์ สีทเี่ ห็นกัน ส่วนมากเป็นญาติโยมถวายมา เพราะเขา อยากได้รป ู ถ่ายท่านพระอาจารย์เป็นภาพสี แล้วก็มข ี อ ้ ห้ามอีกอย่างหนึ่งคือ ท่านไม่ให้ ถ่ายแฟลช ท่านบอกว่าแฟลชมันท�าลาย อารมณ์ของภาพ เราก็ไม่รู ้ คิดแค่วา่ แฟลช มันกั นพลาดดี (หัวเราะ) ท่านพุทธทาส มองภาพถ่ายว่าเป็นเหมือนกับเครือ ่ งมือ อันหนึ่ง เครือ ่ งมือส�าหรับใช้งานในการสือ ่ ธรรมะ”

09


เส้นทาง ชีวิต

ต้นฉบับผลงานชุด

บทพระธรรมประจ�าภาพ

น�้ายาล้าง ฟิล์ม และกล้อง ใส่ฟล ิ ์มดัดแปลงจากกล่อง ใส่ขนม

2449— 2553 พ.ศ. 2502

ย้ายสวนโมกขพลาราม มาอยู่ท่ว ี ัดธารน�้าไหล

ในปัจจุบัน

พุ ทธศาสนาคื อ ศิ ล ปะ พ.ศ. 2507

วิวาทะกับ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เรื่อง ‘จิตว่าง’ ที่หอประชุมคุรุสภา อาพาธรุนแรง เข้ารักษาตัว ที่โรงพยาบาลศิริราช และกลับมา

(สวนโมกข์กรุงเทพฯ)

เปิ ดหอจดหมายเหตุ พุ ทธทาสภิกขุ อินทปัญฺโญ

พ.ศ. 2536

มรณภาพที่สวนโมกขพลาราม และจัดพิธีเผาศพอย่างเรียบง่าย

พ.ศ. 2553

ใน พ.ศ. 2505 ท่านพุทธทาสได้เริม ่ ต้นสร้างโรงมหรสพทางวิญญาณขึ้น และใช้ภาพถ่ายกับสไลด์ชด ุ ปริศนาธรรมเป็นสือ ่ ประกอบ โดยในยุคแรกท่านเป็น คนบรรยายภาพต่ า งๆ ด้ ว ยตั ว เอง นี่ คื อ รู ป แบบการเผยแผ่ ธรรมที่ แ ตกต่ าง จากแนวทางของพระและวัดในยุคนั้น มานิตพูดถึงความน่าสนใจของภาพถ่ายทีส ่ ามารถสะท้อนภาพความเป็นไป ของแต่ละยุคสมัยได้ดี หากถอยหลังกลับไปยุคปฏิวัติการปกครอง พ.ศ. 2475 ทีป ่ ระเทศไทยเปลีย ่ นจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสูร่ ะบอบประชาธิปไตย ช่วงเวลานั้นมีความส�าคัญอย่างมาก ท�าให้ประชาชนเริม ่ ตระหนักถึงตัวตนและ สิทธิของตัวเอง “คุณจะเดินเข้าร้านถ่ายรูปเพราะคุณเริม ่ จะบันทึก ่ จะตระหนักถึงตัวตน เพือ ภาพของตัวเอง ทันทีทค ี่ ณ ุ ส่องกระจกแล้วเริม ู ถ่าย นัน เป็ น การยื น ยั นการมีอยู่ ่ มีรป ่ ของคุณ ถ้าคุณไปดูจะพบว่าช่วงเวลานี้ภาพถ่ายเป็นที่แพร่หลายมาก” มุมมองของมานิตในฐานะช่างภาพมุ่งความสนใจว่า คนในแต่ละยุคสมัย ใช้ประโยชน์ จากภาพถ่ายอย่างไร โดยเขาพบเจองานของท่านพุทธทาสภิกขุ โดยบังเอิญจากการไปค้นหาเอกสารเก่า ตามหาช่างภาพไทยชั้นครูที่หลายคน หลงลืมไป เพื่อน�ามาจัดนิทรรศการ ‘ช่างภาพไทยที่โลกลืม’ โดยช่างภาพหนุ่มเดินทางไปทีส ่ วนโมกข์กรุงเทพฯ เพือ ่ หาผลงานภาพถ่าย ของ อาจารย์ระบิล บุนนาค เพราะเคยได้ยน ิ ว่าอาจารย์ระบิลเคยท�างานร่วมกับ ท่ า นพุ ท ธทาส แต่ ป รากฏว่ า เขาไม่ พ บผลงานของอาจารย์ ร ะบิ ล แต่ ไ ด้ เจอ หนั งสือชุด บทพระธรรมประจ�าภาพ จากเจ้าหน้ าที่สวนโมกข์แทน นอกจาก ความแปลกใจที่ไม่คิดว่าจะมีพระสงฆ์ที่ใช้ภาพถ่ายในการเผยแผ่ธรรมแบบนี้ แล้ว เขายังคงมองเห็นแนวคิดที่น่าสนใจที่แฝงเอาไว้ด้วย “มีภาพหนึ่งทีเ่ ป็นรูปพระอาจารย์ยน ื อยู่ 3 รูป แล้วพอผมมาอ่านบทกลอน กลายเป็นว่ารู ปที่หนึ่ งก� าลั งสนทนากั บรู ปที่สอง ส�าหรับผมนี่ ไม่ธรรมดาแล้ ว นี่เปรียบเหมือน conceptual art เพราะว่าถ้าสังเกตให้ดี ภาพของท่านพุทธทาส ทั้งสามรู ปมีการวางแผนไว้แล้ ว ว่าจะอั ดรู ปออกมาแบบไหน มีคอมโพสิชัน แบบไหนให้อยู่ในภาพเดียวกัน นี่มันล�าลึกมากเลย “พอผมศึกษาผลงานของท่านไปเรือ ่ ยๆ พบว่าแม้กระทั่งช่วงสงครามโลก ครัง้ ทีส ่ อง ท่านพุทธทาสก็ใช้กล้องถ่ายภาพเพือ ่ ศึกษาเรือ ่ งอ่าวบ้านดอน ในช่วงนัน ้ ฟิล์มขาดตลาด ท่านยังสามารถเอากระดาษอัดรู ปมาท�าเป็นฟิล์มเองได้ด้วย ถ้ าได้ ไปศึกษาโน้ ตของท่านจะพบว่า ท่านเป็นคนที่บันทึกทุกอย่างเวลาท่าน ท�าการทดลอง เพื่อที่ท่านจะได้ไม่ผิดซ�าซาก เราจะพบหลักการท�างานของท่าน ว่า ท่านเป็นคนที่ท�างานอย่างมีระบบและมีวินัยสูง และสนใจศาสตร์ของศิลปะ เพราะท่านเชื่อว่าศิลปะช่วยในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้” ในหนั ง สื อ ศิ ล ปะ และสุ น ทรีย ภาพทางจิ ต วิ ญ ญาณ, 2544 หน้ า 25 ท่านพุทธทาสเขียนถึงศิลปะกับศาสนาพุทธไว้อย่างน่าสนใจ

“พุ ท ธศาสนาแท้ ๆ ก็ คื อ ศิ ล ปะ เพราะว่าเป็นอุบายอันหนึ่งทีท ่ า � ให้ชว ี ต ิ นี้ งามยิ่ง… ในการที่จะท�าอย่างนั้นได้ คือ การเดิ นไปตามทางสายกลาง ดั งที่ได้ อธิบายแล้วแต่วันก่อนๆ ถ้าให้ระบุก็คือ อริยธรรมมีองค์แปดประการ นั่นแหละ คือศิลปะสูงสุดของทั้งหมดของมนุษย์” ผลงานทีส ่ ร้างสรรค์ในวัดป่า ห่างไกล ความเจริญ คิดและลงมือท�าโดยพระสงฆ์ ที่ เ คยถู ก ว่ า เป็ น พระบ้ า พระบ้ า นนอก พระคอมมิวนิสต์ ผ่านการพิสจ ู น์ดว ้ ยเวลา แล้วว่า งานของท่านได้รบ ั การยอมรับ ในวงกว้างไม่เว้นแม้แต่ในต่างประเทศ “ผมเคยน� า งานของท่ า นไปจั ด นิทรรศการทีต ่ า ่ งประเทศ คิวเรเตอร์ชาว ต่างชาติที่ได้มาดูเขาก็ตื่นตะลึงมากกับ สิง่ ทีท ่ า่ นพุทธทาสท�า เพราะว่าคนเหล่านี้ เขาเดินทางไปทั่วโลกเพื่อค้นหาความแปลกใหม่ ว่ามนุษย์ใช้ภาพถ่ายสร้างสรรค์ สิง่ ใหม่ๆ อะไรบ้าง เขางงมากว่ามีพระไทย ทีท ่ า� แบบนีด ้ ว้ ยหรือ ทุกวันนีผ ้ มว่าก็ยงั ไม่มี พระรูปไหนท�าแบบนี้ สิง่ ทีท ่ า่ นท�ายังล�าสมัย อยู่ ผมมองว่าวิธีการของท่านน่าสนใจ และเป็นสิ่งที่เราสามารถเรียนรูไ้ ด้” 10


กล้องถ่ายรูป Yashica-Mat ที่ใช้ ถ่ายภาพท่านพุ ทธทาส

บันทึกส่วนตัวใน การทดลองถ่ายภาพของ ท่านพุ ทธทาสภิกขุ

‘คิ ด และท� า ’ แบบพุ ทธทาส พระมหาบุญชูเล่าในช่วงหนึ่งของการสัมภาษณ์ไว้อย่างน่าสนใจ ว่าการท�างานกับท่านพุทธทาส ไม่มส ี งิ่ ใดทีเ่ สียเปล่าหรือถูกทิง้ อย่างไร้ประโยชน์ “งานของท่านอาจารย์พุทธทาสคื อทุกอย่างไม่มีเสีย อย่างเรา อัดรูปของท่าน ให้แสงมากไป ให้แสงมืดไป หรือว่าเกิดราเพราะว่าเก็บไว้นาน กว่ า จะได้ พิ ม พ์ เราก็ บ อกว่ า ท่ า นอาจารย์ ค รับ ภาพนี้ ท้ิง เถอะครับ เดี๋ยวไปอัดให้ใหม่เพราะว่าฟิล์มยังมี แต่ทา ่ นบอกว่าไม่ต้อง เอามาใช้ได้ เดีย ๋ วจะหาค�าประกอบให้เข้ากับภาพทีข ่ น ึ้ รา ซึง่ ท่านก็หาได้จริงๆ หลักการ ของท่านอาจารย์พท ุ ธทาสคือ ให้ใช้เครือ ่ งมือเท่าทีจ ่ า � เป็น ไม่จ�าเป็นต้อง เป็นของแพง ขอแค่ให้สา� เร็จงานก็พอแล้ว เคยมีคนเอากล้อง Hasselblad มาถวายท่าน กล้องราคาแพงมากเลยนะ ท่านบอก ไม่เอา แค่กล้อง Yashica ที่มีก็พอใช้งานแล้ว” หากถอดวิธค ี ิดการท�างานของท่านพุทธทาส จะค้นพบแนวทางที่ น่าสนใจ ไม่วา ่ จะเป็นการตั้งค�าถามกับสิง่ ทีม ่ อ ี ยูเ่ ก่าก่อน ตรวจสอบด้วย ตรรกะและเหตุผล ทดลองหาค�าตอบด้วยตัวเอง รวมทัง ่ �าไป ้ การเล่นทีน ขยายความให้จริงจัง จนมาเป็นส่วนหนึ่งในงานได้ และสิง่ ส�าคัญทีม ่ านิต สังเกตเห็น คือวิธค ี ิดแบบวิทยาศาสตร์ และคนตะวันตก ทีป ่ รากฏเด่นชัด จากการท�างานของท่าน “สิ่งหนึ่งที่ท่านพุทธทาสท�าอยู่เสมอทุกวันคือการบันทึก ท่านจะ จดบั น ทึ ก ตลอด ตอนที่ ผ มได้ เข้ า ไปในหอจดหมายเหตุ ในสวนโมกข์ ผมได้ เห็ น บั น ทึ ก ที่ ท่ า นเขี ย นเกี่ ย วกั บ การทดลองถ่ า ยรู ป ระบุ ว่ า ใช้ กระดาษอัดรู ปอะไร น�ายาที่ใช้ล้างเป็นอย่างไร จะเห็นว่าท่านท�างาน อย่างประณีต มีวน ิ ัยมาก เป็นเหมือนกับนักวิทยาศาสตร์ นี่เป็นวินัยทีเ่ รา จะพบได้ในวัฒนธรรมตะวันตก มีการบันทึก มีการจดโน้ตทุกวัน คนทีท ่ า� งาน แบบนี้ถึงสามารถท�างานได้มหาศาล ท่านท�างานมา 60 ปี มีงานบันทึก ทิง้ ไว้มหาศาล ตอนนีท ้ า ่ นมรณภาพไปแล้ว 20 กว่าปี หอจดหมายเหตุเอง ยังน�างานของท่านมาจัดการได้ไม่ถึงไหนเลย” ถ้ านั บถึ งปีนี้ ท่านพุทธทาสละสังขารได้ 27 ปีแล้ ว แต่ แนวคิ ด การท�างานของท่านที่หลายๆ คนได้อ่านมาถึงตรงนี้ เชื่อว่ามีมุมมอง ที่น่าสนใจและสามารถน�าไปปรับใช้กับชีวิตได้ “ถ้าคุณศึกษาธรรมแล้วจะรูว้ า ่ ค�าค�านี้มน ั กว้างมาก ค�าว่า ธรรมะ รากศัพท์ในภาษาอินเดีย แปลว่า หน้าที่ การท�าหน้าที่ก็คือการปฏิบัติ ธรรม ที่เรายังไม่ตายก็ เพราะว่าอวัยวะต่ างๆ ยังท�าหน้ าที่ของมันอยู่ เมื่ อ ไหร่ที่ หั ว ใจของคุ ณ หยุ ด ท� า หน้ า ที่ คุ ณ ก็ ต าย การปฏิ บั ติ ธ รรม ไม่ได้แปลว่าคุณต้องไปนั่งสมาธิ เดินจงกรมเท่านั้น “ท่านพุทธทาสบอกว่า ในการท�างาน ให้คด ิ ว่าผลตอบแทนเป็นเพียง ผลพลอยได้ สิ่งที่ส�าคัญคือการที่เราได้ตอบแทนสังคม ให้โลกนี้เป็นไป แต่ถ้าเกิดได้เงินได้ทองก็ได้ไป แต่อย่าไปตั้งความหวังที่ผลประโยชน์ สิ่ ง ที่ ท� า ให้ วุ่ น วายกั น ทุ ก วั น นี้ เพราะว่ า คนท� า งานเพื่ อ ผลประโยชน์ ไม่ ไ ด้ ท� า งานเพราะหน้ า ที่ หน้ า ที่ ข องมนุ ษ ย์ ต้ อ งช่ ว ยเหลื อ กั น ” พระมหาบุญชูกล่าวปิดท้าย

issue 624 3

3 00 6 D J Ae N C 202 1 90

11


เรือ ่ ง : ปริญญา ก้อนรัมย์

Viewfinder

Play TO learn

ภาพ : หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ

หากใครเคยได้ศึกษางานของพระธรรมโกศาจารย์ หรือที่รู้จักกันในนามพุ ทธทาสภิกขุ คงจะได้เห็นจุดร่วม แนวคิดอย่างหนึ่งที่ท่านพุ ทธทาสภิกขุใช้ท� างานมาโดย ตลอด นั่นคือการหยิบเอาความเชื่อดั้งเดิมมาตั้งค�าถาม ตรวจสอบ และทดลองหาค�าตอบด้วยตัวเอง อะไรที่ใช้ ไม่ ไ ด้ ก็ ท้ิ ง ไป และอะไรที่ ใ ช้ ไ ด้ ก็ ห ยิ บ มาต่ อ ยอดทดลอง ต่อ เหมือนที่ครั้งหนึ่งท่านบอกกับชาวพุ ทธว่า “แม้แต่

พระพุ ทธเจ้ า และพระธรรมค� า สอนก็ อ าจจะเป็ น ภู เ ขา ที่ ข วางกั้ น ชาวพุ ทธให้ เ ข้ า ถึ ง แก่ น หรื อ หั ว ใจของธรรมะ อย่ า งแท้ จ ริ ง ” จนท่ า นถู ก กล่ า วหาจากสั ง คมว่ า เป็ น ‘พระคอมมิวนิสต์’ หนึ่ ง ในกระบวนส� า คั ญ ที่ ท่ า นพุ ทธทาสใช้ ท ดลอง สิ่งต่างๆ นั้นมีแนวคิดมาจาก ‘การเล่น’ ใครที่ได้เห็น ่ า่ นเหลือทิง อุปกรณ์ทา� งานหรือสิง ่ ของทีท ้ ไว้ จะรูไ้ ด้เลยว่า ท่านเป็นหนึ่งในพระสงฆ์ท่ท ี ันสมัยที่สุดในยุคนั้น “สมั ย หนึ่ ง เคยเล่ น ชนิ ด ที่ ท่ี มี ป ระโยชน์ ท างวั ต ถุ เคยเล่นหีบเสียง เรียนภาษา เล่นพิมพ์ดด ี เพื่อพิมพ์หนังสือ เล่นกล้องถ่ายรูปเพื่อรวบรวมรูป และอะไรๆ ที่มันคล้ายๆ อย่างนี้ ก็เป็นส่วนแห่งการเล่น… ผมเคยเล่นเกือบทุกอย่าง ตามความเหมาะสม ตามโอกาส จะจัดล�าดับไม่ค่อยได้ แต่มันก็มีล�าดับอยู่ในตัว ตามที่อายุมันมากเข้า สถานะ ของตนมันเปลี่ยนไป เรื่องเล่นก็ต้องเปลี่ยนไปพอเหมาะ พอสม” (เล่าไว้เมื่อวัยสนธยา, 2535 หน้า 286) เรื่องเล่นๆ ที่ท่านพุ ทธทาสทดลองศึกษา ฝึ กฝนกับ ตัวเอง หลายครั้งได้ออกดอกเป็นผลงานชั้นครูท่ย ี ังเป็น ที่ ก ล่ า วถึ ง แม้ เ วลาจะผ่ า นมาหลายสิ บ ปี โดยเฉพาะ ด้านภาพถ่าย ผลงานชุด ‘บทพระธรรมประจ�าภาพ’ ทีเ่ ป็น ภาพถ่ายและกลอนธรรมะกว่า 423 บท มีการใช้เทคนิค อัดภาพสมัยใหม่ สร้างสรรค์ภาพปริศนาธรรมได้อย่าง น่ า สนใจ โดยภาพส่ ว นใหญ่ ถ่ า ยโดยพระมหาบุ ญ ชู พระช่ า งภาพคู่ บุ ญ ซึ่ ง ท่ า นพุ ทธทาสที่ ว างมื อ จาก การจับกล้อง เป็นผู้ก�ากับไอเดียในแต่ละภาพ และการเผยแพร่ธรรมะด้วยกลวิธก ี ารดังกล่าว โดดเด่นแตกต่าง จากพระสงฆ์องค์อ่ืนๆ ในยุคสมัยนั้นอย่างมาก ่ งน่าเสียดาย จากค�าบอกเล่าของพระมหาบุญชู เป็นเรือ มากๆ ว่าผลงานภาพถ่ายจ�านวนมากผุพังไปตามกาลเวลา และการเก็ บ รั ก ษาที่ ไ ม่ ดี พ อ แต่ เ รามี โ อกาสได้ ภ าพถ่ า ย ชุดพิ เศษ ในวันวานที่ท่านพุ ทธทาสภิกขุยังคงทดลอง กดชั ต เตอร์ ด้ ว ยตั ว เอง ซึ่ ง ผลงานเหล่ า นี้ จ ะไปโชว์ ใ น นิ ท รรศการ ‘เรื่ อ งเล่ น เห็ น ธรรม’ ที่ จั ด ขึ้ น ที่ ส วนโมกข์ กรุงเทพ ตั้งแต่วันนี้ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563 เราอยากชวนคุณไปดูผลงานภาพถ่ายที่เป็นหนึ่งใน กระบวนการทดลอง ‘เล่นให้เห็นธรรม’ ของท่านพุ ทธทาสภิกขุ ในบทความชิ้นนี้


issue 624

06 JAN 2020

13


“กล้องแรกที่มีใช้ โกดัก เวสต้า 12 บาท ซื้อที่เวิ้งนาครเขษม มันก็ถ่ายได้ดี แล้วก็มาหัดล้างหัดอัดเอง มันเป็นงานง่ายๆ น�้ายามันส�าเร็จรูป ผสมมาเป็นขวด มาเติมน�้า สิบเท่า ก็ล้างได้” (เล่าไว้เมื่อวัยสนธยา, 2535 หน้า 72) 14


“ สิ่ ง ที่ เ รี ย ก ว่ า เ ล่ น มั น มี ความหมายมาก กิ น ความ กว้ า งขวาง จากเล็ ก ที่ สุ ด จ น ถึ ง ใ ห ญ่ ที่ สุ ด แ ม้ แ ต่ แต่งโคลงแต่งกลอน มันก็ เป็ น ของเล่ น ไม่ ไ ด้ จ ริ ง จั ง ผ ม ก็ ไ ม่ รู้ จ ะ บ อ ก อ ย่ า ง ไ ร บอกได้แต่วา่ เคยเล่นสิง ่ เหล่านี้

่ วัย มาตามโอกาส” (เล่าไว้เมือ สนธยา, 2535 หน้า 287) issue 624

06 JAN 2020

15


“โอ๊ย มันสนุก ถ่ายรูปมาดีก็สนุก ถ้าไม่ดีก็อยากจะแก้ตัวใหม่ มันก็ให้ เราเลือกได้ตามพอใจ ผมเคยถ่าย แ ต่ เ ม ฆ อ ย่ า ง เ ดี ย ว ตั้ ง พั น ภ า พ ้ มาเป็นรูปอะไรๆ ก็ถา่ ยไว้ เมฆสวยขึน อั ด เองมั น ถู ก มาก... เราไม่ ต้ อ งมี ห้องมืด ล้างตอนกลางคืน อากาศ ก็เย็นสบาย ท�าเฉพาะกลางคืน เข้าไป ในห้องมันร้อน มันอับ มันอึดอัด” ( เ ล่ า ไ ว้ เ มื่ อ วั ย ส น ธ ย า , 2 5 3 5 หน้า 72-73)

16


“มันต้องพิสูจน์ว่าไม่มีโทษ คือให้มันมีประโยชน์ ของเล่นมีประโยชน์ก็มี ของเล่นที่ไม่มีประโยชน์ก็มี ให้โทษก็มี พู ดรวมๆ กันไม่ได้ ของเล่นมันต้องมี พักผ่อนหย่อนใจ ต้องมี” (เล่าไว้เมื่อวัยสนธยา, 2535 หน้า 434)

issue 624

06 JAN 2020

17


The Word

18


ส� ำ ห รั บ ค น ที่ เ ริ่ ม ต้ น ศึ ก ษำงำนของท่ ำ นพุ ทธทำส ค� ำ ถำมที่ น่ ำ สนใจและควรหำ ค�ำตอบ คือกำรน�ำธรรมะของ ท่ำนพุ ทธทำสภิกขุมำตรวจสอบ และทดลองใช้ในชีวิตจริง เพื่อ หำข้ อ สรุ ป ว่ ำ ค� ำ สอนของท่ ำ น ยั ง ทั น สมั ย และเป็ น ที่ ส นใจ ส�ำหรับคนยุคนี้หรือไม่ ่ ำ่ น เพรำะนีเ่ ป็นแนวคิดทีท ่ มำตลอด ว่ำทุกสิง พุ ทธทำสเชือ ่ ต้ อ งน� ำ มำตรวจสอบ เอำมำ ทดลองใช้ ได้ผลก็เอำมำใช้ต่อ ไม่ ไ ด้ ผ ลก็ โ ยนทิ้ ง ไป ไม่ เ ว้ น แม้แต่ค�ำสอนของพระพุ ทธเจ้ำ เรำจึงคัดสรรธรรมะส่วนหนึ่ง จำกหนังสือชุด ‘บทพระธรรม

ประจ�ำภำพ’ มำให้ คุ ณ ได้ ล อง ดู ว่ ำ ข้ อ คิ ด และปริ ศ นำธรรม เหล่ ำ นี้ มี ส่ิ ง ใดที่ ใ ช้ ป ระโยชน์ ได้ และยังทันสมัยกับคนเมือง ในวันนี้

issue 624

06 JAN 2020

19


A MUST BEAUTY CHANCE FRAGRANCE PENCIL เอาใจสาวที่ ชื่ น ชอบน� า หอม และหลงรัก Chanel ด้วย Chance Fragrance Pencils น�าหอมไฉไล แบบใหม่ในโฉม ‘ดินสอ’ สีพาสเทล 4 กลิน ่ สุดฮิต Chance, Chance Eau Fraîche, Chance Eau Tendre และ Chance Eau Vive ใช้งานง่ายเพียง หมุนด้ามดินสอ พกพาสะดวกด้วย ขนาดทีก ่ ะทัดรัด ทีส ่ า � คัญ กลิ่นหอม ยาวนาน ราคา 80 ดอลลาร์สหรัฐฯ/ เซต หรือ ประมาณ 2,500 บาท อ ย า ก มี เ ส น่ ห์ แบ บ ส า ว ช า แน ล สามารถไปช้ อ ปออนไลน์ ไ ด้ แ ล้ ว วันนี้ที่ www.chanel.com

PRODUCT

SAMSUNG BLUE SKY AX7000 เครื่องกรองอากาศ Samsung Blue Sky AX7000 โดดเด่นด้วย ตัวเครือ ี าว ออกแบบให้ชอ ่ งรับอากาศอยูด ่ า้ นหน้า ่ งขนาดใหญ่ทรงทาวเวอร์สข ซึ่งมีลักษณะเป็นช่องสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ด้านบนเป็นจอแสดงผลทัชสกรีนสีด�า มีชุดควบคุมการท�างานอย่าง ปุ่มเปิด-ปิดเครือ ่ ง, ปรับระดับความแรงของพัดลม, Sleep Mode ส�าหรับ เวลานอน, ตั้งเวลาเปิด-ปิดเครือ ่ ง, Lighting เปิดไฟแสดงผลทีด ่ ค ู ่าระดับฝุน ่ ได้ และ PM Digit ส�าหรับเลือกกรองค่าฝุน ่ โดยมีไอคอนแสดงผลทีห ่ น้าจอ ซึ่งบอกค่าระดับฝุ่นในขนาดต่างๆ ว่าอยู่ในค่ามาตรฐานใด ตั้งแต่ PM 10, PM 2.5 และ PM 1.0 พร้อมแถบแสงแสดงค่ าคุณภาพอากาศทั้ง 4 ระดั บ ที่เริม ่ จากค่ าฝุ่นมากจะเป็นสีแดง ก่ อนจะค่ อยๆ ปรับเป็นสีเหลื อง สีเขียว จนเป็นสีฟา้ ทีห ่ มายถึงค่าฝุน ่ ในอากาศอยูใ่ นระดับทีป ่ ลอดภัย สามารถเชือ ่ มต่อ Wi-Fi เพื่อควบคุมเครือ ่ งจากระยะไกลผ่านแอพพลิเคชัน SmartThings ของ Samsung ที่รองรับทั้งใน Android และ iOS จากการทดลองใช้ เราคิดว่าเครือ ่ งกรองอากาศรุน ่ นี้เหมาะกับบ้าน หรือตึกแถวทีต ่ ด ิ ริมถนน โดยน�าไปใช้ในห้องทีใ่ ช้ชว ี ต ิ นานทีส ่ ด ุ อย่างห้องนอน ห้องนั่ งเล่ น ห้องที่มีเด็ กเล็ กๆ ผู้สูงอายุ หรือคนที่เป็นภูมิแพ้ เพราะรุ น ่ นี้ มี ฟิลเตอร์คาร์บอน HEPA ทีส ่ ามารถก�าจัดฝุน ่ ละอองและก๊าซทีเ่ ป็นอันตราย ได้ถึง 99.9% ทัง ิ พ้ได้ ท�าให้คนทีแ ่ พ้ฝน ุ่ ้ สามารถก�าจัดไวรัสและสารก่อภูมแ นอนหลับสบาย ตื่นขึ้นมาแล้วไม่คัดจมูก โดยรวมจุดที่ชอบที่สุดคงเป็นเรือ ่ งการท�างานที่เงียบมาก แนะน�าว่า ให้ปรับโหมดพัดลมในตอนกลางวันไปที่ Auto ส่วนกลางคื นปรับโหมด Sleep ก็แทบจะไม่ได้ยินเสียงพัดลม หากเพิ่มระดับพัดลมไปจนสุด ก็จะมี เสียงลมออกมา แต่กไ็ ม่ได้รบกวนการพักผ่อนแต่อย่างใด (ราคา 29,990 บาท รายละเอียดเพิ่มเติม www.samsung.com/th)

BOOK มื้อเที่ยงกับเอฟที จากคอลัมน์ประจ� า ‘Lunch with the FT’ ในหนั ง สื อ พิ ม พ์ ไฟแนนเชียลไทม์ส รวบรวมเป็นหนังสือ เล่ ม หนาที่ คั ด สรรบทสนทนาบน โต๊ะอาหารกับ 52 คนดังระดับโลก ผู้มีบทบาทส�าคัญในการขับเคลื่อน สัง คมยุ ค ปัจจุบัน อย่างเช่น เจฟฟ์ เบซอส ผูก ้ อ ่ ตัง ื่ ว่า ้ Amazon ซึง่ ได้ชอ เป็นบุคคลหนึง ่ ทีป ่ ระสบความส�าเร็จ ทีส ่ ด ุ ของโลก หรือ แองเจลีนา โจลี นั ก แสดงสาวผู้ หั น มาท� า งานด้ า น สิทธิมนุษยชน การเปิดหนังสือเล่มนี้ เพือ ่ อ่านบทสัมภาษณ์ ก็เหมือนเปิด โอกาสให้ตว ั เองได้นงั่ ร่วมโต๊ะอาหาร กับคนดังเหล่านัน ี ร้างปัญญา ้ เป็นวิธส ความคิ ด และมุ ม มองใหม่ ผ่ า น บทสนทนาบนโต๊ะอาหาร กับเหล่า ปรมาจารย์ ทั่ ว โลก (ส� า นั ก พิ ม พ์ โอเพ่นบุค ๊ ส์ / ราคา 700 บาท)

20 16


F E S T I VA L

POST-LOOP MUSIC FESTIVAL AND SECOND HAND MUSIC MARKET งานเฟสติ วั ล ส� า หรับ สายดนตรีบ รรเลง ทั้ง Post-Rock, Post-Metal, Math-Rock, Instrumental, Ambient, Looper, Modular และ Experimental ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในประเทศไทย กับการร่วมมือกันจัดระหว่าง ASiA Sound Space, Live Loop Asia และ Brownstone พร้อมศิลปิน กว่า 50 คน และ 5 เวที รวมไปถึงตลาดซือ ้ ขาย เครื่อ งดนตรีมื อ สอง และตลาดไวนิ ล มื อ สอง งานนี้เข้าฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย ใครสนใจแวะมาชม ที่ ASiA Sound Space วันที่ 19 มกราคม 2563 ตั้งแต่บ่ายโมง เรือ ่ ยไปจนถึงตีหนึ่ง

GADGET

XIAOMI AQARA IP CAMERA HUB G2 เอาใจคนรักบ้าน ด้วย Xiaomi Aqara IP Camera Hub G2 กล้องวงจรปิดตัวจิว ่ มต่อ ๋ ทีเ่ ชือ กับ Wi-Fi ได้ มาพร้อมกับเลนส์มุมกว้าง ท�าให้ มุ ม มองของภาพกว้ า งขึ้ น โดยมี ค วามคมชั ด ระดั บ 1080p HD แม้ ในพื้ น ที่ แ สงน้ อ ยก็ ยั ง สามารถเห็นภาพได้ชัดเจน ด้วยระบบตรวจจับ ภาพตอนกลางคืน หรือ Night Vision นอกจากนี้ ยังมีระบบตรวจจับเสียง หรือ Sound Detection และสามารถบั น ทึ ก วิ ดี โ อแบบ Time-lapse ซึ่งจะคอยช่วยให้ เจ้ าของบ้านหายห่วงขณะที่ ไม่ อ ยู่ บ้ า น วางจ� า หน่ า ยในราคา 1,290 บาท สั่งซื้อและสอบถามรายละเอียดสินค้าเพิ่มเติม ได้ที่ www.xiaomilovers.com

ISSUE 624

0066 J JAANN 22002200

EXHIBITION

MUSIC

GOLDEN HOUR BY CYRUS TANG

MONTAGE : SOLITUDE IS BLISS

'ชั่วโมงทอง' ในทางการแพทย์หมายถึ ง ช่วงเวลาส�าคัญระหว่างความเป็นและความตาย ของผู้ป่วย ในอี กแง่หนึ่ ง ค� านี้ ยังหมายถึ งการเปลีย ่ นแปลงของแสงระหว่างกลางวันและกลางคืน ความหมายทั้งสองแสดงให้เห็นถึงความสมดุล ของชีวต ิ และความตายทีเ่ กีย ่ วข้องกับการบาดเจ็บ และการเปลี่ยนแปลงหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ซึ่งเรือ ่ งราวความเจ็บปวดเหล่านี้ถ่ายทอดผ่าน ภาพถ่าย 2 ชุดที่สะท้อนให้เห็นความทรงจ�าและ อารมณ์ส่วนตัวของศิลปินที่ท�าให้เกิดภาพการรวมกันของอดีตและปัจจุบันที่มีพลัง จัดแสดง ตั้งแต่วันนี้ถึง 12 มกราคม 2563 ณ แกลเลอรี่ โอเอซิส ซ.สุขุมวิท 43

‘กระดาษ’ คือเพลงในอีพอ ี ล ั บัม ้ Montage ของ Solitude is Bliss วงดนตรี ไ ม่ จ� า กั ด แนวเพลงจากเชียงใหม่ ที่บอกเล่าเรือ ่ งราวของ กระดาษใบหนึง่ ทีต ่ อ ้ งแลกมาด้วยความเหนือ ่ ยยาก ต้ อ งดิ้ น รนและต่ อ สู้ ในระบบการศึ ก ษาเกื อ บ ครึ่ง ชี วิ ต เพื่ อ ให้ ไ ด้ ร ับ การยอมรับ ทางสั ง คม กลายเป็นสิ่งที่เรียกว่าใบปริญญา แต่บทเพลง ก็ ยั ง น� า ไ ป สู่ ก า ร ตั้ ง ค� า ถ า ม ส� า คั ญ ที่ ว่ า ท้ายที่สุดแล้วอิสรภาพทางความชอบในตัวเรา หรือการเป็นที่ยอมรับทางสังคม คือสิ่งที่ต้องใช้ เวลาเพื่อไขว่คว้าให้ได้มากกว่ากัน

DVD

WORKSHOP

EVERY DAY A GOOD DAY

มา-หา-สารความสุข โดย หมอเอิน ้ พิยะดา

จากหนังสือ Everyday is a good day: 15 happiness taught by ‘Tea’ ของ โมริชิตะ โนริโกะ ที่ บ อกความสุ ข ที่ ค้ น พบจากพิ ธี ช งชา สูก ่ ารดัดแปลงขึน ้ จอหนัง เมือ ่ โนริโกะตัดสินใจใช้ เวลาช่วงปิดเทอมฤดูรอ ้ นไปกับการเรียนรูพ ้ ธ ิ ช ี งชา ตามวัฒนธรรมญีป ่ น ุ่ ตามค�าชักชวนของเพือ ่ นสนิท อย่างไม่เต็มใจเท่าไหร่นัก แต่สด ุ ท้ายเมือ ่ โนริโกะ ได้ปล่อยให้รา่ งกายและหัวใจได้หยุดพักจากโลก ที่ วุ่ น วาย ผ่ า นการริน น� า สู่ แ ก้ ว อย่ า งเชื่ อ งช้ า เรียบง่าย และสงบเช่นนี้ ท�าให้เธอคิดได้วา ่ ไม่วา ่ ในทุกวันนี้ทค ี่ ิดว่าโลกใบนี้แย่ขนาดไหน หากเรา ใจเย็นแล้วค่อยเพ่งมองและพิจารณาต่อไปอีก สักพัก ก็จะพบเรือ ่ งราวดีๆ อยูภ ่ ายในความวุน ่ วาย นั้นได้อยู่เสมอ

ความสุขเป็นสิง่ ทีใ่ ครต่างอยากครอบครอง แต่จะท�าอย่างไรให้สุขนั้นเบ่งบานในจิตใจให้ได้ นานทีส ่ ด ุ เราขอแนะน�าคอร์สบริหารจิตใจให้คน ้ พบ ความสุขที่แท้จริง โดย พ.ญ. พิยะดา หาชัยภูมิ หมอนักบริหารจิตใจ จิตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน จิตวิทยาความสุขและการสื่อสาร ซึ่งคอร์สนี้จะ เรียนรูต ้ ง ั้ แต่โครงสร้างและกลไกการท�างานของ จิ ตใจและสมองไปจนถึ งเทคนิ คในการพัฒนา จิ ต ใจให้ มี ค วามสุ ข ง่ า ยขึ้ น เริ่ม เรีย นรู ้ในวั น ที่ 18-19 มกราคม 2563 ทีส ่ วนเสียงไผ่ ซ.ธารทิพย์ 3 ย่านทาวน์อินทาวน์ รายละเอียดเพิ่มเติม www. facebook.com/EarnPiyada

13 21


เรือ ่ ง : กฤตนัย จงไกรจักร

ภาพ : ธนดิษ ศรียานงค์

HE SAID

22


Religion Bullying ถึงแม้ในวันนี้ที่ I’m Not Your F***ing Stereotype หนังธีสิสที่เป็นตัวแทนของ ‘ความคับแค้นจากมุสลิมคนหนึ่ง’ ของ ฮีซัมร์ เจ๊ะมามะ เด็กหนุ่มจากสามจังหวัด ชายแดนใต้ จะคว้ารางวัลชนะเลิศหนังสั้นยอดเยี่ยมแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติสิงคโปร์ ครั้งที่ 30 มาได้ แต่เปลวไฟแห่ง ความโกรธแค้นจากความไม่เท่าเทียมทางศาสนา ยังคงแผดเผาอยู่ในหัวใจของฮีซัมร์ต่อไปอย่างไม่รู้จบ

I’m Not Your F***ing Stereotype

“มี ห ลายเหตุ ผ ลที่ ห นั ง ธี สิ ส ของผมตั ด สิ น ใจใช้ ชื่ อ นี้ แต่ แรงบันดาลใจจริงๆ มาจากช่วงหนึง่ ทีผ ่ ม เริม ่ งการถูกเหมารวม ่ ค้ นคว้าเรือ ในโรงเรียน แล้วผมไปเจอคลิปจาก TED Talks คลิ ป หนึ่ ง ที่ พู ด ถึ ง นักเรียนเอเชียในอเมริกาทีค ่ นผิวขาว มักมองว่าการเป็นคนเอเชียจะต้อง เก่งคณิตศาสตร์ ต้องชอบกินข้าว ต้ อ งเครีย ดเรื่อ งการเรีย นมากๆ ถ้ า สอบได้ B ไม่ ไ ด้ A+ ต้ อ งไป ฆ่าตัวตายแน่ๆ “ผมคิดว่ากรณีของคนเอเชีย ในอเมริกาก็ เหมือนมุสลิ มที่อยู่ใน ประเทศไทยนะ เราไม่ได้ต้องการ การยกยอหรือ ความพิ เ ศษอะไร ผ ม แ ค่ อ ย า ก ให้ ทุ ก ค น ม อ ง ผ ม เป็นคนธรรมดาแค่นน ั้ คนอืน ่ อาจจะ มองว่ า แค่ นี้ มึ ง ก็ โ มโหแล้ ว เหรอ แต่พอมันสะสมมาเรือ ่ ยๆ มันก็ทา� ให้ เราเจ็บปวดเหมือนกัน”

สังคมพุ ทธเป็นใหญ่

“สิง ่ ทีเ่ ราท�ามันคือการพู ดแทนอีกหลายคนอยู่ เรารูส ้ ก ึ ว่ามุสลิมก�าลัง ต้องการค�าขอโทษจาก การโดนล้อ”

issue 624

06 JAN 2020

“ตอนเรียนอยู่ที่สามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ เรารูส ้ ึกว่าตัวเอง เป็นส่วนหนึง่ ของสังคม เป็นสถานที่ ทีเ่ ราคู่ควรมาตลอด แต่พอย้ายมา เรียนภาพยนตร์ที่กรุงเทพฯ ก็เริม ่ รูส ้ ก ึ ว่าตัวเองเป็นคนนอกไปทุกเรือ ่ ง อาจเพราะจ�านวนของมุสลิมมีนอ ้ ยลง หรือใดๆ ก็ตาม แต่เราก�าลังถูกมอง เป็นตัวประหลาด จากนั้นมันก็เริม ่ สร้ า งความอั ด อั้ น ให้ เ ราเรื่ อ ยๆ ซึ่ ง ห ล า ย อ ย่ า ง ก ล า ย เป็ น ฉ า ก ทีเ่ กิดขึน ้ ในหนัง เช่น การทีน ่ างเอก ถู ก ล้ อ เลี ย นเรื่อ งชื่ อ ในคาบแรก ของแต่ละวิชา นั่ นคือสิ่งที่เกิดขึ้น กับตัวเราเช่นกัน กลายเป็นว่าเรา จะเกลี ย ดคาบแรกของทุ ก วิ ช า ที่ เ ข า มั ก จ ะ บ อ ก ว่ า ‘ ฮี ซั ม ร์ เจ๊ะมามะ ท�าไมชื่อประหลาดจัง’ “เราก็รว ู ้ า่ มีเรือ ่ งแบบนีเ้ กิดขึน ้ ในสั ง คมไทยอยู่ บ้ า ง แต่ พ อเจอ จริง ๆ ก็ ร ับ มื อ ยากอยู่ เหมื อ นกั น เราไม่ ไ ด้ คิ ด ว่ า จะต้ อ งเจอมาก ขนาดนี้ คิ ดว่าจะเจอแค่ นานๆ ที เท่ า นั้ น แต่ ผ มนี่ เจอตั้ ง แต่ ขึ้ น มา กรุงเทพฯ ครัง้ แรกเลย ”

ความไร้เดียงสาทางศาสนา

“ เรื่ อ ง ข อ ง ค ว า ม อ ย า ก รู ้ น่าสนใจมาก บางคนเขาก็ถามเรา ด้วยความอยากรูจ ้ ริงๆ เหมือนทีเ่ รา

สร้างตัวละคร ‘แฮม’ ที่ไร้เดียงสา จริงๆ ขึน ้ มา แต่กจ ็ ะมีอก ี แบบทีถ ่ าม เพราะ ‘กวนตีน’ แบบไม่ลอ ้ เลียนนะ แต่มน ั ยัว เรามากกว่ า ประมาณว่ า ่ ไอ้ นี่ มั น มี ค วามจ� า กั ด ทางด้ า น ความอดทนได้มากแค่ไหนกัน “เราว่ามันคือปัญหาทีม ่ าจาก ระบบการศึกษาที่ชินชาจนมองว่า วิ ช าศาสนาในประเทศไทยคื อ ศาสนาพุทธไปแล้ว ท�าให้ความรู ้ ที่ มี ต่ อ มุ ส ลิ ม และศาสนาอิ ส ลาม จึงผิวเผินมาก”

แซว เท่ากับเหยียด

“เรามี เ พื่ อ นสนิ ทคนหนึ่ ง ทีไ่ ม่ได้ทะเลาะอะไรกัน แต่เขาชอบ หยอกล้ อ ด้ ว ยมุ ก เกี่ ย วกั บ มุ ส ลิ ม เราเลยตั้ ง เป้ า หมายระยะสั้ น ว่ า ‘กูทา� ยังไงก็ได้ให้ไอ้นด ี่ ห ู นังจบแล้ว ต้องขอโทษกู’ สุดท้ายพอหนังฉาย เสร็จ เพือ ่ นคนนัน ้ ก็เดินมาทัง้ น�าตา แล้วบอกว่า ‘ฮีซม ั ร์ กูรูส ้ ก ึ ผิดต่อมึง มากเลยว่ะ พอดูหนังเรือ ่ งนี้’ นี่เป็น ตัวแทนของคนทัว ่ ไปทีเ่ ราคาดหวัง ไว้ ว่ า ถ้ า หนั ง มั น ท� า งานกั บ เขา เขาก็ คงต้ องรู ้ สึ ก อะไรบ้ า งกั บ การกระท�าของตัวเอง “ประเทศไทยยังแยกไม่ออก ระหว่างค�าว่า ‘เหยียด’ กับ ‘แซว’ หนังเรือ ่ งนี้เลยอยากให้เห็นว่าสิง่ ที่ คุณมองว่าคือการแซว ส�าหรับเรา มั น คื อ การเหยี ย ด ซึ่ ง ถ้ า เขาได้ รู ้ ความจริงข้อนี้ ก็อาจจะรู ส ้ ึกอะไร ขึ้นมาบ้างก็ได้”

ความจริงอันเจ็บปวด

“มี ฉ ากหนึ่ งที่ ผ มตั้ ง ใจจะ เสียดสีระบบการศึกษา ฉากทีเ่ ด็ก มุ ส ลิ ม ถื อ บอร์ด พระพุ ท ธศาสนา อยูบ ่ นรถเมล์ ก็เป็นเหตุการณ์ทผ ี่ ม เห็นจริงๆ ตอนนัน ้ ก ึ ว่า แม่ง— ้ ผมรูส โคตรเซอร์เลย กูอยากท�าหนังทีม ่ ฉ ี าก แบบนี้ บ้าง แล้วก็ได้ท�าด้วย รู ส ้ ึก อยากขอบคุณเขามากที่ท�าให้เรา ได้เห็นภาพหนังเรือ ่ งนี้ “แต่ตอนนั้นที่เห็นมันหลากหลายอารมณ์ ม ากนะ ตอนแรก เราก็ รูส ้ ึกตลก แต่ สักพักเราก็ เริม ่ เศร้า เพราะเขาคงไม่อยากให้ใคร เห็นมันเป็นเรือ ่ งตลก บางทีเขาอาจ จะอยากหันบอร์ดหลบด้วยซ�า”

มนุษย์ไร้ทางเลือก

“มันไม่ใช่แค่มุสลิม ชาวพุทธ ก็ดว ้ ย หนังเรือ ่ งนีว ้ า่ ด้วยเรือ ่ งวัยรุน ่

ที่ เ ลื อ กอะไรไม่ ไ ด้ สุ ด ท้ า ยก็ เ ลย จบด้ ว ยการที่ มั น เปลี่ ย นชื่ อ ไม่ ไ ด้ เปลี่ยนอะไรไม่ได้เลย นางเอกถ้า เขาเลือกได้ ก็คงไม่อยากเกิดมาใน สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือ ต้ อ งย้ า ยโรงเรี ย นเพราะพ่ อ แม่ ย้ายบ้าน ทั้งที่ตัวเองก็ไม่ได้อยาก จะย้ายออกมาแต่อย่างใด “มันตลกมากนะทีป ่ ระเทศไทย เรียกการเปลี่ ยนข้อมูลส่วนตั วว่า ‘อกตั ญ ญู ’ หมายความว่ า ต้ อ ง ได้รบ ั การอนุญาตจากพ่อแม่ก่อน เพราะคนเหล่ านั้ นถูกตราหน้ าว่า ไม่พอใจในสิ่งที่เป็นหรือเปล่า”

มุสลิมไม่ใช่ทก ุ อย่าง

“ ถ้ า ม อ ง จ า ก นิ สั ย ตั ว เอ ง ที่ อ ยากได้ รั บ การยอมรั บ จาก หมู่เพื่อน เราเชื่อว่าในโลกคู่ขนาน นั้ น เรายั ง เลื อกเป็ น มุ ส ลิ มอยู่ แต่จะไม่บอกใครว่าฉันนับถืออิสลาม พอถึงจุดหนึ่งที่เรามีวุฒิภาวะแล้ว ศึ ก ษามาหลายศาสนาจนคิ ด ว่ า นี่เหมาะกับเราจริงๆ เพราะเราก็ยงั อยากเป็นคนมีศาสนา มีค�าสอนใน ใจ แต่เราไม่อยากเคร่งกับพิธก ี รรม ต่างๆ “เราเคยคุยกับแม่นะ เพราะ เขาถามว่ า ท� า ไมถึ ง ไม่ ล ะหมาด แต่ยังเป็นมุสลิมอยู่ เราแค่รูส ้ ึกว่า เราไม่ ไ ด้ อ ยากเลิ ก นั บ ถื อ อิ ส ลาม แต่แค่อยากพั ก ไปใช้ ชี วิ ต ก่อน เงื่อนไขหลายอย่างของมุสลิ มกั บ วิถีชีวิตของเราไม่ตรงกัน ที่เห็นได้ ชัดเลยคือ เราเป็นพวกชอบฟังเพลง หรือ เราชอบไปดู ห นั ง จนดึ ก ดื่ น จนกลั บ หอมาท� า ละหมาดไม่ ทั น เลยรู ้สึ ก ว่ า ฉั น ขอพั ก ก่ อ นได้ ไหม ซึ่ ง เป็ น ตั ว อย่ า งที่ ไ ม่ ดี น ะ ถ้ า แม่ ได้ยน ิ คงก�าไม้เรียวแน่ๆ (หัวเราะ)”

อึดอัดเลยต้องตะโกน

“ส่วนหนึ่งเพราะจริงๆ เรามี ปัญหากับการถูกมองมาในศาสนา อิสลามมากกว่า เราไม่อยากอึดอัด เลยรูส ้ ึกว่าตัวเองต้องตะโกนออก มาบ้าง แต่สด ุ ท้ายหนังก็ไม่ได้ตอบ ค� า ถามหรอกว่ า เราจะแก้ ปั ญ หา เรือ ่ งการเหยียดศาสนาได้อย่างไร เพราะหนั ง ก็ จ บด้ ว ยค� า ถามอยู่ ดี มั น ท� า หน้ า ที่ ไ ด้ เพี ย งว่ า เรารู ้สึ ก โกรธแค้ น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ ที่ เป็ น อยู่ ทุกวันนี้”

23


BULLETIN B เทศกาลแห่งความสุข ทุกเมนูอร่อยที่ S&P เอส แอนด์ พี จัดแคมเปญ Season’s Greetings - Joy of Eating มอบช่วงเวลา แห่งความสุขในเทศกาลแห่งการเฉลิมฉลอง ด้วยเมนูไก่อบสูตรต้นต�ารับทีค ่ รองใจลูกค้า มาน านกว่า 46 ปี กั บเมนู ครีเอชันพิเศษ เฉพาะ 3 เมนูอร่อย ได้แก่ ข้าวผัดคีนัว-ไก่ อบ, สลัดไก่อบ-มันม่วง และไก่อบ-มักกะโรนี ผักโขมอบชีส พร้อมเมนูเครือ ่ งดืม ่ ขนมหวาน และเครือ ่ งดืม ่ บลูคพ ั พิเศษกับชุด Set Menu ข้ า วผั ด คี นั ว -ไก่ อ บ พร้อ มด้ ว ยเครื่อ งดื่ ม โคลด์ บ รู ว์ แ ครนเบอรี่แอปเปิ้ ลสปาร์ค ลิ่ ง ราคาพิ เ ศษ 285.- จากปกติ ร าคา 313.สิท ธิพิเศษที่มากกว่ากับสมาชิกบัตร S&P Joy Card และสมาชิ ก AIS, AIS Fibre รับสิทธิ์ซื้อ Set Menu ในราคาเพียง 265.ตัง้ แต่วน ั นีถ ้ งึ 31 มกราคม 2563 (รายละเอียด ตามเงื่อนไข)

4NOLOGUE ประกาศเพิ่มรอบ GOT7 2020 World Tour

Affordable Art Fair Singapore

นิสสันมอบจิตวิญญาณ ในการดูแลลูกค้าด้วยหัวใจ

กลุ่มบริษัท ชับบ์ ผนึกก�าลัง จัดกิจกรรม Education@ Heart

ด้วยพลังของอากาเซ ท�าให้คอนเสิรต ์ GOT7 2020 World Tour ‘Keep Spinning’ in Bangkok ประกาศ Sold Out! และมาพร้อมกับ ปรากฏการณ์ #GOT7KEEPSPINNINGinBKK ที่ ขึ้ น อั น ดั บ 1 บนเทรนด์ ท วิ ต เตอร์ โ ลก! 4NOLOGUE ขอขอบคุณความรักของอากาเซ ทีส ่ นับสนุนด้วยดีเสมอมา ประกาศเพิม ่ รอบ ด่ ว น GOT7 2020 World Tour ‘Keep Spinning’ in Bangkok (Extra Show) ในวันอาทิตย์ที่ 16 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 19.00 น. ณ ราชมังคลากีฬาสถาน โดยแฟนๆ สามารถซื้อบัตรรอบ Extra Show ได้แล้ว วันนี้ ที่ไทยทิกเก็ตเมเจอร์ทุกสาขา

งานแอฟฟอร์ด ดาเบิ ล อาร์ต แฟร์ สิงคโปร์ (Affordable Art Fair Singapore) สิ้นสุดลงแล้ วเมื่อเร็วๆ นี้ หลั งจากต้ อนรับ ผูเ้ ยีย ่ มชมกว่า 13,000 คนจากทัว ิ าค ่ ทัง้ ภูมภ รวมถึงประเทศไทย พร้อมกวาดรายได้ไปกว่า 3.4 ล้ า นเหรีย ญสิ ง คโปร์ หรือ ประมาณ 75.7 ล้านบาท จากการจ�าหน่ายงานศิลปะ โดยในปีนผ ี้ เู้ ข้าชมงานได้ดม ื่ ด�ากับงานศิลปะ ที่สร้างแรงบันดาลใจ รวมทั้งร่วมสนุ กกั บ กิจกรรมมากมาย อาทิ การสร้างสรรค์ผลงาน ภ าพพิมพ์รว ่ มกับศิลปินสื่อผสม โมโจโกะ (Mojako) ฯลฯ

วิสย ั ทัศน์ดา ้ นการขับเคลือ ่ นสูอ ่ นาคต ของนิ ส สั น จะกลายเป็ น จริง ที่ ง านแสดง Consumer Electronics Show หรือ CES 2020 ผ่านการจัดแสดงที่มีชีวิตชีวาตั้งแต่ รถยนต์ ต้ น แบบไร้ม ลพิ ษ นิ ส สั น อารีย า ร ถขายไอศกรีมที่ใช้พลังงานไฟฟ้าในการขับเคลือ ่ น รวมถึงลูกกอล์ฟอัจฉริยะทีส ่ ามารถ น� า ท า ง สู่ ห ลุ ม ด้ ว ย ตั ว เ อ ง ง า น แ ส ด ง เทคโนโลยี CES 2020 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-10 มกราคม 2563 ณ โซนนอร์ท ฮอลล์, ลาสเวกัสคอนเวนชัน ้ นใจ ่ เซ็นเตอร์ ส�าหรับผูส สามารถติดตามเรือ ่ งราวของ CES 2020 ได้ ที่ แ ฮชแท็ ก #Nissan #CES2020 #NissanCES ทาง Twitter, Instagram, YouTube และ LinkedIn

บริษัท ชับบ์ ไลฟ์ แอสชัวรันซ์ จ�ากัด (มหาชน) และบริษัท ชับบ์สามัคคีประกันภัย จ� า กั ด (มหาชน) ผนึ ก ก� า ลั ง จั ด กิ จ กรรม Regional Day of Service โครงการ เพื่ อ สั ง คมระดั บ ภู มิ ภ าคของกลุ่ ม บริษั ท ชับบ์ ใน 12 ประเทศทัว ิ ภายใต้ ่ เอเชียแปซิฟก โครงการ Education@Heart โดยมีจด ุ ประสงค์ เพือ ่ ส่งเสริมด้านการศึกษาของเยาวชนไทย ทัง้ นี้ มีอาสาสมัครจากทัง้ สองบริษัทจ�านวน กว่า 150 คน เข้าร่วมกิจกรรมเพือ ่ สาธารณะ กับ นักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย โรง เรีย นเอี่ ย มสุ ร ย ี ์ (อนุ บ าลเมื อ งสมุ ท รปราการ) จ�านวน 100 คน

24


BOARD

TALK OF THE TOWN

อัพเดตแวดวง ข่าวสังคม ที่น่าสนใจ ในรอบสัปดาห์

แม็คยีนส์ครบรอบ 45 ปี จัดแคมเปญ Fade Contest ปั้นเฟด ปั้นฝัน แม็ ค ยี น ส์ ใ ห้ สาวก Raw Denim มาแข่งขันปั้นเฟดด้วยกางเกง MC Jeans 18 OZ. รุน ่ 45 ปี Limited Edition ซึ่งเป็น กางเกงยีนส์รน ุ ่ พิเศษทีอ ่ อกแบบอย่างพิถพ ี ถ ิ น ั เพือ ่ ฉลองการก้าวเข้าสูป ่ ท ี ี่ 45 ชิงเงินรางวัล รวม 520,000 บาท โดยในการประกวดปั้น เฟดครั้ ง นี้ ทางแม็ ค ยี น ส์ ไ ด้ กรรมการ ที่ เป็นที่รูจ ้ ั กกั นดี ในสายปั้ นเฟดระดั บโลก Mr. Ruedi Karrer (Swiss Jeans Freaks) และเป็ น ผู้ ก่ อ ตั้ ง Jeans Museum หรือ พิพิธภัณฑ์ยีนส์ ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ติด ตามรายละเอียดกิจกรรมเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2MKLquA

ครีเอเตอร์เว็บตูน อาชีพสุดปัง แห่งยุค 2020

Write for Rights 2019

จริงใจ Farmers’ Market โดยเซ็นทรัล ฟู ้ด รีเทล

จังโกะ นาเบะ หม้อไฟ สไตล์ญี่ปุน ่ ที่ห้องอาหาร อัพ แอนด์ อะบัฟ

หลังจากที่ LINE WEBTOON ได้สร้าง ประวั ติ ศ าสตร์ห น้ า ใหม่ ให้ โ ลกของคนรัก การ์ตน ู ด้วยการพลิกโฉมหน้าการ์ตน ู ออฟไลน์ มาสู่โลกการ์ตูนออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ ล่าสุดน�า ปาร์กแทจุน, Ryoung, Lonely Cat และ Butter Sweet 4 ครีเอเตอร์เว็ บตู น ชือ ่ ดังทัง้ ชาวไทยและเกาหลี มาร่วมกันแชร์ ประสบการณ์เส้นทางอาชีพครีเอเตอร์เว็บตูนที่ คลับอินเตอร์คอนติเนนตัล เพื่อบอกเล่าถึง ความโด่งดังไกลระดับโกอินเตอร์กบ ั ผลงาน ที่ ส ร้า งรายได้ เป็ น กอบเป็ น ก� า เพื่ อ ส่ ง ต่ อ แรงบันดาลใจและจุดไฟฝันให้ผู้คนที่สนใจ อยากเป็นครีเอเตอร์เว็บตูน

มหกรรม ‘Write for Rights’ ของ แอมเนสตีก ้ ลับมาแล้ว ปีนม ี้ าในธีมนักปกป้อง สิทธิเยาวชน : Act For Rights, Fight For Youth ชวนคนไทยเข้ า ร่ว มกิ จ กรรมเพื่ อ ส่งก�าลังใจให้เยาวชนที่ติดอยู่ในวงจรของ ความอยุติธรรมทัว ่ โลก โดยในปีนี้เลือกเน้น รณรงค์ ช่ ว ยเหลื อ สามกรณี ได้ แ ก่ นาซู อั บ ดุ ล ลาซิ ซ เยาวชนชาวไนจี เรีย ผู้ ถู ก ยิ ง ขณะปกป้องบ้าน, ยาสมัน อารยานี นักแสดงสาว ชาวอิหร่านผู้มอบดอกไม้แห่งเสรีภาพ และ ยีลย ี าซีเจียง เรเฮมัน คุณพ่อชาวอูยกูรย์ผถ ู้ ก ู พรากจากครอบครัว สนใจร่วมลงชือ ่ กิจกรรม W rite for Rights 2019 ได้ที่ https:// w ww.amnesty.or.th/get-involved/ take-action/w4r19/

สเตฟาน คูม ประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร เซ็นทรัล ฟูด ้ รีเทล กรุป ๊ และกรรมการผูจ ้ ด ั การ ใหญ่ บริษัท เซ็นทรัล ฟูด ้ รีเทล จ�ากัด จัดงาน เปิ ดตั ว ‘จริง ใจ Farmer’s Market’ สาขา ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรัล พลาซา แจ้ ง วั ฒ นะ พร้อมฉลองความส�าเร็จสามารถสนับสนุน เกษตรกรไทยทัว่ ประเทศกว่า 2,431 ครัวเรือน สร้างรายได้เพิม ั เกียรติ ่ สูงสุด 3 เท่า โดยได้รบ จาก พิชย ั จิราธิวฒ ั น์ กรรมการบริหาร บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จ�ากัด พร้อมด้วย ชลธี ยังตรง รองผู้ว่า ราชการจั ง หวัดนนทบุ ร ี ร่วมเป็ น ประธานเปิ ด งาน ณ ลานกิ จ กรรม ชั้ น G ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรัล พลาซา แจ้ ง วั ฒ นะ เมื่อวันก่อน

ห้องอาหารอัพ แอนด์ อะบัฟ ชวนทุกท่าน มาลิ้มลองจังโกะ นาเบะ หม้อไฟสไตล์ญป ี่ ุน ่ เมนู ดั้ ง เดิ ม ที่ นั ก กี ฬ าซู โ ม่ ร บ ั ประทานเพื่ อ เสริมสร้างก�าลัง ควบคุมน�าหนักและบ�ารุง ร่างกาย โดยจังโกะ นาเบะ 1 หม้อ ประกอบ ไปด้วยเส้นอุดง้ ขาปูอะแลสกา เนือ ้ ปลากะพง ขาว หอยแมลงภู่ หอยตลับ กุง้ และทีข ่ าดไม่ได้ คือเนื้อไก่ต้มในน�าซุปไก่และปลาแห้งญีป ่ ุน ่ รสชาติ ก ลมกล่ อ มกั บ ผั ก สดหลายชนิ ด เริม ั นีถ ้ งึ 31 มีนาคม 2563 ่ ให้บริการตัง้ แต่วน ณ ห้ อ งอาหารอั พ แอนด์ อะบั ฟ ชั้ น 24 โรงแรมดิ โอกุระ เพรสทีจ กรุงเทพฯ ส�ารองโต๊ะ โทร. 0-2687-9000

ISSUE 624

06 JAN 2020

25


เรือ ิ ล ุ ่ ง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ, ศรัญญา อ่าวสมบัตก

ภาพ : รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ิ สกุล, ภาสกร ธวัชธาตรี

SPECIAL INTERVIEW

26


B R E AT H E O U T :

B H A N U D E J VATA N A S U C H A R T การปลดระวางความทุกข์ในใจเราด้วยการน�า ‘ธรรมมนุษย์’ หรือธรรมะในแบบมนุษย์ ธรรมชาติของมนุษย์ท่ค ี วรท�าตามหลักความจริงของชีวิต ที่กลั่นกรองมาจากประสบการณ์ ตกตะกอนทางความคิด และใช้ได้จริง ของ ‘ดุ๊ก’ - ภาณุเดช วัฒนสุชาติ นักแสดงรุ่นใหญ่ท่เี ราคุ้นเคยกันเป็นอย่างดีจากละครเรื่อง ‘สุสานคนเป็น’ และโฆษณาบัตรไดเนอร์สคลับที่มีประโยคสุดปังเมื่อสามสิบปี ก่อนว่า “ทั้งร้านราคาเท่าไหร่”

ภาพจ�าของวัยรุน ่ ยุค 90s คุณคือนักแสดง และพิธก ี รทีโ่ ด่งดังถึงขีดสุด จนมีอยูช ่ ว ่ ง ่ ทีค ่ ณ ้ งหน้า หนึง ุ เริม ่ เฟดออกไปจากงานเบือ ตอนนั้นท�าไมถึงไม่เป็นนักแสดงต่อ โด่ งดั งถึ งขีดสุด ประโยคนี้ คนอื่ น พู ด แทนผม ผมเองไม่ ไ ด้ รู ้สึ ก อย่ า งนั้ น แต่ก็ไม่ได้ทุกข์ ผมรูส ้ ึกว่าตัวเองยังด�ารง ความเป็นมนุษย์คนหนึง่ และไม่เคยรูส ้ ก ึ ว่า ตัวเองเป็นไอดอลหรือซูเปอร์สตาร์ ท�าให้ ทีผ ่ า ่ นมา ผมจึงรูส ้ ก ึ ว่าเรายังเป็นเราทีเ่ คย เป็นเหมือนเมื่อก่อน ต่อให้ไปไหนมาไหน แล้วมีคนทักน้อยลง ผมก็ไม่ได้เก็บมาเป็น ความทุกข์ กลับรูส ้ ก ึ สบายขึน ้ ด้วยซ�า เพราะ สมั ย ก่ อ นเราควบคุ ม ตั ว เองเยอะมาก พอมาถึงจุดนีจ ้ งึ รูส ้ ก ึ สบายขึน ้ ผมสามารถ เฮฮาบ้ า บอได้ บวกกั บ อายุ ที่ ม ากขึ้ น กราฟชีวต ิ ของเรามันเฟดลงจนอยูใ่ นระดับ ทีต ่ ว ั เองรับได้ ซึง่ เกิดจากการควบคุมตัวเอง น้อยลงตามวันเวลา ผมว่าแบบนีก ้ ด ็ แ ี ล้วนะ ่ เสียงเป็นสิง คุณมองว่าความทุกข์จากชือ ่ ที่ เกิ ด จากการควบคุ ม ตั ว เองมากเกิ น ไป หรือเปล่า จะมองให้ทก ุ ข์กท ็ ก ุ ข์ แต่ผมเลือกมอง ในมุมทีด ่ ม ี ากกว่า อย่างตอนทีผ ่ มอายุ 20 กว่าๆ ผมควรจะเป็นวัยรุน ่ ทีค ่ วรเริงร่ากับ ชีวต ิ แต่กลายเป็นว่าเมือ ่ เข้าวงการในฐานะ นักแสดง ความเป็นส่วนตัวหายไปในพริบตา จะไปไหนท�าอะไรก็ตอ ้ งระมัดระวัง จะออก จากบ้านแต่ละทีกจ ็ ะต้องแต่งตัวให้เรียบร้อย เปิดประตูบ้านออกไปคือการท�างานเลย หรือต่อให้วน ั นัน ้ ง ้ มีความทุกข์แค่ไหน ก็ตอ ท� า ให้ ค นเห็ น ว่ า เรามี ค วามสุ ข ต้ อ งเป็ น คนที่ย้ม ิ ง่าย คือเราต้องควบคุมทุกอย่าง การควบคุ ม ตั วเองมากเกิ นไป ส�าหรับคนทัว ้ มอง ่ ไป ก็อาจเป็นทุกข์ แต่ถา ในมุมทีด ่ ี สิง่ นีก ้ จ ็ ะขัดเกลาให้เรากลายเป็น คนทีด ่ ข ี น ึ้ เวลาจะท�าให้ชน ิ กับการถูกควบคุม โดยอั ต โนมั ติ เราอยู่ กั บ ชื่ อ เสี ย ง อยู่ กั บ ความส�าเร็จในฐานะนักแสดง ท�าให้เราคิด ได้ว่าทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ที่ตัวเรา เราต้อง ควบคุมตัวเองให้สมกับที่หลายคนชื่นชม เรา เพราะพวกเขาคือแรงสนับสนุนให้ผม ประสบความส�าเร็จ ผมก็ตอ ้ งตอบแทนเขา ด้ ว ยรอยยิ้ ม เสมอ เพราะถ้ า ผมไม่ ยิ้ ม หน้าของผมจะดุจนไม่มีใครกล้าเข้าใกล้ เลย (หัวเราะ) ในยุคนี้หลายคนมองว่าบุคคลสาธารณะ ควรเป็ น ตั ว ของตั ว เองอย่ า งเปิ ด เผย คุณคิดที่จะปรับตัวตามโลกด้วยไหม ผมคิ ด ว่ า ระหว่ า งความเป็ น จริง ของตัวเรากับความเป็นจริงในชีวต ิ ของเรา

ISSUE 624

มีเส้นบางๆ คั่นกลางอยู่ ซึ่งคนในยุคผม ส่วนใหญ่จะอยูห ่ ลังเส้นของความเป็นจริง คนยุคผมจะระมัดระวังตั วมาก ไม่ค่อย แสดงด้านมืดกันเท่าไหร่ ทัง้ ๆ ทีก ่ ม ็ เี หมือนกัน อาจเป็นเพราะเรารูว้ า่ เราเป็นตัวอย่างของ สังคม เราอยูใ่ นสือ ่ สาธารณะ เราเองก็อยาก เป็นตัวอย่างทีด ่ ี ดังนัน ้ มควรได้ในด้าน ้ ผูช ดีๆ ของเราไปดีกว่า แต่ตอนนี้คนรุน ่ ใหม่ ได้ขา้ มเส้นนัน ้ ไป เว้นไว้แค่เพียงความพอดี ส่วนความเป็นตัวตนจริงๆ นั้นน�าไปใช้กับ ใครก็ไม่รู ้ จนลืมนึกไปว่าเขาเองไม่สามารถ ควบคุมคนดูได้เลยว่าคนเหล่านั้ นอยู่ใน วั ย ไหน อาชี พ ไหน เหมาะสมหรื อ ไม่ ทีจ ่ ะรับฟังหรือรับชมสิง่ ทีเ่ ป็นตัวตนของเขา หากเกิดการท�าตามหรือท�าให้ทศ ั นคติตอ ่ สังคมเปลี่ยน เขาจะรับผิดชอบได้ไหม ในฐานะทีต ่ วั ผมเป็นสือ ่ สารสาธารณะ ทีส ่ อ ื่ ให้คนได้เห็นถึงด้านดีๆ ผมภูมใิ จและ มี ค วามสุ ข ถึ ง แม้ ว่ า จะโดนคอมเมนต์ กลับมาว่าเฟกก็ตาม แต่กม ็ ค ี นแค่ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ที่มองเราแบบนั้น ผมก็เลย รูส ้ ก ึ ว่า ไม่วา่ เราจะท�าอะไรก็ตาม ย่อมมีคน ทีค ่ ด ิ ไม่เหมือนเรา ทัง้ ทีถ ่ ก ู ต้องและไม่ถก ู ต้อง เสมอ ดังนัน ้ ว ั และบางครัง้ ้ ผมว่าเราต้องรูต ก็ต้องปล่อยวาง ถ้าคุณเป็นคนที่ปล่อยวางไม่ได้ วันนี้คุณ จะกลายเป็นคนแบบไหน คนปล่ อยวางไม่ เ ป็ น คื อคนที่ มี ความทุกข์ เพียงแต่วา่ คนสมัยก่อนอาจจะ ปล่อยวางด้วยความเข้าใจ ใช้ความรูแ ้ ละ บางครั้ง ก็ ป ล่ อ ยวางด้ ว ยความจ� า เป็ น แต่ปัจจุบันการแข่งขันสูงขึ้น วันนี้ฉันดัง พรุง่ นี้ฉันดับ มันเร็วมาก ก็เป็นไปได้ที่เขา จะไม่ ป ล่ อ ยวางจนเป็ น ทุ ก ข์ ห นั ก ที่ เกิ ด จากการไม่ยอมรับในสิง่ ทีเ่ กิดขึน ้ จริง และ บางทีก็ไม่รูต ้ ัวว่าสิ่งนั้นคือความทุกข์ ่ จมดิง เป็นไปได้ไหมเมือ ่ กับความทุกข์มากๆ แล้วไม่มีใครอยู่เตือนสติ เราจะกระชาก ตัวเองให้หลุดออกจากความทุกข์ทไ่ี ม่รต ู้ ว ั นั้นได้เอง เป็นไปได้ เพราะนั่นแสดงว่าเราเริม ่ รูส ้ ึกตัวแล้ว ก็เอาตัวเองนี่แหละมาดึงสติ ตัวเองอีกที เอาชนะมันให้ได้ เพราะสุดท้าย แล้ว ไม่ว่าอะไรก็ตามก็อยู่ที่ตัวเราทั้งนั้น ถ้าวันนัน ี ติมากพอ เราก็ไม่สามารถ ้ เราไม่มส มองเห็นสิง่ ทีเ่ ขาชีใ้ ห้เห็นได้ และบางที ‘เวลา’ ก็ เป็นตั วช่วยได้ ดี เป็นเหมือนเครือ ่ งฉุด ความคิ ด เมื่ อ ในที่ สุ ด พบว่ า ไม่ มี อ ะไร ดีขึ้น เราก็ต้องหยุด และหันกลับมามอง ให้ออกว่าตัวเองมีขอ ้ ดีขอ ้ เสียอะไรมากกว่า ที่จะจมดิ่งกับความทุกข์ไปเรือ ่ ยๆ

06 JAN 2020

่ ณ ่ งนี้ คุณจัดการ ก่อนหน้าทีค ุ จะเข้าใจเรือ กับความทุกข์ของตัวเองอย่างไร กับเรือ ่ งทีท ่ า � ให้เราผิดหวังหรือเรือ ่ ง ทีแ ่ ก้ไขไม่ได้ ผมก็ชา่ งมัน และอยูก ่ บ ั มันต่อไป แต่เรือ ่ งไหนทีค ่ ด ิ ว่าแก้ไขได้ เราก็พยายาม ใช้เวลา มานั่งดูความเป็นจริง แล้วเริม ่ ที่ การแก้วธ ิ ค ี ด ิ ของตัวเองก่อน อย่าให้จมอยู่ กับความทุกข์นน ั้ จริงๆ ก็คอ ื การปล่อยวาง นัน แหละ จากนั น ก็ ท า � ใจยอมรั บให้ได้ สุดท้าย ่ ้ ความคิดแบบนี้ก็จะท�าให้เราทุกข์น้อยลง การปล่อยวางจะท�าให้ความทุกข์น้อยลง แต่ความเหงานัน ้ ยังคงเท่าเดิมหรือเปล่า ้ ก็ทก ้ วนไปไม่รจ พอเหงามากขึน ุ ข์มากขึน ู้ บ เท่าทีผ ่ มมองจากสภาพสังคมตอนนี้ ผูค ้ นอยูต ่ ัวคนเดียวมากขึน ้ บางคนอาศัย อยูใ่ นคอนโดฯ 20 กว่าตารางเมตร แค่นน ้ั เอง ถึงเขาจะออกไปสนุกสนานกับเพื่อน ก็จริง แต่สุดท้ายแล้วก็ต้องกลับมาอยู่ใน ห้ อ งคนเดี ย วอยู่ ดี แล้ ว สุ ด ท้ า ยก็ เหงา ก่อความซึมเศร้า จนท�าลายชีวิตตัวเอง ตรงนี้ ต่างหากที่น่ากลั วกว่าความเหงา ดังนั้น คุณจะทุกข์หรือจะเหงา เราก็ควร เท่าทันและรูต ้ ัว เมือ ่ เรารูก ้ ็อาจจะหยุดตัว เองให้ไม่คิดอะไรที่แย่ๆ ได้ทัน เราพบว่ า ทุ ก วั น นี้ ห น้ า ฟี ด บนเฟซบุ๊ ก ่ ม เต็มไปด้วยคนเหงา คนทีล ื แฟนเก่าไม่ได้ ่ คนทีเ่ ริม ต้ น ใหม่ ไ ม่ เ ป็ น คนที ย ง ั ยึดติดอยูก ่ บ ั ่ ทุกข์ในอดีตจนมูฟออนต่อไม่ได้เยอะขึ้น ทุกวัน ผมว่าบางคนมีความสุขกับการคิด แบบนี้ (หัวเราะ) เพราะท�าให้ตัวเองดูมี ความดราม่า เป็นที่น่าสนใจ แต่เมื่อเวลา ผ่านไปก็จะลบเลือนทุกสิง่ เราเองก็จะลืม เรือ ่ งนีไ้ ปเอง เหมือนกับทีบ ่ างคนถามเพือ ่ น ว่าเลิกกันแล้ว เราจะไปต่อไหวไหม เราจะไป ต่อได้หรือเปล่า แต่เอาเข้าจริงๆ แค่คน ื เดียว เขาก็ ลื ม ได้ แ ล้ ว (หั ว เราะ) นั่ น แปลว่ า เปอร์เซ็นต์ของคนที่จมอยู่กับความรู ส ้ ึก แบบนั้ นจริงๆ อาจจะไม่เยอะขนาดนั้ น เป็ น ไปได้ ว่ า แค่ ฉั น รู ้สึ ก อยากจะแสดง อารมณ์ให้คนได้รว ู ้ า่ ฉันก็มม ี ม ุ นีเ้ หมือนกัน ห รื อ เพี ย ง แ ค่ ท� า ให้ แฟ น เก่ า รู ้ สึ ก ผิ ด เพราะเธอท�าร้ายฉัน แต่สด ุ ท้ายเวลาผ่านไป ต่างคนก็ต่างลืมไปเอง แล้วหากเราเป็น 1 เปอร์เซ็นต์ของคนที่ ไปต่อไม่ได้จริงๆ คุณมีค�าแนะน�าอย่างไร ส�าหรับคนทีร่ ูส ้ ก ึ ว่าช�ารักแล้วไปต่อ ไม่ได้ ก็ต้องรักตัวเองให้มากขึ้น เพราะ สุดท้ายต่อให้คุณมีความรักที่ดี อยู่ด้วย กันไปจนแก่เฒ่า วันหนึ่งคุณก็จะรูเ้ องว่า

คนทีค ่ ณ ุ รักมากทีส ่ ด ุ ก็คอ ื ตัวคุณเอง ขอให้ รักตัวเองให้มากขึ้น แล้วเราก็อยู่ได้เอง ่ ณ ่ งไม่ยากทีจ ่ ะ สิง ุ เล่ามาฟังแล้วเป็นเรือ ่ ทีค ท�าแถมยังคล้องจองไปกับหลักธรรมะด้วย ใช่ ผมเรียกสิ่งนี้ ว่า ‘ธรรมมนุ ษย์’ การใช้ชีวิตอย่างมีธรรมะในแบบมนุ ษย์ ไม่ต้องจ� าบทสวดมนต์ ทุกบทก็ ได้ หรือ การถือศีล 5 อาจจะขาดตกบกพร่องใน บางครัง้ แต่ถา้ ท�าดีทส ี่ ด ุ แล้ว โดยไม่ให้คนอืน ่ เดื อ ดร้ อ นไปกั บ ตน ถ้ า ผิ ด ควรแก้ ไ ข สิง่ เหล่านีค ้ อ ื ธรรมชาติของมนุษย์ทค ี่ วรท�า ที่เหลือคือการท�าสิ่งใดๆ ก็ตามที่ถูกต้อง เพื่อให้ผู้อื่นมีความสุข อย่างผมทีโ่ พสต์เรือ ่ งราวของตัวเอง เรือ ่ งน้ องหมา แล้ วมีฟีดแบ็กกลั บมาว่า ดูแล้วมีความสุข หายเครียด ผมรูส ้ ึกว่า ตัวเองได้บุญ อีกอย่าง ผมต่อยอดด้วย การเอารายได้ไปช่วยหมาจรจัด ด้วยการท�า ถุงผ้าแล้วขาย ได้เงินก้อนใหญ่ ได้สร้าง รอยยิ้มให้ผู้คน แต่ถึงอย่างนั้นผมก็สร้าง ความทุกข์ให้คนอืน ่ เหมือนกัน ทัง้ คนใกล้ตว ั ไกลตั ว ทั้ ง ที่ รู ้ ตั ว และไม่ รู ้ ตั ว ก็ ไ ม่ รู ้ ว่ า การท�าบุญในแต่ละครัง้ จะทดแทนกันได้ มากน้อยแค่ไหน คุณคิดว่าคนเราจะน�าหลักธรรมไปใช้ใน ชีวิตประจ�าวันแบบไม่เชยได้อย่างไรบ้าง ผมคงไม่ใช่กรู ท ู จ ี่ ะตอบปัญหาเหล่านี้ ได้ทงั้ หมด เพียงแต่อยากจะบอกว่าให้อยู่ กั บ ตั ว เอง เข้ า ใจตั ว เอง ควบคุ ม วิ ธี คิ ด คิดเสมอว่าสิง่ ทีเ่ ราท�านัน ั เรา ้ มันเกิดผลดีกบ ก็ จ ริง แต่ ไ ม่ เกิ ด ผลเสี ย กั บ คนอื่ น และ ไม่ทา� ให้ใครเดือดร้อน ต่อให้หา่ งวัดห่างวา ห่างศาสนาก็ตาม แต่เราก็จะมีธรรมะในใจ ที่ดีต่อมนุษย์ด้วยกันได้ เอื้ออาทรกันให้ มากขึน ้ ช่วยเหลือกันและกันให้มากขึน ้ ก็พอ คุณอนุญาตให้ตว ั เองจมอยูก ่ บ ั ความทุกข์ ได้นานแค่ไหน 30 นาที 3 ชั่วโมง 3 วัน หรือ 3 เดือน 30 นาที ก็ อ าจจะน้ อ ยไปหน่ อ ย แต่วา ่ บางทีกไ็ ม่ถง ึ ผมร้องไห้ให้สด ุ แล้วก็ หยุด แต่บางทีก็ต้องตั้งสติก่อน เพราะยัง มีงานที่ต้องท�า มีประชุมรอเราอยู่ ซึ่งก็ดี เหมือนกัน เพราะการทีเ่ ราต้องหาอะไรท�า หรือต้องรับผิดชอบอะไรสักอย่างในระหว่าง นั้น มันก็จะท�าให้เรามองข้ามความทุกข์ จนบางทีมันก็หายไปได้เอง

27


B R E AT H E I N :

N AT E E E K W I J I T เมื่อแนวทางค�าสอนของพระพุ ทธเจ้าอาจเหมือนยาขมหม้อใหญ่ท่ีด่ม ื ยากแต่ได้ผลดีท่ส ี ุด อุ๋ย บุดด้าเบลส จึงดื่มยาขมนั้นด้วยตัวเอง เพื่อน�ามาบอกเล่าถึงรสชาติ แห่งความเป็นจริงของชีวิต และวิธีทางวางทุกข์ให้ทุกคนเข้าใจได้ไม่ยาก โดยที่คุณไม่ต้องดื่มยาขมก็ได้ ขอแค่รับฟัง และน�าไปปรับใช้ก็พอ

ตั้งแต่ทุกคนรู้ว่าคุณเชี่ยวชาญในเรื่อง หลักค�าสอนของศาสนาพุทธ ปัญหาส่วนใหญ่ ่ นเข้ามาขอค�าปรึกษาคุณคือเรือ ่ งอะไร ทีค เรือ ่ งงานก็มี ทุกข์เรือ ่ งเงิน แล้วมา ขอยืมก็มี (หัวเราะ) แต่ที่เยอะสุดคงเป็น ทุกข์ทางใจ คุณใช้หลักพุ ทธศาสนาบอกคนเหล่านั้น อย่างตรงไปตรงมาเลยหรือเปล่า ผมใช้ในตอนแรก แต่หลังๆ ผมรูส ้ ก ึ ว่า การบอกเขาแบบนี้มน ั จับต้องยาก ผมเลย พยายามนึกถึงตัวเอง ว่าถ้าตัวเองเจอปัญหา แบบนั้นแล้วจะท�าอย่างไร เช่น เวลาผมมี ปัญหาเรือ ่ งความรัก ผมทนอยูก ่ บ ั มันได้นาน มาก เรื่อ งอื่ น ผมจะผ่ า นมาได้ ส บายๆ แต่พอมานึกภาพว่าเวลาผมตืน ่ ขึน ้ มาแล้ว ความทุกข์เพราะรักนั้นหายไป ตัวเราเอง จะดีขน ึ้ ได้แบบไหน จนในทีส ่ ด ุ ผมก็เลยได้รู ้ ว่าการที่เราไปต่อไม่ได้ก็เพราะมึงจมลง ไปเอง ดังนัน ่ ขึน ้ มาเอง ้ มึงต้องตกต�าจนมึงตืน ถ้ า บอกว่ า ที่ ท� า ได้ ก็ เ พราะผ่ า นมาแล้ ว นี่ คุณก็เลยพู ดได้ล่ะ คุณจะโต้แย้งอย่างไร ก็ใช่ ที่ผมพูดได้ก็เพราะว่าผมเคย เป็นแบบนั้นมาก่อน มนุษย์เราไปๆ มาๆ ก็กวนตีนน่าดู บางทีก็เหมือนจมทุกข์อยู่ อย่างนัน ่ ก็ดข ี น ึ้ เฉย แต่พอบอกว่า ้ แล้วอยูๆ อย่าคิดมาก อย่าไปจม กลับยิง่ ท�าให้เราคิด เราจม ซึง่ ก็จริงทีเ่ พราะผ่านมาแล้วผมจึง พูดต่อได้ อย่างที่ พระอาจารย์นวลจันทร์ กิติปัญโญ ท่านเทศน์ให้ฟังตอนหนึ่งว่า ‘ทุกข์ให้ถึงที่สุด แล้วจะถึงที่สุดของทุกข์ พอถึงทีส ่ ด ุ ของทุกข์ ก็จะวางเอง การปล่อยวางนั้นพูดง่าย แต่การหาวิธว ี างยากกว่า’ ผมจึงเข้าใจเลยว่า จริงๆ แล้วต่อให้สงิ่ ของ ที่ถือมามีน�าหนักเบา แต่ถ้าถือไปนานๆ สุดท้ายเราก็อยากวางอยู่ดี คุณคิดอย่างไรกับการทีเ่ ห็นว่าโลกโซเซียลฯ ท�าให้คนเราเป็นทุกข์มากขึ้น ผมยังเป็นเลย ขนาดผมแนะน�าคนอืน ่ กระบวนการทีเ่ ราเกิดความทุกข์โดยทีอ ่ จ ิ ฉา หรือเปรียบเทียบมันสัน ้ ว ั อีกทีกถ ็ ง ึ ้ มาก รูต ตอนจบแล้ว นัน ่ คือเราทุกข์ไปแล้ว เราอยาก เป็นอย่างเขาแล้ว เป็นเรือ ่ งธรรมดามาก ที่เวลาใครได้เงินโบนัสเยอะๆ ได้เที่ยวที่ สวยๆ กินดีอยูด ่ ี ส่วนใหญ่กจ ็ ะมาโพสต์ลง โซเชียลเน็ตเวิรก ์ ซึง่ เป็นเรือ ่ งตืน ่ เต้นของเขา เขาอยากแชร์โมเมนต์ดีๆ ของตัวเอง ซึ่ง บางคนเขาก็ ไม่ได้ อยากให้คนอิ จฉาก็ มี และก็ มี ป ระเภทที่ อ ยากให้ ค นอื่ น อิ จ ฉา แต่ก็จะมีคนบางประเภทเหมือนกันที่เขา รูส ้ ก ึ ดีกบ ั สิง่ ทีเ่ กิดขึน ้ แต่เขาไม่รูจ ้ ะถ่ายรูป แล้วเอาไปแชร์ให้ใครฟังหรือดู อย่างสมัยก่อน

ทีไ่ ม่มโี ซเซียลเน็ตเวิรก ์ เราอาจจะโทรศัพท์ ไปบอกแม่วา่ วันนีไ้ ด้งาน ได้ไปทีน ่ น ั่ ได้กน ิ อันนี้ พอมีโซเชียลเน็ตเวิรก ์ เขาก็บอกผ่าน ทางนี้ ไป คนได้ รู ้กั น เยอะดี กดโพสต์ ครัง้ เดียวรูก ้ ันหมด แต่คณ ุ ลองคิดดู คนทีเ่ สพสือ ่ แบบนี้ ได้เฝ้ามองความตืน ่ เต้นของคนอืน ่ นับร้อย คน ร้อยความตืน ่ เต้น จนแล้วจนรอดก็อดทีจ ่ ะ เอาไปเปรียบเทียบไม่ได้ว่าชีวิตทุกคนดี หมดเลย ยกเว้นตัวเอง กลายเป็นว่าไม่พอใจ ในสิง่ ทีต ่ วั เองมี กลับอยากเป็นเหมือนคนอืน ่ ความทุกข์จงึ คูณสอง ทัง้ ไม่พอใจสิง่ ทีต ่ วั เอง มี อยากมี แบบเขา ซึ่ ง หลายคนไม่ รู ต ้ ัว และไม่กล้ายอมรับว่าเราอิจฉาเขาอยู่ คนรุ่นใหม่จ�านวนมากเริ่มประกาศตัวว่า เขาเป็ น คนที่ ไ ม่ นั บ ถื อ ศาสนาใดๆ แล้ ว นั่นหมายความว่าเขาจะไม่มีวันรับธรรมะ เข้าสู่จิตใจเลยใช่ไหม เป็ น คนละเรื่อ งกั น เลยนะ เพราะ ตอนเด็กๆ ผมก็เคยเป็นแบบนัน ้ ผมเป็นเด็ก บ้าเหตุบา้ ผลมากๆ ผมเช็กทุกอย่าง ตัง้ ค�าถาม เยอะ จนมาถึงวันทีต ่ ว ั เองปฏิเสธทุกอย่าง ยึดติดกับความคิดของตัวเองโดยทีไ่ ม่ได้ ทดลอง เชือ ่ คนอืน ่ และก็งมงายไม่ตา ่ งกับ คนอื่ น ผมเคยมองว่าการไปนั่ งหลั บตา ท�าสมาธิ เดินจงกรมอยู่กับที่ เป็นเรือ ่ งที่ โคตรงีเ่ ง่าไร้สาระ ชีวต ิ จะดีขน ึ้ ได้อย่างไร กับการท�าอะไรแบบนี้ ตอนนั้นผมตัดสิน ไปแล้วทัง้ ๆ ทีไ่ ม่ได้ลองท�า จนวันหนึง่ ผมจึง คิดใหม่ ลองท�าในระดับที่สามารถวัดผล ได้คือ ถ้าผมนั่งสมาธิ 3-5 นาที อาจจะยัง ไม่เห็นผล ผมจึงลองเข้าคอร์สจริงจัง หากเราเป็นคนบ้าเหตุบา้ ผลจริง ก็ควร จะต้องทดลอง ตัง้ สมมติฐานก่อน แล้วค่อย สรุปผล ถ้าไม่จริงเลยสักนิดเดียว ผมจะ มาบอกทุกคนเลยว่า ‘มึงอย่าไปท�า’ หรือ ‘ไร้สาระ’ แล้วผมจะไม่กลับไปท�าอีก แต่ถา ้ พิสจ ู น์มาแล้วว่าดีจริงก็ถอ ื ว่าเป็นก�าไรชีวต ิ พอไปลองก็ รูส ้ ึ กว่ า ที่ ผ่ า นมาเหมื อ นไป ติดกระดุมผิดทีท ่ ง้ั แผง พอเม็ดแรกติดผิด เม็ดต่อๆ ไปก็ยอ ่ มผิด การไปลองในครัง้ นัน ้ ของผมคือการไปติดกระดุมเม็ดแรกใหม่ จากนั้นผมก็ค่อยๆ ติดให้ถูกต้อง ย้อนกลับไปที่ค�าถามว่า ‘ถ้าเขาจะ ไม่นบ ั ถือศาสนา’ เขาก็ทา� ได้ ไม่ผด ิ อะไรเลย แต่เขาควรศึกษาให้ถ่องแท้ก่อนแล้วค่อย เลือกตัดสินใจ อันนี้ผมว่าแฟร์กว่า เพราะ การนับถือศาสนาแล้วบอกว่าเราเป็นพุทธ เราเป็นคริสต์ เราเป็นมุสลิม เป็นแค่การแปะป้ายบอกคนอืน ่ เฉยๆ แต่ทส ี่ า� คัญกว่านัน ้ คือการท�าตัวอย่างไรมากกว่า คุณท�าตัว ดีขน ึ้ หรือเปล่า คุณเป็นชาวมุสลิมทีด ่ ีหรือ เปล่า เป็นชาวคริสต์ทด ี่ ห ี รือเปล่า เพราะว่า

ถ้าคุณยังดื่มเหล้าเมามาย ด่าทอคนอื่น แล้วยืนยันว่านับถือศาสนาพุทธ ผมมอง ได้สองอย่างคือ เขาแค่เชือ ่ ในสิง่ ทีศ ่ าสนาพุทธ สอน กับเขาปฏิบัติตัวตามที่ศาสนาพุทธ สอน (เหรอ) ส่วนคนที่บอกว่าไม่นับถือ ศาสนาอะไรเลย แต่ เขาเป็ น คนที่ นึก ถึ ง ใจเขาใจเรา จะพู ด อะไรนึ ก ถึ ง คนอื่ น คนอย่างนั้นผมว่าน่านับถือมากกว่าคนที่ ท�าความเดือดร้อนให้กับสังคมเสียอีก หากเราดึงป้ายบ่งบอกศาสนาออก เราควร สูดอะไรเข้าตัวเอง และผ่อนอะไรออกไป การนึกถึงส่วนรวม ผมมองว่าเป็น สิ่ ง ที่ ส ร้า งความเดื อ ดร้อ นให้ ค นอื่ น ได้ น้อยมาก อย่างศีล 5 ที่ศีลสี่ข้อแรกก็คือ การนึกถึงคนอืน ่ ส่วนข้อ 5 ดืม ่ สุรา หากคุณ ดื่ ม ในปริม าณที่ เหมาะสม คุ ณ ไม่ ไ ด้ ไป สร้างความเดือดร้อนให้แก่คนอื่น ผมว่า ก็ เกื อบจะครบแล้ ว นอกจากนี้ คือการไม่เห็นแก่ตัว ไม่อยากไปเอาของคนอื่น ไม่ ไปผิ ด ลู ก ผิ ด เมี ย เขา นึ ก ถึ ง ใจคนอื่ น แค่ นี้ก็ดีมากแล้ ว และถ้ าพิจารณาให้ ดี คุณจะพบว่าหลักการทัง้ สีห ่ า ้ ข้อนีค ้ อ ื หลัก ของการอยู่รว่ มกันในสังคมล้วนๆ เลย แต่ ห ากจะพู ด ถึ ง วิ ธี ก ารในการจั ด การกั บ ความทุ ก ข์ แต่ ล ะศาสนา ก็ ไ ม่ เ หมื อ นกั น บางคนบอกว่ า ให้ ยึ ด ประชาธิปไตย เพราะว่าเป็นหลักสากลทีใ่ ห้ มนุ ษย์เท่าเทียมกั น ผมเคยคุยกั บเพื่อน ชาวเกาหลี เขาบอกว่าเพียงแค่คณ ุ เคารพ กฎหมายก็ พอแล้ ว ไม่จ�าเป็นต้ องสนใจ ศาสนา กฎหมายท�าให้คนอยู่รว ่ มกันได้ ส� า หรับ ผม ถ้ า พู ด ในแง่ สั ง คมก็ ถู ก ต้ อ ง แต่วา ่ ในแง่ปจ ั เจก ผมบอกเลยว่าเวลาคุณ เกิดความทุกข์ขึ้นมาในใจแน่นอน เพราะ กฎหมายไม่ ส ามารถแก้ ทุ ก ข์ ให้ เราได้ ศาสนาเป็นเรือ ่ งที่ลึกซึ่งกว่านั้ น ในทาง กลับกัน ถ้าคุณถือศีล 5 แล้วท�าได้จริงๆ สังคมก็แทบจะไม่ตอ ้ งมีตา � รวจเลย การทีม ่ ี กรณีพพ ิ าทกันนัน ้ ก็เพราะเราละเมิด 5 ข้อ นี้ไป และถ้าจะลงลึกไปอีกก็จะเป็นการกลับไปจัดการความทุกข์ทเี่ กิดขึน ้ ในตัวเรา ที่เกิดจากความคิดของเรา คุณก�าลังบอกว่า ความคิดในหัวของเรา คือต้นเหตุแห่งการเกิดทุกข์อย่างนัน ้ ใช่ไหม จริงๆ แล้วความคิดคนเรามีสองแบบ แบบแรกคือ ความฟุ้งซ่าน แบบที่สองคือ ความคิดส�าหรับการใช้ชวี ต ิ และการท�างาน ทีม ่ ค ี วามเป็นระบบ มีลา� ดับขัน ั เป็น ้ ตอน ไม่นบ ความคิดฟุง้ ซ่าน ผมเข้าใจแล้วว่า ไม่ใช่วา ่ ทุ ก ความคิ ด จะท� า ให้ เราเกิ ด ความทุ ก ข์ แต่ความคิดทีเ่ ผลอไปคิดต่างหากทีท ่ า � ให้ ทุกข์เกิด ถ้าเราตัง้ ใจคิดอย่างมีสมาธิ มีสติ

ก็จะก่อให้เกิดงานได้ เราเองก็แยกแยะ ออกแล้วว่า ศาสนาพุทธไม่ได้สอนไม่ให้คด ิ แต่สอนให้รูท ้ ัน เวลาเผลอคิดไปต่างหาก สิ่ ง ที่ คุ ณ บอกมามั น ดี ม ากๆ แต่ ก็ เ ป็ น เหมือนอาหารรสจืดที่หลายคนไม่อยาก กิน กว่าจะยอมกินก็ต้องรอให้เจ็บปวด ทุกข์ทรมานเสียก่อน ผ ม เจ อ ห ล า ย ค น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ส น ใจ พุทธศาสนาหรือธรรมะ ผมก็ เข้าใจเขา และไม่คด ิ จะชักชวน เพราะว่าชีวต ิ ของเขา ดูมีความสุขดี มีชื่อเสียง มีเงินทอง หรือ บางคนอาจจะมีทก ุ ข์อยูแ ่ ต่ไม่รูต ้ ว ั ว่าทุกข์ เขาก็ยงั สนุกสนาน ร่าเริง เขายังไม่เห็นถึง ความจ�าเป็นของธรรมะ แต่พอเกิดความทุกข์ ขึน ้ จริงๆ บางคนจึงเริม ิ ธิ์ ่ มองหาสิง่ ศักดิส ์ ท มองหาสิ่ง ยึดเหนี่ ยวจิ ตใจ แต่ ว่าทางที่ พระพุทธเจ้าสอนนัน ้ อาจฟังแล้วเป็นเหมือน ยาขมไปสักนิ ด แต่การขจัดทุกข์ไม่ได้มี shortcut ส�าเร็จรูป ไม่ได้มี how to ง่ายๆ ให้ได้ใช้ ไม่ตา ่ งอะไรกับการออกก�าลังกาย ซึง่ นัน ่ เป็นการออกแรงทางกาย แต่ธรรมะ เป็นการออกแรงทางจิต ย่อมต้องเหนื่อย ไปกั บ การเฝ้ า สั ง เกตความทุ ก ข์ แ ละ ความคิดของตัวเอง แน่นอนว่าการปล่อยไหล ไปเลยย่อมสบายกว่า เพราะฉะนั้น เมื่อไหร่ก็ตามที่คุณมี ความทุ ก ข์ ลองหาวิ ธี อื่ น แล้ ว ทุ ก ข์ ก็ ยั ง กลับมาอีก ผมก็อยากจะบอกว่า ให้มาลอง ทางพุทธศาสนา ไม่เสียเงิน และใช้ได้เรือ ่ ยๆ เหมือนกั บการพกยาที่ไม่มีผลข้างเคี ยง อยู่ ต ลอด ทุ ก ข์ ขึ้ น มาก็ ฉีด สเปรย์ ห นึ่ ง ที ก็ จ ะรู ้สึ ก ดี แถมยั ง สะดวกด้ ว ย แค่ ว่ า ช่วงแรกอาจจะเห็นผลช้าไปนิด ทรมาน หน่อยๆ แต่วา ่ มีผลข้างเคียงต�ามากจริงๆ ่ งจริงทีเ่ จ็บแสบอีกอย่างคือเวลาพู ดว่า เรือ ใช้หลักธรรมค�าสอนของพุ ทธศาสนาปุบ ๊ ่ เลย แต่กลาย โอ้โฮ! เชยมาก โคตรน่าเบือ เป็นว่าถ้าเราพูดถึงเต๋า เซน หรือวิถก ี ารเข้าใจ ชี วิ ต ของคนญี่ ปุ น ่ ต่ า งๆ กลั บ ดู เ ก๋ ดู เ ท่ ขึ้นมาทันที ผมมองว่าตามทฤษฎีฝรัง่ ส่วนใหญ่ จะมีคา � ทีเ่ ขาบอกว่าสนามหญ้าบ้านคนอืน ่ เขียวกว่าบ้านเราเสมอ มันเป็นแบบนัน ้ เลย มนุษย์ส่วนใหญ่จะไม่เห็นค่าสิ่งที่ตัวเอง มีอยู่ แต่จะเห็นค่าสิ่งที่คนอื่นมี ก็เหมือน เรือ ่ งโซเชียลมีเดียทีเ่ ราคุยกันไป เมือ ่ ก่อน ที่เขาบอกว่าแค่สุขภาพดี มีลมหายใจอยู่ ก็เป็นสิ่งมีค่าของชีวิตแล้วนะ ซึ่งฟังแล้ว ค�านี้ก็เชยจริงๆ ผมก็ยังรูส ้ ึกแบบนั้นเลย (หัวเราะ) แต่วน ั ทีผ ่ มคัดจมูก หายใจไม่ออก แล้ วต้ องหายใจทางปาก เราจะรู ส ้ ึกถึ ง คุณค่าของการหายใจได้คล่องจมูกทันที

28


ดังนัน ่ น ั มีอยูจ ่ นกระทัง่ เราจะเสียมันไป ้ เราจะไม่เห็นค่าสิง่ ทีม เรือ ่ งเต๋า เซน ก็เหมือนกัน ผมรูส ้ ึกว่าคนไทยอาจจะเส้นผมบังภูเขา เห็นว่าของเดิมมันปนไปด้วยพิธก ี รรม คนรุน ่ ใหม่กจ ็ ะรูส ้ ก ึ ว่าพิธก ี รรมเป็นเรือ ่ ง ปัญญาอ่อน เชือ ่ ไปได้ยงั ไง เกิดมาเดินได้ 7 ก้าว มีดอกบัวมารอง เรือ ่ งไร้สาระ พวกนีเ้ ชือ ่ เข้าไปได้ยงั ไง ผมก็เห็นด้วย แต่กไ็ ม่ได้เห็นด้วยทัง้ หมดนะ แค่มม ุ มอง ของผมคือ ไม่ได้ให้ค่าต�านานทีเ่ ล่าต่อกันมาเลย ผมมองแค่วา ่ พระพุทธเจ้า สอนอะไรไว้ ค�าสอนนัน ้ ยลงไหม แล้วท�าให้เราหายทุกข์ได้ไหม ้ ท�าให้เราทุกข์นอ ส่วนเรือ ่ งนิยายปรัมปราทีเ่ ล่ากันมา จะจริงหรือไม่จริงไม่ใช่สาระทีผ ่ มจะต้อง มาสนใจ แล้วบางคนทีบ ่ า้ เหตุบา้ ผลถึงเวลาจะแต่งงาน คุณก็ยงั ไปดูฤกษ์ดย ู าม อยู่เลย คุณยังห้อยหินสีเสริมดวงชะตาที่ข้อมืออยู่เลย อะไรที่เราเห็นจนชิน ตั้งแต่เด็กเราจะรูส ้ ก ึ ว่ามันไม่ได้มค ี ่าอะไร แต่อะไรทีม ่ น ั มาจากต่างประเทศ หรือดูทันสมัยหน่อยมันเลยน่าสนใจ สงสั ย เรื่ อ งหนึ่ ง ว่ า เมื่ อ เรารู้ ตั ว เอง มี ส ติ เข้ า ใจความเป็ น ไปของชี วิ ต อะไรจะเกิดก็ต้องเกิด สิ่งใดเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดีเสมอ แล้วมันส่งผลให้ ความทะเยอทะยานหรือไฟในการท�างานของเราลดลงไปด้วยไหม เรือ ่ งนีแ ้ ต่กอ ่ นผมก็แยกไม่ออก พอเขาบอกว่าคนเราทุกข์เพราะความคิด ผมก็ฉิบหายละ อาชีพกูต้องใช้ความคิดเป็นหลักเลยนะ แล้วมันจะแยกยังไง ล่ะ จนผมไปเข้าคอร์สปฏิบัติธรรม เป็นคอร์สดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย และ การเผชิญความตายอย่างสงบ แต่เขาสอนเรือ ่ งจิตด้วย เขาจะมีแบบทดสอบ ให้ท�า คือให้เรานั่งแล้วก็ขยับมือตามแพตเทิรน ์ ขยับไปเรือ ่ ยๆ ระหว่างนั้น เราคิดอะไรขึน ้ มาให้หยุดท�าแล้วจดใส่กระดาษ ไม่วา ่ จะเป็นเรือ ่ งอะไรก็ตาม พอครบ 15 นาที คราวนี้เอากระดาษมาอีกแผ่นหนึ่ง ให้เลือกเมนูอาหารที่ เราชอบกินมากที่สุด แล้วก็เขียนส่วนประกอบ ขั้นตอนการประกอบอาหาร ในเมนูนน ้ั ออกมา ถ้าไม่ทราบให้เราลองจินตนาการดูวา่ ถ้าเราลองท�าเมนูนน ้ั ขึน ้ มาเอง ขัน ้ ตอนมันน่าจะมีอะไรบ้าง เขียนเสร็จแล้วเอากระดาษสองแผ่น มาวางเทียบกัน จะเห็นเลยว่าแผ่นแรกมีแต่อะไรไม่รูส ้ ะเปะสะปะมาก อยูด ่ ีๆ ก็คิดถึงตอนเด็กๆ อยู่ดีๆ ก็คิดถึงแฟน อยู่ดีๆ ก็คิดถึงเรือ ่ งงาน แต่อีกแผ่น มันเป็นล�าดับขัน ้ ตอน มันชีใ้ ห้เห็นเลยว่าความคิดคนเรามีสองแบบ แบบทีเ่ ป็น ความฟุ้งซ่านที่เป็น autopilot อันที่สองความคิดส�าหรับการใช้ชีวิตและ การท�างาน มันเป็นระบบ มันเป็นขัน ้ ตอน เป็นล�าดับ เราก็เลย อ๋อ มันไม่ใช่ ทุกความคิดทีท ่ า � ให้เราเกิดความทุกข์ ความคิดทีเ่ ผลอไปคิดต่างหากทีท ่ า � ให้ เราเป็ น ทุ ก ข์ แต่ ค วามคิ ด ที่ ต้ั ง ใจคิ ด อย่ า งเป็ น ระเบี ย บแบบแผน ไม่ นั บ ความกังวลฟุ้งซ่าน ถ้าเราตั้งใจคิดอย่างมีสมาธิ มีสติ มันก่อให้เกิดงานได้ คราวนีม ้ น ั ก็แยกแยะออกละว่าไม่ใช่ไม่ให้คด ิ ศาสนาพุทธไม่ได้สอนไม่ให้คด ิ แต่สอนให้รูท ้ ันเวลาเผลอคิดไป

ISSUE 624

06 JAN 2020

29


เรือ ่ ง : โตมร ศุขปรีชา

EDITOR’S NOTE

่ ด ่ ด ​“ในบรรดา​12​เดือน​เธอรักเดือนธันวาคมทีส ุ ​และในขณะเดียวกัน​เธอเกลียดเดือนมกราคมทีส ุ ​เพราะเดือนธันวาคม เป็นเครื่องหมายของการสิ้นสุด​สรรพสิ่งแม้แต่อากาศก็ผ่อนคลายลง​แต่เดือนมกราคมกลับเป็นเครื่องยืนยันว่า ไม่มีส่ิงใดจบลง​ไม่มีการตาย​ไม่มีการสิ้นสุด​เดือนมกราคมเป็นเครื่องยืนยันว่าชีวิตอันทุกข์ทรมานมีแต่จะยืดยาวออกไป​ เธอคือหนูถีบจักรในวงจรเวลา​เธอไม่ต้องการสวัสดีปีใหม่​เธออยากจะสงสัยมากกว่าว่าท�าไมมันไม่ส้น ิ สุดลงเสียที” จาก ‘อีกวันแสนสุขในปี 2557 ’

ภาพ : อุษา นพประเสริฐ

โดย วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

ค�ำถำมเก่ำแก่ที่สุดของมนุษย์ ก็คือเรำมีชีวิตอยู่ไปท�ำไม ทุกครัง้ ที่มีกำรเริม ่ ต้นใหม่, ทุกกำรอุปโลกน์ของควำมใหม่ - ไม่ว่ำเดือนปี นำที หรือสถำนที่, ควำมสงสัยถึงเหตุผลในกำรมีชีวิตอยู่มักคอยติดตำมเรำไปทุกหนแห่ง มีเหตุผลไหม ที่ทำรกต้องเกิดมำบนโลกใบนี้ มีเหตุผลไหม ที่นกตัวเล็กปำกสีส้มจะจิกกินบำงสิ่งจำกดินอยู่เสมอ มีเหตุผลไหม ที่ดอกไม้สีเหลืองต้องบำนอย่ำงทรหดในดินแดนหนำวเหน็บ และแบคทีเรียที่อำศัยในน�ำพุรอ ้ นเล่ำ, พวกมันบอกเรำได้ไหม ว่ำเหตุผลที่ทุกสิ่งด�ำรงอยู่ที่นี่คืออะไร? โลกไม่ได้เป็นสิ่งแข็งกระด้ำงวำงค้ำงงันเงียบอยู่บนผืนกระดำษ ไม่มีอะไรอยู่นิ่งตำยตัว แต่โลกคือกำรปะทะกัน ของเหตุและผลต่ำงๆ ผลบำงอย่ำงเป็นเหตุของสิ่งอื่น และเหตุของสิ่งอื่นก็ท�ำให้เกิดผล ทุกอย่ำงซับซ้อนย้อนแย้ง กันไปมำ ไม่มีอะไรง่ำยแบบหนึ่งไม่ใช่สอง เพรำะหนึ่งอำจเป็นสองได้ทุกเมื่อ และสองก็อำจเป็นยี่สิบเจ็ด ระยะห่ำงระหว่ำงโลกกับดวงอำทิตย์อำจใกล้เท่ำสัมผัสของลมหำยใจ และนิรน ั ดรก็อำจนำนเพียงหนึ่งนำที โลกไม่ได้เป็นขำวกับด�ำ ไม่ได้เป็นนอกกับในแยกขำดจำกกัน สิ่งที่อยู่ภำยนอกอำจอยู่ภำยในตัวเรำด้วย และควำมเลวร้ำยของฆำตกรก็เป็นของฆำตกรมำกพอๆ กับที่เป็นของเรำ ปีใหม่เองก็ไม่ใช่ปีศำจที่สิงสถิตอยู่กับเข็มนำฬิกำแล้วท�ำให้เข็มนำฬิกำหยุดนิ่ง แม้ในช่วงเวลำที่ทุกคนกระโดด โลดเต้นยินดีกับกำรผลัดปี ก็ไม่ได้แปลว่ำเหตุและผลต่ำงๆ ของสรรพสิ่งจะหยุดอยู่กับที่ มันยังคงท�ำงำนต่อไป โดยที่เรำไม่ได้เหลือบสำยตำไปแยแส เพรำะมัวยิ้มแย้มยินดีกับนำทีที่เรำคิดว่ำก�ำลังหยุดนิ่ง ทว่ำแท้จริงแล้ว มันกลับคือกำรเดินทำงอันไร้ที่ส้ินสุดของเวลำ เธอไม่ต้องกำรสวัสดีปีใหม่ เธออยำกจะสงสัยมำกกว่ำว่ำท�ำไมมันไม่ส้น ิ สุดลงเสียที แล้วในที่สุด - เรำก็จะเดินทำงผ่ำนปีใหม่ไปเหมือนมันคือช่วงเวลำธรรมดำๆ ช่วงหนึ่ง กำรอยู่เพื่ออยู่ และอยู่เพื่อสร้ำงควำมอยู่ให้สืบเนื่อง - คือเหตุผลแห่งชีวิตไหม นั่นคือกำรสวัสดีปีใหม่ด้วยค�ำถำมเก่ำแก่ที่สุด, ค�ำถำมที่พึงหมัน ่ ระลึกถึงอยู่เสมอ

30


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.